บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)
สถานที่ตั้ง
โทรศัพท์ เว็บไซต์ของบริษัท
ชั้น 10, 30 -34 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย +66 (0) 2667 5555 www.cpn.co.th
เลขทะเบียนบริษัท
0107537002443
ปีที่ก่อตั้ง
ปี2523
ประเภทธุรกิจ
พั ฒ นาและให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดใหญ่ แ ละประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ที่เกี่ยวเนื่องและส่งเสริมธุรกิจพัฒนาศูนย์การค้า เช่น อาคารสํ านักงาน โรงแรม ทีพ ่ ก ั อาศัย และศูนย์อาหาร เป็นต้น รวมถึงการลงทุนในกองทุนรวม สิ ท ธิ ก า ร เ ช่ า อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ (C P N C G) แ ล ะ ท รั ส ต์ เ พื่ อ ก า ร ลงทุ น ในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (CPNREIT) และเป็นผู้บริหาร อสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมฯ และกองทรัสต์ฯ
ข้อมูลหลักทรัพย์
หุ้นสามัญของ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํ ากัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนและทํ าการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี2538 โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ “CPN”
ทุนจดทะเบียน
2,244,000,000 บาท
ทุนที่ออกและชําระแล้ว
2,244,000,000 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 4,488,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.5 บาท
สอบถามข้อมูล
เลขานุการบริษัท โทรศัพท์ : +66 (0) 2667 5555 ต่อ 1665, 1684, 1685, 1686 และ 1687 อีเมล : co.secretary@cpn.co.th นักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ : +66 (0) 2667 5555 ต่อ 1614, 1632, และ 1689 อีเมล : ir@cpn.co.th
ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทฯ เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจํ าปี(แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือ www.cpn.co.th
รายงานประจําปี 2561
S U S TA I N A B L E F U T U R E
สารบัญ
P.
12
บทที่ 01
วิสัยทัศน์และ พันธกิจ
P.
34
บทที่ 11
พัฒนาการที่สําคัญ ในปี 2561
148
P.
บทที่ 21
โครงสร้าง องค์กร
P.
226
บทที่ 31
รายชื่อกรรมการ ในบริษัทย่อย
14
P.
บทที่ 02
ค่านิยมองค์กร
P.
36
บทที่ 12
รางวัล แห่งความภาคภูมิใจ
P.
150
บทที่ 22
โครงสร้าง การจัดการ
228
P.
บทที่ 32
สรุปข้อมูลทั่วไปของ นิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป
P.
16
บทที่ 03
ข้อมูลทางการเงิน ที่สําคัญ
40
P.
บทที่ 13
ภาวะเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม
P.
164
บทที่ 23
การกํากับดูแล กิจการ
P.
238
บทที่ 33
ศูนย์การค้าภายใต้ การบริหารของ CPN
P.
20
บทที่ 04
สารจาก คณะกรรมการบริษัท
46
P.
บทที่ 14
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ
P.
184
บทที่ 24
การสรรหากรรมการ และผู้บริหาร
P.
241
บทที่ 34
ข้อมูลสําหรับนักลงทุน และบุคคลอ้างอิง
24
P.
บทที่ 05
รายงาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ
64
P.
บทที่ 15
โครงสร้างการถือหุ้น
186
P.
บทที่ 25
ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร
245
P.
บทที่ 35
สรุปตําแหน่งรายการ ที่กาํ หนดตามแบบ 56-2
P.
26
บทที่ 06
รายงานคณะกรรมการ สรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน
66
P.
บทที่ 16
โครงสร้างรายได้
P.
190
บทที่ 26
โครงสร้างเงินทุน และนโยบายการจ่าย เงินปันผล
P.
246
บทที่ 36
ใบรับรองตัวชี้วัด ด้านความยั่งยืน จากหน่วยงานภายนอก
P.
28
บทที่ 07
รายงานคณะกรรมการ นโยบายความเสี่ยง
P.
67
บทที่ 17
การบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน
P.
194
บทที่ 27
การควบคุม ภายใน
P.
248
บทที่ 37
GRI Index and UNGC Principles
P.
30
บทที่ 08
รายงานคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน
80
P.
บทที่ 18
ปัจจัยความเสี่ยง
198
P.
บทที่ 28
รายการ ระหว่างกัน
P.
32
บทที่ 09
คณะกรรมการ บริษัท
86
P.
บทที่ 19
การวิเคราะห์ และคําอธิบาย ของฝ่ายจัดการ P.
206
บทที่ 29
ข้อพิพาท ทางกฎหมาย
33
P.
บทที่ 10
คณะผู้บริหาร
100
P.
บทที่ 20
ผลการดําเนินงาน ด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืน
207
P.
บทที่ 30
รายละเอียดเกี่ยวกับ กรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจควบคุม และ เลขานุการบริษัท
S U STA INABLE F U TURE จากการเป็น “ผู้พัฒนาศูนย์การค้าในระดับภูมิภาค ที่ได้รับการชื่นชมสูงสุดจากทุกคน และ ไม่หยุดนิง ่ ในการสร้างประสบการณ์แห่งความสุขในระดับโลก” ขับเคลือ ่ นไปสูเ่ ป้าหมายทีย ่ ง ิ่ ใหญ่ คือ “การเติบโตสู่อนาคตที่ยั่งยืน” ผ่านแนวคิดของการ “มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของการ ใช้ชีวิตและชุมชน” ซึ่งเป็นกลยุทธ์หลักในการพัฒนาและเสริมสร้างความแข็งแกร่งในการ เติบโตของศูนย์การค้าอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อมอบประสบการณ์แห่งความสุขที่หลากหลาย และหาไม่ได้บนโลกออนไลน์ โดยผนวกเข้ากับการพัฒนาใน 3 มิตด ิ า้ นความยัง ่ ยืน คือ เศรษฐกิจ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ ให้ CPN สามารถตอบสนองผลประโยชน์ ทั้ ง ภาคธุ ร กิ จ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
“เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ทุกคน ชื่ น ชม โดยสร้ า งคุ ณ ค่ า ที่ โ ดดเด่ น แตกต่างและเหนือความคาดหมาย ของทุกคน”
“เป็ น ผู้ พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ที่ มี ศักยภาพในการเป็นผู้นําในระดับ ภู มิ ภ าคและเป็ น ที่ จั บ ตามองใน ตลาด”
“เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ไม่หยุดนิ่ง ในการพัฒนาศูนย์การค้ารูปแบบใหม่ มีร้านค้าใหม่ที่หลากหลายและทันสมัย ตอบสนองวิถช ี ว ี ต ิ ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงอย่าง รวดเร็วของลูกค้ากลุม ่ เป้าหมาย”
“เป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ลู ก ค้ า เลื อ กมา สั ม ผั ส ประสบการณ์ ค วามสุ ข ใน การช้ อ ปปิ้ ง ที่ เ หนื อ กว่ า คู่ แ ข่ ง ใน ทุกตลาดที่เปิดดําเนินการ”
S U STA I NA B L E B U SI NE S S เทคโนโลยีดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดธุรกิจโมเดลใหม่ ๆ ขึ้นมากมาย ซึ่ง CPN ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นอย่างดี และพร้อมมุ่งพัฒนาตัวเองเข้าสู่การเป็นองค์กรสมัยใหม่ ภายใต้การ พัฒนาทีย ่ ง ั่ ยืนใน 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิง ่ แวดล้อม โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาศูนย์การค้ารูปแบบ ใหม่ที่ชัดเจนคือ “การนําความต้องการของลูกค้าเป็นศูนย์กลาง” เพื่อให้ศูนย์การค้าเป็นเดสติเนชันของการ Shop, Play, Learn, Work, Live ที่สะดวก ปลอดภัย และเป็นที่ชื่นชอบของผู้ใช้บริการทุกช่วงวัย มองหาสิง ่ ใหม่ ๆ ทีด ่ ก ี ว่า เพือ ่ เติมเต็มทุกสิง ่ ทีล ่ ก ู ค้าต้องการ ปั จ จุ บั น CPN ประกอบธุ ร กิ จ ด้ า นการพั ฒ นาโครงการ ศู น ย์ ก ารค้ า และอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ นกลุ่ ม ธุ ร กิ จ หลั ก ได้ แ ก่ ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน โรงแรม และอาคารที่พักอาศัย อีกทัง ้ ได้มก ี ารกระจายการลงทุนในธุรกิจใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ ่ ง ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ตลอดจนพั ฒ นาเสริ ม ศั ก ยภาพ ทางด้ า นกายภาพของศู น ย์ ก ารค้ า เดิ ม ที่ แ ข็ ง แกร่ ง อยู่ แ ล้ ว ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น เช่ น ปรั บ โฉมศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ใ ห้ เ ป็ น จุดหมายของการใช้ชีวิตระดับโลก การพัฒนา Destination Concepts เพื่ อ ตอบโจทย์ ไ ลฟ์ ส ไตล์ ข องคนในท้ อ งถิ่ น อาทิ Sport Destination ที่ เ ซ็ น ทรั ล พลาซา นครราชสี ม า สํา หรั บ คนรั ก สุ ข ภาพและกี ฬ า Pet Destination สํา หรั บ กลุ่มคนรักสัตว์เลี้ยงที่เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์
ร่ ว มมื อ กั บ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า น ต่าง ๆ มาสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เช่น “Aquaria” อควาเรียม รู ป แบบใหม่ และ “ไตรภู มิ มหั ศ จรรย์ ส ามโลก” ธี ม ปาร์ ค 3D วอล์คทรูแห่งแรกของโลกที่เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า และร่วมมือกับบริษัท Common Ground Group พัฒนา ธุรกิจ Co-working Space ในศูนย์การค้า นํ า เทคโนโลยี แ ละดิ จิ ทั ล มาอํ า นวยความสะดวกให้ แ ก่ ผู้ บ ริ โ ภคและร้ า นค้ า โดยนํ า ระบบการชํ า ระเงิ น ผ่ า น QR Code ช่วยทําให้การซื้อขายสะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยัง เปิ ด ช่ อ งทางสื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า ผ่ า นทาง LINE Official Account ภายใต้ชื่อ @central Life และพัฒนา “CPN Serve” Application เพื่อให้ผู้เช่าติดต่อรับการบริการกับ บริ ษั ท ฯ ได้ ส ะดวกรวดเร็ ว ขึ้ น ตลอดจนยกมาตรฐาน บริการเดิม ๆ ให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้น เช่น บริการที่จอดและ ชาร์จรถไฟฟ้า
SHARE
S U S TA I NA B L E S TA K E H O LD E RS ด้วยบริบทโลกที่เปลี่ยนไป เป้าหมายของ CPN จึง ไม่ ใ ช่ แ ค่ ก ารทํ า ให้ ลู ก ค้ า พึ ง พอใจเท่ า นั้ น หากแต่ ยั ง เป็น การสร้างคุณค่าร่วมกับ “สังคมและผู้มีส่วน เกี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ” ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย ลู ก ค้ า ร้านค้า พนักงาน คู่ค้า ผู้ถือหุ้น สถาบันการเงิน สังคม และชุมชน หรือแม้กระทั่งสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหัวใจ สําคัญของการสร้างองค์กรให้มั่นคงและยั่งยืน CPN จึ ง ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มและ การสือ ่ สารกับ “ผูม ้ ส ี ว ่ นเกีย ่ วข้องกับธุรกิจและสังคม” อย่ า งครบถ้ ว นและทั น ท่ ว งที โดยเปิ ด ช่ อ งทางการ สือ ่ สารผ่านสือ ่ สังคมออนไลน์ Facebook, Instagram, YouTube และ LINE นอกจากนี้ ยั ง เสริ ม กลยุ ท ธ์ การบริ ห ารจั ด การด้ ว ยการพั ฒ นาส่ ง เสริ ม คู่ ค้ า และผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการสานต่อโครงการ CPNlead เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้กับผู้ประกอบการ SMEs ของไทยให้ต่อยอดขยาย ธุรกิจ และเติบโตไปพร้อม ๆ กับบริษัทฯ ซึ่งนอกจาก จะเป็นการส่งเสริมนโยบายประชารัฐและเศรษฐกิจแล้ว ยังเป็นการสร้างโอกาสในการสรรหาผู้เช่ารายใหม่ ๆ
ที่ มี ศั ก ยภาพ และก่ อ ให้ เ กิ ด ความหลากหลายของ สินค้าและบริการในศูนย์การค้าของ CPN อีกทั้งยัง สร้างความผูกพันอันดีกบ ั ชุมชนด้วยการนําเอกลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี และของดีของชุมชนท้องถิ่น หรือในจังหวัดมาประยุกต์ในการออกแบบโครงการ ให้ ทั น สมั ย โดดเด่ น เช่ น นํ า วั ฒ นธรรมพื้ น ถิ่ น ใน การดํ า เนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยการทํ า ประมงและการทอผ้ า มา ผสานกับรูปแบบสถาปัตยกรรมจีน-โปรตุเกส ในการ ออกแบบตกแต่งโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของ เซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต ฟลอเรสต้ า เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยังสนับสนุนหน่วยงานราชการ สถานศึกษาโดยมอบ พื้ น ที่ ใ นการจั ด แสดงนิ ท รรศการในวาระต่ า ง ๆ ทั้ ง กรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ตลอดจนจับมือกับคู่ค้า ร่ ว มกั น พั ฒ นารู ป แบบกิ จ กรรมทางการตลาด และ พัฒนาพืน ้ ทีเ่ พือ ่ สนันสนุนเศรษฐกิจชุมชนควบคูไ่ ปกับ การพั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากรภายในองค์ ก รให้ ก้าวทันสู่การเป็น “องค์กรนวัตกรรม” และกําหนด เป้าหมายมุ่งสู่การเป็น “องค์กรในหัวใจพนักงาน”
S U S TA I NA B L E R ES O U RC E S CPN ตระหนักดีถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก การดําเนินธุรกิจ จึงกําหนดทิศทางในการดําเนินธุรกิจ อย่ า งยั่ ง ยื น บนพื้ น ฐานการใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งมี ประสิทธิภาพและรู้คุณค่าผ่านหลัก 4Rs ประกอบด้วย Reduce Reuse Recycle และ Responsible โดยนํามา ประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้ทุกโครงการของ บริษัทฯ ส่งผลดีทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยบริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดเป้ า หมายการ พั ฒ นาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น ในระยะยาว ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น แห่ ง สหประชาชาติ (UN SDGs) นําไปสู่การลดปริมาณ การใช้ ไ ฟฟ้ า ภายในศู น ย์ ก ารค้ า และการปล่ อ ยก๊ า ซ
เรือนกระจกและการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติอย่าง มีประสิทธิภาพ รวมถึงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวด้วยการ ปลูกต้นไม้ในโครงการส่วนขยายของเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า เพื่อช่วยกรองฝุ่นละออง และสร้างความ ร่มรื่นให้กับอาคาร ถนน และชุมชน จากความมุ่งมั่นที่ CPN ผลั ก ดั น ในการทํ า โครงการเหล่ า นี้ ม าอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง จึ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ทํ า ให้ CPN เป็ น บริ ษั ท ในหมวดธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ทยรายแรก และรายเดี ย วที่ ไ ด้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น สมาชิ ก ดั ช นี DJSI ประจําปี 2561 ในกลุ่ม DJSI World เป็นปีแรก และ DJSI Emerging Markets เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน
วิ ส ั ย ทั ศ น์ และ พันธกิจ
“ผู้พัฒนาศูนย์การค้าในระดับภูมิภาคที่ได้รับ การชื่นชมสูงสุดจากทุกคนและไม่หยุดนิ่งในการสร้าง ประสบการณ์แห่งความสุขในระดับโลก”
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 01
วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ
CPN มีพันธกิจ 4 ประการที่ต้องดําเนินการเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร
1. เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ทุกคนชื่นชม
3. เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าระดับภูมิภาค
“เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ทุกคนชื่นชม โดยสร้างคุณค่าที่ โดดเด่นแตกต่างและเหนือความคาดหมายของทุกคน”
“เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่มีศักยภาพในการเป็นผู้นําในระดับ ภูมิภาคและเป็นที่จับตามองในตลาด”
•
CPN มุ่งมั่นที่จะเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน การเติบโตเป็น องค์กรระดับภูมิภาคคือก้าวต่อไปของ CPN ดังนั้น CPN จึงมุ่ง มัน ่ ทีจ ่ ะเป็นผูพ ้ ฒ ั นาศูนย์การค้าทีเ่ ป็นทีร่ จ ู้ ก ั และมีโครงการทีป ่ ระสบ ความสําเร็จอย่างรวดเร็วในภูมภ ิ าคนี้ CPN ได้ระบุตลาดทีจ ่ ะขยาย ธุ ร กิ จ ไปอย่ า งชั ด เจน บนพื้ น ฐานความรอบคอบ มี ก ลยุ ท ธ์ แผนธุรกิจ และแผนการสร้างพันธมิตรที่สามารถตอบสนองกับ โอกาสทางธุรกิจได้อย่างทันท่วงที ในขณะที่องค์กรและทีมงาน มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีศักยภาพ และความพร้อม ที่จะสามารถดําเนินธุรกิจในต่างประเทศได้ตามเป้าหมาย
(Most Admired Retail Developer of All Stakeholders)
• • • •
เป็นศูนย์การค้าทีน ่ ก ั ลงทุนเลือก โดยมอบผลตอบแทนทีด ่ แ ี ละ ยั่งยืนให้กับผู้ถือหุ้น นักลงทุน และพันธมิตร เป็นศูนย์การค้าที่ลูกค้าเลือก โดยสร้างประสบการณ์แห่ง ความสุขให้กับลูกค้า เป็นศูนย์การค้าที่ผู้เช่าและคู่ค้าเลือก โดยสร้างความสําเร็จ ทางธุรกิจร่วมกัน ควบคูไ่ ปกับการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาว เป็นศูนย์การค้าที่พนักงานเลือก โดยให้โอกาสในการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง และการเติบโตทางหน้าทีก ่ ารงาน ตลอดจน สร้างสังคมการทํางานที่มีความรักความผูกพันกัน เป็นศูนย์การค้าทีส ่ ง ั คมและชุมชนเลือก โดยพัฒนาศูนย์การค้า ที่มีความโดดเด่นเป็นที่ภูมิใจของชุมชน ควบคู่ไปกับการดูแล สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน
(Regional Retail Developer)
2. เป็นผูพ ้ ฒ ั นาศูนย์การค้าทีไ่ ม่หยุดนิง ่
4. เป็นผูส ้ ร้างประสบการณ์ความสุขทีเ่ หนือกว่า
“เป็นผูพ ้ ฒ ั นาศูนย์การค้าทีไ่ ม่หยุดนิง ่ ในการพัฒนาศูนย์การค้า รูปแบบใหม่ มีร้านค้าใหม่ที่หลากหลายและทันสมัย ตอบสนอง วิถช ี ว ี ต ิ ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงอย่างรวดเร็วของลูกค้ากลุม ่ เป้าหมาย”
“เป็นศูนย์การค้าที่ลูกค้าเลือกจะมา เพื่อสัมผัสประสบการณ์ ความสุ ข ในการช้ อ ปปิ้ ง ที่ เ หนื อ กว่ า คู่ แ ข่ ง ในทุ ก ตลาดที่ เ ปิ ด ดําเนินการ”
CPN ตระหนักดีว่า ความไม่หยุดนิ่งของลูกค้าคือความท้าทาย ทีส ่ าํ คัญ ลูกค้ามีความคาดหวังทีส ่ ง ู ขึน ้ มีความต้องการทีซ ่ บ ั ซ้อน มากขึน ้ เข้าถึงสารสนเทศได้งา่ ยขึน ้ ความไม่หยุดนิง ่ ของ CPN จะ เป็ น สิ่ ง ที่ ผ ลั ก ดั น ให้ ศู น ย์ ก ารค้ า ภายใต้ ก ารบริ ห ารของ CPN มีความทันสมัยทีส ่ ด ุ และสามารถตอบสนองวิถช ี ว ี ต ิ ทีเ่ ปลีย ่ นแปลง อย่างรวดเร็วของลูกค้าได้ดี โดยการพัฒนาศูนย์การค้ารูปแบบ ใหม่ การสรรหาร้ า นค้ า ใหม่ ที่ มี ค วามทั น สมั ย และตรงกั บ ความ ต้องการของลูกค้าเข้ามาอยู่ในศูนย์การค้าอย่างต่อเนื่อง การนํา เทคโนโลยีทท ี่ น ั สมัยมาใช้ในการอํานวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้บริการ การสร้ า งกิ จ กรรมที่ มี ค วามโดดเด่ น แตกต่ า ง และสร้ า ง ประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กบ ั ลูกค้า ตลอดจนการผสานพลังกับบริษท ั ในเครือเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าควบคู่ไปกับการ สร้างความประทับใจสูงสุดให้กับผู้ใช้บริการ
CPN ตระหนั ก อยู่ เ สมอว่ า CPN ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งแค่ ผู้ พั ฒ นา ศูนย์การค้าเท่านัน ้ แต่ยง ั เป็นผูส ้ ร้างประสบการณ์แห่งความสุขให้ กับทุกคน ดังนั้น ทุกองค์ประกอบในศูนย์การค้า CPN จะคํานึง ถึงผูใ้ ช้บริการเสมอ ไม่วา่ จะเป็นการคัดสรรร้านค้าให้มค ี วามหลาก หลายและแปลกใหม่ การจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ การจัดให้มีสิ่ง อํานวยความสะดวกต่าง ๆ อย่างครบครัน CPN เชือ ่ ว่ามาตรฐาน ที่ สู ง และเป็ น สากลจะเป็ น สิ่ ง ที่ ทํ า ให้ อ งค์ ก รเป็ น ผู้ นํ า ในตลาดได้ ความเป็นระดับสากลและระดับโลก (World–Class) จึงเป็นสิ่งที่ CPN มุ่งมั่นมาตลอดและเชื่อมั่นว่าการสร้างประสบการณ์แห่ง ความสุขในระดับสากล จะเป็นสิ่งที่ทําให้ CPN ก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน ผู้นาํ ด้านการพัฒนาศูนย์การค้าระดับภูมิภาคได้ในอนาคต
(Dynamic Retail Developer)
(World-Class Rewarding Experience)
13
ค่านิยมองค์กร “เพราะเราใส่ใจ.. I•CARE”
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 02
ค่ า นิ ย มองค์ ก ร
CPN ได้ กํ า หนดให้ I • CARE เป็ น ค่ า นิ ย มขององค์ ก ร ซึ่ ง ค่ า นิ ย มนี้ ถู ก กํ า หนดขึ้ น เพื่ อ เป็ น แนวทางการถ่ายทอดและปลูกฝังให้พนักงานทุกคนทุกระดับได้ยึดถือและปฎิบัติ มีเป้าหมาย ในการทํางานไปในทิศทางเดียวกัน และก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร
I-INNOVATION
R-RELATIONSHIP
สร้างสรรค์คิดสิ่งใหม่ เปิดกว้างสําหรับทุกโอกาส และความท้าทายเพื่อการทํางานที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
จิตผูกพันพึ่งพากับทั้งเพื่อนพนักงาน คู่ค้า และสังคม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน
CPN เปิดกว้างและส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนพร้อมเผชิญกับ การเปลี่ ย นแปลงโดยไม่ ตั ด สิ น ล่ ว งหน้ า เอาชนะทุ ก ข้ อ จํ า กั ด สู่ความเป็นไปได้ หมั่นศึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้อยู่เสมอ กล้า คิดริเริ่ม ดัดแปลงและต่อยอดอย่างสร้างสรรค์ เปลี่ยนความคิด สู่การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง
CPN ตระหนักถึงการให้คุณค่าและเคารพความแตกต่าง ความ หลากหลาย ทัง ้ อายุ วัฒนธรรม เพศ เพือ ่ ส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศ ในการทํางานทีเ่ อาใจใส่ จริงใจ ทํางานด้วยความยืดหยุน ่ และห่วงใย ผู้อื่นอยู่เสมอ ทั้งเพื่อนพนักงาน คู่ค้า และสังคม โดยให้ความ สําคัญกับการรักษาคํามั่นสัญญาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและไว้ วางใจในการทํางาน รวมไปถึงการมีความสํานึกรับผิดชอบต่อ สังคม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน
C-CUSTOMER
E-ETHIC
ใส่ใจในลูกค้า มุ่งมั่นพัฒนาด้านบริการสู่ความเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นและใส่ใจลูกค้าทั้งภายในและภายนอกเป็นสําคัญ
มุ่งรักษาจริยธรรม ในการดําเนินธุรกิจ
CPN ให้ความสําคัญกับความต้องการของลูกค้าและมุ่งเน้นให้ บุคลากรมีความพร้อมบริการลูกค้าอยู่เสมอ ต้องรู้จักลูกค้าและ สินค้าอย่างเชี่ยวชาญ เพื่อการให้บริการที่เหนือความคาดหมาย โดยคํานึงถึงมุมมองของลูกค้าอยูเ่ สมอแม้จะอยูใ่ นช่วงเวลาทีย ่ าก ลําบาก พร้อมยอมรับข้อผิดพลาดและดําเนินการแก้ไขในทันที เพือ ่ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
CPN มุง ่ รักษาจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ การกํากับดูแลกิจการ ที่ ดี เสริ ม สร้ า งให้ บุ ค ลากรทํ า งานอย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และความน่ า เชื่ อ ถื อ ทั้ ง ต่ อ ตนเองและ ผู้ อื่ น ไม่ นิ่ ง เฉยเมื่ อ พบการกระทํ า ผิ ด ในบริ ษั ท ฯ ทํ า งานด้ ว ย ความโปร่ ง ใส เปิ ด เผยและตรวจสอบได้ ตลอดจนปฏิ บั ติ ต าม กฎระเบียบ และหลักจรรยาบรรณของบริษัทฯ
A-ALLIANCE
ทํางานร่วมกันเป็นทีม เพื่อความก้าวหน้าทั้งกลุ่มธุรกิจ CPN ผลักดันให้บุคลากรมุ่งทํางานเพื่อองค์กรภายใต้เป้าหมาย หลักเดียวกัน และมีแนวทางในการตัดสินใจในการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึงทางเลือกทีเ่ ป็นประโยชน์สง ู สุดร่วมกันทุกฝ่าย รับฟัง และเคารพในมุมมองทีแ ่ ตกต่างอยูเ่ สมอ สร้างเครือข่ายองค์ความ รูใ้ หม่ ๆ เพือ ่ ยกระดับองค์ความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน รวมไป ถึงการร่วมมือกันระหว่างสายงานและกลุม ่ ธุรกิจ เพือ ่ นําไปสูค ่ วาม เป็นหนึ่งขององค์กร
ด้วยองค์ประกอบที่สาํ คัญเหล่านี้ จึงกลายเป็นค่านิยมองค์กรของ CPN “เพราะเราใส่ใจ.. I•CARE”
15
ข้อมูลทางการเงินที่สาํ คัญ อาคารสํานักงาน ร้อยละ
2
ศูนย์อาหาร ร้อยละ
5
โรงแรม ร้อยละ
โครงการที่อยู่ อาศัย
สัดส่วนรายได้ แยกตามประเภทธุรกิจ
ร้อยละ
ร้อยละ
76
2560
2561
พื้นที่เช่าศูนย์การค้า (ตร.ม.)
อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ)
96
2557
2558
2559
2560
2561
พื้นที่เช่าอาคารสํานักงาน (ตร.ม.)
1 หมายเหตุ : ไม่รวมดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และรายได้ที่มิเกิดขึ้นเป็นประจํา 16
94
171,985
2559
97
171,591
2558
98
170,487
2557
97
170,342
1,700,308
93
1,663,744
92
1,595,248
94
1,561,090
94
1,374,973
96
6
อาคารสํานักงาน
169,466
ศูนย์การค้า
8
รายได้อื่น ๆ 1
ศูนย์การค้า
ร้อยละ
3
อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ)
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 03
2560
2561
9,893
7,746
9,244 2559
2560
2561
2 ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา 3 รออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2562
2561
2559
2560
2.41
2.20
2558
2.06
1.73
1.58 2560
2557
2561
เงินปันผลต่อหุน ้
2557
2558
2559
2560
1.10
3
(บาทต่อหุน ้ )
1.40
2559
2561
0.83
11.59
2558
(บาทต่อหุน ้ )
0.70
10.24
9.14
(บาทต่อหุน ้ )
14.02
มูลค่าตามบัญชีตอ ่ หุน ้
หมายเหตุ :
2558
0.65
2560
16.06
2559
63,880
53,005
46,801
41,748
2558
2557
2561
กําไรสุทธิหลังปรับปรุงต่อหุน ้ 2
(ล้านบาท)
74,176
ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้
2557
2560
(ล้านบาท)
7,083
2559
87,532
51,523
2558
56,694
56,244
47,287
(ล้านบาท)
2557
2559
กําไรสุทธิหลังปรับปรุง2
หนีส ้ น ิ รวม
2557
2558
36,065
2557
30,875
2561
10,823
2560
29,234
2559
23,668
104,527
2558
120,574
103,045
89,035 2557
(ล้านบาท)
25,713
รายได้รวม2
(ล้านบาท)
161,708
สินทรัพย์รวม
ข้ อ มู ล ทางการเงิ น ที่ สํ า คั ญ
2561
17
ข้อมูลทางการเงินทีส ่ าํ คัญ ณ 31 ธันวาคม
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
1,550,812 1,374,973 169,466 561 6,373
1,732,999 1,561,090 170,342 561 1,567
1,767,302 1,595,248 170,487 561 1,567
1,836,902 1,663,744 171,591 561 1,567
1,873,860 1,700,308 171,985 561 1,567
96 97 75 53
94 98 77 30
94 97 83 21
92 94 85 21
93 96 85 23
ผลการดําเนินงานภายใต้การบริหารงานของ CPN พื้นที่ให้เช่ารวม (ตร.ม.) ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน โรงแรม (ห้อง) อาคารสําหรับพักอาศัย อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ) ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน โรงแรม อาคารสําหรับพักอาศัย
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบาท) 1
รายได้รวม รายได้จากการเช่าและบริการ ขายอาหารและเครื่องดื่ม โรงแรม และการขายที่พักอาศัย ต้นทุนค่าเช่าและบริการ ขายอาหารและเครื่องดื่ม โรงแรม และการขายที่พักอาศัย 2 กําไรขั้นต้น กําไรสุทธิ 2 กําไรสุทธิหลังปรับปรุง
23,667,717
25,713,003 29,233,920 30,875,333 36,064,592
22,307,540 24,282,565 27,633,700 28,785,006 33,887,062 11,616,239 12,051,478 7,306,953 7,083,269
12,633,723 14,040,598 13,079,280 15,193,322 7,880,310 9,243,797 7,745,912 9,243,797
14,518,159 17,579,004 16,330,158 18,485,588 13,567,645 11,215,653 9,892,890 10,822,653
งบแสดงฐานะการเงิน (หน่วย: พันบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม 3 หนี้สินสุทธิที่มีภาระดอกเบี้ย ส่วนของผู้ถือหุ้นและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กําไรสะสม ทุนที่ออกและชําระแล้ว จํานวนหุ้น (‘000 หุ้น)
18
89,035,187 103,044,632 104,527,348 120,573,590 161,707,826 47,287,267 56,243,515 51,522,547 56,693,804 87,532,089 12,245,660 18,297,518 14,700,513 4,168,025 27,331,567 41,747,921 46,801,117 53,004,802 63,879,787 74,175,737 30,258,196 35,174,147 41,276,432 51,114,634 55,231,535 2,244,000 2,244,000 2,244,000 2,244,000 2,244,000 4,488,000 4,488,000 4,488,000 4,488,000 4,488,000
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 03
ณ 31 ธันวาคม
ข้ อ มู ล ทางการเงิ น ที่ สํ า คั ญ
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
0.29 50.92 28.60 8.77 18.93 1.63 1.58 9.14 0.65
0.39 50.87 29.10 8.21 18.12 1.76 1.73 10.24 0.70
0.28 51.97 30.70 8.91 18.87 2.06 2.06 11.59 0.83
0.07 52.94 31.17 12.05 23.84 3.02 2.20 14.02 1.40
0.37 51.26 29.12 7.95 17.59 2.50 2.41 16.06 6 1.10
204,204 45.50 50.25 36.25 44.92 28.22 5.21
210,936 47.00 49.25 39.75 44.61 27.08 4.79
254,694 56.75 61.75 43.00 54.35 28.50 5.11
382,602 85.25 87.00 53.75 68.95 28.42 6.42
335,478 74.75 87.25 68.25 78.30 30.47 5.24
อัตราส่วนทางการเงินรวม อัตราส่วนหนี้สินสุทธิที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น3 (เท่า) อัตรากําไรขั้นต้น 2 (ร้อยละ) อัตรากําไรสุทธิ 2 (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น 4 (ร้อยละ) กําไรต่อหุ้น 5 (บาท) กําไรสุทธิหลังปรับปรุงต่อหุ้น 2, 5 (บาท) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (จ่ายปีถัดไป) (บาท)
ข้อมูลหุ้น CPN
7
มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ณ สิ้นปี (ล้านบาท) ราคาปิด ณ สิ้นปี (บาท) ราคาสูงสุด (บาท) ราคาตํ่าสุด (บาท) ราคาเฉลี่ย (บาท) P/E (เท่า) P/BV (เท่า)
1 ไม่รวมดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และรายได้ที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา 2 ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา 3 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ไม่รวมเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย 5 กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ 6 รออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2562 7 ข้อมูลจาก SETSMART
19
สารจากคณะกรรมการบริษัท
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 04
สารจากคณะกรรมการบริ ษั ท
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
นับเป็นความภาคภูมิใจอีกครั้งหนึ่งที่บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) หรือ “CPN” ได้รับเลือกให้เป็น สมาชิกดัชนีแห่งความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ประจําปี 2561 ในกลุ่ม DJSI World เป็นปีแรก และอยู่ในกลุ่ม DJSI Emerging Markets เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน โดย CPN เป็นบริษัทใน หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ไทยรายแรกและรายเดียวที่ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกดัชนี DJSI ซึ่งเป็น ดั ช นี ป ระเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลการดํา เนิ น ธุ ร กิ จ ตามแนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ของบริ ษั ท ชั้ น นํ าระดั บ โลก แสดงถึงความสําเร็จของ CPN ในการนําแนวทางการพัฒนาธุรกิจและเติบโตอย่างยั่งยืนมาปรับใช้อย่าง เป็นรูปธรรม ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตอกยํ้าวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้นําในธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าปลีกในระดับภูมิภาค บริษท ั ฯ ยังคงมุง ่ มัน ่ พัฒนาและขยายธุรกิจให้เติบโตอย่างต่อเนือ ่ ง และยัง ่ ยืน ทัง ้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะในภูมภ ิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย และเวียดนาม โดยมีแผนพัฒนา ศูนย์การค้ารูปแบบใหม่ เช่น ในปี 2561 ได้เปิดให้บริการ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า เพือ ่ เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเทีย ่ วของโลก ยกระดั บ ให้ ภู เ ก็ ต เป็ น เมื อ งตากอากาศชายทะเลที่ ค รบครั น และ สมบูรณ์แบบด้วยไลฟ์สไตล์ การพักผ่อนแบบลักชูรี่ พร้อมด้วย เอ็ น เตอร์ เ ทนเมนต์ แ ละแอทแทรคชั น ระดั บ โลก นอกจากนี้ ในปี 2562 บริษท ั ฯ มีแผนธุรกิจในประเทศ ได้แก่ การเปิดให้บริการ เซ็นทรัล วิลเลจ ซึง ่ เป็น International Luxury Outlet ทีส ่ มบูรณ์ แบบแห่งแรกในประเทศไทย เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและนักช้อป ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ตามด้วยโครงการเซ็นทรัลพลาซา อยุธยา (กําหนดเปิดปี 2563) ที่จะเป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิตและ จุดหมายด้านการท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดอยุธยา สําหรับ การขยายธุรกิจในต่างประเทศนัน ้ บริษท ั ฯ จะเปิดให้บริการ เซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ ในประเทศมาเลเซียอย่างเป็นทางการ เพื่อเป็นศูนย์กลาง การใช้ชีวิตที่ครบวงจรแห่งใหม่ในเขตตะวันตกของรัฐสลังงอร์ ด้านการพัฒนาธุรกิจใหม่ในอนาคต บริษท ั ฯ มีแผนพัฒนาโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ บบผสม (Mixed-use Development)
ที่ประกอบด้วยอสังหาริมทรัพย์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ศูนย์การค้า สํานักงาน ทีพ ่ ก ั อาศัย และโรงแรม อย่างครบวงจร เพือ ่ สร้างมูลค่า เพิม ่ ให้กบ ั ศูนย์การค้าและใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ อย่างคุม ้ ค่า อีกทัง ้ สร้าง เสริมรายได้ในระยะยาว ทัง ้ นี้ บริษท ั ฯ ได้บก ุ เบิกโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ภายในบริเวณศูนย์การค้า โดยในปีที่ผ่านมาสามารถโอนโครงการ คอนโดมิเนียม 3 โครงการแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ ระยอง และ ขอนแก่น ให้กบ ั ลูกค้าตามแผนทีก ่ าํ หนดไว้ พร้อมกันนัน ้ ได้เปิดขาย โครงการคอนโดมิ เ นี ย มใหม่ ใ นบริ เ วณศู น ย์ ก ารค้ า อี ก 3 แห่ ง ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เชี ย งราย และนครราชสี ม า ซึ่ ง ได้ รั บ การ ตอบรับที่ดี มียอดจองเต็มจํานวน และยังได้เปิดขายโครงการ บ้านเดีย ่ วและคอนโดเนียมในกรุงเทพฯ ในทําเลใกล้กบ ั ศูนย์การค้า ซึง ่ จากการสํารวจพบความต้องการซือ ้ บ้านและคอนโดมิเนียมเพือ ่ อยูอ ่ าศัยจริง นอกจากนัน ้ บริษท ั ฯ ยังได้ดาํ เนินธุรกิจในเชิงรุก โดย ในปีที่ผ่านมา CPN ได้เข้าถือหุ้นใน บมจ. แกรนด์ คาแนล แลนด์ (GLAND) สัดส่วนร้อยละ 67.53 ด้วยเล็งเห็นถึงโอกาสการขยาย ธุรกิจจากสินทรัพย์และที่ดินที่มีศักยภาพในย่านพระราม 9 และ พหลโยธิ น ซึ่ ง เป็ น ย่ า น CBD ที่ สํ า คั ญ ของกรุ ง เทพฯ และ ก่ อ นหน้ า นี้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ ป ระกาศร่ ว มลงทุ น กั บ บมจ. ดุ สิ ต ธานี พั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ บบผสมบนทํ า เลโดดเด่ น ใจกลางเมืองย่านสีลม
21
นอกจากการพัฒนาโครงการใหม่ ๆ แล้ว CPN ยังให้ความสําคัญ กับการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์การค้าเดิมเพือ ่ ตอบสนองรูปแบบ การใช้ชีวิตและความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปในยุค เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งถือเป็นความท้าทายของบริษัทฯ ที่จะต้อง พัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นมากกว่าสถานที่ซื้อหาสินค้าและบริการ เท่านั้น แต่ต้องสามารถมอบประสบการณ์ความสุขที่หาไม่ได้บน โลกออนไลน์ให้กับผู้มาใช้บริการอีกด้วย ดังนั้น CPN จึงได้ต่อ ยอดจุดแข็งของการเป็นผู้นําในธุรกิจศูนย์การค้า โดยยกระดับ ศูนย์การค้าของบริษัทฯ ให้เป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิต (Center of Life) ของชุมชนและสังคมยุคใหม่ ครอบคลุมทุกกลุม ่ เป้าหมายและ ครบครั น ในทุ ก มิ ติ พร้ อ มนํ า เสนอประสบการณ์ แ ละสร้ า ง แรงบันดาลใจให้กับผู้ที่เข้ามาใช้บริการในศูนย์การค้า นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังผลักดันให้ศูนย์การค้าของเรามีบทบาทเป็นศูนย์กลาง ของชุมชน (Center of Community) เพื่อเป็นสถานที่พบปะ ทํา กิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชนนั้น ๆ รวมทั้งนําความเจริญไปสู่ ทุกพื้นที่ที่บริษัทฯ เข้าไปทําธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนธุรกิจ ของผู้ประกอบการท้องถิ่น ส่งเสริมและยกระดับศิลปวัฒนธรรม ของชุ ม ชน โดยการจั ด พื้ น ที่ สํ า หรั บ จํ า หน่ า ยสิ น ค้ า ชุ ม ชนและ สถานที่จัดงานสําคัญ เป็นต้น เพื่อให้ศูนย์การค้าของ CPN เป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิตอย่าง แท้จริง บริษท ั ฯ ยังได้รเิ ริม ่ กลยุทธ์ Destination Concepts เพือ ่ สร้างสรรค์พน ื้ ทีภ ่ ายในศูนย์การค้าให้สามารถตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ และความชืน ่ ชอบของคนหลากหลายกลุม ่ เช่น Family Destination พืน ้ ทีส ่ าํ หรับเชือ ่ มโยงคนในครอบครัวให้ทาํ กิจกรรมร่วมกัน Food Destination ศูนย์รวมร้านอาหารหลากหลายครบทุกรูปแบบ Fashion Destination ศูนย์รวมสินค้าแฟชัน ่ หลากหลายแบรนด์ และสไตล์ พร้อมกิจกรรมสร้างแรงบันดาลใจและนําเสนอเทรนด์ ใหม่ ๆ Sport Destination ศูนย์รวมสําหรับคนรักสุขภาพและ ชืน ่ ชอบกีฬาและการออกกําลังกาย และ Co-working Destination พื้นที่สําหรับผู้มีความคิดสร้างสรรค์ ต้องการหาแรงบันดาลใจ ที่ ม าพบปะแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ร ะหว่ า งกั น เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ บริษท ั ฯ ได้เริม ่ ปรับปรุงและพัฒนาพืน ้ ทีใ่ นศูนย์การค้าให้สอดคล้อง กั บ แนวคิ ด ดั ง กล่ า ว ดั ง เช่ น ในปี ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ได้ ป รั บ โฉม เซ็นทรัลเวิลด์ครั้งใหญ่ ให้เป็นศูนย์รวมจุดหมายในการใช้ชีวิต ระดับโลก ภายใต้แนวคิด “Central to your wOrld” รวบรวม Destination Concept หลากหลายรูปแบบดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังได้บุกเบิกธุรกิจแพล็ตฟอร์มใหม่ ๆ โดยร่วมมือ กั บ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามชํ า นาญในด้ า นต่ า ง ๆ เพื่ อ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่จะเป็นแม็กเน็ตสําคัญให้กับศูนย์การค้า ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์ Attraction ระดับโลกที่เซ็นทรัล ภูเก็ต ได้แก่ “Aquaria” อควาเรียมรูปแบบใหม่ครั้งแรกในประเทศไทย และร่วมลงทุนในธีมปาร์ค “ไตรภูมิ มหัศจรรย์สามโลก” สร้าง
22
ปรากฏการณ์ทอ ่ งเทีย ่ วผจญภัยแบบสามมิตท ิ แ ี่ ปลกใหม่ทส ่ี ด ุ และ ล่าสุด บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับบริษัท Common Ground Group จากประเทศมาเลเซีย พัฒนาธุรกิจ Co-working Space ใน ประเทศไทย ภายใต้แบรนด์ “Common Ground” เพื่อเชื่อมโยง ศูนย์การค้าและอาคารสํานักงานในอนาคต เช่นเดียวกับที่ในช่วง ต้นปี 2561 บริษัทฯ ได้พันธมิตรชั้นนําอย่าง IKEA เปิดให้บริการ สาขา “อิเกีย บางใหญ่” เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้กับเซ็นทรัล พลาซา เวสต์เกต ตอกยํ้ า ความเป็ น สุ ด ยอดศู น ย์ ก ารค้ า ระดั บ ภูมิภาค (Super-regional mall) โดยเป็นอิเกียสโตร์โมเดลใหม่ ที่ สุ ด ในไทยและมี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มีทางเข้าเชื่อมต่อกับศูนย์การค้าทุกชั้น และมีเคาน์เตอร์จ่ายเงิน ในทุกๆ ชั้นรวมถึง 29 จุด ให้ลูกค้าช้อปปิ้งได้สะดวกขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้สานต่อโครงการส่งเสริมและสร้างความ แข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการ SMEs ของไทย ในโครงการ CPNlead (Leading Entrepreneur Advanced Development) ต่อเนื่องเป็นปีที่สอง เพื่อพัฒนาส่งเสริมคู่ค้าและผู้ประกอบการ รุน ่ ใหม่ ให้สามารถต่อยอดและขยายธุรกิจได้ดว ้ ยตนเอง และเติบโต ไปพร้อม ๆ กับบริษัทฯ ซึ่งนอกจากจะส่งเสริมนโยบายประชารัฐ และเศรษฐกิจในภาพกว้างแล้ว ยังเป็นการสรรหาผู้เช่ารายใหม่ ๆ ให้กบ ั ศูนย์การค้า เพิม ่ ทางเลือกของการเลือกซือ ้ สินค้าและบริการ ให้กบ ั ผูบ ้ ริโภคอีกด้วย สําหรับการสนับสนุนผูป ้ ระกอบการท้องถิน ่ และ SMEs ในรูปแบบอื่น ๆ ได้ดําเนินกิจกรรม SMEs Market Place ทั้งรูปแบบกิจกรรมการตลาด และพื้นที่ขายสินค้าประจํา นอกจากนี้ ยังได้มีการริเริ่มพัฒนาระบบเพื่อเชื่อมต่อธุรกิจการ ขายสินค้าในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อเพิ่มช่องทางการ ขายให้กบ ั ร้านค้าในศูนย์การค้าในอนาคต ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาส ให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการออนไลน์ได้เปิดร้านค้าภายในศูนย์การค้า ในด้ า นการให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า และผู้ ป ระกอบการ บริ ษั ท ฯ ได้ นํ า เทคโนโลยีเข้ามาอํานวยความสะดวกให้ผบ ู้ ริโภคและร้านค้า โดยเริม ่ จากการนําระบบการชําระเงิน QR Code (Quick Response Code) เข้ามาช่วยให้การซือ ้ ขายสะดวกรวดเร็วขึน ้ และสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลทีจ ่ ะสนับสนุนสังคมไร้เงินสด อีกทัง ้ ได้เพิม ่ ช่องทางการสือ ่ สารกับลูกค้าโดยเปิดตัว Line Official Account “central Life” (@centrallife) เพือ ่ เข้าถึงไลฟ์สไตล์ของกลุม ่ ลูกค้า ยุคใหม่ ในการส่งข่าวสาร กิจกรรม และบริการใหม่ ๆ พร้อมทั้ง ระบบค้นหาร้านค้าและนําทางไปสูร่ า้ นค้า (Indoor Map Navigation) และระบบบริการจองทีจ ่ อดรถ ขณะเดียวกัน บริษท ั ฯ ยังได้พฒ ั นา “CPN Serve” Application เพือ ่ ให้รา้ นค้าผูเ้ ช่าติดต่อรับบริการ กั บ บริ ษั ท ฯ ได้ ส ะดวกรวดเร็ ว ขึ้ น สํ า หรั บ การบริ ห ารภายใน สํานักงานและลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบริหารศูนย์การค้า ได้นํา ระบบ Smart Office มาใช้เพิม ่ ประสิทธิภาพการทํางานและลดการ ใช้กระดาษ หรือระบบจัดการการใช้พลังงานในศูนย์การค้า เป็นต้น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 04
ทั้งนี้ จากการดําเนินธุรกิจตามแนวทางดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้ บริษัทฯ เติบโตอย่างต่อเนื่องเป็นไปตามแผนที่วางไว้ รวมถึงการ ได้รบ ั รางวัลในด้านต่าง ๆ เช่น Drive Award 2018 สาขา Financial Excellence ต่อเนื่องเป็นปีที่สอง ซึ่งมอบให้กับองค์กรที่มีการ บริหารจัดการทางการเงินทีด ่ เี ยีย ่ ม มีกลยุทธ์ทางการเงิน ยึดหลัก ธรรมาภิบาล และมีผลการดําเนินงานทางการเงินที่ดี และรางวัล Outstanding Company Performance Awards สําหรับบริษท ั จดทะเบียนทีม ่ ผ ี ลการดําเนินงานโดดเด่นและการกํากับดูแลกิจการ ทีด ่ ี อีกทัง ้ ได้รบ ั รางวัล Thailand’s Top Corporate Brands 2018 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 สําหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ที่มีมูลค่าแบรนด์สูงที่สุดในหมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ของไทย นอกจากความภาคภูมิใจทางธุรกิจแล้ว บริษัทฯ ยังรู้สึก ภาคภูมใิ จทุกครัง ้ ทีเ่ ห็นผูบ ้ ริโภคมีความสุขเมือ ่ เข้ามาใช้บริการในศูนย์ การค้ า และภู มิ ใ จที่ เ ห็ น ชุ ม ชนที่ อ ยู่ โ ดยรอบและผู้ ป ระกอบการ จํานวนมากที่ได้พัฒนาและเจริญเติบโตคู่ไปกับการทําธุรกิจของ บริษัทฯ
สารจากคณะกรรมการบริ ษั ท
ในนามของคณะกรรมการบริษท ั ขอขอบคุณผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกฝ่าย ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ร้านค้า ผู้เช่า ลูกค้าผู้เข้ามาใช้บริการ คู่ค้า สถาบัน การเงิ น สื่ อ มวลชน ตลอดจนหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนที่ เกี่ยวข้องที่ได้ให้ความไว้วางใจและสนับสนุนการดําเนินงานของ บริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา ตลอดจนพนักงานทุกคนที่ทุ่มเทอย่าง เต็มทีภ ่ ายใต้หลักบรรษัทภิบาลทีด ่ ี เพือ ่ ให้ลก ู ค้า ผูเ้ ช่า ได้รบ ั การดูแล อย่างดี ส่งผลให้บริษท ั ฯ บรรลุเป้าหมายทีว ่ างไว้ทง ั้ ด้านการเติบโต ของรายได้ การขยายสาขา รวมถึงการร่วมกันประหยัดพลังงาน และใส่ใจสิ่งแวดล้อม ชุมชม สังคมอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ทั้งนี้ บริษัทฯ จะยังคงมุ่งมั่นดําเนินธุรกิจด้วยหลักบรรษัทภิบาลและ สํ า นึ ก ในความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และหวังว่าทุกท่านจะร่วมกันพัฒนาและ เติบโตไปพร้อมกับบริษัทฯ อย่างยั่งยืน
นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ
นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
23
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน โดยมีนายไพฑูรย์ ทวีผล ซึ่ง เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอในการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือของงบการเงินเป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายการุณ กิตติสถาพร นางโชติกา สวนานนท์ และนายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ เป็นกรรมการ ตรวจสอบ ปี 2561 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งสิ้น 11 ครั้ง โดยได้หารือร่วมกับฝ่ายบริหาร สํานัก ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีในเรื่องที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งได้รับข้อมูลจากฝ่ายบริหารอื่น ๆ ตามวาระ ที่สอดคล้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบที่กําหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอย่างครบถ้วน และ ได้ แ สดงความเห็ น รวมทั้ ง ให้ ข้ อ เสนอแนะอย่างอิสระตามที่พึงจะเป็น คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงาน ผลการดําเนินงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ทั้งสิ้น 8 ครั้ง สรุปสาระสําคัญของผลการดําเนินงาน และการให้ความเห็นในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ ความถูกต้อง ครบถ้วน และเชือ ่ ถือได้ของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานงบการเงิ น รายไตรมาส งบการเงินประจําปี นโยบายบัญชีที่สาํ คัญ รายงานทางการเงินที่ มีนัยสําคัญ และจากการพิจารณาขอบเขต แผนการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ และประเด็นที่ตรวจพบ ร่วมกับฝ่ายจัดการและ ผู้สอบบัญชี รวมถึงการจัดประชุมเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม 2 ครั้ง เพื่อหารือเกี่ยวกับความเป็น อิสระในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษัทฯ ได้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพฯ มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ รวมทั้งการเลือกใช้นโยบายการบัญชี มีความสมเหตุสมผล ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง และการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานผลการตรวจสอบ ของสํานักตรวจสอบภายใน และของผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับการ ประเมิ น ระบบควบคุ ม ภายใน สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารบริ ห าร ความเสี่ยง และประเมินความเสี่ยงให้ครอบคลุมในทุกมิติ รวมทั้ง สนับสนุนและให้ข้อเสนอแนะการดําเนินการกํากับดูแลกิจการที่ดี จึงมีสว ่ นให้บริษท ั ฯ ได้รบ ั รางวัลทัง ้ ในระดับประเทศและระดับสากล เช่น SET Sustainability Awards 2018 ในระดับ Outstanding และได้รบ ั คัดเลือกเป็นสมาชิกใน DJSI เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน เป็นต้น
24
น อ ก จ า ก นี้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ใ ห้ ค ว า ม สํ า คั ญ ต่ อ กระบวนการรั บ แจ้ ง เบาะแสและการรั บ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น ซึ่ ง เป็ น ส่วนหนึง ่ ของกระบวนการในการต่อต้านการทุจริตและคอร์รป ั ชัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายใน ของบริษท ั ฯ มีความเพียงพอและเหมาะสมเป็นไปตามกรอบแนวคิด การควบคุมภายใน (COSO Framework) และหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานและให้ ค วามเห็ น ชอบ ต่อแผนงานตรวจสอบภายในประจําปี ที่จัดทําโดยใช้หลักเกณฑ์ ตามฐานความเสี่ยง โดยประชุมร่วมกับผู้บริหารสํานักตรวจสอบ ภายในโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่างสมํา่ เสมอ อีกทั้งผลักดันให้สาํ นัก ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาทัง ้ ในด้านบุคลากร และนําโปรแกรม มาใช้ โดยเฉพาะการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลในงานตรวจสอบภายใน ในปี 2561 มีการพิจารณา ทบทวนกฎบั ต รของสํ า นั ก ตรวจสอบภายในให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐานสากลสํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ง านวิ ช าชี พ การตรวจสอบ ภายในฉบับใหม่ และเป็นไปตามการปฏิบต ั ง ิ านทีด ่ จ ี ากข้อเสนอแนะ ของการประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายในโดยผูป ้ ระเมินอิสระ ภายนอก นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประเมินคุณภาพงาน ตรวจสอบภายในทีท ่ าํ เป็นประจําทุกปี ซึง ่ ผลการประเมินอยูใ่ นระดับดี คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า สํ า นั ก งานตรวจสอบ ภายในได้ปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานสากลที่กาํ หนดไว้
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 05
การปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กํ า หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ และติดตามแนวทาง การปรับปรุงแก้ไขของฝ่ายจัดการอย่างสมํา่ เสมอ ตลอดจนกํากับ ดูแลในเรื่องการทบทวนจรรยาบรรณและนโยบายการกํากับดูแล กิ จ การให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานใหม่ แ ละมาตรฐานสากล โดย มอบหมายให้ฝ่ายจัดการสอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้ เป็นไปตามแนวทางของหลักการ CG Code คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษท ั ฯ มีการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ เป็ น กรณี พิ เ ศษ ในการพิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เป็ น ประจํ า ทุ ก ไตรมาส และมอบหมายให้ สํานักตรวจสอบภายในติดตามสอบทานความถูกต้องในเบื้องต้น และเน้นยํ้าให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย ที่กําหนดไว้ รวมทั้งให้ผู้สอบบัญชีสอบทานรายการดังกล่าวเป็น ประจําทุกปี ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการที่ เกีย ่ วโยงกันทีไ่ ด้พจ ิ ารณานัน ้ เป็นรายการทีเ่ ข้าข่ายเป็นธุรกิจปกติ ที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป มีความสมเหตุสมผล เป็นธรรม และเป็น ประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ ความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี การพิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินความเป็นอิสระและผลการ ปฏิบัติงานสําหรับปี 2561 ผลการประเมินด้านการปฏิบัติงานโดย รวมอยู่ ใ นระดั บ ดี มี ค วามเป็ น อิ ส ระเพี ย งพอ คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ประชุมหารือร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการ เข้าร่วมจํานวน 2 ครั้ง เพื่อขอความเห็นจากผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับ การปฏิบต ั ง ิ านตรวจสอบและปัญหาการทํางานร่วมกับฝ่ายจัดการ ที่เกี่ยวข้อง
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
ในการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี สํ า หรั บ ปี 2562 นัน ้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาผลการปฏิบต ั ง ิ าน ขอบเขต และปริมาณงานเทียบกับค่าบริการสอบบัญชีสําหรับ ปี 2562 ที่เสนอมา โดยมีความเห็นชอบเสนอต่อคณะกรรมการ บริษท ั ให้แต่งตัง ้ บริษท ั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด (ผูส ้ อบ บัญชีหลัก) เป็นผูส ้ อบบัญชีและแสดงความคิดเห็นต่องบการเงิน ของบริษท ั ฯ และบริษท ั ย่อยประจําปี 2562 และอนุมต ั ค ิ า่ สอบบัญชี ประจําปี 2562 วงเงินไม่เกิน 8,565,000 บาท และค่าสอบบัญชี สําหรับผู้สอบบัญชีรองของบริษัทย่อยที่จัดตั้งและจดทะเบียน ในต่างประเทศ วงเงินไม่เกิน 803,502 บาท ความเห็นและข้อสังเกตโดยรวมจากการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านตนเองประจํา ปี 2561 โดยสรุปผลการประเมินภาพรวม ในวันที่ 9 มกราคม 2562 ซึ่งแบบประเมินฯ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การทําหน้าที่ โดยรวมของคณะกรรมการตรวจสอบ และส่วนที่ 2 การปฏิบัติ หน้าที่เฉพาะด้านของคณะกรรมการตรวจสอบ สําหรับส่วนที่ 2 แบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1) การสอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงาน ทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) การสอบทานให้บริษท ั ฯ มีการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 3) การสอบทานให้บริษท ั ฯ ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4) การพิจารณา คัดเลือกเสนอแต่งตัง ้ ผูส ้ อบบัญชี 5) การพิจารณารายการทีเ่ กีย ่ ว โยงกัน และ 6) การจัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นโดยรวมว่า คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ปฏิบัติตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ระบุไว้ใน กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการ บริษท ั อย่างเพียงพอและครบถ้วน โดยใช้ความรูค ้ วามสามารถและ ความระมัดระวัง รอบคอบ มีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ เพื่อ ประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน
นายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการตรวจสอบ
25
รายงานคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในปี 2561 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง และได้รายงานสรุป ผลการดําเนินงานทุกครั้งให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการดําเนินงานที่สําคัญในปี 2561 สรุปได้ดังนี้ 1.
26
พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการ เพือ ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั และทีป ่ ระชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2561 โดยบริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายบุคคล สามารถเสนอรายชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการ บริษท ั ได้ตง ั้ แต่วน ั ที่ 29 กันยายน 2560 ถึง 15 มกราคม 2561 แต่ไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณา แต่งตัง ้ เป็นกรรมการ ดังนัน ้ คณะกรรมการสรรหาและกําหนด
2.
ค่าตอบแทนจึงเสนอให้พจ ิ ารณาแต่งตัง ้ กรรมการทีอ ่ อกตาม วาระประจําปี 2561 กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการอีกวาระหนึง ่ โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้มีมติอนุมัติแต่งตั้งกรรมการทุกท่าน ตามที่เสนอ พิ จ ารณากํ า หนดค่ า ตอบแทนประจํ า ปี 2561 สํ า หรั บ คณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการชุดย่อย ซึง ่ ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกําหนด
รายงานประจําปี 2561
3.
4. 5.
6.
7.
บทที่ 06
ค่าตอบแทน และคณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง เพือ ่ เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษท ั และทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ พิจารณาอนุมต ั ิ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ความ สําเร็จในการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับผลประกอบการ และ ปัจจัยแวดล้อมอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข้อง ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบ กั บ อั ต ราค่ า ตอบแทนของบริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรม เดียวกันหรือใกล้เคียงกับบริษท ั ฯ ซึง ่ ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ได้มม ี ติ อนุมัติตามที่เสนอ พิจารณาประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ประจําปี 2560 และกําหนดเป้าหมายรวมทัง ้ วิธก ี ารประเมินผล การปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ประจําปี 2561 โดยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่มส ี ว ่ นร่วมในการกําหนดเป้าหมาย และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง พิ จ ารณาแผนสื บ ทอดตํ า แหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดยกรรมการผู้จัดการใหญ่มีส่วนร่วมในการพิจารณาและ นําเสนอข้อมูล พิ จ ารณารั บ ทราบความหลากหลายในโครงสร้ า งของ คณะกรรมการ (Board Diversity) ของบริษท ั ฯ ประจําปี 2561 ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนกรรมการอิสระ เพศ อายุ ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ง และความรู้ความชํานาญ เฉพาะด้ า นของคณะกรรมการ (Board Skill Matrix) เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเสนอแต่งตั้งกรรมการ ทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม มีความรูค ้ วามสามารถอันหลากหลาย และเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้ง ได้มีการพิจารณาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ถือหุ้น ของบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ มุ ม มองที่ มี ต่ อ องค์ ป ระกอบและ โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท พิจารณารับทราบนโยบายการจ่ายโบนัสพนักงานประจําปี 2560 และให้ข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายจัดการเพื่อใช้เป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณาจ่ายโบนัสพนักงานประจําปี 2560 อย่างเหมาะสม พิจารณารับทราบผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการ สรรหาและกําหนดค่าตอบแทนประจําปี 2560 เพือ ่ เป็นข้อมูล ในการพั ฒ นาการปฏิ บั ติห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทนตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน
8.
พิ จ ารณาติ ด ตามความคื บ หน้ า และให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ นโยบายและการดํ า เนิ น งานด้ า นการบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ แ ละ การบริ ห ารองค์ ก ร เช่ น แผนงานและผลการดํ า เนิ น งาน ในปี 2561 การสรรหาพนั ก งาน อั ต ราการลาออก และ แผนการพัฒนาบุคลากร เป็นต้น 9. พิจารณารับทราบการปรับโครงสร้างการบริหารงานของ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและความคล่ อ งตั ว ในการ บริหารงานของบริษัทฯ 10. พิจารณารับทราบเกณฑ์การกํากับดูแลกิจการและความยัง ่ ยืน ที่ เ กี่ ย วกั บ คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน โดยเปรี ย บเที ย บกั บ การประเมิ น การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย ซึ่ ง ออกโดย สถาบันกรรมการบริษัทไทย เกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard และ Dow Jones Sustainability Indices
11. พิจารณาทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบริษัทและกฎบัตร คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยในปี 2561 ไม่มีการปรับปรุงแก้ไขเนื่องจากกฎบัตรฉบับปัจจุบันมีความ ครบถ้วนและเหมาะสมแล้ว คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้วยความรอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต ตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ กําหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยยึ ด มั่ น ในหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี อ ย่ า งเพี ย งพอ และเหมาะสม เพื่อประโยชน์ที่สมดุลและยั่งยืนของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วน
นายการุณ กิตติสถาพร ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน
27
รายงานคณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ให้ความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยงแบบยั่งยืน สร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมทุกกิจกรรมทางธุรกิจ และผลักดันให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการทํางานใน องค์กร ซึง ่ การระบุปจ ั จัยเสีย ่ งสําคัญ (Key Risk Factors) จะครอบคลุมทุกมิติ ทัง ้ ในระดับองค์กรและในระดับ หน่วยธุรกิจ เพื่อกําหนดกลยุทธ์การจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสมในการลดปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวให้อยู่ในระดับ ที่องค์กรยอมรับได้ ภายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง และการบริหารจัดการของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยในปี 2561 ที่ผ่านมา คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยงมีการประชุม ทั้งสิ้น 5 ครั้ง และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการประชุมทั้งสิ้น 5 ครั้งมีผลการดําเนินงานที่สําคัญโดย สรุปดังนี้ 1.
28
ทบทวนความเสีย ่ งสําคัญระดับองค์กรประจําปี โดยพิจารณา จากพลวัตการเปลีย ่ นแปลงภายนอก ทัง ้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สภาพภูมอ ิ ากาศ และนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ทีส ่ ง ่ ผลกระทบ ต่อรูปแบบการดําเนินชีวต ิ และพฤติกรรมของผูบ ้ ริโภค รวมถึง การแข่ ง ขั น ที่ รุ น แรงขึ้ น ทั้ ง จากคู่ แ ข่ ง ภายในอุ ต สาหกรรม เดียวกันและจากคูแ ่ ข่งรายใหม่จากอุตสาหกรรมทดแทนอืน ่ ๆ ประกอบกับปัจจัยภายในเพื่อกําหนด Risk Universe ซึ่ง
ครอบคลุมความเสีย ่ งทีส ่ าํ คัญ ทัง ้ 5 ด้าน คือ 1) ความเสีย ่ ง ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) 2) ความเสีย ่ งด้านปฏิบต ั ก ิ าร (Operational Risk) 3) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตาม กฎหมายและกฎระเบียบ (Compliance Risk) 4) ความเสีย ่ ง ด้านการเงิน (Financial Risk) และ 5) ความเสี่ยงด้าน ความปลอดภัยจากภัยอันตราย (Hazard Risk) ซึง ่ ได้กล่าวถึง รายละเอียดของความเสีย ่ งแต่ละด้านไว้ในหัวข้อปัจจัยความเสีย ่ ง
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 07
รายงานคณะกรรมการนโยบายความเสี่ ย ง
ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ทง ั้ Hardware, Software และระบบเครือข่ายอย่างต่อเนือ ่ ง ให้ทน ั สมัยและสามารถ ป้องกันภัยจากการโจมตีในรูปแบบต่าง ๆ 2) ด้านบุคลากร มีการสร้างความตระหนักรู้ด้านความไม่ปลอดภัยทาง ไซเบอร์ และสือ ่ สารให้ความรูค ้ วามเข้าใจในการใช้งานระบบ อย่างปลอดภัยผ่านสื่อในช่องทางต่าง ๆ รวมทั้งการ จัดการสัมมนาให้ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางจาก ภายนอก 3) ด้านการรับมือเมือ ่ เกิดเหตุ มีการปรับปรุงแผน ความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCP) และแผนกู้คืนข้อมูล เมือ ่ เกิดภัยพิบต ั ิ (Disaster Recovery) ให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้ อ มและระบบคอมพิ ว เตอร์ ที่ ใ ช้ อ ยู่ ใ นการ ทํางานในปัจจุบน ั และมีการซ้อมแผนดังกล่าว รวมทั้งได้ มีการจัดทํา Cyber Insurance เพื่อลดความเสียหาย หากเกิดเหตุ
และได้ สํ า รวจความคิ ด เห็ น ของคณะกรรมการนโยบาย ความเสี่ ย ง และคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ ประเมินความเสีย ่ งทีส ่ าํ คัญระดับองค์กรร่วมกัน 2.
ทบทวนความเสีย ่ งทีเ่ กิดขึน ้ ใหม่ (Emerging Risks) ทีอ ่ าจมี ผลกระทบอย่างมีนย ั สําคัญต่อพันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ หรือ การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการนโยบาย ความเสีย ่ งได้คาํ นึงถึงความเสีย ่ งดังต่อไปนี้ ก. ความเสี่ยงด้านการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ในการทําธุรกิจในสภาพแวดล้อมใหม่หรือการทําธุรกิจ ใหม่ จากกลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่มุ่งเติบโต ทั้งจากการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทําธุรกิจเดิมและแสวงหาโอกาส จากธุรกิจใหม่ ซึ่งการปรับตัวของบริษัทฯ เพื่อรองรับ การเปลีย ่ นแปลงดังกล่าวเป็นปัจจัยสําคัญต่อการประสบ ความสําเร็จของโครงการและชือ ่ เสียงของบริษท ั ฯ ดังนัน ้ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ เ ตรี ย มความพร้ อ มในด้ า นต่ า ง ๆ เช่ น การปรับเปลีย ่ นนโยบาย การปรับปรุงโครงสร้างการบริหาร การทบทวนกระบวนการปฏิบัติงาน การพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนั ก งาน ให้ ห ลากหลายรองรั บ การเติบโต เป็นต้น ข. ความเสี่ยงด้านการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน รวมถึง การเปลีย ่ นแปลงทีอ ่ าจทําให้เกิดรูปแบบธุรกิจใหม่ ส่งผล ต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ที่ดําเนินการอยู่ (IT Disruption) ทํ า ให้ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งปรั บ ตั ว ในการนํ า เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน กับคู่แข่งทางตรงและทางอ้อม และสามารถคว้าโอกาส ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น โดยนําเทคโลยีใหม่มาพัฒนาเครื่องมือ ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ง า น เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ความต้องการของลูกค้าและคูค ่ า้ ให้ดย ี ง ิ่ ขึน ้ รวมทัง ้ พัฒนา ความรู้ความสามารถและการปรับตัวของพนักงานให้ พร้ อ มรั บ กั บ การเปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง ถื อ เป็ น กลยุ ท ธ์ ห ลั ก ในปี 2561 และดําเนินการต่อเนือ ่ งในปีถด ั ไป ค. ความเสีย ่ งจากภัยคุกคามด้านไซเบอร์ (Cyber Security Risk) บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ภั ย คุ ก คามด้ า นไซเบอร์ เนื่องจากปัจจุบันมีการพึ่งพาเทคโนโลยีและระบบดิจิทัล มาใช้เป็นช่องทางในการให้บริการลูกค้าและคูค ่ า้ การปฏิบต ั ิ งานและจัดเก็บข้อมูลสําคัญต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับระบบ ภายนอกมากขึ้น ทําให้เกิดความเสี่ยงจากการโจรกรรม ข้ อ มู ล และโจมตี ผ่ า นระบบไซเบอร์ (Cyber-Attack) ซึ่ ง ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ค ว า ม ต่ อ เ นื่ อ ง ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ธุรกิจและชื่อเสียงของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีมาตรการ จัดการความเสีย ่ งนีใ้ นหลาย ๆ ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความ ปลอดภั ย ของระบบคอมพิ ว เตอร์ มี ก ารพั ฒ นาและ
3.
พิจารณาเห็นชอบการจัดทําทะเบียนข้อมูลความเสี่ยง (Risk Register) กําหนดตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สําคัญ (Key Risk Indicator) และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้
4.
ติดตามสถานะความเสีย ่ งของความเสีย ่ งทีส ่ าํ คัญ และพิจารณา แผนจัดการความเสีย ่ งทีส ่ อดคล้องเหมาะสม (Risk Response Plan) ของหน่วยงานเจ้าของความเสี่ยง (Risk Owner)
5.
ติดตามการบริหารความเสีย ่ งในระดับสาขา โดยมีการทบทวน ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม่ แ ละจั ด ทํ า แผนจั ด การความเสี่ ย ง เหล่านัน ้ ในทุกสาขาอย่างต่อเนือ ่ ง
6.
พิจารณาเห็นชอบการทบทวนระบบการบริหารความเสีย ่ งให้ เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจและการปฏิบัติงานในปัจจุบัน เพือ ่ ให้การบริหารความเสีย ่ งเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยงได้มีการรายงานผลการบริหาร ความเสี่ ย งให้ กั บ คณะกรรมการบริ ษั ท รั บ ทราบอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยในปีที่ผ่านมา การบริหารความเสี่ยงได้พิจารณาครอบคลุม ปัจจัยเสี่ยงทุกด้าน มีการบริหารและติดตามความเสี่ยงที่สําคัญ อย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ โดยบริษัทฯ ได้บริหารจัดการความ เสี่ยงที่สําคัญระดับองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและอยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ ซึ่งได้ช่วยส่งเสริมให้องค์กรสามารถบรรลุผลสําเร็จ ตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่กําหนดไว้ได้อย่างสมบูรณ์
นายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง
29
รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) กําหนดให้บริษท ั ฯ ดําเนินธุรกิจภายใต้จรรยาบรรณและนโยบาย การกํากับดูแลกิจการ และยึดมัน ่ ในหลักการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนอย่างต่อเนือ ่ ง โดยมีคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืนกํากับดูแล ติดตามแผนงาน และสื่อสารให้มีการปฏิบัติตามอย่างทั่วถึงทั้งองค์กร โดยในปี 2561 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง และได้ รายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทรับทราบตามลําดับซึ่งการดําเนินงานที่สําคัญ ในปี 2561 มีดังนี้ 1.
รับทราบเกี่ยวกับการรับรองการต่ออายุโครงการแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC Recertification) เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561 รวมทั้ง พิจารณาและให้ขอ ้ เสนอแนะเกีย ่ วกับการดําเนินงานด้านการ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันอย่างต่อเนื่อง
2.
พิ จ ารณาทบทวนและปรั บ ปรุ ง จรรยาบรรณและหลั ก การ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) เพื่อยกระดับด้านความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท และเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษท ั ร่วมให้ยด ึ ถือปฏิบต ั ใิ นทิศทางเดียวกัน โดยทีป ่ ระชุม คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติตามที่เสนอ
30
3.
พิ จ ารณาและให้ คํ า แนะนํ า แก่ ค ณะทํ า งานในการจั ด อบรม เกี่ ย วกั บ การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น การดํ า เนิ น นโยบายงดรั บ ของขวั ญ ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจนกิ จ กรรม รณรงค์ สื่ อ สารที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ า ง ๆ เพื่ อ สร้ า งวั ฒ นธรรม องค์ ก รที่ ซื่ อ สั ต ย์ มี นํ้ า ใจ โปร่ ง ใส และต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชัน
4.
จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ตนเองตามหลั ก บรรษั ท ภิ บ าล (CG Individual Assessment) สําหรับพนักงานและผู้บริหาร เป็นประจําทุกปี โดยในปี 2561 ได้มีการปรับรูปแบบคําถามให้ กระชั บ และตรงประเด็ น มากขึ้ น เพื่ อ นํ า ข้ อ มู ล มาใช้ ใ นการ พัฒนาแผนการดําเนินงานและปลูกฝังวัฒนธรรมด้านกํากับ ดูแลกิจการที่ดีทั่วทั้งองค์กรต่อไป
รายงานประจําปี 2561
5.
6.
บทที่ 08
นํ าแ น ว ท าง “ เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ งยื น ในกรอบ สหประชาชาติ (The United Nations Sustainable Development Goals: SDGs)” ทีส ่ อดคล้องกับบริบทการ ดําเนินธุรกิจ จํานวน 8 เป้าประสงค์ มาผนวกในการกําหนด ประเด็ น สาระสํ า คั ญ ด้ า นความยั่ ง ยื น และกํ า หนดกลยุ ท ธ์ แผนงาน และเป้าหมายในการดําเนินการให้สอดคล้องเป็น รูปธรรมมากขึ้น พิจารณาทบทวน และอนุมัติประเด็นสาระสําคัญด้านความ ยั่ ง ยื น ความเสี่ ย งและโอกาสที่ มี นั ย สํ า คั ญ เพื่ อ ใช้ ใ นการ กําหนดกลยุทธ์สก ู่ ารเป็นศูนย์กลางของการใช้ชว ี ต ิ (Center of Life) โดยบูรณาการและกําหนดเป็นตัวชี้วัดด้านความ ยั่ ง ยื น ในแผนกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร และติ ด ตามผลรายไตรมาส มุ่ ง เน้ น ในการกระจายความเสี่ ย ง การพั ฒ นานวั ต กรรม การดูแลผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย และความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ
7.
นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาปรับปรุงกระบวนการทํางานให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งนํามาใช้ในการรับฟัง และสร้าง ความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สาํ คัญ
8.
พิ จ ารณาเห็ น ชอบแนวทางการลดผลกระทบเชิ ง ลบต่ อ สิ่งแวดล้อมในกระบวนการดําเนินธุรกิจ โดยเพิ่มสัดส่วน การใช้พลังงานสะอาด และการใช้นาํ้ รีไซเคิลในการดําเนินงาน ของศู น ย์ ก ารค้ า อี ก ทั้ ง นํ า โครงการศู น ย์ ก ารค้ า ทั้ ง หมด 32 โครงการขอรั บ รองการจั ด ทํ า คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ขององค์กรตามแนวทางสากล และนําโครงการที่มีความ พร้ อ มขอรั บ รองมาตรฐานอาคารเขี ย วในระดั บ สากล LEED : Leadership in Energy & Environmental Design
9.
สนับสนุนและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้แข็งแกร่ง โดยตัง ้ มัน ่ ในการส่งเสริมทั้งผู้ประกอบการท้องถิ่นและผู้ประกอบการ รายย่อยได้มเี วทีในการจัดจําหน่าย มีชอ ่ งทางในการทําตลาด มีความรู้และทักษะในการทําธุรกิจค้าปลีกแบบโมเดิร์นเทรด รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดการจ้างงานท้องถิ่นโดยบริษัทฯ และโดยคูค ่ า้ และผูร้ บ ั เหมา
10. เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ นบทบาทผู้ นํ า ด้ า นความยั่ ง ยื น (SD Champion) เพื่อผลักดันให้การดําเนินงานของบริษัทฯ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนตามที่กําหนดไว้ รวมทั้ง สอดคล้ อ งกั บ หลั ก บรรษั ท ภิ บ าลและจรรยาบรรณในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจนรั บ ทราบและติ ด ตาม สถานการณ์ภาวะตลาดและแนวโน้มการเปลีย ่ นแปลงของโลก
รายงานคณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ตามกรอบสิง ่ แวดล้อม สังคม และการกํากับดูแลกิจการ หรือ Environment Social Governance (ESG) 11.
สร้างการมีส่วนร่วมโดยการพบปะ สื่อสาร และสร้างความ เข้าใจตามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนให้กบ ั ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย หลักที่สําคัญ ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ร้านค้า ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า และสังคม ผ่านการประชุม การสัมมนา การแบ่งปันข้อมูล การจัดกิจกรรม และสื่อประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสมทั้งภายใน และภายนอกองค์กร
ด้วยความตัง ้ มัน ่ ในการดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน สร้างสมดุลทั้งการเติบโตในด้านผลประกอบการและด้าน การใส่ใจผู้มีส่วนได้เสีย และสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง ส่งผลให้ ในปี 2561 บริษท ั ฯ ได้รบ ั คัดเลือกเป็นสมาชิกของดัชนีความยัง ่ ยืน ดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices 2018) ของกลุ่ ม ดั ช นี ห ลั ก ทั่ ว โลก (DJSI World) ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์เป็นปีแรก และเป็นสมาชิกของกลุม ่ ตลาดเกิดใหม่ (DJSI Emerging Markets) อย่างต่อเนือ ่ งเป็นปีทห ี่ า้ ตลอดจน ได้ รั บ การรั บ รองจากหน่ ว ยงานวิ เ คราะห์ ดั ช นี ค วามยั่ ง ยื น ในระดับสากลอืน ่ ๆ อาทิ FTSE4Good Index Series และ MSCI Global Sustainability Indexes รวมไปถึงการได้รบ ั รางวัล SET Sustainability Awards 2018 ประเภท Outstanding จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง ่ การรับรองจากสถาบันต่าง ๆ เหล่านี้ เปรียบเสมือนเครื่องยืนยันความสําเร็จจากการร่วมมือ ร่ ว มใจและตั้ ง ใจจริ ง ของบริ ษั ท ฯ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ตามกรอบความยั่งยืน เพื่อสร้างให้เกิดสมดุล ใน 3 ด้าน คือ ทั้งในด้านการสร้างผลประกอบการที่ดี (Profit) การคํานึงถึงความต้องการและความคาดหวังของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย (People) และการใส่ ใ จในสิ่ ง แวดล้ อ ม (Planet) อั น ก่ อ ให้ เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและสังคมโลกอย่างยั่งยืนที่แท้จริง
นายปรีชา เอกคุณากูล ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
31
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 09
คณะกรรมการบริ ษั ท
คณะกรรมการบริษัท
1.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์
2.
ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์
4. นายการุณ กิตติสถาพร กรรมการอิสระ
7.
นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ กรรมการ
10. นายกอบชัย จิราธิวัฒน์ กรรมการ
32
นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ
5.
นางโชติกา สวนานนท์ กรรมการอิสระ
8. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ
11. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ
3.
นายไพฑูรย์ ทวีผล กรรมการอิสระ
6. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ กรรมการอิสระ
9. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการ
12. นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการ
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 10
คณะผู้ บ ริ ห าร
คณะผู้บริหาร
1.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
3.
นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่
5.
นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานคอมเมอร์เชียล
2.
นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
4. นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง
6. นายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจและโครงการ
33
พัฒนาการที่สําคัญในปี 2561 มีนาคม
การเปิดตัว อิเกีย บางใหญ่ ที่เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต
อิเกีย บางใหญ่ เป็นซุปเปอร์สโตร์รูปแบบใหม่และใหญ่ ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่รวมกว่า 50,000 ตร.ม. มี ท างเข้ า ออกเชื่ อ มต่ อ กั บ เซ็ น ทรั ล พลาซา เวสต์เกต ถึง 3 ชั้น การมี IKEA ซึ่งเป็นแบรนด์ เฟอร์ นิ เ จอร์ ร ะดั บ โลกเป็ น พั น ธมิ ต รช่ ว ยตอกยํ้ า ให้ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เป็นสุดยอดศูนย์การค้าระดับ ภูมิภาค (Super Regional Mall) เพื่อรองรับความ เจริญฝั่งกรุงเทพฯ ตะวันตก ย่านบางใหญ่
เมษายน
การจ่ายปันผล 1.40 บาทต่อหุ้น
ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1 ประจําปี 2561 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลจาก การดําเนินการปี 2560 ในอัตรา 1.40 บาทต่อหุน ้ คิดเป็น จํานวนเงิน 6,283,200,000 บาท คิดเป็นอัตราการจ่าย เงินปันผลที่ร้อยละ 46.3 ของกําไรสุทธิจากการดําเนิน งานตามงบการเงินรวมสําหรับปี 2560 ซึง ่ ประกอบด้วย ร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิจากการดําเนินงาน เป็นไปตาม นโยบายการจ่ายเงินปันผล และร้อยละ 64.4 ของรายได้ จากเงินชดเชยประกันภัย
พฤษภาคม
ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน)
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2561 เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2561 ได้มม ี ติอนุมต ั ก ิ ารซือ ้ หุน ้ สามัญของ บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) (“DTC”) จํานวน 194,926,920 หุน ้ คิดเป็นร้อยละ 22.93 ของหุน ้ สามัญ ที่ออกและชําระแล้วทั้งหมด 850,000,000 หุ้น มูลค่า รวมประมาณ 2,141.4 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ การลงทุนระยะยาว และไม่มีส่วนร่วมในการบริหารของ DTC แต่อย่างใด
แผนการเปิดศูนย์การค้าใหม่ 2 แห่ง
เซ็นทรัล วิลเลจ ศูนย์การค้ารูปแบบ International Luxury Outlet ระดับโลกแห่งแรกในประเทศไทย ตัง ้ อยูบ ่ นทีด ่ น ิ ประมาณ 100 ไร่ ใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ รองรับทัง ้ นักท่องเทีย ่ ว ชาวต่างชาติและลูกค้าชาวไทย มีรา้ นค้าหลากหลายกว่า 235 ร้านค้า ทั้งสินค้าแบรนด์เนมและแบรนด์แฟชั่นไลฟ์ สไตล์ ร่วมด้วยร้านอาหารต่าง ๆ โรงแรม สนามเด็กเล่น ในบรรยากาศอันร่มรื่นของธรรมชาติผสมผลานกับพื้น ทีเ่ อาท์ดอร์ ด้วยการตกแต่งในสไตล์ไทยร่วมสมัย โดยจะ เปิดให้บริการภายในไตรมาส 3 ปี 2562
34
เซ็นทรัลพลาซา อยุธยา เป็น Lifestyle Destination แห่งใหม่รม ิ ถนนสายเอเซีย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทีผ ่ สมผสานเอกลักษณ์เมือง มรดกโลกเข้ากับความร่วมสมัย โดยจะเป็นแลนด์มาร์ก ด้านการท่องเทีย ่ วของจังหวัดและศูนย์กลางการใช้ชว ี ต ิ และเป็นจุดแวะพักที่ดีที่สุดสําหรับนักท่องเที่ยวชาวต่าง ชาติ แ ละลู ก ค้ า ภายในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาและ จังหวัดใกล้เคียง โดยจะเปิดให้บริการในปี 2563
มิถุนายน
การขยายระยะเวลาการเช่าที่ดิน ของโครงการเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2
CPN ได้ ทํ า สั ญ ญาขยายระยะเวลาการเช่ า ที่ ดิ น ของ โครงการเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ต่ออีก 30 ปี สิ้นสุด ปี 2598 และปี 2603 (บางส่วน) ซึ่งการทํารายการ ดังกล่าวทําให้บริษท ั ฯ สามารถทําการบริหารและพัฒนา ศู น ย์ ก ารค้ า ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร พิ จ า ร ณ า เ งื่ อ น ไ ข แ ล ะ ร า ค า ก า ร ต่อสัญญาเช่าช่วงที่ดินและการเช่าอาคาร เพื่อเสนอ สิ ท ธิ ใ ห้ แ ก่ ท รั ส ต์ เ พื่ อ ก า ร ล ง ทุ น ใ น สิ ท ธิ ก า ร เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) ได้ พิจารณาเป็นลําดับต่อไป
สิงหาคม
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 จัดงานเปิดตัว โฉมใหม่ หลังการปรับปรุงครั้งใหญ่
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 จัดงาน Grand Opening เปิดตัวโฉมใหม่ภายใต้แนวคิดที่ต้องการให้ศูนย์การค้า เป็น Center of Hip Lifestyle Quality ด้วยร้าน อาหารและ Destination Concepts ใหม่ ๆ ร่วมด้วย การตกแต่ ง ในบรรยากาศธรรมชาติ ใ จกลางเมื อ ง เพิ่มโซนใหม่และพื้นที่พักผ่อน รวมถึง Co-working Space และร้ า นค้ า ใหม่ ๆ ตอบโจทย์ ก ารใช้ ชี วิ ต ของคนในย่านพระราม 3 และชาวต่างชาติ
กันยายน
เปิดให้บริการ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า
(Central Phuket Floresta) เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2561 เชือ ่ มต่อกับเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวล ั ทําให้เซ็นทรัล ภู เ ก็ ต เ ป็ น ศู น ย์ ก า ร ค้ า ที่ ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ใ น ภ า ค ใ ต้ ข อ ง ประเทศไทย ตั้ ง อยู่ ใ นใจกลางเมื อ งภู เ ก็ ต บนพื้ น ที่ ประมาณ 111 ไร่ ปักธงในการเป็นลักชูร่ีแฟล็กชิพแห่ง แรกของ CPN ที่ผสมผสานประสบการณ์การใช้ชีวิต และการพักผ่อนได้อย่างลงตัว ตอกยํ้าความเป็น The Magnitude of Luxury & Leisure Resort Shopping Destination ระดั บ โลกอย่ า งสมบู ร ณ์ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ่ ม
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 11
พั ฒ นาการที่ สํ า คั ญ ในปี 2561
นักท่องเที่ยวต่างประเทศ และกลุ่มลูกค้าท้องถิ่น อีกทั้ง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี Attraction ได้แก่ 1) ไตรภูมิ การผจญภั ย เสมื อ นจริ ง แบบสามมิ ติ ใ นโลกแฟนตาซี วอล์คทรูแห่งแรกของโลก 2) Aquaria อควาเรียมที่ มีสัตว์นํ้าต่าง ๆ รวมกว่า 25,000 ตัว และ 3) Tales of Thailand ศู น ย์ ร วมวั ฒ นธรรมและวิ ถี ชี วิ ต ความ เป็นไทยทั่วทุกภาค
Hideaway ตั้ ง อยู่ ป ากซอยพหลโยธิ น 34 ทํ า เล เดิ น ทางสะดวก ติ ด กั บ รถไฟฟ้ า สายสี เ ขี ย ว สถานี เสนานิคม ใก้ลศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ซื้อหุ้นบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) หรือ “GLAND”
CPN ได้ เ ข้ า ร่ ว มทุ น กั บ บริ ษั ท Common Ground Works Sdn. Bhd. และบริษัท MSB Asia Ltd. จาก ประเทศมาเลเซี ย โดยจะจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ขึ้ น ใน สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทร่วมทุนร้อยละ 51, 29 และ 20 ตามลําดับ เพือ ่ ประกอบธุรกิจ Co-working Space ในประเทศไทย
บริษัท ซีพีเอ็น พัทยา จํากัด (ซีพีเอ็น พัทยา) ซึ่งเป็น บริ ษั ท ย่ อ ยของ CPN ได้ ซื้ อ หุ้ น สามั ญ GLAND ในสั ด ส่ ว นทั้ ง หมดร้ อ ยละ 67.53 ของหุ้ น ที่ อ อกและ จําหน่ายทั้งหมด โดยแบ่งเป็นการซื้อจากกลุ่มผู้ถือหุ้น ใหญ่ ร้ อ ยละ 50.43 และจากการทํ า คํ า เสนอซื้ อ (Tender Offer) อีกร้อยละ 17.10 ที่ราคา 3.10 บาท ต่อหุ้น คิดเป็นจํานวนเงินรวม 13,607 ล้านบาท โดย การเข้าทํารายการดังกล่าวเนื่องจาก GLAND เป็น ผู้พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ทั้งเพื่อขาย และเพื่อ ให้ เ ช่ า และบริ ก าร ประกอบด้ ว ย อาคารสํ า นั ก งาน โรงแรม ที่พักอาศัย และพื้นที่ค้าปลีก และ GLAND ยัง มี โ ครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ะหว่ า งการพั ฒ นา และ ที่ดินเปล่า (Land Bank) หลายแปลงที่จะนํามาพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์รูปแบบผสม (Mixed-use Development) สอดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ เพื่อสร้างผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว
สมาชิกของดัชนีความยัง ่ ยืนของดาวโจนส์
(Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) CPN เป็นบริษท ั แห่งเดียวในกลุม ่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และเป็ น หนึ่ ง ในแปดบริ ษั ท ของประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของดั ช นี ค วามยั่ ง ยื น ของ ดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) ประจํ า ปี 2561 ในกลุ่ ม ดั ช นี ยั่ ง ยื น ระดั บ โลก (DJSI World) เป็ น ปี แ รก และในกลุ่ ม ดั ช นี ต ลาด เกิดใหม่ (Emerging Markets) ต่อเนื่องเป็นปีที่ห้า (ปี 2557-2561) สะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาการดําเนิน ธุ ร กิ จ ที่ ยั่ ง ยื น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ที่ คํ า นึ ง ถึ ง ส่ ว น ร ว ม สิ่ ง แวดล้ อ ม และผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ย รวมถึ ง การมี ส่ ว นร่ ว มที่ จ ะช่ ว ยขั บ เคลื่ อ นสั ง คมและชุ ม ชนอย่ า ง จริงจังและต่อเนื่อง
พฤศจิกายน
การร่วมทุนเพื่อประกอบธุรกิจ Co-working Space ในประเทศไทย
เปิดขาย โครงการบ้านเดี่ยว นิยาม บรมราชชนนี
โครงการแนวราบระดับบนแห่งแรกของ CPN Residence ที่มีการออกแบบเฉพาะตัวในสไตล์ Modern Classic ออกแบบภายใต้แนวคิด นิยามของความสมบูรณ์แบบ มี อ ยู่ จ ริ ง เน้ น ความเป็ น ส่ ว นตั ว และพร้ อ มด้ ว ย สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกภายในบ้ า น ตั้ ง อยู่ บ นถนน บรรมราชชนนี เดินทางสะดวกทั้งคู่ขนานลอยฟ้า และ ทางด่ ว นศรี รั ช -วงแหวนรอบนอก ใกล้ ร ถไฟฟ้ า สาย สีแดงอ่อน ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และ เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา
ธันวาคม
เปิดจอง โครงการคอนโดมิเนียม เอสเซ็นท์ อุบลราชธานี คอนโดมิ เ นี ย มในบริ เ วณศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา อุบลราชธานี เป็นอาคารสูง 14 ชั้น จํานวน 1 อาคาร พ ร้ อ ม ดี ไ ซ น์ ภ า ย ใ น ส ะ ท้ อ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ เ ฉ พ า ะ ตั ว แบบ Modern North East เพียบพร้อมด้วยไลฟ์สไตล์ แห่งความสุขที่ครบครัน
เปิดตัว โครงการคอนโดมิเนียม ฟีล พหล 34
โครงการคอนโดมิเนียมในกรุงเทพฯ โครงการแรก เป็น คอนโด Low Rise สูง 8 ชั้น จํานวน 4 อาคาร จํานวน 358 ยู นิ ต พร้ อ มอาคารคลั บ เฮ้ า ส์ แ ละสระว่ า ยนํ้ า ออกแบบด้ ว ยแนวคิ ด Live Everyday in Urban
35
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
1
2
รางวัลและความสําเร็จ ด้านการออกแบบพัฒนาโครงการ
รางวัลและความสําเร็จ ด้านการสร้างแบรนด์และการตลาด
01
02
รางวัล “Thailand’s Top Corporate Brands 2018” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5
Thailand’s Most Social Power Brand 2018 (Shopping Plaza) จาก BrandAge Media
สุดยอดรางวัลด้านอสังหาริมทรัพย์ระดับ เอเชียแปซิฟิก และเป็นที่ยอมรับในวงการ ค้าปลีกระดับโลก โดย CPN ได้รับรางวัล จากการพัฒนา เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ด้วยแนวคิด การออกแบบที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น และ คอนเซ็ ป ต์ ข องศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ต อบโจทย์ การใช้ ชี วิ ต ของคนยุ ค ใหม่ ไ ด้ อ ย่ า งลงตั ว สะท้อนการเป็นผู้นําในธุรกิจ
รางวั ล ที่ ม อบให้ กั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์ที่มีมูลค่าแบรนด์สูงที่สุด ในหมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของ ไทย ด้วยมูลค่าแบรนด์สง ู ถึง 161,686 ล้านบาท รางวัลนี้จัดโดยหลักสูตรวิทยาศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการตลาด คณะพาณิชย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร บั ญ ชี จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ร่ ว มกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย และสื่อในเครือผู้จัดการ
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ได้รับคัดเลือกให้ เป็นแบรนด์ที่ประสบความสําเร็จสูงสุดใน Social Media จากผลสํารวจ Thailand’s Most Social Power Brand สํารวจโดย นิ ต ยสาร BrandAge และ WiseSight บริษท ั วิเคราะห์ขอ ้ มูลบนโลกโซเชียล โดยผล สํ า รวจทั้ ง หมดเป็ น การเก็ บ ข้ อ มู ล จาก ผลงานของแบรนด์ ใ นช่ อ งทางสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ 4 ช่องทาง ได้แก่ Facebook, Instagram, Twitter และ YouTube
รางวัล Asia Pacific Property Awards 2018-2019 Award Winner in Retail Development
36
03
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 12
รางวั ล แห่ ง ความภาคภู มิ ใ จ
4
6
รางวัลและความสําเร็จ ด้านการบริหารและการเงิน
04
รางวัล “Best CEO Awards 2018 หรือ รางวัลผูบ ้ ริหารสูงสุดยอดเยีย ่ ม” จาก SET Awards 2018
คุณปรีชา เอกคุณากูล กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ CPN ได้ รับรางวัล “Best CEO Awards 2018 หรือ รางวัลผู้บริหารสูงสุดยอดเยี่ยม” ในงาน ประกาศรางวัล SET Awards 2018 จัดโดย ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ วารสารการเงินธนาคาร โดยผ่านการพิจารณา จากบริษท ั ทีผ ่ า่ นเกณฑ์กว่า 500 บริษท ั ซึง ่ รางวั ล นี้ ม อบให้ แ ก่ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง สุ ด ที่นําพาองค์กรสู่ความสําเร็จ มีวิสัยทัศน์ และความสามารถเชิงกลยุทธ์ ให้ความใส่ใจ กับกิจกรรมด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ตลอด จนเป็ น ผู้ ที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ สั ง คมและ ธุ ร กิ จ ที่ ส นั บ สนุ น การสร้ า งความยั่ ง ยื น ให้แก่กิจการเป็นอย่างดี
05
รางวัล “Outstanding Company Preformance Awards” จาก SET Awards 2018
รางวัลดีเด่นด้านผลการดําเนินงาน ในกลุม ่ บริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ที่ มี มูลค่าหลักทรัพย์ในตลาดสูงกว่า 100,000 ล้ า นบาท รางวั ล นี้ ม อบให้ แ ก่ บ ริ ษั ท จด ทะเบียนที่มีผลการดําเนินงานโดดเด่น โดย พิ จ ารณาจากผลประกอบการทางธุ ร กิ จ การกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี รวมทัง ้ การปฏิบต ั ิ ตามกฎเกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ในประเด็นการเปิดเผยข้อมูลและคุณภาพ ของงบการเงิน
06
รางวัล “Drive Awards 2018 สาขา Finance Excellence”
รางวัลที่มอบให้กับสุดยอดองค์กรชั้นนํา ระดั บ ประเทศ ที่ มี ผ ลงานโดดเด่ น ในการ ขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจในระดับมหภาคได้อย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ควบคู่กับ การสร้ า งความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม อั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ต่อสาธารณชนได้ เป็ น อย่ า งดี จั ด โ ด ย ส ม า ค ม นิ สิ ต เ ก่ า MBA คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดย CPN ได้รบ ั รางวัล Finance Excellence สํ า หรั บ องค์ ก รที่ มี ก ลยุ ท ธ์ ด้ า นบริ ห าร การเงิ น ดี เ ยี่ ย ม มี ผ ลการดํ า เนิ น งานที่ ดี และดํ า เนิ น งานโดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าล สร้างการเติบโตที่มั่นคงและยั่งยืน
37
8
9
รางวัลและความสําเร็จด้านการกํากับดูแลกิจการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
07
สมาชิก Dow Jones Sustainability Indices 2018 หรือ DJSI ใน 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม DJSI World ประจําปี 2561 และกลุ่ม DJSI Emerging Markets ต่อเนือ ่ งเป็นปีท่ี 5
CPN เป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ของไทย เพียงรายแรกและรายเดียวทีไ่ ด้รบ ั คัดเลือก ให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของดั ช นี ค วามยั่ ง ยื น ของ ดาวโจนส์ โดยปีนี้ยกระดับขึ้นไปอยู่ในกลุ่ม ดัชนีโลก (World Index) เป็นปีแรก และ กลุ่ ม ตลาดประเทศเกิ ด ใหม่ (Emerging Markets) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 โดย DJSI เป็นดัชนีตลาดหลักทรัพย์ด้านความยั่งยืน ทางธุรกิจระดับโลก ซึ่งอ้างอิงด้านความ ยั่งยืนที่ครอบคลุมมุมมองด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ดัชนีนี้เป็นความ ร่วมมือระหว่าง RobecoSAM Indices และ S&P Dow Jones Indices คัดเลือก บริ ษั ท ชั้ น นํ า ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ทั่ ว โลก ที่มีผลการดําเนินงานทางธุรกิจที่โดดเด่น ทั้งในด้านของมูลค่าตลาด ด้านการบริหาร จัดการที่มีบรรษัทภิบาลที่ดี และการคํานึง ถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม
38
08
รางวัล “รายงานความยั่งยืนประจําปี 2561” (Sustainability Report Award 2018) ประเภท Recognition
จัดโดยสมาคมบริษท ั จดทะเบียนไทยร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์ ส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนและบริษัทนอก ตลาดหลักทรัพย์ให้ความสําคัญกับการจัด ทํารายงานความยั่งยืน เพื่อเปิดเผยข้อมูล การดํ า เนิ น งานให้ ค รบถ้ ว นในด้ า นของ สั ง ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ธ ร ร ม า ภิ บ า ล แ ล ะ สิ่งแวดล้อม
09
รางวัล “SET Sustainability Awards 2018” (บริ ษั ท จดทะเบี ย นแห่ ง ความยั่ ง ยื น )และ “Thailand Sustainability Investment” (THSI) ประจําปี 2561
จั ด โดยตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย โดย CPN ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัล SET Sustainability Awards 2018 – Outstanding Awards สํ า หรั บ บริ ษั ท
จดทะเบียนทีม ่ ก ี ารดําเนินธุรกิจอย่างยัง ่ ยืน อ ย่ า ง โ ด ด เ ด่ น ใ น ก ลุ่ ม บ ริ ษั ท ที่ มี มู ล ค่ า ห ลั ก ท รั พ ย์ ต า ม ร า ค า ต ล า ด สู ง ก ว่ า 100,000 ล้านบาท รางวัล Thailand Sustainability Investment 2018 หรือหุน ้ ยัง ่ ยืนประจําปี
2561 เป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน โดยเป็นรางวัล สําหรับบริษท ั จดทะเบียนทีด ่ าํ เนินธุรกิจอย่าง ยั่ ง ยื น โดยคํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม และบรรษั ท ภิ บ าล (Environmental, Social, and Governance:ESG) ที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดทําขึน ้ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานในระดับสากล เพือ ่ เป็นข้อมูลให้แก่ผล ู้ งทุนทีต ่ อ ้ งการลงทุน ในหุน ้ ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพและคาดหวังผลตอบแทน ที่ต่อเนื่องในระยะยาว
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 12
รางวั ล แห่ ง ความภาคภู มิ ใ จ
10
การประเมินรายงานการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัทจดทะเบียนประจําปี 2561 อยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 10
จัดทําโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) โดยการสนับสนุนจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย CPN ได้ รั บ การประเมิ น ให้ อ ยู่ ใ นเกณฑ์ “ดี เ ลิ ศ ” ตั้งแต่ปี 2552-2561
11
13
รางวัลและความสําเร็จด้านการอนุรก ั ษ์สง ิ่ แวดล้อม
12 11
การได้รับการรับรองต่ออายุเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (CAC)
บริษท ั ฯ เข้าร่วมโครงการ CAC ซึง ่ เป็นความ ร่วมมือระหว่างองค์กร 8 แห่ง ประกอบด้วย หอการค้าไทย หอการค้าร่วมต่างประเทศใน ประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมบริษท ั จดทะเบียนไทย สมาคมธนาคาร ไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรม ท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย และสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษท ั ไทย ตัง ้ แต่ปี 2558 และจะต้องดําเนินการขอรับรองทุก ๆ 3 ปี ด้วยการดําเนินการในด้านการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชันอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ การรั บ รองต่ อ อายุ เ ป็ น แนวร่วมฯ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561
13
รางวัล “Thailand Energy Awards 2018”
รางวัล “ฉลากแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน ประจําปี 2561” (BEC Awards 2018)
สุดยอดรางวัลด้านพลังงานไทยระดับสากล ร า ง วั ล ดี เ ด่ น ก า ร ล ด ใ ช้ พ ลั ง ง า น แ ล ะ ลดโลกร้อน เป็นรางวัลทีแ ่ สดงความชืน ่ ชม ยกย่ อ งโรงงาน อาคาร บุ ค ลากร และ ผูม ้ ส ี ว ่ นส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการอนุรก ั ษ์ พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน จั ด โดยกรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ อนุรก ั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน โดย CPN ได้รับ 4 รางวัล ดังนี้
โครงการบริ ห ารศู น ย์ ป ระสานงานการ ออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลั ง งาน ( พพ. ) มอบฉลากรั บ รอง ม า ต ร ฐ า น ก า ร อ อ ก แ บ บ อ า ค า ร ที่ มี ประสิทธิภาพพลังงานสําหรับอาคารใหม่ ให้ CPN จํานวน 2 รางวัล ดังนี้
รางวัลดีเด่น ประเภทอาคารควบคุม จํานวน 2 รางวัล มอบให้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล
พลาซา ขอนแก่น และศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวัล เชียงใหม่
ระดับดีเด่น ประเภทศูนย์การค้า มอบให้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา ระดับดีมาก ประเภทศูนย์การค้า มอบให้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย
รางวัลดีเด่น ประเภทอาคารสร้างสรรค์เพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน (อาคารใหม่) จํานวน 2 รางวัล มอบให้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา
เวสต์เกต และศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช
39
ภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2561 ในปี 2561 เศรษฐกิจไทย (GDP) ขยายตัวร้อยละ 4.1 ปรับเพิ่มขึ้น จากปี 2560 ที่เติบโตร้อยละ 4.0 เป็นผลจากแรงขับเคลื่อนที่ สําคัญ คือ 1) การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวดีต่อเนื่อง เป็นผล จากการกระจายตัวมากขึ้นของรายได้ครัวเรือนนอกภาคเกษตร และการจ้างงานที่ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในภาคอุตสาหกรรมและ เกษตรกรรม 2) การส่งออกสินค้าและบริการปรับตัวดีขน ึ้ ตามการ ฟื้นตัวของการค้าโลกในช่วงครึ่งปีแรก แต่ชะลอตัวลงในช่วง ครึ่ ง หลั ง ของปี เ นื่ อ งจากได้ รั บ ผลกระทบจากมาตรการกี ด กั น ทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน 3) การท่องเที่ยวยัง เติ บ โตต่ อ เนื่ อ ง จากการที่ ป ระเทศไทยยั ง คงเป็ น เป้ า หมายการ พักผ่อนของนักท่องเทีย ่ วทัว ่ โลก และศูนย์รวมการประชุมและสัมมนา ต่าง ๆ ที่ขยายตัวต่อเนื่อง 4) การลงทุนของภาครัฐและเอกชน ขยายตัวในอัตราที่เพิ่มขึ้น จากการเร่งลงทุนของภาครัฐและการ ขยายตัวของกิจกรรมการผลิต และ 5) อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ ที่ร้อยละ 1.1 เร่งขึ้นจากปีก่อนหน้าเล็กน้อย ตามการเพิ่มขึ้นของ ราคาพลังงาน อาหาร และเครื่องดื่มเป็นสําคัญ การบริโภคภาคเอกชนในประเทศปรับตัวดีขน ึ้ โดยขยายตัวร้อยละ 4.6 เทียบกับร้อยละ 3.0 ในปี 2560 จากการใช้จ่ายของผู้มีรายได้ ปานกลางถึ ง สู ง เป็ น หลั ก โดยปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ตามเศรษฐกิ จ และ ความเชือ ่ มัน ่ ของผูบ ้ ริโภค ขณะทีค ่ รัวเรือนรายได้นอ ้ ยฟืน ้ ตัวอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป สะท้อนจากรายได้เกษตรกรทีย ่ ง ั หดตัวและรายได้ ของกลุ่มลูกจ้างขยายตัวเพียงเล็กน้อย การบริโภคภาคเอกชน ในแต่ละภูมภ ิ าคโดยรวมฟืน ้ ตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป แรงขับเคลือ ่ น สําคัญยังอยูท ่ ก ี่ รุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือขยายตัวเท่ากันทีร่ อ ้ ยละ 4.0 ขณะทีภ ่ าคใต้ขยายตัว เพียงร้อยละ 1.0 เนื่องจากรายได้ของผู้ผลิตและส่งออกสินค้า ยางพาราแปรรูปปรับตัวลดลงส่งผลต่อการบริโภคโดยรวม ในส่วน ของหมวดสินค้า ขยายตัวดีตอ ่ เนือ ่ งในเกือบทุกหมวด โดยเฉพาะสินค้า คงทนและสินค้ากึง ่ คงทน อย่างไรก็ดี หนีค ้ รัวเรือนทีย ่ ง ั อยูใ่ นระดับ สูงทีร่ อ ้ ยละ 77.8 ต่อ GDP ยังคงเป็นอุปสรรคต่อการบริโภคโดยรวม การส่งออกสินค้าในปี 2561 ขยายตัวร้อยละ 7.7 ชะลอลงจาก ร้อยละ 9.8 ในปี 2560 แต่ยังอยู่ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2556-2560) โดยเป็นการชะลอตัวลงในช่วง ครึ่งปีหลังจากตลาดจีนและสินค้ากลุ่มอิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ ซึ่งสอดคล้องกับหลายประเทศในภูมิภาคเอเชีย อย่างไรก็ดี ตลาด ส่งออกหลัก (สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป) โดยรวม ขยายตัวร้อยละ 7.7 โดยเฉพาะญี่ปุ่นขยายตัวร้อยละ 13.0 ขณะที่ ตลาดรองอย่างอินเดียขยายตัวร้อยละ 17.0 อาเซียน (9) ขยายตัว ร้อยละ 14.0 ส่วนจีนขยายตัวเพียงร้อยละ 2.3
40
การลงทุ น โดยรวมในประเทศขยายตั ว ในอั ต ราที่ สู ง ขึ้ น จาก ปี ก่ อ นหน้ า จากการเร่ ง การลงทุ น ของภาครั ฐ ที่ ข ยายตั ว ร้อยละ 3.3 จากที่เคยหดตัวร้อยละ 1.2 ในปี 2560 เช่นเดียวกับ การลงทุนภาคเอกชนทีป ่ รับตัวดีขน ึ้ เป็นร้อยละ 3.9 จากร้อยละ 2.9 โดยเป็ น การปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น จากกลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออกและตาม ทิศทางของแผนการลงทุนของภาครัฐเป็นสําคัญ ในส่วนของ การลงทุนของธุรกิจค้าปลีก เช่น Modern Trade ยังมีการขยาย การลงทุนและขยายสาขา รวมทั้งปรับปรุงใหม่อย่างต่อเนื่อง การท่องเที่ยวไทยปี 2561 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้า ประเทศไทยจํานวน 38 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 จากปี 2560 โดยประเทศทีม ่ จ ี าํ นวนนักท่องเทีย ่ วเดินทางเข้ามามากทีส ่ ด ุ คือ จีน (ร้อยละ 8) เกาหลีใต้ (ร้อยละ 5) มาเลเซีย (ร้อยละ 16) และลาว (ร้อยละ 4) ตามลําดับ ส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาติหลักที่มีอัตรา การเติบโตเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ ฮ่องกง (ร้อยละ 25) มาเลเซีย (ร้อยละ16) อินเดีย (ร้อยละ 12) และเวียดนาม (ร้อยละ 10) ขณะทีม ่ รี ายได้จากนักท่องเทีย ่ วต่างชาติเทีย ่ วไทยอยูท ่ ี่ 2 ล้านล้าน บาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 9.0 ทัง ้ นีค ้ าดว่าการขยายตัวของนักท่องเทีย ่ ว ต่างชาติยังคงเป็นปัจจัยช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยต่อไป
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2562 ทิ ศ ทางเศรษฐกิ จ ไทยในปี 2562 มี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ชะลอลง เล็กน้อยที่ร้อยละ 4.0 เปรียบเทียบกับร้อยละ 4.1 ในปี 2561 อย่างไรก็ดี สูงกว่าค่าเฉลีย ่ ในช่วง 5 ปีทผ ี่ า่ นมา (ปี 2556-2560) ร้อยละ 2.8 ต่อปี โดยอุปสงค์ในประเทศจะยังเป็นแรงขับเคลื่อน สําคัญ โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนที่มีแนวโน้มขยายตัวใน เกณฑ์ดต ี อ ่ เนือ ่ งทีร่ อ ้ ยละ 4.2 การลงทุนภาคเอกชนจะปรับตัวดีขน ึ้ ตามแนวโน้มการเร่งการลงทุนภาครัฐทีค ่ าดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.6 โดยมี ปั จ จั ย สนั บ สนุ น จากความคื บ หน้ า ของการลงทุ น โครงสร้างพื้นฐานที่สําคัญ ๆ และการเพิ่มขึ้นของอัตราการใช้ กําลังการผลิตที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.7 และการท่องเที่ยว ยังคงเติบโตตามจํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าไทยที่ น่าจะขยายตัวร้อยละ 6.2 ขณะที่อุปสงค์ต่างประเทศคาดว่าจะ ชะลอลงตามการชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ ประเทศคู่ ค้ า สํ า คั ญ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและจีน รวมทั้งผลกระทบจากมาตรการ กีดกันทางการค้า โดยคาดว่าการส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไทยยังต้องเผชิญกับความท้าทาย ทัง ้ ความ ไม่แน่นอนทางการเมืองจากการเลือกตัง ้ ทีจ ่ ะมีขน ึ้ และความเสีย ่ ง จากระบบเศรษฐกิจและการเงินโลกที่ยังมีความผันผวนและอาจ ขยายตั ว ตํ่ า กว่ า การคาดการณ์ จ ากความไม่ แ น่ น อนของ 1) มาตรการกี ด กั น ทางการค้ า ระหว่ า งสหรั ฐ อเมริ ก ากั บ จี น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 13
ภาวะเศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรม
2) การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน และ 3) ความเสี่ยงที่สหราช อาณาจักรจะไม่สามารถบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับการเจรจาเพื่อ ออกจากสหภาพยุโรป โดยทั้ง 3 ปัจจัยนี้จะส่งผลกระทบต่อภาค ส่งออกสินค้าของไทย 4) ความล่าช้าในการฟื้นตัวของจํานวน นักท่องเทีย ่ วจีนและรัสเซีย จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน และ การอ่ อ นค่ า ของเงิ น หยวนและเงิ น รู เ บิ ล ของรั ส เซี ย 5) อั ต รา ดอกเบีย ้ ในตลาดโลกปรับเพิม ่ ขึน ้ เร็วกว่าปัจจัยพืน ้ ฐานทางเศรษฐกิจ ทํ า ให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต และอั ต ราเงิ น เฟ้ อ สู ง ขึ้ น มี ผ ลกระทบต่ อ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโดยรวม *
อุตสาหกรรมค้าปลีกปี 2561 อุตสาหกรรมค้าปลีกในไทยคิดเป็นร้อยละ 15.0 ของ GDP รวม ทั้งประเทศ และในปี 2561 มีการเติบโตในอัตราร้อยละ 10.0 จาก ร้อยละ 6.0 ในปี 2560 ในส่วนที่เป็นห้างสรรพสินค้าและร้านค้า ทั่วไปขยายตัวร้อยละ 4.0 โดยเป็นการขยายตัวของสินค้าคงทน และกึ่งคงทนเป็นสําคัญ ขณะที่สินค้าอุปโภคบริโภคยังขยายตัว ในอัตราที่ตํ่า โดยกําลังซื้อส่วนใหญ่มาจากกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้
ระดั บ กลางและระดั บ บนและผู้ มี ร ายได้ ป ระจํ า ขณะที่ ผู้ บ ริ โ ภคที่ มีรายได้ระดับกลาง-ล่าง และกลุ่มเกษตรกรในต่างจังหวัดซึ่งเป็น กลุ่มฐานรากเริ่มมีการฟื้นตัวแต่ยังไม่แข็งแรง เนื่องจากรายได้ เกษตรกรยังขยายตัวช้า รวมทั้งภาระหนี้ครัวเรือนสะสมอยู่ใน ระดั บ สู ง อย่ า งไรก็ ดี การใช้ จ่ า ยของนั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ในกรุ ง เทพฯ และตามเมื อ งท่ อ งเที่ ย วสํ า คั ญ ต่ า ง ๆ เป็ น แรง สนับสนุนสําคัญของเศรษฐกิจในแต่ละภูมิภาค รายงานวิ จั ย ของบริ ษั ท คอลลิ เ ออร์ ส อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ประเทศไทย จํากัด เปิดเผยว่า พื้นที่ตลาดค้าปลีกมีการขยายตัว ต่อเนื่อง โดยในปี 2561 มีพื้นที่ค้าปลีกเพิ่มขึ้นประมาณ 89,657 ตารางเมตร ส่งผลให้พน ื้ ทีค ่ า้ ปลีกรวมทัง ้ หมดในกรุงเทพมหานคร และพื้นที่โดยรอบอยู่ที่ประมาณ 7,968,326 ตารางเมตร โดย พื้นที่ค้าปลีกเปิดในปี 2561 แบ่งเป็น ศูนย์การค้าประมาณร้อยละ 56.0 ตามด้ ว ยศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดย่ อ มร้ อ ยละ 35.0 และ พื้ น ที่ ค้ า ปลี ก สนั บ สนุ น ประมาณร้ อ ยละ 9.0 ตามลํ า ดั บ และ ภาพรวมอัตราการเช่าพืน ้ ทีค ่ า้ ปลีก (Occupancy Rate) สูงกว่า ร้อยละ 90.0 **
* ที่มา: สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ** ที่มา: รายงานวิจัยพื้นที่ค้าปลีกไตรมาส 3 ปี 2561 ของบริษัท คอลลิเออร์ส อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จํากัด
41
กลุ่มศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า พื้นที่โครงการ (Retail Gross Floor Area) ของศูนย์การค้า ทั้งหมดในประเทศไทยปี 2561 อยู่ที่ 20.2 ล้านตารางเมตร และ คาดการณ์ภายในปี 2562 จะอยูท ่ ี่ 20.9 ล้านตารางเมตร โครงการ ใหม่ที่เกิดขึ้นในปี 2561 ได้แก่ โครงการไอคอนสยาม ศูนย์การค้า เทอร์มินอล 21 พัทยา ศูนย์การค้าเกตเวย์บางซื่อ และโครงการ สิงห์คอมเพล็กซ์ และภายในปี 2562 จะมีโครงการศูนย์การค้าเปิด ใหม่ ได้แก่ โครงการเซ็นทรัล วิลเลจ ศูนย์การค้าเดอะมาร์เก็ตแบง คอก ศู น ย์ ก ารค้ า มิ ก ซ์ จ ตุ จั ก ร ศู น ย์ ก ารค้ า เอกมั ย มอลล์ โครงการวิสซ์ดอม 101 โครงการสามย่านมิตรทาวน์ โครงการ สยามพิ ว รรธน์ ไ ซม่ อ นวิ ล เลจ โครงการพี เ พิ ล พาร์ ค อ่ อ นนุ ช และโครงการมาร์เก็ตเพลสดุสิต ในภาวะตลาดปัจจุบน ั ผูป ้ ระกอบการศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า ได้เผชิญกับความท้าทายจากพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยของ ผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นไป โดยเน้นการสร้างประสบการณ์ การตอบสนอง ที่ตรงใจลูกค้า (Personalization) และความสะดวกรวดเร็ว รวมทั้ ง ความท้ า ท้ า ยจากการเติ บ โตของตลาดสิ น ค้ า ออนไลน์ (Online Shopping) การเกิดขึ้นของ Lifestyle Retail และ New Concept Retail ซึ่งออกแบบการใช้พื้นที่ให้สอดคล้อง กั บ วิ ถี ชี วิ ต ของผู้ บ ริ โ ภคและนั ก ท่ อ งเที่ ย ว รวมทั้ ง การเติ บ โต อย่างรวดเร็วของบริการส่งอาหาร (Food Delivery Services) ส่งผลให้ความถี่ในการใช้บริการห้างสรรพสินค้าและศูนย์การค้า มีแนวโน้มน้อยลง ปัจจัยเหล่านีเ้ พิม ่ ความท้าทายให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการ ศู น ย์ ก ารค้ า และห้ า งสรรพสิ น ค้ า ในการดึ ง ดู ด ลู ก ค้ า ให้ เ ข้ า มาใช้ บริการ ผูป ้ ระกอบการจึงต้องปรับเปลีย ่ นแผนกลยุทธ์ในรูปแบบใหม่ ๆ และพัฒนาการบริการอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ตอบสนองความต้องการ ที่เปลี่ยนไปของลูกค้าและส่งมอบประสบการณ์ใหม่ ๆ อยู่เสมอ
กลุม ่ ศูนย์การค้าขนาดย่อม (Community Mall) และศูนย์การค้าไลฟ์สไตล์ (Lifestyle Retail) ในปี 2561 ธุรกิจค้าปลีกในกลุ่มศูนย์การค้าขนาดย่อมมีจํานวน เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แม้จะขยายตัวช้าลงจากหลายปีก่อน โดยในปีนี้มี การขยายเพิ่มขึ้น 47,000 ตารางเมตร และมีโครงการที่เปิดตัว ในปี 2561 อาทิ มาร์เก็ตเพลส นางลิ้นจี่ และลาซาล อเวนิว ภาพรวมตลาดอุ ต สาหกรรมค้ า ปลี ก ค้ า ส่ ง ในรู ป แบบโครงการ ศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดย่ อ มนี้ มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ทั้ ง จากร้ า นค้ า ชุ ม ชน รอบข้างและศูนย์การค้าขนาดใหญ่ ทําให้ผู้ประกอบการในกลุ่มนี้ ต้องปรับตัวเพือ ่ สร้างความแตกต่างให้สามารถตอบสนองต่อการ เปลีย ่ นแปลงของวิถช ี ว ี ต ิ และตรงกับความต้องการของกลุม ่ ลูกค้า เป้าหมายและนักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นการเลือกสถานที่ตง ้ั ให้อยู่ ในชุมชน การปรับปรุงและขยายโครงการ การหาผูเ้ ช่าใหม่ ๆ ทีม ่ ค ี วาม หลากหลายและเที ย บเคี ย งกั บ ศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดใหญ่ การใช้ กิจกรรมทางการตลาดเพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิมที่มีอยู่และขยาย ฐานลูกค้าในกลุ่มใหม่ ๆ ต่อเนื่องไปจนถึงการจัดให้โครงการมี
42
สิง ่ อํานวยความสะดวกต่าง ๆ ทีค ่ รบครัน โดยทัง ้ หมดนีต ้ อ ้ งอาศัย ความชํ า นาญในการบริ ห ารภายใต้ ค วามเสี่ ย งและต้ น ทุ น ที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งถือเป็นความท้าทายของผู้ประกอบการกลุ่มนี้
กลุม ่ ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ (Hypermarket) และร้านสะดวกซือ ้ (Convenience Store) โครงการในกลุ่ ม ห้ า งค้ า ปลี ก ขนาดใหญ่ ที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารใหม่ มี ไม่มากนัก แต่ได้มีการพัฒนาห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ให้มีความ หลายหลายของสินค้าและบริการเพือ ่ ตอบสนองวิถช ี ว ี ต ิ ของลูกค้า ในชุมชนมากขึ้น และผู้ประกอบการยังคงมุ่งพัฒนาโครงการใน รูปแบบร้านค้าขนาดเล็กอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะใกล้เคียงกับ ร้านสะดวกซือ ้ กึง ่ ซูเปอร์มาร์เก็ตหรือทีเ่ รียกว่า ‘ซูเปอร์คอนวีเนียน สโตร์’ และร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store) เช่น มินิบิ๊กซี เทสโก้โลตัส เอกซ์เพรส ท็อปส์เดลี่ และแม็กซ์แวลู ทันใจ รวมไปถึง การพัฒนาโครงการในรูปแบบตลาด เพื่อให้การขยายสาขาเป็นไป ได้งา่ ย ครอบคลุมกลุม ่ ลูกค้าทีห ่ ลากหลายและเข้าถึงพืน ้ ทีห ่ า่ งไกล มากขึ้น อีกทั้งยังมีการใช้ช่องทางออนไลน์เข้ามาอํานวยความ สะดวกในการจับจ่ายสินค้าของกลุม ่ ลูกค้าเป้าหมาย ซึง ่ ในอนาคต อันใกล้ ช่องทางนีน ้ า่ จะช่วยเพิม ่ รายได้อย่างมีนย ั สําคัญ เนือ ่ งจาก พฤติกรรมของผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นมาสูก ่ ารเน้นความสะดวกรวดเร็ว เป็นสําคัญ สําหรับภาพรวมกลุ่มร้านค้าสะดวกซื้อ เน้นการขยายสาขาเพิ่มขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ต่ า ง ๆ ให้ ม ากที่ สุ ด และเริ่มมุ่งเน้นการขยายสาขาผ่านการขายแฟรนไชส์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับตัวเพือ ่ ให้เข้ากับวิถก ี ารดําเนินชีวต ิ ของคนในปัจจุบน ั โ ด ย เ น้ น ก า ร เ ป็ น ร้ า น อิ่ ม ส ะ ด ว ก ที่ มี เ ค รื่ อ ง ดื่ ม แ ล ะ อ า ห า ร ถู ก สุ ข ลั ก ษณะที่ ห ลากหลายในราคาที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ ทุ ก เพศ ทุกวัย มีสน ิ ค้าและบริการทีต ่ อบสนองความต้องการของผูบ ้ ริโภค ในแต่ละพื้นที่ เน้นการให้บริการที่รวดเร็ว รูปแบบทันสมัย และ นําเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น โดยรุกธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จําหน่ายสินค้าออนไลน์ (Online Shopping) เพื่ออํานวยความสะดวกให้ลูกค้าสามารถเข้ามาเลือกซื้อสินค้า ที่ ต้ อ งการได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และยั ง มี ก ารใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ (Social Media) ทีส ่ ามารถสือ ่ สารกับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิผล นอกจากนี้ การลงทุนจากกลุม ่ ทุนต่างประเทศทีม ่ ม ี ากขึน ้ ส่งผลให้ ผูป ้ ระกอบการรายใหญ่ตอ ้ งมุง ่ เน้นการขยายสาขาและจัดกิจกรรม ส่งเสริมการตลาด เพื่ อ สร้ า งและรั ก ษาความสั ม พั น ธ์ กั บ ลู ก ค้ า ให้มากขึ้น
แนวโน้มอุตสาหกรรมค้าปลีกปี 2562 ในปี 2562 ธุรกิจค้าปลีกคาดว่าจะเติบโตประมาณร้อยละ 4.0 - 6.0 ตามการฟืน ้ ตัวของเศรษฐกิจ โดยการลงทุนโครงสร้างพืน ้ ฐานของ ภาครัฐจะช่วยกระตุ้นการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องซึ่งรวมถึง ธุ ร กิ จ พื้ น ที่ ค้ า ปลี ก และจะมี ก ารเปิ ด ตั ว โครงการค้ า ปลี ก รูปแบบผสมผสาน (Mixed-use Project) และรูปแบบใหม่มากขึน ้
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 13
โดยในปี 2562 จะมีพื้นที่ค้าปลีกเพิ่มขึ้นเป็น 9.0 ล้านตารางเมตร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากการเปิดให้บริการของ โครงการสําคัญ ๆ หลายโครงการ โดยการเพิม ่ ขึน ้ ของอุปทานเป็น ไปตามอุ ป สงค์ ใ นตลาดที่ ยั ง เพิ่ ม ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ งจากการขยายตั ว ของการใช้จ่ายของผู้บริโภคในเมือง โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยว ต่ า งชาติ ส่ ง ผลให้ ผู้ เ ช่ า ส่ ว นใหญ่ ยั ง มี ค วามต้ อ งการเช่ า พื้ น ที่ และขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทําให้อัตราค่าเช่าและอัตราการเช่า ในปี 2562 ยังมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น ศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดใหญ่ ที่ ค าดว่ า จะเปิ ด บริ ก ารในปี 2562 ใน กรุงเทพมหานคร ได้แก่ โครงการเซ็นทรัล วิลเลจ ศูนย์การค้า เดอะมาร์เก็ตแบงคอก ศูนย์การค้ามิกซ์จตุจักร ศูนย์การค้า เอกมัยมอลล์ โครงการสยามพิวรรธน์ไซม่อนวิลเลจ โครงการ วิสซ์ดอม 101 และโครงการสามย่านมิตรทาวน์ ซึง ่ โครงการ วิสซ์ดอม 101 และโครงการสามย่านมิตรทาวน์ เป็นโครงการอสังหาริมทรัพย์ แบบผสม (Mixed-use) ประกอบด้วยศูนย์การค้า สํานักงาน ทีพ ่ ก ั อาศั ย และศู น ย์ ร วมความบั น เทิ ง โดยคาดว่ า พื้ น ที่ ค้ า ปลี ก ใน กรุงเทพฯ และปริมณฑล (Net Retail Area) จะเพิ่มขึ้นประมาณ 300,000 ตารางเมตร สําหรับโครงการที่จะเปิดในต่างจังหวัด ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา อยุธยา และเซ็นทรัล ป่าตอง เป็นต้น ในปี 2563-2566 คาดว่าจะมีแหล่งช้อปปิ้งขนาดใหญ่เกิดขึ้น 4 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่เป็นโครงการ Mixed-use ที่สามารถตอบสนองไลฟ์สไตล์ของคนในเมืองได้ครบและสะดวก มากขึน ้ ได้แก่ 1 ) โครงการเดอะปาร์ค (The Parq) และ 2) โครงการ วั น แบงค็ อ ก (One Bangkok) เป็ น โครงการที่ พั ฒ นาโดย กิจการร่วมทุนระหว่างบริษัท ทีซีซี แอสเซ็ทส์ (ประเทศไทย) จํากัด กับบริษัท เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จํากัด ตรงถนนพระราม 4 3) ศูนย์การค้า ดิ เอ็มสเฟียร์ (The EmSphere) เป็นศูนย์การค้าแห่งที่ 3 ในกลุ่ม ดิ เอ็มดิสทริค ย่านพร้อมพงษ์ ของกลุม ่ เดอะมอลล์ และ 4) โครงการ แบงค็อก มอลล์ (Bangkok Mall) ของกลุ่มเดอะมอลล์ ตรงแยกบางนา-ตราด นอกจากนี้ การเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ของรัฐบาล การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และการจั ด ตั้ ง เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษในภู มิ ภ าคต่ า ง ๆ ของประเทศ จะมี ค วามชั ด เจนมากขึ้ น ในปี นี้ ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ มี การเชื่ อ มโยงของกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในประเทศและ ต่ า งประเทศมากขึ้ น ในระยะยาว รวมทั้ ง เม็ ด เงิ น ลงทุ น ทั้ ง จาก ภาครั ฐ และภาคเอกชน โดยเฉพาะนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ที่ จ ะ มีการลงทุนต่อเนื่องในอีกหลายปี ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการจ้างงาน ในหลายพื้ น ที่ ข องประเทศและเพิ่ ม กํ า ลั ง ซื้ อ ในวงกว้ า ง ทํ า ให้ กลุ่มค้าปลีกมีความสนใจในการพัฒนาโครงการในจังหวัดอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะหัวเมืองหลัก เมืองใกล้หัวเมืองหลักและ ตามแนวชายแดน ในทุกภาคของประเทศไทย ด้วยปัจจัยเหล่านี้ ทําให้ซเู ปอร์สโตร์มอลล์ (Super Store Mall) และร้านขายสินค้าเฉพาะ อย่าง (Specialty Store) รวมทัง ้ ศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า ในขนาดที่เล็กลงหลายโครงการได้ทยอยเปิดให้บริการ
ภาวะเศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรม
การแข่งขันของธุรกิจค้าปลีกไม่ได้ถก ู จํากัดเพียงแค่กลุม ่ ผูป ้ ระกอบ การค้าปลีกอีกต่อไป แต่ยง ั มีผป ู้ ระกอบการนอกกลุม ่ ธุรกิจค้าปลีก เข้ามามีสว ่ นร่วมมากขึน ้ โดยเฉพาะผูป ้ ระกอบการในกลุม ่ สํานักงาน (Office) ทีม ่ ก ี ารนําร้านค้าปลีกเข้าไปเป็นส่วนหนึง ่ ของระบบธุรกิจ ในรูปแบบของรีเทลโพเดี่ยม (Retail Podium) เพื่อตอบโจทย์ ไลฟ์สไตล์ของลูกค้ามากขึน ้ รวมทัง ้ ผูป ้ ระกอบการในกลุม ่ ธุรกิจอืน ่ ที่ ต้ อ งการมี ห น้ า ร้ า นเพื่ อ เข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า มากขึ้ น ในยุ ค ที่ ลู ก ค้ า เป็ น ศูนย์กลาง (Customer Centric) อีกทัง ้ ผูแ ้ ข่งขันกลุม ่ เดิมอย่าง ผูป ้ ระกอบการ E-Commerce ทีม ่ จ ี าํ นวนผูป ้ ระกอบการรายใหญ่ เพิ่มมากขึ้นและมีการแข่งขันสูงอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราเติบโต ที่สูงมากในช่วงที่ผ่านมา และมีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องโดยไม่ได้แข่งขันในด้านของราคาเท่านั้น แต่เริ่มมีบริการ ใหม่เข้ามาเพื่อสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้ามากขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีและความต้องการของ ลู ก ค้ า ส่ ง ผลให้ ก ารเข้ า ใจพฤติ ก รรมหรื อ ไลฟ์ ส ไตล์ ข องลู ก ค้ า เป้ า หมายให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด คื อ กุ ญ แจสํ า คั ญ ในการทํ า ธุ ร กิ จ รวมทัง ้ การนําเทคโนโลยีมาปรับใช้เพือ ่ เข้าใจลูกค้าและลดต้นทุนการ บริ ห ารงานจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น ซึง ่ ในปี 2562 คาดว่า ผูป ้ ระกอบการค้าปลีกทุกรายจะนําเทคโนโลยี เพือ ่ ช่วยในการวิเคราะห์ขอ ้ มูลทีเ่ กีย ่ วข้องกับผูบ ้ ริโภค (Big Data) มาใช้กันแพร่หลายมากขึ้น ทั้งเทคโนโลยี Data Analytics หรือ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และนําข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ มาบริหารจัดการและเชื่อมโยงธุรกิจค้าปลีก Online to Offline (O2O) ให้เหมาะสมมากที่สุด
อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ปี 2561 ภาพรวมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในปี 2561 มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น เมือ ่ เปรียบเทียบกับปี 2560 โดยมีการเปิดตัวโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ใหม่ ประกอบด้วย บ้านเดีย ่ ว บ้านแฝด ทาวน์เฮาส์ ตึกแถว ห้องชุด และที่ดินจัดสรรเพื่อการอยู่อาศัย ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล เป็นผลจากการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศ ทั้งภาคการส่งออก และการท่องเที่ยว รวมถึงการลงทุน ในโครงการเมกะโปรเจ็กต์ของภาครัฐ ไม่วา่ จะเป็นโครงการก่อสร้าง รถไฟฟ้ า สายต่ า ง ๆ รถไฟฟ้ า ความเร็ ว สู ง ที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ งบประมาณ นอกจากนั้น มาตรการกํากับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่ อาศัยของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่จะมีผลบังคับใช้ใน วันที่ 1 เมษายน 2562 ที่ระบุให้ธนาคารพาณิชย์กาํ หนดการปล่อย สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ สําหรับที่อยู่อาศัยที่ลูกค้าซื้อเป็นสัญญา ที่สอง หากผ่อนสัญญาแรกเกินกว่า 3 ปีแล้ว ต้องวางเงินดาวน์ ร้อยละ 10 และหากยังผ่อนสัญญาแรกไม่ถึง 3 ปี ต้องวางเงิน ดาวน์ร้อยละ 20 และการซื้ออสังหาริมทรัพย์เป็นสัญญาที่สาม ต้ อ งวางเงิ น ดาวน์ ร้ อ ยละ 30 ทุ ก กรณี รวมทั้ ง การซื้ อ อสังหาริมทรัพย์ราคาเกิน 10 ล้านบาทขึน ้ ไปทุกกรณี ต้องวางเงิน ดาวน์ร้อยละ 20 ซึ่งคาดว่าจะส่งผลให้ยอดโอนกรรมสิทธิ์และ สินเชื่อที่อยู่อาศัยมีการเร่งตัวขึ้นก่อนที่จะมีมาตรการบังคับใช้
43
สถานการณ์ตลาดทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กลุ่มเป้าหมายมากขึ้น ตลอดจนสอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบ ขนส่งมวลชน
จากรายงานสรุ ป ผลสํ า รวจของศู น ย์ ข้ อ มู ล อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Real Estate Information Center: REIC) ภาพรวมที่อยู่อาศัยในปี 2561 มีโครงการที่อยู่อาศัยเปิด ตัวใหม่จาํ นวน 118,271 หน่วย คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 3.6 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 ที่มีจาํ นวน 114,194 หน่วย ซึ่งนับว่า ปี 2561 มียอดสูงสุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา โดยจํานวนโครงการที่ เปิ ด ขายใหม่ ใ นปี 2561 มี จํ า นวน 450 โครงการ เพิ่ ม ขึ้ น 48 โครงการ เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า คิดเป็นร้อยละ 11.9 ของจํานวนหน่วยที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ทั้งหมด โดยประเภท โครงการที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่แบ่งออกได้ดังนี้
การโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลปี 2561 มีจาํ นวน 196,630 หน่วย เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.3 มูลค่ารวม 565,112 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.1 และมีการโอนกรรมสิทธิ์ จํานวน 163,468 หน่วย คิดเป็นมูลค่า 427,728 ล้านบาท สอคล้อง กับข้อมูลสินเชื่อที่อยู่อาศัยบุคคลปล่อยใหม่ทั้งประเทศมีมูลค่า ประมาณ 712,565 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.4 เมื่อเทียบกับปี 2560 ซึ่งมีมูลค่า 633,990 ล้านบาท
ที่อยู่อาศัยประเภทแนวราบ
•
บ้านจัดสรรเปิดตัวใหม่จาํ นวน 45,063 หน่วย ลดลง 4,178 หน่วย หรือร้อยละ 8.5 จากปีก่อนหน้า บ้านจัดสรรเหลือขายมีจํานวน 74,200 หน่วย ลดลง 6,249 หน่วย หรือร้อยละ 7.8 ขณะที่บ้าน จัดสรรสร้างเสร็จมีจํานวน 34,807 หน่วย เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.9 และการโอนกรรมสิทธิ์แนวราบมีจํานวน 99,311 หน่วย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 19.3 โดยเป็นการโอนกรรมสิทธิ์บ้านใหม่จํานวน 51,585 หน่วย เพิ่มขึ้น 8,104 หน่วย ร้อยละ 18.6
ที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุด อาคารชุดเปิดตัวใหม่มจ ี าํ นวน 73,208 หน่วย เพิม ่ ขึน ้ 8,255 หน่วย หรื อ ร้ อ ยละ 12.7 จากปี ก่ อ นหน้ า อาคารชุ ด เหลื อ ขายจํ า นวน 59,200 หน่วย ลดลง 3,211 หน่วย หรือร้อยละ 5.1 อาคารชุด สร้างเสร็จจํานวน 69,872 หน่วย เพิ่มขึ้น 6,553 หน่วย หรือ ร้อยละ 10.3 และมีการโอนกรรมสิทธิ์อาคารชุดจํานวน 97,319 หน่วย เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 21.3 ซึง ่ เป็นการโอนกรรมสิทธิอ ์ าคารชุดใหม่ จํานวน 72,079 หน่วย เพิ่มขึ้น 11,962 หน่วย หรือร้อยละ 19.9 ในปี 2561 โครงการทีเ่ ปิดขายใหม่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้ ง โครงการบ้ า นจั ด สรร (บ้ า นเดี่ ย ว ทาวน์ เ ฮาส์ ) โครงการ อาคารชุดเพิ่มขึ้นสูงที่สุดในรอบ 25 ปี โครงการที่มีจํานวนเปิด ขายมาก คือ โครงการประเภทอาคารชุด ที่ผู้พัฒนาโครงการ ต่ า งเน้ น พั ฒ นาสิ น ค้ า ระดั บ ราคาปานกลางไปจนถึ ง ราคาสู ง ในทําเลตามแนวรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วและส่วนต่อขยาย โดยมีการพัฒนาโครงการแบบผสมผสานมากขึ้นและมีการร่วม ลงทุนระหว่างผู้พัฒนาโครงการในไทยกับบริษัทต่างชาติหลาย โครงการเพือ ่ พัฒนาสินค้าเจาะกลุม ่ ทีม ่ ค ี วามต้องการซือ ้ เพิม ่ มากขึน ้ ที่ อ ยู่ อ าศั ย สร้ า งเสร็ จ จดทะเบี ย นใหม่ ใ นกรุ ง เทพมหานครและ ปริมณฑล ปี 2561 เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 3.3 จากปี 2560 การ เพิม ่ ขึน ้ สอดคล้องกับการพัฒนาของผูป ้ ระกอบการทีม ่ รี ว ่ มลงทุน กับต่างชาติและผูป ้ ระกอบการปรับตัวพัฒนาสินค้าเพือ ่ ให้ตรงกับ
44
ราคาทีด ่ น ิ เปล่าก่อนการพัฒนาและราคาทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ในปี 2561 ปรับเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ประเภท
•
•
ดัชนีราคาทีด ่ น ิ เปล่าก่อนการพัฒนาในพืน ้ ทีก ่ รุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีคา่ ดัชนีเท่ากับ 219.2 จุด เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 31.2 เมื่อเทียบปีที่ผ่านมา ดั ช นี ร า ค า ห้ อ ง ชุ ด ใ ห ม่ ที่ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ข า ย ใ น พื้ น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (2 จังหวัด คือ ปทุมธานี และ นนทบุร)ี มีคา่ ดัชนีเท่ากับ 143.0 จุด เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 11.0 เมือ ่ เทียบกับปีที่ผ่านมา ดั ช นี ร าคาบ้ า นจั ด สรรใหม่ ที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการขายในพื้ น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (3 จังหวัด คือ ปทุมธานี นนทบุ รี และสมุ ท รปราการ) มี ค่ า ดั ช นี เ ท่ า กั บ 123.0 จุ ด เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
สถานการณ์ตลาดที่อยู่อาศัยในภูมิภาค ด้ า นอุ ป สงค์ มี ก ารขยายตั ว อย่ า งชั ด เจน โดยมี จํ า นวนหน่ ว ย และมูลค่าการโอนกรรมสิทธิส ์ ง ู ถึงประมาณร้อยละ 21.0 ส่วนใหญ่ เป็ น การเพิ่ ม ขึ้ น ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ท่ อ งเที่ ย วสํ า คั ญ รวมถึ ง พื้นที่เขตพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้แก่ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา เป็นต้น ขณะที่ด้านอุปทาน ชะลอตั ว จากการขอใบอนุ ญ าตก่ อ สร้ า งที่ ล ดลง โดยเฉพาะ การขออนุ ญ าตก่ อ สร้ า งอาคารชุ ด ลดลงถึ ง ร้ อ ยละ 49.0 ประกอบกั บ การขอใบอนุ ญ าตก่ อ สร้ า งบ้ า นจั ด สรรเพิ่ ม ขึ้ น เพียงร้อยละ 2.9 ทําให้เห็นการปรับตัวของอุปสงค์และอุปทาน มีความสมดุลมากขึ้น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 13
ภาวะเศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรม
แนวโน้มภาวะตลาดอสังหาริมทรัพย์ ปี 2562 ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล คาดว่า จะชะลอตัวทัง ้ ด้านจํานวนหน่วยและมูลค่าโครงการ เนือ ่ งจากต้อง เผชิญกับปัจ จั ย ลบหลายด้ า น ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ การขึ้นอัตรา ดอกเบี้ย การควบคุมการปล่อยสินเชื่อ และหนี้เสีย เป็นต้น แม้ว่า ภาพรวมจะชะลอตัว แต่ผู้ประกอบการรายใหญ่ยังคงถือครอง ส่ ว นแบ่ ง การตลาดในสิ น ค้ า ใหม่ ๆ เพิ่ ม มากขึ้ น มี ก ารปรั บ ตั ว ทางธุรกิจ โดยการร่วมทุนกับบริษท ั หรือนักลงทุนต่างชาติมากขึน ้ ขณะที่ ผู้ ป ระกอบการรายปานกลางถึ ง รายเล็ ก มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะ เปิดตัวโครงการใหม่ ๆ ลดลง เนือ ่ งจากการแข่งขันสูงขึน ้ นอกจากนี้ การชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ แนวโน้ ม อั ต ราดอกเบี้ ย ขาขึ้ น และผลจากมาตรการควบคุมสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ของ ธปท. จะส่ ง ผลต่ อ การชะลอตั ว ของตลาดที่ อ ยู่ อ าศั ย ทั้ ง ด้ า นอุ ป สงค์
และด้านอุปทาน และอาจจะทําให้กําลังซื้อชะลอตัวโดยเฉพาะจาก ผู้ซื้อในกลุ่มนักลงทุน สําหรับตลาดที่อยู่อาศัยในต่างจังหวัดในปี 2562 คาดว่าจะชะลอ ตัวลงเช่นกัน และปรับตัวลดลงทั้งอุปสงค์และอุปทาน เนื่องจาก ผู้ประกอบการชะลอการเปิดโครงการใหม่ ๆ เนื่องจากผลกระทบ จากปัญหาหนี้ครัวเรือนยังคงอยู่ในระดับที่สูง รายได้ครัวเรือน ลดลงจากราคาพืชผลทางการเกษตร ตลอดจนสถาบันการเงิน เพิม ่ ความเข้มงวดในการปล่อยสินเชือ ่ ทีอ ่ ยูอ ่ าศัย อย่างไรก็ดี พืน ้ ที่ ที่ยังเติบโตได้ต่อเนื่องจากปี 2561 คือ จังหวัดเศรษฐกิจในแต่ละ ภาค เช่น สงขลา ภูเก็ต เชียงใหม่ อุดรธานี ขอนแก่น ชลบุรี ระยอง และพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตามนโยบายของรัฐบาล เป็นต้น
45
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ศูนย์อาหาร 30 ศูนย์การค้า อาคารที่พักอาศัย 32 4 2 7
โรงแรม
อาคารสํานักงาน
ภาพรวมการดําเนินธุรกิจ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “CPN”) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2523 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 300 ล้านบาท ภายใต้ชื่อ “บริษัท เซ็นทรัล พลาซา จํากัด” มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและบริหารศูนย์การค้าขนาดใหญ่แบบ ครบวงจร โดยในปี 2525 ได้ เ ปิ ด โครงการเซ็ น ทรั ล พลาซา ลาดพร้าว ซึง ่ เป็นศูนย์การค้าแบบครบวงจรแห่งแรกในประเทศไทย และได้ เ ปิ ด ศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ เช่ น เซ็ น ทรั ล พลาซา รามอิ น ทรา เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า ซึ่งเป็นศูนย์การค้าอเนกประสงค์ พร้อม อาคารสํานักงาน และเซ็นทรัล เซ็นเตอร์ พัทยา (ปัจจุบัน คือ เซ็นทรัลมารีนา) ก่อนเข้าจดทะเบียนในในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2538 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ปัจจุบัน CPN มีทุนจดทะเบียนชําระ แล้วทั้งสิ้น 2,244,000,000 บาท มูลค่าหุ้นละ 0.5 บาท โดยมี บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จํากัด และบุคคลในตระกูลจิราธิวัฒน์เป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่ CPN ขยายธุรกิจศูนย์การค้าขนาดใหญ่แบบครบวงจรอย่างต่อ เนื่ อ ง ด้ ว ยการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ต ามหั ว เมื อ งหลั ก ด้ ว ย แบรนด์ “เซ็นทรัลพลาซา” และจังหวัดใหญ่ที่เป็นเมืองท่องเที่ยว ด้ ว ยแบรนด์ “เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล ” รวมถึ ง การซื้ อ โครงการ ศูนย์การค้า เช่น เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต (ปี 2539) เซ็นทรัลเวิลด์ (ปี 2545) เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ (ปี 2546)
46
เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี (ปี 2552) และเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต (ปี 2558) เป็นต้น ด้วยความมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะเติบโตอย่างยัง ่ ยืน บริษท ั ฯ ได้จัดตั้งกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNRF) ในปี 2548 และกองทุ น รวมสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) ในปี 2555 โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ระดมทุนจากนักลงทุนทัง ้ ในและต่าง ประเทศไปลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละจั ด หาประโยชน์ จ าก อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว และล่าสุดเมื่อปลายปี 2560 ได้ดําเนิน การแปลงสภาพ CPNRF เป็นทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) พร้อมกับลงทุน เพิ่มเติมในเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช และโรงแรมฮิลตัน พัทยา ตัง ้ แต่ปี 2558 บริษท ั ฯ ได้พลิกบทบาทของศูนย์การค้าจากสถานที่ จับจ่ายใช้สอยให้เป็น “ศูนย์กลางการใช้ชีวิต” (Center of Life) ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ที่ ส ามารถตอบสนองการใช้ ชี วิ ต ของคนทุ ก ยุ ค ทุกสมัย ทุกวัย และทุกวิถก ี ารดําเนินชีวต ิ ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป (Lifestyle) ด้วยการนํานวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาศูนย์การค้าและบริการ บนพื้นฐานของความสะดวก ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพและเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวคิด “Innovative and Lifestyle Shopping Mall” และจัดสรรพื้นที่เป็นจุดหมาย (Destination) หลากหลายรูปแบบ ดังเช่นที่ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัล เฟสติวล ั อีสต์วล ิ ล์ ทีเ่ ปิดในปี 2558 เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
เปิดในปี 2559 เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย เปิดในปี 2560 และเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า ที่เปิดในปี 2561 เชื่อมต่อกับเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล (เดิมชื่อ เซ็นทรัล เฟสติวล ั ภูเก็ต) ทําให้โครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต กลายเป็นศูนย์การค้า ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในภาคใต้ ข องประเทศไทย ที่ มี ค วามแปลกใหม่ หรือ Attraction เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและกลุ่มลูกค้าคนไทย เช่น “ไตรภูม”ิ เป็นธีมปาร์คแนวผจญภัยแบบสามมิติ และ “Aquaria” เป็นอควาเรียมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย นอกจากนี้ CPN ยังขยายธุรกิจด้วยการพัฒนาศูนย์การค้ารูป แบบใหม่ เช่น International Luxury Outlet Mall ภายใต้ชื่อ เซ็นทรัล วิลเลจ ทีจ ่ ะเปิดให้บริการในปี 2562 และขยายธุรกิจในเชิง ภูมิศาสตร์ไปในต่างประเทศโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ซึ่งบริษัทฯ จะเปิดให้บริการเซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ ที่ประเทศ มาเลเซีย ในช่วงต้นปี 2562 สําหรับรูปแบบการขยายธุรกิจต่อไป ในอนาคต CPN ได้เล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจในการพัฒนาโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ บบผสม (Mixed-use development) ประกอบด้วย อาคารทีพ ่ ก ั อาศัย อาคารสํานักงาน และโรงแรม เพือ ่ เพิ่มประโยชน์จากการใช้ที่ดิน การขยายฐานรายได้ และสนับสนุน ธุ ร กิ จ ศู น ย์ ก ารค้ า ให้ มี ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเพิ่ ม มากขึ้ น โดยเริ่ ม จากการ พั ฒ นาโครงการที่ พั ก อาศั ย ที่ มี คุ ณ ภาพบนที่ ดิ น ในบริ เ วณ ศูนย์การค้า หรือพื้นที่ใกล้ ๆ โดยรอบศูนย์การค้า ซึ่งบริษัทฯ เริ่ม ทยอยรับรู้รายได้จากโครงการคอนโดมิเนียม 3 โครงการแรกเมื่อ โอนให้ลูกค้าในปี 2561 และได้ดําเนินธุรกิจในเชิงรุกด้วยการเข้า ร่วมลงทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ แบบผสมบนทีด ่ น ิ ย่านสีลม ตามด้วยการเข้าซือ ้ หุน ้ ใน บมจ. แกรนด์ คาแนล แลนด์ (GLAND) ในสัดส่วนร้อยละ 67.53 ด้วยเล็งเห็น ถึงโอกาสในการพัฒนาทีด ่ น ิ ในย่านพระราม 9 และในย่านพหลโยธิน อีกทั้งได้ร่วมลงทุนในธุรกิจ Co-working Space เพื่อเชื่อมโยง ธุรกิจศูนย์การค้าเข้ากับอาคารสํานักงานในอนาคต
ลักษณะการประกอบธุรกิจ C P N ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ พั ฒ น า โ ค ร ง ก า ร ศู น ย์ ก า ร ค้ า แ ล ะ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ป ระเภทอื่ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งในรู ป แบบโครงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ บบผสม (Mixed-use Development) ประกอบด้วย อาคารสํานักงาน โรงแรม และที่พักอาศัย เพื่อเพิ่ม มูลค่าให้กับโครงการ โดย ณ สิ้นปี 2561 CPN มีอสังหาริมทรัพย์ ภายใต้ ก ารบริ ห าร ประกอบด้ ว ย ศู น ย์ ก ารค้ า 32 แห่ ง อยู่ ใ น กรุงเทพฯ และปริมณฑล 14 แห่ง และในต่างจังหวัด 18 แห่ง (เซ็นทรัล ภูเก็ต ประกอบด้วย เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวล ั และเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า) อาคารสํานักงาน 7 แห่ง ในกรุงเทพฯ โรงแรม 2 แห่ง คือ โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี และโรงแรมฮิ ล ตั น พั ท ยา และโครงการที่ พั ก อาศัย 1 แห่ง ใน กรุงเทพฯ นอกจากนี้ CPN ยังมีการลงทุนในทรัสต์เพือ ่ การลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) และ กองทุน รวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
(CPNCG) โดย CPN ทําหน้าทีเ่ ป็นผูบ ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ของ CPNREIT และ CPNCG การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ต่าง ๆ ของ CPN จะเริ่ม ตั้งแต่การจัดหาที่ดินในทําเลและราคาที่เหมาะสมในการพัฒนา โครงการ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การควบคุม การออกแบบและบริหารงานก่อสร้าง การบริหารงานขาย ตลอด จนเป็นผูบ ้ ริหารศูนย์การค้าและอาคารสํานักงานหลังจากทีเ่ ปิดให้ บริการแล้ว รวมถึงการให้บริการระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษา ความปลอดภั ย และการให้ บ ริ ก ารด้ า นการรั ก ษาความสะอาด ภายในศูนย์การค้าและอาคารสํานักงาน พร้อมกันนี้ยังประกอบ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องและส่งเสริมกัน อาทิ ศูนย์อาหาร ศูนย์ประชุม อเนกประสงค์ แหล่งสันทนาการและบันเทิงภายในศูนย์การค้าใน บางโครงการเพื่ออํานวยความสะดวกแก่ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ โดยการเปิดให้บริการนัน ้ จะพิจารณาจากความเหมาะสมของทําเล ที่ ตั้ ง และความต้ อ งการของกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมายเป็ น สํ า คั ญ สําหรับการบริหารธุรกิจโรงแรม CPN ได้ว่าจ้างบริษัทที่มีความ ชํ า นาญด้ า นการบริ ห ารโรงแรมเป็ น ผู้ บ ริ ห ารโรงแรม เพื่ อ การ บริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การประกอบธุรกิจแยกตามกลุ่มธุรกิจ การประกอบธุรกิจของ CPN แบ่งตามแหล่งทีม ่ าของรายได้ออก เป็น 6 กลุ่มธุรกิจ ดังนี้
1. ศูนย์การค้า ธุรกิจศูนย์การค้าเป็นธุรกิจหลักทีส ่ ร้างรายได้กว่าร้อยละ 76 ของ รายได้รวม รายได้จากธุรกิจศูนย์การค้า ประกอบด้วย รายได้ ค่าเช่าพื้นที่ค้าปลีก รายได้จากการให้บริการระบบสาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัย รายได้จากการให้บริการรักษาความ สะอาดภายในศูนย์การค้า รายได้คา่ เช่าและการให้บริการพืน ้ ทีศ ่ น ู ย์ ประชุมอเนกประสงค์ และรายได้จากการให้บริการสื่อโฆษณา จาก การบริหารศูนย์การค้า 32 โครงการ แบ่งเป็น โครงการในกรุงเทพฯ และปริ ม ณฑล 14 โครงการ และในต่ า งจั ง หวั ด 18 โครงการ ในจํานวนนี้มีโครงการที่ CPN เป็นเจ้าของทรัพย์สิน 27 โครงการ และโครงการที่ CPN ให้เช่าช่วงแก่ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) จํานวน 5 โครงการ โดย CPN ทําหน้าที่เป็นผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ ให้กับ CPNREIT บริ ษั ท ฯ มุ่ ง พั ฒ นาและขยายธุ ร กิ จ ศู น ย์ ก ารค้ า ด้ ว ยการเปิ ด ศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ท้ั ง ในประเทศและต่ า งประเทศ การปรั บ ปรุ ง ศูนย์การค้าเดิมให้ทน ั สมัย และการเพิม ่ ประสิทธิภาพการใช้พน ื้ ทีใ่ น ศูนย์การค้าในการสร้างรายได้อย่างต่อเนือ ่ ง ด้วยแนวคิดการเป็น ศูนย์กลางของการใช้ชีวิต (Center of Life) เพื่อตอบโจทย์ ผูบ ้ ริโภคทีม ่ ค ี วามชัดเจนในวิถก ี ารดําเนินชีวต ิ (Lifestyle) มากขึน ้
47
โดยนํ า เสนอสิ น ค้ า และบริ ก ารที่ ห ลากหลายให้ แ ก่ ผู้ ม าใช้ จ่ า ยที่ ศูนย์การค้าของ CPN ควบคู่กับการสร้างสรรค์ Destination concepts หลายรูปแบบไว้ในศูนย์การค้าเพื่อตอบโจทย์ครบทุก กลุม ่ ทุกวัย ทีม ่ ไี ลฟ์สไตล์และความชืน ่ ชอบทีแ ่ ตกต่างกัน นอกจาก นี้ ในการออกแบบและตกแต่งศูนย์การค้า บริษัทฯ จะนําจุดเด่น และเอกลั ก ษณ์ ป ระจํ า ท้ อ งถิ่ น มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการออกแบบ ศูนย์การค้าที่อยู่ในพื้นที่นั้นอย่างกลมกลืน รวมถึงการตกแต่ง ภายในศู น ย์ ก ารค้ า เพื่ อ สร้ า งบรรยากาศและดึ ง ดู ด ให้ ลู ก ค้ า ได้ เพลิดเพลินกับการเลือกซื้อสินค้า เพื่อให้ศูนย์การค้าของ CPN มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและเป็นผู้นาํ ในธุรกิจศูนย์การค้าต่อไป การเปิ ด ศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ใ นปี 2561 CPN ได้ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก าร ศูนย์การค้ารูปแบบใหม่ คือ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า เชื่อมต่อ กับเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล ทําให้เซ็นทรัล ภูเก็ต เป็นศูนย์การค้าที่ ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และในปี 2562 บริษัทฯ กําหนดเปิดให้บริการ เซ็นทรัล วิลเลจ ซึ่งเป็น International Luxury Outlet แห่งแรก ของประเทศไทย และเซ็นทรัล ไอ-ซิต้ี ในประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็น ศูนย์การค้าของ CPN แห่งแรกในต่างประเทศ สําหรับการปรับปรุง ศู น ย์ ก ารค้ า เดิ ม ในปี 2561 บริ ษั ท ฯ ได้ ป รั บ โฉมครั้ ง ใหญ่ ที่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ให้เป็นศูนย์รวมจุดหมายการใช้ชว ี ต ิ ระดับ โลก และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เพื่อตอบโจทย์การใช้ชีวิต ของผู้อยู่อาศัยในย่านดังกล่าว จากการประมาณการของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 CPN มีส่วนแบ่งตลาดในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลประมาณ ร้อยละ 20.0 โดยพิจารณาจากขนาดพื้นที่ค้าปลีกรวม (Gross Floor Area) ไม่รวมที่จอดรถ
20
36
ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ) พื้นที่รวม 18.9 ล้าน ตร.ม.
5 4 3 3 2 3 2
22
CPN
เอสเอฟ
สยามพิวรรธน์
กลุ่มเดอะมอลล์
สยามรีเทล
ฟิวเจอร์พาร์ค
โรบินสัน
ซีคอนสแควร์
ไฮเปอร์มาร์เก็ต อื่นๆ
48
2. อาคารสํานักงาน ธุรกิจอาคารสํานักงาน เป็นการพัฒนาอาคารสํานักงานให้เช่าใน บริเวณโครงการศูนย์การค้า เนื่องจากมีอุปสงค์ที่ส่งเสริมกันกับ ธุรกิจศูนย์การค้าและเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับโครงการจากการใช้ ประโยชน์ ใ นที่ ดิ น ผื น เดี ย วกั น ได้ อ ย่ า งคุ้ ม ค่ า รวมถึ ง การเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใช้และบริหารที่จอดรถ การตัดสินใจพัฒนาอาคารสํานักงานในบริเวณโครงการศูนย์การค้า ใดนัน ้ บริษท ั ฯ จะพิจารณาจากความเหมาะสมของทําเลทีต ่ ง ้ั อุปสงค์ และอุปทานของพืน ้ ทีอ ่ าคารสํานักงานในบริเวณนัน ้ ๆ เป็นสําคัญ ซึง ่ รายได้จากธุรกิจอาคารสํานักงาน ประกอบด้วย รายได้คา่ เช่าพืน ้ ที่ อาคารสํานักงาน รายได้ค่าเช่าพื้นที่แก่ร้านค้าปลีกภายในอาคาร สํานักงาน และรายได้จากการให้บริการระบบสาธารณูปโภค ปัจจุบัน CPN มีอาคารสํานักงานภายใต้การบริหารในบริเวณ โครงการศูนย์การค้ารวมทัง ้ สิน ้ 7 โครงการ ได้แก่ 1) เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว 2) เซ็นทรัลพลาซา ปิน ่ เกล้า 2 อาคาร 3) เซ็นทรัลพลาซา บางนา 4) เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ (อาคารสํ า นั ก งาน ดิ ออฟฟิ ศ เศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์) 5) เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ และ 6) เซ็นทรัล พลาซา แกรนด์ พระราม 9 โดยแบ่งเป็นโครงการที่ CPN เป็น เจ้าของ 4 โครงการ โครงการที่ให้เช่ากับ CPNREIT 2 โครงการ คื อ อาคารสํ า นั ก งานปิ่ น เกล้ า ทาวเวอร์ เอ และบี ในบริ เ วณ โครงการเซ็ น ทรั ล พลาซา ปิ่ น เกล้ า และโครงการที่ ใ ห้ เ ช่ า กั บ CPNCG จํานวน 1 โครงการ คือ อาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ โดยกลุ่มผู้เช่าพื้นที่อาคารสํานักงานที่ตั้งอยู่ ภายในโครงการเซ็ น ทรั ล พลาซา ลาดพร้ า ว เซ็ น ทรั ล พลาซา ปิ่ น เกล้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา บางนา เซ็ น ทรั ล พลาซา แจ้ ง วั ฒ นะ และเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 ส่วนใหญ่จะประกอบธุรกิจ ที่ได้รับประโยชน์สนับสนุนจากธุรกิจศูนย์การค้า อาทิ โรงเรียน กวดวิชา โรงเรียนสอนภาษาและดนตรี สถานเสริมความงาม และ บริษัทหลักทรัพย์ เป็นต้น สําหรับอาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ซึง ่ เป็นอาคารสํานักงาน เกรด A ตัง ้ อยูใ่ นแหล่ง ธุรกิจใจกลางกรุงเทพฯ นัน ้ มีผเู้ ช่าพืน ้ ทีส ่ ว ่ นใหญ่เป็นบริษท ั ชัน ้ นํา ทั้งในและต่างประเทศ
3. โรงแรม ธุรกิจโรงแรมในบริเวณโครงการศูนย์การค้าเป็นธุรกิจทีม ่ อ ี ป ุ สงค์ ส่งเสริมกันกับธุรกิจศูนย์การค้า และเป็นธุรกิจที่เพิ่มมูลค่าให้กับ โครงการด้ ว ยการใช้ ที่ ดิ น ให้ เ กิ ด ประโยชน์ อ ย่ า งคุ้ ม ค่ า เพื่ อ ผลตอบแทนจากการลงทุนสูงสุด หลักการในการพิจารณาลงทุน ที่สําคัญประกอบด้วย ทําเลที่ตั้งของโครงการ อุปสงค์ อุปทาน และสภาวะแวดล้อมของบริเวณนัน ้ ๆ รวมถึงศักยภาพการเติบโต ของโครงการ ทั้งนี้ ธุรกิจโรงแรมประกอบด้วย ห้องพัก ห้อง อาหาร ห้องสัมมนา และศูนย์ประชุม เพื่อรองรับการเติบโตของ
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม MICE: Meeting Incentive Convention and Exhibition (การจัดการประชุม เชิงธุรกิจ การค้า และจัดแสดงสินค้านานาชาติ) ซึ่งรายได้จาก ธุรกิจโรงแรมประกอบด้วย รายได้จากค่าห้องพัก รายได้จาก ค่าอาหารและเครื่องดื่ม และรายได้จากค่าเช่าห้องในอาคารและ ค่าบริการ เป็นต้น
รัดกุมอีกด้วย สําหรับการก่อสร้างที่อยู่อาศัยและสาธารณูปโภค ของโครงการ อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้จัดให้มี การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) รวมถึงทุกโครงการได้มีการปฎิบัติตาม กฎหมายพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร โดยคํานึงถึงการรักษา สภาพแวดล้อมในบริเวณข้างเคียงให้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด
CPN เป็นเจ้าของธุรกิจโรงแรม 2 แห่ง คือ 1) โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี ซึ่งมี ห้องพักจํานวน 259 ห้อง (เดิมคือ โรงแรมเจริญศรี แกรนด์ รอยัล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเจริญศรีคอมเพล็กซ์ ที่ CPN ได้เข้าซื้อกิจการในเดือนเมษายน 2552) โดย CPN ได้ว่าจ้างให้บริษัทที่มีความชํานาญด้านการบริหารโรงแรม คือ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) เป็น ผู้บริหารโรงแรม 2) โรงแรมฮิลตัน พัทยา มีห้องพักจํานวน 302 ห้อง (ตั้งอยู่ใน บริ เ วณเดี ย วกั บ โครงการศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล พัทยา บีช เริ่มเปิดให้บริการในเดือนพฤศจิกายน 2553) และ เมือ ่ เดือนธันวาคม 2560 CPN ได้ให้ CPNREIT เช่าเป็นระยะ เวลา 20 ปี โดยยังคงให้บริษัท ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชั่น เป็นผู้บริหารโรงแรม
ปัจจุบน ั CPN มีโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยรูปแบบคอนโดมิเนียมบนทีด ่ น ิ บริ เ วณศู น ย์ ก ารค้ า ของ CPN จํ า นวน 7 โครงการ แบ่ ง เป็ น โครงการที่ ส ร้ า งเสร็ จ แล้ ว และอยู่ ร ะหว่ า งการโอนให้ กั บ ลู ก ค้ า 3 โครงการ ได้แก่ 1) เซ็นทรัลเฟสติวล ั เชียงใหม่ 2) เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น 3) เซ็นทรัลพลาซา ระยอง และโครงการทีอ ่ ยูร่ ะหว่างการ พัฒนาจํานวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา 2) เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย 3) เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ แห่ง ที่ 2 และ 4) เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี ซึ่งเป็นโครงการ ค อ น โ ด มิ เ นี ย ม ภ า ย ใ ต้ ชื่ อ เ อ ส เ ซ็ น ท์ ( E S C E N T ) แ ล ะ เอสเซ็นท์ วิลล์ (ESCENT VILLE) และมีโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยทีอ ่ ยู่ นอกศูนย์การค้าของ CPN จํานวน 2 โครงการ คือ 1) โครงการ บ้านเดีย ่ ว นิยาม (NIYHAM) และ 2) คอนโดมิเนียม ฟีล พหล 34 (PHYLL PHAHOL 34) โดยบริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ จํากัด ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยของ CPN เป็นผู้ออกแบบ พัฒนา และบริหาร โครงการดังกล่าว นอกจากนั้น CPN ยังมีที่พักอาศัยประเภท ห้องชุดให้เช่าจํานวน 11 ยูนต ิ ภายใต้โครงการเซ็นทรัล ซิตี้ เรสซิเดนซ์ คอนโดมิเนียม ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเดียวกับเซ็นทรัลพลาซา บางนา
4. อาคารที่พักอาศัย CPN เล็ ง เห็ น ศั ก ยภาพในการพั ฒ นาโครงการศู น ย์ ก ารค้ า ใน ลักษณะพื้นที่แบบผสม (Mixed-use Development) โดยจะ พัฒนาโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยเพือ ่ ช่วยสนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้าซึง ่ เป็นธุรกิจหลักให้เกิดประโยชน์สง ู สุด ทัง ้ นี้ CPN ได้จด ั ตัง ้ ฝ่ายงาน ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารและบุคลากรที่มีประสบการณ์และความ เชี่ ย วชาญเพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการพั ฒ นาโครงการ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจนการดํ า เนิ น งานด้ า นต่ า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ การพั ฒ นาโครงการที่ อ ยู่ อ าศั ย ของ CPN จะเริ่ ม ตั้ ง แต่ ก าร คัดเลือกทําเลที่ดินสําหรับพัฒนาโครงการ ศึกษาความเป็นไปได้ ของข้อมูลการตลาด ผลกระทบต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์และตัดสินใจ เลือกประเภททีอ ่ ยูอ ่ าศัยทีเ่ หมาะสมกับทําเลทีต ่ ง ั้ นัน ้ ๆ หลังจากนัน ้ บริษัทฯ จะจัดให้มีการเปิดซองประมูลราคาขายโดยจัดซื้อวัสดุ ก่อสร้างและเครื่องตกแต่งจากผู้ผลิตโดยตรง เพื่อให้สามารถ เปรียบเทียบราคาและคุณภาพและได้รบ ั ประโยชน์จากการประหยัด ต่อขนาด รวมทั้งมีการกําหนดราคาส่งมอบล่วงหน้าเพื่อป้องกัน ความผั น ผวนของราคา บริ ษั ท ฯ คั ด เลื อ กผู้ รั บ เหมาที่ มี ค วาม ชํานาญ ผลงาน และชือ ่ เสียงในแต่ละประเภทงาน ตามขัน ้ ตอนและ มาตรฐานในการจัดซือ ้ จัดจ้างของบริษท ั ฯ นอกจากนี้ บริษท ั ฯ ยัง มีระบบในการควบคุมการดําเนินงานก่อสร้างให้เป็นไปตามแผน งานที่กําหนด และมีระบบการควบคุมคุณภาพอย่างเข้มงวดและ
5. แหล่งสันทนาการและบันเทิง ธุรกิจแหล่งสันทนาการและบันเทิง เป็นธุรกิจที่สนับสนุนธุรกิจ ศูนย์การค้าซึง ่ เป็นธุรกิจหลักของ CPN เพือ ่ ให้ศน ู ย์การค้ามีความ หลากหลายขององค์ประกอบและการให้บริการ วัตถุประสงค์ของ การสร้ า งแหล่ ง สั น ทนาการและบั น เทิ ง ขึ้ น ในบริ เ วณโครงการ ศูนย์การค้านัน ้ นอกจากจะเป็นการดึงดูดให้ลก ู ค้าเข้ามาใช้บริการ ศูนย์การค้าเพิ่มขึ้นแล้ว ยังเป็นการมอบความสุขให้แก่ลูกค้าที่ มาใช้บริการและตอบแทนชุมชนในบริเวณใกล้เคียง ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับความเพียงพอของที่ดินและพื้นที่ภายในโครงการนั้น ๆ ปั จ จุ บั น CPN เปิ ด ให้ บ ริ ก ารแหล่ ง สั น ทนาการและบั น เทิ ง ในศูนย์การค้าต่าง ๆ ดังนี้ • สวนนํ้าบริเวณชั้น 6 ของเซ็นทรัลพลาซา บางนา ภายใต้ชื่อ “โพโรโระ อควาพาร์ค กรุงเทพฯ” ตกแต่งด้วยธีมการ์ตน ู ซีรย ี่ ์ ยอดนิ ย มจากเกาหลี “โพโรโระ” (Pororo : The Little Penguin) เพือ ่ สร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ และสีสน ั ความสนุก ให้กับลูกค้าทุกคนในครอบครัว • สวนพักผ่อน ในบริเวณเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ภายใต้ชอ ื่ “เซ็นทรัล พาร์ค” เป็นสวนพักผ่อนขนาดใหญ่ที่เปิดให้บริการ แก่ประชาชนทั่วไป ประกอบด้วยสวนสุขภาพ สนามเด็กเล่น ลานกิจกรรม และร้านอาหารชั้นนํา
49
•
ไตรภูมิ มหัศจรรย์สามโลก ที่เซ็นทรัล ภูเก็ต เปิดให้บริการ ในปี 2562 เป็นธีมพาร์คผจญภัยรูปแบบ 3 มิติอินเตอร์ แอ็กทีฟ ที่บริษัทฯ ได้ร่ว มลงทุน กั บพันธมิ ตรทางธุรกิจที่ มีความชํานาญ
6. ศูนย์อาหาร ธุรกิจศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้าเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่ ช่วยเสริมให้ศูนย์การค้ามีความครบครัน วัตถุประสงค์หลักของ ธุรกิจนี้ คือ เพือ ่ ลูกค้าทีม ่ าใช้บริการภายในศูนย์การค้าได้รบ ั ความ สะดวกในการเลือกรับประทานอาหารทีห ่ ลากหลายในราคาประหยัด สะดวก และรวดเร็ว ในขณะที่ CPN จะได้รับผลตอบแทนจากราย ได้จากการจําหน่ายอาหารและเครื่องดื่มในบริเวณศูนย์อาหาร CPN ได้พัฒนาและปรับปรุงศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้าด้วย แนวคิด Food Destination ทีร่ วมร้านอาหารหลากหลายประเภท หลากหลายสไตล์ตอบรับทั้งไลฟ์สไตล์ แฮงเอ้าท์ กิน ดื่ม ชิลล์ ร้านอาหารแนวครอบครัว คาเฟ่ เบเกอรี่ และร้านอาหารแบบ ซื้อกลับ (Take Home)
7. การลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์และกองทรัสต์ CPN เป็นผูถ ้ อ ื หน่วยลงทุนรายใหญ่ในทรัสต์เพือ ่ การลงทุนในสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) และกองทุน รวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) ในสัดส่วนร้อยละ 26.69 และร้อยละ 25.00 ตามลําดับ และทําหน้าทีเ่ ป็นผูบ ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ ซึง ่ จะได้รบ ั ค่าธรรมเนียม การบริหารอสังหาริมทรัพย์เป็นรายเดือนตามสัญญาการจ้างที่ ทํ า ขึ้ น และได้ รั บ ส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรตามสั ด ส่ ว นการลงทุ น โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1)
50
CPNREIT เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมือ ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2560 หลังการแปลงสภาพจากกองทุน รวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNRF) เป็น CPNREIT ซึง ่ เป็นไปตามทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั ครัง ้ ที่ 4/2560 เมือ ่ วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 ได้มม ี ติอนุมต ั ิ แบบมีเงือ ่ นไขสําหรับการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT เพื่อประโยชน์ต่อผู้ถือหน่วยลงทุนของ CPNRF โดยรวม เนื่ อ งจากสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี ข องผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น CPNRF ซึง ่ จะได้รบ ั ยกเว้นภาษีเงินได้ และสิทธิประโยชน์ทาง ภาษีของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ซึ่งจะได้รับการยกเว้น ภาษีมล ู ค่าเพิม ่ ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ รวมทัง ้ สิทธิ ประโยชน์ เ กี่ ย วกั บ ค่ า ธรรมเนี ย มการจดทะเบี ย นสิ ท ธิ แ ละ นิตก ิ รรมเกีย ่ วกับอสังหาริมทรัพย์ อันเนือ ่ งมาจากการแปลง
สภาพกองทุนอสังหาริมทรัพย์เป็นทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์จะสิน ้ สุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 CPNREIT ได้จด ั ตัง ้ ขึน ้ เมือ ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2560 โดย ไม่มก ี ารกําหนดอายุโครงการ และเมือ ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2560 ได้ดําเนินการรับโอนทรัพย์สินจาก CPNRF ได้แก่ เซ็นทรัล พลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา ปิน ่ เกล้า และเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต พร้อมกับ ลงทุ น เพิ่ ม เติ ม ในทรั พ ย์ สิ น ของ CPN อี ก 2 แห่ ง คื อ เซ็นทรัล เฟสติวล ั พัทยา บีช (บางส่วน) และโรงแรม ฮิลตัน พัทยา เป็นระยะเวลา 20 ปี สิทธิการเช่าจะหมดอายุ วันที่ 31 สิงหาคม 2580 โดยมีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 11,908 ล้านบาท CPNREIT มีบริษท ั ซีพเี อ็น รีท แมเนจเม้นท์ จํากัด ซึง ่ เป็น บริษท ั ย่อยของ CPN ทําหน้าทีเ่ ป็นผูจ ้ ด ั การกองทรัสต์ (REIT Manager) และแต่ ง ตั้ ง CPN เป็ น ผู้ บ ริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า (Property Manager) และมีบริษท ั ซีพเี อ็น พัทยา โฮเทล จํากัด ซึง ่ เป็นบริษท ั ย่อยของ CPN เป็นผูเ้ ช่าช่วงโรงแรมฮิลตัน พัทยา โดยยังคงให้บริษท ั ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชัน ่ บริหารโรงแรม ต่ อ ไป นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ไทยพาณิชย์ จํากัด เป็นทรัสตี และบริษท ั ศูนย์รบ ั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็นนายทะเบียน 2) CPNCG จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2555 โดยไม่มก ี ารกําหนดอายุโครงการ และเป็นกองทุนรวมทีจ ่ ด ั ตัง ้ ขึน ้ โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ระดมเงินทุนและนําเงินทุนส่วนใหญ่ ไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดง ั กล่าว CPNCG ได้ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ของอาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ (บางส่วน) บริษท ั หลักทรัพย์จด ั การกองทุน ไทยพาณิชย์ จํากัด เป็นบริษท ั จัดการกองทุนรวม โดยมี ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เป็นผูด ้ แ ู ลผลประโยชน์ของกองทุนรวม ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) เป็นนายทะเบียน และมี CPN เป็นผูบ ้ ริหาร อสังหาริมทรัพย์ ทัง ้ นี้ ผูบ ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์มส ี ท ิ ธิได้รบ ั ค่าตอบแทนในการ ทําหน้าทีผ ่ บ ู้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จากกองทุนรวม โดยเรียก เก็บจากกองทุนรวมเป็นรายเดือนตามสัญญาการจ้างทีท ่ าํ ขึน ้ ระหว่างกองทุนรวมกับผูบ ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ นอกจากนัน ้ CPN เป็นผูถ ้ อ ื หน่วยลงทุนโดยอ้อมในทรัสต์เพือ ่ การลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์อาคารสํานักงาน จีแลนด์ สัดส่วนร้อยละ 10.13 ผ่านการเข้าซือ ้ หุน ้ ใน GLAND โดยมี บ ริ ษั ท ย่ อ ยของ GLAND คื อ บริ ษั ท จี แ ลนด์ รี ท แมเนจเม้นท์ จํากัด ทําหน้าทีเ่ ป็นผูจ ้ ด ั การกองทรัสต์
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
โครงการทีอ ่ ยูภ ่ ายใต้การบริหารงานของ CPN CPN เป็นเจ้าของโครงการ 1.
เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
2. เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา 3. เซ็นทรัลมารีนา 4. เซ็นทรัลพลาซา บางนา 5. เซ็นทรัลเวิลด์ 6. เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ 7. เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ 8. เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี 9. เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี 10. เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น 11. เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย 12. เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก 13. เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 14. เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี 15. เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง 16. เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี 17. เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ 18. เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ 19. เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย 20. เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา 21. เซ็นทรัลพลาซา ระยอง 22. เซ็นทรัล ภูเก็ต - เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล - เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า 23. เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต 24. เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ 25. เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช 26. เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา 27. เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย
CPN เป็นผู้บริหารโครงการ 1.
เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า 1
2. เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3
2
3. เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 3 4. เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต 4 5. เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช 5 6. เซ็นทรัลเวิลด์
6
ศูนย์การค้า
อาคารสํานักงาน
• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
•
โรงแรม
•
• •
อาคาร ที่พักอาศัย
• •
•
•
•
ศูนย์อาหาร
• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
• • • • • • • ศูนย์การค้า
อาคารสํานักงาน
• • • • •
•
•
โรงแรม
•
อาคาร ที่พักอาศัย
ศูนย์อาหาร
• • • • •
หมายเหตุ 1 ร้อยละ 42 ของพื้นที่ศูนย์การค้าและร้อยละ 100 ของพื้นที่อาคารสํานักงาน CPN ให้เช่าช่วงแก่ CPNREIT สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2567 2 ร้อยละ 81 ของพื้นที่ศูนย์การค้า CPN ให้เช่าแก่ CPNREIT สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2578 (ต่ออายุการเช่าได้ 2 ครั้ง ๆ ละ 30 ปี) 3 ร้อยละ 96 ของพื้นที่ศูนย์การค้า CPN ให้เช่าช่วงแก่ CPNREIT สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2568 4 ร้อยละ 49 ของพื้นที่ศูนย์การค้า CPN ให้เช่าแก่ CPNREIT สิ้นสุดเดือนเมษายน 2587 5 ร้อยละ 50 ของพื้นที่ศูนย์การค้า CPN และร้อยละ 100 ของพื้นที่โรงแรม ให้เช่าแก่ CPNREIT สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2580 6 ร้อยละ 97 ของพื้นที่อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ให้เช่าช่วงแก่ CPNCG ตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 สิ้นสุดเดือนกันยายน 2575 (ส่วนที่ 1) และตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555 สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2575 (ส่วนที่ 2)
51
โครงการอสังหาริมทรัพย์ภายใต้การบริหารงานของ CPN โครงการศูนย์การค้า ศูนย์การค้า
เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)
รูปแบบการ พัฒนา 2
สิทธิในที่ดิน 3 มูลค่าเงินลงทุน (ปีสิ้นสุด) ณ สิ้นปี 2561 5
พื้นที่ใช้สอย รวม (GFA) 6 (ตร.ม.)
1.
เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
ธันวาคม 2525
G
L (2571)
4,509
310,000
2.
เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา
พฤศจิกายน 2536
G
L (2566)
664
86,000
3.
เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า 1
มีนาคม 2538
G
L (2570)
3,045
370,000
4.
เซ็นทรัลมารีนา
กรกฎาคม 2538
G
L (2578)
1,442
70,000
5.
เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต 1 มีนาคม 25394
A
F
2,421
250,000
6.
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 1
ตุลาคม 2540
G
F
2,035
220,000
7.
เซ็นทรัลพลาซา บางนา
ธันวาคม 25444
A
F
5,782
500,000
8.
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 1
ธันวาคม 2545
G
L (2598)
9,121
210,000
9.
เซ็นทรัลเวิลด์
ธันวาคม 25454
A
L (2583)
14,350
830,000
10. เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์
ธันวาคม 25464
A
F&L (2577)
2,368
140,000
11. เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ
พฤศจิกายน 2551
G
F
5,409
310,000
12. เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช 1
มกราคม 2552
G
F&L (2581)
4,500
210,000
13. เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี
เมษายน 25524
A
F
4,614
250,000
14. เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี
พฤษภาคม 2552
G
F&L (2570)
3,131
156,000
15. เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น
ธันวาคม 2552
G
F
3,951
200,000
16. เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย
มีนาคม 2554
G
F
2,016
110,000
17. เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก
ตุลาคม 2554
G
F
1,590
100,000
18. เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9
ธันวาคม 2554
G
L (2583)
5,172
214,000
19. เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี
ตุลาคม 2555
G
F
2,245
130,000
20. เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง
พฤศจิกายน 2555
G
L (2584)
1 ,1 4 5
110,000
52
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
พื้นที่จอดรถ ศูนย์ประชุม (คัน) อเนกประสงค์ (ตร.ม.) 3,000
4,500
พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.)
อัตราการเช่า จํานวนร้านค้า ISO 14001 7 พื้นที่ (ร้อยละ)
45,518
97
287
•
1,000
1 7, 1 9 0
94
75
•
3,500
63,093
97
271
•
400
17,432
92
96
•
76,665
93
588
•
2,300
54,390
95
237
•
3,250
6 4 ,1 6 1
88
259
•
91,853
96
315
•
7,000
200,194
91
389
2,000
77,220
96
187
•
65,665
92
305
•
57,703
95
209
•
7 1 ,7 1 6
91
223
•
38,391
94
203
•
47,318
94
282
•
1,000
23,996
93
99
•
1,440
26,474
97
139
•
2,400
59,261
99
211
•
31,262
94
127
•
21,977
96
92
•
2,300
3,200
3,300
4,800
4,100
4,200
2,000 2,000
5,000
2,040 2,100
1,400 2,000
4,100
4,700
สําหรับศูนย์ประชุม อเนกประสงค์ ISO 20121 8
TMVS 9
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
53
โครงการศูนย์การค้า ศูนย์การค้า
เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)
รูปแบบการ พัฒนา2
สิทธิในที่ดิน3 มูลค่าเงินลงทุน (ปีสิ้นสุด) ณ สิ้นปี 25615
พื้นที่ใช้สอย รวม (GFA)6 (ตร.ม.)
21. เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี
เมษายน 2556
G
F
1,835
151,000
22. เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่
พฤศจิกายน 2556
G
F
4,300
260,000
23. เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่
ธันวาคม 2556
G
F
4,917
295,000
24. เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย
มีนาคม 2557
G
L (2586)
1,875
76,000
25. เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา
สิงหาคม 2557
G
F&L (2587)
2,609
185,500
26. เซ็นทรัลพลาซา ระยอง
พฤษภาคม 2558
G
F
2,685
155,000
- เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล
มิถน ุ ายน 2558 4
A
L (2599)
8,152
137,000
- เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า
กันยายน 2561
G
L (2599)
5,499
242,800
28. เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต
สิงหาคม 2558
G
L (2586)
7,052
352,000
29. เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์
พฤศจิกายน 2558
G
F&L (2588)
3,880
150,000
30. เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช
กรกฎาคม 2559
G
F
1,833
90,000
31. เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา
พฤศจิกายน 2560
G
F
4,560
233,000
32. เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย
พฤศจิกายน 2560
G
F
2,803
131,250
131,510
7,234,550
27. เซ็นทรัล ภูเก็ต
รวม
54
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
พื้นที่จอดรถ ศูนย์ประชุม (คัน) อเนกประสงค์ (ตร.ม.)
พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.)
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
อัตราการเช่า จํานวนร้านค้า ISO 14001 7 พื้นที่ (ร้อยละ)
1,500
32,182
97
141
•
3,500
68,020
95
235
•
66,802
88
218
•
600
31,648
90
110
•
1,600
38,738
94
180
•
29,466
93
188
•
1,100
40,151
90
1 28
3,200
32,468
75
103
78,517
96
360
•
1 ,8 24
36,049
96
179
•
1,500
21,329
90
143
49,094
80
265
24,363
92
159
1,700,308
93
7,003
2,500
2,000
4,000
3,600
5,000
1,000
5,000
3,300
1,500 76,054
45,700
สําหรับศูนย์ประชุม อเนกประสงค์ ISO 20121 8
TMVS 9
•
•
•
•
หมายเหตุ: 1
ทรัพย์สน ิ ที่ CPNREIT เช่าช่วงจาก CPN เมือ ่ เดือนธันวาคม 2560 ตามการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT พร้อมลงทุนเพิม ่ เติมในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวล ั พัทยา บีช (บางส่วน) และโรงแรมฮิลตัน พัทยา โดยพื้นที่ที่อยู่ใน CPNREIT มีสัดส่วนดังนี้ - ร้อยละ 42 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2567 - ร้อยละ 81 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2578 (ต่ออายุการเช่าได้ 2 ครั้ง ๆ ละ 30 ปี) - ร้อยละ 96 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2568 - ร้อยละ 49 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต สิ้นสุดเดือนเมษายน 2587 - ร้อยละ 50 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2580
2
รูปแบบการพัฒนาโครงการ (A = Acquisition การซื้อกิจการ), (G = Greenfield การก่อสร้าง) สิทธิในที่ดิน (F = Freehold เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน), (L = Leasehold สิทธิการเช่า) ปีที่เข้าซื้อกิจการ รวมเงินลงทุนในอาคารสํานักงาน/อาคารที่พักอาศัย/โรงแรม ไม่รวมค่าเช่าที่ดินและอาคารที่ชาํ ระเป็นรายปี และไม่รวมเงินลงทุนในสินทรัพย์ที่ได้ให้เช่า/เช่าช่วงแก่ CPNREIT GFA รวม พื้นที่ให้เช่า พื้นที่จอดรถ ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ พื้นที่ส่วนกลาง อาคารสํานักงาน และโรงแรม ISO 14001 คือ มาตรฐานการจัดการสิง ่ แวดล้อม เพือ ่ เป็นแนวทางในการจัดการปัญหาสิง ่ แวดล้อม (Environmental Aspects) ขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควบคูไ่ ปกับการรักษา สิง ่ แวดล้อม การป้องกัน มลพิษและการดําเนินธุรกิจขององค์กร ISO 20121 คือ มาตรฐานการจัดการและบริหารงานที่ออกแบบสําหรับธุรกิจ การจัดงานอีเว้นท์อย่างยั่งยืน TMVS (Thailand MICE Venue Stand) คือ ตราสัญลักษณ์ที่ใช้รับรองมาตรฐานของสถานที่จัดงานประเทศไทย โดยสํานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน)
3 4 5 6 7 8 9
55
โครงการอาคารสํานักงาน อาคารสํานักงาน
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)
รูปแบบการ พัฒนา4
สิทธิในที่ดิน5 (ปีสิ้นสุด)
พื้นที่ให้เช่า อัตราการเช่า จํานวนผู้เช่า (ตร.ม.) พื้นที่ (ร้อยละ)
ลาดพร้าว
ธันวาคม 2525
G
L (2571)
16,171
98
73
ปิ่นเกล้า ทาวเวอร์ เอ1
มีนาคม 2538
G
L (2570)
22,693
87
53
บางนา
ธันวาคม 25442
A
F
10,007
85
27
เซ็นทรัลเวิลด์ 3
พฤศจิกายน 25472
A
L (2583)
84,167
97
80
ปิ่นเกล้า ทาวเวอร์ บี1
มีนาคม 2549
G
L (2570)
1 1 ,6 27
96
55
แจ้งวัฒนะ
มีนาคม 2552
G
F
19,942
98
40
แกรนด์ พระราม 9
ธันวาคม 2554
G
L (2583)
7,378
100
36
171,985
96
364
รวม
หมายเหตุ: 1
2 3 4 5
56
ทรัพย์สินที่ CPNREIT เช่าช่วงจาก CPN เต็มพื้นที่ เมื่อเดือนธันวาคม 2560 ตามแผนการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2567 ปีที่เข้าซื้อกิจการ ร้อยละ 97 ของพืน ้ ทีอ ่ าคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ให้เช่าช่วงแก่ CPNCG ตัง ้ แต่เดือนกันยายน 2555 สิน ้ สุดเดือนกันยายน 2575 (ส่วนที่ 1) และตัง ้ แต่ธน ั วาคม 2555 สิน ้ สุดเดือนธันวาคม 2575 (ส่วนที่ 2) รูปแบบการพัฒนาโครงการ (A = Acquisition การซื้อกิจการ), (G = Greenfield การก่อสร้าง) สิทธิในที่ดิน (F = Freehold เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน), (L = Leasehold สิทธิการเช่า)
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
โครงการโรงแรม
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
ศูโรงแรม นย์การค้า
เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)
5
รูปแบบการเริ่มดํ สิทาธิเนิ ในที ่ดิน นการ 4 พัฒนา (เดือน ปี)
พื้นที่ให้เจํ ช่าานวนอัตราการเช่อั า ตราการเช่ จํานวนร้านค้ า า (ตร.ม.) ห้องพัพื ก้นที่ (ร้อยละ) พื้นที่ (ร้อยละ)
โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี1
เมษายน 25523
259
75
โรงแรมฮิลตัน พัทยา2
พฤศจิกายน 2553
302
93
561
85
รวม หมายเหตุ: 1
2 3
CPN เป็นเจ้าของโครงการและให้บริษท ั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) เป็นผูบ ้ ริหารโรงแรม ทรัพย์สน ิ ที่ CPNREIT เช่าช่วงจาก CPN เมือ ่ เดือนธันวาคม 2560 สิน ้ สุดเดือนสิงหาคม 2580 และให้บริษท ั ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชัน ่ จํากัด เป็นผูบ ้ ริหารโรงแรม ปีทเี่ ข้าซือ ้ กิจการ
โครงการทีพ ่ ก ั อาศัย ย์ก ารค้าย ทีศู่พนัก อาศั
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)
เซ็นทรัล ซิตี้ เรสซิเดนซ์1
5
รูปแบบการเริ่มดํ สิทาธิเนิ ในที ่ดิน นการ 4 พัฒนา (เดือน ปี)
ธันวาคม 25442
รวม
พื้นที่ให้เช่พื า ้นที่ อัตราการเช่อั า ตราการเช่ จํานวนร้านค้ า า (ตร.ม.) พื้นที่ (ร้อยละ) (ตร.ม.) พื้นที่ (ร้อยละ)
1,567
23
1,567
23
หมายเหตุ: 1
2
CPN เป็นเจ้าของห้องชุดจํานวน 11 ยูนต ิ ของโครงการทีพ ่ ก ั อาศัย ปีทเี่ ข้าซือ ้ กิจการ
โครงการทีพ ่ ก ั อาศัย า ่อขาย) คอนโดมิศูเนนีย์ยกมารค้ (เพื
เอสเซ็นท์ เชียงใหม่ เอสเซ็นท์ ขอนแก่น เอสเซ็นท์ ระยอง
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)
รูปแบบการ 4 พัฒนา
สิท ในที่ดิน พร้ อธิมโอน
ปี 2561 ปี 2561 ปี 2561
5
พื้นที่ให้เจํ ช่าานวนอัตราการเช่อัาตราการขาย จํานวนร้านค้า (ตร.ม.) ห้องพัพื ก้นที่ (ร้อยละ) (ร้อยละ)
400 408 419
98 94 100
57
โครงการในอนาคต ศูนย์การค้าในประเทศ
เซ็นทรัล วิลเลจ ศู น ย์ ก ารค้ า รู ป แบบใหม่ ข อง CPN ที่ เ ป็ น International Luxury Outlet ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ แห่ ง แรกในประเทศไทย และเป็ น จุ ด หมายใหม่ แ ห่ ง การช้ อ ปปิ้ ง ระดั บ เวิ ล ด์ ค ลาสที่ ต อบสนอง ทุกไลฟ์สไตล์หลากหลาย และเป็น A Must Visit Shopping Destination to Complete Your Trip จุดเช็คอินที่นักท่องเที่ยวต้องแวะช้อปทุกครั้งก่อนเข้าเมืองหรือก่อนเดินทางกลับเข้าสนามบิน
ที่ตั้ง: บริเวณถนนบางนา-ตราด กม.14 ซึ่งเป็นเส้นทางหลักเข้า สนามบินสุวรรณภูมิ เดินทางสะดวกในเวลาเพียง 10 นาที ถึงสนามบิน และประมาณ 45 นาที ถึงใจกลางเมืองกรุงเทพฯ เป็นเกตเวย์สู่ ภาคตะวันออก ด้วยจํานวนรถยนต์ทว ี่ ง ิ่ ผ่านบนถนนบางนา-ตราด กว่า 200,000 คัน/วัน หรือ กว่า 75 ล้านคัน/ปี และสามารถเดินทาง มาจากพัทยาได้ภายในเวลา 75-90 นาที ขนาดโครงการ: ที่ ดิ น 100 ไร่ มี พื้ น ที่ โ ครงการรวมทั้ ง สิ้ น 137,000 ตร.ม. แบ่งเป็นพื้นที่ให้เช่า 40,000 ตร.ม. ออกแบบ และตกแต่ ง ในสไตล์ ไ ทยร่ ว มสมั ย ผสมผสานความร่ ม รื่ น ของ ธรรมชาติ กั บ พื้ น ที่ เ อาท์ ด อร์ ไ ด้ อ ย่ า งลงตั ว แบ่ ง สั ด ส่ ว นเป็ น ร้านค้าลักชัวรีแ ่ บรนด์เนมประมาณร้อยละ 20 มีทง ั้ อินเตอร์แบรนด์ ระดั บ หรู ห ลายแบรนด์ แ ละแบรนด์ สิ น ค้ า หลากหลาย เช่ น เสือ ้ ผ้า อุปกรณ์กฬ ี า นาฬิกา สินค้าไลฟ์สไตล์ สินค้าตกแต่งบ้าน เป็นต้น ส่วนทีเ่ หลือเป็นร้านอาหาร ร้านสินค้าแบรนด์ชน ั้ นําของไทย รวมทัง ้ สินค้า ในเครือของกลุม ่ เซ็นทรัล รวมทัง ้ หมดกว่า 235 ร้านค้า พร้อมด้วยจุดบริการนักท่องเทีย ่ ว สนามเด็กเล่น ซูเปอร์มาร์เก็ตและ โรงแรมขนาดประมาณ 200 ห้อง เพือ ่ ตอบสนองลูกค้าทุกวัย
58
ศักยภาพของโครงการ: ตั้งอยู่ในทําเลที่เข้าถึงง่ายและเดินทาง สะดวก ทั้งจากสนามบินสุวรรณภูมิ กรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้ เคียง และเป็นเกตเวย์สู่ภาคตะวันออกของประเทศไทย มีผู้คน สัญจรไปมาจํานวนมากต่อวัน ตอบโจทย์ทง ั้ กลุม ่ ลูกค้าคนไทยและ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย เฉพาะที่ เ ดิ น ทางมายั ง สนามบิ น สุ ว รรณภู มิ ซึ่ ง เป็ น สนามบิ น อันดับ 1 ที่มีผู้โดยสารมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และติด 1 ใน 10 อันดับสนามบินที่มีจํานวนผู้โดยสารมากที่สุดในเอเชีย และ ในอนาคตจะมีการสร้างส่วนต่อขยายเพิ่มเติม ควบคู่กับแผนการ ขยายตัวของการขนส่งสาธารณะรูปแบบราง หรือ Light Rail สาย บางนา-สุวรรณภูมิ ที่มีแผนจะเปิดเพื่ออํานวยความสะดวกให้ นักท่องเทีย ่ วรวมถึงคนไทยเอง เพือ ่ เชือ ่ มต่อกับโครงการรถไฟฟ้า สายสีเขียวอ่อนในปัจจุบัน (BTS บางนา) มุ่งตรงไปยังสนามบิน สุวรรณภูมิ ความคืบหน้าของโครงการ: อยู่ระหว่างการก่อสร้างเฟส 1 คาด ว่าจะเปิดดําเนินการได้ในไตรมาส 3 ปี 2562 เงินลงทุน: ประมาณ 5,000 ล้านบาท (ไม่รวมเงินลงทุนในการ ก่อสร้างของธุรกิจอื่น ๆ ของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งบริษัท เหล่านั้นจะเป็นผู้รับผิดชอบดําเนินการก่อสร้างเอง)
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
เซ็นทรัลพลาซา อยุธยา ศูนย์กลางการใช้ชว ี ต ิ และจุดหมายด้านการท่องเทีย ่ วแห่งใหม่ของจังหวัดอยุธยา
ที่ตั้ง: อยู่บนถนนสายเอเชีย ก่อนถึงทางแยกต่างระดับอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาดโครงการ: พืน ้ ทีโ่ ครงการ 150,000 ตร.ม. CPN มุง ่ หวังให้ เซ็นทรัลพลาซา อยุธยา เป็นไลฟ์สไตล์เดสติเนชันที่เติมเต็มความ สุขทีจ ่ ะมอบประสบการณ์การใช้ชว ี ต ิ ทีผ ่ สมผสานบรรยากาศความ เจริญรุง ่ เรืองและเอกลักษณ์ความเป็นอยุธยา เข้ากับประสบการณ์ ไลฟ์สไตล์ยุคปัจจุบัน แต่ยังคงกลิ่นอาย “คุณค่าแห่งความเป็น อยุธยาที่แท้จริง” ไว้ โดยนําเสนอ Experience the Essence of Ayutthaya Heritage ทีน ่ ก ั ท่องเทีย ่ วทัง ้ ไทยและต่างชาติจะต้อง แวะมาเพื่ อ สั ม ผั ส ประสบการณ์ สุ ด พิ เ ศษ อาทิ พื้ น ที่ พั ก ผ่ อ น สําหรับนักท่องเที่ยว ร้านอาหารไทยคาเฟ่ขนมหวาน บริการนวด และสปาไทย โซนขายของที่ ร ะลึ ก ที่ จ อดรถสะดวกสบาย และ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
ศักยภาพของโครงการ: จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นเมือง มรดกโลกที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของชาวไทยและชาว ต่างชาติ รวมถึงคนในพื้นที่ คนจากจังหวัดใกล้เคียง และกลุ่ม ผู้เดินทางขึ้นภาคเหนือ และเป็น Strategic Gateway to the North on Asian Highway จุ ด แวะพั ก ที่ ดี ที่ สุ ด สํ า หรั บ นั ก เดิ น ทางบนถนนสายเอเชี ย ที่ มี ป ริ ม าณรถผ่ า นประมาณ 100,000 คันต่อวัน ความคืบหน้าของโครงการ: อยู่ระหว่างการออกแบบ คาดว่า จะเปิดดําเนินการได้ในปี 2563
59
ศูนย์การค้าในต่างประเทศ CPN ได้พิจารณาและศึกษาโอกาสในการขยายการลงทุนไปยัง ต่างประเทศ เพือ ่ สร้างและรักษาการเติบโตของธุรกิจอย่างยัง ่ ยืน โดยมุ่งความสนใจไปยังประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีศักยภาพและ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง เช่น มาเลเซีย และเวียดนาม เพือ ่ เป็นการกระจายความเสีย ่ งในการลงทุน อย่างไรก็ดี CPN ได้ตระหนัก ถึงความแตกต่างของภาวะตลาด สภาวะการแข่งขัน และความเสีย ่ ง ของการทําธุรกิจในต่างประเทศ จึงจัดตั้งคณะทํางานพิเศษเพื่อ ศึกษาประเทศเป้าหมายในหลากหลายมิติ ทัง ้ ในแง่เศรษฐกิจ สังคม การเมือง อุตสาหกรรมและการแข่งขัน กฎหมายการประกอบธุรกิจ และความเสีย ่ งอืน ่ ๆ ทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ในแต่ละประเทศที่ CPN สนใจเพือ ่ คัดกรองตลาดทีม ่ ท ี ง ั้ ศักยภาพ โอกาสทางธุรกิจ และความเหมาะสม ต่อธุรกิจของ CPN โครงการต่าง ๆ ทีอ ่ ยูใ่ นแผนได้ถก ู นํามาประเมิน ความเป็ น ไปได้ อ ย่ า งรอบคอบเพื่ อ การตั ด สิ น ใจลงทุ น อย่ า งมี ประสิทธิผลสูงสุด เป็นไปอย่างระมัดระวังและตัง ้ อยูบ ่ นพืน ้ ฐานของ หลักการการเติบโตอย่างมัน ่ คงและยัง ่ ยืน
60
การพัฒนาโครงการในต่างประเทศ CPN ได้ศึกษาโอกาสการ ลงทุ น ทั้ ง การปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ ก ารค้ า ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว และการพั ฒ นา โครงการใหม่ ๆ ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยอาจเป็นการลงทุนเอง หรือการร่วมทุนกับพันธมิตรในต่างประเทศเพือ ่ ให้สามารถบุกเบิก ตลาดใหม่ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและสร้างเสริมความ แข็งแกร่งในการแข่งขันในประเทศนัน ้ ๆ ได้อย่างดียง ิ่ ขึน ้ นอกจากนี้ CPN ยังได้รบ ั การสนับสนุนข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์จากประสบการณ์ ในการดําเนินธุรกิจของกลุม ่ เซ็นทรัลในต่างประเทศ มาช่วยในการ วิเคราะห์และพัฒนาโครงการในต่างประเทศได้มป ี ระสิทธิภาพมากขึน ้
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
เซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ ศูนย์การค้าในต่างประเทศแห่งแรกของ CPN รู ป แบบการร่ ว มทุ น : CPN จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ย่ อ ยร่ ว มกั บ บริ ษั ท I-R&D Sdn. Bhd. (IRD) ซึง ่ เป็นบริษท ั ย่อยของบริษท ั I-Berhad จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เ บอร์ ซ่ า ที่ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ในประเทศมาเลเซีย เพื่อพัฒนาโครงการเซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ โดย CPN ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 60 ผ่านบริษัทย่อยที่ จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และ IRD ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ในบริ ษั ท ย่ อ ย นอกจากนี้ บริ ษั ท ร่ ว มทุ น จะว่ า จ้ า ง CPN เป็ น ผู้ บ ริ ห ารอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องโครงการ โดย CPN จะได้ รั บ ค่าธรรมเนียมในการบริหารอสังหาริมทรัพย์ ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ในเขต 7 ของเมืองชาห์อลัม รัฐสลังงอร์ ประเทศ มาเลเซีย ขนาบด้วยถนนหลวงสายหลัก 2 สาย คือ Federal Highway และ Baru Lembah Klang Highway มีทางเข้าออก ทีส ่ ะดวกจากการคมนาคมในทุกทิศทาง ทัง ้ จากกัวลาลัมเปอร์ เขต แคลง และเขตชาห์อลัม มีทางเชือ ่ มจาก Federal Highway เพือ ่ เข้ า สู่ โ ครงการโดยตรง โครงการอยู่ ห่ า งจากเมื อ งหลวง กัวลาลัมเปอร์ 22 กิโลเมตร ขนาดโครงการ : ทีด ่ น ิ กรรมสิทธิข ์ นาด 11.12 เอเคอร์ หรือประมาณ 28 ไร่ ประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอยประมาณ 278,000 ตารางเมตร โครงการมีลก ั ษณะเป็นศูนย์การค้าในรูปแบบ Regional Mall ซึง ่ CPN เป็นผู้ควบคุมการออกแบบ พัฒนา และบริหารศูนย์การค้า ดังกล่าว โดยจะนําความแตกต่างและแปลกใหม่ไปสูว ่ งการค้าปลีก ของมาเลเซีย ทัง ้ แบรนด์ชน ั้ นําของไทยและนวัตกรรมการออกแบบ ศูนย์การค้า โดยโครงการมีพื้นที่จอดรถรองรับกว่า 3,000 คัน
ศักยภาพของโครงการ : โครงการตัง ้ อยูใ่ นพืน ้ ทีโ่ ครงการ i-City “Malaysia Cybercenter” ขนาด 72 เอเคอร์ เมืองเทคโนโลยี แห่งใหม่ของมาเลเซีย ซึ่งคาดว่าจะเป็นศูนย์กลางการพบปะของ ชุมชนในเขตตะวันตกของรัฐสลังงอร์ทค ี่ รบวงจร ทีป ่ ระกอบด้วย ย่านธุรกิจหลักของเมือง แหล่งทีอ ่ ยูอ ่ าศัย แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ที่ มี ค วามบั น เทิ ง ครบสมบู ร ณ์ แ บบด้ ว ยศู น ย์ ก ารค้ า อาคาร สํานักงานไซเบอร์เซ็นเตอร์ สํานักงานของบริษัทชั้นนํา โรงแรม อาคารทีพ ่ ก ั อาศัย พืน ้ ทีค ่ า้ ปลีก รวมถึงสวนนํา้ โดมหิมะ และชิงช้า สวรรค์ สถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วประดับไฟในยามคํา่ คืน อีกทัง ้ ยังมีแผนที่ จะพัฒนาศูนย์ศล ิ ปะการแสดงในอนาคต เพือ ่ ดึงดูดนักท่องเทีย ่ ว มากยิ่งขึ้น โดยกลุ่มเป้าหมายของโครงการครอบคลุมผู้ที่มีรายได้ ระดับกลางถึงระดับบนในเมืองชาห์อลัม เมืองหลวงของรัฐสลังงอร์ ซึ่งมีประชากรมากกว่า 600,000 คน และมีการเติบโตของกลุ่ม คนชั้ น กลางที่ มี กํ า ลั ง ซื้ อ สู ง อย่ า งรวดเร็ ว รวมถึ ง ประชากร ในรัฐสลังงอร์ทม ี่ ม ี ากกว่า 5 ล้านคน รวมถึงกลุม ่ เป้าหมายในเมือง ใกล้เคียงอีกด้วย ความคืบหน้าของโครงการ : เปิดดําเนินการในไตรมาส 1 ปี 2562 เงินลงทุน : ประมาณ 830 ล้านริงกิต (เงินลงทุนรวมทัง ้ โครงการ รวมเงินลงทุนในการก่อสร้างห้างสรรพสินค้า โดย CPN ถือหุ้น ในสัดส่วนร้อยละ 60 ในบริษัทย่อย)
61
โครงการคอนโดมิเนียม รายละเอียดโครงการทีอ ่ ยูร ่ ะหว่างก่อสร้าง : เปิดจองในปี 2560 ชื่อโครงการ
เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงใหม่
เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงราย
เอสเซ็นท์ นครราชสีมา
ที่ตั้ง
ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118 ถ.เชียงใหม่-ดอยสะเก็ด ต.ฟ้าฮ่าม อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถ.พหลโยธิน (เก่า) ต.รอบเวียง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ถ.ทางหลวงท้องถิ่น ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
พื้นที่
5-1-10.76 ไร่
2-2-35.4 ไร่
2-3-78 ไร่
อาคารชุดสูง 8 ชั้น
อาคารชุดสูง 8 ชั้น
อาคารชุดสูง 21 ชั้น
450 ยูนิต
312 ยูนิต
380 ยูนิต
ลักษณะโครงการ จํานวนห้อง ขนาดห้องชุด
23-32 ตารางเมตร ( ห้องมาตรฐาน ) ตกแต่งพร้อมอยู่
ระยะเวลาก่อสร้าง
ประมาณ 2 ปี พร้อมโอนในปี 2562
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
คนท้องถิ่นและคนทํางานในพื้นที่ ซื้อเพื่ออยู่อาศัยเป็นหลัก
มูลค่าโครงการรวม ยอดจอง
2,200 ล้านบาท ร้อยละ 100
ร้อยละ 100
ร้อยละ 100
รายละเอียดโครงการทีอ ่ ยูร ่ ะหว่างก่อสร้าง : เปิดจองในปี 2561 ชื่อโครงการ
เอสเซ็นท์ อุบลราชธานี
ฟีล พหล 34
ที่ตั้ง
ถ.ทางหลวงชนบท ต.แจระแม อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี
ซอยพหลโยธิน 34 ถ.พหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
พื้นที่
3-2-24.6 ไร่
3-2-7.4 ไร่
ลักษณะโครงการ
อาคารพักอาศัย สูง 8 ชั้น จํานวน 4 อาคาร และ อาคารสโมสรและสระว่ายนํา้ สูง 3 ชั้น 1 อาคาร
จํานวนห้อง
395 ยูนิต
358 ยูนิต
ขนาดห้องชุด
24-63 ตร.ม.
25-56 ตร.ม.
ระยะเวลาก่อสร้าง
ประมาณ 2 ปี พร้อมโอนในปี 2562-2563
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
คนท้องถิ่นและคนทํางานในพื้นที่ ซื้อเพื่ออยู่อาศัยเป็นหลัก
มูลค่าโครงการรวม ยอดจอง
62
อาคารชุดพักอาศัย สูง 14 ชั้น จํานวน 1 อาคาร
749 ล้านบาท
1,451 ล้านบาท
ร้อยละ 46
ร้อยละ 30
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 14
ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ
โครงการบ้านเดี่ยว ชื่อโครงการ
นิยาม บรมราชชนนี
ที่ตั้ง
ซอยบรมราชชนนี 62 ถ.บรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ
พื้นที่
43-3-72 ไร่
ลักษณะโครงการ
บ้านเดี่ยวหรู 2 ชั้น
จํานวนบ้าน
71
ที่ดิน
100 ตร.ว. ขึ้นไป
พื้นที่ใช้สอย
387-708 ตร.ม.
ระยะเวลาก่อสร้าง
ทยอยก่อสร้างทีละเฟส พร้อมโอนในปี 2562-2564
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
ซื้อเพื่ออยู่อาศัยเป็นหลัก
มูลค่าโครงการรวม
2,065 ล้านบาท
CPN Residence วางแผนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยอย่าง ต่อเนื่อง 3-4 โครงการต่อปี ควบคู่กับศูนย์การค้าของ CPN ทีต ่ ง ั้ อยูใ่ นทําเลทีด ่ ท ี ว ั่ ประเทศ และทีด ่ น ิ ทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการพัฒนา โครงการ โดยจะพัฒนาโครงการเป็น Residential & Commercial
Community อาศัยความเป็นผู้นําในธุรกิจค้าปลีกกับทีมงาน ที่ มี ป ระสบการณ์ ด้ า นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ม าเป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ในการขยายธุรกิจ
63
โครงสร้างการถือหุ้น บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
ทรัสต์เพือ ่ การลงทุน ในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT)
100.0%
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี 1
100.0%
บจ. เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว
100.0%
100.0%
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่
99.9%
100.0%
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3
12.0%
44.0%
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้
100.0%
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2
100.0% 90.0% 78.1% 100.0% 97.7% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 65.0% 100.0%
64
56.0%
12.0% 11.9%
100.0%
25.0%
26.7%
กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG)
กองทุนรวม ธุรกิจไทย 4
บจ. ซี.เอส. ซิตี้ บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้
51.0%
บจ. ฟีโนมินอน ครีเอชั่น
บจ. สแควร์ ริทซ์ พลาซ่า 25.0%
บจ. สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ บจ. อยุธยาเกษตรธานี
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์ บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์
10.0% 99.9% 99.9%
บจ. ซีพเี อ็น ซิตี้ บจ. ซีพเี อ็น คอมเพล็กซ์
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ บจ. ซีพีเอ็น โกบอล บจ. ซีพีเอ็น ระยอง บจ. ซีพีเอ็น โคราช บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ ขอนแก่น บจ. ซีพีเอ็น เอสเตท บจ. ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ บจ. ดาราฮาร์เบอร์ บจ. ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล
100.0%
บจ. ชนะคุณ ดีเวลลอปเม้นท์ 2
100.0%
บจ. ซีพีเอ็น วิลเลจ 3
100.0%
บจ. ซีพเี อ็น เรซซิเด้นซ์ แมเนจเมนท์
100.0%
Global Retail Development & Investment Limited
50.0%
Central Plaza i-City Real Estate Sdn. Bhd.
100.0%
CPN Venture Sdn. Bhd.
100.0%
10.0%
Global Commercial Property Limited
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 15
โครงสร้ า งการถื อ หุ้ น
โครงสร้างการถือหุ้น (ต่อ) บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
67.5%
100.0%
บจ. ซีพีเอ็น พัทยา
22.6%
บมจ. ดุสิตธานี 4
100.0%
บจ. สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้
100.0%
90.0%
บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์
79.6%
บจ. เบ็ล ดีเวลลอปเมนท์
86.0%
บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์
100.0%
บจ. เบ็ล แอสเซทส์
บจ. วิมานสุริยา
100.0%
บจ. จี แลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์
63.0%
35.0% 50.0%
บจ. ซินเนอร์จส ิ ติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเมนท์
100.0%
บจ. คอมมอนกราวน์ (ประเทศไทย)5
100.0%
หมายเหตุ
บมจ. แกรนด์ คาแนล แลนด์ 6
93.1% 100.0%
ทรัสต์เพือ ่ การลงทุนในสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์ อาคาร สํ านักงานจีแลนด์ (GLANDRT)
15.0%
บจ. จีแลนด์ รีท แมเนจเม้นท์ บจ. สเตอร์ลิง อีควิตี้
บจ. พระราม 9 สแควร์ บจ. รัชดา แอสเซทส์ โฮลดิ้ง
99.9%
บจ. พระราม 9 สแควร์ โฮเต็ล
50.0%
บจ. เบย์วอเตอร์
บจ. ซีพเี อ็น เลิรน ์ นิง ่ เซ็นเตอร์ 1
1 2 3 4 5 6
บริษท ั อยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี บจ. ชนะคุณ ดีเวลลอปเม้นท์ เป็นบริษัทย่อยของ บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา เมื่อ ก.ย. 2561 บจ. ซีพีเอ็น วิลเลจ เป็นบริษัทย่อยของ บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา เมื่อ ก.ย. 2561 บมจ. ดุสิตธานี เป็นบริษัทที่ บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา เข้าถือหุ้นเมื่อ พ.ค. 2561 บจ. คอมมอนกราวน์ (ประเทศไทย) จัดตั้งขึ้นใหม่เมื่อ พ.ย. 2561 บมจ. แกรนด์ คาแนล แลนด์ และบริษัทย่อย เป็นบริษัทที่ บจ. ซีพีเอ็น พัทยา เข้าถือหุ้นเมื่อ ต.ค. 2561
65
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 16
โครงสร้ า งรายได้
โครงสร้างรายได้ หน่วย:ล้านบาท
กลุ่มธุรกิจ/ดําเนินการโดย ศูนย์การค้า -บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ -บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3 -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2 -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์ -บจ. ซีพีเอ็น พัทยา -บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์ -บจ. ซีพีเอ็น ระยอง -บจ. ซีพีเอ็น โคราช อาคารสํานักงาน -บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา -บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ โรงแรม -บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ -บจ. ซีพีเอ็น พัทยา อาคารที่พักอาศัย -บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ -บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ แหล่งสันทนาการและบันเทิง -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2 -บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ ศูนย์อาหาร -บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา -บจ. เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ -บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2 -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์ -บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์ -บจ. ซีพีเอ็น พัทยา -บจ. ซีพีเอ็น ระยอง -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้ -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3 -บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น -บจ. ซีพีเอ็น โคราช บมจ. แกรนด์ คาแนล แลนด์ ดอกเบี้ยรับ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า รายได้อื่น รวมรายได้ 1
หมายเหตุ :
66
1
ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา
ร้อยละ การถือหุ้น
100.0 99.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 78.1 100.0 97.7 100.0 100.0 100.0
99.9 97.7 100.0 100.0 99.9 100.0 100.0 99.9
100.0 100.0 99.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 78.1 100.0 67.5
ปี 2557 จํานวน
ปี 2558
ร้อยละ
จํานวน
ปี 2559
ร้อยละ
จํานวน
ปี 2560
ร้อยละ
จํานวน
ปี 2561
ร้อยละ
จํานวน
ร้อยละ
19,743
79.93
21,577
81.46
24,537
81.48
25,340
79.30
26,944
71.74
612
2.48
638
2.41
667
2.21
690
2.16
695
1.85
958
3.88
983
3.71
998
3.31
1,097
3.43
1,208
3.22
17
0.07
10
0.04
1
0.00
1
0.00
2,681
7.14
3
0.01
7
0.03
42
0.14
27
0.08
37
0.10
975
3.95
1,068
4.03
1,389
4.61
1,631
5.10
1,843
4.91
61
0.25
24
0.09
27
0.09
23
0.07
518 26
1.38 0.07
813 1,518
3.29 6.14
749 1,431
2.83 5.40
853 1,600
2.83 5.31
839 2,309
2.62 7.23
1,055 2,553
2.81 6.80
24,700
100.00
26,486
100.00
30,114
100.00
31,956
100.00
37,560
100.00
CPN และการพัฒนา สู่ความยั่งยืน
การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน
CPN เป็ น สมาชิ ก Dow Jones Sustainability Indices 2018 ก ลุ่ ม ดั ช นี ห ลั ก ทั่ ว โ ล ก ( D J S I Wo r l d ) ใ น ห ม ว ด อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์เป็นปีแรก และกลุ่มตลาดเกิดใหม่ (DJSI Emerging Markets) ต่อเนื่องเป็นปีที่ห้า อีกทั้งเป็น หนึ่งในสมาชิกของ SAM – The Sustainability Yearbook ต่อเนื่องเป็นปีที่สอง CPN ประกอบธุรกิจด้านการพัฒนาศูนย์การค้าและอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอื่นที่เกี่ยวเนื่องในประเทศไทยเป็นหลัก โดยประกอบด้วย 6 กลุม ่ ธุรกิจ คือ ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน โรงแรม อาคาร ทีพ ่ ก ั อาศัย แหล่งสันทนาการและบันเทิง และศูนย์อาหาร และการ ลงทุ น ในทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์
• • • •
CPN รี เ ทล โกรท (CPNREIT) และกองทุ น รวมสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ CPN คอมเมอร์ เ ชี ย ล โกรท (CPNCG) โดยรายได้หลักมากกว่าร้อยละ 76 มาจากธุรกิจศูนย์การค้า CPN ดําเนินธุรกิจโดยยึดหลักบรรษัทภิบาล มุง ่ เน้นความโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ รวมทั้งให้ความสําคัญกับผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุม ่ ตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่าของบริษท ั ฯ โดยผนวกเข้ากับมุมมอง ด้านความยัง ่ ยืนใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง ่ แวดล้อม นอกจากนี้ CPN ได้นาํ เป้าหมายการพัฒนาทีย ่ ง ั่ ยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) ตามกรอบองค์การสหประชาชาติ มากําหนดเป็นแนวทางและเป้าหมายการดําเนินธุรกิจด้านการ พัฒนาอย่างยั่งยืนอีกด้วย
การหาแหล่งเงินทุน การสรรหาและครอบครองพื้นที่ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การออกแบบและก่อสร้างโครงการ •
้ รค
าแ ล
• • • •
68
ะอ าคา ร
การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเลือกใช้ทรัพยากรทางเลือก การให้บริการเพื่อให้ลูกค้าพึงพอใจสูงสุด การขายพื้นที่ และการจัดกิจกรรมทางการตลาด
หเ้ กด ิ ก
ก ์ า น ู ย การบริหารศ
า รป ฏบ ิ ิ ัติงานทีเ่ ป็นเลศ
• •
อ ื่ ใ เพ ิ ม ร เส การส่ง
• • •
การบริหารระบบโครงสร้าง พื้นฐาน การบริหารทรัพยากรบุคคล การวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยี การจัดหาคู่ค้าอย่าง เป็นธรรม การบริหารจัดการข้อมูล เชิงลึกของลูกค้า การสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้ลูกค้าอย่างสมํา่ เสมอ
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 17
การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
การมีส่วนร่วมและการดูแลผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สํ าคัญ CPN แบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 9 กลุ่มใหญ่ และกําหนดหน่วยงานผู้มีหน้าที่รับ ผิดชอบในการสร้างการมีส่วนร่วม การสื่อสาร การรับฟัง การดูแลและการตอบสนอง ต่อข้อคิดเห็นและความคาดหวังของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียแต่ละกลุม ่ อย่างเหมาะสม ครบถ้วน และ ทันท่วงที โดยมีการนําข้อคิดเห็นที่ได้รับมาปรับเข้ากับการดําเนินงานของบริษัทฯ อย่าง ต่อเนื่อง และในปี 2561 CPN ได้เพิ่มเติมช่องทางการสื่อสาร และการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่วนได้เสีย ดังนี้
ผู้มีส่วนได้เสีย
ลูกค้า
การมีส่วนร่วม และความถี่
• • •
ร้านค้า
• • • •
พนักงาน
• •
คูค ่ า้
• • • •
ความสนใจและความคาดหวัง
การสํารวจพฤติกรรมของลูกค้าสําหรับ การพัฒนาโครงการใหม่ โดยผู้เชี่ยวชาญ ภายนอก (3 ครั้ง) การสํารวจความพึงพอใจของลูกค้า ผ่านระบบออนไลน์ (2 ครั้ง) การสือ ่ สารผ่าน Facebook, Instagram, YouTube และ LINE (สําหรับโครงการใหม่)
• • • •
การสํารวจความพึงพอใจของร้านค้า ประจําปี ผ่านระบบออนไลน์ (1 ครั้ง) การประชุมร้านค้า: Partner Engagement Meeting (1 ครั้ง) การอบรมพัฒนาผู้ประกอบการ การจัดการกิจกรรมพิเศษเพือ ่ พบปะร้านค้า
• •
การประเมินผูบ ้ ริหารทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพแบบ 360 องศา (1 ครัง ้ ) กิจกรรมสร้างความผูกพันองค์กรผ่าน CPN GEN WE แอปพลิเคชัน
•
การประชุมคู่ค้า (2 ครั้ง) การประเมินตนเองของคู่ค้า (1 ครั้ง) การประชุมผู้บริหาร และกิจการร่วมค้า ตามวาระ การสํารวจความคิดเห็นและการประเมิน การจัดงานประชุมคู่ค้า (1 ครั้ง)
•
•
• •
•
• •
การตอบสนอง
คุณภาพของการให้บริการ ความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการ เหตุผลที่เลือกใช้บริการในศูนย์การค้า ความสามารถในการตอบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้า ความรวดเร็วในการรับ-ส่งสาร
หน้า 102 - 111
คุณภาพของการให้บริการ ความคุ้มค่าในการทําธุรกิจ และ ประสิทธิภาพในการบริหารศูนย์การค้า ความสะดวก และปลอดภัยในการให้ บริการร้านค้า ช่องทางการทําธุรกรรมการเงินระหว่าง กันที่สะดวกและรวดเร็ว
หน้า 113 - 116
ประสบการณ์ที่ตรงกับไลฟ์สไตล์ ที่นอกเหนือจากการทํางาน ความภาคภูมิใจในการเป็นพนักงาน ของ CPN
หน้า 117 - 123
แนวทางการดําเนินธุรกิจร่วมกันอย่าง ยัง ่ ยืนระหว่างกัน ข้อเสนอแนะเชิงลึกเพื่อพัฒนานวัตกรรม ในการทําธุรกิจร่วมกัน ความคืบหน้าการดําเนินงานระหว่างกัน
หน้า 124 - 126
69
ผู้มีส่วนได้เสีย
การมีส่วนร่วม และความถี่
ความสนใจและความคาดหวัง
การตอบสนอง
หน้า 126 - 130
การเข้าร่วมกิจกรรมเซ็นทรัลกรีน กิจกรรม ซีพเี อ็นอาสา และกิจกรรมเพือ ่ สังคม (CSR) อืน ่ ๆ (51 ครัง ้ ) การศึกษาดูงาน และการขอความร่วมมือ จากผู้แทนชุมชน และปราชญ์ชุมชน ในกิจกรรมอาสา และกิจกรรม CSR
•
การพัฒนาเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน กับชุมชน
ภาครัฐ • ภาคการศึกษา • องค์กรอิสระ และองค์กร อื่น ๆ ในสังคม
การประชุมกับหน่วยงานภาครัฐ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ห า รื อ แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ทํ า ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ และการลงนาม ความร่วมมือกับภาครัฐ ภาคการศึกษา และ องค์กรอิสระ
•
• •
ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร หน้า 126 - 130 องค์ความรูท ้ เี่ ป็นประโยชน์ระหว่างกันร่วมกัน ความร่วมมือเพือ ่ การบริหารจัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน การพัฒนาบุคลากรร่วมกัน
ผูถ ้ อ ื หุน ้
•
การสํารวจประเด็นความยั่งยืนที่สําคัญใน มุมมองผู้ถือหุ้น (1 ครั้ง)
•
การเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ
คูแ่ ข่ง ทางการค้า
•
การสื่อสารเฉพาะกลุ่ม ผ่านสื่อสังคม เช่น LINE
•
ความรวดเร็ ว ในการกระจายข่ า วเฉพาะ หน้า 169 ด้าน โดยเฉพาะด้านความปลอดภัย และ กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการ ดําเนินธุรกิจ
เจ้าหนี้
•
กิจกรรมบริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุนราย ไตรมาส (Opportunity Day) การเปิดเผยข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ www.cpn.co.th รายงานประจําปี การติดต่อกับหน่วยงานบริหารการเงิน
• • •
วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของบริษัทฯ ผลประกอบการ และโครงการในอนาคต ศักยภาพในการชําระหนี้
ชุมชน
• •
• • •
70
•
หน้า 164 - 183
หน้า 169
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 17
การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
กระบวนการประเมินประเด็นสํ าคัญด้านความยั่งยืน
01
การระบุประเด็นสํ าคัญ ในปี 2561 บริ ษั ท ฯ นํ า กระบวนการประเมิ น ประเด็ น สํ า คั ญ ด้ า น ความยัง ่ ยืนปี 25601 มาใช้ในการทบทวนประเด็นทีส ่ าํ คัญ และเพิม ่ ประเด็ น ความเสี่ ย งและโอกาสที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น ความเสี่ ย งจาก ภัยคุกคามด้านไซเบอร์และผลกระทบจากสือ ่ ออนไลน์ ความเสีย ่ งและ โอกาสในการทําธุรกิจรูปแบบใหม่ ทั้งกิจการร่วมค้า และการขยาย กิ จ การไปต่ า งประเทศ รวมทั้ ง ข้ อ เสนอแนะที่ ไ ด้ จ ากการตอบ
การจัดลํ าดับความสํ าคัญ
02
แบบสอบถามและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการ ประเมินขอรับรองผลการดําเนินงานของบริษท ั ฯ และคําแนะนําของ หน่วยงานอิสระจากภายนอกและหน่วยงานวิเคราะห์ดช ั นีความยัง ่ ยืน ในระดับสากล เช่น RobecoSAM, MSCI และ FTSE เป็นต้น
บริษท ั ฯ ทบทวนการจัดลําดับความสําคัญของประเด็นด้านความยัง ่ ยืน โดยวิเคราะห์และประเมินความสําคัญของประเด็นด้านความยั่งยืน ความเสีย ่ ง และโอกาส ร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องและผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย โดยตรงเช่นเดียวกับกระบวนการในปี 2560 โดยในปี 2561 ยังคงกลุม ่ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียหลักทัง ้ 5 กลุม ่ เช่นเดียวกับปี 2560 และเพิม ่ มุมมอง ของผูถ ้ อ ื หุน ้ ผ่านการทําแบบประเมินและจัดลําดับความสําคัญของ ประเด็นด้านความยัง ่ ยืนในการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2561 โดยพิจารณาการจัดลําดับความสําคัญจาก 2 มิติ คือ 1) ผลกระทบ และโอกาสที่ มี นั ย สํ า คั ญ ต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และ
03
2) ประเด็นทีผ ่ ม ู้ ส ี ว ่ นได้เสียให้ความสนใจและให้ความสําคัญ โดยแบ่ง
การทวนสอบประเด็นทีม ่ น ี ย ั สํ าคัญ
ลําดับความสําคัญออกเป็นระดับตํา่ กลาง และสูง
บริษท ั ฯ ทวนสอบความครบถ้วนของประเด็นทีม ่ น ี ย ั สําคัญ และเสนอ ต่อคณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน เพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ิ โดยทําการยืนยัน ประเด็นด้านความยัง ่ ยืน ความเสีย ่ ง และโอกาสทีม ่ น ี ย ั สําคัญในปี 2561 รวม 10 ประเด็น จากนัน ้ จึงผนวกแผนดําเนินงานและตัวชีว ้ ด ั ด้านความ ยัง ่ ยืนในแผนการดําเนินธุรกิจและแผนบริหารความเสีย ่ งองค์กร ผ่าน
การติดตามประเด็นทีม ่ น ี ย ั สํ าคัญ และ การรายงานผล บริษท ั ฯ ติดตามผลการดําเนินงานทีส ่ อดคล้องกับประเด็นทีม ่ น ี ย ั สําคัญ
04
การเห็นชอบจากผูบ ้ ริหารระดับผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ขน ึ้ ไป โดย มีประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นประธานในการลงมติเห็นชอบ และ กระบวนการประเมินประเด็นที่สําคัญนี้ยังได้รับการตรวจสอบจาก หน่วยงานอิสระจากภายนอก ซึง ่ ครอบคลุมการมีสว ่ นร่วมกับผูม ้ ส ี ว ่ น ได้เสีย และข้อมูลผลการดําเนินงานด้านความปลอดภัยและสิง ่ แวดล้อม โดยผลการรับรองแสดงไว้ทห ี่ น้า 246 - 247
ทัง ้ 10 ประเด็น ผ่านการรายงานผล และการติดตามตัวชีว ้ ด ั ของแผน การดําเนินธุรกิจ แผนการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน และแผนบริหารความเสีย ่ ง องค์กร โดยมีคณะกรรมการระดับบริหารกํากับดูแลในแต่ละคณะฯ (รายละเอียดเพิม ่ เติมในหน้า 162) และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นผู้พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลตาม เกณฑ์สากล
1 รายละเอียดเพิม ่ เติมบนเว็บไซต์ของบริษท ั ฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสูค ่ วามยัง ่ ยืน / กระบวนการประเมินประเด็นสําคัญด้านความยัง ่ ยืน
71
ประเด็นสํ าคัญด้านความยั่งยืน ประเด็นความยั่งยืน ตามแนวทางของ CPN
ประเด็นสํ าคัญ
ประเด็นความยั่งยืน ตามแนวทางของ GRI
การบริหารความเสี่ยง
•
การลดและการกระจายความเสี่ยงทางธุรกิจ
•
ผลประกอบการทางเศรษฐกิจ
การปรับตัว รับพฤติกรรม ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป
• •
การพัฒนาศูนย์การค้า การจัดการนวัตกรรม
•
ความพึงพอใจของลูกค้า
การสร้างประสบการณ์ ให้ลูกค้าพึงพอใจ
• • •
ความเป็นเลิศในการให้บริการ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย การคํานึงถึงความสะดวก ความปลอดภัยสาธารณะ
•
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การรับมือและ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
•
การเพิ่มประสิทธิภาพองค์กร โดยใช้เทคโนโลยี
•
การรักษาข้อมูลลูกค้า
การสรรหาและ สร้างความผูกพัน กับร้านค้า
• •
การพัฒนาผู้ประกอบการ การเสริมสร้างความร่วมมือกับร้านค้า
•
การพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วม กับชุมชนและผู้มีส่วนได้เสีย
การพัฒนาและ สร้างความผูกพัน กับพนักงาน
• • •
การสรรหาและรักษาบุคลากร การพัฒนาความสามารถบุคลากร การสร้างความผูกพันองค์กร
• • • •
การจ้างงาน การฝึกอบรมและการให้ความรู้ ความหลากหลายและโอกาสที่เท่าเทียม กลไกการร้องเรียนด้านแรงงาน
72
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 17
ความท้าทายและโอกาสที่บริษัทฯ เผชิญอยู่และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
• • •
พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป การเพิ่มขึ้นของคู่แข่งทางการค้า ความสะดวกและรวดเร็วของการทําธุรกิจ รูปแบบใหม่จากกลุ่มทุนใหม่ ส่งผลกระทบ ต่อการเติบโตของธุรกิจหลัก
การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
ขอบเขตของผลกระทบ (ภายในองค์กร/ภายนอกองค์กร)
CPN ผู้ถือหุ้น
หัวข้อที่นํ าเสนอในรายงาน
• • •
ปัจจัยความเสีย ่ ง หน้า 80 - 84 การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ าย ของฝ่ายจัดการ หน้า 86 - 99 การกระจายฐานธุรกิจ การพัฒนา และบริหาร อสังหาริมทรัพย์ หน้า 101 - 102
•
ผู้ บ ริ โ ภคจั บ จ่ า ยสิ น ค้ า ผ่ า นช่ อ งทางออนไลน์ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 15 – 202 ส่งผลกระทบต่อจํานวนครั้งและจํานวน ลูกค้าทีเ่ ข้ามาใช้บริการภายในศูนย์การค้า
CPN ลูกค้า ร้านค้า คู่ค้า ผู้รับเหมา
•
นวัตกรรมการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์และบริการ หน้า 102 - 111
•
ความคาดหวังของลูกค้าต่อการให้บริการที่เป็นมาตรฐาน ได้รับความสะดวกรวดเร็ว ความปลอดภัย และสิทธิพิเศษ เหนือความคาดหมาย ส่งผลให้องค์กรต้องมีการพัฒนา ปรับปรุงการให้บริการที่เป็นมาตรฐานสากลอย่างสมํ่าเสมอ และทันท่วงที
CPN ลูกค้า ร้านค้า คู่ค้า ชุมชน
•
การบริหารจัดการทรัพย์สิน และการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย หน้า 112 - 116, 124 - 130 ความเป็นเลิศในการบริหาร จัดการ หน้า 105 - 107
•
ลู ก ค้ า เลื อ กใช้ บ ริ ก ารและซื้ อ สิ น ค้ า ตามไลฟ์ ส ไตล์ อ้ า งอิ ง ข้ อ มู ล จากโซเชี ย ลมี เ ดี ย และเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ผ่ า นช่ อ งทาง ออนไลน์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ความท้ า ทายและโอกาสของ องค์ ก รที่ จ ะปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นากระบวนการทํ า งาน หรือนําเสนอบริการหรือธุรกิจรูปแบบใหม่
CPN ลูกค้า ร้านค้า
•
การประยุ ก์ ใ ช้ น วั ต กรรมและ เทคโนโลยี หน้า 109 - 111
•
การขยายธุ ร กิ จ ของผู้ ป ระกอบการร้ า นค้ า ไม่ ส อดคล้ อ ง กับการขยายธุรกิจของ CPN และมีทางเลือกเพิ่มขึ้นในการ เช่าพื้นที่จากคู่แข่งทางการค้า หรือขายสินค้าผ่านช่องทาง ออนไลน์ การลดขนาดของพืน ้ ทีเ่ ช่า และความหลากหลายของประเภท ของร้านค้าที่ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ ผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึง
CPN ร้านค้า ลูกค้า ชุมชน
•
การบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น และการดู แ ลผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย : การบริหารจัดการและพัฒนา ร้านค้า หน้า 113 - 116
พนักงานกลุม ่ มิลเลนเนียล (อายุระหว่าง 18-30 ปี) มีสด ั ส่วน ร้ อ ยละ 39 ของพนั ก งานทั้ ง หมด ต้ อ งการสวั ส ดิ ก าร ที่ ยื ด หยุ่ น มี เ ส้ น ทางการเติ บ โตในหน้ า ที่ ก ารงานชั ด เจน ประสบความสําเร็จเร็ว และพร้อมเปิดรับการทํางานทีป ่ ระยุกต์ ใช้ เ ทคโนโลยี ขณะที่ บุ ค ลากรรุ่ น ก่ อ นหน้ า มี ไ ลฟ์ ส ไตล์ แ ละ เป้าหมายทีแ่ ตกต่างออกไป ส่งผลให้องค์กรต้องปรับกระบวนการ สรรหาและการรักษาบุคลากร การประเมินผลงาน และการ นําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับพนักงานในภาพรวม เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางานรายบุคคล
CPN
•
ความเป็นเลิศในการบริหาร จัดการ หน้า 105 - 109 การกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 164 - 183
•
•
2
•
•
ข้อมูลจากสมาคมค้าปลีกไทย www.thairetailer.com
73
ประเด็นความยั่งยืน ตามแนวทางของ CPN
ประเด็นสํ าคัญ
ประเด็นความยั่งยืน ตามแนวทางของ GRI
การบริหารห่วงโซ่อป ุ ทาน และพัฒนาคูค ่ า้
•
การเสริมสร้างความร่วมมือกับคู่ค้า และพันธมิตรทางการค้า
• •
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน การประเมินคู่ค้าในด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการจ้างงาน และด้านสิทธิมนุษยชน
ความรับผิดชอบต่อชุมชน และสังคม
•
ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม
•
การพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วม ของสังคม
การบริหารทรัพยากร และสิง ่ แวดล้อม
•
การบริหารจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
• • • • • • •
พลังงาน นํา้ การปล่อยมลพิษ ขยะ ของเสีย นํ้าเสีย ความสอดคล้องตามกฎหมายสิง ่ แวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ วัตถุดิบ
การกํากับดูแลกิจการ
• •
โครงสร้างการจัดการ การกํากับดูแลกิจการ
• • •
การกํากับดูแลกิจการ จริยธรรมองค์กร การต่อต้านการทุจริต
74
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 17
การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
ความท้าทายและโอกาสที่บริษัทฯ เผชิญอยู่และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ขอบเขตของผลกระทบ (ภายในองค์กร/ภายนอกองค์กร)
หัวข้อที่นํ าเสนอในรายงาน
•
พฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภคที่ เ ปลี่ ย นไป องค์ ก รจํ า เป็ น ต้ อ ง แสวงหาพันธมิตรและคู่ค้าที่จะร่วมกันพัฒนาและนําเสนอ นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและบริการ เพือ ่ สร้างความพึงพอใจ ต่ อ ลู ก ค้ า มากที่ สุ ด บนพื้ น ฐานของการดําเนินงานอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ เป็ น ธรรม และโปร่ ง ใส รวมทั้ ง สามารถลด ผลกระทบด้านสิง ่ แวดล้อมและสังคมร่วมกัน
CPN คู่ค้า ผู้รับเหมา ลูกค้า ร้านค้า ชุมชน
•
การบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น และการดู แ ลผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย : การบริหารห่วงโซ่อป ุ ทานและ พัฒนาคู่ค้า หน้า 124 - 126
•
การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ขององค์ ก รส่ ง ผลเชิ ง บวกต่ อ เศรษฐกิ จ ในระดับเขต/จังหวัด ทั้งการจ้างงานและการพัฒนาระบบ สาธารณู ป โภคในพื้ น ที่ จั ด สรร แต่ ส่ ง ผลกระทบเชิ ง ลบ ด้านการจราจร ขยะ นํ้าเสีย มลภาวะ การใช้ทรัพยากรและ ความปลอดภัย
CPN ชุมชน หน่วยงานราชการ ภาคประชาสังคม
•
การบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น และการดู แ ลผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย : การแสดงความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อชุมชนและสังคม หน้า 126 - 130
•
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัจจัย ความเสี่ ย งต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ขององค์ ก ร ตั้ ง แต่ การออกแบบและก่อสร้างอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถป้ อ งกั น หรื อ ยื ด หยุ่ น ต่ อ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ เช่น นํา้ ท่วม นํา้ แล้ง แผ่นดินไหว เป็นต้น ตลอดจนการบริหาร จัดการผลกระทบจากเหตุดังกล่าว เช่น ไฟฟ้าดับ นํ้าเน่าเสีย วัสดุก่อสร้างท้องถิ่นขาดแคลน เป็นต้น ซึ่งส่งผลต่อการ ดําเนินธุรกิจขององค์กร
CPN ชุมชน หน่วยงานราชการ
•
ความเป็ น เลิ ศ ในการบริ ห าร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ สิ่งแวดล้อม หน้า 131 - 141
•
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การตามหลั ก บรรษั ท ภิ บ าลเป็ น รากฐาน การดํ า เนิ น งานขององค์ ก ร เพื่ อ สร้ า งความน่ า เชื่ อ ถื อ และความมั่ น ใจให้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น คู่ ค้ า และพนั ก งาน อี ก ทั้ ง เป็นการปฏิบต ั ต ิ ามข้อกําหนด กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และองค์กรกํากับดูแลกิจการทีเ่ กีย ่ วข้องอืน ่ ๆ
CPN ผู้ถือหุ้น คู่ค้า คู่ธุรกิจ เจ้าหนี้ สถาบันการเงิน
•
การกํากับดูแลกิจการ หน้า 164 - 183
ผลการประเมินประเด็นสํ าคัญด้านความยั่งยืน ความสําคัญและผลกระทบต่อผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย
5
1. 9
4
2
8 3
6
7
3
4
การบริหารความเสี่ยง (ภายในประเทศ ต่างประเทศ และธุรกิจใหม่) 2. การปรับตัวรับพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป 3. การสร้างประสบการณ์ให้ลูกค้าพึงพอใจ 4. การสรรหาและสร้างความผูกพันกับร้านค้า 5. การพัฒนาและสร้างความผูกพันกับพนักงาน 6. ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม 7. การบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 8. การบริหารห่วงโซ่อุปทานและพัฒนาคู่ค้า 9. การกํากับดูแลกิจการ 10. การรับมือและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
1
5
10
2
1
1
2
3
4
โอกาสและผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของ CPN
5
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องการบริหารความเสี่ยงและประเด็น ความเสี่ยงเกิดใหม่ ในหน้า 80 - 85
75
กลยุ ท ธ์ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น CPN เชื่ อ มโยงแนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น สู่ ก ารปฏิ บั ติ เชิงกลยุทธ์ โดยรวมประเด็นสําคัญด้านความยั่งยืนที่ผ่านการ ประเมินแล้วเข้าสูก ่ ระบวนการวางแผนกลยุทธ์ธรุ กิจประจําปี3 ทัง ้ แผนกลยุทธ์ระยะยาว 5 ปี และแผนกลยุทธ์ประจําปี โดยคณะ กรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารระดับสูงร่วมกันพิจารณา และ กําหนดเป็นแผนกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจ ดังต่อไปนี้
การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนา และบริหารอสังหาริมทรัพย์
นวัตกรรมการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์และบริการ
3
CPN มุง ่ สร้างความเข้มแข็งในการเติบโตของธุรกิจ และลดความ เสี่ยงทางธุรกิจ โดยกระจายฐานธุรกิจทั้งในเชิงภูมิศาสตร์และ ประเภทการลงทุน เช่น การแสวงหาโอกาสในการขยายการลงทุน ไปในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ซึง ่ มีแนวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจทีม ่ น ั่ คง การขยาย ธุ ร กิ จ ในรู ป แบบใหม่ หรื อ ธุ ร กิ จ ประเภทอื่ น ที่ เ อื้ อ กั บ ธุ ร กิ จ ศูนย์การค้า อาทิ คอนโดมิเนียม โรงแรม อาคารสํานักงาน และ การสร้างระบบนิเวศทางธุรกิจแบบใหม่ เช่น การสร้างโครงการ ขนาดใหญ่แบบผสมผสาน ที่เชื่อมโยงกันตั้งแต่ห่วงโซ่อุปทาน กลุม ่ ธุรกิจในพืน ้ ทีเ่ ดียวกัน และกลุม ่ ธุรกิจทีเ่ กือ ้ หนุนซึง ่ กันและ กัน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับโครงการ และตอบโจทย์ความ ต้องการและพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นไป
CPN มุง ่ รักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน และขยายธุรกิจ อย่างต่อเนือ ่ ง โดยการพัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นสถานทีท ่ เ่ี ป็นจุด มุง ่ หมายในการใช้ชว ี ต ิ ทีม ่ ากกว่าการซือ ้ สินค้า เป็นจุดมุง ่ หมาย ในการทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยการสร้างสรรค์และประยุกต์ ใช้ น วั ต กรรมในการพั ฒ นาออกแบบและก่ อ สร้ า งอาคาร การพั ฒ นาสร้ า งจุ ด หมายใหม่ เ พื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ สั ม ผั ส ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ แตกต่าง หรือมีประสบการณ์ด้าน ไลฟ์สไตล์ที่คล้ายกันร่วมกันบนพื้นที่เดียวกัน
การติดตามแผนกลยุทธ์รายปีในมุมมอง 5 ด้าน ได้แก่ (1) มุมมองด้านการเติบโตขององค์กร (2) มุมมองด้านการสร้างคุณค่าแบรนด์ (3) มุมมองด้านการเพิม ่ ประสิทธิภาพ (4) มุมมองด้านกระบวนการภายใน (5) มุมมองด้านบุคลากร
76
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 17
การบริหารจัดการทรัพย์สิน และการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย
ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ
การจัดหาแหล่งเงินทุนและ บริหารการเงินอย่างรอบคอบ
การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
CPN มุ่ ง มั่ น ในการบริ ห ารและจั ด การศู น ย์ ก ารค้ า และ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ มี อ ยู่ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด โ ด ย ยึ ด ความต้องการของลูกค้าเป็นศูนย์กลาง การรับฟังเสียง และ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียเป็นหลักในการดําเนินธุรกิจ โดยใช้ศักยภาพและความเชี่ยวชาญของ CPN ในการสร้าง คุณค่าร่วมตลอดห่วงโซ่คุณค่าร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ภายใต้ เจตนารมณ์ “การสร้างคุณค่าร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียและสังคม โดยรวม” และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาและประยุกต์ใช้ในการบริหาร จัดการ อีกทัง ้ ปรับกระบวนการทํางานให้ทน ั สมัย ปลอดภัย สะดวก และตอบโจทย์ผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสียให้ครบทุกกลุม ่
CPN มุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนิน งานอย่างต่อเนื่อง โดยการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล ลดการใช้ทรัพยากร หรือใช้ทรัพยากรหมุนเวียน เพิ่มการใช้ เทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม รวมถึงการบริหารจัดการ ทรัพยากรบุคคลให้มค ี ณ ุ ภาพ มีประสิทธิภาพ และเพิม ่ ประสิทธิผล ให้กบ ั องค์กรและสังคม และมุง ่ มัน ่ ในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร บนรากฐานการมีบรรษัทภิบาลทีด ่ แ ี ละการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนทัง ้ ทางธุรกิจ สังคม และสิง ่ แวดล้อม
CPN มุง ่ สร้างความเข้มแข็งทางการเงิน เพือ ่ รองรับแผนการ ขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสําคัญกับการมีวินัย ทางการเงินและการจัดหาแหล่งเงินทุนหลากหลายรูปแบบและ เหมาะสมกับธุรกิจ ทัง ้ เงินทุนจากการดําเนินธุรกิจ การกูย ้ ม ื เงิน การออกหุ้ น กู้ การจั ด ตั้ ง กองทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์ (REIT) การออกหุน ้ เพิม ่ ทุน เป็นต้น ควบคูไ่ ป กับการบริหารต้นทุนทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ
77
การขับเคลื่อนและการติดตามกลยุทธ์การดํ าเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ในปี 2561 CPN ได้ทบทวนและเพิ่มเติมตัวชี้วัดด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนแห่ง สหประชาชาติ (UN SDGs) และผนวกในแผนกลยุทธ์ระยะยาว 5 ปี (ปี 2562-2566) โดยกําหนดทิศทางการดําเนินธุรกิจอย่างยัง ่ ยืน มุง ่ สูก ่ ารเป็นศูนย์กลางของชุมชน (Center of Community) และศูนย์กลางการใช้ชว ี ต ิ (Center of Life) เป็นกรอบในการกําหนดแผน งานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง ่ แวดล้อมของบริษท ั ฯ และกําหนดตัวชีว ้ ด ั และติดตามผลการดําเนินงานด้านความยัง ่ ยืนโดยคณะกรรมการ จัดการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ ยังถ่ายทอดตัวชี้วัดดังกล่าวไปเป็นตัวชี้วัดสําหรับการประเมินผลงานผู้บริหารและพนักงาน ระดับสายงาน ระดับฝ่าย ระดับแผนก และรายบุคคลลดหลัน ่ กันในสัดส่วนทีเ่ หมาะสม อีกทัง ้ กําหนดให้ผบ ู้ ริหารระดับสูงดํารงบทบาทผูน ้ าํ ด้านความยัง ่ ยืน (SD Champion) ทําหน้าทีส ่ ง ่ เสริมและสนับสนุนการขับเคลือ ่ นแผนงานและกิจกรรมด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนให้บรรลุตามเป้าหมายทีว ่ างไว้
SDGs เป้าประสงค์
การดํ าเนินงาน
ตัวชี้วัด และเป้าหมาย ด้านความยั่งยืน
Sustainable Business CPN มุง ่ เน้นการเติบโตทางธุรกิจ โดยกระจายความเสีย ่ งการ
•
สร้างโอกาสในการประกอบธุรกิจ และสร้างรายได้ให้กับชุมชน
•
ประเด็นความยั่งยืน • การบริหารความเสี่ยง • การกํากับดูแลกิจการ
สัดส่วนการจ้างแรงงานท้องถิน ่ และการทําธุรกิจ จัดซือ ้ จัดจ้างกับผู้ประกอบการท้องถิ่น
โดยดําเนินการบนพื้นฐานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชัน ผลักดันและกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรม
อัตราการเติบโต และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อเงิน ลงทุนร้อยละ 15
ลงทุน และสร้างระบบนิเวศทางธุรกิจแบบใหม่ เกิดการจ้างงาน
•
ความสํ าเร็จในการได้รับการรับรองการต่อ อายุ โครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยใน
ด้านกํากับดูแลกิจการที่ดีทั่วทั้งองค์กร
การต่อต้านการทุจริต (CAC Recertification) •
กําหนดแนวทางการสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น รวมไปถึงการจ้างแรงงาน และการจัดซือ ้ วัสดุ อุปกรณ์ การจ้างผลิตในพื้นที่ที่ประกอบธุรกิจ
•
รวมนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ และนโยบาย การต่อต้านคอร์รัปชัน ไว้ในคู่มือพนักงาน และคู่มือ จรรยาบรรณและแนวทางการปฏิบัติของคู่ค้า
•
จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ และความเข้าใจด้านการ กํากับดูแล และหลักบรรษัทภิบาล เช่น การประชาสัมพันธ์ การอบรม การประเมินตนเองด้านบรรษัทภิบาล
รายละเอียดเพิ่มเติมใน กลยุทธ์การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ และกลยุทธ์ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ หมวดย่อย การกํากับ ดูแลกิจการ
Sustainable Stakeholders CPN กําหนดกลยุทธ์และแผนงานตามมุมมองในการดูแล
•
ความพึงพอใจของลูกค้าที่ร้อยละ 85
ผู้มีส่วนได้เสีย
•
ความพึงพอใจของร้านค้าที่ร้อยละ 80
•
ลูกค้า : กําหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาศูนย์การค้าให้เป็น
•
จํานวนนวัตกรรมผลิตภัณฑ์-จุดหมายใหม่
สถานทีท ่ เี่ ป็นจุดมุง ่ หมายในการใช้ชว ี ต ิ ใช้พน ื้ ทีใ่ นการทํา
•
จํานวนข้อร้องเรียนด้านการให้บริการ
กิจกรรมร่วมกันบนพื้นที่เดียวกัน
•
สัดส่วนกิจกรรมทางการตลาดเน้นส่งเสริมคุณค่า
• ประเด็นความยั่งยืน •
การปรับตัวเพื่อรองรับพฤติกรรม ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป
78
ชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 จากปี 2560
ร้านค้า : ดําเนินงานตามแผนการสร้างการมีส่วนร่วม และรับฟังเสียงจากร้านค้า การพัฒนาร้านค้าให้เติบโต
•
ความสะดวกให้กับร้านค้า และผู้ใช้บริการ
จํานวนชั่วโมงอาสาของพนักงานเท่ากับ 5,000 ชั่วโมง
และขยายธุรกิจ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่ออํานวย •
ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรทีร่ อ ้ ยละ 80
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 17
SDGs เป้าประสงค์
•
การสร้างประสบการณ์ให้ลูกค้า
การดํ าเนินงาน
•
เข้มแข็ง สร้างผู้ประกอบการรายย่อย สร้างจุดหมาย
•
การรับมือและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
การท่องเที่ยว และสร้างกิจกรรมทางการตลาดที่เน้น
•
การสรรหาและสร้างความผูกพัน
ส่งเสริมคุณค่าและเอกลักษณ์ของชุมชน ควบคูก ่ บ ั การ
กับร้านค้า
ดําเนินโครงการเพือ ่ สนับสนุนและพัฒนาด้านการศึกษา
•
ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม
ภายใต้ “โครงการ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย” และ
•
การพัฒนาและสร้างความผูกพัน
•
ตัวชี้วัด และเป้าหมาย ด้านความยั่งยืน
ชุ ม ชน : ดํ า เนิ น งานตามแผนงานสร้ า งชุ ม ชนให้
พึงพอใจ
กับพนักงาน
การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
“โครงการเซ็นทรัลกรีน” •
พนั ก งาน : กํ า หนดเป้ า หมายระยะยาวมุ่ ง สู่ ก ารเป็ น
การบริหารห่วงโซ่อป ุ ทาน
“องค์กรในหัวใจพนักงาน – Employer of Choice”
และพัฒนาคูค ่ า้
และดําเนินการตามแผนงานดูแลพนักงานให้มค ี ณ ุ ภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว ม สร้ า งความผู ก พั น องค์กร และเตรียมความพร้อมของบุคลากรสู่การเป็น องค์กรนวัตกรรม •
คู่ค้า : ระบุประเด็นด้านบรรษัทภิบาล สิ่งแวดล้อม และ สั ง คมไว้ ใ นกระบวนการคั ด กรองการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง กําหนดกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นธรรม โปร่งใส และนําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการคัดกรอง ว่าจ้าง และประมูล โดยคํานึงถึงการบริหารความเสี่ยง การมีสว ่ นร่วม และการพัฒนานวัตกรรมร่วมกันกับคูค ่ า้ และพันธมิตรทางธุรกิจ
รายละเอียดเพิ่มเติมใน กลยุทธ์นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ กลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพย์สิน และการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย กลยุทธ์ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ
Sustainable Resources CPN ตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพ
•
ภู มิ อ ากาศที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม และ มี โ อกาสส่ ง ผลกระทบต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ จึ ง กําหนดแผนการดําเนินธุรกิจบนพืน ้ ฐานการใช้ทรัพยากรอย่าง ประเด็นความยั่งยืน •
การบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
มีประสิทธิภาพและรู้คุณค่าและนําหลัก 4Rs คือ Reduce / Reuse / Recycle / Responsible มาประยุกต์ใช้ รวมถึงการ ลงทุนในการใช้ทรัพยากรทางเลือกและส่งเสริมการมีสว ่ นร่วม จากชุมชน ทั้ ง นี้ ได้ กํ า หนดเป้ า หมายการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ระยะยาว
ลดปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า และการปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกลงร้อยละ 2 เทียบจากปี 2560
•
ป ริ ม า ณ ก า ร ใ ช้ นํ้ า ห มุ น เ วี ย น อ ยู่ ที่ ร้ อ ย ล ะ 5 ของปริมาณการใช้ทั้งหมด
•
ระบบการจั ด การขยะเป็ น ไปตามมาตรฐานที่ กําหนดไว้
•
ขอการรับรอง ISO 14001: 2015 ของโครงการที่ เปิดดําเนินการแล้วทัง ้ หมดให้ได้ไม่ตาํ่ กว่าร้อยละ 75 ของโครงการที่เปิดดําเนินการแล้วทั้งหมด
ในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายการพั ฒ นา อย่างยัง ่ ยืนแห่งสหประชาชาติ (SDGs) อาทิ เป้าหมายที่ 12.2 บรรลุการจัดการอย่างยั่งยืนและใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมายที่ 12.5 ลดการเกิดของเสียโดย ให้มีการป้องกัน การลดปริมาณ การใช้ซํ้า และการนํากลับมา ใช้ใหม่ เป้าหมายที่ 13.2 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงใน สัดส่วนร้อยละ 20 ภายในปี 2568 และเป้าหมายที่ 7.2 การเพิม ่ สัดส่วนพลังงานทดแทนเป็นหลัก เป็นต้น รายละเอียดเพิ่มเติมใน กลยุทธ์ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ หมวดย่อย การบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
79
ปัจจัยความเสี่ยง บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การบริ ห ารความเสี่ ย งแบบยั่ ง ยื น เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยได้ศึกษาและ นํากรอบ COSO ERM 2017 มาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทของ บริษัทฯ จึงได้กําหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่มุ่งพัฒนา ให้มก ี ารบริหารความเสีย ่ งทีค ่ รอบคลุมทุกกิจกรรมทางธุรกิจ และ ผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของวั ฒ นธรรมการทํ า งานในองค์ ก ร บริษท ั ฯทบทวนความเสีย ่ งอย่างต่อเนือ ่ ง โดยคํานึงทัง ้ ปัจจัยภายใน และภายนอก พิจารณาโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบ ของความเสี่ยงที่มีต่อการดําเนินธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อประเมินความเสี่ยงและระบุความเสี่ยงที่สําคัญของบริษัทฯ แล้วกําหนดแผนงานรองรับอย่างเป็นรูปธรรมควบคูก ่ บ ั มาตรการ การบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสมในการป้องกัน กํากับดูแล และควบคุ ม ความเสี่ ย งด้ า นต่ า ง ๆ เพื่ อ ลดระดั บ ความเสี่ ย งที่ สําคัญให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งปัจจัยความเสี่ยงหลัก ๆ ที่มี ผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจ มีดังนี้
1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)
จากวิสย ั ทัศน์ของบริษท ั ฯ ทีต ่ อ ้ งการเป็น “ผูพ ้ ฒ ั นาศูนย์การค้าใน ระดับภูมภ ิ าค ทีไ่ ด้รบ ั ความชืน ่ ชมสูงสุดจากทุกคนและไม่หยุดนิง ่ ใน การสร้ า งประสบการณ์ แ ห่ ง ความสุ ข ในระดั บ โลก” โดยมี แ ผน กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ หลายประเภท (Asset Class) ทั้งในประเทศและต่างประเทศโดย เฉพาะในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในรูปแบบการลงทุนเอง การร่วมทุน ตลอดจนการเข้าซื้อกิจการที่มีศักยภาพ เป็นต้น โดย ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการกําหนดแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ ประกอบด้วย
1.1 ความเสีย ่ งจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ และความไม่แน่นอนทางการเมือง
ในปี 2561 เศรษฐกิจไทยเติบโตแบบชะลอตัวในช่วงท้ายของปี จากการส่ ง ออกที่ เ ริ่ ม มี สั ญ ญาณชะลอตั ว เนื่ อ งจากภาวะ เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่ได้รับผลกระทบจากสงครามการค้า ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ประกอบกับการท่องเที่ยวที่เติบโต มาตลอดช่ ว งหลายปี ที่ ผ่ า นมาเริ่ ม ชะลอตั ว ในช่ ว งครึ่ ง ปี ห ลั ง โดยเฉพาะการลดลงของนักท่องเที่ยวชาวจีนอย่างมีนัยสําคัญ รวมทั้ ง การบริ โ ภคภาคเอกชนที่ ถึ ง แม้ จ ะมี แ นวโน้ ม การฟื้ น ตั ว จากการเพิ่ ม ขึ้ น ในกลุ่ ม สิ น ค้ า คงทน เช่ น รถยนต์ แต่ สํ า หรั บ สินค้าไม่คงทนซึง ่ เป็นตัวแทนการบริโภคภาคครัวเรือนกลับทรงตัว ในระดับเดิม บริษัทฯ จึงกําหนดนโยบายการลงทุนที่สอดคล้อง กับปัจจัยแวดล้อม โดยเปิดศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า เพิ่มอีก 1 แห่ง ในเดือนกันยายน 2561 ซึ่งเป็นโครงการประเภท ต่อขยายจากศูนย์การค้าที่มีอยู่เดิม และการปรับปรุงศูนย์การค้า ทีเ่ ปิดดําเนินการอยู่ ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้ บ ริ โ ภคในปั จ จุ บั น รวมถึ ง เพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ทรั พ ย์ เ พื่ อ รองรั บ การ ขยายตัวทางธุรกิจตามแผนระยะยาว
80
นอกจากนี้ จากสภาพเศรษฐกิจทีช ่ ะลอตัว ทําให้เกิดโอกาสในการ ร่วมทุนและเข้าซือ ้ กิจการทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ เพือ ่ เป็นช่องทางในการเติบโต ทีย ่ ง ั่ ยืนของบริษท ั ฯ โดยในปี 2561 บริษท ั ฯ มีการเข้าซือ ้ กิจการทีส ่ าํ คัญ คือ การซือ ้ หุน ้ GLAND หรือ บริษท ั แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) ซึง ่ เป็นผูพ ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ โครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัย และโครงการเชิงพาณิชย์ และเป็นเจ้าของทีด ่ น ิ ทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ หลายแห่ง สามารถนํามาพัฒนาโครงการ สร้างการเติบโตให้บริษท ั ฯ ได้ในอนาคต
1.2 ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขัน
ภาพรวมธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การค้ า ปลี ก ยั ง คงมี ภ าวะ การแข่งขันทีร่ น ุ แรงจากอุปทานทีเ่ พิม ่ ขึน ้ โดยมีการเปิดศูนย์การค้า ใหม่ในพืน ้ ทีท ่ ม ี่ ศ ี ก ั ยภาพทัง ้ ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลรวมถึง จั ง หวั ด ที่ เ ป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วหรื อ เขตเศรษฐกิ จ ที่ สํ า คั ญ และ โครงการขนาดใหญ่อีกหลายโครงการที่คาดว่าจะเปิดให้บริการ ใน 2-3 ปี ข้ า งหน้ า ในขณะที่ พ ฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภคในปั จ จุ บั น ที่ เปลี่ยนไปเลือกใช้บริการในช่องทางที่หลากหลายและตอบสนอง ไลฟ์สไตล์มากขึ้น เช่น การซื้อสินค้าและสั่งอาหารผ่านช่องทาง ออนไลน์ การทําธุรกรรมทางการเงินผ่าน Mobile Banking เป็นต้น ในการบริหารความเสีย ่ งดังกล่าว บริษท ั ฯ จะสํารวจตลาด วิเคราะห์ คู่แข่ง และศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนอย่างถี่ถ้วน และได้ กํ า หนดกลยุ ท ธ์ ใ นการพั ฒ นาโครงการให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลาง การใช้ชีวิต (Center of Life) ที่มีรูปแบบของศูนย์การค้า พื้นที่ การใช้งานรูปแบบใหม่ ๆ เพือ ่ สร้างบรรยากาศและประสบการณ์ใหม่ ทีต ่ อบสนองต่อไลฟ์สไตล์ของลูกค้าแต่ละกลุม ่ การวางองค์ประกอบ ของร้ า นค้ า และบริ ก ารที่ เ หมาะสม ควบคู่ กั บ การจั ด กิ จ กรรม เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนที่มีความสนใจในลักษณะ เดียวกัน (Community) รวมทั้งการใช้ Digital Platform และ ระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการสื่อสารและ ให้บริการกับลูกค้าทีม ่ าใช้บริการศูนย์การค้าเพือ ่ เพิม ่ ความทันสมัย และสร้ า งประสบการณ์ ที่ น่ า ประทั บ ใจรวมถึ ง ทํ า ให้ ก ารบริ ห าร ศูนย์การค้าดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
1.3 ความเสี่ยงจากการลงทุนในประเทศ
ความเสี่ ย งในการพั ฒ นาโครงการใหม่ ซึ่ ง ต้ อ งใช้ ง บลงทุ น สู ง โดยมีปัจจัยสําคัญต่อผลการดําเนินงานคือ การสรรหาที่ดินการ วางแผนและออกแบบโครงการ และการหาร้ า นค้ า ผู้ เ ช่ า ใน ศู น ย์ ก ารค้ า และลู ก ค้ า โครงการที่ พั ก อาศั ย การสรรหาที่ ดิ น ในปั จ จุ บั น มี ก ารแข่ ง ขั น ค่ อ นข้ า งสู ง จากผู้ ป ระกอบการพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์หลายกลุม ่ โดยเฉพาะในทําเลทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ บริษท ั ฯ จะคัดเลือกทําเลที่มีศักยภาพในพัฒนาโครงการในอนาคตและ ดํ า เนิ น การซื้ อ ที่ ดิ น ไว้ ล่ ว งหน้ า รวมทั้ ง จั ด หาที่ ดิ น แปลงใหญ่ เพื่อให้บริษัทฯ สามารถซื้อที่ดินในราคาที่เหมาะสมและสามารถ รองรับการขยายโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed-use Development) ซึง ่ ประกอบด้วย ศูนย์การค้า สํานักงาน โรงแรม และที่อยู่อาศัยในอนาคตได้อีกด้วย
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 18
ในการวางแผนและออกแบบโครงการ บริษท ั ฯ จะศึกษาและสํารวจ ข้อมูลอย่างถี่ถ้วน เช่น กลุ่มลูกค้าเป้าหมายคู่แข่งทางตรงและ ทางอ้อม และรวมถึงข้อมูลการตลาดอื่น ๆ ที่สําคัญ เพื่อกําหนด ตําแหน่งทางการตลาด (Market Positioning) และกลยุทธ์ทจ ี่ ะชนะ คูแ่ ข่ง (Winning Strategy) ของโครงการ แล้วนํามาวิเคราะห์ความเป็น ไปได้และความคุ้มค่าในการลงทุน ก่อนนําเสนอให้คณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งระดับจัดการและระดับบริหารพิจารณาอนุมัติ แล้วจึงนําข้อมูลมาออกแบบและพัฒนาโครงการต่อไป สํ า หรั บ บริ ษั ท ฯ มี ก ารพั ฒ นาโครงการศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ที่ มี ก าร ขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง โดยมีแนวทางการบริหารความเสี่ยง ที่ สํ า คั ญ ได้ แ ก่ 1) การขยายฐานร้ า นค้ า ผู้ เ ช่ า รายใหม่ แ ละ ให้ ก ารสนั บ สนุ น การพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ เ ช่ า ในปั จ จุ บั น โดย ได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ กั บ ร้ า นค้ า ผู้ เ ช่ า ในฐานะที่ เ ป็ น พั น ธมิ ต ร ทางธุ ร กิ จ ที่ จ ะเติ บ โตด้ ว ยกั น อย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง ที ม งานขายและ ทีมงานร้านค้าสัมพันธ์จะทําหน้าทีด ่ แู ลและติดตามผลดําเนินงานของ ร้ า น ค้ า อ ย่ า ง ส มํ่ า เ ส ม อ เ พื่ อ ว า ง แ ผ น ง า น ร่ ว ม กั น ให้คาํ ปรึกษาและให้การสนับสนุนการดําเนินงานของร้านค้าในด้าน ต่าง ๆ เช่น การจัดอบรม และสัมมนาเพื่อให้มุมมองและแนวคิด ใหม่ ๆ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ การจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การขาย ร่วมกันกับพันธมิตรต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต และบัตร The 1 เป็นต้น รวมทั้ ง รั บ ฟั ง ปั ญ หา/ข้ อ เสนอแนะ เพื่ อ นํ า มาใช้ ป รั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ร้านค้าต่อไป 2) เมื่อศูนย์การค้า เปิดให้บริการ มีการติดตามผลการดําเนินงานของศูนย์การค้า อย่างต่อเนื่อง เช่น ปริมาณลูกค้าที่มาใช้บริการ อัตราการให้เช่า พื้นที่ อัตราผลตอบแทนของโครงการเปรียบเทียบกับเป้าหมาย เพื่ อ ติ ด ตามประเมิ น ผลของการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ หาก ศูนย์การค้าใดมีผลการดําเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย ทีมบริหาร ทรัพย์สิน ทีมขาย และทีมการตลาด จะดําเนินการวิเคราะห์และ นําเสนอมาตรการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป สําหรับความเสี่ยงในการพัฒนาโครงการที่พักอาศัย จากสภาพ การแข่ ง ขั น ในตลาดที่ พั ก อาศั ย ที่ เ กิ ด ภาวะอุ ป ทานล้ น ตลาดใน บางพื้นที่ ประกอบกับการระมัดระวังการใช้จ่ายของผู้บริโภคและ การขาดมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ทําให้สถานการณ์ของ ตลาดที่ พั ก อาศั ย อยู่ ใ นภาวะชะลอตั ว ในการลงทุ น โครงการ ทีพ ่ ก ั อาศัย บริษท ั ฯ จึงได้ให้ความสําคัญกับการศึกษาและวางแผน โครงการอย่างรอบคอบ ตั้งแต่การสํารวจตลาด วิจัยลูกค้าและ คู่แข่ง การออกแบบโครงการ การบริหารการก่อสร้าง การขาย คุณภาพการก่อสร้างและการบริการหลังการขาย และติดตามตัว ชี้วัดหลัก ได้แก่ ยอดจองซื้อ ประวัติการชําระเงินของลูกค้า การ อนุ มั ติ สิ น เชื่ อ ของลู ก ค้ า และจํ า นวน Waiting List ที่ ส นใจ โครงการ เป็นต้น โดยโครงการคอนโดมิเนียมทีเ่ ปิดขายในปี 2559 ที่เชียงใหม่ ขอนแก่น และระยอง ได้ดําเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ และมียอดการโอนตามทีค ่ าดการณ์ไว้ ส่วนโครงการคอนโดมิเนียม ที่ เ ปิ ด ขายในปี 2560 ที่ น ครราชสี ม า เชี ย งราย และเชี ย งใหม่ โครงการ 2 ซึ่ ง เป็ น โครงการที่ ตั้ ง อยู่ ใ นบริ เ วณศู น ย์ ก ารค้ า ประสบความสําเร็จอย่างสูง โดยมียอดจองซื้อร้อยละ 100 ทั้ง
ปั จ จั ย ความเสี่ ย ง
3 โครงการ และสําหรับปี 2561 บริษัทฯได้พัฒนาโครงการเพิ่ม 2 โครงการ โดยเป็นโครงการคอนโดมิเนียม 1 โครงการ บริเวณถนน พหลโยธิน 34 และโครงการบ้านเดี่ยว บริเวณถนนบรมราชชนนี ก็ได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้าเช่นกัน
1.4 ความเสี่ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ
บริ ษั ท ฯขยายการลงทุ น ไปในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสการเติ บ โตในระยะยาวและกระจายความเสี่ ย ง ในเชิงภูมศ ิ าสตร์ โดยปัจจุบน ั อยูร่ ะหว่างพัฒนาโครงการแห่งแรก ในประเทศมาเลเซี ย และศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ สํ า หรั บ การลงทุ น ในประเทศทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพอืน ่ ๆ ในกลุม ่ CLMV อาทิ เวียดนาม เป็นต้น เพื่อรองรับกลยุทธ์การขยายธุรกิจในต่างประเทศ บริษัทฯ ได้ ศึกษาวิจัยในแง่มุมต่าง ๆ เช่น ลูกค้า คู่แข่ง การตลาด สภาพ แวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ควบคู่ กั บ การใช้ อ งค์ ค วามรู้ แ ละข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ จ ากบริ ษั ท ใน กลุ่มเซ็นทรัล เพื่อนํามาวิเคราะห์ความเป็นไปได้และผลตอบแทน จากการลงทุ น และนํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิจารณาก่อนตัดสินใจลงทุน โดยบริษัทฯ ใช้แนวทางการหา พั น ธมิ ต รที่ มี ค วามสามารถและประสบการณ์ ด้ า นการพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ในประเทศนั้น ๆ มาร่วมพัฒนาธุรกิจเพื่อเสริม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั น และกั น เช่ น โครงการ Central I-City ประเทศมาเลเซียนั้น เป็นการร่วมลงทุนระหว่างบริษัทฯ และบริษัท ในเครือ I–Berhad ซึ่งเป็นบริษัทด้านอสังหาริมทรัพย์ที่มีชื่อเสียง และจดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ของมาเลเซีย โดยจัดตั้ง กิ จ การร่ ว มค้ า เพื่ อ ลงทุ น พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการใช้พื้นที่แบบผสม (Mixed-use Project) ที่มีทั้ง สํานักงาน โรงแรม และที่อยู่อาศัยในโครงการ เนือ ่ งจากการลงทุนในต่างประเทศเป็นการดําเนินธุรกิจในขอบเขตใหม่ บริษท ั ฯ จึงดําเนินการอย่างระมัดระวัง มีการปรับโครงสร้างองค์กร เพือ ่ กําหนดหน่วยงานทีด ่ แ ู ลและติดตามความคืบหน้าการพัฒนา โครงการดังกล่าวอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สามารถวางแผนรองรับ ความเสี่ยงและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที
2. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk)
2.1 ความเสี่ยงด้านการปรับตัวเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลง
จากการเปลีย ่ นแปลงทัง ้ จากปัจจัยภายนอกและกลยุทธ์ทางธุรกิจ ของบริ ษั ท ฯ ทํ า ให้ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ได้แก่ 2.1.1.
กลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่มุ่งเติบโตทั้งจากการปรับเปลี่ยน รูปแบบการทําธุรกิจเดิมและแสวงหาโอกาสจากธุรกิจใหม่ เช่น การลงทุนในรูปแบบของการร่วมทุน การลงทุนใน
81
รูปแบบเข้าซื้อกิจการ การลงทุนในต่างประเทศ เป็นต้น ซึง ่ การปรับตัวของบริษัทฯ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวเป็นปัจจัยสําคัญต่อการประสบความสําเร็จของ โครงการและชื่อเสียงของบริษัทฯ ดังนั้นบริษัทฯ จึงได้ เตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ เช่น การปรับเปลี่ยน นโยบาย การปรับปรุงโครงสร้างการบริหาร การทบทวน กระบวนการปฏิบต ั ง ิ าน การพัฒนาความรู้ ความสามารถ ของพนักงานให้หลากหลายรองรับการเติบโต เป็นต้น 2.1.2
ความเสี่ยงด้านการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีทเี่ กิดขึน ้ อย่างรวดเร็วในปัจจุบน ั ซึง ่ ส่งผล กระทบต่อการดําเนินธุรกิจอย่างมาก ทําให้บริษัทฯ ต้อง ปรับตัวในการนําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพือ ่ เพิม ่ ศักยภาพ ในการแข่งขันกับคูแ ่ ข่งทางตรงและทางอ้อม และสามารถ คว้าโอกาสใหม่ ๆ ทีเ่ กิดขึน ้ โดยนําเทคโนโลยีใหม่ (เช่น Big Data Analysis, AI Technology, Internet of Thing, Augmented Reality เป็นต้น) มาพัฒนาเครื่องมือ ในการให้ บ ริ ก ารและปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าและคู่ค้าให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งพัฒนา ความรู้ ค วามสามารถและการปรั บ ตั ว ของพนั ก งาน ให้พร้อมรับกับความเปลีย ่ นแปลง ซึง ่ ถือเป็นกลยุทธ์หลัก ในปี 2561 และดําเนินการต่อเนื่องในปีถัดไป
2.2 ความเสีย ่ งในการบริหารทรัพยากรบุคคล
ทรั พ ยากรบุ ค คลเป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้ อ งค์ ก ร ประสบความสําเร็จ โดยบริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ในการบริหารและ พัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เพียงพอและมีศก ั ยภาพทีจ ่ ะรองรับการ ขยายงาน รวมทั้งมีความสุขในการทํางานและพร้อมทุ่มเทและ สร้างสรรค์ผลงานที่ดีให้กับบริษัทฯ อย่างสมํ่าเสมอ ซึ่งปัจจุบัน ตลาดแรงงานคุณภาพมีการแข่งขันสูง ทําให้บริษท ั ฯ พิจารณาเรือ ่ ง การสรรหาและการรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพเป็นความเสี่ยงที่ สําคัญ โดยบริษท ั ฯ มีมาตรการจัดการความเสีย ่ งดังกล่าว ได้แก่ •
•
•
82
การสรรหาบุคลากรทีม ่ ค ี วามรูค ้ วามสามารถจากช่องทางต่าง ๆ ทั้งภายในบริษัทฯ เช่น การหมุนเวียนงาน การโอนย้ายไป ปฏิบัติงานในสาขาภูมิลําเนาเดิม และการปรับเลื่อนตําแหน่ง เป็นต้น และภายนอกบริษท ั ฯ เช่น Social Media, Website, มหาวิทยาลัยทีม ่ ช ี อ ื่ เสียง และโครงการเพือ ่ นชวนเพือ ่ น เป็นต้น การกําหนดตําแหน่งงานสําคัญ (Key Position) ของฝ่าย งานต่าง ๆ เพือ ่ เตรียมความพร้อมสําหรับผูส ้ บ ื ทอดตําแหน่ง (Successor) ซึง ่ จะทําให้ฝา่ ยงานนัน ้ สามารถดําเนินงานได้อย่าง ต่อเนือ ่ ง เมือ ่ ตําแหน่งงานสําคัญเกิดว่างขึน ้ ไม่วา่ จะจากการ เกษียณอายุ หรือจากการลาออกของพนักงานในตําแหน่งนัน ้ การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร บริษท ั ฯ มีวธ ิ ก ี าร พัฒนาความสามารถอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การวางแผน ความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path) และแผนพัฒนาราย บุคคล (Individual Development Plan) ทีเ่ หมาะสม รวม ทั้งมีการประสานพลัง (Synergy) กับกลุ่มเซ็นทรัลในการ
•
พัฒนาบุคลากรมากขึน ้ เช่น การพัฒนาหลักสูตรอบรมร่วมกัน การแบ่ ง ปั น ความรู้ แ ละประสบการณ์ ระหว่ า งผู้ บ ริ ห าร ของบริษัทฯ ในเครืออย่างต่อเนื่อง เป็นต้น มาตรการเพื่อรักษาบุคลากรของบริษัทฯ ผ่านกิจกรรมเพื่อ เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่องระหว่างพนักงาน กับบริษท ั ฯ เช่น กิจกรรม On Boarding สําหรับพนักงานเข้าใหม่ กิจกรรม New Year Greeting กิจกรรม Communication Day กิจกรรม CPN อาสา กิจกรรม Family Day และกิจกรรม Sport Day รวมถึงในทุกปีจะมีการสํารวจความพึงพอใจและ ความผูกพันของพนักงาน (Power of Voice) เพือ ่ นําผลการ สํารวจและข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาปรับปรุงกระบวนการและ สภาพแวดล้ อ มการทํ า งานให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง การเสริ ม สร้ า ง ความผูกผันและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน เป็นหนึ่งใน พันธกิจด้านความยั่งยืนของบริษัทฯ
2.3 ความเสีย ่ งจากภัยคุกคามด้านไซเบอร์ (Cyber Security Risk)
บริษัทฯ ตระหนักถึงภัยคุกคามด้านไซเบอร์ เนื่องจากปัจจุบัน มีการพึง ่ พาเทคโนโลยีและระบบดิจท ิ ล ั มากขึน ้ ทําให้เกิดความเสีย ่ ง ถูกโจรกรรมข้อมูลและการโจมตีทางไซเบอร์ (Cyber-Attack) เพิ่มมากขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานหรือชื่อเสียง ของบริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ มี ม าตรการจั ด การความเสี่ ย งนี้ ใ น หลายด้ า น ได้ แ ก่ 1) ด้ า นความปลอดภั ย ของระบบ บริ ษั ท ฯ ได้ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบคอมพิ ว เตอร์ ทั้ ง Hardware, Software และระบบเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงระบบ ความปลอดภั ย ให้ ทั น สมั ย เพื่ อ ป้ อ งกั น ภั ย จากการโจมตี ใ น รูปแบบใหม่ 2) ด้านบุคลากร บริษัทฯ มีการให้ความรู้และสร้าง ความตระหนั ก ด้ า นความไม่ ป ลอดภั ย ทางไซเบอร์ ผ่ า นการ สื่อสารด้วยช่องทางต่าง ๆ เช่น การให้ความรู้ผ่านอีเมล และ Newsletter รวมทัง ้ การจัดอบรมเกีย ่ วกับเรือ ่ ง Cyber Risk โดย วิ ท ยากรผู้ เ ชี่ ย วชาญภายนอก 3) ด้ า นการรั บ มื อ เมื่ อ เกิ ด เหตุ บริษท ั ฯ ได้มก ี ารปรับปรุงแผนความต่อเนือ ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan - BCP) และแผนกู้คืนข้อมูลเมื่อเกิดภัยพิบัติ (Disaster Recovery) ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและระบบ เทคโนโลยีทใี่ ช้ในปัจจุบน ั และได้มก ี ารซ้อมแผน BCP ประจําปี นอกจากนี้ บริษท ั ฯ ยังจัดซือ ้ ประกันภัยไซเบอร์ (Cyber Insurance) สําหรับการ ถ่ายโอนความเสี่ยงและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากเกิดเหตุ
3. ความเสีย ่ งด้านการปฏิบต ั ต ิ าม กฎหมายและกฎระเบียบ (Compliance Risk) บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต ามข้ อ กฎหมายและ ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อให้การดําเนินงานของ บริ ษั ท ฯ เป็ น ไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สามารถ เชื่อถือได้ มีความโปร่งใสและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย ซึ่งความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 18
3.1 ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมายด้าน สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น ทั้ ง ในการ พั ฒ นาและบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า ให้ อ ยู่ ใ นสภาพที่ ป ลอดภั ย และ เป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยนํ า ระบบการบริ ห ารมาตรฐาน ความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น แนวปฏิ บั ติ ใ ห้ ห น่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้อง เคร่งครัดต่อการปฏิบัติตามนโยบายและกฎหมาย ในปั จ จุ บั น รวมถึ ง เตรี ย มความพร้ อ มสํ า หรั บ กฎหมายที่ จ ะ นํ า มาบั ง คั บ ใช้ ใ นอนาคต และได้ ว่ า จ้ า งผู้ เ ชี่ ย วชาญภายนอก ดํ า เนิ น การสอบทานและให้ คํ า แนะนํ า เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ มีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.2 ความเสี่ยงด้านการทุจริตและคอร์รัปชัน
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ มุ่ ง เน้ น การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น จึ ง ให้ ความสําคัญกับเรื่องบรรษัทภิบาลที่ดีและกระบวนการควบคุม ภายในที่ รั ด กุ ม พร้ อ มกํ า หนดนโยบายการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชัน (Anti-Corruption Policy) ที่ชัดเจนและเคร่งครัด ในการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายดั ง กล่ า ว ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) และได้การรับรองเป็นบริษัทที่มีการกําหนดนโยบาย แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการทุจริตครบถ้วนตามเกณฑ์ที่ CAC กําหนด รวมถึงมีการจัดทําและสือ ่ สารจริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Conduct) ให้ กั บ ผู้ ข ายและผู้ รั บ จ้ า งช่ ว งเพื่ อ เน้ น ยํ้ า ถึ ง จุดยืนของบริษท ั ฯ (รายละเอียดนําเสนอในส่วนการบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน) ด้านการป้องปรามและบริหารความเสี่ยงจากการทุจริต บริษัทฯ ได้กาํ หนดมาตรการในการควบคุมและติดตามกระบวนการทํางาน ทีส ่ าํ คัญทีอ ่ าจเกิดการทุจริตได้ โดยมีทม ี งานฝ่ายตรวจสอบภายใน เป็ น ผู้ ป ระเมิ น ความเสี่ ย งและสุ่ ม ตรวจสอบ เพื่ อ สอบยั น ความ ถูกต้องของการปฏิบต ั ง ิ านให้มค ี วามสุจริต โปร่งใส และป้องปราม การปฏิบต ั ง ิ านทีอ ่ าจเกีย ่ วข้องกับการทุจริต พร้อมทัง ้ เปิดช่องทาง การสื่อสารให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถแจ้งเบาะแสและข้อเสนอแนะ หรือร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต (whistleblower) ได้โดยตรง กับคณะกรรมการตรวจสอบหรือกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และจะมี การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการพิ จ ารณาและสอบสวนเรื่ อ งราว ร้องทุกข์ตามกระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใส และตรวจสอบได้ เพือ ่ ให้เกิดความเชือ ่ มัน ่ และความไว้วางใจในกระบวนการสอบสวน ที่เป็นธรรมแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน
4. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk)
บริษท ั ฯ มีนโยบายทีจ ่ ะรักษาการเติบโตอย่างต่อเนือ ่ ง ทัง ้ จากธุรกิจ ศู น ย์ ก ารค้ า ธุ ร กิ จ ที่ พั ก อาศั ย และธุ ร กิ จ อื่ น ๆ ที่ ส ร้ า งโอกาส ทางการลงทุนที่เหมาะสม ซึ่งการจะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว มีความเสี่ยงด้านการเงินที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ปั จ จั ย ความเสี่ ย ง
4.1 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk)
บริ ษั ท ฯ มี ก ารดํ า เนิ น นโยบายทางการเงิ น อย่ า งระมั ด ระวั ง ในการใช้เงินทุน โดยมีการวิเคราะห์การลงทุนโดยละเอียดรอบด้าน ในทุก ๆ โครงการ เพื่อคัดเลือกและนําเสนอโครงการที่มีศักยภาพ เข้าสู่การพิจารณากลั่นกรองจากคณะกรรมการการลงทุนอย่าง รอบคอบก่อนที่จะพิจารณาอนุมัติให้ดําเนินการ ในขณะที่แหล่ง ที่มาของเงินทุน บริษัทฯ มีการจัดโครงสร้างเงินทุนที่พยายามคง อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อทุนในระดับที่ยอมรับได้ คือ ไม่เกิน 1 เท่า ร่วมกับใช้เครื่องมือทางการเงินในการระดมทุนที่ เหมาะสม เช่ น การใช้ ท รั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ (REIT: Real Estate Investment Trust) เป็นต้น มาเป็นแหล่ง เงินทุนทางเลือกสําหรับบริษัทฯ เมื่ อ เปิ ด โครงการแล้ ว บริ ษั ท ฯ มี ก ารประเมิ น ผลตอบแทน ของแต่ละโครงการอย่างสมํ่าเสมอเพื่อปรับกลยุทธ์ให้เหมาะสมที่ จะทําให้บรรลุผลตอบแทนตามเป้าหมาย ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ช่วย ลดความเสี่ยงทางด้านการเงิน และยังคงสถานะทางการเงินที่ แข็งแกร่ง อันจะช่วยเพิม ่ ความยืดหยุน ่ ให้กบ ั การจัดหาเงินทุนเพือ ่ ขยายธุรกิจในอนาคตได้อย่างเพียงพอ ด้วยต้นทุนทางการเงิน และผลตอบแทนการลงทุนที่เหมาะสม
4.2 ความเสี่ยงด้านการผิดนัดชําระหนี้ของผู้เช่า พื้นที่ (Credit Risk)
บริ ษั ท ฯ กํ า หนดนโยบายป้ อ งกั น ความเสี่ ย งจากการผิ ด นั ด ชําระหนี้ของผู้เช่าพื้นที่ ได้แก่ 1) การเรียกเก็บเงินมัดจําค่าเช่า พื้นที่จากผู้เช่าไว้ล่วงหน้า 2) การระงับสัญญาเช่าสําหรับผู้เช่า พืน ้ ทีท ่ ค ี่ า้ งชําระค่าเช่าเป็นเวลานาน พร้อมทัง ้ เร่งประสานงานเพือ ่ การเจรจาและแก้ปัญหาร่วมกันกับผู้เช่าพื้นที่ 3) นโยบายการ ติดตามหนี้สินอย่างใกล้ชิด ทําให้สามารถเก็บหนี้ส่วนใหญ่ตาม กํ า หนดชํ า ระ ทั้ ง นี้ หากมี ก ารผิ ด นั ด ชํ า ระหนี้ เ กิ ด ขึ้ น จะมี ก าร ประสานงานอย่างต่อเนือ ่ งระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ แก้ไข ปัญหาการผิดนัดชําระหนี้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย จากภัยอันตราย (Hazard Risk) ธุรกิจหลักของบริษัทฯ เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินและผู้มีส่วนได้เสีย หลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มลูกค้าที่มาจับจ่ายสินค้าและบริการ กลุ่ม ร้านค้าผู้เช่าพื้นที่ กลุ่มชุมชนรอบศูนย์การค้า ซึ่งผู้มีส่วนได้เสีย ทุ ก กลุ่ ม ต่ า งมี ค วามคาดหวั ง อย่ า งสู ง ต่ อ ประเด็ น เรื่ อ งความ ปลอดภัยทีจ ่ ะได้รบ ั จากการดําเนินงานของบริษท ั ฯ ดังนัน ้ บริษท ั ฯ จึงตระหนักและใส่ใจต่อการบริหารความปลอดภัยจากภัยอันตราย ที่สําคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งได้แก่
5.1 ความเสีย ่ งจากเหตุการณ์ภย ั พิบต ั ท ิ างธรรมชาติ
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และรุ น แรง ทํ า ให้ ใ นหลาย
83
พื้นที่ของประเทศไทยเกิ ด ภั ย พิ บั ติท างธรรมชาติ เช่ น พายุฝน นํ้าท่วม แผ่นดินไหว เป็นต้น ซึ่งหลายครั้งก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อทรัพย์สินของบริษัทฯ และกระทบต่อการให้บริการแก่ลูกค้า บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดให้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งจากภั ย พิ บั ติ ทางธรรมชาติในทุกศูนย์การค้าเพราะแต่ละพื้นที่จะเผชิญความ เสีย ่ งทีแ ่ ตกต่างกัน เช่น ภาคเหนือจะมีความเสีย ่ งเรือ ่ งพายุฤดูรอ ้ น ลูกเห็บ และแผ่นดินไหวมากกว่าภาคอื่น ขณะที่ภาคใต้จะมีความ เสี่ยงนํ้าท่วมฉับพลัน และลมมรสุม เป็นต้น พร้อมทั้งได้กําหนด มาตรการทีส ่ อดคล้องเพือ ่ บรรเทาความเสีย ่ งนี้ ได้แก่ การกําหนด ให้ตรวจสภาพความแข็งแรงของอาคารสถานที่อย่างสมํ่าเสมอ การเตรี ย มความพร้ อ มและเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ เ พื่ อ บรรเทา ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เช่น ขุดลอกทางระบายนํา้ และเพิ่มจํานวน เครื่ อ งปั๊ ม นํ้ า ในศู น ย์ ก ารค้ า ที่ อ ยู่ ใ นพื้ น ที่ เ สี่ ย งจากนํ้ า ท่ ว ม การเตรี ย มหาแหล่ ง นํ้ า สํ า รองไว้ ล่ ว งหน้ า เพื่ อ รองรั บ ในกรณี ที่เกิดภาวะภัยแล้ง การเชิญผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างอาคาร ประเมินผลกระทบจากแผ่นดินไหว พร้อมให้คําแนะนําเพื่อรับมือ กับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตรวมทั้งมีการทบทวนและ จั ด ทํ า แผนรองรั บ เหตุ ก ารณ์ วิ ก ฤต (CrisisManagement) ให้ครอบคลุมเหตุการณ์ตา่ ง ๆ มากขึน ้ พร้อมทัง ้ จัดให้มก ี ารซ้อมแผน อย่างสมํา่ เสมอเพือ ่ ให้บค ุ ลากรสามารถรับมือกับเหตุการณ์วก ิ ฤต ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและเก็บสถิตเิ หตุการณ์ (Incident Case) ด้านภัยพิบต ั ท ิ างธรรมชาติและผลของการแก้ไขสถานการณ์ เพือ ่ นําข้อมูลมาวิเคราะห์ และหามาตรการรองรับรวมทั้งพัฒนาการ จั ด การให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี ก ารรายงานให้ ค ณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงรับทราบและสั่งการอย่างเป็นระบบ
5.2 ความเสีย ่ งจากการก่อความไม่สงบ
ปั จ จุ บั น เ ห ตุ ก า ร ณ์ ก า ร ก่ อ ค ว า ม ไ ม่ ส ง บ ห รื อ ภั ย จ า ก ก า ร ก่ อ การร้ า ยนั้ น เป็ น ประเด็ น ความเสี่ ย งในระดั บ สากลที่ น านา ประเทศล้ ว นต้ อ งเผชิ ญ ไม่ ว่ า ประเทศนั้ น จะตั้ ง อยู่ ใ นภู มิ ภ าคใด ในโลก บริษท ั ฯ ได้ตระหนักถึงประเด็นความเสีย ่ งนี้ และมีมาตรการ เพื่อจัดการความเสี่ยงดังนี้ 1) การประสานงานและติดตามข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องเพือ ่ ให้ได้ ข้อมูลทีถ ่ ก ู ต้องและรวดเร็ว สําหรับการประเมินสถานการณ์ และสือ ่ สารกับผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องโดยใช้ Color-Code Condition ซึ่งปรับเปลี่ยนตามระดับความรุนแรงของสถานการณ์ ในขณะนัน ้ เพือ ่ ให้ผท ู้ เี่ กีย ่ วข้องสามารถเตรียมความพร้อม และจัดการกับเหตุการณ์วิกฤตต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ตามแนวปฏิบัติที่ได้วางไว้ 2) การฝึกอบรมพนักงานทีเ่ กีย ่ วข้องให้มค ี วามรู้ ความสามารถ ในการเฝ้าระวังและสังเกตการณ์เหตุความไม่ปลอดภัย ต่าง ๆ พร้อมกับการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุอย่างสมํา่ เสมอ
84
3) การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความปลอดภั ย ทีท ่ น ั สมัยและมีจาํ นวนทีเ่ พียงพอ เช่น เครือ ่ งตรวจจับโลหะ แบบเดินผ่าน (Walkthrough Metal Detector) และ กล้อง CCTV ซึ่งสามารถป้องปรามผู้ที่จะก่อเหตุความ ไม่ ส งบ รวมทั้ ง สามารถใช้ รั บ รู้ เ หตุ ก ารณ์ โ ดยละเอี ย ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมือ ่ เหตุการณ์เกิดขึน ้
5.3 ความเสีย ่ งของธุรกิจหยุดชะงัก จากภาวะวิกฤตต่าง ๆ
บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการบริหารความต่อเนื่องของธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM)บริ ษั ท ฯ จึ ง มี แ ผนงานรองรั บ ที่ จ ะทํ า ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีคณะกรรมการบริหารความต่อเนื่องของ ธุรกิจ (BCM Committee) ซึ่งมีกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็น ประธานกรรมการ คณะกรรมการนี้ จ ะเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการ กําหนดนโยบาย และกํากับดูแลให้มีการจัดทําแผนความต่อเนื่อง ทางธุรกิจ ดําเนินการซ้อมแผน และนํามาปรับปรุงเป็นประจําทุกปี
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 18
ปั จ จั ย ความเสี่ ย ง
85
การวิเคราะห์และคําอธิบาย ของฝ่ายจัดการ
86
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
ภาวะเศรษฐกิจ ในปี 2561 เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีการ เติ บ โตประมาณร้ อ ยละ 4.1 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก่ อ น ซึ่ ง มี ปั จ จั ย สนับสนุน ได้แก่ 1) การส่งออกขยายตัวในเกณฑ์ที่ดี แม้จะชะลอ ตัวลงในช่วง 3-4 เดือนหลังของปี 2) การบริโภคภาคเอกชน ขยายตั ว ตามรายได้ ค รั ว เรื อ นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง ในและนอกภาค เกษตรกรรม และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ฟื้นตัวขึ้น 3) การ ท่องเทีย ่ วโดยรวมมีการเติบโตอย่างต่อเนือ ่ ง โดยเฉพาะนักท่องเทีย ่ ว จากภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้นเป็นจํานวนมาก แม้จะได้รับผลกระทบ จากนั ก ท่ อ งเที่ ย วจี น ที่ ล ดลงในช่ ว งครึ่ ง ปี ห ลั ง และ 4) ปั จ จั ย สนับสนุนอืน ่ ๆ เช่น การใช้จา่ ยภาครัฐเพิม ่ ขึน ้ จากมาตรการช่วยเหลือ ผู้มีรายได้น้อยและนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น รวมถึงการ ลงทุนภาคเอกชนเพิม ่ ขึน ้ เพือ ่ รองรับการผลิตทีป ่ รับเพิม ่ ขึน ้ ในหลาย อุตสาหกรรม อย่างไรก็ดี ปัจจัยทีก ่ ดดันการเติบโตของเศรษฐกิจไทย ได้แก่ การเติบโตของเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว สงครามการค้า (Trade War) ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนยังไม่มข ี อ ้ สรุปทีช ่ ด ั เจน ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นตามอัตราเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับตํา่ ดังนั้น เพือ ่ รักษาเสถียรภาพทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ปรับ เพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 1.75 จากร้อยละ 1.50 เมื่อ เดือนธันวาคม 2561 เพือ ่ รักษาความสมดุลระหว่างการเติบโตของ เศรษฐกิจและเสถียรภาพระบบการเงินต่อไป
ภาพรวมการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ยังคงดําเนินธุรกิจตามแผนงานที่วางไว้ โดยให้ความ สําคัญกับการเพิม ่ ประสิทธิภาพในการสร้างรายได้ ทัง ้ จากการเปิด ศูนย์การค้าใหม่ การปรับปรุงศูนย์การค้าที่เปิดดําเนินการอยู่แล้ว และธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ป ระเภทอื่ น ตามแผนการพั ฒ นา โครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed-use Development) เช่น โครงการที่พักอาศัย เป็นต้น ควบคู่กับการบริหารต้นทุนการ ดําเนินงานและค่าใช้จา่ ยในการบริหารอย่างต่อเนือ ่ ง ปัจจุบน ั CPN บริหารจัดการศูนย์การค้า 32 แห่ง มีพื้นที่ให้เช่าสุทธิรวม 1.7 ล้าน ตารางเมตร (ตร.ม.) เพิม ่ ขึน ้ เล็กน้อยจากปีกอ ่ นหน้า จากการเปิด ศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า และมีอัตราการเช่าพื้นที่ ศู น ย์ ก ารค้ า รวม ณ สิ้ น ปี 2561 เท่ า กั บ ร้ อ ยละ 93 เพิ่ ม ขึ้ น เล็กน้อยจากปีก่อนหน้า ผลการดําเนินงานประจําปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้รวม 36,458 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 5.4 จากปีกอ ่ น และกําไรสุทธิ 11,216 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 17.3 จากปีก่อน เนื่องจากมีการบันทึกรายได้ที่มิได้ เกิดขึ้นประจํา คือ ค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันการ ก่อการร้าย 3,500 ล้านบาทในปีกอ ่ นหน้า ทัง ้ นี้ หากไม่รวมรายการ ที่มิได้เกิดขึ้นประจํา บริษัทฯ มีรายได้รวม 36,065 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 16.8 จากปีก่อน และมีกาํ ไรสุทธิ 10,823 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 9.4 โดยบริษัทฯ ยังคงมีรายได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
แม้วา่ รายได้คา่ เช่าและบริการได้รบ ั ผลกระทบจากการปรับปรุงครัง ้ ใหญ่ที่เซ็นทรัลเวิลด์ และจากการโอนเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช ไปยังทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) เมื่อเดือนธันวาคม 2560
การขยายธุรกิจ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต (Central Phuket) ศูนย์การค้าอันดับที่ 27 ที่บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนและเปิดดําเนินการ เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต ตั้งแต่กลางปี 2558 และด้วยศักยภาพ ของจังหวัดภูเก็ตทีเ่ ป็นเมืองท่องเทีย ่ วชือ ่ ดัง บริษท ั ฯ จึงได้ลงทุน พัฒนาเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า (Central Phuket Floresta) เชื่อมต่อกับเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล (เดิมชื่อเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต) เพื่อให้เซ็นทรัล ภูเก็ตเป็นศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ ของประเทศไทย ตั้งอยู่ในใจกลางเมืองภูเก็ตบนพื้นที่ประมาณ 111 ไร่ ปั ก ธงในการเป็ น ลั ก ชู รี่ แ ฟล็ ก ชิ พ แห่ ง แรกของ CPN ผสมผสานประสบการณ์การใช้ชว ี ต ิ และการพักผ่อนได้อย่างลงตัว เพื่อตอกยํา้ ความเป็น The Magnitude of Luxury & Leisure Resort Shopping Destination ระดับโลกอย่างสมบูรณ์ให้แก่ กลุ่มลูกค้าท้องถิ่นและกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประเทศ บริษัทฯ ได้เปิดเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า อย่างเป็นทางการเมื่อ วันที่ 10 กันยายน 2561 ให้เป็นจุดหมายปลายทางของไลฟ์สไตล์ ลักชูรี่ โดยมีแบรนด์ดังระดับโลก ร้านค้า และร้านอาหาร และเป็น สถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วทีม ่ แ ี อทแทรคชันแห่งแรกและแห่งเดียวของโลก อาทิ 1) ไตรภูมิ ธีมพาร์ครูปแบบ 3 มิติอินเตอร์แอ็กทีฟ เปิดให้ บริการในไตรมาส 1 ปี 2562; 2) Aquaria เป็นอควาเรียมที่มี สัตว์นํ้ามากถึง 25,000 ชนิด เปิดให้บริการในไตรมาส 2 ปี 2562 และ 3) Tales of Thailand เป็นศูนย์รวมเรือ ่ งราววัฒนธรรมและ วิถีชีวิตของคนไทยในแต่ละภูมิภาคในรูปแบบร่วมสมัย โดยมีพื้นที่ ให้เช่าประมาณ 32,000 ตร.ม. ปัจจุบัน ศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต ประกอบด้วย 2 อาคาร คือ เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวล ั ทีเ่ น้นกลุม ่ ลูกค้าครอบครัว เน้นการมาซือ ้ สิ น ค้ า รั บ ประทานอาหารและชมภาพยนตร์ และเซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต ฟลอเรสต้า เน้นกลุม ่ นักท่องเทีย ่ วและลูกค้าทีน ่ ย ิ มใช้ชว ี ต ิ แบบลักชูรี่ ชื่นชอบสินค้าแบรนด์เนม และเที่ยวชมแอทแทรคชันระดับโลก
การเพิ่มประสิทธิภาพของสินทรัพย์ และ นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษท ั ฯ มีแผนการเพิม ่ ประสิทธิภาพของสินทรัพย์อย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ เพิม ่ มูลค่าให้กบ ั ลูกค้า ร้านค้า สังคม และเป็นการรักษารายได้จากการ ดําเนินงานปกติ เพื่อนําไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาว รวมทัง ้ พัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นสถานทีท ่ เี่ ป็นจุดมุง ่ หมายในการใช้ ชีวต ิ และทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ด้วยการสร้างสรรค์สง ิ่ ใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ ่ ง ทัง ้ นี้ ในปี 2561 บริษท ั ฯ ได้ดาํ เนินการดังต่อไปนี้
87
•
•
การปรับปรุงใหญ่ (Major Renovation) ประกอบด้วย 1) เซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งปรับปรุงทีละเฟสเริ่มตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2559 ซึ่งทยอยแล้วเสร็จอย่างมีนัยสําคัญในไตรมาส 4 ปี 2561 โดย ณ สิ้นปี 2561 มีอัตราการเช่าพื้นที่ร้อยละ 91 เพิ่มขึ้น จากสิน ้ ปีกอ ่ นทีร่ อ ้ ยละ 84 และ 2) เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ซึง ่ ได้ปรับปรุงแล้วเสร็จและมีการเปิดตัวครัง ้ ใหญ่ ในเดือนสิงหาคม 2561 โดย ณ สิน ้ ปี 2561 มีอต ั ราการเช่าพืน ้ ที่ ร้อยละ 96 เพิ่มขึ้นจากสิ้นปีก่อนที่ร้อยละ 82 การปรับปรุงในปี 2561 และจะทยอยแล้วเสร็จในปี 2562 ประกอบด้วย การปรับปรุงใหญ่ที่ 1) เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และ 2) เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี โดยทั้งสองแห่งจะมีการเพิ่ม พื้นที่ให้เช่าสําหรับร้านค้าใหม่ ๆ โดยเบื้องต้นคาดว่าพื้นที่จะ เพิม ่ ขึน ้ ประมาณ 2,000 ตร.ม. ต่อแห่ง รวมถึงปรับปรุงพืน ้ ที่ เดิมเพือ ่ นําเสนอ Destination Concept ในศูนย์การค้า อาทิ Food Destination และ Co-working space และการ ปรั บ ปรุ ง ย่ อ ยที่ 1) เซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต เฟสติ วั ล เป็ น การ ปรับปรุงพื้นที่เดิมของห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลให้เป็นพื้นที่ ให้เช่า 2) เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เป็นการปรับปรุงพื้นที่ ร้านค้าเดิมให้เป็น Destination Concept ใหม่ และปรับปรุง ทางเข้าศูนย์การค้าให้เชื่อมกับสถานีรถไฟฟ้าในอนาคต และ 3) เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช มีการปรับปรุง Food Zone ให้ ทั น สมั ย และนํ า เสนอร้ า นอาหารใหม่ เ พื่ อ ดึ ง ดู ด ลู ก ค้ า ชาวไทยและต่างชาติ
•
การร่วมทุนเพื่อประกอบธุรกิจ Co-working Space ใน ประเทศไทย โดยมีผรู้ ว ่ มลงทุนทัง ้ หมด 3 ราย ได้แก่ 1) บริษท ั ฯ 2) บริษัท Common Ground Works Sdn. Bhd. จาก ประเทศมาเลเซีย และ 3) บริษัท MSB Asia Ltd. จากประเทศ มาเลเซียร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 51, 29 และ 20 ตามลําดับ
การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหาร อสังหาริมทรัพย์ (Diversification) สูก ่ ารพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixeduse development) บริษัทฯ เล็งเห็นศักยภาพในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ แบบผสม ทีม ่ ท ี ง ั้ โครงการทีพ ่ ก ั อาศัย อาคารสํานักงาน และโรงแรม อยู่ในโครงการ เพื่อสนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้าซึ่งเป็นธุรกิจหลัก ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ผสมผสานกั บ การออกแบบที่ ทั น สมั ย และตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม
ความคืบหน้าโครงการที่พักอาศัย •
โครงการที่พักอาศัยที่สร้างเสร็จแล้วและอยู่ระหว่างการ โอนให้แก่ลูกค้า จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ โครงการเอสเซ็นท์ (ESCENT) ระยอง เชียงใหม่ และขอนแก่น ซึ่งเป็นโครงการ คอนโดมิเนียมที่เปิดตัวในปี 2559 และก่อสร้างและตกแต่ง เสร็จพร้อมโอนในปี 2561 โดยบริษท ั ฯ โอนห้องให้แก่ลก ู ค้าได้ ร้อยละ 97 และจะทยอยโอนส่วนที่เหลือต่อไป โครงการที่พักอาศัยที่เปิดจองแล้วและอยู่ระหว่างการ ก่อสร้าง จํานวน 5 แห่ง ประกอบด้วยโครงการในต่างจังหวัด 3 แห่ง ได้แก่ โครงการเอสเซ็นท์ นครราชสีมา เอสเซ็นท์ วิลล์ (ESCENT VILLE) เชียงราย และเอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงใหม่ ซึง ่ เป็นโครงการคอนโดมิเนียมทีเ่ ปิดตัวในปี 2560 และมียอด จองเต็มจํานวน และโครงการในกรุงเทพฯ 2 แห่ง ได้แก่ โครงการฟีล พหล 34 (PHYLL PHAHOL 34) เป็นโครงการ คอนโดมิเนียมอยู่ติดกับสถานีรถไฟฟ้าเสนานิคม และใกล้ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว และโครงการนิยาม บรมราชชนนี เป็นโครงการบ้านเดีย ่ วบนถนนบรมราชชนนี ซึง ่ อยู่ระหว่างศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัล พลาซา ศาลายา
•
การเปิดตัว “อิเกีย บางใหญ่” ที่เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ในเดือนมีนาคม 2561 ซึง ่ เป็นอิเกียรูปแบบใหม่และใหญ่ทส ี่ ด ุ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยพื้นที่กว่า 50,000 ตร.ม. เชื่อมต่อทุกชั้นเข้ากับศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ทั้งนี้ การเป็นพันธมิตรกับอิเกีย ซึ่งเป็นแบรนด์เฟอร์นิเจอร์ อันดับ 1 ของโลก ช่วยตอกยํ้าให้เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เป็นสุดยอดศู น ย์ ก ารค้ า ระดั บ ภู มิ ภ าค (Super-regional mall) เพือ ่ รองรับความเจริญของกรุงเทพฯ ฝัง ่ ตะวันตก ย่าน บางใหญ่ โดยภายหลังจากการเปิดอิเกีย บางใหญ่ ทําให้มี จํานวนลูกค้าเข้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เพิม ่ ขึน ้ กว่าร้อยละ 12 จากปีก่อน และจํานวนรถยนต์เข้าศูนย์การค้า เพิม ่ ขึน ้ กว่าร้อยละ 30 จากปีกอ ่ น
•
•
การขยายระยะเวลาการเช่าที่ดินของโครงการเซ็นทรัล พลาซา พระราม 2 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561 บริษัทฯ ได้ ทําสัญญาขยายระยะเวลาการเช่าทีด ่ น ิ อีก 30 ปี สิน ้ สุดปี 2598 และปี 2603 (บางส่ ว น) ซึ่ ง การทํ า รายการดั ง กล่ า ว ทําให้บริษท ั ฯ สามารถทําการบริหารและพัฒนาศูนย์การค้าได้ อย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาเงื่อนไข และราคาการต่ออายุสัญญาเช่าช่วงที่ดินและการเช่าอาคาร เพื่ อ เสนอสิ ท ธิ ใ ห้ แ ก่ ท รั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ CPN รี เ ทล โกรท (“CPNREIT”) ได้ พิจารณาเป็นลําดับถัดไป
การเข้าซื้อหุ้นในบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) หรือ “GLAND”
88
•
•
วันที่ 12 กันยายน 2561 (วันทีซ ่ อ ื้ ) บริษท ั ซีพเี อ็น พัทยา จํากัด (ซีพเี อ็น พัทยา) ซึง ่ เป็นบริษท ั ย่อยที่ CPN ถือหุน ้ ร้อยละ 100 ได้ซอ ื้ หุน ้ สามัญ GLAND สัดส่วนร้อยละ 50.43 ของหุน ้ ทีอ ่ อก และจําหน่ายแล้วทัง ้ หมด คิดเป็นจํานวนเงิน 10,162 ล้านบาท หรือ ทีร่ าคา 3.10 บาทต่อหุน ้ จากกลุม ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ ใหญ่ของ GLAND ต่อมา ซีพีเอ็น พัทยา ได้ทําการเสนอซื้อหุ้นที่เหลือทั้งหมด (Tender Offer) ของ GLAND อีกร้อยละ 49.57 ของหุ้น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
ทีอ ่ อกและจําหน่ายแล้วทัง ้ หมด ทีร่ าคา 3.10 บาทต่อหุน ้ โดยมี ผูต ้ อบรับคําเสนอซือ ้ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.10 ของหุน ้ ทีอ ่ อก และจําหน่ายแล้วทัง ้ หมด คิดเป็นจํานวนเงิน 3,445 ล้านบาท ทําให้บริษท ั ฯ มีสด ั ส่วนถือครองหุน ้ GLAND ทัง ้ หมดร้อยละ 67.53 ของหุ้ น ที่ อ อกและจํ า หน่ า ยแล้ ว ทั้ ง หมด ตามที่ ไ ด้ ประกาศผ่ า นตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2561 จากเหตุการณ์ดังกล่าว ทําให้ ณ สิ้นปี 2561 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ รวมเพิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 36,938 ล้ า นบาท ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนประมาณ 23,254 ล้านบาท และ มี ห นี้ สิ น รวมเพิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 17,796 ล้ า นบาท โดยส่ ว นใหญ่ เป็นหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยประมาณ 8,215 ล้านบาท ปัจจุบัน บริษัทฯ อยู่ระหว่างการทบทวนแผนการลงทุนพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ของ GLAND บริษัทฯ ยังคงมองหาโอกาสในการเข้าซื้อกิจการเพื่อจะส่งเสริม แผนธุรกิจและกลยุทธ์การเติบโตในระยะยาว ซึง ่ การเข้าซือ ้ กิจการ ของ GLAND นั้น เป็นก้าวที่สาํ คัญในการตอกยํา้ ความเป็นผู้นํา ด้านการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed-use development) โดย GLAND มีสินทรัพย์และทําเลที่ดินที่มี ศักยภาพสูง ซึง ่ สามารถพัฒนาเป็นโครงการต่าง ๆ ทีม ่ ข ี นาดใหญ่ ช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ และสร้ า ง ผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว
การเติบโตแบบยั่งยืนเป็นหัวใจสําคัญในการ ดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ได้รับคัดเลือกให้เป็นสมาชิกของดัชนีความยั่งยืนของ ดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) ประจําปี 2561 ในกลุ่มดัชนียั่งยืนระดับโลก (DJSI World) เป็นปี แรก โดยเป็นบริษท ั แห่งเดียวในกลุม ่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และเป็น หนึ่งในแปดบริษัทของประเทศไทยที่ได้รับคัดเลือกให้อยู่ในกลุ่ม ระดับโลกนี้ และในกลุม ่ ดัชนีตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) ต่อเนือ ่ งเป็นปีทห ี่ า้ (ปี 2557-2561) สะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาการ ดําเนินธุรกิจทีย ่ ง ั่ ยืนของบริษท ั ฯ ทีค ่ าํ นึงถึงส่วนรวม สิง ่ แวดล้อม และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมถึงการมีส่วนร่วมที่จะช่วยขับเคลื่อน สังคมและชุมชนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
ผลการดําเนินงานในปี 2561 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษท ั ฯ มีศน ู ย์การค้าภายใต้การบริหาร งานรวม 32 โครงการ (อยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล 14 โครงการ และต่างจังหวัด 18 โครงการ) ศูนย์อาหาร 30 แห่ง อาคารสํานักงานให้เช่า 7 อาคาร โรงแรม 2 แห่ง อาคารทีพ ่ ก ั อาศัย 1 โครงการ (รวม 11 ยูนิต) และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการขาย 3 โครงการ (รวม 1,227 ยูนต ิ ) ซึง ่ นับรวมอสังหาริมทรัพย์ทไี่ ด้โอน ไปยั ง ทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ CPN รี เ ทล โกรท (CPNREIT) และกองทุ น รวมสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) ณ สิ้นปี 2561 อัตราการเช่าพื้นที่ศูนย์การค้าของบริษัทฯ เท่ากับ ร้อยละ 93 เพิม ่ ขึน ้ เล็กน้อยจากปีกอ ่ นทีร่ อ ้ ยละ 92 เป็นผลจากการ เช่ า พื้ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ท ยอยปรั บ ปรุ ง แล้ ว เสร็ จ อาทิ เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 รายได้จากการเช่าและบริการของศูนย์การค้าเดิม (same store rental revenue growth) เติบโตร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกัน ของปีก่อน โดยไม่นับรวม 1) ศูนย์การค้าใหม่ที่เปิดดําเนินการ ในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชั ย 2) ศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ที่ เ ปิ ด ดํ า เนิ น การในปี 2561 ได้ แ ก่ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า 3) ศูนย์การค้าที่มีการปรับปรุงใหญ่ ในปี 2560 และปี 2561 ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และ 4) ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช ซึ่งได้โอนไปยัง CPNREIT (บางส่วน) เมื่อเดือนธันวาคม 2560 อัตราค่าเช่าเฉลีย ่ ของโครงการศูนย์การค้าทัง ้ หมด ณ สิน ้ ปี 2561 อยู่ที่ 1,669 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยอัตราค่าเช่าเฉลี่ย ของศูนย์การค้าเดิม (same store rental rate growth) เติบโต ร้ อ ยละ 2.5 จากช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ก่ อ น หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น จาก 1,634 บาทต่อตารางเมตร เป็น 1,674 บาทต่อตารางเมตร ซึ่งตํา่ กว่าทีบ ่ ริษท ั ฯ คาดการณ์ไว้เล็กน้อย เนือ ่ งจากศูนย์การค้าบางแห่ง มี ก ารปรั บ ค่ า เช่ า เพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราที่ ตํ่ า กว่ า ปี ก่ อ น และมี ส่ ว นลด ค่าเช่าเพิ่มขึ้นในช่วงปลายปี อย่างไรก็ดี ในภาพรวมบริษัทฯ มีการ เติบโตของอัตราค่าเช่าอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มในการเพิ่ม ค่าเช่าจากการต่อสัญญาใหม่และการลดลงของส่วนลดค่าเช่า ในที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
89
ผลการดําเนินงานในปี 2561 ตารางที่ 1 : สรุปพื้นที่ให้เช่าและอัตราการเช่าพื้นที่
จํานวนโครงการและพื้นที่ให้เช่าภายใต้การบริหารจัดการของ CPN ณ สิ้นปี 2561 ธุรกิจศูนย์การค้า
รวม จํานวน
CPN
CPNREIT
1
ตร.ม.
จํานวน
ตร.ม.
จํานวน
ตร.ม.
CPNCG จํานวน
2
ตร.ม.
3
อัตราการเช่า/ ขายพืน ้ ที่ (ร้อยละ) ณ สิ้นปี 2561
ศูนย์การค้าในกรุงเทพ และปริมณฑล
14
916,214
14
768,917
3
147,297
94
ศูนย์การค้าในต่างจังหวัด
18
784,094
18
716,888
2
67,206
91
รวมธุรกิจศูนย์การค้า
32
1,700,308
32
1,485,805
5
214,503
93
อาคารสํานักงาน
7
171,985
5
56,174
2
34,320
โรงแรม
2
561 ห้อง
1
259 ห้อง
1
302 ห้อง
อาคารสําหรับทีพ ่ ก ั อาศัย (ขาย)
3
1,227 ยูนต ิ
3
1,227 ยูนต ิ
1
81,490
85 97
จํานวนโครงการและพื้นที่ให้เช่าภายใต้การบริหารจัดการของ GLAND ณ สิ้นปี 2561 รวม
ธุรกิจ
GLAND จํานวน
ตร.ม.
จํานวน
อาคารสํานักงาน
3
148,917
1
67,440
2
อาคารสําหรับทีพ ่ ก ั อาศัย (ขาย)
1
1,991 ยูนต ิ
1
1,991 ยูนต ิ
98
26,163
71
1
26,163
ตร.ม.
อัตราการเช่า/ ขายพื้นที่ (ร้อยละ)
ตร.ม.
หมายเหตุ
81,477
ณ สิ้นปี 2561
96
สินทรัพย์ที่อยู่ภายใต้ CPNREIT ประกอบด้วยศูนย์การค้าจํานวน 5 แห่ง ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต และเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช
90
GLANDRT
จํานวน
พื้นที่ค้าปลีกในอาคารต่าง ๆ
2
สินทรัพย์ที่อยู่ภายใต้ CPNCG คือ อาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์
3
อัตราการเช่าพื้นที่ของธุรกิจในโรงแรมเป็นค่าเฉลี่ยของอัตราการเช่าพื้นที่ในปี 2561
96
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
สรุปผลการดําเนินงานของ GLAND ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2561 สิ น ทรั พ ย์ ที่ ดํ า เนิ น การแล้ ว ของ GLAND ประกอบด้วยอาคารสํานักงานให้เช่า 3 อาคาร (อัตรา การเช่าพื้นที่รวมอยู่ที่ร้อยละ 96) ซึ่งนับรวมอาคารสํานักงาน 2 โครงการที่ ไ ด้ โ อนไปยั ง ทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสังหาริมทรัพย์ อาคารสํานักงาน จีแลนด์ (GLANDRT) รวม ถึงอสังหาริมทรัพย์เพื่อการขาย 1 โครงการ (จํานวน 1,991 ยูนิต โดย ณ สิ้นปี 2561 เหลืออยู่ 41 ยูนิต) พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในอาคาร สํานักงานและที่พักอาศัยรวมกัน 26,163 ตร.ม. (อัตราการเช่า พื้นที่รวมอยู่ที่ร้อยละ 71) และมีที่ดินที่ยังไม่ได้พัฒนาอีก 4 แปลง โดยแบ่งเป็น ทีด ่ น ิ สําหรับการพัฒนาโครงการรูปแบบผสม จํานวน 2 แปลง และที่ดินสําหรับการพัฒนาโครงการที่พักอาศัย 2 แปลง บริษัทฯ รับรู้ผลการดําเนินงานของ GLAND ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2561 เป็นต้นไป โดยในปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้รวมจาก GLAND จํานวน 498 ล้านบาท และไม่มีผลต่อกําไรสุทธิของ บริษท ั ฯ อย่างมีนย ั สําคัญ ซึง ่ แตกต่างจากงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ของ GLAND เนือ ่ งจาก GLAND บันทึกมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ เพือ ่ การลงทุนด้วยวิธม ี ล ู ค่ายุตธ ิ รรม และมีการรับรูก ้ าํ ไรจากการ เปลีย ่ นแปลงมูลค่ายุตธ ิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพือ ่ การลงทุน ใน ขณะทีบ ่ ริษท ั ฯ บันทึกมูลค่าอสังหาริมทรัพย์เพือ ่ การลงทุนด้วยวิธี ราคาทุน โดยทัง ้ 2 วิธด ี ง ั กล่าวเป็นวิธท ี เี่ ลือกใช้ได้ตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ดังนัน ้ เมือ ่ ทํางบการเงินรวม จึงใช้วธ ิ ก ี าร บันทึกมูลค่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนวิธีเดียวกับบริษัทฯ ทํ า ให้ ไ ม่ มี ก ารรั บ รู้ ร ายได้ จ ากการเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ของอสังหาริมทรัพย์เพือ ่ การลงทุน
รายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา บริษัทฯ มีรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจําที่ไม่นํามารวมในการ วิ เ คราะห์ ผ ลการดํ า เนิ น งานประจํ า ปี 2561 เมื่ อ เที ย บกั บ ช่ ว ง เดียวกันในปีก่อน ดังต่อไปนี้ • ในปี 2561 บริ ษั ท ฯ มี ร ายการปรั บ ปรุ ง ทางบั ญ ชี สํ า หรั บ การบันทึกค่าเช่าทีด ่ น ิ ของโครงการเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ตามสัญญาฉบับเดิม จํานวน 393 ล้านบาท โดยบันทึกเป็น รายได้อน ื่ เนือ ่ งจากบริษท ั ฯ ได้ขยายระยะเวลาการเช่าทีด ่ น ิ และทํา สัญญาเช่าทีด ่ น ิ ฉบับใหม่ มีผลตัง ้ แต่วน ั ที่ 28 มิถน ุ ายน 2561 สิ้นสุดปี 2598 และปี 2603 (บางส่วน) โดยบริษัทฯ ได้บันทึก รายการดังกล่าวเป็นรายได้อื่นในไตรมาส 3 ปี 2561 จํานวน 308 ล้านบาท และในไตรมาส 4 ปี 2561 อีกจํานวน 85 ล้านบาท • ในไตรมาส 3 ปี 2560 บริษัทฯ ได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน ตามกรมธรรม์ประกันการก่อการร้ายจํานวน 3,500 ล้านบาท โดยบันทึกเป็นรายได้อื่น • ในไตรมาส 4 ปี 2560 บริษทั ฯ บันทึกรายได้สทุ ธิจากการแปลง CPNRF เป็น CPNREIT และการให้เช่าศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวัล พัทยา บีช (บางส่วน) และโรงแรมฮิลตัน พัทยา จํานวน 175 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรายการค่าธรรมเนียม เรียกเก็บจาก CPNREIT ในการดําเนินการให้เช่าสินทรัพย์
รายได้รวม ในปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้รวม 36,065 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.8 จากปีก่อน ในขณะที่รายได้จากการดําเนินงานหลัก (ไม่รวม รายได้อน ื่ ) เพิม ่ ขึน ้ ประมาณร้อยละ 18.0 จากปีกอ ่ น ซึง ่ เป็นไปตาม ทีบ ่ ริษท ั ฯ คาดการณ์ไว้ โดยรายได้รวมของบริษท ั ฯ มีองค์ประกอบ ที่สําคัญดังต่อไปนี้ รายได้จากการให้เช่าและให้บริการ ในปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้จากการให้เช่าและให้บริการจํานวน 28,068 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 7.7 จากปีกอ ่ น แม้วา่ ได้รบ ั ผลกระทบ จากการปรับปรุงใหญ่ของศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และการโอน ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวล ั พัทยา บีช (บางส่วน) เข้า CPNREIT แต่โดยรวมยังคงเติบโตได้ดี โดยรายได้ที่เพิ่มขึ้นมีสาเหตุหลักมา จากปัจจัยดังนี้ • รายได้จากศูนย์การค้าใหม่ที่เปิดดําเนินการในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ซึ่ง ทั้งสองโครงการได้เปิดให้บริการตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2560 และจากศูนย์การค้าใหม่ที่เปิดดําเนินการในปี 2561 ได้แก่ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า ซึ่งได้เปิดให้บริการตั้งแต่ เดือนกันยายน 2561 • ผลประกอบการที่ ดี ข้ึ น ของศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ป รั บ ปรุ ง ใหญ่ ใ น ปี 2560 และทยอยเปิดให้บริการในปี 2561 ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 • ผลประกอบการของศูนย์การค้าเดิมทีเ่ ติบโตขึน้ อย่างโดดเด่น เช่น เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช และเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เป็นต้น รายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม ในปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม จํานวน 1,849 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 13.4 จากปีกอ ่ น โดยรายได้ ที่เพิ่มขึ้นเป็นผลจาก • ศูนย์อาหารใหม่ที่เปิดให้บริการในปี 2560 และปี 2561 ที่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า รวมถึงศูนย์อาหารทีป ่ รับปรุงใหม่และเปิดให้ บริการในปี 2561 ทีเ่ ซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 • ผลประกอบการทีแ่ ข็งแกร่งของศูนย์อาหารเดิมในศูนย์การค้า ทัง ้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด อาทิ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล เชี ย งใหม่ เซ็ น ทรั ล มารี น า และเซ็ น ทรั ล เฟสติวัล สมุย เป็นต้น รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม ธุ ร กิ จ โรงแรมถื อ เป็ น ธุ ร กิ จ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท ฯ โดยในปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม จํานวน 1,208 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 10.1 จากปีกอ ่ น เป็นผลจาก
91
การปรับวิธีการรับรู้รายได้ค่าบริการสําหรับทั้งปี 2561 จากเดิม บันทึกเป็นรายได้สท ุ ธิ ทําให้รายได้และต้นทุนเพิม ่ ขึน ้ สําหรับผลการ ดําเนินกิจการโรงแรมยังคงมีการเติบโตเพียงเล็กน้อย โดยอัตรา การเข้าพักเฉลี่ยทั้งปีของโรงแรมฮิลตัน พัทยา อยู่ที่ร้อยละ 93 ลดลงจากร้อยละ 94 ในปีก่อนหน้า และของโรงแรมเซ็นทารา และ คอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี อยู่ที่ร้อยละ 75 ลดลงจากร้อยละ 80 ในปี ก่ อ นหน้ า เป็ น ผลมาจากปริ ม าณการเข้ า พั ก ของ นักท่องเที่ยวลดลง อย่างไรก็ดี ราคาห้องพักเฉลี่ยได้ปรับตัวเพิ่ม ขึ้นเล็กน้อยในโรงแรมทั้งสองแห่ง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ บริษท ั ฯ เริม ่ รับรูร้ ายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ โครงการ คอนโดมิเนียมตัง ้ แต่ปี 2561 เป็นต้นไป โดยบริษท ั ฯ มีรายได้จาํ นวน 2,762 บาท จากการโอนคอนโดมิเนียมได้กว่าร้อยละ 97 ใน 3 โครงการ ได้แก่ เอสเซ็นท์ ระยอง เอสเซ็นท์ เชียงใหม่ และเอสเซ็นท์ ขอนแก่น รายได้อื่น ในปี 2561 บริษัทฯ มีรายได้อื่นจํานวน 2,178 ล้านบาท ส่วนใหญ่ ประกอบด้ ว ยรายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มบริ ห ารอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ CPNREIT และ CPNCG จํานวน 767 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 56.0 จากปีก่อน สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสินทรัพย์ ของ CPNREIT ที่ได้ลงทุนเพิ่มเติมในเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช ตั้งแต่ปลายปี 2560
ต้นทุนรวม ในปี 2561 บริษัทฯ มีต้นทุนรวม 17,579 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.1 จากปี ก่ อ น โดยต้ น ทุ น รวมของบริ ษั ท ฯ มี อ งค์ ป ระกอบที่ สําคัญดังต่อไปนี้ ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ ได้แก่ ค่าสาธารณูปโภค ค่าจ้างบริการ รักษาความปลอดภัย และรักษาความสะอาด ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ พนักงาน ค่าเช่าทีด ่ น ิ ค่าเสือ ่ มราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าซ่อมแซม ค่าเบี้ยประกัน และภาษีโรงเรือนของทรัพย์สินที่ครอบครองไว้ เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า ในปี 2561 บริษัทฯ มีต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการเท่ากับ 14,142 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 จากปีก่อน ซึ่งมากกว่าการเพิ่มขึ้น ของรายได้จากการให้เช่าและให้บริการ โดยการเพิม ่ ขึน ้ ของต้นทุน ค่าเช่าและค่าบริการมีสาเหตุหลักมาจากปัจจัยดังนี้ • ค่าเช่าที่ดินและตัดจําหน่ายสิทธิการเช่าที่ดินของศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ที่เพิ่มขึ้น โดยที่ดินดังกล่าวได้มี การทําสัญญาเช่าฉบับใหม่เมือ ่ วันที่ 28 มิถน ุ ายน 2561 และจะสิน ้ สุด ในปี 2598 และปี 2603 (บางส่วน) จึงมีการบันทึกค่าเช่าทีด ่ น ิ ดังกล่าวตามวิธเี ส้นตรง (Straight-line) ตลอดอายุสญ ั ญาเช่า
92
•
•
•
ต้นทุนการดําเนินการและค่าเสือ ่ มราคาของศูนย์การค้าเปิดใหม่ และศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ป รั บ ปรุ ง ใหม่ แ ละเปิ ด ตั ว ในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 และศูนย์การค้าเปิดใหม่ในปี 2561 ได้แก่ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า ต้นทุนค่าสาธารณูปโภคซึง ่ เป็นต้นทุนหลัก (คิดเป็นประมาณ ร้อยละ 30 ของต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ) ได้มีการปรับตัว เพิม ่ ขึน ้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ ่ น ซึง ่ เป็นผลจากอัตราเฉลีย ่ ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) ได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่กลางปี 2560 เป็นต้นมา อย่างไรก็ดี บริษัทฯ มีการใช้ ปริมาณไฟฟ้าลดลงจากช่วงเดียวกันของปีกอ ่ น เป็นผลจาก มาตรการประหยั ด พลั ง งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล โดยต้ น ทุ น ค่ า สาธารณูปโภคในส่วนของศูนย์การค้าเดิมเพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 0.9 จากปีกอ ่ น โดยส่วนหนึง ่ เป็นผลจากการทีบ ่ ริษท ั ฯ ดําเนินมาตรการเกีย ่ วกับการประหยัดพลังงานอย่างต่อเนือ ่ ง ค่าซ่อมแซมบํารุงรักษา และค่าใช้จ่ายบุคลากรเพิ่มขึ้นเพื่อ รองรับการเปิดศูนย์การค้าใหม่
ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ ต้นทุนทางตรงในการประกอบ ธุรกิจศูนย์อาหาร รวมถึงค่าเสื่อมราคาและค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ และงานตกแต่งศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้า ในปี 2561 บริษท ั ฯ มีตน ้ ทุนอาหารและเครือ ่ งดืม ่ เท่ากับ 1,448 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 13.0 จากปีกอ ่ น และเพิม ่ ขึน ้ ใกล้เคียงกับการเติบโต ของรายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งต้นทุนเพิ่มสูงขึ้น จากศูนย์อาหารที่เปิดใหม่ในปี 2560 และปี 2561 ได้แก่ เซ็นทรัล พลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า รวมถึงการบริหารศูนย์อาหารเดิมที่อยู่ในโซน Food Destination ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และรั ก ษาต้ น ทุ น ให้ อ ยู่ ในระดับที่เหมาะสมอย่างสมํา่ เสมอ ต้นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรม ในปี 2561 บริ ษั ท ฯ มี ต้ น ทุ น จากการประกอบกิ จ การโรงแรม จํานวน 423 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.1 จากปีก่อน เป็นผล จากการปรับวิธีการรับรู้รายได้ค่าบริการสําหรับทั้งปี 2561 จาก เดิมบันทึกเป็นรายได้สุทธิ ทําให้รายได้และต้นทุนเพิ่มขึ้น ในส่วน ของต้ น ทุ น จากการดํ า เนิ น กิ จ การโรงแรมนั้ น เป็ น ไปในทิ ศ ทาง เดี ย วกั น กั บ รายได้ ข องโรงแรมที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยทั้ ง สองโรงแรมมี การบริหารจัดการต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในส่วนของ ห้องพักและอาหารและเครื่องดื่ม ต้นทุนจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2561 บริษัทฯ มีต้นทุนจากการขายอสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 1,565 ล้านบาท ซึ่งสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ขายอสังหาริมทรัพย์ของโครงการเอสเซ็นท์ ระยอง เอสเซ็นท์ เชียงใหม่ และเอสเซ็นท์ ขอนแก่น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ได้แก่ ค่าใช้จ่ายบุคลากรส่วนกลางและ ผูบ ้ ริหาร ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ ค่าเครือ ่ งใช้สาํ นักงานและของใช้ สิน ้ เปลือง ค่าธรรมเนียมและค่าทีป ่ รึกษาต่าง ๆ รวมถึงค่าเสือ ่ มราคา และค่าตัดจําหน่ายอุปกรณ์สํานักงานและสินทรัพย์ของโรงแรม บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการบริหารในปี 2561 เท่ากับ 6,114 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.7 จากปีก่อน เป็นผลจากค่าใช้จ่ายบุคลากร ที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ค่าใช้จ่ายทางการตลาดที่ เพิ่มขึ้นตามกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นในศูนย์การค้า รวมถึงมีค่าใช้จ่าย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม่ ใ นปี 2561 อาทิ ค่ า ใช้ จ่ า ยการโอนโครงการ คอนโดมิเนียม ค่าเช่าโรงแรมฮิลตัน พัทยา ที่จ่ายให้ CPNREIT และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าซื้อกิจการ GLAND ส่งผล ให้สัดส่วนค่าใช้จ่ายในการบริหารต่อรายได้รวมอยู่ที่ร้อยละ 17.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 16.4 ในปีช่วงเดียวกันของปีก่อน
อัตรากําไรขัน ้ ต้นและอัตรากําไรจากการดําเนินงาน บริษท ั ฯ มีอต ั รากําไรขัน ้ ต้นไม่รวมรายได้อน ื่ สําหรับปี 2561 ร้อยละ 48.1 ลดลงจากร้อยละ 49.6 ในปีก่อน และมีอัตรากําไรจากการ ดําเนินงานไม่รวมรายได้อน ื่ ร้อยละ 34.5 ลดลง จากร้อยละ 36.6 ในปีกอ ่ น
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
หากไม่รวมธุรกิจขายอสังหาริมทรัพย์ อัตรากําไรขั้นต้นจะอยู่ ทีร่ อ ้ ยละ 49.8 ขณะทีอ ่ ต ั รากําไรขัน ้ ต้นจากการขายคอนโดมิเนียม เท่ากับร้อยละ 43.3 โดยบริษัทฯ สามารถรักษาอัตรากําไรขั้นต้น และอัตรากําไรจากการดําเนินงานให้อยูใ่ นระดับใกล้เคียงกับเมือ ่ ปี ก่ อ นได้ แม้ ว่ า ต้ น ทุ น ค่ า เช่ า และบริ ก ารได้ ป รั บ เพิ่ ม ขึ้ น จากการ ต่ออายุสญ ั ญาเช่าทีด ่ น ิ ของศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ในระหว่างปีก็ตาม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะควบคุม ค่าใช้จา่ ยในการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพจากการปฏิบต ั ต ิ าม มาตรการลดต้นทุนต่าง ๆ เพือ ่ รักษาอัตรากําไรจากการดําเนินงาน ให้ได้ต่อไป
กําไรสุทธิ ในปี 2561 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิเท่ากับ 10,823 ล้านบาท เติบโต ร้อยละ 9.4 จากปีกอ ่ น เป็นผลจากการเติบโตของรายได้ในทุกธุรกิจ การบริ ห ารค่ า ใช้ จ่ า ยอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเหมาะสมกั บ สภาพแวดล้อมการดําเนินธุรกิจ รวมถึงการเพิม ่ ขึน ้ ของส่วนแบ่ง กําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม โดยส่วนใหญ่มาจากกําไรของ CPNREIT ทีเ่ ติบโตขึน ้ ในขณะทีต ่ น ้ ทุนทางการเงินปรับตัวเพิม ่ ขึน ้ จากปีก่อน เนื่องจากมีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสูงขึ้น จากการ เข้าซื้อกิจการ GLAND
ตารางที่ 2 : สรุปผลการดําเนินงาน
หน่วย : ล้านบาท
เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ปี 2560
ปี 2561
รายได้จากการให้เช่า และให้บริการ ศุนย์การค้า อาคารสํานักงาน รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้อื่น ๆ รายได้รวม ไม่รวมรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจํา ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน ต้นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรม ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ต้นทุนการขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนรวม ค่าใช้จ่ายการตลาดและบริหาร กําไรจากการดําเนินงาน ไม่รวมรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจํา ต้นทุนทางการเงินสุทธิ / ภาษี / อื่นๆ กําไรสุทธิ ไม่รวมรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจํา
26,057 25,369 688 1,097 1,631 0 5,810 34,595 30,875 12,894 12,626 268 343 1,281 0 14,518 5,094 14,983 11,314 1,415 13,568 9,893
28,068 27,371 698 1,208 1,849 2,762 2,571 36,458 36,065 14,142 13,877 265 423 1,448 1,566 17,579 6,114 12,764 12,371 1,549 11,216 10,823
8 8 1 10 13 100 (56) 5 17 10 10 (1) 23 13 100 21 20 (15) 9 9 (17) 9
กําไรสุทธิต่อหุ้นพื้นฐาน (บาท) ไม่รวมรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจํา
3.02 2.20
2.50 2.41
(17) 9
93
โครงสร้างทางการเงิน บริษัทฯ มีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจาก 9,529 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เป็น 30,398 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มาจากเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพื่อซื้อหุ้น GLAND ในช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม 2561 และการรวมหนีส ้ น ิ ที่มีภาระดอกเบี้ยของ GLAND มาอยู่ในงบการเงินรวมของ บริษัทฯ ขณะที่อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยถ่วงนํา้ หนัก ณ สิ้นปี 2561 อยู่ที่ร้อยละ 3.31 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.17 เมื่อสิ้นปีก่อน โดย มีหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ในสัดส่วนร้อยละ 46 และอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัวในสัดส่วนร้อยละ 54 เนื่องจากมีการรวมหนี้สิน ที่ มี ภ า ร ะ ด อ ก เ บี้ ย ข อ ง G L A N D ซึ่ ง มี อั ต ร า ด อ ก เ บี้ ย ที่สูงกว่าเฉลี่ยของบริษัทฯ อั ต ราหนี้ สิ น ที่ มี ภ าระดอกเบี้ ย สุ ท ธิ ต่ อ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น อยู่ ที่ 0.37 เท่า เพิม ่ ขึน ้ จาก 0.07 เท่า ณ สิน ้ ปีกอ ่ น เป็นผลมาจากหนีส ้ น ิ ที่มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากเหตุผลที่กล่าวไว้เบื้องต้น ประกอบ กับเงินสดและเงินลงทุนชั่วคราวที่ลดลง บริษท ั ฯ ยังคงให้ความสําคัญเกีย ่ วกับการบริหารจัดการโครงสร้าง ทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุ่นต่อสภาวะตลาด เงินตลาดทุนที่ผันผวน และรักษาต้นทุนทางการเงินให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจต่อไปในอนาคต
เงินปันผล บริษท ั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ ในอัตราไม่นอ ้ ย กว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิประจําปี เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นซึ่ง กําหนดจะจัดขึน ้ ในวันที่ 26 เมษายน 2562 ให้มก ี ารจ่ายเงินปันผล จากกําไรสุทธิประจําปี 2561 ในอัตราหุน ้ ละ 1.10 บาท โดยเงินปันผล ดั ง กล่ า วคิ ด เป็ น อั ต ราการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลที่ ร้ อ ยละ 44.0 ของ กําไรสุทธิจากการดําเนินงานตามงบการเงินรวมสําหรับปี 2561
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษท ั ฯ มีสน ิ ทรัพย์รวมเท่ากับ 161,708 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จํ า นวน 41,134 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 34.1 จากปีก่อน โดยสินทรัพย์ของบริษัทฯ ประกอบด้วย
สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษัทฯ ประกอบด้วย เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าสุทธิ ลูกหนี้อื่น และโครงการอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา
94
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษท ั ฯ มีสน ิ ทรัพย์หมุนเวียนเท่ากับ 15,301 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ จํานวน 2,187 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.7 จาก ปีกอ ่ น โดยมีความเคลือ ่ นไหวของสินทรัพย์หมุนเวียนดังต่อไปนี้ - การรวมธุรกิจของ GLAND ทําให้สน ิ ทรัพย์หมุนเวียนเพิม ่ ขึน ้ 4,006 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจากโครงการอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างการพัฒนาจํานวน 3,089 ล้านบาท และสินทรัพย์ หมุนเวียนอื่นจํานวน 917 ล้านบาท - การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้อื่นจํานวน 330 ล้านบาท จากรายได้ ค้างรับรอเรียกเก็บร้านค้า - การลดลงของเงินสดและเงินลงทุนชั่วคราวจํานวน 2,295 ล้านบาท เพื่อนํามาจ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน และการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนของบริษท ั ฯ ประกอบด้วย เงินฝากธนาคาร ทีม ่ ภ ี าระคํา้ ประกัน เงินลงทุนในบริษท ั ร่วมและการร่วมค้า เงินลงทุน ระยะยาวในกิจการที่เกี่ยวข้องกันและอื่น ภาษีเงินได้รอการตัด บั ญ ชี อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น สิ ท ธิ ก ารเช่ า และการใช้ สิ น ทรั พ ย์ ค่ า ความนิ ย ม และเงิ น ลงทุ น ในที่ ดิ น อาคาร และ อุปกรณ์-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษท ั ฯ มีสน ิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนเท่ากับ 146,407 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 38,947 ล้านบาท หรือร้อยละ 36.2 จากปีกอ ่ น โดยมีความเคลือ ่ นไหวของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ดังต่อไปนี้ - การรวมธุรกิจของ GLAND ทําให้สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เพิ่มขึ้น 31,896 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนจํานวน 23,254 ล้านบาท เงินกู้ยืมระยะยาว แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันจํานวน 4,392 ล้านบาท เงินลงทุน ในบริ ษั ท ร่ ว มและการร่ ว มค้ า จํ า นวน 3,382 ล้ า นบาท และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นจํานวน 868 ล้านบาท - การเพิ่มขึ้นของสิทธิการเช่าจํานวน 2,879 ล้านบาท เป็น ผ ล จ า ก ก า ร ต่ อ สั ญ ญ า สิ ท ธิ ก า ร เ ช่ า ที่ ดิ น ข อ ง ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 รวมถึงการจ่ายเงิน เพื่ อ สิ ท ธิ ก ารเช่ า และเช่ า ช่ ว งที่ ดิ น เพื่ อ รองรั บ การขยาย กิจการของบริษัทฯ ในอนาคต - การเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น ลงทุ น ระยะยาวในกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั น จํ า นวน 1,843 ล้ า นบาท โดยสาเหตุ ห ลั ก มาจากการ เข้ า ซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ดุ สิ ต ธานี จํ า กั ด (มหาชน) (“DTC”) ซึ่ง ณ สิ้นปีมีสัดส่วนถือครองที่ร้อยละ 22.58 ของหุ้นทั้งหมด - ค่าความนิยมจํานวน 1,036 ล้านบาท ซึง ่ เกิดขึน ้ จากการเข้าซือ ้ หุ้นสามัญของ GLAND ในสัดส่วนร้อยละ 67.53 ระหว่างปี - การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เป็นผลจากภาษี เงิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี เ พิ่ ม ขึ้ น จากการหั ก ลบรายการทาง ภาษี เงิ น มั ด จํ า รั บ จากลู ก ค้ า ขาดทุ น สะสม ภาระผู ก พั น ผลประโยชน์พนักงาน เป็นต้น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีหนี้สินรวมเท่ากับ 87,532 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 30,838 ล้านบาท หรือร้อยละ 54.4 จาก ปีก่อน โดยหนี้สินของบริษัทฯ ประกอบด้วย
หนี้สินหมุนเวียน หนีส ้ น ิ หมุนเวียนของบริษท ั ฯ ประกอบด้วย เจ้าหนีก ้ ารค้า เจ้าหนีอ ้ น ื่ หนี้สินมีภาระดอกเบี้ยระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินมี ภาระดอกเบี้ ย ระยะสั้ น และที่ ค รบกํ า หนดชํ า ระใน 1 ปี ส่ ว นของ รายได้ ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารรั บ ล่ ว งหน้ า ที่ ถึ ง กํ า หนดรั บ รู้ ภ ายใน หนึ่งปี ส่วนของเจ้าหนี้สิทธิการเช่าที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี และภาษีเงินได้ค้างจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีหนี้สินหมุนเวียนเท่ากับ 24,613 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 10,259 ล้านบาท หรือร้อยละ 71.5 จากปีก่อน โดยมีความเคลื่อนไหวของหนี้สินหมุนเวียนดัง ต่อไปนี้ - การรวมธุรกิจของ GLAND ทําให้หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 2,888 ล้านบาท ซึง ่ ส่วนใหญ่มาจากเจ้าหนีก ้ ารค้าและเจ้าหนี้ อืน ่ จํานวน 1,590 ล้านบาท หนีส ้ น ิ มีภาระดอกเบีย ้ ระยะสัน ้ และ ที่ครบกําหนดชําระใน 1 ปี จํานวน 1,043 ล้านบาท และหนี้สิน หมุนเวียนอื่นจํานวน 255 ล้านบาท - การเพิม ่ ขึน ้ ของหนีส ้ น ิ มีภาระดอกเบีย ้ ระยะสัน ้ และทีค ่ รบกําหนด ชําระใน 1 ปี จํานวน 8,082 ล้านบาท มาจากการกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบั น การเงิ น เพื่ อ นํ า มาชํ า ระการเข้ า ซื้ อ หุ้ น ของ GLAND เป็นหลัก - การเพิม ่ ขึน ้ ของภาษีเงินได้คา้ งจ่ายจํานวน 207 ล้านบาท ซึง ่ สอดคล้องกับกําไรก่อนหักภาษีที่เพิ่มขึ้น
หนี้สินไม่หมุนเวียน
-
-
หนี้ สิ น ภาษี เ งิ น ได้ ร อตั ด บั ญ ชี จํ า นวน 2,035 ล้ า นบาท และหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นจํานวน 248 ล้านบาท การเพิ่ ม ขึ้ น ของหนี้ สิ น มี ภ าระดอกเบี้ ย ระยะยาวจํ า นวน 5,095 ล้านบาท เป็นผลจากการกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน ก า ร เ งิ น เ พื่ อ นํ า ม า บ ริ ห า ร โ ค ร ง ส ร้ า ง ท า ง ก า ร เ งิ น ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพี ย งพอต่ อ แผนการลงทุ น และรั ก ษา อัตราดอกเบี้ยในระดับตํา่ การเพิม ่ ขึน ้ ของเงินมัดจํารับจากลูกค้าจํานวน 834 ล้านบาท ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ จํ า นวนร้ า นค้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามจํ า นวน ศูนย์การค้าที่เพิ่มขึ้น
ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 74,176 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 10,296 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.1 จากปี ก่ อ น โดยมี ค วามเคลื่ อ นไหวของส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ดังต่อไปนี้ - การเพิ่ ม ขึ้ น ของส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไ ม่ มี อํ า นาจควบคุ ม จํ า นวน 6,371 ล้านบาท โดยหลักมาจากการรวมส่วนได้เสียที่ไม่มี อํ า นาจควบคุ ม ของ GLAND คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นถื อ ครอง ร้อยละ 32.47 จํานวน 5,907 ล้านบาท รวมถึงส่วนถือครอง ในบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ย่ อ ยทางอ้ อ มของส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไม่มีอํานาจควบคุมที่เพิ่มขึ้น ตามมูลค่าทุนและจํานวนของ บริษัทย่อยที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี - การเพิม ่ ขึน ้ ของกําไรสะสมทีไ่ ม่ได้จด ั สรรจํานวน 4,117 ล้านบาท ประกอบด้วยกําไรเบ็ดเสร็จสําหรับปีจํานวน 11,189 ล้านบาท หักด้วยการจ่ายเงินปันผลระหว่างปีจาํ นวน 6,283 ล้านบาท และการได้มาซึง ่ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอ ี าํ นาจควบคุมในบริษท ั ย่อย จํานวน 789 ล้านบาท - การลดลงขององค์ประกอบอืน ่ ของส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ จํานวน 191 ล้านบาท โดยหลักมาจากผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงิน ลงทุนเผื่อขาย
หนี้ สิ น ไม่ ห มุ น เวี ย นของบริ ษั ท ฯ ประกอบด้ ว ย หนี้ สิ น มี ภ าระ ดอกเบี้ ย ระยะยาว หนี้ สิ น ภาษี เ งิ น ได้ ร อตั ด บั ญ ชี ภาระผู ก พั น ผลประโยชน์ พ นั ก งาน เจ้ า หนี้ สิ ท ธิ ก ารเช่ า รายได้ ค่ า เช่ า และค่าบริการรับล่วงหน้า เงินมัดจํารับจากลูกค้า เงินคํ้าประกัน สิ ท ธิ ก ารเช่ า และประมาณการหนี้ สิ น จากการรื้ อ ถอนและ การบูรณะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีหนี้สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 62,919 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 20,579 ล้านบาท หรือร้อยละ 48.6 จากปีก่อน โดยมีความเคลื่อนไหวของหนี้สินไม่หมุนเวียน ดังต่อไปนี้ - การรวมธุ ร กิ จ ของ GLAND ทํ า ให้ ห นี้ สิ น ไม่ ห มุ น เวี ย น เพิ่มขึ้น 14,908 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากหนี้สิน มี ภ าระดอกเบี้ ย ระยะยาวจํ า นวน 7,172 ล้ า นบาท รายได้ ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารรั บ ล่ ว งหน้ า จํ า นวน 5,453 ล้ า นบาท
95
ตารางที่ 3 : สรุปฐานะทางการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินลงทุนชั่วคราว สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน1 สิทธิการเช่า ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์รวม หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย - ภายใน 1 ปี หนี้สินหมุนเเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น กําไรสะสม - ยังไม่ได้จัดสรร ส่วนของผู้ถือหุ้นอื่น ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 1
หน่วย : ล้านบาท
ณ สิ้นปี 2561
5,361 7,753 13,114
3,067 12,235 15,301
(43) 58 17
84,972 11,207 1,676 9,605 107,460 120,574
108,412 14,086 1,646 22,262 146,407 161,708
28 26 (2) 132 36 34
2,274 12,080 14,354
10,876 13,737 24,613
378 14 71
7,255 35,085 42,340 56,694
19,522 43,397 62,919 87,532
169 24 49 54
50,890 12,990 63,880
55,094 19,082 74,176
8 47 16
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน บันทึกบัญชีตามราคาต้นทุนและตัดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรงตามอายุของสินทรัพย์ ทั้งนี้ มูลค่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนตามราคาประเมิน อยู่ที่ 219,161 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 (180,409 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ หมายเหตุประกอบงบการเงินประจําปี 2561 ข้อ 14 หัวข้อ “อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน”
96
เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
ณ สิ้นปี 2560
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
สภาพคล่อง และความเพียงพอ ของเงินทุน แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน กระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดจํานวน 3,021 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ จํานวน 603 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 24.9 จากปีก่อน โดยรายการเคลื่อนไหวของเงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสดมีดังต่อไปนี้ กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน ในปี 2561 บริษท ั ฯ มีเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานจํานวน 17,169 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินสดสุทธิรับจากผลกําไรขาดทุนที่เพิ่ม ขึน ้ จากผลการดําเนินงานทีเ่ ติบโตขึน ้ และเงินสดทีเ่ พิม ่ ขึน ้ จากการ เปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ดํ า เนิ น งานระหว่ า งปี อาทิ การเพิ่มขึ้นในรายได้เค่าเช่ารับและค่าบริการรับล่วงหน้า การเพิ่ม ขึ้นของเจ้าหนี้การค้าและอื่น ๆ ทําให้มีสภาพคล่องที่เหมาะสม กับฐานธุรกิจที่ใหญ่ขึ้น เนื่องจากมีการเปิดศูนย์การค้าแห่งใหม่ และมีการปรับปรุงศูนย์การค้าเดิมระหว่างปี กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2561 บริ ษั ท ฯ ใช้ เ งิ น สดสุ ท ธิ ไ ปในกิ จ กรรมลงทุ น จํ า นวน 18,450 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินสดจ่ายเพื่อซื้อธุรกิจของ GLAND จํานวน 9,711 ล้านบาท และการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (CAPEX) ที่เพิ่มขึ้นจากศูนย์การค้าที่เปิดใหม่ในปี 2561 ได้แก่ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า รวมถึงการปรับปรุงศูนย์การค้าเดิม อาทิ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี ประกอบกับการจ่ายเงินสดชําระสิทธิการเช่าจากการต่อสัญญา สิทธิการเช่าที่ดินของศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 และ การจ่ายเงินสดเพื่อลงทุนระยะยาวใน DTC ขณะเดียวกันบริษัทฯ มี เ งิ น ล ง ทุ น ชั่ ว ค ร า ว ล ด ล ง เ พื่ อ บ ริ ห า ร ส ภ า พ ค ล่ อ ง ใ ห้ มี ประสิทธิภาพ และตามขนาดธุรกิจที่ใหญ่ขึ้น กระแสเงินสดจากกิจกรรมหาเงิน ในปี 2561 บริษัทฯ ได้รับเงินสดสุทธิจากกิจกรรมหาเงินจํานวน 1,884 ล้านบาท มาจากเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและผู้ลงทุน สถาบันเพือ ่ มาบริหารโครงสร้างทางการเงินให้เหมาะสมกับสภาวะ ตลาดเงินตลาดทุนและแผนการดําเนินธุรกิจ ขณะทีบ ่ ริษท ั ฯ มีการ ใช้เงินสําหรับการเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสียในความเป็นเจ้าของใน บริษัทย่อย ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการรวมธุรกิจของ GLAND และ การจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น
รายจ่ายลงทุน ในปี 2561 บริษท ั ฯ ใช้เงินลงทุนจํานวน 26,042 ล้านบาท ประกอบ ด้วย การซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการในอนาคตและการพัฒนา โครงการใหม่จาํ นวน 6,746 ล้านบาท การลงทุนเพื่อปรับปรุงและ เพิ่มมูลค่าโครงการที่มีอยู่เดิมจํานวน 3,515 ล้านบาท และการ ลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ บบผสม ได้ แ ก่ โครงการที่พักอาศัย จํานวน 2,174 ล้านบาท และการเข้าซื้อหุ้น GLAND จํานวน 13,607 ล้านบาท
แผนธุรกิจในอนาคต บริษัทฯ ตั้งเป้าหมายทางธุรกิจในระยะ 5 ปี (ปี 2562-2566) ที่จะ มีรายได้เติบโตในอัตราเฉลี่ย (CAGR) อย่างน้อยร้อยละ 13 ต่อปี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว บริษัทฯ ได้กําหนดแนวทางการ ขยายธุรกิจในรูปแบบการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบ ผสม (Mixed-use Development) ประกอบด้วย การพัฒนา โครงการศูนย์การค้าในรูปแบบใหม่ ๆ ทัง ้ ในประเทศและต่างประเทศ การปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ ก ารค้ า เดิ ม เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า และการพั ฒ นา โครงการอสังหาริมทรัพย์รป ู แบบอืน ่ ๆ ทีเ่ กือ ้ หนุนกัน เช่น ทีพ ่ ก ั อาศัย โรงแรม และอาคารสํานักงาน ตลอดจนการปรับปรุงกระบวนการ ทํางานให้มป ี ระสิทธิภาพมากขึน ้ เพือ ่ ยกระดับศูนย์การค้าให้มค ี วามทันสมัย พร้อมมอบประสบการณ์ ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองต่อรูปแบบการใช้ชีวิตของลูกค้าที่ เปลี่ยนแปลงไปอยู่เสมอ ทั้งลูกค้าชาวไทยและนักท่องเที่ยวชาว ต่างชาติ บริษท ั ฯ ได้ทาํ การศึกษาโอกาสทางธุรกิจค้าปลีกในรูปแบบ ใหม่ ๆ รวมทัง ้ นวัตกรรมด้านการออกแบบและตกแต่งศูนย์การค้า นอกจากนั้น เพื่อการเติบโตตามเป้าหมายในอนาคตอย่างยั่งยืน บริษท ั ฯ ได้ศก ึ ษาโอกาสการลงทุนในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศที่ มี โ อกาสและศั ก ยภาพในการเติ บ โต อาทิ มาเลเซี ย และเวียดนาม
97
โครงการพัฒนาศูนย์การค้า การขยายธุรกิจในประเทศ บริษัทฯ ได้ประกาศแผนเปิดศูนย์การค้าใหม่ในช่วงปี 2562 ถึงต้น ปี 2563 จํานวน 2 แห่ง ได้แก่ 1) เซ็นทรัล วิลเลจ ซึง ่ เป็นลักชูรเี่ อาท์เล็ต ระดับโลกแห่งแรกในประเทศไทย โดยคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ ภายในไตรมาส 3 ปี 2562 และ 2) เซ็นทรัลพลาซา อยุธยา ซึ่งคาด ว่าจะเปิดให้บริการในต้นปี 2563 บริษท ั ฯ ดําเนินแผนปรับปรุงศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ อย่างต่อเนือ ่ ง โดยคาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ภายในไตรมาส 1 ปี 2562 และได้เริ่ม ดําเนินการปรับปรุงเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล และเซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้ า ว โดยคาดว่ า แผนการปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ ก ารค้ า ดังกล่าวจะทยอยเสร็จภายในปี 2562 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ เล็ ง เห็ น โอกาสที่ จ ะพั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพย์รูปแบบผสม (Mixed-use project) ในประเทศ เพื่อต่อยอดธุรกิจให้เติบโตในระยะยาว และสร้างผลตอบแทนที่ดี ได้ในอนาคต โดยในปี 2560 บริษัทฯ ประกาศแผนการร่วมทุนกับ บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) (“DTC”) เพื่อลงทุนในการ พั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รู ป แบบผสม ประกอบด้ ว ย โรงแรม ที่พักอาศัย ศูนย์การค้า และอาคารสํานักงาน บนที่ดิน บริเวณหัวมุมถนนสีลมและถนนพระราม 4 โครงการของ GLAND บริษัทฯ อยู่ระหว่างทบทวนแผนการ พัฒนาโครงการบนที่ดินเปล่าที่อยู่ภายใต้ GLAND ซึ่งเป็นทําเล ที่มีศักยภาพสูงในกรุงเทพฯ อย่างต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะได้ข้อ สรุ ป ภายในปี 2562 ในขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท ฯ มี แ ผนที่ จ ะเพิ่ ม ประสิทธิภาพในสินทรัพย์ที่ดําเนินการแล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเติบโตของ GLAND ต่อไปใน อนาคต
98
การขยายธุรกิจต่างประเทศ ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ ได้ ร่ ว มพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า Central i-City ในประเทศมาเลเซีย ด้วยบริษท ั ฯ เล็งเห็นถึงโอกาสเติบโตทางธุรกิจ และเพือ ่ เป็นการกระจายความเสีย ่ งในการลงทุน จึงได้มองโอกาส การพัฒนาโครงการใหม่ ๆ ในพืน ้ ทีท ่ ม ี่ ศ ี ก ั ยภาพ โครงการ Central i-City เป็นการร่วมทุนระหว่าง CPN ร้อยละ 60 และ I-R&D Sdn. Bhd (“IRD”) ร้อยละ 40 บริษัทลูกของ I-Berhad ปัจจุบัน โครงการอยูร่ ะหว่างการตกแต่งศูนย์การค้าทัง ้ ภายนอกและภายใน โดยมีแผนกําหนดเปิดให้บริการในเดือนมีนาคม 2562 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ อยู่ ร ะหว่ า งเตรี ย มแผนการลงทุ น ในประเทศเวี ย ดนาม ซึ่ ง เป็ น ตลาดที่ มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตที่ โ ดดเด่ น และจะเป็ น แรง ขับเคลื่อนสําคัญในการเติบโตของธุรกิจระยะยาวอีกแห่งหนึ่ง ในภูมิภาค การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม บริษัทฯ เล็งเห็นศักยภาพในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าใน ลักษณะพื้นที่แบบผสม (Mixed-use project) โดยวางแผนใช้ ประโยชน์จากที่ดินที่เหลืออยู่ในบริเวณศูนย์การค้าในปัจจุบันเพื่อ พัฒนาธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่น ๆ อาทิ โครงการที่พักอาศัย อาคาร สํานักงาน และโรงแรม เพือ ่ สนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้าซึง ่ เป็นธุรกิจ หลักให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสร้างมูลค่าเพิ่มแก่บริษัทฯ โครงการที่พักอาศัย ปัจจุบันบริษัทฯ ได้เปิดตัวโครงการที่พัก อาศัยรูปแบบคอนโดมิเนียมจํานวน 7 โครงการ ในกรุงเทพฯ และ ต่างจังหวัด และโครงการที่พักอาศัยรูปแบบบ้านเดี่ยวจํานวน 1 โครงการในกรุงเทพฯ และยังคงศึกษาบริเวณทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการ พัฒนาโครงการทีพ ่ ก ั อาศัยอย่างต่อเนือ ่ ง โดยมีแผนการประกาศ โครงการใหม่ในอนาคตต่อไป
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 19
การวิ เ คราะห์ แ ละคํ า อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ
ตารางที่ 4 : ความคืบหน้าของโครงการในอนาคต โครงการ
ศูนย์การค้า
พื้นที่
กําหนดเสร็จ
ปี 2561
ปี 2562
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
ตร.ม. ให้เช่า
ไตรมาส/ปี
40,000
3/2562
33,000
3/2561
รอสรุป
1/2563
89,700
1/2562
ห้อง
ไตรมาส/ปี
358
4/2562
ต่างจังหวัด เอสเซ็นท์ ระยอง
419
1/2561
พร้อมโอน
เอสเซ็นท์ เชียงใหม่
400
1/2561
พร้อมโอน
เอสเซ็นท์ ขอนแก่น
408
2/2561
เอสเซ็นท์ นครราชสีมา
380
3/2562
ยอดจองร้อยละ 100
เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงราย
312
2/2562
ยอดจองร้อยละ 100
พร้อมโอน
เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงใหม่
450
2/2562
ยอดจองร้อยละ 100
พร้อมโอน
เอสเซ็นท์ อุบลราชธานี
395
2563
ที่พักอาศัย - บ้านเดี่ยว
ยูนิต
ไตรมาส/ปี
71
4/2561
ในประเทศ - กรุงเทพฯ เซ็นทรัล วิลเลจ ในประเทศ - ต่างจังหวัด เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า เซ็นทรัลพลาซา อยุธยา ต่างประเทศ เซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ (มาเลเซีย)
ที่พักอาศัย - คอนโดมิเนียม กรุงเทพฯ ฟีล พหล 34
กรุงเทพฯ นิยาม บรมราชชนนี
เปิดตัว
เปิดบริการ
ก่อสร้าง ตกแต่ง และเจรจาร้านค้า
เปิดบริการวันที่ 10 ก.ย. 2561 เปิดตัว
ก่อสร้าง ตกแต่ง และเจรจาร้านค้า
ก่อสร้าง ตกแต่ง และเจรจาร้านค้า
เปิดบริการ
เปิดตัว
พร้อมโอน
พร้อมโอน พร้อมโอน
เปิดตัว
เปิดตัวเฟสแรก (9 ยูนิต)
99
ผลการดําเนินงาน ด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืน CPN ติดตามผลการดําเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ควบคูไ่ ป กับการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์องค์กร เพื่อมุ่งสู่ การเป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชน (Center of Community) และ ศูนย์กลางของการใช้ชีวิต (Center of Life)
100
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ CPN ให้ความสําคัญกับการรักษาและสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างแข็งแกร่ง มั่นคง และยั่งยืน โดยตั้งเป้าหมายทางธุรกิจใน ระยะ 5 ปี (ปี 2561-2565) ที่จะมีรายได้เติบโตในอัตราเฉลี่ย (CAGR) อย่างน้อยร้อยละ 13 ต่อปี โดยหนึ่งในกลยุทธ์การพัฒนา ธุรกิจอย่างยั่งยืนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว บริษัทฯ ได้กําหนดแนวทางการเติบโตด้วยการกระจายฐานธุรกิจการพัฒนา และบริหารอสังหาริมทรัพย์ในหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ 1. การขยายธุรกิจทางภูมิศาสตร์ และประเภทอสังหาริมทรัพย์ 2. การร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ
การขยายธุรกิจทางภูมิศาสตร์ ทีผ ่ ่านมา CPN พัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ให้เติบโตอย่าง ต่อเนื่อง ด้ว ยการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ใ นทําเลที่มีศักยภาพ เริ่ ม จากกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล และขยายไปยั ง จั ง หวั ด ที่ มี ศักยภาพในการเติบโตทางเศรษฐกิจที่มั่นคงและเป็นศูนย์กลาง ของภูมภ ิ าคนัน ้ ๆ เพือ ่ กระจายความเสีย ่ งการกระจุกตัวของธุรกิจ และสร้างโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจควบคู่กับการมีส่วนร่วม ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภูมิภาคนั้น ซึ่งปัจจุบัน CPN มี ศูนย์การค้าในกรุงเทพฯ และปริมณฑลจํานวน 14 แห่ง และใน ต่างจังหวัดจํานวน 18 แห่ง ก่อนเริ่มพัฒนาโครงการ CPN จะเลือกทําเลที่ดีที่สุดในย่านนั้น ๆ เพือ ่ สร้างความสะดวกสบายในการเดินทางให้กบ ั ลูกค้า รวมถึงนัก ท่องเทีย ่ ว และผูม ้ าติดต่อค้าขายทีศ ่ น ู ย์การค้า โดยศูนย์การค้าของ CPN จะถูกสร้างสรรค์ขึ้นด้วยแนวคิด Center of Life หรือ ศูนย์กลางการใช้ชีวิตของคนทุกวัยในชุมชนและท้องถิ่นนั้น ด้วย การนํ า เสนอสิ น ค้ า และบริ ก ารอย่ า งครบครั น รวมทั้ ง การ สร้ า งสรรค์ พื้ น ที่ แ ละกิ จ กรรมไลฟ์ ส ไตล์ ใ หม่ ๆ เพื่ อ ตอบสนอง พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ในการออกแบบ จะนําเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของแต่ละท้องถิ่นนั้น ๆ มาเป็นจุดเด่น ของศูนย์การค้า เพือ ่ ให้ศน ู ย์การค้ามีความกลมกลืนเป็นส่วนหนึง ่ ของท้องถิ่น และส่งเสริมความภาคภูมิใจของคนในท้องถิ่น รวม ถึงดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยี่ยมชม ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้าง งานสร้ า งอาชี พ ก่ อ ให้ เ กิ ด การกระจายรายได้ สู่ ชุ ม ชนต่ า ง ๆ ทัว ่ ประเทศ เป็นการสร้างประโยชน์และสร้างมูลค่าให้กบ ั ผูม ้ ส ี ว ่ นได้ เสียทุกกลุ่ม นําไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจระดับประเทศ ด้ ว ย วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ต้ อ ง ก า ร เ ป็ น ผู้ นํ า ใ น ธุ ร กิ จ ก า ร พั ฒ น า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าปลีกในระดับภูมิภาค และมีการเติบโต อย่างยั่งยืนในระยะยาว CPN จึงได้ขยายการลงทุนไปยังภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศที่มีแนวโน้มการเติบโตทาง เศรษฐกิจทีม ่ น ั่ คง เช่น มาเลเซีย และเวียดนาม เป็นต้น เพือ ่ กระจาย
ฐานธุ ร กิ จ และลดการพึ่ ง พาธุ ร กิ จ ในประเทศเพี ย งอย่ า งเดี ย ว นอกจากนั้น CPN ยังได้ขยายรูปแบบการลงทุนไปสู่การพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ประเภทต่าง ๆ อย่างครบวงจร ภายใต้กลยุทธ์ การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed-use Development) ประกอบด้วย ศูนย์การค้า ที่อยู่อาศัย อาคาร สํานักงาน และโรงแรม เพือ ่ สร้างมูลค่าเพิม ่ ให้กบ ั ธุรกิจศูนย์การค้า ซึ่งเป็นธุรกิจหลักและใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด ถือเป็นการ ทําธุรกิจที่เกื้อหนุนกันในเชิงพื้นที่ โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2559 บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้พัฒนาโครงการ คอนโดมิเนียมในบริเวณพื้นที่ศูนย์การค้าของ CPN ที่เปิดดําเนิน การอยู่ หรือพื้นที่ใกล้ ๆ โดยรอบศูนย์การค้า จํานวน 3 โครงการ ในจังหวัดเชียงใหม่ ระยอง และขอนแก่น และในปี 2560 ได้เปิด ขายโครงการคอนโดมิเนียมอีก 3 โครงการ ที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ (แห่งที่ 2) และนครราชสีมา ซึ่งทําให้เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เป็นมหานครแห่งอีสาน ที่มีโครงการ Mixed-use ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งภาคอีสาน ประกอบด้วยศูนย์การค้า โรงแรม ศูนย์ประชุม คอนโดมิเนียม ตลาดไลฟ์สไตล์กลางแจ้ง และสวน สาธารณะไว้ในที่เดียวกัน เป็นการสร้างสรรค์โมเดลการใช้ชีวิต สมัยใหม่ให้กับชาวอีสานได้อย่างครบทุกมิติ บริษัทฯ ได้เปิดตัว โครงการที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องจํานวน 3 - 4 โครงการ ต่อปี ตลอดจนศึกษาโอกาสการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทอื่น ๆ ตามแผนที่วางไว้
การร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ ในการพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ของ CPN ไม่ได้จํากัด เฉพาะการลงทุนในรูปแบบทีเ่ จ้าของโครงการเพียงคนเดียวเท่ากัน แต่ยง ั มีรป ู แบบการร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจทีส ่ ามารถนํา องค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในด้านที่แตกต่างกัน มาแบ่งปัน แลกเปลี่ยน และสนับสนุนซึ่ง กันและกัน เช่น • การร่วมทุนกับบริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) (“DTC”) เพือ ่ ลงทุนในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์รป ู แบบผสม
101
ประกอบด้วย โรงแรม ที่พักอาศัย ศูนย์การค้า และอาคาร สํานักงาน บนทีด ่ น ิ บริเวณหัวมุมถนนสีลมและถนนพระราม 4 โดยบริษัทฯ มีสัดส่วนการลงทุนในธุรกิจที่บริษัทฯ มีความ ชํานาญ คือ ธุรกิจศูนย์การค้าร้อยละ 85 และธุรกิจอาคาร สํ า นั ก งานร้ อ ยละ 100 ขณะที่ สั ด ส่ ว นการลงทุ น ในธุ ร กิ จ โรงแรมและที่พักอาศัยร้อยละ 40 ซึ่งเป็นธุรกิจที่ DTC มี ความเชี่ยวชาญ การร่วมมือกับ IKEA เปิด “อิเกีย บางใหญ่” ซึ่งเป็น IKEA รูปแบบใหม่ ทีไ่ ม่เคยมีทไี่ หนมาก่อน ลูกค้าเดินเข้าออกและชําระ เงินได้ทก ุ ชัน ้ และเป็นสาขาแรกทีม ่ ท ี างเข้าเชือ ่ มต่อกับเซ็นทรัล พลาซา เวสต์เกต ทุกชั้น เป็นการเสริมความเป็น Super Regional Mall ให้กับเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต การร่วมทุนกับบริษท ั ไรท์แมน จํากัด ภายใต้ บริษท ั ฟีโนมินอน ครีเอชั่น จํากัด ในสัดส่วน 50:50 เพื่อร่วมกันรังสรรค์ความ มหัศจรรย์ให้ “ไตรภูมิ มหัศจรรย์สามโลก” สวนสนุกนวัตกรรม ธี ม ปาร์ ค ผจญภั ย แห่ ง แรกของโลก เป็ น World-Class
•
•
•
Attractions แห่ ง ใหม่ ข องจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต และเป็ น หนึ่ ง ใน สถานที่ที่นักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกต้องมาเยือน ซึ่งถือ เป็ น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพการท่ อ งเที่ ย วและเศรษฐกิ จ ของ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ทางธรรมชาติในประเทศอื่น ๆ ได้มากยิ่งขึ้น การร่วมทุนกับ Common Ground Group ที่เป็นแบรนด์ ที่มีช่ือเสียงในธุรกิจ Co-working Space จากประเทศ มาเลเซีย และมีการเติบโตรวดเร็วที่สุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยได้จัดตั้งบริษัทร่วมทุนในนามบริษัท คอมมอน กราวน์ ประเทศไทย จํากัด และถือหุน ้ ในสัดส่วน CPN ร้อยละ 51 และ Common Ground Group ร้อยละ 49 ขยาย ธุรกิจ Co-working Space ในประเทศไทย เพื่อเชื่อมโยง ศูนย์การค้าและอาคารสํานักงานเข้าด้วยกันเป็นพื้นทีส ่ ําหรับ ผูป ้ ระกอบการรุน ่ ใหม่ และเป็นการสนับสนุนธุรกิจ SMEs และ Start-up และผลักดันเศรษฐกิจไทยให้เติบโตอย่างแข็งแกร่ง
นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และบริการ เพื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งไลฟ์สไตล์การพักอาศัยในอาคารสูงหรือคอนโดมิเนียม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยผ่านระบบออนไลน์ รวมไปถึงความท้าทายจากนวัตกรรมทางเทคโนโลยี CPN จึง กําหนดกลยุทธ์นวัตกรรมในการพัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นสถานทีท ่ เี่ ป็นจุดหมายในการใช้ชว ี ต ิ ทีม ่ ากกว่าการซือ ้ สินค้า เป็นจุดหมาย ในการทํากิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร พบปะสังสรรค์ การออกกําลังกาย ทํางาน สรรค์สร้างงานอดิเรก ค้นหาแรงบันดาลใจ หรือพักผ่อนกับครอบครัว
แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน 1.
การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริ ก าร โดยยึ ด ถื อ ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง1 และ สร้างการมีส่วนร่วมจาก ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีเ่ กีย ่ วข้อง
2.
การพัฒนาศูนย์การค้า ที่ ต อ บ ส น อ ง ทุ ก ไ ล ฟ์ สไตล์2 ครอบคลุมกลุ่ม ลู ก ค้ า ที่ ห ล า ก ห ล า ย ทัง ้ ในเรือ ่ งอายุ ไลฟ์สไตล์ ความชอบ ความต้องการ รวมไปถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ข อ ง ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร ใ น ศูนย์การค้า ในแต่ละครั้ง
1 2 3
รายละเอียดเพิ่มเติมบนหน้าเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และการบริการ รายละเอียดเพิ่มเติมบนหน้าเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การพัฒนาศูนย์การค้าที่ตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์ รายละเอียดเพิ่มเติมบนหน้าเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การให้บริการที่เป็นเลิศ
102
3.
การให้บริการที่เป็นเลิศ3 ยกระดับ มาตรฐานการให้ บ ริ ก ารอย่ า ง ต่อเนื่องและจริงจังโดยสร้างการ มี ส่ ว น ร่ ว ม จ า ก ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ทีเ่ กีย ่ วข้อง เน้นในเรือ ่ งการอํานวย ความสะดวก และปลอดภัยเป็นหลัก
4. การประยุ ก ต์ ใ ช้ น วั ต กรรมและ เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการสื่ อ สารและอํ า นวยความ สะดวกในการให้บริการ
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
การพัฒนาศูนย์การค้าโดยยึดถือลูกค้าเป็น ศูนย์กลาง และตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์ ในปี 2560-2561 CPN ได้ ทํ า การศึ ก ษาวิ จั ย พฤติ ก รรมและ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า เพื่ อ สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มของลู ก ค้ า และใช้ ผ ลการวิ เ คราะห์ ดั ง กล่ า วเป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานในการ พั ฒ นาโครงการใหม่ ทั้ ง สิ้ น 3 โครงการ แบ่ ง เป็ น โครงการ ภายในประเทศ 2 โครงการและต่างประเทศ 1 โครงการ โดยว่าจ้าง ผู้ เ ชี่ ย วชาญจากภายนอกดํ า เนิ น การสอบถามกลุ่ ม เป้ า หมาย และการสํ า รวจพฤติ ก รรมการใช้ ง านและทั ศ นคติ ผลที่ ไ ด้ จ าก การศึ ก ษา คื อ ข้ อ มู ล ไลฟ์ ส ไตล์ ข องกลุ่ ม เป้ า หมายที่ พั ก อาศั ย ในพื้ น ที่ เ ป้ า หมาย รวมถึ ง ความคาดหวั ง และความต้ อ งการ ในการใช้ บ ริ ก ารศู น ย์ ก ารค้ า ความคิ ด เห็ น ต่ อ โครงการศู น ย์ การค้ า ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารอยู่ ณ ปั จ จุ บั น และแบรนด์ ร้ า นค้ า ที่ ลู ก ค้ า คาดหวังจะเห็นในศูนย์การค้า เป็นต้น ทั้งนี้ ผลการวิเคราะห์ที่ ได้ จ ะเป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานให้ กั บ ที ม กลยุ ท ธ์ ใ นการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ที ม ออกแบบโครงการ ที ม ขาย เพื่ อ นํ า ไปจั ด สรรสั ด ส่ ว นและ องค์ประกอบของประเภทร้านค้าในศูนย์การค้าใหม่ ให้ตอบสนอง ต่ อ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า และแนวโน้ ม พฤติ ก รรมของ ลูกค้าในอนาคต ในปี 2561 CPN ได้ ทํ า การปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบวิ ธี ก ารสํ า รวจ ความพึ ง พอใจในการใช้ บ ริ ก ารศู น ย์ ก ารค้ า ของลู ก ค้ า จาก ระบบเดิมที่ทําการสํารวจรายปีเพียงครั้งเดียวโดยผู้เชี่ยวชาญ จากภายนอก เป็นการสํารวจข้อมูล 2 ส่วน คือ ระบบออนไลน์ ที่ดําเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก ควบคู่กับการดําเนิน การโดยที ม งานวิ จั ย การตลาดของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง สามารถเพิ่ ม รอบการสํารวจ และเพิ่มจํานวนกลุ่มตัวอย่างที่สํารวจได้มากขึ้น อี ก ทั้ ง ได้ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น และทั น ท่ ว งที ยิ่ ง ขึ้ น ในส่ ว น การสํ า รวจความพึ ง พอใจของร้ า นค้ า ได้ ป รั บ เปลี่ ย นรู ป แบบ เช่นกัน โดยเพิ่มการมีส่วนร่วมของร้านค้าในการให้ความคิดเห็น ผ่ า นการสั ม ภาษณ์ โ ดยที ม งานร้ า นค้ า สั ม พั น ธ์ ซึ่ ง จะทํ า การ สัมภาษณ์เชิงลึกควบคู่ไปกับการตอบแบบสํารวจออนไลน์
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
1.
จุดหมายและบริการสําหรับครอบครัว (Family Destination) ได้แก่ การออกแบบบรรยากาศแบบผสมผสานให้เป็นพื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ กึง ่ สนามเด็กเล่น กึง ่ พืน ้ ทีเ่ พือ ่ ความรืน ่ รมย์ ของทุกคนในครอบครัว การสร้างโซนจุดหมายสําหรับเด็ก เพื่ อ เสริ ม ทั ก ษะความรู้ ทั้ ง ในและนอกห้ อ งเรี ย น และการ ออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับเด็กเล็ก โดยคํานึง ถึงความสะดวก ปลอดภัย และถูกหลักอาชีวอนามัย อาทิ
ส น า ม เ ด็ ก เ ล่ น ใ น ร่ ม ที่ แ ต ก ต่ า ง ต า ม อั ต ลั ก ษ ณ์ เฉพาะของแต่ละศูนย์การค้า จํานวน 25 จุดใน 19 โครงการ
ห้ อ ง นํ้ า สํ า ห รั บ เ ด็ ก โ ด ย เฉ พ าะ ซึ่ ง แ ย ก อ อ ก จ า ก ห้องนํ้าผู้ใหญ่ เพื่อสร้างสุข นิ สั ย ในการใช้ ห้ อ งนํ้ า ด้ ว ย ตนเองในเด็ ก เล็ ก จํ า นวน 47 ห้อง ใน 13 โครงการ
ที่ นั่ ง รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร สําหรับเด็ก โดยเฉพาะในโซน ศูนย์อาหาร (Food Park) ที่ บริหารงานโดย CPN ใน 23 โครงการ
โซนจุดหมายเพือ ่ เสริมทักษะ การเรี ย นและการใช้ ชี วิ ต สํ า หรั บ เด็ ก โดยเพิ่ ม เติ ม ใน เซ็ น ทรั ล พลาซา ปิ่ น เกล้ า เซ็นทรัลพลาซา บางนา และ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า
ผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทั้ ง สองส่ ว นจะถู ก ส่ ง ต่ อ ไปยั ง ที ม งานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อริเริ่มทดลองพัฒนาศูนย์การค้ารูปแบบใหม่ ๆ หรือ พัฒนาโซนใหม่ ๆ ในโครงการใหม่ และในโครงการที่มีกําหนดการ ปรับปรุงครั้งใหญ่ รวมไปถึงการกําหนดสัดส่วน ประเภทร้านค้า การเพิ่ ม หรื อ ลดพื้ น ที่ ส่ ว นกลาง พื้ น ที่ ทํ า กิ จ กรรม การสรรหา แบรนด์ ร้ า นค้ า การแบ่ ง ประเภทสั ญ ญาเช่ า ระยะสั้ น ระยะยาว เป็ น ต้ น โดยตั้ ง แต่ ปี 2558 จากการประสบความสํ า เร็ จ ของ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ ในการนําเสนอรูปแบบ การจัดสรรพื้นที่ภายใต้แบรนด์เซ็นทรัลเฟสติวัลแบบใหม่ โดยมี การเพิ่มจุดหมาย / โซนและบริการใหม่ ส่งผลให้ CPN กําหนด ให้การสร้างจุดหมายใหม่ ๆ เป็นหนึ่งในแผนการสร้างนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ขององค์กรทุกปี มีการกําหนดดัชนีชี้วัดและติดตาม ผลอย่ า งชั ด เจน ซึ่ ง ในปี 2561 มี ค วามคื บ หน้ า ตามแผนงาน แบ่งตามหมวดหมู่การตอบสนองแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
103
2.
จุดหมายสําหรับการรับประทานอาหาร (Food Destination) ได้แก่ การพัฒนาโซนอาหารที่ผสมผสานร้านอาหารหลาก สไตล์ แบ่งโซนตามไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค โดยรูปแบบที่ได้ พัฒนาขึ้น อาทิ โซนฟู้ดวิลล์ ในเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ โซนฟู้ดพาทิโอ ในเซ็นทรัลพลาซา บางนา เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 โซนอาหารทะเลสดใหม่ ในเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ฟู้ดเวิลด์ ในเซ็นทรัลเวิลด์ และโซน เทลส์ออฟไทยแลนด์ ในเซ็นทรัลภูเก็ต
3.
จุดหมายสําหรับไลฟ์สไตล์ใหม่ ๆ (Lifestyle Destination) ได้ แ ก่ การพั ฒ นาพื้ น ที่ สํ า หรั บ การทํ า งานร่ ว มกั น หรื อ Co-working Space โดยร่วมทุนกับ บริษท ั คอมมอน กราวด์ กรุ๊ป บริษัทโคเวิร์กกิ้งสเปซจากประเทศมาเลเซีย ในการสร้าง และพัฒนาชุมชน Co-working Space แบบบูรณาการที่ ยั่งยืน โดยเชื่อมโยงชุมชนผ่านพอร์ทัล และแอปพลิเคชัน ของสมาชิกที่เรียกว่า Ambition Engine นอกจากนี้ยังได้ พัฒนาพื้นที่และกิจกรรมสําหรับการออกกําลังกายร่วมกัน และการพัฒนาพื้นที่และกิจกรรมทางการตลาดตามเทรนด์ ไลฟ์สไตล์ตา่ ง ๆ เช่น รักสัตว์ รักการปัน ่ จักรยาน รักเสียงดนตรี รักในการทํางานอดิเรกแบบงานทํามือ งานหัตถกรรม เป็นต้น
เซ็นทรัลเวิลด์
ในโครงการปรับปรุงเซ็นทรัลเวิลด์ปี 2561 ได้บรรจุเป้าหมาย การพัฒนาจุดหมายสําหรับไลฟ์สไตล์ใหม่ ๆ ดังนี้ 1.
2.
เทลส์ออฟไทยแลนด์
โซนอาหารในเซ็นทรัล ภูเก็ตที่ประยุกต์สถาปัตยกรรมไทย พร้อมด้วยวิถช ี ว ี ต ิ ของคนไทยในแง่มม ุ ต่าง ๆ จากทัว ่ ทุก ภาคมานําเสนอในรูปแบบใหม่ร่วมสมัย โดยเฉพาะการ จํ า ลองตลาดนํ้ า ขนาดใหญ่ ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข อง ประเทศไทยทั้งหมดไว้ แบ่งออกเป็น 4 โซน คือ โซนของ ฝากทัว ่ ไทย (Craft Village) ศูนย์อาหารต้นตํารับจาก 4 ภาค (Taste of The Island) โซนอาหารอีสานรสจัดจ้าน (Isan Charming) และ ตลาดนํา้ จําลองพร้อมให้บริการ ร้านอาหารกว่า 30 ร้านค้า (Floating Market)
104
3.
การพัฒนาจุดหมายสําหรับคนรักการออกกําลังกาย หรือ Sport Destination โดยรวบรวมแบรนด์ร้านค้า อุปกรณ์กีฬา เทคโนโลยีเกี่ยวกับกีฬา ร้านเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ และผู้เช่าด้านกีฬารายใหญ่ คือ ซุปเปอร์สปอร์ต และฟิตเนสเฟิสต์ ไว้รวมกันบริเวณพื้นที่ชั้น 3 และมีการ ตกแต่งพื้นที่ภายในให้เหมาะสมกับกิจกรรมทดลองออก กําลังกาย การพัฒนาจุดหมายสําหรับคนรักงานอดิเรก หรือ Creative Maker โดยสร้างบรรยากาศพืน ้ ทีบ ่ ริเวณ ชั้น 5 ให้ตรงกับไลฟ์ไสตล์ของคนที่ชอบศิลปะ รักการ ทํางานหัตถกรรม และจัดสรรพืน ้ ทีเ่ ป็นพืน ้ ทีแ ่ บบเปิดกว้าง หรือ Open Space เพื่อรองรับการทําเวิร์กชอป และ สรรหาประเภทร้านค้าขนาดเล็ก ทีเ่ น้นการสอนและทํางาน อดิเรกร่วมกัน เช่น การจัดดอกไม้ การจัดสวนขวด การ ทําลิปสติก การทําการ์ด เป็นต้น โดยมีการจัดกิจกรรม ทางการตลาดเสริม ทั้งการจัดอีเว้นท์ การจัดเวิร์กชอป การจัดโปรโมชั่น การประชาสัมพันธ์ เพื่อดึงดูดผู้บริโภคที่ มี ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล์ เ ห มื อ น ๆ กั น ไ ด้ ม า พ บ ป ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ประสบการณ์ร่วมกัน การพัฒนาจุดหมายสําหรับการทํางานร่วมกัน หรือ Co-working Space โดยร่วมกับร้านกาแฟรายใหญ่ อาทิ สตาร์บัคส์ในการพัฒนารูปแบบร้านกาแฟภายใต้ แนวคิดแบบผสมผสานกึ่ง Co-working Space โดยจัด ให้มีห้องประชุม 2 ห้อง พร้อมจอแอลอีดี มีบริการกาแฟ ดราฟท์ที่ใหญ่ที่สุดไว้ให้บริการ เป็นต้น
นอกจากนั้น CPN ยังได้นําเสนอรูปแบบการจัดพื้นที่ร้านค้าแบบ ใหม่ที่มีความยืดหยุ่นของขนาดพื้นที่ เหมาะสําหรับร้านขนาดเล็ก โดยทดลองนําร่องในกลุ่มร้านคาเฟ่ขนาดเล็ก อาทิ ร้านกาแฟ ร้ า นไอศครี ม ร้ า นเบเกอรี่ ร้ า นขนมหวาน บนพื้ น ที่ ชั้ น 3 ของ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ซึง ่ นอกจากจะตอบสนองต่อผูป ้ ระกอบการ รุน ่ ใหม่หรือ Start-up ทีป ่ ระสงค์จะทดลองตลาดบนพืน ้ ทีข ่ นาดเล็ก ยังตอบสนองต่อไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคใหม่ที่นิยมรับประทาน อาหารและถ่ายรูปลงโซเชียลมีเดีย
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
4. จุดหมายเพื่อสนับสนุนและพัฒนาชุมชน (Center of Community) ได้แก่ การพัฒนาพื้นที่เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน ทั้งใน ด้านการพัฒนาพื้นที่เพื่อเป็นช่องทางจัดจําหน่ายสําหรับ ผู้ ป ระกอบการท้ อ งถิ่ น และการพั ฒ นาจุ ด หมายหรื อ แลนด์ ม าร์ ค เพื่ อ ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย วให้ มี โ อกาสสั ม ผั ส ประสบการณ์ที่น่าจดจําในชุมชนและจังหวัด และการพัฒนา พื้นที่เพื่ออํานวยความสะดวกให้กับชุมชน โดยในปี 2561 ได้มีการพัฒนาจุดหมายดังกล่าว ได้แก่ การพัฒนาพืน ้ ทีเ่ พือ ่ สนับสนุนผูป ้ ระกอบการ รายย่อย ในโซนแฟชัน ่ พลัส ในการปรับปรุง ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า การพัฒนาจุดหมายเพือ ่ การท่องเทีย ่ ว ในศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต ได้แก่การ ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจในการพัฒนา “ ไ ต ร ภู มิ ” ห รื อ ส ว น ส นุ ก ผ จ ญ ภั ย แฟนตาซี แ บบสามมิ ติ แห่ ง แรกและ แห่ ง เดี ย วของโลก และ “อควาเรี ย ” พิพธ ิ ภัณฑ์สต ั ว์นาํ้ รูปแบบใหม่ครัง ้ แรกใน ประเทศไทย ซึง ่ รวบรวมสัตว์นาํ้ นานาชนิด กว่า 25,000 ตัว การพัฒนาศูนย์ราชการร่วม4 อีก 2 แห่ง ในศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และปรับปรุง ให้ มี ก ารบริ ก ารงานราษฎร์ เ พิ่ ม ขึ้ น ใน ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ โดย ปัจจุบน ั CPN ร่วมกับหน่วยงานราชการ ในการเปิ ด ศู น ย์ บ ริ ก ารร่ ว มแล้ ว ทั้ ง สิ้ น 9 แห่งทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัด นอกเหนือจากการพัฒนาสร้างจุดหมายใหม่ ๆ ทางกายภาพของ ศูนย์การค้าแล้ว อีกหนึ่งนวัตกรรมที่จะช่วยเสริมให้ CPN เป็น จุดหมายของการใช้ชว ี ต ิ คือ การพัฒนารูปแบบกิจกรรมทางการ ตลาดทั้งในรูปแบบกิจกรรมโปรโมชั่น กิจกรรมอีเว้นท์ กิจกรรม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ให้ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง จุ ด หมายในการเดิ น เข้ า ศูนย์การค้าของกลุม ่ คน และชุมชนทีแ ่ สวงหาประสบการณ์ชว ี ต ิ ใน พื้นที่สาธารณะร่วมกัน โดยในปี 2561 CPN ได้ศึกษาและจําแนก กลุม ่ เป้าหมายตามไลฟ์สไตล์ออกเป็น 8 กลุม ่ และตามประสบการณ์ การจับจ่ายใช้สอยออกเป็น 9 กลุ่ม โดยนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ พฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภคที่ เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก ารและจั บ จ่ า ยใช้ ส อยภายใน ศูนย์การค้า ทั้งในแง่ความถี่ที่เข้ามาใช้บริการ และจํานวนเงินที่ใช้ ในแต่ละครั้ง และนําผลการวิเคราะห์ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาแผน กลยุทธ์ทางการตลาด และแผนงานทางดิจิทัล เพื่อดึงดูดลูกค้าที่ มีศก ั ยภาพในการจับจ่าย ให้กลับมาใช้บริการในศูนย์การค้าบ่อยขึน ้ และใช้จ่ายมากขึ้น
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การให้บริการที่เป็นเลิศ ในปี 2561 CPN กํ า หนดปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ความพึ ง พอใจของ ลูกค้า ซึง ่ ครอบคลุมในด้านความสะดวก ความปลอดภัยสาธารณะ ความพึงพอใจต่อบรรยากาศภายในศูนย์การค้า กิจกรรมทางการ ตลาด การจัดและสรรหาร้านค้า ระบบสาธารณูปโภคและการให้ บริ ก าร และการรั บ รู้ ใ นแบรนด์ โดยปรั บ วิ ธี ก ารสํ า รวจความ พึงพอใจลูกค้าผ่านระบบออนไลน์ ในทุกโครงการที่เปิดให้บริการ ตามปกติแบบครบรอบปี เพื่อให้ได้ข้อมูลจากลูกค้าที่ครอบคลุม และทันต่อเหตุการณ์มากขึน ้ ทัง ้ นี้ ผลการสํารวจและการวิเคราะห์ ทีไ่ ด้นน ั้ จะใช้เป็นข้อมูลเบือ ้ งต้นในการพัฒนาและปรับปรุงแผนงาน ด้านการให้บริการที่เป็นเลิศ ดังนี้ 1. การอํานวยความสะดวก 1) ด้านการเดินทางและการจราจร กําหนดเป็น 2 แผนงาน ต่ อ เนื่ อ งจากปี 2560 ได้ แ ก่ การบริ ห ารและจั ด การ การจราจร และการบริหารจัดการพื้นที่จอดรถ • การบริหารและจัดการการจราจร ดําเนินการจัด การอบรมและพัฒนาทักษะผู้เชี่ยวชาญด้านการ จราจร หรือ อาสาจราจร (อสจร.) โดยเจ้าหน้าที่ ตํารวจจราจรเป็นผู้ฝึกอบรม ทําหน้าที่เป็นผู้ช่วย เจ้าพนักงานหรือตํารวจจราจร บริหารจัดการโดย ใช้แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ โดยวิเคราะห์ สภาพการจราจรในปั จ จุ บั น ผ่ า นกล้ อ งวงจรปิ ด (CCTV) ที่ติดตั้งบริเวณประตูทางเข้า-ออกทุก ประตูของโครงการ เพือ ่ วิเคราะห์และระบายจราจร ทั้งภายในและภายนอกโดยรอบอาคารให้ทันท่วงที ดําเนินการอย่างจริงจังใน 9 โครงการนําร่อง5 ส่ง ผลให้จํานวนข้อร้องเรียนเรื่องการจราจรติดขัด ในปี 2561 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปี 2560 • การบริหารและจัดการพื้นที่จอดรถ โดยนําระบบ จ่ายเงินค่าที่จอดรถแบบอัตโนมัติมาทดลองใช้ใน เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า ในปี 2561 เพื่อเป็นการ เร่ ง ระบายการจราจรภายในและอํ า นวยความ สะดวกให้กับผู้ใช้บริการ และทดลองใช้ระบบจองที่ จอดรถผ่านแอปพลิเคชันที่เซ็นทรัลเวิลด์ ทัง ้ นี้ ได้ขยายการอํานวยความสะดวกในการจราจร และ ให้ บ ริ ก ารพื้ น ที่ จ อดรถ โดยกระจายในพื้ น ที่ โ ครงการ จํานวนทัง ้ สิน ้ 26 โครงการ อาทิ บริการรถรับส่งฟรีจาก จุ ด รั บ ส่ ง ที่ กํ า หนด บริ ก ารนํ า รถไปจอดที่ ช่ อ งจอด บริการพืน ้ ทีจ ่ อดรถสําหรับรถทีม ่ ค ี นโดยสารมากกว่า 4 คน บริการพืน ้ ทีจ ่ อดรถสําหรับครอบครัวทีม ่ รี ถเข็นเด็ก ช่อง จอดรถชาร์จไฟฟ้า บริการรถกอลฟ์ไฟฟ้า และระบบจอด รถอัจฉริยะ เป็นต้น (รายละเอียดเพิม ่ เติม หน้า 142)
4
5
ศูนย์ราชการร่วม เปิดให้บริการงานทะเบียนราษฎร์ต่าง ๆ อาทิ การทําบัตรประชาชน รับขึ้นทะเบียนผู้ ต้องการฝึกอาชีพ / ผูว ้ า่ งงาน การชําระภาษี รวมภาษีปา้ ย ภาษีโรงเรือนและทีด ่ น ิ การยืน ่ แบบจดทะเบียน พาณิชย์ การจดทะเบียนคนพิการและผู้สูงอายุ เป็นต้น โครงการ อสจร. ที่เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัล พลาซา พระราม 3 เซ็ น ทรั ล พลาซา บางนา เซ็ น ทรั ล พลาซา เวสต์ เ กต เซ็ น ทรั ล พลาซา เชี ย งใหม่ แอร์พอร์ต เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์
105
2) ด้านการอํานวยความสะดวกเฉพาะกลุม ่ แบบอืน ่ ๆ ได้แก่ • กลุ่มครอบครัว อาทิ
ห้องให้นมบุตร จํานวน 48 จุด ใน 26 โครงการ
ห้องนํา้ เด็ก แบบแยกห้อง จํานวน 47 ห้อง ใน 13 โครงการ
รถเข็นเด็กเล็ก และ Kiddy car จํานวน 676 คัน ใน 32 โครงการ
2.
ที่นั่งรับประทาน อาหารสําหรับเด็ก ในโซนฟู้ดพาร์ค 23 โครงการ
CPN ว่ า จ้ า งพนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย จากบริ ษั ท คู่ค้าที่ดําเนินงานถูกต้องตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษา ความปลอดภัย พ.ศ. 2558 ครอบคลุมการไม่จํากัดสิทธิ ในการว่าจ้างแรงงานพืน ้ เมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และการอบรมพั ฒ นาศั ก ยภาพพนั ก งานรั ก ษาความ ปลอดภัยให้ได้ตามมาตรฐานกฎหมายกําหนด ซึ่งผลจาก การสุ่ ม ตรวจพบว่ า คุ ณ ภาพของพนั ก งานรั ก ษาความ ปลอดภัยดีขึ้น
รถเข็นสําหรับผู้ที่ ต้องการเป็นพิเศษ จํานวน 317 คัน ใน 32 โครงการ
• กลุ่มนักท่องเที่ยว เปิดให้บริการดังต่อไปนี้
เคาน์เตอร์สําหรับ กรุ๊ปทัวร์
ศุนย์บริการ นักท่องเที่ยว
บริการรับฝากและ ขนส่งกระเป๋าเดินทาง (มีค่าใช้จ่าย)
สัญญาณ อินเทอร์เนต ไร้สายฟรีสําหรับ นักท่องเที่ยว
(รายละเอียดเพิ่มเติม หน้า 142 )
CPN ติ ด ตามสถานการณ์ ค วามปลอดภั ย ในภาพรวมมี ก าร ประเมิ น สถานการณ์ ค วามปลอดภั ย ด้ ว ยระบบ Color-Code Condition 5 ระดับ7 ซึง ่ ในภาวะวิกฤติ คณะกรรมการศูนย์สง ั่ การ ในภาวะวิกฤติของ CPN และกลุ่มเซ็นทรัล จะทําหน้าที่ติดตาม สถานการณ์ ควบคุม และประเมินภาวะวิกฤติรว ่ มกันกับเจ้าหน้าที่ ภาครั ฐ และผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นความปลอดภั ย จากภายนอกและ จากบริษัทภายในกลุ่มเซ็นทรัล โดยการประเมินสถานการณ์ส่วน ใหญ่ ใ นปี 2561 อยู่ ใ นระดั บ สี นํ้ า เงิ น หรื อ สถานการณ์ ป้ อ งกั น ยกเว้นโครงการในพื้นที่สุ่มเสี่ยงจะปรับเปลี่ยนตามการประเมิน สถานการณ์ตามช่วงเวลา นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดอบรมและจัดแข่งขันเพื่อพัฒนาและ เสริมทักษะการผจญเพลิงของทีมดับเพลิงประจําสาขา เป็นประจํา ทุ ก ปี จั ด การซ้ อ มการแจ้ ง เหตุ ฉุ ก เฉิ น ให้ กั บ สมาชิ ก ที ม งาน และพนักงานที่เกี่ยวข้องตามผังรายชื่อทางโทรศัพท์ และซ้อม การติดต่อกับเครือข่ายผ่านวิทยุสื่อสารคลื่นเฉพาะเป็นครั้งคราว มีการจัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง โดยจํ า ลองโจทย์ ส ถานการณ์ ขึ้ น มา และลองนํ า แผน BCP (Business Continuity Plan) มาพิจารณา ทดลองซ้อมเหตุแบบ Tabletop Testing อย่างน้อยปีละครั้ง จัดฝึกซ้อมและแบ่งปัน ข้อมูลด้านความปลอดภัยระหว่างเครือข่ายเจ้าหน้าทีด ่ บ ั เพลิง ซึง ่ รวมเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่ดับเพลิงจากศูนย์การค้าใน ละแวกใกล้เคียงที่เป็นสมาชิกสมาคมศูนย์การค้าไทย 6
7
106
การดูแลรักษาความปลอดภัย 1) แนวทางการบริหารจัดการความปลอดภัย บริษัทฯ ดําเนินมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับลูกค้า และร้านค้า6 สอดคล้องตามมาตรฐานความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทํางาน ISO 45001 (Occupational Health and Safety) โดยคํานึงถึงความ ปลอดภัยทัง ้ ชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ของลูกค้า โดยการรักษา ความปลอดภัยประจําวันในพื้นที่
รายละเอียดนโยบายและแนวปฏิบัติด้านการดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัยบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสูความยั่งยืน / การกํากับดูแลกิจการที่ดี / นโยบายและแนวทางปฏิบัติ / นโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ระบบ Color-Code Condition 5 ระดับ ได้แก่ ระดับปลอดภัย-สีเขียว ระดับป้องกัน-สีนาํ้ เงิน ระดับ เสี่ยง-สีเหลือง ระดับสูง-สีส้ม และระดับรุนแรง-สีแดง เพื่อใช้ในการสื่อสาร และปรับเปลี่ยนมาตรการ รักษาความปลอดภัยของศูนย์การค้าและของร้านค้าตามสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
เครื อ ข่ า ยที ม ดั บ เพลิ ง การรวมกลุ่ ม ของเจ้ า หน้ า ที่ ดับเพลิงจากศูนย์การค้าต่าง ๆ เพือ ่ แบ่งปันข้อมูล และการฝึก ซ้อมดับเพลิงร่วมกัน ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ทีมดับเพลิง เครือข่ายฯ จะอาสาร่วมกันเผชิญเหตุในเขตพืน ้ ทีโ่ ดยรอบ โดย คํานึงถึงพื้นที่ใกล้เคียงในระยะรัศมี 5-8 กิโลเมตรรอบพื้นที่ โครงการเป็นอันดับแรก และขยายความช่วยเหลือออกไปใน เขตพื้นที่ห่างไกลความรับผิดชอบออกไป เมื่อได้รับคําสั่งให้ ดําเนินการช่วยเหลือ • เครื อ ข่ า ยที ม ดั บ เพลิ ง เขตบางนา เขตศรี น คริ น ทร์ ประกอบด้วย ทีมงานจากศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา บางนา ศูนย์การค้าซีคอน สแควร์ ศรีนครินทร์ และ ศูนย์การค้าเมกะ บางนา • เครือข่ายทีมดับเพลิงราชประสงค์ เซ็นทรัลแบงคอก และวันสยาม ประกอบด้วย ทีมดับเพลิงจากศูนย์การค้า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ศู น ย์ ก ารค้ า ในเครื อ สยามพิ ว รรธน์ ศู น ย์ ก ารค้ า ในเครื อ เซ็ น ทรั ล และศู น ย์ ก ารค้ า เอ็ ม บี เ ค • เครือข่ายทีมดับเพลิงระดับภูมิภาค 2) การออกแบบการให้บริการและการนําเทคโนโลยีมา ช่วยในการบริหารจัดการความปลอดภัย เช่น • การติ ด ตั้ ง ระบบโทรทั ศ น์ ว งจรปิ ด (Closed Circuit Television/ CCTV) จํานวน 6,823 ตัว ในทุกโครงการ (ข้อมูล ณ สิ้นปี 2561) เพื่อให้ สามารถสอดส่องดูแลความปลอดภัยได้อย่างทัว ่ ถึง • การติ ด ตั้ ง ปุ่ ม ช่ ว ยเหลื อ ความปลอดภั ย (Call Point) บริเวณพืน ้ ทีล ่ านจอดรถ จํานวน 2,314 จุด ในทุกโครงการ เพือ ่ ให้ลก ู ค้าได้กดปุม ่ เรียกพนักงาน รักษาความปลอดภัยได้อย่างทันท่วงที • การจัดสรรพื้นที่จอดรถสําหรับคนขับที่เป็นสุภาพ สตรี โ ดยเฉพาะ (Lady Parking) โดยจั ด สรร พนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย เพศหญิ ง ไว้ ค อย อํานวยความสะดวกและให้ความเชือ ่ มัน ่ ด้านความ ปลอดภัยรายบุคคล • การติดตั้งอุปกรณ์ช่วยชีวิต-เครื่องกระตุ้นหัวใจ อัตโนมัติ (AED) จํานวน 16 เครือ ่ ง ในเซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็ น ทรั ล พลาซา รั ต นาธิ เ บศร์ เซ็ น ทรั ล พลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และเซ็นทรัล ภูเก็ต และจัดอบรมเจ้าหน้าที่ฝึกทักษะการใช้งาน เครื่ อ งดั ง กล่ า วให้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ ลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ เป็นต้น • การใช้เครื่องมือและข้อมูลด้านความปลอดภัยใน การวิ เ คราะห์ แ ละวางแผนการดํ า เนิ น งาน เช่ น การนํ า ผลการวิ เ คราะห์ จ ากการใช้ เ ครื่ อ งมื อ
•
นาฬิกาอาชญากรรมไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริ ห ารจั ด การกํ า ลั ง เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความ ปลอดภั ย ให้ เ หมาะสมเพี ย งพอตามจุ ด พื้ น ที่ แ ละ ตามเวลาที่เหมาะสม การนําจํานวนอุบัติเหตุและ จํานวนเหตุอาชญากรรมทั้งที่เกิดแล้วและเกือบ จะเกิ ด มาวิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ ข องเหตุ ก ารณ์ ที่ เกิดขึ้นซํ้า ๆ ณ จุดเดิม ๆ เพื่อป้องกัน และลด ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ซํ้ า อี ก เช่ น การติ ด ตั้ ง เพิ่ ม จุ ด แสงสว่ า งและการติ ด ตั้ ง ป้ า ยในจุ ด ที่ เ กิ ด อุบัติเหตุซํ้า ๆ เป็นต้น การปรับปรุงคู่มือรักษาความปลอดภัยเพื่อให้เข้า กับสถานการณ์จริงแบบทันท่วงที โดยติดตามผล และรายงานตามลําดับขั้นไปยังคณะทํางานด้าน ความปลอดภัย และคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงตามวาระอย่างสมํา่ เสมอ
3) การสร้างความร่วมมือกับพันธมิตรและผูท ้ เี่ กีย ่ วข้อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาความปลอดภัย ได้แก่ • การพั ฒ นาหลั ก สู ต รอบรมให้ ค วามรู้ พ นั ก งาน ประจํ า ของร้ า นค้ า ในการจดจํ า พฤติ ก รรมและ รูปพรรณสัณฐานของคนร้าย เพื่อช่วยสอดส่อง ดูแลในด้านความปลอดภัยในร้านได้ด้วยตนเอง • การจัดอบรมซ้อมอพยพหนีไฟร่วมกับร้านค้าและ ผู้ เ ช่ า อาคารจํ า นวนอย่ า งน้ อ ย 1 ครั้ ง ต่ อ ปี ใ น ทุกโครงการ • การจั ด อบรมหลั ก สู ต รพิ เ ศษให้ กั บ บุ ค ลากรด้ า น ความปลอดภัยทัง ้ บุคลากรของบริษท ั ฯและคูค ่ า้ ให้ มี ทั ก ษะและความชํ า นาญในการตรวจค้ น วั ต ถุ ระเบิด การเก็บพยานวัตถุ การพิสูจน์ว่าเป็นวัตถุ ระเบิดปลอมหรือไม่ในระดับหนึง ่ และกิจกรรมอืน ่ ๆ เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ล ด เ ว ล า ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง หน่วยทําลายล้างวัตถุระเบิด (EOD: Explosive Ordnance Disposal) ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ อีกทางหนึ่ง เป็นต้น • การปฏิ บั ติ ก ารพิ เ ศษเฉพาะกิ จ กรรม เช่ น งาน เคาท์ดาวน์ประจําปี จะมีการประชุมหารือร่วมกับ หน่วยราชการด้านความปลอดภัยและหน่วยงาน ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ บั ง คั บ ใช้ ม าตรการรั ก ษาความ ปลอดภัยร่วมกัน 3.
มาตรฐานการให้บริการ CPN มุ่งมั่นในการให้บริการในระดับมาตรฐานสากล ทั้งใน ด้านการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ และมีความเป็นมืออาชีพ ควบคู่ไปกับการนําระบบมาตรฐานระดับสากลมาประยุกต์ใช้ ในการให้บริการ และตรวจสอบการปฏิบัติหน้างานให้เป็นไป ตามมาตรฐานที่กาํ หนด และพัฒนาปรับปรุงกระบวนการให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพได้ ม าตรฐานและได้ คุ ณ ภาพที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น
107
1)
การพัฒนาบุคลากรในทุกระดับเพือ ่ เพิม ่ ประสิทธิภาพ ในทุกจุดของการให้บริการ ได้แก่ •
ผู้จัดการศูนย์การค้า จะได้รับการอบรมตามคู่มือ มาตรฐานในการบริหารศูนย์การค้าของ CPN ซึ่ง พัฒนาตามแนวทางระบบบริหารจัดการองค์กร ตามเกณฑ์รางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award และระบบบริ ห ารจั ด การตาม เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
•
เจ้าหน้าที่แผนกให้บริการลูกค้า จะต้องผ่านการ อบรมหลักสูตรการพัฒนาการให้บริการที่เป็นเลิศ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และผ่านการอบรมเพิ่มเติม ในด้ า นการพั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพและทั ก ษะที่ จํ า เป็ น เช่น ทักษะภาษาอังกฤษ และทักษะเบื้องต้นในการ ปฐมพยาบาล รวมทั้งการปั๊มหัวใจ
•
เจ้าหน้าที่แผนกร้านค้าสัมพันธ์ จะต้องผ่านการ อบรมหลักสูตรร้านค้าสัมพันธ์ ซึง ่ เนือ ้ หาครอบคลุม มาตรฐานการให้บริการตามระบบบริหารคุณภาพ องค์กรตามข้อกําหนดของ ISO 9001 และการ เพิ่มทักษะและแนวคิดในการบริหารความสัมพันธ์ กับร้านค้า ดั่งเป็นเพื่อนคู่คิดในการบริหารธุรกิจ ให้กับร้านค้า
โครงการเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า ในการใช้บริการห้องนํา้ ภายใต้โครงการ Dream Team จากศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวัล เชียงใหม่ ซึ่งนําข้อร้องเรียนและผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องนํ้ามาใช้ในการพัฒนา แผนปรั บ ปรุ ง การให้ บ ริ ก ารห้ อ งนํ้ า ตามหลั ก PDCA (Plan : Do : Check : Act) แบ่งแนวทางในการแก้ไข ดังนี้ 1. ความพร้อมใช้ของห้องนํา้ และอุปกรณ์ ปรับปรุงโดยใช้ ระบบการแจ้งซ่อมผ่านแอปพลิเคชัน ทีพ ่ ฒ ั นาโดย CPN 2. การให้บริการของแม่บา้ น ปรับปรุงโดยการเพิม ่ รอบการ อบรม และการจัดทํามาตรฐานให้กบ ั พนักงานทําความ สะอาดทีว ่ า่ จ้างผ่านผูร้ บ ั เหมา 3. ความเพียงพอของห้องนํ้าและอุปกรณ์ ปรับปรุงโดย ติ ด ตั้ ง “ชุ ด ตรวจจั บ สถานะห้ อ งนํ้ า ” แสดงจํ า นวน ห้องนํา้ ว่างในชัน ้ ดังกล่าวและชัน ้ ใกล้เคียง เพือ ่ ให้ลก ู ค้า ตั ด สิ น ใจในการใช้ บ ริ ก ารห้ อ งนํ้ า ในแต่ ล ะชั้ น และลด การเข้าคิวรอ
ผลลัพธ์ของโครงการ (ระยะทดสอบ 10 เดือน)
การพัฒนาบุคลากรทีใ่ ห้บริการรวมถึงการพัฒนา บุ ค ลากรของพั น ธมิ ต รในการให้ บ ริ ก าร เช่ น พนักงานทําความสะอาดและเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภั ย โดยจั ด อบรมให้ กั บ คู่ ค้ า รั บ ทราบและ ปฏิบต ั ต ิ ามมาตรฐานการให้บริการของ CPN ผ่าน ระบบการเรียนออนไลน์ และมีระบบการประเมิน ระดับความสามารถในการให้บริการของพนักงาน ของบริษัทคู่ค้า เพื่อรักษามาตรฐานการให้บริการ ให้เป็นไปตามที่กาํ หนดไว้
• จํานวนข้อร้องเรียนเรือ ่ งการใช้ บริการห้องนํา้ ลดลงเป็นศูนย์
นอกจากนั้ น CPN ยั ง สนั บ สนุ น ให้ บุ ค ลากรมี ส่ ว นร่ ว มในการนํ า เสนอกระบวนการในการ ปรั บ ปรุ ง และนํ า เสนอแนวคิ ด ใหม่ ใ นการทํ า งาน อย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายใต้ ชื่ อ “โครงการดรี ม ที ม ” (รายละเอียดเพิ่มเติมใน หน้า 122)
2) การนําระบบการบริหารจัดการในระดับสากลมาปรับ ตามบริบทขององค์กร และบังคับใช้เป็นระบบมาตรฐานการ บริหารจัดการศูนย์การค้าด้านการให้บริการร้านค้าและลูกค้า หรือ “ระบบบริหารคุณภาพองค์กร ตามข้อกําหนดของ ISO 9001” โดยยึดกระบวนการดําเนินงานรวมไปถึงขัน ้ ตอนการ ติดตามตามรูปแบบของมาตรฐาน ISO 9001 ไว้ทั้งหมด มี การติดตามและตรวจสอบกระบวนการทํางานให้เป็นไปตาม มาตรฐานทีก ่ าํ หนด โดยคณะทํางานคุณภาพประจําสาขา และ มีการสุ่มตรวจคุณภาพการให้บริการรายปี โดยหน่วยงาน บริหารคุณภาพ และหน่วยงานตรวจสอบภายใน
• คะแนนความพึงพอใจของลูกค้า ในการใช้บริการห้องนํา้ เพิม ่ ขึน ้
ร้อยละ 9
(จากคะแนนร้อยละ 88 เป็นร้อยละ 96)
นอกจากนี้ CPN ได้ขอรับรองมาตรฐานระบบการบริหารจัด งานประชุม แสดงสินค้า และนิทรรศการอย่างยัง ่ ยืน หรือ ISO
108
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ซึ่งเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารเชิงรุกแบบตัว ต่อตัวกับทางลูกค้าโดยตรง เพือ ่ แจ้งสิทธิประโยชน์ จากร้านค้าภายในศูนย์การค้า แนะนําโปรโมชั่นและ กิจกรรมภายในศูนย์การค้าในแต่ละช่วงเวลา รวม ไปถึงอํานวยความสะดวกในการค้นหาทีต ่ ง ั้ ร้านค้า พร้อมนําทางผ่านระบบแผนที่ดิจิทัล นอกจากนี้ ยังเปิดทดลองให้บริการจองที่จอดรถพิเศษ โดย นําร่องการจองทีจ ่ อดรถในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์
20121 Event Sustainability Management System ใน การบริหารและจัดการพืน ้ ทีศ ่ น ู ย์ประชุมเอนกประสงค์อก ี ด้วย โดยมาตรฐานดังกล่าวมุ่งเน้นการบริหารด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดทีเ่ กีย ่ วข้อง รวม ถึงการรักษาและการจัดการขยะ โดยในปี 2561 CPN ได้ขอ รับรอง ISO 20121 เพิ่มอีก 2 แห่ง8 ได้แก่ ศูนย์ประชุม อุดรธานีฮอลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี และ ศูนย์ประชุมขอนแก่นฮอลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น 3) การตรวจสอบการปฏิ บั ติ ห น้ า งานให้ เ ป็ น ไปตาม มาตรฐานทีก ่ าํ หนด โดยทีมงานตรวจสอบการปฏิบต ั ก ิ ารซึง ่ เป็นทีมงานเฉพาะกิจรวมผู้เชี่ยวชาญภายในบริษัทฯ ในแต่ละ ลักษณะงานทําหน้าทีต ่ รวจสอบการปฏิบต ั ห ิ น้างานของแต่ละ ศูนย์การค้าในมิติเรื่อง ภาพลักษณ์ ความเป็นระเบียบ ความ ปลอดภัย และการปฏิบัติงานที่สอดคล้องตามข้อกําหนด ความพร้อมของเครื่องจักร ความครบถ้วนถูกต้องของ เอกสารตามกระบวนการทํางาน การปฏิบัติตามระเบียบของ ร้านค้า เช่น สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ของร้านค้า ใบรับประกันใน การดําเนินธุรกิจประเภทควบคุมของร้านค้า ใบขออนุญาต เข้าตกแต่งพื้นที่ของผู้รับเหมา เป็นต้น โดยผลประเมินการ ตรวจสอบจะถูกรายงานไปยังผูจ ้ ด ั การทัว ่ ไปศูนย์การค้า และ หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องเพือ ่ ดําเนินการแก้ไขปรับปรุงในประเด็น ที่บกพร่อง จากนั้นทีมงานที่รับผิดชอบในการตรวจสอบจะ ติดตามผลการแก้ไขเป็นระยะ ๆ ทั้งนี้ คะแนนที่ได้จากการ ตรวจสอบดังกล่าวเป็นหนึง ่ ในดัชนีชว ี้ ด ั ในการประเมินผลงาน รายสาขา และถ่ายทอดสู่ระดับที่เกี่ยวข้องตามลําดับ ในปี 2561 ได้ มี ก ารปรั บ รู ป แบบและวิ ธี ก ารทํ า งานของที ม งาน เฉพาะกิจ ทําให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการประหยัด เวลาทั้งของทีมงานตรวจและผู้ปฏิบัติงานได้ถึงร้อยละ 62
2) ด้านบริการชําระเงิน บริษท ั ฯ ดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์ในการผลักดัน สังคมไร้เงินสด สอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจ ดิจท ิ ล ั ของรัฐบาล โดยร่วมกับพันธมิตรธนาคารชัน ้ นําในประเทศไทย ในการมอบประสบการณ์การชําระ เงิ น ผ่ า น QR Code Payment ด้ ว ยการจั ด กิจกรรมอีเว้นท์ ที่เน้นให้เห็นถึงความสะดวกและ สิทธิพิเศษที่ลูกค้าจะได้รับ เมื่อยินดีชําระเงินผ่าน QR Code และการเชิญชวนร้านค้ารายย่อยกว่า 4,000 รายทั่วประเทศให้สมัครและเปิดให้บริการ ชําระเงินผ่าน QR Code เพื่อเพิ่มความสะดวกให้ กับลูกค้า
การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ในปี 2561 CPN กําหนดให้การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็น หนึ่งในกลยุทธ์องค์กรอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดตั้งหน่วยงาน ดูแลรับผิดชอบชัดเจน คือหน่วยงานดิจิทัล อินโนเวชัน และมีการ ติดตามผลการดําเนินงานผ่านการติดตามแผนกลยุทธ์ โดยคณะ กรรมการจัดการ ในส่วนแผนการดําเนินงานนัน ้ มุง ่ เน้นการพัฒนา นวั ต กรรมทางเทคโนโลยี เ พื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ และ อํ า นวยความสะดวกให้ กั บ ลู ก ค้ า และร้ า นค้ า และการจั ด การ โครงสร้างพืน ้ ฐานด้านข้อมูลสารสนเทศเพือ ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ใน เชิงธุรกิจ โดยแบ่งเป็นแผนการดําเนินงาน ดังนี้ 1.
สําหรับลูกค้า 1) ด้านการสื่อสาร บริษท ั ฯ เพิม ่ ช่องทางการสือ ่ สารออนไลน์ผา่ นโซเชียล มีเดียอย่างเป็นทางการ ผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ (Line) ภายใต้ชื่อ central Life (@centrallife)
8
ปัจจุบัน CPN ขอรับรอง ISO 20121 ให้กับศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ทั้งหมดจํานวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ประชุมเชียงใหม่ฮอลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ศูนย์ประชุมบีซซ ี ฮ ี อลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว ศูนย์ประชุมหาดใหญ่ฮอลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ ศูนย์ประชุมอุดรธานีฮอลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี และศูนย์ประชุมขอนแก่น ฮอลล์ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น
109
2.
3.
สําหรับร้านค้า บริ ษั ท ฯ พั ฒ นาโปรแกรมที่ ใ ช้ ง านบนมื อ ถื อ และแท็ บ เล็ ต สําหรับบริการร้านค้า เพิ่มความสะดวกให้กับร้านค้าผ่านการ ทํ า ธุ ร กรรมทางดิ จิ ทั ล ภายใต้ ชื่ อ โปรแกรม “ซี พี เ อ็ น เสิ ร์ ฟ (CPN Serve)” โดยนําร่องเปิดให้ร้านค้ารายย่อยกว่า 500 รายในศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา เวสต์ เ กต ได้ ล องใช้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออํานวยความสะดวกให้กับร้านค้าในการ ทําธุรกรรมกับ CPN แบบ self service, anywhere, any time ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวจะประกอบไปด้วย การให้ข้อมูล ทั่ ว ไปของศู น ย์ ก ารค้ า นั้ น ๆ จดหมายข่ า วจากเจ้ า หน้ า ที่ ร้านค้าสัมพันธ์โดยตรง การรับข่าวสารโปรโมชั่น กิจกรรม อีเว้นท์รายวัน รายเดือน แจ้งซ่อมระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ การทําธุรกรรมทางการเงิน เช่น การตรวจเช็คใบแจ้งหนี้ หนี้ ค งค้ า ง ประวั ติ ก ารชํ า ระเงิ น และการชํ า ระเงิ น ผ่ า น โปรแกรมได้โดยตรง เป็นต้น การจัดการโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลสารสนเทศ บริ ษั ท ฯ ศึ ก ษาระบบการจั ด การโครงสร้ า งพื้ น ฐานทาง สารสนเทศที่เหมาะสม เพื่อบริหารจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big Data) ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ โดยหนึง ่ ในเป้าหมายคือ การใช้ขอ ้ มูลขนาดใหญ่ในการจําแนก
และวิเคราะห์กลุ่มผู้บริโภคแบบใหม่ตามรูปแบบการจับจ่าย ใช้ ส อย 9 กลุ่ ม ที่ ท างการตลาดได้ ศึ ก ษาไว้ เพื่ อ จะได้ กํ า ห น ด แ ผ น ท า ง ก า ร ต ล า ด แ บ บ เ ฉ พ า ะ ร า ย บุ ค ค ล ไ ด้ อย่างเหมาะสมในอนาคต ในขณะเดียวกัน CPN วางแนวทางที่จะนําเทคโนโลยีดิจิทัล ดังกล่าวมาใช้ในการบริหารความสัมพันธ์กบ ั ลูกค้า โดยร่วมมือ กั บ พั น ธมิ ต รในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ซึ่ ง มี ค วามแข็ ง แกร่ ง ด้ า น ระบบบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า คือ เดอะวัน (The 1 Card -T1C) โปรแกรมการดูแลสมาชิกที่สามารถสะสมคะแนนผ่าน ทุกยอดการซื้อสินค้าและบริการจากธุรกิจในกลุ่มเซ็นทรัล (ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม www.the-1-c ard.c om) จากการ จั ด กิ จ กรรมแลกรั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษเฉพาะกลุ่ ม แบบออฟไลน์ ในปี 2561 เป็นการแลกรับสิทธิพิเศษผ่านโปรแกรมออนไลน์ โดยลูกค้าสามารถแลกคะแนนเป็นคูปองแทนเงินสด หรือ ส่ ว นลดในการซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก าร ผ่ า นแอปพลิ เ คชั น ไลน์ @centrallife ได้ โ ดยตรง พร้ อ มรั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม จากร้านค้าในศูนย์การค้าของ CPN ซึ่งโปรแกรมดังกล่าว ยั ง อํ า นวยความสะดวกให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น สมาชิ ก เ ด อ ะ วั น ส า ม า ร ถ ส มั ค ร เ ป็ น ส ม า ชิ ก ไ ด้ โ ด ย ต ร ง ผ่ า น แอปพลิเคชันไลน์ดังกล่าว
ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืน : นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และบริการ หัวข้อ
ผลการดําเนินงานปี2561
ดัชนีชี้วัดด้านความยั่งยืน
• กํ า หนด “คะแนนความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า (Shopper)” เป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ระดั บ องค์ ก ร เป้าหมายที่ระดับร้อยละ 85 • ได้คะแนนความพึงพอใจของลูกค้า (Shopper) ทีร่ ะดับร้อยละ 82 (น้อยกว่าปี 2560 ทีร่ อ ้ ยละ 1 เนื่ อ งจากมี ก ารขยายฐานผู้ตอบแบบสํา รวจ เพิม ่ ขึน ้ )
• กํ า หนด “คะแนนความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า (Shopper)” เป็นดัชนีชี้วัดระดับองค์กร โดย ตั้งเป้าหมายคะแนนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 เทียบกับ ปี 2561 และเป้าหมายระยะยาวในปี 2565 ที่ ระดับร้อยละ 85
การพัฒนาศูนย์การค้าโดย
• ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ก า ร ส ร้ า ง ศู น ย์ ใ ห ม่ 3 โครงการ เปิดให้บริการแล้ว 1 โครงการ คือ เซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต ฟลอเรสต้ า และปรั บ ปรุ ง ศูนย์การค้า 5 โครงการ แล้วเสร็จตามแผน 1 โครงการ คือ เซ็นทรัลเวิลด์ • ดําเนินงานตามแผนงานในการพัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์-จุดหมายใหม่ ตามแผนงาน จํานวน 15 จุดหมาย ใน 10 โครงการ
• ดําเนินงานตามแผนการสร้างศูนย์การค้าใหม่ 2 โครงการ และปรับปรุงศูนย์การค้า 5 โครงการ โดยเป็นโครงการปรับปรุงต่อเนือ ่ ง 2 โครงการ • ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ง า น ใ น ก า ร พั ฒ น า นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ได้ตามเป้าหมาย จํานวน 20 จุดหมายใหม่
• ดํ า เนิ น งานตามแผนกลยุ ท ธ์ ร ายปี ใ นการ ยกระดับคุณภาพในการให้บริการ ได้แก่ การพัฒนา กฎบัตรด้านการให้บริการลูกค้าสัมพันธ์ การให้ บริการด้านความปลอดภัย และความสะอาด ซึง ่ นําร่องใช้ในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์เป็นแห่งแรก
• ดําเนินงานตามแผนงานในการเพิ่มความพึง พอใจของลูกค้า และร้านค้าตามแผนกลยุทธ์ รายปี โดยผนวกกับแผนการดําเนินงานตาม กลยุทธ์ดจ ิ ท ิ ล ั และกลยุทธ์การสร้างจุดหมายใหม่
ยึดถือลูกค้าเป็นศูนย์กลาง และ ตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์
การให้บริการที่เป็นเลิศ
110
แผนปี2562
รายงานประจําปี 2561
หัวข้อ
การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ผลการดําเนินงานปี2561
แผนปี2562
• บรรลุการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์รายปี ใน การสร้างประสบการณ์ใหม่ และปรับปรุงสิ่ง อํานวยความสะดวกให้กับลูกค้า จํานวน 17 บริการใหม่ ใน 14 โครงการ • วางระบบมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางานตามมาตรฐาน ISO 45001 โดยทดลองนําร่องใน 2 โครงการ • ได้รับคะแนนความพึงพอใจของลูกค้าเฉพาะ หมวด ความสะดว ก ที่ ร ะดั บ ร้ อ ยละ 85 (มากกว่าปี 2560 อยู่ร้อยละ 5) และความ ปลอดภัยที่ระดับร้อยละ 79 (เท่าปี 2560)
• ขอรับรองมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน ISO 45001 อย่างน้อย 2 โครงการให้สาํ เร็จ
• ดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์รายปีในการมอบ ประสบการณ์ ท างดิ จิ ทั ล ให้ กั บ ลู ก ค้ า ผ่ า น แอปพลิเคชันไลน์อย่างเป็นทางการ ในไตรมาส ที่ 4 ของปี 2561 เนือ ่ งจากมีการเลือ ่ นช่วงเวลา การเปิดตัวอย่างเป็นทางการจากแผนเดิม ส่ง ผลให้ยอดการเพิ่มเพื่อนของ @centrallife น้อยกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ • ดํ า เนิ น งานตามแผนกลยุ ท ธ์ ใ นการอํ า นวย ความสะดวกให้ กั บ ร้ า นค้ า ผ่ า นโปรแกรม “ซี พี เอ็นเสิร์ฟ (CPN Serve)” โดยทดลอง นําร่องก่อน 1 โครงการ มีร้านค้าเข้าร่วมเป็นไป ตามเป้าหมาย
• ดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์รายปีในการมอบ ประสบการณ์ทางดิจท ิ ล ั ให้กบ ั ลูกค้า ร้านค้า และ การนําข้อมูลขนาดใหญ่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ กับองค์กรในหลากหลายมิติทั้งในแง่การเพิ่ม ความพึงพอใจของลูกค้าและร้านค้า และเพิ่ม ระดับความผูกพัน
111
การดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย CPN กําหนดกลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพย์สินโดยยึดหลักการดูแลผู้มีส่วนได้เสียเป็นสําคัญ เพื่อให้การบริหารและจัดการ ศูนย์การค้าและอสังหาริมทรัพย์ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และมุ่งหวังที่จะสร้างคุณค่าและประโยชน์ร่วมกันกับผู้มีส่วน ได้เสียอย่างยั่งยืน โดยเน้นการดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญ ได้แก่ ลูกค้า ร้านค้า พนักงาน คู่ค้า และชุมชน มุ่งมั่นในการพัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นเหมือนบ้านหลังที่สองของลูกค้า พัฒนาและสนับสนุนให้ร้านค้า และคู่ค้า สามารถเติบโตในธุรกิจไปพร้อมกับชุมชน ก่อให้เกิดการจ้างงานท้องถิ่นอย่างเป็นธรรม และพัฒนาศักยภาพงานฝีมือ และ ทักษะของคนในท้องถิ่นผ่านการจ้างงานทั้งจาก CPN ร้านค้า และคู่ค้า ผลักดันให้ชุมชนสามารถเข้าถึงระบบสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน มอบโอกาสในการได้สัมผัสกับประสบการณ์แปลกใหม่ได้อย่างทั่วถึง พร้อมกับคงอัตลักษณ์ และสืบสานวัฒนธรรม อันดีของท้องถิ่นให้คงอยู่และเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงและเผยแพร่ข้ามภูมิภาค
แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน 1. การบริหารจัดการและพัฒนาร้านค้า • การสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ • การพัฒนาร้านค้า • การสร้างความสัมพันธ์ • การรับฟังความคิดเห็น
2. การบริหารจัดการและ สร้างความผูกพันกับบุคลากร • การสรรหาและการรักษาบุคลากร • การพัฒนาผู้นําและการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร • การเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
รายงานแนวทางการบริหารและรายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย / การบริหารจัดการและพัฒนาร้านค้า www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย / การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย / การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย / การแสดงความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน
112
3. การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • การบริหารจัดการต้นทุนและ ความเสี่ยงคู่ค้า • การสรรหาคู่ค้ารายใหม่ • การบริหารความสัมพันธ์และ การพัฒนาคู่ค้า • การประเมินคู่ค้าและการปรับปรุง ประสิทธิภาพของกระบวนการ จัดซื้อ/จัดจ้าง
4. การแสดงความรับผิดชอบ และพัฒนาชุมชน • การลดผลกระทบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม • การสร้างความผูกพันกับชุมชน • การพัฒนาชุมชน
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การบริหารจัดการและพัฒนาร้านค้า ในปี 2561 CPN ได้ ดํ า เนิ น แผนงานการบริ ห ารจั ด การและ พั ฒ นาร้ า นค้ า โดยมุ่ ง เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มจากผู้ ป ระกอบการ ร้ า นค้ า ในการพั ฒ นาร้ า นค้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ ง กั บ แนวทางการสร้ า งนวั ต กรรมจุ ด หมายใหม่ เ พื่ อ มุ่ ง สู่ ก าร พัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นศูนย์กลางของการใช้ชว ี ต ิ และศูนย์กลาง ของชุมชนที่ก่อให้เกิดการสร้างงาน และการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน โดยแบ่งแผนงานออกเป็นหมวดหมู่ ดังนี้ 1.
2.
สร้างผู้ประกอบการรายใหม่ CPN ให้ ก ารสนั บ สนุ น ผู้ ป ระกอบการรายใหม่ ไ ด้ ท ดลอง เปิ ด ร้ า นในศู น ย์ ก ารค้ า ในหลายรู ป แบบ อาทิ รู ป แบบ ป็ อ ปอั พ สโตร์ บ นพื้ น ที่ ส่ ว นกลางในระยะสั้ น ตามช่ ว งเวลา ที่กําหนดในทุกโครงการทั่วประเทศ ซึ่งได้รับความสนใจจาก ผูป ้ ระกอบการรายย่อยและผูป ้ ระกอบการรายใหญ่ทต ี่ อ ้ งการ แตกไลน์ธุรกิจ รวมทั้งสิ้น 73 ราย นอกจากนั้น ยังพัฒนา รูปแบบการเปิดร้านในพื้นที่ศูนย์อาหารแบบใหม่ เช่น การ พัฒนาฟู้ดเวิลด์บริเวณชั้น 7 ของศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และการพั ฒ นาโซนเทลส์ อ อฟไทยแลนด์ ใ นเซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต เป็นต้น ทัง ้ นีส ้ ามารถสนับสนุนให้มผ ี ป ู้ ระกอบการรายใหม่รว ่ ม เปิดร้านกับ CPN รวม 52 ราย การพัฒนาร้านค้า 1) การสนั บ สนุ น และพั ฒ นารู ป แบบร้ า นค้ า แนวใหม่ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางการพั ฒ นานวั ต กรรม จุดหมายใหม่ที่กําหนดไว้ โดยเป็นการทํางานร่วมกัน แบบบูรณาการระหว่างทีมงานพัฒนาธุรกิจ ทีมงานขาย ทีมงานตรวจแบบร้านค้า ทีมงานร้านค้าสัมพันธ์ กับ ผู้ประกอบการร้านค้า อาทิ การร่วมพัฒนาร้านกาแฟ คาเฟ่ และร้านของหวานขนาดเล็กในรูปแบบร้านค้าบน พื้ น ที่ ส่ ว นกลาง ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในจุ ด หมายของการ รับประทานอาหารของคนรุน ่ ใหม่ บริเวณชัน ้ 3 ชัน ้ 5 และ ชั้น 6 ในโครงการปรับปรุงศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ นอกจากนีย ้ ง ั มีการพัฒนาต่อยอดขยายไลน์ผลิตภัณฑ์ แบบข้ามหมวด เช่น ร้าน Divana Signature Cafe และร้าน CPS Coffee และการขยายรูปแบบร้านค้าใน แบบราคาย่ อ มเยา เช่ น ร้ า น Ramen Ippudo ร้าน After You To Go เป็นต้น
Divana Signature Cafe ร้านค้าทีต ่ อ ่ ยอดจากผลิตภัณฑ์ความงาม เครือ ่ งหอมและ สปาสู่ร้านคาเฟ่บรรยากาศสวยงามท่ามกลางสวนดอกไม้ นานาชนิด CPS Coffee ร้ า นค้ า ที่ พั ฒ นารู ป แบบการขายสิ น ค้ า แบรนด์ เ สื้ อ ผ้ า คนรุ่ น ใหม่ ต่ อ ยอดสู่ ก ารนํ า เสนอบาร์ เ ครื่ อ งดื่ ม กาแฟ และชา ไว้คอยให้บริการลูกค้าครบทุกรูปแบบ
Ramen Ippudo ร้านค้าแบบราคาย่อมเยา ซึ่งเป็นการแตกไลน์จากร้านค้า ขนาดใหญ่ เ ต็ ม รู ป แบบ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 After You To Go ร้ า นค้ า ที่ ป รั บ ย่ อ รู ป แบบร้ า นเป็ น ให้ บ ริ ก ารซื้ อ กลั บ ไป รับประทาน ซึ่งเหมาะกับพนักงานออฟฟิศที่ไม่มีเวลานั่ง รับประทานทีร่ า้ น ณ อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์
113
2) การพัฒนาผู้ประกอบการร้านค้ารุ่นใหม่ มุ่งเน้นการ อบรมให้เกิดความรู้ และเพิ่มทักษะการบริหารจัดการใน การประกอบธุรกิจแบบโมเดิรน ์ เทรด โดยเปิดกว้างให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการทีส ่ นใจทัง ้ รายทีท ่ าํ ธุรกิจอยูก ่ บ ั CPN และ ผูป ้ ระกอบการทัว ่ ไป โดยแบ่งออกเป็นสองโครงการ คือ โครงการซีพีเอ็นลีด - CPNlead (CPN Leading Entrepreneur Advanced Development Program) และโครงการซี พี เ อ็ น รี เ ทลอะคาเดมี - CPN Retail Academy ซึ่งเป็นการต่อยอดจากกิจกรรม SME Think Big เมื่อปี 2559 และ SME Think Big สัญจร ในปี 2560 โดยอยู่ระหว่างการเตรียมโปรแกรมอบรม ร่วมกันกับสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (สสว.) ในหลักสูตรการทําธุรกิจค้าปลีกแบบ โมเดิร์นเทรดสําหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีรุ่นใหม่ ซึ่ง คาดว่าจะสามารถเปิดรับสมัครผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ สนใจได้อย่างน้อย 250 รายในปี 2562
ผลลัพธ์ของโครงการ • ผูเ้ ข้าร่วมโครงการพึงพอใจกับประโยชน์ที่ ได้ รั บ และยินดีที่จะแนะนําโครงการให้กับ ผูป ้ ระกอบการรายอืน ่ ถึง
ร้อยละ 100
• ผู้ประกอบการมีความมั่นใจและตัดสินใจ ทําธุรกิจร่วมกับ CPN คิดเป็น
ร้อยละ 35
• ผู้ประกอบการเห็นโอกาสในการทําธุรกิจ ร่วมกับ CPN ทั้งการเปิดและขยายสาขา ในเขตกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดคิดเป็น
โครงการซีพีเอ็นลีด (CPNlead) หลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการเอสเอ็มอีรุ่นใหม่ โดยความ ร่วมมือระหว่าง CPN และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซง ึ่ จัด ขึ้นต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 มุ่งเน้นการอบรมเชิงปฏิบัติการที่ให้ ความรู้เชิงผสมผสานระหว่างการอบรมในห้องเรียน และ การฝึกทักษะและลงมือทําตลาดจริงในพืน ้ ทีข ่ อง CPN อาทิ การจัดทําป็อปอัพสโตร์ภายในศูนย์การค้า เพื่อให้ทราบผล ตอบรับตามความเป็นจริงจากการลงมือปฏิบัติ โดยในรุ่น ที่ 2 ปี 2561 นี้ มีผป ู้ ระกอบการให้ความสนใจรวมทัง ้ สิน ้ 40 ราย ประกอบด้วยร้านค้าในหมวดอาหาร แฟชัน ่ และหมวดพิเศษ เข้ารับการอบรมจากผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญระดับ ชัน ้ นําในธุรกิจค้าปลีกของประเทศไทย จํานวน 20 หลักสูตร ครอบคลุมความรูใ้ นเรือ ่ งการวางกลยุทธ์ การสร้างแบรนด์ การวางแผนการตลาด OMNI Channel การใช้ข้อมูลใน การสร้างความสัมพันธ์กบ ั ลูกค้า โดยนําความรูท ้ ไี่ ด้รบ ั จาก การอบรมมาใช้ในการทดลองพัฒนาสินค้าใหม่ การทํา แคมเปญแบบข้ามหมวดผลิตภัณฑ์ในการออกร้านแบบ ป๊ อ ปอั พ สโตร์ แ ละการให้ คํ า ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ แผนธุ ร กิ จ เฉพาะราย
114
ร้อยละ 58
จากผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด
3.
การสร้างความสัมพันธ์ หนึง ่ ในช่องทางการสร้างความมีสว ่ นร่วมในการพัฒนา ธุรกิจร่วมกันระหว่างผูป ้ ระกอบการร้านค้ากับ CPN คือ การประชุมกับผูป ้ ระกอบการร้านค้าเฉพาะรายเพือ ่ รับฟัง และหาแนวทางพั ฒ นาธุ ร กิ จ ร่ ว มกั น ซึ่ ง ผลจากการ ประชุมหารือเชิงลึก ส่งผลให้ทั้งสองฝ่ายสามารถร่วม กันพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการขายและการตลาดในรูป แบบใหม่ ที่ เ ฉพาะเจาะจงในการตอบสนองต่ อ ความ ต้องการของผู้ประกอบการร้านค้าได้เหมาะสมมากขึ้น โดยมีเป้าหมายในการผลักดันยอดขายของผู้ประกอบ การให้ดข ี น ึ้ และเพิม ่ ประสิทธิภาพในการบริหารงาน อาทิ 1)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์คอลเลคชัน ่ ใหม่ โดยเฉพาะ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นหมวดแฟชั่ น และกํ า หนดให้ เ ปิ ด จําหน่ายเฉพาะร้านที่ตั้งอยู่ในศูนย์การค้าที่บริหาร โดย CPN โดยในปี 2561 มีแบรนด์สินค้าแฟชั่นที่ เปิดตัวคอลเลคชั่นใหม่เฉพาะกับ CPN จํานวน 24 แบรนด์ 2) การพั ฒ นาโปรแกรมส่ ง เสริ ม การขาย อาทิ โปรแกรมส่ ง เสริ ม การขายแบบพิ เ ศษเฉพาะกั บ CPN หรือ Exclusive Campaign @ CPN โปรแกรมแคมเปญร่ ว มกั บ บั ต รเดอะวั น การ์ ด (T1C) และบัตรเครดิต และแคมเปญแบบข้ามหมวด ผลิตภัณฑ์และบริการ หรือ Cross Promotion Campaign เช่น แคมเปญร่วมระหว่างโรงเรียน
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
สอนพิเศษกับโรงภาพยนตร์ แคมเปญร่วมระหว่าง Grab และร้านอาหาร เป็นต้น โดย CPN ทําหน้าที่ เป็ น คู่ คิ ด ในการนํ า เสนอและประสานพั น ธมิ ต รที่ หลากหลายในการทําแคมเปญต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น นอกจากนั้น ยังร่วมกันจัดแคมเปญส่งเสริมการ ขายเฉพาะหมวด เช่น ร่วมกับแบรนด์สินค้าแฟชั่น ในหมวดผ้ายีนส์จัดแคมเปญ DNA Denim ร่วม กับ “เว็บไซต์วงใน” จัดกิจกรรมอีเว้นท์เทศกาล อาหาร เป็นต้น พบว่าร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการดัง กล่าวมียอดขายในช่วงทําแคมเปญเพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 5 ถึ ง ร้ อ ยละ 40 และสามารถสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ผู้ ป ระกอบการรายย่ อ ยที่ เ ข้ า ร่ ว มแคมเปญกว่ า 12 ล้านบาท (นับเฉพาะที่เก็บข้อมูลได้) 3) การจั ด ประชุ ม คู่ ค้ า Partner Engagement Meeting เป็ น ช่ อ งทางที่ สํ า คั ญ ในการสื่ อ สาร นโยบายและแผนงานในการทําธุรกิจร่วมกัน การ ส่ ง เสริ ม ให้ ค วามรู้ กั บ คู่ ค้ า ในเรื่ อ งที่ เ ป็ น แนวโน้ ม ใหม่ ๆ ที่สาํ คัญ รวมทั้งเป็นโอกาสที่ดีในการรับฟัง ข้อคิดเห็นและรับทราบประเด็นที่กังวลใจจากคู่ค้า 4) การจั ด กิ จ กรรมร้ า นค้ า สั ม พั น ธ์ เ พื่ อ กระชั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะ ห ว่ า ง กั น แ ล ะ เ ป็ น การรั บ ฟั ง ข้ อ เสนอแนะจากร้ า นค้ า อย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการ โดยในปี 2561 ได้จัดกิจกรรมเพิ่มเติม แบ่งตามกลุ่มผู้ประกอบการให้เหมาะสมตรงตาม ไลฟ์ ส ไตล์ แ ละประสบการณ์ ก ารใช้ ชี วิ ต ในช่ ว ง ความทรงจํ า ที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น จั ด กิ จ กรรม รับประทานอาหารสุดพิเศษกับกลุม ่ เจ้าของกิจการ ที่ เ ติ บ โตร่ ว มกั บ CPN อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การจั ด กิจกรรมและชมคอนเสิร์ตศิลปินที่มีชื่อเสียงและ ตรงกลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการ รวมถึ ง สั น ทนาการ ในรู ป แบบอื่ น ๆ ที่ เ น้ น เฉพาะตามไลฟ์ ส ไตล์ มากยิ่งขึ้น 4. การรับฟังความคิดเห็น ในปี 2561 CPN ปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารสํ า รวจความ พึงพอใจของร้านค้าในการรับบริการจาก CPN โดยปรับ จากระบบเดิมที่ทําการสํารวจรายปี เป็นการสํารวจโดย วิธก ี ารสัมภาษณ์โดยทีมงานร้านค้าสัมพันธ์รายไตรมาส ซึ่งจะทําการสัมภาษณ์เชิงลึกควบคู่ไปกับการตอบแบบ สํารวจออนไลน์ ซึง ่ พัฒนาและวิเคราะห์โดยทีมงานวิจย ั การตลาดภายใน ทัง ้ นี้ ยังยึดหมวดหมูท ่ ใี่ ช้ในการประเมิน คงเดิม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจะถูกส่งต่อไปยังทีมงาน ทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ ร่วมกันหาแนวทางพัฒนาและแก้ไขการ ให้บริการในแต่ละโครงการ อีกทัง ้ คะแนนทีไ่ ด้จะเป็นหนึง ่ ในดัชนีชี้วัดผลการดําเนินงานของแต่ละโครงการ และ เป็นหนึง ่ ในเกณฑ์ประเมินให้รางวัลศูนย์การค้ายอดเยีย ่ ม ของ CPN ในแต่ละปี
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การประชุมคู่ค้า Partner Engagement Meeting
การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และแนวทางการดําเนิน งานร่วมกันระหว่าง CPN กับผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มคู่ ค้าทีใ่ ห้บริการด้านการจัดงานกิจกรรมและสือ ่ สารทางการ ตลาด (รายละเอียดในหน้า 124-126) และผูบ ้ ริหารระดับสูง หรือระดับจัดการด้านการเงินของกลุม ่ ผูป ้ ระกอบการร้านค้า มีผู้เข้าร่วมประชุมจํานวน 81 ท่าน โดย CPN ได้สื่อสาร เกี่ยวกับนโยบายการทําธุรกิจเพื่อรองรับสังคมไร้เงินสด เพื่อกําหนดแนวทางการดําเนินงานร่วมกัน และให้คู่ค้า ร่ ว มตรวจสอบวิ เ คราะห์ ส ถานะ และประเมิ น ตนเองใน ด้ า นการทํ า ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น เป็ น ครั้ ง แรก ซึ่ ง ประกอบ ด้ ว ยประเด็ น ความเสี่ ย งและความยั่ ง ยื น ทางธุ ร กิ จ ใน 9 หมวด โดยผลที่ ไ ด้ CPN จะนํ า ไปพั ฒ นาเป็ น เนื้ อ หา ในการสื่ อ สาร การประชุ ม และการพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ร่วมกันต่อไป
ผลลัพธ์ของโครงการ • คูค ่ า้ เห็นว่าเนือ ้ หาการประชุมเป็น ประโยชน์ตอ ่ ธุรกิจของตนคิดเป็น
ร้อยละ 70 และ ร้อยละ 80
ของคู่ค้า ประสงค์จะให้จัดงานประชุม เช่นนี้อีกในอนาคต
• คู่ค้าริเริ่มการตรวจสอบวิเคราะห์ สถานะและการประเมินตนเอง ด้านการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน
115
ผลการดําเนินงานด้านความยัง ่ ยืน : การบริหารจัดการและการพัฒนาร้านค้า หัวข้อ
ดัชนีชี้วัดด้านความยั่งยืน
การบริหารจัดการ สร้างความสัมพันธ์ และพัฒนาร้านค้า
116
ผลการดําเนินงานปี2561
แผนปี2562
• กําหนด “คะแนนความพึงพอใจของร้านค้า” เป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ระดั บ องค์ ก ร เป้ า หมายอยู่ ที่ ร้อยละ 80 • CPN ได้ ค ะแนนความพึ ง พอใจของร้ า นค้ า ที่ ร้ อ ยละ 80 ตามเป้ า หมาย โดยคะแนน มากกว่าปี 2560 ที่ร้อยละ 2.6
• กําหนด “คะแนนความพึงพอใจของร้านค้า” เป็นดัชนีชี้วัดระดับองค์กร เป้าหมายที่ระดับ ร้อยละ 83
• ดําเนินการตามแผนงานพัฒนาผูป ้ ระกอบการ ทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพภายใต้ โครงการ CPNlead รุน ่ 2 โดยมีจาํ นวนผูเ้ ข้าร่วมทัง ้ สิน ้ 40 ราย และขยาย ผลทางธุรกิจร่วมกับ CPN จํานวน 14 ราย รวม เป็ น การเปิ ด ร้ า นใหม่ แ ละขยายสาขาจํ า นวน รวม 21 แห่ง • ดําเนินงานตามแผนงานกลยุทธ์องค์กรในการ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ร้ า นค้ า เชิ ง ลึ ก ในการ วางแผนงานร่วมกันจํานวน 2,739 แบรนด์ เป็นไปตามเป้าหมายที่กาํ หนด • ดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์การบริหารจัดการ ทรัพย์สิน และแผนงานการบริหารจัดการและ พัฒนาร้านค้าสําเร็จตามเป้าหมายที่กําหนด รวมทั้งการกําหนดกลยุทธ์การขายแยกราย สาขา และการเพิม ่ ประสิทธิภาพในการขายของ ที ม งานผ่ า นการอบรม 9 หลั ก สู ต ร โดยจั ด อบรม 16 ครั้ง ส่งผลให้ผลิตภาพในการขาย เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 10 • สนั บ สนุ น ผู้ ป ระกอบการร้ า นค้ า รายย่ อ ยและ ท้องถิน ่ ได้มโี อกาสเปิดร้านค้าปลีกแบบโมเดิรน ์ เทรดจํานวน 5,033 ร้าน (นับซํ้าราย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561)
• ดํ า เนิ น งานตามแผนงานส่ ง เสริ ม การขาย เชิ ง กลยุ ท ธ์ โดยมุ่ ง เน้ น การทํ า แคมเปญ ทั่วประเทศแบบเจาะจงกลุ่มลูกค้า และเพิ่ม รูปแบบร้านค้าแบบชัว ่ คราว หรือป๊อปอัพสโตร์ ให้มากขึ้น 10 เท่าจากปี 2560 • ดําเนินงานตามแผนงานประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ร่ ว มกั บ ร้ า นค้ า โดยตั้ ง เป้ า หมายให้ ร้านค้าใช้แอปพลิเคชัน CPN Serve ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด • เพิ่มสัดส่วนผู้ประกอบการร้านค้าท้องถิ่นให้ ได้ที่ร้อยละ 10-20 ทั้งจากโครงการซีพีเอ็น รีเทลอะคาเดมี และจากการสรรหาเพิ่ม
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร CPN ได้กาํ หนดแผนงานการบริหารจัดการและสร้างความผูกพัน กับบุคลากร โดยมีแนวทางในการบริหารจัดการตามที่ได้นําเสนอ ใน www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การดูแลผู้มี ส่วนได้เสีย / การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร / การบริหารจัดการและผลการดําเนินงาน โดยในปี 2561 ยังคง ตั้งเป้าหมายในการเป็นองค์กรในหัวใจพนักงาน หรือ Employer of Choice และแบ่งกลยุทธ์การบริหารจัดการออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1.
•
การสรรหาและการรักษาบุคลากร 1) การสรรหาและการว่าจ้าง CPN กําหนดแนวทางในการบริหารจัดการบุคลากรโดย ยึดหลักบรรษัทภิบาล คํานึงถึงความโปร่งใส เป็นธรรม และความเสมอภาคตามหลักสิทธิมนุษยชน เปิดโอกาส ให้กบ ั ทุกคน ทุกเพศ ทุกเชือ ้ ชาติ โดยไม่แบ่งแยกพืน ้ ฐาน ของแต่ละปัจเจกบุคคล ทั้งการสรรหา การว่าจ้าง และ การประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ าน9 ในปี 2561 CPN ได้รเิ ริม ่ การสํารวจความพึงพอใจต่อแบรนด์ CPN ในฐานะการ เป็นองค์กรในหัวใจในกลุ่มผู้สนใจสมัครงาน และมีผล การสํารวจความพึงพอใจในระดับร้อยละ 94 ในปี 2561 CPN ว่าจ้างพนักงานใหม่ทั้งสิ้น 1,108 คน โดยเปิดรับสมัครพนักงานใหม่ที่มีภูมิลาํ เนาตามภูมิภาค และเปิดโอกาสให้พนักงานโอนย้ายกลับภูมล ิ าํ เนา พบว่า มีจาํ นวนพนักงานขอโอนย้ายไปโครงการใหม่ 1 แห่ง คือ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า คิดเป็นร้อยละ 16 ของจํานวน พนักงานทั้งหมดในโครงการ ส่งผลให้ยอดรวมจํานวน พนั ก งานใหม่ แ ละจํ า นวนพนั ก งานที่ ข อโอนย้ า ยกลั บ ภูมิลาํ เนา คิดเป็นร้อยละ 23 ของพนักงานทั้งหมด จํานวนพนักงานใหม่แบ่งตามภูมิภาค (คน)
ภาคตะวันออก, 68
ภาคตะวันตก, 37
ภาคเหนือ, 34
กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล , 681
ภาคใต้, 209 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ, 59 ภาคกลาง, 20
*
ทั้ ง นี้ ในการวางแผนจั ด การอั ต รากํ า ลั ง คนและการ สรรหานัน ้ ได้นาํ ประเด็นความเสีย ่ งในด้านการสรรหาและ รักษาบุคลากรมาร่วมพิจารณาด้วย ส่งผลให้มีการเพิ่ม เติ ม และดํ า เนิ น แผนงานในการสรรหาต่ อ เนื่ อ งจากปี 2560 ดังนี้
ไม่รวมจํานวนพนักงานขอโอนย้าย
9
•
การสรรหาพนักงานรุน ่ ใหม่-รุน ่ มิลเลนเนียล ผ่าน สื่ อ สั ง คมออนไลน์ แ ละแพล็ ต ฟอร์ ม การสรรหา ซึ่งเป็นช่องทางการสื่อสารที่เข้าถึงไลฟ์สไตล์ของ คนรุน ่ ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิผล เช่น ลิงค์อน ิ เฟสบุค ๊ ช่องทางออนไลน์ของกลุ่มเซ็นทรัล และ ในปี 2561 ได้เปิดตัวซีพีเอ็นไลน์สําหรับการสมัครงานอย่าง เป็นทางการ โดยแบ่งการเข้าถึงข้อมูลตําแหน่งงาน ที่ เ ปิ ด รั บ ออกเป็ น 5 ภู มิ ภ าค ได้ แ ก่ กรุ ง เทพฯ แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล ภ า ค เ ห นื อ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคใต้ ได้ รั บ ก า ร ต อ บ รั บ จ า ก ผู้ ที่ ส น ใ จ เ ป็ น เ พื่ อ น ใ น ร ะ ย ะ เริม ่ แรกจํานวน 4,700 คน ภายหลังการดําเนินการ พบว่ า การสื่ อ สารผ่ า นช่ อ งทางดั ง กล่ า วยั ง ไม่ บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการสื่ อ สารแบบสองทาง เท่ า ที่ ตั้ ง เป้ า หมายไว้ จึ ง ศึ ก ษาช่ อ งทางสรรหา ออนไลน์ ร ะดั บ สากลเพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ รองรั บ การ ขยายธุรกิจในต่างประเทศ ทั้งนี้ ในปี 2561 ได้รับ พนักงานใหม่รน ุ่ ใหม่อายุระหว่าง 18-30 ปี จํานวน 715 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65 ของพนักงาน ที่ รั บ ใหม่ ใ นปี 2561 ส่ ง ผลให้ สั ด ส่ ว นโดยรวม ของพนักงานรุ่นมิลเลนเนียลเป็นร้อยละ 39 ของ พนักงานทั้งหมดในองค์กร โครงการ Work Integrated Learning หรือ WIL โครงการบูรณาการการเรียนการสอนเข้า กับการทํางานจริง ในความร่วมมือระหว่าง CPN กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) จัดขึ้นเป็นรุ่นที่ 2 ต่อเนื่องนับจากรุ่นแรก เมื่อปี 2558 โดยเปิดรับสมัครนักศึกษาที่สําเร็จ การศึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ขั้ น สู ง (ปวส.) เข้าปฏิบัติงานจริงกับ CPN ควบคู่กับการ ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี เ ป็ น เวลา 3 ปี นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับประสบการณ์ จากการทํางานจริง พร้อมประยุกต์ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ ใ น ก า ร เ รี ย น กั บ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จํ า ร า ย วิ ช า เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนให้ ต รงกั บ การ ใช้ จ ริ ง ในอุ ต สาหกรรม รวมทั้ ง ได้ รั บ เบี้ ย เลี้ ย ง และสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เช่นเดียวกับ พ นั ก ง า น ร ะ ดั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ทั่ ว ไ ป ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ของโครงการวัดได้จากนักศึกษารุ่นแรกจํานวน 12 คน ได้ ทํ า สั ญ ญาบรรจุ เ ป็ น พนั ก งานของ
รายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาอย่างยั่งยืน / การกํากับดูแลกิจการที่ดี / นโยบายและแนวทางปฏิบัติ / นโยบายการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน
117
•
•
•
10
CPN จากจํานวนทัง ้ หมด 14 คน และเสียงตอบรับ ที่ ดี จ ากตั ว นั ก ศึ ก ษา พนั ก งาน CPN ที่ เ ป็ น ครู พี่ เ ลี้ ย ง และครู ที่ ป รึ ก ษา โดยทุ ก ฝ่ า ยต่ า งได้ รั บ ประโยชน์ซึ่งกันและกัน โครงการนักการตลาดรุ่นใหม่ หรือ Marketing Next GEN โครงการรับสมัครนักศึกษาจบใหม่ อายุ ไ ม่ เ กิ น 27 ปี ที่ มี ศั ก ยภาพและรั ก ในงาน การตลาด เข้ า ทํ า งานแบบฝึ ก อบรมและเรี ย นรู้ ในงาน (On the Job Training: OJT) ซึ่งเริ่มขึ้น ในปี 2560 นั้ น พบว่ า อั ต ราการลาออกของ พนั ก งานที่ อ ยู่ ใ นโปรแกรมดั ง กล่ า วมี นั ย สํ า คั ญ ดังนั้น ในปี 2561 จึงได้พักโครงการเพื่อทําการ ทบทวนแนวทางการรับสมัครและการหมุนเวียนงาน ใหม่ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ไลฟ์สไตล์และความต้ อ งการ ของคนรุ่นมิลเลนเนียล โครงการผู้ บ ริ ห ารรุ่ น ใหม่ ก ลุ่ ม เซ็ น ทรั ล หรื อ Central Group Management Associate (MA) โครงการสร้ า งผู้ บ ริ ห ารรุ่ น ใหม่ จั ด โดย กลุ่มเซ็นทรัล เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพ และผ่ า นการคั ด เลื อ กเข้ า ร่ ว มทํ า งานจริ ง และ สร้ า งโอกาสการเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ในสาม กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ กลุ่ ม ค้ า ปลี ก กลุ่ ม บริ ห าร อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และกลุ่ ม การบริ ห ารแบรนด์ ซึ่ ง ดํ า เนิ น การมาแล้ ว เป็ น ปี ที่ 4 โดยในปี 2561 CPN รั บ บุ ค ลากรจากโครงการดั ง กล่ า วบรรจุ เป็นพนักงาน CPN และอยูร่ ะหว่างการหมุนเวียนงาน ในบริษัทฯ แล้วทั้งสิ้น 12 คน โครงการผู้ จั ด การทั่ ว ไปฝึ ก หั ด (General Manager Trainee หรื อ GM Trainee) โครงการรั บ สมั ค รและพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารในระดั บ ผู้ จั ด ก า ร ศู น ย์ ก า ร ค้ า จ า ก พ นั ก ง า น ภ า ย ใ น เพื่ อ รองรั บ แผนการขยายธุ ร กิ จ ของ CPN ซึ่ ง ดํ า เนิ น การต่ อ เนื่ อ งนั บ จากปี 2550 ผู้ ที่ ส นใจ ในโครงการดั ง กล่ า วจะต้ อ งผ่ า นกระบวนการ คัดกรอง 3 รูปแบบ คือ การสอบข้อเขียน การสอบ สัมภาษณ์ และการสอบประเมินภาวะผูน ้ าํ ภายหลัง ผ่ า นการคั ด เลื อ กบุ ค ลากรจะได้ รั บ การพั ฒ นา อบรมในรูปแบบห้องเรียนจํานวน 20 หลักสูตร ทั้ ง ในด้ า นความรู้ เ รื่ อ งงาน กระบวนการและ การพั ฒ นาภาวะผู้ นํ า และรู ป แบบการลงปฎิ บั ติ หน้ า งานจริ ง ในสาขาโดยมี ผู้ จั ด การทั่ ว ไปประจํ า ส า ข า เ ป็ น พี่ เ ลี้ ย ง ส อ น ง า น น อ ก เ ห นื อ จ า ก โครงการ GM Trainee แล้ว CPN ยังพัฒนา ห ลั ก สู ต ร ก า ร อ บ ร ม แ ล ะ ส อ น ง า น ผู้ จั ด ก า ร มือใหม่แบบเร่งรัด โดยดําเนินการสอนหลักสูตร เดี ย วกั บ GM Trainee ให้ กั บ ผู้ จั ด การทั่ ว ไป ที่ รั บ เข้ า มาใหม่ ภ ายในระยะเวลา 3 เดื อ น โดย ในปี 2561 มี GM Trainee ในโปรแกรมทัง ้ สิน ้ 4 คน
•
โครงการเตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นเกษี ย ณ โครงการต่ อ อายุ ก ารทํ า งานของบุ ค ลากรที่ ใ กล้ เกษียณเป็นรายปี หรือราย 2 ปี ขึ้นอยู่กับความ จํ า เป็ น ของงานและความเต็ ม ใจร่ ว มกั น ทั้ ง ฝ่ า ย ลู ก จ้ า งและนายจ้ า ง โดยพิ จ ารณาต่ อ อายุ ก าร ทํ า งานออกไปจนถึ ง อายุ 65 ปี ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี บุคลากรในโครงการดังกล่าวจํานวน 6 คน
2) การรักษาและสร้างความผูกพันพนักงาน10 CPN ยึดหลักบรรษัทภิบาลในการดูแลพนักงาน เพื่อ ให้ ไ ด้ รั บ สวั ส ดิ ก ารที่ เ หมาะสม และสามารถแข่ ง ขั น ได้ กั บ ตลาดแรงงานทั่ ว ไป โดยความแตกต่ า งทางเพศ สภาพ เชื้ อ ชาติ และความทุ พ พลภาพทางร่ า งกาย ไม่ ส่ ง ผลต่ อ การกํ า หนดค่ า ตอบแทนและการเลื่ อ น ตํ า แหน่ ง ของพนั ก งาน อี ก ทั้ ง ยั ง เปิ ด กว้ า งรั บ ฟั ง ความคิดเห็นจากพนักงาน และให้สท ิ ธิเสรีภาพพนักงาน ในการทําธุรกรรมต่าง ๆ ร่วมกันตามแนวทางปฏิบัติ ของการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ • ความผูกพันของพนักงาน CPN ประเมินความ ผูกพันของพนักงานภายใต้ชื่อ “CG Voice” หรือ Central Group Voice (โครงการ Power of Voice เดิม) ตามกรอบการประเมินความผูกพัน ของพนักงานสู่การเป็นองค์กรในหัวใจพนักงาน (Employer of Choice) ของบริษท ั เอออน ฮิววิท (Aon Hewitt) ซึ่งทําการประเมินใน 2 มิติ คือ ปัจจัยขั้นพื้นฐาน 4 หมวด และปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลง 3 หมวด ทั้งนี้ มีการปรับวิธีการ คํานวณคะแนนให้สามารถเทียบเคียงกับบริษัทใน กลุ่มธุรกิจเดียวกันได้ชัดเจนมากขึ้น โดยในปี 2561 มีพนักงานที่ร่วมทําแบบประเมิน ร้ อ ยละ 88 ของจํ า นวนพนั ก งานทั้ ง หมด และ ได้ ค ะแนนความผู ก พั น ของพนั ก งานร้ อ ยละ 73 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ Top quartile ของกลุ่มธุรกิจ เดียวกันในระดับโลก ผลการประเมินความผูกพัน และปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ คะแนนความผู ก พั น จะถู ก นําไปวิเคราะห์และพัฒนาแผนงานยกระดับความ ผู ก พั น ของบุ ค ลากรโดยที ม งานด้ า นทรั พ ยากร มนุ ษ ย์ และผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของแต่ ล ะฝ่ า ย และ รายงานต่อคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระดับองค์กร และคณะกรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน ตามลําดับ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดแนวทางในการปรั บ ปรุ ง และ พัฒนาสําหรับปี 2562 ให้ความสําคัญกับปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะหมวดการ ทํางานเป็นทีม และการใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วน ช่วยในการทํางาน และแบ่งการวิเคราะห์แผนตาม
รายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/การบริหารจัดการและการสร้างความผูกพันกับบุคลากร/การบริหารจัดการและผลการ ดําเนินงาน/กระบวนการรักษาบุคลากรและเพิ่มความผูกพันกับองค์กร.
118
รายงานประจําปี 2561
•
บทที่ 20
อายุงานและอายุของพนักงาน เพื่อพัฒนาแผน สร้ า งความผู ก พั น ให้ ต รงกั บ ไลฟ์ ส ไตล์ ข องคน ต่างยุคสมัย โดยเฉพาะรุ่นมิลเลนเนียล การขับเคลื่อนวัฒนธรรมองค์กรตามค่านิยม I•CARE โดยดําเนินการผ่าน 3 รูปแบบ คือ การใช้ สื่ อ การมี ส่ ว นร่ ว ม และการเป็ น แบบอย่ า งของ ผู้บริหาร - การใช้สื่อและการประชาสัมพันธ์ผ่านช่อง ทางการสื่อสารภายในองค์กร เช่น วารสาร พนักงาน-Admired โปสเตอร์-Admired Plus วิทยุเสียงตามสาย-CPN Radio และสือ ่ โทรทัศน์ภายในองค์กร-CPN Channel และ สื่อสังคมออนไลน์และแอปพลิเคชัน “ซีพีเอ็น เจน-วี หรือ CPN GEN WE” ซึ่งผลตอบรับ อยู่ที่ร้อยละ 97.5 โดยเน้นการสื่อสารในเรื่อง การรับมือกับความเปลี่ยนแปลง การทํางาน ในออฟฟิศรูปแบบใหม่ เป็นต้น - การมี ส่ ว นร่ ว มผ่ า นการจั ด กิ จ กรรม เช่ น กิจกรรมพนักงานสัมพันธ์ประจําปี กิจกรรม วั น ครอบครั ว กิ จ กรรมกี ฬ า กิ จ กรรม สันทนาการนอกเวลาเพือ ่ ตอบสนองไลฟ์สไตล์ พนั ก งานที่ มี ค วามชอบแตกต่ า งกั น อาทิ กิจกรรมออกกําลังด้วยการเต้นซุมบ้า การ เล่นโยคะ การออกกําลังแบบมอร์ทล ั คอมแบท การออกกําลังแนวใหม่แบบผสมผสาน Piloxing การวิ่ ง กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า งความรู้ เช่ น การเก็ บ เงิ น เตรี ย มพร้ อ มสํ า หรั บ การ เกษียณ การเตรียมตัวในเรื่องอาหารการกิน แ ล ะ ก า ร อ อ ก กํ า ลั ง สํ า ห รั บ ค น เ ก ษี ย ณ กิ จ กรรมนวดสํ า หรั บ พนั ก งานที่ มี ปั ญ หา โรคออฟฟิศซินโดรม กิจกรรมแต่งหน้าเค้ก วันแม่ กิจกรรมบริจาคโลหิต เป็นต้น รวมไปถึง การให้พนักงานได้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติ การในเรื่ อ งหลั ก บรรษั ท ภิ บ าล การต่ อ ต้ า น ทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น และการติ ด สิ น บน เพื่ อ ให้ พนั ก งานเข้ า ใจหลั ก การ กฎหมายและกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องและร่วมกันเป็นเครือข่าย ในการสังเกตและรายงานหากพบเหตุการณ์ที่ เข้ า ข่ า ยการประพฤติ มิ ช อบ ซึ่ ง ในปี 2561 ดําเนินการจัดอบรม 2 ครัง ้ มีจาํ นวนพนักงาน ระดั บ จั ด การเข้ า ร่ ว มอบรมจํานวน 85 คน ผลจากการอบรมพบว่าพนักงานที่เข้าอบรม พึ ง พอใจและเห็ น ว่ า เนื้ อ หาเป็ น ประโยชน์ สามารถนําไปปฏิบัติได้จริงที่ร้อยละ 97 - การเป็นแบบอย่างของผู้บริหาร ผ่านผู้นํา ต้ น แบบ “SD Champion” เพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด วั ฒ นธรรม “ซื่ อ สั ต ย์ มี นํ้ า ใจ” ใน องค์ ก ร และต่ อ ยอดสู่ ก ารจั ด กิ จ กรรม
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
“CPN Step 2 Share ก้าวเพือ ่ การแบ่งปัน” ซึง ่ เป็นกิจกรรมทีเ่ ชิญผูบ ้ ริหาร SD Champion ร่ ว มทํ า กิ จ กรรมอาสาและบริ จ าคเงิ น ให้ กั บ มู ล นิ ธิ โดยปี 2561 ได้ ดํ า เนิ น กิ จ กรรม กั บ มู ล นิ ธิ ศิ ริ ร าชและมู ล นิ ธิ เ ด็ ก โสสะแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ นอกจากนั้น ยังมีการแต่งตั้งทูตวัฒนธรรม รุ่นที่สอง หรือ I•CARE Agent จากผู้บริหาร ระดับกลาง จํานวน 5 ท่าน เพื่อเป็นตัวแทน องค์กรในการเผยแพร่ ผลักดัน และสนับสนุน ค่านิยมทัง ้ ห้าด้านของ CPN และกลุม ่ เซ็นทรัล ให้พนักงานรู้จัก เข้าใจ และประพฤติปฏิบัติ เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มดั ง กล่ า ว สู่ วั ฒ นธรรม องค์ ก รที่ เ ข้ ม แข็ ง และผู ก พั น พนั ก งานไว้ ด้วยกัน
119
โครงการ CPN Step2Share ก้าวเพื่อการแบ่งปัน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเชิญชวนให้พนักงานออก กําลังกาย ด้วยการเดินหรือวิ่งที่ใดก็ได้ตามความสะดวก โดยกํ า หนดเป้ า หมายของระยะทางสะสมที่ 100,000 กิโลเมตร ระหว่างวันที่ 21 พ.ค. – 22 มิ.ย. 61 โดยทุก 1 กิ โ ลเมตรจากการเดิ น /วิ่ ง ของพนั ก งานที่ บั น ทึ ก และส่ ง ข้อมูลผ่านระบบการลงทะเบียน บริษัทฯ จะร่วมบริจาคเงิน แก่องค์กรสาธารณกุศลเป็นจํานวน 5 บาท รวมมูลค่าการ บริจาค 500,000 บาท
ผลลัพธ์ของโครงการ • พนักงานและผู้บริหารเข้าร่วมโครงการ
จํานวน 1,674 คน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 35
ของพนักงานทั้งหมด (นับในช่วงการจัดกิจกรรม)
รวมถึงการประเมินศักยภาพภาวะผูน ้ าํ แบบ 360 องศา เพือ ่ วัดผลการพัฒนาตลอดทัง ้ ปี โดยปี 2561 โครงการ พัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ มีการดําเนินการติดตาม ให้บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าวได้พัฒนาตาม แผนที่กําหนดไว้คิดเป็นร้อยละ 81 และมีจัดการประเมิน ศั ก ยภาพภาวะผู้ นํ า แบบ 360 องศาเพื่ อ วั ด ผลการ พัฒนาคิดเป็นร้อยละ 55 ของพนักงานกลุ่มเป้าหมาย ที่กําหนด ทั้งนี้ ได้มีการขยายแผนการพัฒนาผู้นําดังกล่าวไปยัง ก ลุ่ ม ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ ต้ น ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ หั ว ห น้ า ง า น ถึงผูบ ้ ริหารระดับสูงคือระดับผูอ ้ าํ นวยการทัว ่ ทัง ้ องค์กร เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการขยายตัวทางธุรกิจ และการเกษี ย ณอายุ ข องพนั ก งานในระดั บ บริ ห าร โดยบุคลากรในกลุ่มดังกล่าวจะต้องจัดทําแผนพัฒนา ความก้าวหน้ารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ตามข้ อ แนะนํ า หลั ก สู ต รและวิ ธี ก ารที่ ทางฝ่ า ยบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ ไ ด้ จั ด เตรี ย มไว้ ใ ห้ เพื่ อ เพิ่มความสะดวกและความเป็นแบบแผนในการพัฒนา ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยในปี 2561 CPN จัดทํา แผนการพั ฒ นาผู้ นํ า ระดั บ กลาง โดยดํ า เนิ น การ ให้ พ นั ก งานกลุ่ ม ดั ง กล่ า วจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาความ ก้าวหน้ารายบุคคลคิดเป็นร้อยละ 95
• ระยะสะสมจากการเดิน/วิ่งได้
117,792 กิโลเมตร คิดเป็นเงินบริจาค
588,960 บาท
(มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ร้อยละ 18 )
2.
120
การพัฒนาผู้นําและพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1) การพัฒนาผู้นํา CPN ดําเนินการตามโครงการพัฒนาความก้าวหน้าใน อาชีพสํ าหรั บ กลุ่ ม บุ ค ลากรที่ มี ศัก ยภาพสู ง และความ สามารถโดดเด่ น ตั้ ง แต่ ร ะดั บ หั ว หน้ า งานถึ ง ระดั บ ผู้จัดการอาวุโสจากที่ดาํ เนินการไว้เมื่อปี 2560 จํานวน 155 คน โดยกําหนดให้บค ุ ลากรแต่ละท่านในโครงการดัง กล่าวพัฒนาแผนการพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ รายบุคคล (Individual Career Development Plan: ICDP) โดยใช้ แ นวทางในการพั ฒ นาที่ บุ ค ลากรแบบ 70:20:10 คือ เรียนรูจ ้ ากการปฏิบต ั จ ิ ริงหน้างานร้อยละ 70 จากการสอนโดยหัวหน้างานร้อยละ 20 และจากการ อบรมร้ อ ยละ 10 ซึ่ ง พบว่ า ในปี ที่ ผ่ า นมา หลั ก สู ต รที่ บุคลากรต้องการพัฒนาตนเองเพิม ่ ขึน ้ สองอันดับแรก คือเรื่องภาวะผู้นาํ และความรู้เฉพาะสายงาน นอกจาก นั้น ยังมีการติดตามความคืบหน้าการพัฒนาบุคลากร แต่ละท่านจากแผนการพัฒนาทีก ่ าํ หนดไว้ทก ุ ๆ ไตรมาส
อัตราการเลื่อนตําแหน่งของบุคลากรแบ่งตามเพศ (ร้อยละ) 41
ปี 2561 ปี 2560
46 45
ปี 2559 35
ปี 2558 0
20
ชาย
54
55 65
40
หญิง
59
60
รายงานประจําปี 2561
2)
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การพัฒนาบุคลากร CPN ยั ง ยึ ด แนวทางในการพั ฒ นาบุ ค ลากรแบบ 70:20:10 โดยมีสด ั ส่วนการเรียนรูผ ้ า่ นการปฏิบต ั ง ิ านจริง (On the Job Training: OJT) ร้อยละ 70 การให้ คําแนะนําและการสอนงานจากผู้บังคับบัญชาร้อยละ 20 และการอบรมในห้องเรียนร้อยละ 10 ตามลําดับ โดย กําหนดหลักสูตรการพัฒนาออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ความรู้ ด้ า นการบริ ห ารและจั ด การ ความรู้ เ ฉพาะ สายงาน การพัฒนาความเป็นผู้นาํ และอื่น ๆ โดยในปี 2561 ดําเนินการตามแผนการจัดการอบรมทัง ้ สิน ้ 477 หลักสูตร เป็นหลักสูตรการอบรมผ่านสือ ่ อิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 4 มีบค ุ ลากรเข้าอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ทัง ้ การ อบรมในห้องเรียนและการอบรมผ่านสือ ่ อิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากปี 2560 ผลการประเมินความ พึงพอใจต่อการจัดการฝึกอบรมโดยรวมเท่ากับร้อยละ
92 (คงที่เมื่อเทียบกับปี 2560) และจํานวนชั่วโมง ฝึกอบรมเฉลีย ่ ของบุคลากร CPN เท่ากับ 26.7 ชัว ่ โมง ต่อคนต่อปี นอกจากนั้ น CPN ยั ง เปิ ด โอกาสให้ กั บ บุ ค ลากรทั่ ว ทั้ ง อ ง ค์ ก ร ที่ ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ พั ฒ น า ต น เ อ ง ใ น ร ะ ดั บ อุ ด มศึ ก ษา สามารถสมั ค รเพื่ อ ขอรั บ ทุ น เรี ย นต่ อ วุฒป ิ ริญญาโทของทางกลุม ่ เซ็นทรัลได้ โดยมีผลผูกมัด 2 ปี ผู้ ที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ กจะต้ อ งสอบสั ม ภาษณ์ กั บ คณะกรรมการคัดเลือกฯ เพือ ่ พิจารณาในด้านทัศนคติ และความมุ่งมั่นในการนํ า ความรู้มาใช้ในการพัฒนา ตนเอง บริษท ั และสังคมต่อไป โดยในปี 2561 มีบค ุ ลากร ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น เรี ย นต่ อ ปริ ญ ญาโททั้ ง สิ้ น จํ า นวน 4 คน รวมเป็น 11 คนนับแต่มีการเปิดให้ทุนตั้งแต่ปี 2559
สัดส่วนประเภทหลักสูตรที่จัดอบรมในปี2561 (ร้อยละ)
ร้อยละ 56.0
ร้อยละ 0.4
ความรู้ด้านการบริหารจัดการ 267 หลักสูตร
การพัฒนาความเป็นผูน ้ าํ 2 หลักสูตร 477 หลักสูตร
ร้อยละ 22.4
ร้อยละ 21.2
อื่ น ๆ เช่ น ค่ า นิ ย มและวั ฒ นธรรมองค์ ก ร การเตรียมความพร้อมสําหรับพนักงานใหม่ และหลักสูตรตามที่หน่วยงานประสงค์ให้จัด 107 หลักสูตร
ความรู้เฉพาะสายงาน 101 หลักสูตร
จํานวนชั่วโมงการฝึกอบรมเฉลี่ยของบุคลากร (ชั่วโมงต่อคนต่อปี )
ปี 2561
ชั่วโมง 27
ปี 2560
25
ปี 2559
21
ปี 2558
20
121
3)
การจัดการองค์ความรู้และการพัฒนานวัตกรรม ภายในองค์กร CPN เล็งเห็นถึงศักยภาพของบุคลากรที่ชาํ นาญ และ เชีย ่ วชาญเป็นพิเศษเฉพาะด้าน เช่น งานเทคนิค งานระบบ งานการให้บริการ และงานบริหาร จึงดําเนินการสรรหา ผูเ้ ชีย ่ วชาญพิเศษดังกล่าวภายใต้โครงการ “ศูนย์ความ เป็นเลิศ หรือ Center of Excellence” เพือ ่ เตรียมความ พร้อมในการจัดการองค์ความรู้องค์กรและถ่ายทอดสู่ บุ ค ลากรที่ มี ศั ก ยภาพ ปั จ จุ บั น โครงการดั ง กล่ า วได้ สรรหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดังกล่าวได้แล้ว จํานวน 5 คน โดยดํ า เนิ น โครงการต่ อ เนื่ อ งในส่ ว นของการ สรรหา และจั ด หลั ก สู ต รรวมถึ ง วิ ธี ก ารจั ด การและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อไปในปี 2562
โครงการ Dream Team และโครงการ Kaizen โครงการที่เปิดโอกาสให้บุคลากรของ CPN มีส่วนร่วมใน การนํ า เสนอกระบวนการในการปรั บ ปรุ ง และนํ า เสนอ แนวคิดใหม่ในการทํางานอย่างต่อเนือ ่ งและส่งเข้าประกวด เพื่อนําไปขยายผลทั่วทั้งองค์กร บนพื้นฐานแนวคิดแบบ วงจรการบริหารงานคุณภาพ - PDCA
Do
Plan
ปฏิบัติ
วางแผน
Act
Check
การดําเนินการ ให้เหมาะสม
ตรวจสอบ
และแนวคิดการบริหารจั ดการแบบไคเซนที่เน้นหลักการ ง่ายๆ คือ เลิก ลด และเปลี่ยนกระบวนการเพื่อผลลัพธ์ที่ดี ขึน ้ ซึง ่ นําร่องในกลุม ่ บุคลากรทีป ่ ระจําสํานักงานใหญ่เป็นหลัก โดยในปี 2561 ได้กาํ หนดแนวทางการนําเสนอโครงการโดย มุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมด้านการเพิ่มความพึงพอใจ ของลูกค้าและร้านค้า ผ่านการพัฒนากระบวนการภายใน รวมไปถึงการให้บริการของผู้รับเหมาช่วง กําหนดกรอบ ระยะเวลาดําเนินงาน 12 เดือน
ผลลัพธ์ของโครงการ • พนักงานร่วมส่งโครงการ Dream Team และ Kaizen ทัง ้ สิน ้
จํานวน 100 กลุ่ม 582 คน กระจายอยู่ในทุกสาขา รวมสํานักงานใหญ่
คิดเป็นร้อยละ 12 ของพนักงานทั้งหมด
11
• ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค เช่น ค่าพลังงานไฟฟ้า นํ้ า ประปา และค่ า บํ า รุ ง รั ก ษา รวมไปถึ ง การลดต้ น ทุ น วัตถุดิบ คิดเป็นมูลค่า
128,620 บาทต่อปี
ซึ่งน้อยลงจากปี 2560 เนื่องจาก วัตถุประสงค์ของโครงการในปี 2561 มุง ่ เน้นในด้านการพัฒนาการให้บริการ
3. การเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง CPN ได้ทาํ การปรับปรุงมาตรฐานค่างานและหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบตาม แผนงานที่ กํ า หนด โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ และแนวทางการจั ด กลุ่ ม ตําแหน่งงานของกลุม ่ เซ็นทรัล เริม ่ จากสายงานทีม ่ น ี ย ั สําคัญก่อน แล้วเสร็จตามแผนร้อยละ 84 และคงระบบการประเมินผลงาน พนักงานในสองมิติ คือ ประเมินผลการปฎิบัติงานรายปีตามดัชนี ชี้วัดระดับองค์กร ระดับฝ่าย และระดับแผนกลดหลั่นตามลําดับ และประเมิ น ผลพฤติ ก รรมรายครึ่ ง ปี ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ค่ า นิ ย ม องค์กร I•CARE โดยผลประเมินที่ได้จะนํามาใช้ในการพิจารณา ปรับเงินเดือนและโบนัสประจําปี รวมทั้งใช้ประกอบการพิจารณา เลื่อนขั้นเลื่อนตําแหน่ง และการจัดเตรียมแผนพัฒนารายบุคคล ในปีถัดไปต่อไป CPN บูรณาการประเด็นความเสีย ่ งและความยัง ่ ยืนในเรือ ่ งการนํา เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานราย บุคคลเพิม ่ ขึน ้ ในแผนงาน เพือ ่ มุง ่ สูก ่ ารเป็นองค์กรในหัวใจพนักงาน โดยดําเนินตามแผนพัฒนาสถานที่และบรรยากาศการทํางานเป็น “สมาร์ทออฟฟิศ” (Smart Office) เพื่อให้บุคลากรได้ทํางานใน บรรยากาศที่ทันสมัย คล่องตัว และตรงกับลักษณะงานและไลฟ์ สไตล์มากขึ้น โดยแบ่งเป็น 3 เฟส กําหนดเสร็จภายใน 2 ปีนับจาก ปี 2561 (ไม่รวมช่วงทําการสํารวจและศึกษาโครงการ) โดยในปี 2561 ได้ทําการปรับปรุงสถานที่ทํางานในสํานักงานใหญ่ซึ่งแล้ว เสร็จร้อยละ 75 โดยปรับเปลีย ่ นเฟอร์นเิ จอร์ให้ถก ู หลักสรีรศาสตร์ โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนเก้าอี้นั่ง โต๊ะ และตู้ให้เหมาะกับลักษณะ การใช้งาน และดูทันสมัย มีการปรับระบบโครงสร้างพื้นฐาน เช่น สัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม เพื่อให้เหมาะกับการทํางานที่เคลื่อนที่และเปลี่ยนสถานที่ทํางาน ปรับระบบการประชุมทางไกลผ่านจอภาพให้สามารถประชุมทาง ไกลเชื่อมต่อได้ทั้งหน่วยงานภายใน และภายนอกองค์กร เป็นต้น ความปลอดภั ย เป็ น อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ CPN คํ า นึ ง ถึ ง เพื่ อ วั ด ประสิทธิผลขององค์กร พนักงานประจํารวมทัง ้ พนักงานรับเหมาช่วง ต้องยึดถือ และปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ CPN11 โดยในปี 2561 ได้ศก ึ ษาและเตรียมความพร้อม องค์กรเพือ ่ ขอรับรองมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในการทํางาน ISO 45001 ในสองโครงการ คือ โครงการเซ็นทรัล
รายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การกํากับดูแลกิจการที่ดี / นโยบายและแนวทางปฏิบัติ / นโยบายการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
122
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
พลาซา พระราม 3 และเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 อีกทั้ง ได้ดําเนินการตามกฎหมายกําหนด โดยจัดให้มีคณะกรรมการ ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานทัง ้ ในระดับองค์กรและในระดับสาขาตามลําดับ มีจํานวนพนักงานที่ ร่วมเป็นคณะกรรมการฯ ทั้งสิ้น 370 คน โดยแยกเป็นตัวแทน นายจ้างจํานวน 206 คน และเป็นตัวแทนลูกจ้างจํานวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 ของพนักงานทัง ้ หมด (ไม่รวมพนักงานสัญญาจ้าง)
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
นอกจากนัน ้ ยังจัดให้มก ี ารอบรมบุคลากรเพือ ่ เพิม ่ ความเข้าใจและ ทักษะด้านการดูแลรักษาความปลอดภัยสาธารณะ และบุคคล อาทิ การอบรมป้องกันและดับเพลิงขัน ้ รุนแรง การดูแลเครือ ่ งจักรใหญ่ เช่น ปัน ้ จัน ่ เป็นต้น การดูแลความปลอดภัยระบบไฟฟ้า การดูแล ความปลอดภัยทางนํ้า การทํางานอย่างปลอดภัยในที่อับอากาศ และที่เสี่ยงภัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น หลักสูตรการอบรม เจ้าหน้าทีค ่ วามปลอดภัย ISO 45001 และ 5 ส. เป็นต้น โดยรับการ อบรมจากวิ ท ยากรทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก รรวมทั้ ง สิ้ น 16 หลักสูตร มีผู้เข้าร่วมจํานวน 1,263 คน (นับซํ้าคน) คิดเป็น ร้อยละ 26 ของพนักงานทั้งหมด
ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืน : การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร หัวข้อ
ดัชนีชี้วัดด้านความยั่งยืน
การสรรหาและ การรักษาบุคลากร
การพัฒนาผู้นํา และพัฒนาศักยภาพบุคลากร
การเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูง
ผลการดําเนินงานปี2561
แผนปี2562
• กําหนดคะแนนความผูกพันของพนักงานต่อ องค์กร (CG Voice Score) เป็นดัชนีชี้วัด ระดับองค์กร เป้าหมายที่ร้อยละ 80 (ตามวิธี คิดแบบเดิม) • ได้คะแนนความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร ที่ร้อยละ 73 (น้อยกว่าปี 2560 ที่ร้อยละ 5 เนื่องจากมีการเปลี่ยนวิธีคิดคะแนน)
• กํ า หนดคะแนนความผู ก พั น ของพนั ก งาน ต่อองค์กร (CG Voice Score) เป็นดัชนีชว ี้ ด ั ระดับองค์กร เป้าหมายที่ร้อยละ 75 • กํ า ห น ด ผ ลิ ต ภ า พ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง บุ ค ลากร เป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ระดั บ องค์ ก ร โดยมี เป้ า หมายให้ มี ก ารพั ฒ นาเพิ่ ม ขึ้ น ที่ ร้ อ ยละ 5 เมื่อเทียบกับปี 2560
• ดํ า เนิ น งานตามแผนงานสร้ า งความผู ก พั น ของพนักงานต่อองค์กร แม้อต ั ราการลาออก จากองค์กรโดยสมัครใจ และอัตราของกลุ่ม ที่ ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ ล า อ อ ก มี ค่ า เ พิ่ ม ขึ้ น แ ต่ ผลจากการวิเคราะห์พบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ • ดําเนินงานตามแผนการปรับมาตรฐานค่างาน และหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละงานสําเร็จ ตามแผนงาน • ไม่มีการว่าจ้างพนักงานจากสหภาพแรงงาน อื่ น ใด และไม่ มี ก ารจั ด ตั้ ง สหภาพแรงงาน ภายในองค์กร • ไม่มีข้อร้องเรียนและข้อพิพาทด้านแรงงาน
• ดําเนินงานเพิม ่ ขีดความสามารถในการสรรหา และว่าจ้างบุคลากรที่มีศักยภาพและตรงกับ ความต้องการขององค์กร • ดํ า เนิ น งานตามแผนพั ฒ นาสถานที่ ทํ า งาน เป็นสมาร์ทออฟฟิศต่อเนื่อง • สร้างวัฒนธรรมการยอมรับการเปลี่ยนแปลง อย่ า งรวดเร็ ว ให้ เ กิ ด ในองค์ ก ร พร้ อ มกั บ เสริมสร้างค่านิยม I•CARE ให้เข้มแข็ง
• ดํ า เนิ น งานตามแผนพั ฒ นาผู้ นํ า ระดั บ กลาง โดยได้ ก ลุ่ ม ผู้ บ ริ ห ารที่ ต รงตามคุ ณ สมบั ติ ในโครงการ เป็นไปตามแผนทีก ่ าํ หนดได้รอ ้ ยละ 100 และดําเนินการติดตามให้กลุ่มบุคลากร ดั ง กล่ า วได้ เ ข้ า ร่ ว มพั ฒ นาตามแผนพั ฒ นา รายบุคคลที่กําหนดไว้ได้ที่ร้อยละ 81 • สรรหาบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการ พัฒนาสร้างศูนย์ความเป็นเลิศได้ตามเป้าหมาย
• ดําเนินการพัฒนาผูน ้ าํ ระดับกลางทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ โดยเน้นการพัฒนาในด้านการบริหารคน และ การเพิ่มทักษะทางด้านดิจิทัล • ศึกษาและเทียบเคียงศักยภาพและสมรรถนะ ของบุ ค ลากรกั บ มาตรฐานระดั บ สากลที่ เ ป็ น ที่ยอมรับ
• สถิติในด้านความปลอดภัย - อัตราการบาดเจ็บ 0.13 กรณีตอ ่ 200,000 ชัว ่ โมงทํางาน - อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บจากการ ทํางาน 0.005 วันหยุดงานต่อ 200,000 ชั่วโมงทํางาน - อัตราการขาดงานร้อยละ 1.36 • ในรอบปี 2561 ไม่ มี พ นั ก งานเสี ย ชี วิ ต เนื่ อ ง มาจากการทํางาน
• ปรับปรุงกระบวนการทางด้านการบริหารและ จัดการบุคลากรให้สามารถวัดในเชิงผลิตภาพได้ อย่างเป็นรูปธรรม • ปรับกระบวนการเก็บข้อมูล ในเรือ ่ งความปลอดภัย ของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียให้เป็นระบบและพร้อมใช้เมือ ่ มีการพัฒนาและติดตามแผนงานลดอุบต ั เิ หตุ ทีเ่ กิดซํา้ และเกิดบ่อย
123
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน CPN กํ า หนดแผนงานการบริ ห ารจั ด การคู่ ค้ า ตามนโยบาย การบริหารจัดการห่วงโซ่อป ุ ทาน12 มุง ่ เน้นในด้านการดําเนินธุรกิจ ระหว่างกันอย่างโปร่งใส เป็นธรรม ลดผลกระทบต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม และคํานึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนและความปลอดภัย ทัง ้ นีไ้ ด้แบ่งกลุม ่ คูค ่ า้ ออกเป็น 3 กลุม ่ ตามห่วงโซ่คณ ุ ค่าของ CPN ดังรายงานในหน้า 68 และแบ่งย่อยออกเป็น 12 กลุม ่ ตามหมวดหมู่ การให้บริการของคู่ค้า (รายละเอียดเพิ่มเติมในรายงานประจํา ปี 2560 หน้า 110) 1. การบริหารจัดการต้นทุน และความเสี่ยงคู่ค้า จากผลการวิเคราะห์ยอดใช้จ่ายของคู่ค้าที่มีการดําเนินธุรกรรม ระหว่างกันในรอบปี 2561 จํานวน 5,004 ราย พบว่า คู่ค้าในกลุ่ม ที่ 1 ซึง ่ เป็นกลุม ่ ทีม ่ ย ี อดใช้จา่ ยเกินกว่า 10 ล้านบาท มีทง ั้ สิน ้ จํานวน 128 ราย ครอบคลุมร้อยละ 81 ของการว่าจ้างและจัดซื้อทั้งหมด โดยร้อยละ 48 เป็นการว่าจ้างและจัดซื้อในส่วนการพัฒนาและ ก่อสร้างโครงการ และอีกร้อยละ 35 เป็นการจัดซือ ้ พลังงานไฟฟ้า เพื่อใช้ในการดําเนินการและบริหารศูนย์การค้าในแต่ละวัน ผลการ วิเคราะห์ที่ได้สามารถนําไปกําหนดแผนและมาตรการในการลด ต้นทุน และความคุ้มค่าในด้านการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือเพิม ่ ความปลอดภัยในภาพรวมโดยในปี 2561 CPN ได้เข้าร่วม โครงการจัดหาร่วมเชิงกลยุทธ์กับกลุ่มเซ็นทรัล ภายใต้กรอบการ บริหารจัดการที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติในการกํากับดูแล กิจการทีด ่ ี โดยนําร่อง 1 โครงการในกลุม ่ ผูใ้ ห้บริการวิศวกรรมงาน
ระบบในด้านการซ่อมบํารุงลิฟท์โดยสาร ซึ่งส่งผลให้การบริหาร ต้นทุนของบริษัทฯดีขึ้นคิดเป็นร้อยละ 5 CPN ดําเนินการตามแผนทบทวนและประเมินความเสี่ยงคู่ค้า รายปี โดยวิเคราะห์เฉพาะคู่ค้ากลุ่มที่ 1 ที่ได้จากผลการวิเคราะห์ ยอดใช้จ่ายของคู่ค้าประจําปี 2561 จากนั้นจึงคัดเลือกเฉพาะ คูค ่ า้ ทีม ่ ค ี วามเชีย ่ วชาญ และมีความสําคัญต่อการดําเนินงานของ CPN เพื่ อ ทํ า การประเมิ น ประเด็ น ความเสี่ ย งของคู่ ค้ า ที่ อ าจ ส่งผลต่อการดําเนินงานระหว่างกัน พบว่าคู่ค้าที่มีความเสี่ยง ในระดั บ สู ง ล้ ว นเป็ น คู่ ค้ า ในส่ ว นการพั ฒ นาและก่ อ สร้ า งทั้ ง สิ้ น ซึ่งร้อยละ 60 ของประเด็นที่ประเมินได้นั้นเป็นประเด็นด้านความ ยั่ ง ยื น ในหมวดความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง นี้ ส่ ว นงาน ที่รับผิดชอบโดยตรงได้ทําแผนลดความเสี่ยงดังกล่าว และมีการ ติดตามเป็นระยะ ๆ นอกจากการวิเคราะห์ยอดใช้จา่ ย และประเมินความเสีย ่ งคูค ่ า้ แล้ว CPN ยังดําเนินการวิเคราะห์วส ั ดุคงคลังรายปี และทําการส่งมอบ วัสดุดังกล่าวให้กับหน่วยงานที่ต้องการ อาทิ การกระจายหลอด ไฟตะเกียบจากสาขาทีไ่ ม่จาํ เป็นต้องใช้งานแล้วไปยังสาขาอืน ่ ทีย ่ ง ั ใช้ หลอดดั ง กล่ า วอยู่ เพื่ อ เป็ น การลดต้ น ทุ น และวางแผนในการ ปรั บ เปลี่ ย นเป็ น หลอดไฟแอลอี ดี ใ นภาพรวมทั้ ง หมดได้ อ ย่ า ง เหมาะสมและคุ้มค่า
การวิเคราะห์ยอดใช้จ่ายของคู่ค้าประจําปี2561 ตามยอดใช้จ่าย กลุ่มคู่ค้า
คํานิยามคู่ค้าแยกตามมูลค่าการว่าจ้าง
จํานวนยอดใช้จ่าย (ล้านบาท)
สัดส่วนต่อ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด (ร้อยละ)
กลุ่มที่ 1
มากกว่า 10 ล้านบาทขึ้นไป
128
8,895
81
กลุ่มที่ 2
มากกว่า 1 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท
487
1,530
14
กลุ่มที่ 3
น้อยกว่า 1 ล้านบาท
4,389
551
5
5,004
10,976
100
รวม 2. การสรรหาคู่ค้ารายใหม่ CPN เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ป ระกอบการท้ อ งถิ่ น และรายย่ อ ยที่ ส นใจ ทําธุรกิจกับ CPN ทั้ ง ในการเปิ ด ร้ า น และการเป็ น ผู้ ผลิต และ ผู้รับเหมาให้กับ CPN โดยในปี 2561 ได้เปิดช่องทางใหม่สําหรับ ผู้ ที่ ส นใจจะลงทะเบี ย นเป็ น คู่ ค้ า กั บ CPN ผ่ า นระบบออนไลน์ “CPN Vendor web portal” หรือ https://procurement.cpn.co.th/ เพื่ อ เพิ่ ม ความสะดวก ความโปร่ ง ใส และความเป็ น ธรรมให้ ผู้ ป ระกอบการ โดยสามารถลงทะเบี ย นเป็ น คู่ ค้ า รายใหม่ ไ ด้ ด้วยตนเอง อีกทั้งสามารถติดตามข่าวสาร และสมัครประกวด ราคาพร้อมฟังผลผ่านทางช่องทางดังกล่าวได้ตลอด 24 ชั่วโมง 12
จํานวนคู่ค้า (ราย)
ภายหลังการทดลองเปิดระบบเมื่อกลางปี 2561 พบว่ามีคู่ค้าราย ใหม่ที่สนใจลงทะเบียนผ่านระบบดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 11 ของ คู่ค้ารายใหม่ทั้งหมดที่ลงทะเบียนในช่วงเวลาเดียวกัน นอกจากนัน ้ CPN ยังได้ทาํ ข้อตกลงกับบริษท ั ในเครือกลุม ่ เซ็นทรัล ที่ มี ศั ก ยภาพในการส่ ง มอบสิ น ค้ า และบริ ก ารโดยเป็ น การจั ด หา วั ต ถุ ดิ บ และแรงงานจากท้ อ งถิ่ น เริ่ ม จากกลุ่ ม สิ น ค้ า ในการ ก่อสร้าง และกลุม ่ สินค้าอาหารสด ผัก ผลไม้ โดยยังคงระบบเปรียบ เทียบราคาและการจัดซื้อตามระเบียบปฏิบัติของ CPN
รายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน / infographic www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การกํากับดูแลกิจการที่ดี / นโยบายและแนวทางปฏิบัติ / นโยบายการบริหารห่วงโซ่อุปทาน
124
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
3. การบริหารความสัมพันธ์ และการพัฒนาคู่ค้า CPN ได้จัดการประชุมคู่ค้าประจําปีอย่างเป็นทางการ (Partner Engagement Meeting)13 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 โดยในปี 2561 ได้จัด 2 ครั้ง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ประกอบการร้านค้า (ดังรายงานในหน้า 115) และกลุ่มคู่ค้าที่เป็นผู้ให้บริการด้านการ จั ด งานกิ จ กรรมและสื่ อ สารทางการตลาด มี ก ารสื่ อ สารถึ ง นโยบายการทําธุรกิจเพื่อรองรับสังคมไร้เงินสด และนวัตกรรม ในการจัดงานกิจกรรมทางการตลาด อีกทัง ้ เน้นยํา้ ในเจตนารมณ์ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ บนหลั ก บรรษั ท ภิ บ าล การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชัน และการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ CPN ตามจรรยา บรรณในการทํางานร่วมกันกับคู่ค้า14 (CPN Code of Conduct for Suppliers) และเชิญชวนคูค ่ า้ เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบต ั ิ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ซึ่งการจัดงานสําเร็จ ลุล่วงด้วยดีมีผู้เข้าร่วมประชุมจํานวน 79 ท่าน ทั้งนี้ ร้อยละ 91 เห็นว่าเนือ ้ หาการประชุมเป็นประโยชน์ตอ ่ ธุรกิจของตน และร้อยละ 82 ประสงค์ให้จัดงานประชุมเช่นนี้อีกในอนาคต ในการพัฒนานวัตกรรมร่วมกับคูค ่ า้ นัน ้ จะเน้นในมิตก ิ ารประหยัด และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดเศษวัสดุ และลดเวลาในการทํางานบนพื้นที่เสี่ยง เพิ่มความ ปลอดภัยในการทํางานของแรงงานที่ว่าจ้าง โดยเน้นนวัตกรรม กระบวนการ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย อาทิ •
การใช้ซาํ้ เช่น การเจาะเสาเข็มด้วยหมุดเหล็กแบบสกรูสาํ หรับ งานป้ายหรืองานรัว ้ ชัว ่ คราว ซึง ่ สามารถถอนออกเพือ ่ ใช้งานซํา้ การนําเศษเสาเข็มทีเ่ หลือมาทําเป็นกําแพงกันดิน ตอกรับป้าย และโครงสร้างพื้นสํานักงานบางส่วน การปูกระเบื้องงาน ด้ า นนอกอาคารด้ ว ยเทคนิ ค พิ ก เซลเพื่ อ ลดปริ ม าณเศษ กระเบื้องที่ต้องทิ้งโดยสูญเปล่า การทําฝ้าชั่วคราวด้วยไม้ ไวนิล และสลิงที่ใช้หมุนเวียนได้แทนการใช้ผ้าดิบ
•
ลดการใช้ทรัพยากร เช่น ลดความร้อนเข้าตัวอาคารโดย ประยุกต์ใช้ Aluminum composite เจาะรูให้แสงผ่านสลับ กับการติดตั้ง skylight การถักนั่งร้านไม้ไผ่แบบลอยตัว ลดปริมาณการใช้ไม้ไผ่ และสามารถปรับปรุงพื้นที่บริเวณ ด้านล่างไปได้โดยพร้อมกัน ติดตั้งระบบนํ้ารีไซเคิลในอาคาร ขนาดใหญ่แบบ Reverse Osmosis (RO) และ Ultrafiltration (UF) นําระบบแนะนําที่จอดรถ หรือ Parking Guidance System มาใช้ในการบริหารทีจ ่ อดรถและงานจราจร เพือ ่ ลด การขับรถวนหาที่จอด
•
ลดผลกระทบ เช่ น การเทคอนกรี ต แบบยกพื้ น เพื่ อ เป็ น ทางนํา้ ผ่าน ในพืน ้ ทีล ่ ม ุ่ เพือ ่ ลดภาวะนํา้ ท่วมบริเวณชุมชนโดยรอบ การประกอบ façade แบบกึง ่ สําเร็จทีโ่ รงงานก่อนนําขึน ้ ติดตัง ้ บนพืน ้ ทีจ ่ ริง ลดภาวะเสีย ่ งของคนงานทีต ่ อ ้ งอยูบ ่ นพืน ้ ทีส ่ ง ู เป็น ระยะเวลานาน การนําระบบบําบัดนํา้ เสีย Deep shaft มาประยุกต์ ใช้ในโครงการทีม ่ ข ี อ ้ จํากัดด้านการขยายพืน ้ ทีใ่ นแนวราบ
13 14
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
4. การประเมินคู่ค้า และการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการจัดซื้อ / จัดจ้าง หน่ ว ยงานที่ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ซื้ อ / จั ด จ้ า งจะทํ า การ ประเมิ น ด้ า นการปฏิ บั ติ ก ารของคู่ ค้ า ภายหลั ง การส่ ง มอบงาน เรียบร้อย ผ่านใบประเมินคุณภาพการบริการซึ่งเป็นการประเมิน ตามเกณฑ์คุณภาพในด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ / บริการ การส่ง มอบตามเวลาและครบถ้วน และการตอบสนองต่อประเด็นความ ยัง ่ ยืนองค์กร ซึง ่ ได้มก ี ารพัฒนารูปแบบการประเมินดังกล่าวผ่าน ทางออนไลน์ด้วยการสแกนคิวอาร์โค้ดบนใบสั่งซื้อโดยตรง เพิ่ม ความสะดวกในการประเมิน การจัดเก็บและวิเคราะห์ขอ ้ มูล และลด การใช้กระดาษ เริ่มใช้เมื่อไตรมาส 4 ปี 2561 พบว่าสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการประเมินคู่ค้าได้ร้อยละ 4 โดยผลการประเมินที่ ได้นน ั้ นําไปพัฒนาเป็นแผนการพัฒนาคูค ่ า้ อย่างเป็นรูปธรรม และ เริม ่ นําร่องดําเนินการแล้วกับคูค ่ า้ บางรายทีผ ่ ลประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ พอใช้ นอกจากนั้น CPN ยังดําเนินการประเมินคู่ค้ารายปี โดยใช้ กรอบแนวทางการประเมินเช่นเดียวกับการประเมินภายหลังการ ส่งมอบงาน และนําร่องประเมินด้วยรูปแบบคิวอาร์โค้ดในงานซ่อม บํารุงงานระบบ และงานด้านความปลอดภัย ในส่ ว นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพกระบวนการจั ด ซื้ อ / จั ด จ้ า งนั้ น ไ ด้ ทํ า ก า ร พั ฒ น า ก า ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น ร ะ บ บ e - l e a r n i n g ใ น หลักสูตรเพิม ่ ความเข้าใจในกระบวนการจัดซือ ้ / จัดจ้างขัน ้ พืน ้ ฐาน และหลั ก สู ต รจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งเฉพาะหน่ ว ยงาน เพื่ อ ให้ บุ ค ลากร ปั จ จุ บั น ไ ด้ ทํ า ก า ร ท บ ท ว น ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ล ด ขั้นตอนในการจัดซื้อ / จัดจ้าง และจัดการอบรมกระบวนการ ที่ ถู ก ต้ อ งให้ กั บ พนั ก งานใหม่ อี ก ด้ ว ย นอกจากนั้ น ยั ง มี ก าร ปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อ / จัดจ้างให้เป็นกระบวนการแบบ ไร้กระดาษ โดยทํ าการขอเอกสารและอนุมัติจ่ายเงินผ่านระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ตั้ ง แต่ ก ารลงทะเบี ย นเป็ น คู่ ค้ า รายใหม่ การขอ ใบเสนอราคา การยืนยันการสัง ่ ซือ ้ การส่งมอบ การวางบิล และ การเรี ย กเก็ บ เงิ น โดยปั จ จุ บั น มี คู่ ค้ า ร่ ว มโครงการดั ง กล่ า ว ไม่ถึงร้อยละ 5 จากคู่ค้าทั้งหมด ซึ่งในปี 2562 ได้ระบุเป็นแผน ในการพั ฒ นาระบบและชั ก ชวนให้ คู่ ค้ า เห็ น ประโยชน์ แ ละเปลี่ ย น ไปใช้กระบวนการดังกล่าวให้มากขึ้น
เดิมคือ Supplier Information Meeting รายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การกํากับดูแลกิจการที่ดี / จรรยาบรรณ / จรรยาบรรณและแนวทางปฏิบัติของคู่ค้า
125
ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืน : การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน หัวข้อ
ดัชนีชี้วัดด้านความยั่งยืน
การบริหารจัดการคู่ค้า
ผลการดําเนินงานปี2561 • กําหนดความสัมฤทธิผ ์ ลของแผนดําเนินงานจัดการ คู่ค้าตามแนวทางการบริหารความยั่งยืนและความ เสี่ยงเป็นดัชนีชี้วัดระดับแผนก • ดํ า เนิ น งานตามแผนจั ด การคู่ ค้ า ตามแนวทาง การบริ ห ารความยั่ ง ยื น สํ า เร็ จ ตามเป้ า หมาย โดยประเมินข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน และนําการ เข้าร่วมโครงการประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านทุจริต คอร์ รั ป ชั น ของบริ ษั ท ฯ เป็ น เกณฑ์ คั ด เลื อ กคู่ ค้ า อย่างเข้มข้น
• กํ า หนดการพั ฒ นานวั ต กรรมร่ ว มกั บ คู่ ค้ า เป็ น หนึ่งในดัชนีชี้วัดด้านนวัตกรรมขององค์กร
• คู่ค้าและผู้รับเหมาผ่านการประเมินคุณสมบัติด้าน ความยัง ่ ยืน ทัง ้ มิตเิ ศรษฐกิจ สิง ่ แวดล้อมและสังคม จํานวน 382 ราย เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 180 • ให้ความรู้กับคู่ค้าและชี้ให้เห็นประโยชน์ในเรื่องสังคม ไร้เงินสด อันเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันนโยบาย ต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน และการกํากับการดูแล กิจการที่ดีขององค์กร • ริ เ ริ่ ม แนวทางการพั ฒ นาคู่ ค้ า อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม กับกลุ่มคู่ค้าที่ได้รับการประเมินในระดับพอใช้ โดยมี คู่ค้าเข้าร่วมในโครงการดังกล่าวร้อยละ 4 • ไม่มีอุบัติเหตุ (ขั้นเสียชีวิต) เกิดขึ้นระหว่างดําเนิน การก่อสร้างและปรับปรุงโครงการในปี 2561 • ไม่พบข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน การใช้แรงงานผิดกฎหมาย หรือการก่อให้เกิดผล กระทบต่ อ ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ มในโครงการของ CPN ที่ก่อสร้างและปรับปรุงในปี 2561 • มี จํ า นวนโครงการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งผ่ า นระบบประมู ล ออนไลน์จํานวน 128 งาน คิดเป็นมูลค่ากว่า 384 ล้ า นบาท และประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารต้ น ทุ น เพิ่มขึ้นเท่ากับร้อยละ 35 เมื่อเทียบกับมูลค่าต้นทุน ก่อนการประมูล • จํ า นวนคู่ ค้ า ท้ อ งถิ่ น ที่ ดํ า เนิ น ธุ ร กรรมระหว่ า ง กัน 1,172 ราย คิดเป็นร้อยละ 23 ของจํานวนคู่ค้า ทั้งหมดที่ดําเนินธุรกรรมระหว่างกัน รวมมูลค่าการ สัง ่ ซือ ้ หมุนเวียนในท้องถิน ่ นัน ้ ๆ ทัง ้ สิน ้ 331 ล้านบาท
• ดําเนินการตามแผนทบทวนและประเมินความเสี่ยง ของคู่ค้ารายปี กําหนดและติดตามมาตรการในการ ลดความเสี่ยงกับคู่ค้ารายสําคัญ • พั ฒ นาสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ คู่ ค้ า เชิ ง กลยุ ท ธ์ ทั้ ง ในด้ า นการสร้ า งนวั ต กรรม และการพั ฒ นา ศักยภาพของคู่ค้า • ติ ด ตามและพั ฒ นาแผนเพื่ อ ลดอุ บั ติ เ หตุ ร ะหว่ า ง การก่อสร้างและปรับปรุงโครงการ
การแสดงความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน CPN กําหนดแนวทางในการแสดงความรับผิดชอบและพัฒนาร่วม กับชุมชนตามทีไ่ ด้นาํ เสนอบนเว็บไซต์ของบริษท ั ฯ www.cpn.co.th / การพัฒนาสู่ความยั่งยืน / การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย / การแสดง ความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน / การบริหารจัดการและผลการ ดําเนินงาน โดยมุ่งเน้นสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อสร้าง ชุมชนให้เข้มแข็ง ควบคู่กับการดําเนินโครงการเพื่อสนับสนุนและ พัฒนาด้านการศึกษาและด้านสิ่งแวดล้อม ในปี 2561 ได้กาํ หนด เป้าหมายการมีส่วนร่วมกับชุมชน และการสร้างจุดหมายการใช้ ชี วิ ต ของชุ ม ชนเป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ระดั บ องค์ ก รและระดั บ กลยุ ท ธ์ และแบ่งกลยุทธ์แผนการบริหารจัดการออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้
126
แผนปี2562
1. การลดผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มุ่งเน้นการลดผลกระทบด้านการจราจรทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการก่อสร้าง จนถึงการเปิดให้บริการ ดังรายละเอียดการ ดํ า เนิ น การในหน้ า 105 และการลดผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนและ สิง ่ แวดล้อม โดยกําหนดทีมงานชุมชนสัมพันธ์ทาํ หน้าทีร่ บ ั ผิดชอบ ดูแล สอบถามและตรวจตราผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับชุมชนโดย รอบในระยะ 8-15 กิโลเมตรอย่างสมํา่ เสมอตลอดการก่อสร้าง และ ภายหลังการเปิดดําเนินการจะมีทม ี งาน CSR สาขาและทีมควบคุม คุณภาพทําหน้าที่ดังกล่าว รวมไปถึงการสอดส่องข่าวสารการ ร้องทุกข์ในโซเชียลมีเดีย และการส่งข้อร้องเรียนตามช่องทางที่ บริษัทฯ กําหนด ซึ่งในปี 2561 ไม่มีการดําเนินการใดของ CPN ที่ สร้างผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมในระดับรุนแรง
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
2. การสร้างความผูกพันกับชุมชน 1) การออกแบบอาคารโดยผสมผสานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น CPN กํ า หนดแนวปฏิ บั ติ ใ นการออกแบบโครงสร้ า งทาง สถาปัตยกรรม และการตกแต่งทัง ้ ภายในและภายนอกอาคาร โดย ให้ นํ า เอกลั ก ษณ์ วั ฒ นธรรม ประเพณี และของดี ข องชุ ม ชน ท้องถิ่น หรือในระดับจังหวัดมาประยุกต์ให้ทันสมัย โดดเด่น และมี อัตลักษณ์เฉพาะ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจจริงของบริษัทฯ ที่จะร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับชุมชนในการเติบโตและเผยแพร่ของดี ประจําท้องถิ่นในวงกว้าง ดังเห็นได้จากรูปแบบการตกแต่งด้าน หน้าอาคาร ในหลาย ๆ โครงการตามต่างจังหวัด
เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า
โครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า ออกแบบภายใต้คอนเซ็ปต์ “การผสมผสานธรรมชาติเข้า กั บ การใช้ ชี วิ ต ” ซึ่ ง ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจจากภู มิ ทั ศ น์ ธรรมชาติที่เขียวชอุ่มของภูเก็ต วัฒนธรรมพื้นถิ่นในการ ดําเนินชีวิตด้วยการทําประมงและทอผ้า ผสมผสานกับรูป แบบสถาปัตยกรรมจีน-โปรตุเกสของตึกอาคารและบ้าน เรือนในย่านเมืองเก่าภูเก็ต จนออกแบบและนําเสนอในรูป แบบใหม่ทต ี่ น ื่ ตาและทันสมัย สูก ่ ารเป็นศูนย์รวมของทุกการ ใช้ชีวิตที่นําเอาธรรมชาติมาสอดแทรกทั่วทั้งศูนย์การค้า โดยสะท้ อ นความเป็ น ป่ า ฝนอุ ด มสมบู ร ณ์ สํ า หรั บ การ ตกแต่งภายในนั้นได้ออกแบบโดยผสมผสานเรื่องราวอัน งดงามของวรรณคดี แ ละงานสถาปั ต ยกรรมสมั ย ใหม่ ไว้ด้วยกัน
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
2) การสนับสนุนในรูปแบบที่ไม่ใช่ตัวเงิน ได้แก่ • การสร้างสิ่งปลูกสร้างเพื่อสาธารณประโยชน์ให้กับชุมชน เช่ น สะพานลอย สะพานทางเชื่ อ ม สถานี อ นามั ย ใน เขตแจ้ ง วั ฒ นะ ห้ อ งนํ้ า สาธารณะต้ น แบบในสวนลุ ม พิ นี กรุงเทพฯ สวนสาธารณะเซ็นทรัลพาร์ค ในเขตศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 สวนสาธารณะปทุมวนานุรก ั ษ์ ในเขต ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ สวนสาธารณะโคราชริเวอร์ วอล์ค ในเขตศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา โดยในปี 2561 ได้มอบสะพานลอยคนข้ามที่ได้มาตรฐานความแข็งแรงและ ความปลอดภัยด้วยการติดตัง ้ กระจกนิรภัยแบบใส และอํานวย ความสะดวกด้วยการติดตั้งสายพานลาดเลื่อน ลิฟท์และ ทางลาดเลือ ่ นสําหรับรถเข็นคนพิการ ในโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต รวมมูลค่าการก่อสร้าง 223 ล้านบาท • การจัดสรรพื้นที่โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายหรือลดราคาพิเศษให้กับ หน่วยงานราชการ สถานศึกษา หน่วยงานภาคประชาสังคม และหน่วยงานที่ไม่หวังผลกําไร ในการจัดแสดงนิทรรศการ การจัดตั้งพื้นที่พิเศษเพื่อให้บริการประชาชน รวมทั้งการตั้ง กล่องรับบริจาคเงิน และการสนับสนุนพื้นที่เพื่อรับบริจาค โลหิต โดยในปี 2561 ได้ดาํ เนินการเปิดรับบริจาคโลหิตภายใต้ โครงการ “กลุม ่ เซ็นทรัล จิตอาสา บริจาคโลหิตด้วยหัวใจ หนึง ่ คนให้ สามคนรับ” จํานวน 186 ครัง ้ ได้โลหิตจํานวน 7.14 ล้าน ซี.ซี. เมื่ อ รวมกั บ ยอดจากทุ ก บริ ษั ท ในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล จะได้ ย อด บริจาคโลหิต ส่งมอบให้กบ ั สภากาชาดไทยจํานวน 13.27 ล้าน ซี.ซี. นอกจากนัน ้ ยังร่วมมือกับองค์กรไม่แสวงหาผลประโยชน์ตา่ ง ๆ อาทิ - องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ องค์การ ยูนิเซฟ ประเทศไทยในการจัดแคมเปญ “กินให้เป็น เล่นให้ สุด ไม่หยุดรัก #EatPlayLove” โดยจัดกิจกรรมโรดโชว์ ในรูปแบบของงานเอ็กซ์โป #EatPlayLove สัญจรไปยัง ศูนย์การค้าภายใต้การบริหารของ CPN ทัว ่ ประเทศ เพือ ่ ให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาสมองของเด็ ก ในช่ ว ง ปฐมวัย วิธก ี ารเลีย ้ งลูกและการกระตุน ้ พัฒนาการง่าย ๆ โดยเน้นปัจจัยที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของ เด็ก ด้านโภชนาการทีด ่ ี การเล่น และความรักความอบอุน ่ จากครอบครัว - การร่วมมือกับมูลนิธเิ พือ ่ คนไทย จัดงานเอ็กซ์โป “Good Society Expo 2018 ทําดีหวังผล เริ่มต้นที่เรา” ซึ่งเป็น พัฒนาการทีต ่ อ ่ เนือ ่ งจาก “งานคนไทยขอมือหน่อย” โดย มีเป้าหมายเพื่อให้ช่องทางการลงมือแก้ปัญหาสังคมแก่ ประชาชน พร้ อ มกั บ การพั ฒ นาและยกระดั บ ขี ด ความ สามารถขององค์ ก รเพื่ อ สั ง คมให้ มี โ อกาสได้ ข ยายผล โครงการแก้ปัญหาสังคมร่วมกัน ครอบคลุมประเด็นแก้ ปั ญ หาสั ง คมในด้ า นการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น คนพิ ก าร การดูแลสุขภาพ การให้ และจิตอาสา โดยจัดทีศ ่ น ู ย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์
127
3) การบริจาคเงิน CPN ให้การสนับสนุนด้านการเงินกับชุมชน องค์กรการกุศล หน่ ว ยงานที่ เ หมาะสมและมี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ชุ ม ชนที่ CPN ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อยู่ รวมไปถึ ง การบริ จ าคเพื่ อ การศึ ก ษาและการ บริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ โดยในปี 2561 CPN ได้ บริจาคให้กับมูลนิธิต่าง ๆ อาทิ มูลนิธิสายใจไทย มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธท ิ น ุ การศึกษาสมเด็จพระเทพฯ มูลนิธโิ รคไตแห่งประเทศไทย มูลนิธโิ รงพยาบาลตํารวจ ในพระบรมราชินป ู ถัมภ์ กองทุนพัฒนา เด็กและเยาวชนในถิน ่ ทุรกันดาร (กพด.) คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าช พยาบาล มหาวิท ยาลั ย มหิ ด ล มู ล นิ ธิ เ ด็ ก โสสะแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มูลนิธิอุทกพัฒน์ มูลนิธิเตียง จิราธิวัฒน์ เป็นต้น รวมเป็นเงิน 28.5 ล้านบาท (รวมเงินทีช ่ าํ ระเพือ ่ การดําเนิน งาน) ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งของยอดเงินบริจาคจํานวน 558,960 บาท มาจากการจัดกิจกรรม CPN Step2Share (ดังรายละเอียดใน หน้า 120) และบางส่วนเป็นการบริจาคร่วมกับกลุ่มเซ็นทรัล อาทิ -
บริ จ าคให้ กั บ โรงพยาบาลตํ า รวจ ในโครงการ Because we care เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ พึ่ ง ได้ ภายในโรงพยาบาล เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางแบบครบวงจรในการช่ ว ยเหลื อ เด็ ก เยาวชน สตรี และผู้ ที่ ถู ก กระทํ า รุ น แรงทางสั ง คม ยอด เงินบริจาครวม 5 ล้านบาท
-
บริ จ าคให้ โ ครงการ Woman cancer เพื่ อ สมทบทุ น สร้ า งบ้ า นพิ ง พั ก -ศู น ย์ บํ า บั ด และฟื้ น ฟู ผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง สตรี ที่ยากไร้ ยอดเงินบริจาครวม 5 ล้านบาท
-
บริ จ าคให้ กั บ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ในโครงการปลู ก ป่ า ใน คุ้งบางกระเจ้า ในรูปแบบ สวน ป่า ครอบครัว และให้กับ ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ใ น โ ค ร ง ก า ร ป ลู ก ป่ า ใ น ใ จ ค น ต า ม ศาสตร์พระราชา เพื่ อปลูก ป่ า ทั่ วกรุง เทพ ฯ ยอดจํานวน เงินรวม 4.05 ล้านบาท
ทัง ้ นี้ CPN ได้รว ่ มกับกลุม ่ เซ็นทรัลและบริษท ั ในเครือในการช่วยเหลือ ผู้ ป ระสบภั ย จากธรรมชาติ อาทิ มอบถุ ง ยั ง ชี พ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ประสบอุทกภัยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและ ผูป ้ ระสบวาตภัยพายุปาบึก จังหวัดนครศรีธรรมราช รวม 3,780 ถุง ส่งมอบอุปกรณ์ อาหาร เครือ ่ งดืม ่ สิง ่ อํานวยความสะดวกพร้อม เงิ น สนั บ สนุ น ที ม ค้ น หาผู้ ติ ด ค้ า งถํ้ า หลวง ตลอดระยะเวลา การช่ ว ยเหลื อ ณ ขุ น นํ้ า นางนอน จั ง หวั ด เชี ย งราย รวมเป็ น งบประมาณ 3 ล้านบาท 4) การจัดกิจกรรม CPN อาสา ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ CPN เปิดโอกาสให้พนักงานใช้เวลาในชั่วโมง การทํางานในการทํากิจกรรมอาสาเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และมี ส่วนร่วมกับชุมชนในการส่งเสริมทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2561 ได้เปิดโอกาสให้พนักงานได้มีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรมมากขึ้นโดยการนําเสนอกิจกรรมอาสาที่ ตนเองและเพือ ่ นพนักงานสนใจ หากผ่านการพิจารณา ทางบริษท ั ฯ
128
จะมอบเงิ น สนั บ สนุ น ในการดํ า เนิ น การ รวมไปถึ ง การร่ ว มกั บ บุคลากรของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลดําเนินโครงการ Centrality เพื่ อ ร่ ว มกั น ทํ า กิ จ กรรมในการสร้ า งคุ ณ ค่ า ร่ ว มให้ กั บ ชุ ม ชน โดยรอบ หรือภายในจังหวัดที่โครงการตั้งอยู่ ส่งผลให้ตลอด ทัง ้ ปีมก ี ารจัดกิจกรรมอาสาทัง ้ สิน ้ 51 กิจกรรม มีจาํ นวนพนักงาน เข้าร่วมกิจกรรมทัง ้ สิน ้ 2,115 คน (นับเฉพาะข้อมูลทีม ่ ก ี ารรวบรวม และนับซํ้าคน) เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 19 3. การพัฒนาชุมชน CPN มีเจตนารมณ์ตง ั้ มัน ่ ทีจ ่ ะเป็นส่วนหนึง ่ ของชุมชน สร้างความ ภาคภูมิใจให้กับชุมชน โดยการบริหารและจัดกิจกรรมทางการ ตลาดเพือ ่ เป็นศูนย์กลางของเมือง เป็นศูนย์กลางของธุรกิจท้องถิน ่ และเป็นศูนย์กลางของการใช้ชว ี ต ิ มุง ่ เน้นการร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐและประชาสังคมเพือ ่ สร้างกิจกรรมทางการตลาดทีส ่ ะท้อน และส่งเสริมให้คนในท้องถิน ่ เกิดความภาคภูมใิ จในเอกลักษณ์ของ เมือง และสร้างให้เกิดกลไกตลาดชุมชนเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจ ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง โดยในปี 2561 ได้เน้นการจัดกิจกรรมส่งเสริม ตลาดชุมชน อาทิ ร่วมมือกับกลุม ่ เซ็นทรัลจัดกิจกรรม “ตลาดชุมชน เซ็นทรัลปีที่ 7” เพื่อเป็นช่องทางในการจําหน่ายสินค้าคุณภาพดี กว่ า 2,000 รายการ จากเกษตรกรทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคไทยรวม 49 จังหวัด และจัดกิจกรรม “สินค้าชุมชนของเรา” ภายใต้กลุ่ม เซ็นทรัล ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมหมุนวียนไปตามศูนย์การค้าของ CPN ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 เซ็นทรัลพลาซา ระยอง เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช นอกจากนี้ ยังร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และกลุม ่ เกษตรกรรุน ่ ใหม่ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการจัดงานตลาดเพื่อการเกษตร เช่น ตลาดจริงใจ ตลาดเกษตรกรอินทรีย์ ตลาดปันสุข เป็นต้น รวมไป ถึ ง การเปิ ด พื้ น ที่ เ พื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรที่ ป ระสบปั ญ หาสิ น ค้ า เกษตรล้นตลาด เช่น จัดงาน “สับปะรดกลางกรุง” เพื่อบรรเทา ภาวะสับปะรดล้นตลาด โดยจัดในพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา และเซ็นทรัล พลาซา เวสต์เกต ซึ่งภายหลังการจัดงานสามารถช่วยระบาย สับปะรดบ้านคา จังหวัดราชบุรีได้กว่า 100 ตัน สร้างรายได้ให้กับ เกษตรกรจํานวน 3,076 ราย มูลค่ากว่า 1 ล้านบาท CPN ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ได้ ร่ ว มกั น พั ฒ นา เศรษฐกิจท้องถิน ่ และกระจายรายได้สเู่ กษตรกร โดยมีแนวทางใน การดําเนินงาน ดังนี้ •
การพั ฒ นาคน ผ่ า นทางมู ล นิ ธิ เ ตี ย ง จิ ร าธิ วั ฒ น์ ลงนามความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัด นครศรีธรรมราช ในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรอย่าง ยั่งยืน โดยส่งเสริมให้ความรู้ทางการพัฒนาผลผลิต การออกแบบหี บ ห่ อ และเทคโนโลยี ก ารพั ฒ นาสาร ชีวภาพเพื่อยับยั้งเชื้อราในพืชเกษตร โดยอาจารย์และ บุคลากรของมหาวิทยาลัย
รายงานประจําปี 2561
•
บทที่ 20
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และช่องทางการจัดจําหน่าย โดยสนั บ สนุ น และพั ฒ นากิ จ กรรมการดํ า เนิ น งาน ตลอดห่วงโซ่คุณค่าของการผลิตผลิตภัณฑ์จนถึงการ วางขายผลผลิต อาทิ -
-
-
-
การสนับสนุนเงินจํานวน 3 ล้านบาทในการก่อสร้าง โรงคัดผลผลิตทางการเกษตรแบบอินทรีย์ พร้อม อุปกรณ์ตามมาตรฐาน GMP ให้กับค่ายสมเด็จ พระเอกาทศรถ จังหวัดพิษณุโลก โดยผลผลิตที่ได้ ส่งจําหน่ายในท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก การเปิดตัวข้าวพันธุพ ์ ษ ิ ณุโลก 80 “ทรัพย์-ปัน” ที่ ได้รบ ั พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ซึ่ ง เป็ น ข้ า วที่ มี นํ้ า ตาล ปานกลาง-ตํ่า เหมาะกับคนรักสุขภาพ ผู้ป่วยโรค เบาหวาน โรคอ้วน และรับซือ ้ จากกษตรกรทัง ้ หมด เ พื่ อ ว า ง จํ า ห น่ า ย ใ น ท็ อ ป ส์ ซู เ ป อ ร์ ม า ร์ เ ก็ ต ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย ศูนย์การค้า เซ็ น ทรั ล พลาซา เชี ย งใหม่ แอร์ พ อร์ ต และ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ การเปิ ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ บรนด์ ไ ทยสไตล์ ส ากล “good goods” ภายใต้โครงการ “เซ็นทรัล ทํา” ซึง ่ เป็นผลิตภัณฑ์จากภูมป ิ ญ ั ญาท้องถิน ่ ผ่านการ พัฒนาคุณภาพและออกแบบให้มีความร่วมสมัย ด้ ว ย ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ที่ จ ะ สื บ ส า น ม ร ด ก ท า ง วัฒนธรรม และสนับสนุนชุมชนไทยให้มีความสุข อย่างยั่งยืน โดยเปิดช่องทางการจัดจําหน่ายใน รู ป แบบร้ า นป็ อ ปอั พ สโตร์ บริ เ วณโซนบี ชั้ น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ การนํ า ผ้ า ทอนาหมื่ น ศรี ซึ่ ง เป็ น ผ้ า ทอมื อ ที่ มี ประวั ติ ศ าสตร์ ย าวนานดั่ ง งานศิ ล ปะที่ แ นบแน่ น ในวิ ถี ก ารใช้ ชี วิ ต ของชาวบ้ า นในจั ง หวั ด ตรั ง มาออกแบบโดยดีไซเนอร์ร่วมสมัย และผลิตขึ้นรูป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สํ า หรั บ มอบเป็ น ของขวั ญ ปี ใ หม่ ประจําปี 2561 ให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการร้านค้า พันธมิตร คู่ ค้ า ทางธุ ร กิ จ และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หลั ก ที่ สํ า คั ญ ในเทศกาลปี ใ หม่ แ ละโอกาสสํ า คั ญ ตามเหมาะสม เมื่ อ ต้ น ปี 2561 สามารถสร้ า งรายได้ ใ ห้ ชุ ม ชน โดยตรงร่วม 1.4 ล้านบาท ซึ่งการผลิตผลิตภัณฑ์ ดั ง กล่ า วนั้ น เป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง CPN กลุ่มเซ็นทรัล ชุมชนชาวบ้านนาหมื่นศรี ดีไซเนอร์ ร่ ว มสมั ย แบรนด์ Painkiller และผู้ เ ชี่ ย วชาญ ด้ า นผ้ า และเส้ น ใย ได้ แ ก่ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.นํ้ า ฝน ไล่ ศั ต รู ไ กล และผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.วิทวัน จันทร โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ สืบสานคุณค่า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ใ ห้ ค ง อ ยู่ ซึง ่ นอกเหนือจากการสัง ่ ซือ ้ วัตถุดบ ิ จากชุมชนแล้ว ทาง CPN ยั ง ได้ ร่ ว มสมทบเงิ น 1 ล้ า นบาท
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ในโครงการปรับปรุงพิพิธภัณฑ์ผ้าทอนาหมื่นศรี อําเภอนาโยง จังหวัดตรังอีกด้วย •
การพัฒนาชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาในด้านการศึกษา อันเป็นรากฐานของสังคม ภายใต้ “โครงการเซ็นทรัล มุง ่ มัน ่ พัฒนาการศึกษา และ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย” โดยก่อสร้างและปรับปรุงอาคารเรียน ปรับห้องสมุด สู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ สร้างสนามเด็กเล่น “สนามนี้ เพือ ่ น้อง” ทีเ่ หมาะสมกับวัยของเด็ก ส่งเสริมครัวอนามัย ในโรงอาหาร ปรั บ ปรุ ง ห้ อ งสุ ข าให้ ถู ก หลั ก อนามั ย สนับสนุนโครงการเกษตรเพือ ่ อาหารกลางวัน สนับสนุน เครือ ่ งกรองนํา้ ดืม ่ คอมพิวเตอร์ ครุภณ ั ฑ์ และอุปกรณ์ การศึกษา ขึ้นกับบริบทและความต้องการของแต่ละ โรงเรียน ซึง ่ ในปี 2561 ได้ดาํ เนินการร่วมกับกลุม ่ เซ็นทรัล ให้กับโรงเรียน 7 แห่ง ใน 5 จังหวัด รวมมูลค่ากว่า 7.4 ล้านบาท โดยมีรายชื่อโรงเรียนดังต่อไปนี้ (1) โรงเรียนบ้านนาทรายนํา้ รอด จังหวัดอุดรธานี (2) โรงเรียนชลประทานเขื่อนแม่กวงจิราธิวัฒน์ อุปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ (3) โรงเรียนวัดดอนชัย จังหวัดเชียงใหม่ (4) โรงเรียนตํารวจชายแดนบ้านหินจอก จังหวัดตรัง (5) โรงเรียนวัดวารีวง จังหวัดตรัง (อยูร่ ะหว่างดําเนิน การก่อสร้าง) (6) โรงเรียนบ้านทับเบิกร่วมใจ จังหวัดเพชรบูรณ์ (อยู่ระหว่างดําเนินการก่อสร้าง) (7) ศูนย์การเรียนตํารวจชายแดนบ้านจะนู จังหวัด เชียงราย (อยู่ระหว่างดําเนินการก่อสร้าง)
อีกหนึง ่ แนวทางในการพัฒนาชุมชน คือ การมอบโอกาสและความ เท่าเทียมทางสังคมให้กบ ั ผูด ้ อ ้ ยโอกาส อาทิ การจัดสรรพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ ฟรีให้กับผู้พิการได้จําหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาลโดยถูกต้องตาม กฎหมายในพื้นที่ที่เห็นชอบบนประโยชน์ของผู้พิการเป็นที่ตั้ง โดย ในปี 2561 มีผู้พิการจํานวน 46 ราย เข้าร่วมโครงการดังกล่าว ใน ศูนย์การค้าของ CPN จํานวน 21 โครงการ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1 ต่อพนักงานทัง ้ หมด นอกจากนัน ้ CPN และกลุม ่ เซ็นทรัลได้สานต่อ โครงการพัฒนาศักยภาพชีวิตคนพิการ หรือ Central C.A.R.E for Disability มอบเงิ น สนั บ สนุ น แก่ ค นพิ ก ารให้ ส ามารถมี ความรู้ในการประกอบอาชีพ โดยสนับสนุนทั้งหมด 10 โครงการ ใน 8 จั ง หวั ด รวมคนพิ ก ารทั้ ง หมดภายใต้ โ ครงการดั ง กล่ า ว จํานวน 199 ราย
129
ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืน : การแสดงความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน ดัชนีชี้วัดด้านความยั่งยืน
ดัชนีชี้วัดด้านความยั่งยืน
ผลการดําเนินงานปี2561
• กํ า หนดความสั ม ฤทธิ์ ผ ลของแผนงานการสร้ า ง คุณค่าร่วมกับชุมชน (Creating Shared Value) เป็นดัชนีชี้วัดระดับองค์กร โดยตั้งเป้าหมายชั่วโมง อาสาของพนักงานจํานวน 5,000 ชั่วโมง
แผนปี2562
• กํ า หนดความสั ม ฤทธิ์ ผ ลของแผนงานการสร้ า ง คุณค่าร่วมกับชุมชน (Creating Shared Value) เป็นดัชนีชี้วัดระดับองค์กร โดยตั้งเป้าหมายชั่วโมง อาสาของพนักงานจํานวน 10,000 ชั่วโมง
• มี บุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมสร้ า ง คุ ณ ค่ า ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและกิ จ กรรม CPN อาสา รวม 8,508 ชั่ ว โมง มากกว่ า เป้ า หมายที่ ตั้ ง ไว้ ร้อยละ 70
การแสดงความรับผิดชอบ และพัฒนาชุมชน
130
• จั ด กิ จ กรรมทางการตลาดสู่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลาง การใช้ชีวิต และศูนย์กลางของชุมชน รวมทั้งสิ้น 320 กิจกรรม มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 1 เท่า • สนั บ สนุ น พื้ น ที่ ใ ห้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ และชุ ม ชนโดย ไม่คิดค่าใช้จ่ายเป็นงบประมาณรวม 81.2 ล้านบาท สนับสนุนกําลังคน และงบประมาณในการดําเนิน โครงการ CPN อาสา และโครงการสร้างคุณค่า ร่วมกับชุมชนรวม 5.2 ล้านบาท • ประสบความสํ า เร็ จ ในการสร้ า งวั ฒ นธรรมอาสา แบบสองทาง คือ กําหนดจากองค์กรและนําเสนอ โดยพนั ก งาน โดยมี ก ารจั ด กิ จ กรรมทั้ ง หมด 29 กิ จ กรรม (ไม่ ร วมกิ จ กรรม เซ็ น ทรั ล กรี น ) คิ ด เป็ น จํา นวนชั่ ว โมงอาสา 2,840 ชั่ ว โมง หรื อ ร้ อ ยละ 33 ของจํ า นวนชั่ ว โมงอาสาทั้ ง หมด ในปี 2561 • สนั บ สนุ น และร่ ว มกั บ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ในการดํ า เนิ น โครงการเพื่ อ สั ง คมในนาม “เซ็ น ทรั ล ทํ า ” และ กลุ่มเซ็นทรัล รวมเป็นเงิน 20.1 ล้านบาท และบริจาค เพื่ อ การกุ ศ ลผ่ า นมู ล นิ ธิ ต่ า ง ๆ รวมเป็ น เงิ น 8.4 ล้านบาท • ไม่ มี ข้ อ ร้ อ งเรี ย นในเรื่ อ งผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนและ สิ่งแวดล้อมที่เป็นนัยสําคัญ
• เพิ่ ม จํ า นวนกิ จ กรรมทางการตลาดสู่ ก ารเป็ น ศูนย์กลางของชุมชนเพื่อสนับสนุนธุรกิจขนาดย่อม จํานวน 100 กิจกรรม • ดํ า เนิ น งานตามแผนงานสร้ า งวั ฒ นธรรมอาสา ในองค์กรทั้งแบบ Top down และ Bottom up กระจายแบ่งตามภูมิภาค • สนับสนุนการพัฒนาด้านการศึกษาผ่านโครงการ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย และโครงการสานพลัง ประชารัฐ โดยเน้นในชุมชนที่บริษัทฯ มีการดําเนิน ธุรกิจอยู่
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม CPN ดําเนินการบริหารจัดการด้านสิง ่ แวดล้อมตามแนวทางการบริหารจัดการผลกระทบจากการเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ และสิง ่ แวดล้อม โดยประกาศนโยบายด้านสภาพภูมอ ิ ากาศและสิง ่ แวดล้อม ครอบคลุมการดําเนินงานและบริหารจัดการ พลังงาน นํา้ สภาพภูมอ ิ ากาศ สภาพแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และการจัดการของเสีย เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพ สูงสุดอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยนํามาตรฐานสากลต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ อาทิ มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) มาตรฐานการจัดการก๊าซเรือนกระจก (ISO 14064-1) มาตรฐานระบบการจัดการด้านพลังงาน (ISO 50001) และหลักเกณฑ์การประเมิน Thailand Energy Award ของกระทรวงพลังงาน และ ASEAN Energy Award ของอาเซียน โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการใช้พลังงาน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดปริมาณขยะฝังกลบ และเพิ่มการใช้พลังงานและ นํ้าทางเลือก การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและ การบริหารจัดการการใช้พลังงาน
แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน การพัฒนาและรักษา สิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
การบริหารจัดการนํา้
การบริหารจัดการขยะ และของเสีย
การบริหารที่เกี่ยวข้อง กับระบบนิเวศและ ความหลากหลายทางชีวภาพ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการบริหารจัดการการใช้พลังงาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจก CPN ใช้ แ นวทางการจั ด ทํ า คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ข ององค์ ก ร (Carbon Footprint for Organization: CFO หรือ Corporate Carbon Footprint: CCF) เป็ น แนวทางในการแสดงข้อมูล ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากการดําเนินงานขององค์กร ตามแนวทางการประเมิ น คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ข ององค์ ก รตาม มาตรฐานการจัดการก๊าซเรือนกระจก (ISO 14064-1) โดยในปี 2561 CPN ได้ขอรับรองการจัดทําคาร์บอนฟุตพริน ้ ท์ขององค์กร จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (www.tgo.or.th) ครอบคลุมการดําเนินงานศูนย์การค้าที่เปิดให้ บริการในปี 2561 จํานวน 33 โครงการ (แยกโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เป็น 2 โครงการ) อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และสํ า นั ก งานใหญ่ ตามแผนงานในการจั ด ทํ า ข้ อ มู ล ปี ฐ านที่ เหมาะสมเพื่ อ ติ ด ตามผลการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกให้ เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ในปี 2568 ในการลดดัชนีการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ลง ร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับปีฐานปี 2558
15 16
จากการประเมินดังกล่าวพบว่า สัดส่วนปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกทางตรง (ขอบเขต 1) และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจกทางอ้อมจากการใช้พลังงาน (ขอบเขต 2) คิดเป็นร้อยละ 0.7 และร้อยละ 46 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้ง 3 ขอบเขต ตามลํ า ดั บ ดั ง นั้ น แนวทางการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก จึ ง มุ่ ง เน้ น มาตรการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกทางอ้ อ ม (ขอบเขต 2) หรือ ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นหลักดังรายงาน ในหัวข้อ “การใช้พลังงานไฟฟ้า” โดยในปี 2561 ปริมาณการปล่อย ก๊ า ซเรื อ นกระจกขององค์ ก รมี ป ริ ม าณเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 4.8 เนื่องจากการเปิดดําเนินการโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย เต็มปีปฏิทิน การดําเนินการ ปรับปรุงเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 แล้วเสร็จ และการเปิดโครงการ เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า โดยความเข้มข้นในการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกทางตรงและทางอ้อม (ขอบเขต 1 และ ขอบเขต 2) มีคา่ เท่ากับ 0.079 ตันคาร์บอนเทียบเท่าต่อหนึง ่ หน่วยพืน ้ ที15 ่ ทัง ้ นี้ หากทําการวิเคราะห์ความเข้มข้นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เฉพาะในสภาวะการดําเนินธุรกิจปกติ16 พบว่ามีค่าลดลงเล็กน้อย จากปี 2560 เท่ากับ 0.086 ตันคาร์บอนเทียบเท่าต่อหนึง ่ หน่วยพืน ้ ที่
พื้นที่ที่ใช้ในคํานวณมาจากพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด (Net leasable area) รวมกับพื้นที่ส่วนกลาง (Common area) แสดงผลการวิเคราะห์โดยไม่รวมโครงการที่เปิดไม่เต็มปีปฏิทิน หรือมีการปรับปรุงบางส่วน โดยจํานวนศูนย์การค้าที่นาํ มาคํานวณ คือ 28 โครงการในปี 2560 และ 30 โครงการในปี 2561 (แยกโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เป็น 2 โครงการ)
131
4,103.42 tCO2eq
257,873.94 tCO2eq
(ขอบเขต 2)
ร้อยละ 53.09
ร้อยละ 0.51
299,733.37 tCO2eq
2,903.66 tCO2eq
(ขอบเขต 3)
ขอบเขต 1
อื่น ๆ
299,733
283,576
270,231
257,874
249,934
254,797 4,103
ร้อยละ 45.67
(ขอบเขต 1)
3,789
ร้อยละ 0.73
4,302
การปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ปี 2561 รวม 534,614.50 tCO2eq
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขอบเขต 1 ขอบเขต 2 และ ขอบเขต 3 ของ CPN * (ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)
สัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขอบเขต 1 ขอบเขต 2 และ ขอบเขต 3 ของ CPN ในปี 2561
ขอบเขต 2
ปี 2559
ปี 2560
ขอบเขต 3
ปี 2561
* หมายเหตุ (1) การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ประกอบด้วย การปล่อยก๊าซจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน และสํานักงานเช่าของ CPN ประกอบด้วย การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง โดยคํานวณตาม แนวทางการรายงานและคํานวณก๊าซเรือนกระจกของ Intergovernmental Panel on Climate Change 2006 (IPCC) และแนวทางการเปิดเผยก๊าซเรือนกระจกขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน) โดยคํานวณแบบ Operation Control (2) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (ขอบเขต 1) เกิดจากการเผาไหม้เชือ ้ เพลิงต่าง ๆ ของ CPN อาทิ นํา้ มันเบนซิน นํา้ มันดีเซล และก๊าซธรรมชาติ การใช้สารเคมี และการรัว ่ ไหลจากกระบวนการหรือกิจกรรมขององค์กร (3) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (ขอบเขต 2) เกิดจากการซื้อพลังงานจากภายนอก เพื่อการปฏิบัติงานของ CPN เท่านั้น ไม่นับรวมการซื้อไฟฟ้าของร้านค้าเช่าต่าง ๆ (4) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ (ขอบเขต 3) เกิดจากการใช้พลังงานในการเดินทางของพนักงาน การใช้นาํ้ ประปา และการใช้ไฟฟ้าของร้านค้าเช่าต่าง ๆ (5) โครงการที่นํามาคํานวณในแต่ละปีรวมศูนย์การค้าที่เปิดดําเนินการในปีนั้น ๆ รวมอาคารสํานักงาน 1 แห่งและสํานักงานใหญ่ โดยจํานวนศูนย์การค้าที่นาํ มาคํานวณ คือ 30, 32, 33 โครงการ ในปี 2559 , 2560 และ 2561 ตามลําดับ
การใช้พลังงาน CPN แบ่งการใช้พลังงานในการดําเนินธุรกิจออกเป็น 3 ส่วนหลัก คือ การใช้พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าในประเทศ การใช้พลังงานไฟฟ้าจากแผงพลังงานแสงอาทิตย์ และการใช้ พลังงานเพื่อการดําเนินการอื่น ๆ เช่น การใช้นํ้ามันเชื้อเพลิงใน การเผาไหม้ โดยในปี 2561 CPN ใช้พลังงานในการดําเนินธุรกิจ ทัง ้ หมด17 รวมสํานักงานใหญ่ เท่ากับ 454,447 เมกะวัตต์-ชัว ่ โมง คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นการใช้ ก ารใช้ พ ลั ง งานโดยตรงจากการเผาไหม้ เชือ ้ เพลิงร้อยละ 1 (5,265 เมกะวัตต์-ชัว ่ โมง) การใช้พลังงานทาง อ้อมจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าร้อยละ 98 (443,007 เมกะวัตต์-ชัว ่ โมง) และการใช้พลังงานไฟฟ้าโดยตรงจากแผงพลังงานแสงอาทิตย์
17 18 19
ร้อยละ 1 (6,175 เมกะวัตต์-ชั่วโมง) ทั้งนี้สัดส่วนการใช้พลังงาน ของสํานักงานใหญ่18 คิดเป็นร้อยละ 0.2 (910 เมกะวัตต์-ชัว ่ โมง) ของการใช้พลังงานทัง ้ หมด โดยความเข้มข้นของการใช้พลังงาน ต่อหนึง ่ หน่วยพืน ้ ที19 ่ เท่ากับ 136.5 กิโลวัตต์-ชัว ่ โมงต่อตารางเมตร แม้ว่าการใช้พลังงานในภาพรวมของ CPN จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 จากปี 2560 เนื่องมาจากการขยายธุรกิจและสร้างศูนย์การค้า ใหม่ แต่หากวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานต่อหนึง ่ หน่วย พื้นที่ โดยวิเคราะห์เฉพาะในสภาวะการดําเนินธุรกิจปกติ 19 พบว่า มีประสิทธิภาพดีขึ้นที่ร้อยละ 1.8
การดําเนินธุรกิจทั้งหมดรวมการดําเนินงานของโครงการศูนย์การค้า 33 แห่ง อาคารสํานักงาน 7 แห่ง และศูนย์อาหาร 33 แห่ง ไม่รวมพลังงานที่ใช้โดยผู้เช่า หรือลูกค้า สํานักงานใหญ่ 3 ประกอบด้วย ได้แก่ 1) ชั้น 10 และชั้น 30-33 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ 2) ชั้น 23-24 อาคารปิ่นเกล้า ทาวเวอร์ เอ 3) ชั้น 46 อาคารจิวเวอรี่เทรดเซ็นเตอร์ พื้นที่ที่ใช้ในการคํานวณมาจากพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด (Net leasable area) รวมกับพื้นที่ส่วนกลาง (Common area)
132
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
การใช้พลังงานไฟฟ้า ในปี 2561 สัดส่วนค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานไฟฟ้าโดยรวมคิดเป็น ร้อยละ 89 ของค่าใช้จา่ ยสาธารณูปโภคทัง ้ หมด หรือคิดเป็นร้อยละ 14 ของค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานทั้งหมด20 โดยร้อยละ 53 ของ การใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ดั ง กล่ า วเป็ น การใช้ โ ดยร้ า นค้ า หรื อ ผู้ เ ช่ า เนื่องจาก CPN ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าเป็นหลัก จึงกําหนดเป้าหมายปี 2568 ในการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อ หนึง ่ หน่วยพืน ้ ทีล ่ งให้ได้รอ ้ ยละ 20 เทียบกับปีฐานปี 2558 (เฉพาะ ส่วนการใช้พลังงานของ CPN) และกําหนดเป้าหมายปี 2561 ใน การลดการใช้พลังงานลงให้ได้ร้อยละ 2 เทียบกับปี 2560 โดย ดําเนินการอนุรักษ์พลังงานตามแผนงานทั้งหมด 72 มาตรการ ในศู น ย์ ก ารค้ า รวม 29 แห่ ง คิ ด เป็ น มู ล ค่ า การลงทุ น กว่ า 51 ล้านบาท (ไม่รวมการลงทุนระบบในศูนย์การค้าเปิดใหม่และระบบ โซลาร์ เ ซลล์ ที่ ติ ด ตั้ ง เมื่ อ ปี 2560) ผลจากการดํ า เนิ น การตาม มาตรการทัง ้ หมดสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งจ่าย ไฟฟ้าในภาพรวมลงได้ 12,178 เมกะวัตต์-ชัว ่ โมง ส่งผลให้ดช ั นีการ ใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ หรือ Specific Energy Consumption: SEC (เฉพาะในส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าของ CPN ไม่ ร วมร้ า นค้ า ผู้ เ ช่ า ) มี ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 133.1 กิโลวัตต์-ชัว ่ โมงต่อตารางเมตร โดยมาตรการหลักทีน ่ ํามาใช้ ได้แก่ 1.
2.
3. 4. 5. 6.
20
ติดตัง ้ ระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) บนหลังคาอาคารศูนย์การค้าแล้วเสร็จและ ทยอยผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ใช้ ภ ายในอาคารโดยตรง จํ านวน 6 โครงการ รวมปัจจุบันมีการติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บน หลังคาอาคารแล้วทั้งสิ้น 9 โครงการ พบว่าพลังงานไฟฟ้า จากแสงอาทิตย์ที่ผลิตได้ในปี 2561 (พลังงานแสงอาทิตย์ จาก 6 โครงการใหม่เริ่มผลิตได้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2561) มีปริมาณเท่ากับ 6,175 เมกะวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 5.3 ของการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉพาะที่ใช้โดย CPN (ไม่รวมร้านค้าผู้เช่า) ของทั้ง 9 โครงการ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า เฉพาะที่ ใ ช้ โ ดย CPN ทั้ ง โครงการศูนย์การค้าและอาคารสํานักงาน ปรับเปลี่ยนระบบไฟฟ้าแสงสว่างเป็นระบบหลอดไฟแอลอีดี โดยทํ า การปรั บ เปลี่ ย นในโครงการที่ เ ปิ ด ดํ า เนิ น การแล้ ว 20 แห่งนับรวมศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า ทีเ่ ปิด ดําเนินการในปี 2561 นําเทคนิคการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ไฟฟ้าอัตโนมัตท ิ ใี่ ช้ใน เครื่องทําความเย็น มาใช้ในการดูดอัดสารทําความเย็นตาม สภาวะแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริงเพื่อประหยัดพลังงาน นํามอเตอร์ปม ั๊ ประสิทธิภาพสูงมาปรับเปลีย ่ นในท่อส่งนํา้ เย็น และท่อลมเย็น ปรับเปลี่ยนระบบหอทําความเย็น ในโครงการเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 มาตรการอื่น ๆ อาทิ ติดตั้งฉนวนใยแก้วป้องกันความร้อน เข้าผนังอาคาร ปรับปรุงระบบควบคุมการปฏิบัติงาน ปรับ มาตรการดูแลระบบ
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
7.
8.
พัฒนาพนักงานในด้านการอนุรก ั ษ์พลังงาน และการจัดการ สิ่งแวดล้อมในรูปแบบการอบรม โดยวิทยากรทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร รวมทั้งสิ้น 10 หลักสูตร มีผู้เข้าร่วมจํานวน 449 คน (นับซํ้าคน) คิดเป็นร้อยละ 9 ของพนักงานทั้งหมด รวมไปถึงการสนับสนุนให้พนักงานมีส่วนร่วมในกิจกรรม สือ ่ สารวันพลังงาน (Energy Day) และโครงการดรีมทีมเป็น ประจําทุกปี ให้ความรู้และเชิญชวนผู้ประกอบการร้านค้าที่สนใจลดค่า ใช้จ่ายด้านการใช้พลังงานไฟฟ้า หันมาเปลี่ยนหลอดไฟฟ้า แสงสว่างภายในร้านจากเดิมเป็นหลอดไฟแอลอีดี โดยสามารถ เชิญชวนและผลักดันได้สําเร็จคิดเป็นร้อยละ 77 ของจํานวน เป้าหมายที่กําหนดไว้
โครงการ “Moss cooling” – โครงการ Dream Team ปี2560 โครงการลดปัญหาตะไคร่นาํ้ ในถาดโดยรอบของหอหล่อเย็น โดยศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวล ั หาดใหญ่ ทีไ่ ด้รบ ั คัดเลือก ให้นาํ ไปขยายผลกับสาขาอืน ่ ๆ ของบริษท ั ฯ ในปี 2561 ด้วย การนําวัสดุเหลือใช้มาปิดรอบถาดหอหล่อเย็น เพือ ่ ป้องกัน การตกกระทบของแสงแดดกับผิวนํา้ ซึง ่ เป็นการตัดปัจจัยที่ ทําให้เกิดตะไคร่นาํ้ วิธก ี ารดังกล่าวเป็นวิธป ี อ ้ งกันอย่างง่าย ๆ และเห็นผลทันที ภายหลังการติดตั้งอุปกรณ์ไม่พบตะไคร่ นํ้าในถาดโดยรอบหอหล่อเย็นอีกเลย ทีมงานซ่อมบํารุง ของเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ ได้ถ่ายทอดกระบวนการ เรียนรู้ให้กับทีมงานซ่อมบํารุงในอีก 6 สาขาของบริษัทฯ และได้ร่วมหารือกับบริษัทคู่ค้าที่มาติดตั้งหอหล่อเย็น เพื่อ พัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ร่วมกันอีกด้วย
ผลลัพธ์ของโครงการ
ลดระยะเวลา ในการซ่อมแซม และการทําความสะอาดหอหล่อเย็น
ลดค่าใช้จ่าย ในการดําเนินการ และค่าไฟฟ้า
รายละเอียดเพิ่มเติมในรายงานประจําปี 2561 – รายงานทางการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 31 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
133
หนึ่งในเครื่องมือที่ CPN ใช้ในการประเมินประสิทธิผลจากการนํา มาตรการอนุรักษ์พลังงานมาปรับใช้ คือ การเข้าร่วมประเมินเพื่อ ขอรับรางวัลด้านการอนุรักษ์พลังงานและการพัฒนาพลังงาน ทดแทน หรือ Thailand Energy Awards จากกระทรวงพลังงาน เป็นประจําทุกปี โดยในปี 2561 CPN ได้รับรางวัลด้านการอนุรักษ์ พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน ดังนี้ •
รางวัลประเภทอาคารควบคุมดีเด่น : ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา ขอนแก่น และศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่
•
รางวัลประเภทอาคารสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (อาคารใหม่) : ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต และ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช
ปัจจุบันมีโครงการศูนย์การค้าภายใต้การบริหารของ CPN ที่ได้ รับรางวัลดังกล่าวจํานวนทัง ้ หมด 23 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 72 ของจํ า นวนโครงการที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารทั้ ง หมด ณ ปี ปั จ จุ บั น นอกจากนี้ ทางกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรก ั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได้มอบฉลากรับรองมาตรฐานการ ออกแบบอาคารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานสํ า หรั บ อาคารใหม่ ประเภทรางวัลดีเด่น ให้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และรางวั ล ดี ม าก ให้ แ ก่ ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา มหาชั ย ภายใต้ โ ครงการบริ ห ารศู น ย์ ป ระสานงานการออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน CPN นําแนวทางการพัฒนาอาคารประหยัดพลังงานและเป็น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ Green Building มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ในการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ของ CPN เรื่ อ ยมา ในปี 2561 คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น มี ม ติ เห็นชอบที่จะนําโครงการปรับปรุงโซนอาหารฟู้ดเวิลด์ บริเวณ ชั้ น 7 ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เ ข้ า ขอรั บ การรั บ รองอาคาร เขียวมาตรฐานสากลที่ยอมรับในระดับโลก มาตรฐาน LEED : Leadership in Energy & Environmental Design จาก สภาอาคารเขียวสหรัฐอเมริกา (U.S. Green Building Council: USGBC) ซึ่ ง จะได้ รั บ ใบประกาศรั บ รองอย่ า งเป็ น ทางการ ในปี 2562 ทั้ ง นี้ ในการขอรั บ รองดั ง กล่ า วนั้ น CPN ได้ นํ า เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์ใช้ โดยคํานึงถึง คุณภาพชีวต ิ ของลูกค้าให้อยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีด ่ เี มือ ่ มาใช้บริการ และปลู ก ฝั ง จิ ต สํ า นึ ก การดู แ ลและรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อมให้กับผู้ประกอบการในโซนฟู้ดเวิลด์ดังกล่าว อาทิ
134
• ร ะ บ บ ค ว า ม เ ย็ น ที่ มี ค่ า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง นําเทคนิคการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ไฟฟ้า อัตโนมัติใช้ในเครื่องทําความเย็น และติดตั้ง ระบบวัดพลังงานนํ้าเย็นจากส่วนกลางเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมความเย็น • ปรับเปลี่ยนหลอดไฟแสงสว่างเป็นหลอดไฟ แอลอีดท ี ง ั้ หมด และติดตัง ้ ระบบเปิดปิดแสงสว่าง อั ต โนมั ติ ควบคุ ม การเปิ ด ปิ ด แสงสว่ า ง บริเวณใกล้ขอบระเบียง • ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ เครื่องเสียง คอมพิวเตอร์ จอภาพ เครื่อง ล้างจาน เครื่องทํานํ้าแข็งในระดับ Energy Star ทั้งหมด • ติดตั้งสุขภัณฑ์แบบประหยัดนํา้ และอุปกรณ์ เครือ ่ งใช้ไฟฟ้า เช่น เครือ ่ งล้างจาน และเครือ ่ ง ทํานํ้าแข็งที่มีอัตราการประหยัดนํ้าเทียบเท่า มาตรฐาน Energy Star ทั้งหมด • ติ ด ตั้ ง ระบบเติ ม อากาศใหม่ แ บบครบวงจร ประกอบด้ ว ยตั ว วั ด ปริ ม าณก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ พั ด ลมดู ด อากาศใหม่ ระบบ เซ็นเซอร์ในการเติมอากาศอัตโนมัติ • ใช้วส ั ดุอป ุ กรณ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง ่ แวดล้อมและ สุขภาพ เช่น การใช้สี กาว และสารเคลือบที่มี ค่าสารประกอบอินทรีย์ระเหยตํา่ ใช้ไม้อัด และ ไม้วิเนียร์ ปิดผิวที่ไม่มีส่วนผสมของสารยูเรีย ฟอร์ ม าลดี ไ ฮด์ ซึ่ ง มี ก ารวิ จั ย ว่ า เป็ น พิ ษ ต่ อ ร่ า งกาย และการใช้ พื้ น กระเบื้ อ งยางที่ ไ ด้ มาตรฐาน FloorScore หรื อ มาตรฐาน การรับรองคุณภาพอากาศภายในอาคาร • เลือกใช้วส ั ดุทม ี่ ส ี ว ่ นผสมของวัสดุรไี ซเคิล และ เป็นวัสดุท้องถิ่น เช่น กระเบื้อง Terrazzo ไม้อัด อิฐมวลเบา ยิปซั่มบอร์ด เหล็ก กระจก รวมไปถึงการเลือกวัสดุสําหรับเฟอร์นิเจอร์ ลอยตัว
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าของ CPN จากแหล่งจ่ายไฟฟ้า (เมกะวัตต์-ชั่วโมง)
1,000,000 900,000
846,165
922,533
903,475
944,828
800,000
เมกกะวัตต์ - ชั่วโมง
700,000 600,000 500,000 400,000
440,412 405,753
485,223 437,310
474,109 429,366
501,821 443,006
300,000 200,000 100,000 0
ปี 2558 (29 โครงการ)
ปี 2559 (30 โครงการ)
ปี 2560 (33 โครงการ)
CPN
รวม
ร้านค้า
ปี 2561 (33 โครงการ รวมสนญ.)
หมายเหตุ : (1) จํานวนโครงการที่นํามาคํานวณ ระหว่างปี 2558-2561 คือ 29, 30, 33, 35 โครงการ (ตามลําดับ) (2) จํานวนโครงการที่นํามาคํานวณในปี 2560 และ ปี 2561 รวมพลังงานไฟฟ้าที่ใช้โดยสํานักงานใหญ่ ดังนั้นตัวเลขแสดงผลในปี 2560 จึงแตกต่างจากที่รายงานในรายงานประจําปี 2560
ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากแผงพลังงานแสงอาทิตย์ (เมกะวัตต์-ชั่วโมง)
7,000 6,175
เมกกะวัตต์ - ชั่วโมง
6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 899
1,000 0
128 ปี 2559 (2 โครงการ)
ปี 2560 (3 โครงการ)
ปี 2561 (9 โครงการ)
หมายเหตุ : จํานวนโครงการที่มีการติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ ระหว่างปี 2559-2561 คือ 2, 3, 9 โครงการ (ตามลําดับ)
135
ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ** (กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตารางเมตร) 350.0
กิโลวัตต์ - ชั่วโมง ต่อตารางเมตร
300.0
296.0
291.5
290.4
290.3
288.2
250.0
200.0
150.0
140.8
149.4 136.6
127.8
117.2
100.0 ปี 2557 (22 โครงการ)
ปี 2558 (23 โครงการ)
ปี 2559 (28 โครงการ) ศูนย์การค้า
ปี 2560 (28 โครงการ)
ปี 2561 (30 โครงการ)
อาคารสํานักงาน
** หมายเหตุ: (1) ปรับเปลี่ยนวิธีการแสดงผลการคํานวณดัชนีการใช้พลังงานต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่แยกตามประเภทการใช้งานอาคาร โดยแยกระหว่างประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าของศูนย์การค้า และอาคารสํานักงาน (2) แสดงผลการวิเคราะห์โดยไม่รวมโครงการที่เปิดไม่เต็มปีปฏิทิน หรือมีการปรับปรุงบางส่วน และไม่รวมการใช้งานของสํานักงานใหญ่ โดยจํานวนศูนย์การค้าที่นาํ มาคํานวณ คือ 22, 23, 28, 28, 30 โครงการ (แยกโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เป็น 2 โครงการ) ในช่วงปี 2557-2561 ตามลําดับ (3) พื้นที่ที่ใช้ในคํานวณมาจากพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด (Net leaseable area) ตามวิธีการคํานวณแบบเดิม หากใช้วิธีการคํานวณแบบใหม่โดยรวมพื้นที่ให้เช่าทั้งหมดกับพื้นที่ส่วนกลาง ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อ หนึ่งหน่วยพื้นที่ของศูนย์การค้าในปี 2561 จะมีค่าอยู่ที่ 133.1 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตารางเมตร (4) ดัชนีการใช้พลังงานต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ของอาคารสํานักงานในปี 2559 มีค่าเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากมีการปรับข้อมูลให้มีความถูกต้อง และดัชนีในปี 2561 มีค่าลดลงเนื่องมาจากการใช้มาตรการอนุรักษ์พลังงาน ไฟฟ้าในอาคารสํานักงานบางแห่งอย่างมีนัยสําคัญ
การบริหารจัดการนํ้า CPN ใช้นํ้าจากการประปานครหลวง การประปาท้องถิ่น รวมถึง การใช้นํ้าซํ้า (Reuse) ในกระบวนการบริหารศูนย์การค้า และ กําหนดเป้าหมายปี 2561 ในการนํานํา้ กลับมาใช้ซาํ้ ให้ได้ร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับปริมาณการใช้นาํ้ ทั้งหมด โดยในปี 2561 CPN ใช้นํ้า ในการบริหารศูนย์การค้าทั้ง 33 โครงการ จํานวน 10.85 ล้าน ลูกบาศก์เมตร เป็นปริมาณการใช้นาํ้ ซํา้ จํานวน 0.31 ล้านลูกบาศก์ เมตร หรือร้อยละ 2.9 ของปริมาณการใช้นาํ้ ทัง ้ หมด โดยสามารถ นํานํ้ากลับมาใช้ซํ้าได้ในปริมาณที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 33 เมื่อเทียบกับปี 2560 จากการติดตั้งระบบรีไซเคิลนํ้าใน 9 โครงการ21 ส่วนหนึ่งที่ ไม่ ส ามารถดํ า เนิ น การได้ สํ า เร็ จ ตามเป้ า หมายเป็ น ผลมาจาก คุณภาพนํา้ ซํา้ ทีผ ่ ลิตได้จากระบบไม่เป็นไปตามมาตรฐานทีก ่ าํ หนด 21
ไม่สามารถนําไปใช้ซาํ้ ในระบบงานตามทีว ่ างแผนไว้ได้ ส่งผลให้ตอ ้ ง ยกเลิ ก การใช้ ร ะบบดั ง กล่ า วในโครงการที่ ไ ด้ ติ ด ตั้ ง ไปแล้ ว คื อ โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ ทัง ้ นี้ อัตราการใช้เฉพาะนํา้ ประปาต่อหนึง ่ หน่วยพืน ้ ทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปี 2560 (คํานวณเฉพาะโครงการที่ เปิดเต็มปีปฏิทิน) ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากแผนดําเนินการจัดซื้อ อุปกรณ์ประหยัดนํา้ ติดตั้งเพิ่มในห้องนํา้ การพัฒนาร่วมกับคู่ค้า ในการปรับกระบวนการทํางานในการทําความสะอาดแบบประหยัด นํ้าอย่างต่อเนื่อง
CPN ติดตั้งระบบนํ้ารีไซเคิลในโครงการต่อไปนี้ เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม9 เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี และเซ็นทรัลพลาซา ศาลายา โดยยกเลิกการติดตั้งที่เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย เนื่องจากใช้กระบวนการอื่นแทน
136
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
ปริมาณการใช้นํ้าของ CPN (ลูกบาศก์เมตร)
ลูกบาศก์เมตร
12,000,000 9,482,277
10,000,000
10,850,135.99
10,349,483 9,275,438
10,188,623 9,955,206
10,144,326
8,000,000
10,540,083
6,000,000 4,000,000 206,839
200,000
205,157
310,053
233,417
0 ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
นํ้าประปา นํา้ ฝน นํ้าบาดาล หรือนํ้าซื้ออื่นๆ
ปี 2561
นํ้ารีไซเคิล
รวม
ดัชนีการใช้นํ้าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ (ลูกบาศก์เมตรต่อตารางเมตร)
6.7
ลูกบาศก์เมตรต่อตารางเมตร
6.6
6.59 6.47
6.5 6.4
6.36
6.41
6.3 6.2 6.1
6.14
6 ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
137
การบริหารจัดการขยะและของเสีย CPN ดํ า เนิ น การบริ ห ารจั ด การขยะ ของเสี ย และนํ้ า เสี ย ตาม แนวทางการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมาตรฐาน ISO 14001 และนโยบายด้านสังคม ชุมชน และสิง ่ แวดล้อมของบริษท ั ฯ ซึง ่ ในปี 2561 ได้ขอรับการตรวจรับรอง ISO 14001: 2015 ทั้งหมด 24 โครงการ และได้ ข อรั บ รองมาตรฐานระบบการจั ด การ สิ่งแวดล้อม ISO 14001 เพิ่มอีก 3 โครงการ ได้แก่ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา ระยอง เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต และเซ็นทรัล เฟสติวัล อีสต์วิลล์ ทําให้ปัจจุบัน CPN ได้รับรองมาตรฐาน ISO 14001: 2015 ดังกล่าวแล้วทั้งสิ้น จํานวน 27 แห่ง หรือคิดเป็น ร้อยละ 71 ของพืน ้ ทีใ่ ห้เช่าทัง ้ หมดรวมพืน ้ ทีส ่ ว ่ นกลาง (ไม่รวมพืน ้ ที่ อาคารสํานักงาน) โดยมีการจัดส่งขยะสู่กระบวนการจัดการที่
เหมาะสมทั้งสิ้น 84,273 ตัน (รวมขยะที่สามารถนําไปแปรรูปและ รีไซเคิล) คํานวณจากการจัดเก็บขยะในศูนย์การค้าทีเ่ ปิดให้บริการ ทั้ง 33 โครงการ โดยปริมาณขยะรีไซเคิลคิดเป็นร้อยละ 0.05 ของปริมาณขยะทั่วไปทั้งหมด ทั้งนี้ในปี 2561-2562 ได้กําหนด แผนในการบริหารจัดการขยะอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรมมากขึน ้ โดยปรับปรุงกระบวนการและวิธีการคัดแยกจนถึงวิธีการกําจัด ให้ลดปริมาณขยะฝังกลบลงให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 2 ในปี 2562 โดยมีการศึกษาและทดลองปรับวิธีการคัดแยกขยะและวิธีการ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ร ว ม ถึ ง ก า ร คํ า น ว ณ ป ริ ม า ณ ข ย ะ ที่ ส่ ง ทํ า ล า ย ส่ ง ผลให้ ก ารรายงานปริ ม าณขยะจากการปรั บ กระบวนการ ดังกล่าวในปี 2561 มีค่าลดลง
มาตรการจัดการขยะที่ดําเนินการในปี2561
• การคั ด แยกขยะขวดนํ้ า ดื่ ม พลาสติ ก PET โดยร่ ว มมื อ กั บ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ใน การตัง ้ เครือ ่ งรับคืนขวดนํา้ ดืม ่ พลาสติก PET แบบอัตโนมัติ หรือ ReFun Machine เพือ ่ เชิญชวนและกระตุน ้ ให้ผบ ู้ ริโภคสนใจ และตระหนั ก ในการรี ไ ซเคิ ล ขยะขวด พลาสติก โดยทุก ๆ ขวดที่คืนนั้น ผู้คืน จะได้แต้มสะสมเพือ ่ แลกเป็นของสมนาคุณ หรื อ แลกเป็ น คู ป องส่ ว นลดเพื่ อ ใช้ ใ น ร้านค้าในเครือกลุม ่ เซ็นทรัล โดยได้จด ั ตัง ้ เครือ ่ งดังกล่าวจํานวน 2 เครือ ่ ง นําร่อง ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และอาคาร สํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ผลลั พ ธ์ ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมิ ถุ น ายน 2561 ได้ปริมาณขวดนํา้ ดืม ่ พลาสติกไปรีไซเคิล ทั้งสิ้นจํานวน 1.8 ตัน เทียบเท่ากับการ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 10.8 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
138
• มาตรการงดใช้บรรจุภณ ั ฑ์เพือ ่ ลดขยะ ตั้งแต่ต้นทาง อาทิ มาตรการงดใช้ กล่องโฟมในโซนฟู้ดพาร์ค และโซนซื้อ อาหารกลั บ ในศู น ย์ อ าหารทุ ก แห่ ง ที่บริหารงาน โดย CPN ร่วมกับกลุ่ม เซ็นทรัลในการงดใช้ถง ุ พลาสติกทุกวัน ที่ 4 ของเดือนในท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และเซ็ น ทรั ล ฟู้ ด ฮอลล์ และดํ า เนิ น โ ค ร ง ก า ร อ อ ก แ บ บ ถั ง ข ย ะ เ พื่ อ คั ด แยกตั้ ง แต่ ต้ น ทางโดยร่ ว มกั บ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ในการให้นก ั ศึกษา ภาควิชา ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ออกแบบและ ขึน ้ รูปถังขยะคัดแยกต้นแบบให้ทดลอง ใช้ จ ริ ง ในศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา เวสต์ เ กต โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ ตั้งแต่ต้นทางมุ่งเน้น การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของลู ก ค้ า ที่ ม าใช้ บ ริ ก าร ใ ห้ ช่ ว ย กั น คั ด แ ย ก ข ย ะ อ ย่ า ง ง่ า ย และเกิ ด ความสนุ ก ภายใต้ โ ครงการ Waste4Fun - แยกสนุก เพือ ่ โลก เพือ ่ เรา
• มาตรการการจัดภายในสํานักงาน ในปี 2561 CPN ผนวกโครงการ 5 ส.พลัส รวมในโครงการสมาร์ทออฟฟิศ เพื่อจัด สถานที่ ทํ า งานให้ ส ะอาด สะดวก และ ปลอดภั ย ในสํ า นั ก งานใหญ่ อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ รวมไป ถึงการจัดการกระบวนการคัดแยกขยะ โดยนําร่องในบางสํานักงานของบางแผนก โดยเฉพาะการแยกกระดาษเพื่อทําลาย ผ่ า นโครงการ Shred2Share ทั้ ง นี้ นับจากปี 2551 ที่ CPN ร่วมกับบริษัท อินโฟเซฟ จํากัด ในการรวบรวมเอกสาร เพื่ อ ย่ อ ยทํ า ลายอย่ า งปลอดภั ย นั้ น สามารถนํากระดาษมารีไซเคิล ได้จํานวน 41.19 ตัน เทียบเท่ากับการลดปริมาณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 10.72 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ผลลัพธ์ ปี 2561 CPN นําส่งกระดาษเพือ ่ รี ไ ซเคิ ล ในโครงการ Shred2Share 20.44 ตัน เทียบเท่ากับการลดปริมาณ การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก 5.32 ตั น คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
มาตรการควบคุมคุณภาพอากาศภายในศูนย์การค้า CPN นําแนวทางตามมาตรฐาน ISO 14001 มาปรับใช้ ในการดูแล คุณภาพอากาศภายในศูนย์การค้าให้ได้ตามค่ามาตรฐาน เพื่อไม่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้บริการ อาทิ การตรวจวัด คุ ณ ภาพอากาศ และวั ด ปริ ม าณก๊ า ซพิ ษ ที่ มี ผ ลต่ อ ร่ า งกาย ชนิดเฉียบพลัน ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์
บริเวณลานจอดรถแบบกึ่งปิด การติดตั้งแผ่นกรองฝุ่นในระบบ เติ ม อากาศใหม่ และการติ ด ตั้ ง ระบบตรวจจั บ ปริ ม าณก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ภายในอาคารตามจุดและโครงการทีเ่ หมาะสม เพื่ อ เติ ม อากาศใหม่ แ บบอั ต โนมั ติ และปิ ด ระบบหากอากาศ ภายนอกไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด เป็นต้น
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในศูนย์การค้าที่บริหารงานโดย CPN (ตัน) 120,000 107,323
100,000
84,273
80,000 60,000
76,597 66,534
40,000 20,000 0
ปี 2558
67
14
n/a ปี 2559
ขยะที่นาํ ไปกําจัดด้วยวิธีการต่าง ๆ
39
ปี 2560
ปี 2561
ขยะรีไซเคิล รวมขยะอินทรีย์
หมายเหตุ : (1) จํานวนโครงการที่นํามาคํานวณระหว่างปี 2558-2561 คือ 29, 30, 32 และ 33 โครงการ (แยกโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เป็น 2 โครงการ) (2) ปรับเปลี่ยนวิธีการคํานวณปริมาณขยะในปี 2561 ส่งผลให้ปริมาณขยะ และดัชนีการเกิดขยะต่อคนลดลง (3) ดัชนีการเกิดขยะต่อจํานวนลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ (หน่วย: กิโลกรัมต่อคนต่อปี) ระหว่างปี 2558-2561 คือ 0.21, 0.24, 0.27 และ 0.16 (ตามลําดับ)
การบริหารจัดการด้านระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ CPN กําหนดนโยบายการจัดการระบบนิเวศและความหลากหลาย ทางชี ว ภาพ 22 อย่ า งชั ด เจนในการไม่ พั ฒ นาโครงการในพื้ น ที่ หวงห้ามหรือเขตอนุรักษ์ใด ๆ และกําหนดข้อปฏิบัติที่ต้องทําการ สํารวจและศึกษาระบบนิเวศวิทยาร่วมกับผูเ้ ชีย ่ วชาญภายนอก และ ดําเนินการดูแลและอนุรักษ์ระบบนิเวศบริเวณพื้นที่โดยรอบของ การก่อสร้างในทุกโครงการใหม่และโครงการปรับปรุง CPN มุ่งส่งเสริมคุณภาพชีวิตโดยนําธรรมชาติเข้ามามีบทบาท ใกล้ชด ิ กับคนในสังคมให้มากขึน ้ สร้างความตระหนักในคุณค่าของ การรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ร่วมกันกับชุมชน สังคม โดยการออกแบบให้ภูมิสถาปัตย์กลมกลืนกับตัวเมืองและ ระบบนิเวศเดิมให้มากทีส ่ ด ุ เพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียวด้วยการปลูกต้นไม้จริง
22
ทั้งภายในและภายนอกโครงการ หากจําเป็นต้องรื้อถอนต้นไม้ จะทําการล้อมหรือย้ายต้นไม้ไปไว้ในโครงการอื่นที่ใกล้เคียงแทน และนํ า พั น ธุ์ ไ ม้ พื้ น เมื อ งมาปลู ก รอบโครงการเพื่ อ สร้ า งความ กลมกลืนอีกด้วย ในปี 2561 CPN ดําเนินการเพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียวในโครงการส่วนขยาย ของเซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต ฟลอเรสต้ า โดยจั ด ให้ มี ต้ น ไม้ ใ หญ่ ใ น โครงการโดยรอบพื้นที่จาํ นวน 446 ต้น ประกอบด้วยต้นไม้ใหญ่ หลากหลายชนิดพันธุ์ ที่สามารถอยู่ได้อย่างเหมาะสมในพื้นที่ เพื่อช่วยลดความร้อนและกรองฝุ่นละออง รวมถึงเพิ่มความ ร่มรื่นให้กับอาคาร ถนน และชุมชน
รายละเอียดเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การกํากับดูแลที่ดี/นโยบายและแนวทางปฎิบัต/ ิ นโยบายการจัดการระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
139
ไตรภูมิ มหัศจรรย์สามโลก โครงการสวนสนุกนวัตกรรมธีมปาร์คผจญภัยแห่งแรกของ โลก ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่บริเวณหน้าโครงการ ได้จัดระบบ นิเวศของพื้นที่ให้เปรียบเสมือนป่าเพื่อเพิ่มความร่มรื่น เพิ่ม ปริมาณออกซิเจน พื้นที่ร่มเงา และช่วยกรองอากาศให้แก่ บุคคลและชุมชนในละแวกใกล้เคียง โดยปลูกต้นไม้ขนาดใหญ่ พิเศษและคัดสรรพันธุ์ไม้หายาก รวมถึงการสร้างระบบนิเวศ ของป่าชนิดต่าง ๆ ได้แก่ พืชพันธุ์ของป่าเขตร้อน ป่าฝน และ ป่าเขตหนาว เพื่อเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ของพันธุ์ไม้นานา ชนิด และวงจรชีวิตของแมลง CPN ได้ทาํ การวิจัยจนสามารถจัดเลี้ยงหิ่งห้อยสายพันธุ์ใหม่ ขึน ้ มาเพือ ่ จัดแสดงจริงในระบบนิเวศทีม ่ ค ี วามสมบูรณ์เสมือน จริงอย่างใกล้ชด ิ ภายในสวนสนุก ซึง ่ เมือ ่ การแสดงเสร็จสิน ้ ใน แต่ละรอบ หิ่งห้อยจะได้รับการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในพื้นที่ สีเขียวของชุมชนบริเวณนัน ้ และบริษท ั ฯ ได้รว ่ มกับกรมทางหลวง แขวงทางหลวงภูเก็ต และเทศบาลนครภูเก็ตในการปรับปรุง เพิ่มเติมและดูแลต้นไม้ใหญ่และไม้พุ่มบริเวณถนนสาธารณะ และสี่แยกหน้าโครงการ เพื่อเพิ่มทัศนียภาพสีเขียวและให้เกิด ความร่มรื่นในละแวกโดยรอบ
การพัฒนาและรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน CPN มุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบต่อชุมชน โดยเฉพาะผลกระทบทาง ด้านสิง ่ แวดล้อม ตัง ้ แต่ชว ่ งการก่อสร้างจนกระทัง ่ เปิดดําเนินการ โดยการลดผลกระทบทางด้านฝุ่น เสียง ขยะ และมลภาวะทางนํ้า ร่วมกันกับชุมชนที่ใช้แหล่งระบายนํ้าสาธารณะและกระบวนการ จัดการขยะร่วมกัน CPN ร่ ว มกั บ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ดํ า เนิ น กิ จ กรรมเพื่ อ ดู แ ลและรั ก ษา สิง ่ แวดล้อม เน้นการมีสว ่ นร่วมของชุมชนในการดําเนินงาน 3 ด้าน ได้แก่ การดูแลแหล่งนํ้าสาธารณะ การลดปริมาณขยะ และการ เพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว โดยดํ า เนิ น การวิ เ คราะห์ ปั ญ หาและพั ฒ นา แนวทางการมี ส่ ว นร่ ว มกั บ ชุ ม ชนเพื่ อ แก้ ปั ญ หาจากนํ้ า เสี ย นํ้าไม่ระบาย และนํ้าท่วม ซึ่งพบว่าคลองหรือลํารางที่อยู่ในพื้นที่ โดยรอบของศูนย์การค้า CPN ประสบปัญหานํ้าเน่าเสียและนํ้า ไม่ ร ะบายเป็ น ส่ ว นใหญ่ จึ ง ได้ ดํ า เนิ น การแก้ ไ ขภายใต้ โ ครงการ “เซ็นทรัลกรีน” โดยการขุดลอกคูคลอง ปลูกพืชดูดซับสารพิษ ริมคลอง ติดตัง ้ กังหันเพือ ่ เพิม ่ ออกซิเจนให้นาํ้ และเพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียว ริมคลอง ในปี 2561 ได้จัดกิจกรรมเซ็นทรัลกรีนทั้งสิ้น 21 กิจกรรม ในพื้นที่ ใกล้ เ คี ย งศู น ย์ ก ารค้ า 18 โครงการ นอกเหนื อ จากนั้ น ยั ง มี การจั ด กิ จ กรรม CPN อาสากลุ่ ม ย่ อ ยในด้ า นการดู แ ลรั ก ษา สิง ่ แวดล้อม เช่น เก็บขยะชายทะเล ปลูกป่า ปล่อยสัตว์ทะเล เป็นต้น อีก 7 กิจกรรม รวมเป็นกิจกรรมอาสาด้านสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น 28 กิจกรรม หรือคิดเป็นร้อยละ 55 ของกิจกรรม CPN อาสา ทัง ้ หมดทีจ ่ ด ั ในปี 2561 และมีพนักงานเข้าร่วมจํานวน 1,581 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 75 ของจํานวนพนักงานจิตอาสาทัง ้ หมดในปี 2561
140
นอกจากนัน ้ CPN ยังร่วมกับกลุม ่ เซ็นทรัลในการสนับสนุน และฟื้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศในบริ เ วณคุ้ ง บางกระเจ้ า จั ง หวั ด สมุทรปราการ ภายใต้ชอ ื่ โครงการพัฒนาพืน ้ ทีค ่ ง ุ้ บางกระเจ้า สู่ความยั่งยืน - Our Khung Bangkachao โดย CPN กลุม ่ เซ็นทรัล และมูลนิธช ิ ย ั พัฒนา ร่วมกันฟืน ้ ฟูและพัฒนา พืน ้ ทีส ่ เี ขียวในพืน ้ ทีร่ าชพัสดุจาํ นวน 400 ไร่ (ระยะที่ 1) ตาม แนวคิดการสร้างป่าชุมชน ซึง ่ เป็นวิถป ี ฏิบต ั แ ิ ละเป็นการปรับ ตัวของการจัดการทรัพยากรภายในชุมชนในการช่วยลด ปั ญ หาความยากจนและความเหลื่ อ มลํ้ า ทางสั ง คมของ คนในชุมชน และเป็นแนวทางหนึ่งในการรักษาพื้นที่ป่าและ ความสมบูรณ์ของนิเวศป่าไม้ เพื่อให้ระบบนิเวศคงความ สมดุล ซึ่งในปี 2561 CPN ได้บริจาคเงินจากโครงการ CPN Step2Share เพื่อฟื้นฟูพื้นที่จํานวน 23.22 ไร่ โดย ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและพนั ก งานจิ ต อาสาในการฟื้ น ฟู ป่ า และ เศรษฐกิจชุมชนเป็นระยะ ๆ
โครงการ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย การปลูกฝังแนวความคิด การดูแลรักษาสิง ่ แวดล้อมให้กบ ั เด็ก เยาวชน และชุมชน ผ่านโครงการ CPN เพาะกล้า ปั ญ ญาไทย โดยปลู ก ฝั ง แนวคิ ด การเห็ น คุ ณ ค่ า ของ การนํ า สิ่ ง ของกลั บ มาใช้ ใ หม่ การคั ด แยกขยะเพื่ อ เพิ่ ม รายได้ ใ ห้ กั บ ครอบครั ว การปลู ก ผั ก สวนครั ว อิ น ทรี ย์ ไ ว้ บริโภคในโรงเรียน และติดตั้งถังขยะแบบคัดแยกประเภท เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ฝึกปฎิบัติทุกวัน
ผลลัพธ์ของโครงการ
ติดตั้งถังขยะแบบคัดแยกประเภท ให้กับโรงเรียน รวม 5 แห่ง โรงเรียนบ้านฉลอง จังหวัดภูเก็ต โรงเรียนบ้านนาทรายนํา้ รอด จังหวัดอุดรธานี โรงเรียนชลประทานเขื่อนแม่กวง (จิราธิวัฒน์อุปถัมภ์) จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนวัดดอนชัย จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนสะแกราชวิทยาคม จังหวัดนครราชสีมา
นอกจากนั้น CPN ยังใช้พื้นที่และบทบาทการเป็น “ศูนย์รวมของ ชุ ม ชน” ในการปลุ ก จิ ต สํ า นึ ก ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรและ สิง ่ แวดล้อมให้กบ ั ชุมชนและสังคม อาทิ การเปิดพืน ้ ทีป ่ ระชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางการสื่อสารภายในศูนย์การค้าในการใช้ทรัพยากร อย่างคุม ้ ค่า การจัดกิจกรรมรณรงค์ การเดินขบวนประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
กิจกรรมรณรงค์ “ปิดไฟ 1 ชัว ่ โมง เพือ ่ ลดโลกร้อน” (60+ Earth Hour) CPN รณรงค์และเข้าร่วมเป็นประจําทุกปีอย่างต่อเนื่อง เป็นปีที่ 10 โดยร่วมกับกรุงเทพมหานคร มูลนิธส ิ ง ิ่ แวดล้อม ศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ประเทศไทย) องค์การ กองทุนสัตว์ปา่ โลกสากล หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จัดกิจกรรมปิดไฟเป็นเวลา 1 ชัว ่ โมงทัว ่ ประเทศเพือ ่ ลดภาวะ โลกร้อน ดําเนินการปิดแสงสว่างป้ายประชาสัมพันธ์ โลโก้ บริ ษั ท และหลอดไฟโดยรอบอาคารและพื้ น ที่ จ อดรถ บางส่วน และลดกําลังเครื่องทําความเย็น และเครื่องทํา นํ้าเย็นตามความเหมาะสม พร้อมเชิญชวนภาคีและร้านค้า
เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวด้วย โดยดําเนินการในศูนย์การค้า 33 โครงการ รวมอาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์
ผลลัพธ์ของโครงการ
ประหยัด
พลังงานโดยรวม 14,820 กิโลวัตต์ชั่วโมง
เพิ่มขึ้นร้อยละ 10
เทียบกับการจัดกิจกรรมในปี 2560
ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืน : ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ดัชนีชี้วัดด้าน ความยั่งยืน
ผลการดําเนินงานปี2561
แผนปี2562
• กําหนด “ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า” เป็นดัชนีชี้วัดระดับ องค์กร โดยตั้งเป้าหมายลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2560 • ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า (ไม่รวมปริมาณไฟฟ้าทีใ่ ช้โดยร้านค้าเช่า) ดัชนีชว ี้ ด ั ด้านความยัง ่ ยืน ได้ร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2560 ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย
• กํ า หนดเป้ า หมายในการลดดั ช นี ก ารใช้ พ ลั ง งาน ไฟฟ้ า ต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ยพื้ น ที่ ล งร้ อ ยละ 20 ภายในปี 2568 เมื่อเทียบกับปีฐาน (ปี 2558) • กําหนดเป้าหมายในการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าจาก แหล่งจ่ายไฟฟ้าลงร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2561
• ได้รับการรับรองการจัดทําคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรในนาม CPN ประกอบด้วยศูนย์การค้า 33 โครงการ อาคาร ดิ ออฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และสํานักงานใหญ่ (แยกเซ็นทรัล ภูเก็ต เป็น 2 โครงการ) • ติดตั้งมาตรการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าทั้งหมด 72 มาตรการ ในศูนย์การค้าทัง ้ สิน ้ 29 แห่ง ลดพลังงานเฉพาะทีใ่ ช้โดย CPN ลงได้ 12,178 เมกะวัตต์-ชั่วโมง รวมปริมาณไฟฟ้าที่ลดลงได้ แบบสะสมตั้งแต่ปี 2558 เท่ากับ 45,210 เมกะวัตต์-ชั่วโมง • ผลิ ต ไฟฟ้ า จากระบบการผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) บนหลังคาโครงการเพิม ่ 6 โครงการ รวมเป็น 9 โครงการ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ได้ 6,175 เมกะวัตต์-ชั่วโมง • ดําเนินงานตามแผนติดตั้งระบบนํ้ารีไซเคิล แบบสัมปทาน ใน 7 โครงการ ส่งผลให้ปริมาณการใช้นํ้าซํ้าคิดเป็นร้อยละ 2.9 ของปริมาณการใช้นํ้าทั้งหมด • ดํ า เนิ น โครงการ Waste4Fun ออกแบบถั ง ขยะเพื่ อ การ คัดแยก โดยนําร่องให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในการคัดแยกตั้งแต่ ต้นทาง ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต พบว่าได้รับ การตอบรั บ ที่ ดี ทั้ ง นี้ ได้ นํ า ต้ น แบบไปศึ ก ษาพั ฒ นาเพื่ อ ขยายผลต่อไป • ดําเนินการตามแผนงานจัดการขยะแบบองค์รวม โดยกําหนด เป็นแผนต่อเนื่อง 3 ปี • ขอรับรองมาตรฐาน Leadership in Energy and Environmental Design (LEED) ในโซน FoodWorld ชั้น 7 ศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ โดยคาดว่าจะได้รับการรับรองในระดับทอง • ขอรับรองมาตรฐาน ISO 14001 เพิม ่ 3 แห่ง ครบตามแผนงาน • ประเมินประเด็นด้านความยั่งยืน (สิ่งแวดล้อม สังคม และ บรรษั ท ภิ บ าล) กั บ คู่ ค้ า และผู้ รั บ เหมาจํ า นวน 382 ราย • ไม่ มี ก ารรุ ก ลํ้ า หรื อ ละเมิ ด เข้ า พื้ น ที่ ส งวนและพื้ น ที่ ห วงห้ า ม โดยเจ้าของไม่ยินยอมหรือโดยผิดกฎหมาย • ไม่พบการปฏิบต ั ก ิ ารทีไ่ ม่เป็นไปตามหลักการจัดการสิง ่ แวดล้อม ที่ดี หรือเกิดการรั่วไหลที่มีนัยสําคัญ
• นํา CPN เข้ารับการรับรองการจัดทําคาร์บอนฟุตพริน ้ ท์ องค์กร โดยรวมโครงการที่เปิดใหม่ในปี 2562 • พิจารณาติดตั้งระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ (โซลาร์ เ ซลล์ ) บนหลั ง คา อาคารเพิ่มอีก 7 โครงการ • พิจารณานําเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs 7 มาเป็นแนวทางในการตั้งเป้าหมายระยะยาวในเรื่อง การใช้พลังงานสะอาดขององค์กร • กําหนดเป้าหมายในการใช้นํ้าซํ้าที่ร้อยละ 5 ของการ ใช้นํ้าทั้งหมด • ขอรับรอง ISO 14001 เพิ่มเติมอีก 2 แห่ง • ตั้งเป้าหมายในการลดปริมาณขยะฝังกลบลงให้ได้ ร้อยละ 2 เทียบกับปี 2561 • ดําเนินโครงการจัดการสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน เพื่ อ เป็ น โครงการต้ น แบบอย่ า งน้ อ ย 1 โครงการ
การบริหารจัดการ
141
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นคว า ม ยั่ ง ยื น
นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33.
เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลมารีนา (พัทยา เซ็นเตอร์) เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา บางนา เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลเวิลด์* เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา เซ็นทรัลพลาซา ระยอง เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า
หมายเหตุ 1 2 3 4 5
ห้องนํา้ สําหรับเด็ก หมายถึง ห้องนํ้าที่จัดทําขึ้นเพื่อการใช้งานของเด็กโดยเฉพาะ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การใช้ห้องนํา้ ด้วยตัวเอง โดยอยู่ภายใต้การดูแลของผู้ปกครอง Food Destination หมายถึง การพัฒนาพื้นที่เพื่อให้กลายเป็นจุดหมายในการรับประทานอาหาร (Food Park / Food Patio / FoodWorld / Food Foresta / Food Ville) Co-working Space หมายถึง พื้นที่สาํ หรับการทํางานร่วมกัน Car Pool หมายถึง พื้นที่จอดรถสําหรับรถที่มีคนโดยสารมากกว่า 4 คน Family หมายถึง พื้นที่จอดรถสําหรับครอบครัวที่มีรถเข็นเด็ก
* เซ็นทรัลเวิลด์ มีบริการจุดคืนภาษีนักท่องเที่ยวในเมือง
142
ฟรีสําหรับนักท่องเที่ยว
สัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย
กระเป๋าเดินทาง (มีค่าใช้จ่าย)
บริการรับฝากและขนส่ง
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
การบริการสําหรับ นักท่องเที่ยว
เคาน์เตอร์สําหรับกรุ๊ปทัวร์
ระบบจอดรถอัจฉริยะ
บริการรถกอลฟ์ไฟฟ้า
ช่องจอดรถชาร์จไฟฟ้า
Family5
Car Pool4
บริการนํารถไปจอด
ห้องละหมาด
ศูนย์บริการร่วม
Co-working Space3
พื้นที่สําหรับนั่งพัก
Food Destination2
ทีน ่ ง ั่ รับประทานอาหารสําหรับเด็ก
ห้องนํ้าสําหรับเด็ก1
ศูนย์การค้า สนามเด็กเล่น
No.
รถรับส่งฟรี
การจราจร และให้บริการพื้นที่จอดรถ
การตอบสนองไลฟ์สไตล์
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
การบริหารจัดการและการสร้างความผูกพันกับบุคลากร ข้อมูลด้านบุคลากร พนักงาน พนักงานทั้งหมด
หน่วย
คน
ปี2557 ชาย
หญิง
3,533
1,789
พนักงานทัง ้ หมด
หญิง
4,085
ปี2559 ชาย
หญิง
4,313
ปี2560 ชาย
หญิง
4,666
ปี2561 ชาย
หญิง
4,911
1,744 2,084
2,001
2,185
2,128
2,344 2,322 2,464 2,447
2,081 3
1,993 8
2,182 3
2,119 9
2,341 3
2,314 8
2,461 3
2,441 6
10 233 351 1,490
4 257 425 1,315
9 247 366 1,563
4 265 437 1,422
11 254 377 1,702
3 291 457 1,571
15 271 401 1,777
3 310 468 1,666
1,025 578 481
743 633 625
1,058 595 532
775 642 711
1,096 614 634
806 677 839
1,093 639 732
806 699 942
1,212 55 190 193 227 194 13
1,366 32 119 137 177 161 9
1,263 56 190 235 227 201 13
1,435 33 121 182 174 174 9
1,341 55 222 236 231 213 46
1,518 38 158 206 181 181 40
1,397 50 228 289 235 220 45
1,580 39 162 267 174 183 42
1.00 1.00
1.03 1.04
1.00 1.00
0.99 1.03
จํานวนพนักงานแบ่งตามประเภทสัญญาจ้าง ไม่มีกําหนดระยะเวลา (Permanent) คน 1,782 1,717 มีกําหนดระยะเวลา (Contract) คน 7 27 จํานวนพนักงานแบ่งตามระดับ ผู้บริหารระดับสูง คน 10 4 ผู้บริหารระดับกลาง คน 204 248 ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ คน 332 389 พนักงานที่ไม่ใช้ผู้บริหาร คน 1,243 1,103 จํานวนพนักงานแบ่งตามอายุ น้อยกว่า 30 ปี คน 914 659 30-50 ปี คน 535 592 มากกว่า 50 ปี คน 340 493 จํานวนพนักงานแบ่งตามภูมิลําเนาและสถานที่ปฏิบัติงาน กรุงเทพฯ และปริมณฑล คน 1,027 1,189 ภาคกลาง คน 56 32 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คน 186 112 ภาคใต้ คน 141 107 ภาคเหนือ คน 224 173 ภาคตะวันออก คน 144 125 ภาคตะวันตก คน 11 6 อัตราส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนพื้นฐานเฉลี่ยระหว่างพนักงาน ผู้บริหารระดับกลาง และระดับปฏิบัติการ (หญิง:ชาย) พนักงานที่ไม่ใช้ผู้บริหาร (หญิง:ชาย) พนักงานใหม่ 921 พนักงานใหม่ทั้งหมด คน จํานวนพนักงานใหม่แบ่งตามอายุ น้อยกว่า 30 ปี คน 30-50 ปี คน มากกว่า 50 ปี คน จํานวนพนักงานใหม่แบ่งตามสถานที่ปฏิบัติงาน กรุงเทพฯ และปริมณฑล คน ภาคกลาง คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คน ภาคใต้ คน ภาคเหนือ คน ภาคตะวันออก คน ภาคตะวันตก คน อัตราการจ้างพนักงานใหม่ อัตราการจ้างพนักงานใหม่ ร้อยละของ
ปี2558 ชาย
1,390
937
1,099
1,108
427
494
644
746
409
528
466
633
487
621
195 224 8
301 192 1
337 299 8
462 283 1
224 177 8
335 189 4
266 190 10
413 217 3
302 175 10
413 205 3
226 44 32 48 29 47 1
304 31 23 63 41 30 2
404 5 23 87 21 102 2
507 5 25 74 27 105 3
250 5 14 80 14 46 0
356 7 11 79 24 51 0
279 4 46 29 23 43 42
389 7 55 68 21 59 34
295 5 32 88 20 35 12
386 15 27 121 14 33 25
26.00
24.00 28.00
34.00
31.00 37.00
22.00
24.00
23.00
19.00 25.00 20.00 27.00 20.00 25.00
143
ข้อมูลด้านบุคลากร
หน่วย
ปี2557 ชาย
หญิง
ปี2558 ชาย
หญิง
ปี2559 ชาย
หญิง
ปี2560 ชาย
หญิง
ปี2561 ชาย
หญิง
ความผูกพันต่อองค์กร ระดับความผูกพันต่อองค์กรแยกตามเพศ
ร้อยละของ พนักงานทัง ้ หมด
54.00
57.00
73.00
77.00
73.00 80.00 66.00
อัตราการลาออก ร้อยละของ
อัตราการลาออกจากองค์กรโดยสมัครใจ พนักงานทัง้ หมด อัตราการลาออกจากองค์กรของกลุ่มที่ ร้อยละของ พนักงานทัง ้ หมด ไม่ต้องการให้ลาออก สิทธิการลาพักเพื่อเลี้ยงดูบุตร จํานวนพนักงานที่ได้รับสิทธิลางาน คน เพื่อเลี้ยงดูบุตร/ลาคลอดบุตร จํานวนพนักงานที่ใช้สิทธิลางาน คน เพื่อเลี้ยงดูบุตร /ลาคลอดบุตร จํานวนพนักงานทีก ่ ลับมาทํางานหลังจาก สิ้นสุดระยะการลาหยุดเพื่อเลี้ยงดูบุตร/ คน ลาคลอดบุตร อัตราการกลับมาทํางานและการคงอยูข ่ อง พนักงานที่กลับมาทํางานหลังจากระยะ ร้อยละ การลาหยุดสิ้นสุดลงแล้ว สถิติด้านความปลอดภัย
16.00
16.00
14.00
13.00
15.00
6.30
5.80
4.90
6.60
1,744
2,001
2,128
2,322
2,447
70
57
61
67
81
54
54
59
66
73
77.1
94.7
96.7
98.5
90.1
อัตราการบาดเจ็บ (IR)
กรณีตอ ่ 200,000 ชัว ่ โมงทํางาน
0.12
0.13
อัตราการเกิดโรคจากการทํางาน (ODR)
กรณีตอ ่ 200,000 ชัว ่ โมงทํางาน
0.00
0.00
วันหยุดงาน ต่อ 200,000 ชัว ่ โมงทํางาน
0.003
0.005
ร้อยละ
1.08
1.36
คน
0.00
0.00
อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ จากการทํางาน (LDR) อัตราการขาดงาน (AR) จํานวนผู้เสียชีวิตจากการทํางาน
หมายเหตุ • มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการจําแนกระดับของพนักงานในปี 2561 ส่งผลให้อัตราส่วนค่าตอบแทนพื้นฐานเฉลี่ยระหว่างพนักงาน (หญิง: ชาย) ที่เปิดเผยในรายงานประจําปี 2560 เปลี่ยนแปลงไป • มีการปรับเปลี่ยนวิธีการคํานวณคะแนนความผูกพันของพนักงานในปี 2561 • อัตราการลาออกจากองค์กรของกลุ่มที่ไม่ต้องการให้ลาออก วิเคราะห์ตามอายุงานและตําแหน่ง พบว่ามีค่าอัตราส่วนลดลงเมื่ออายุงานเพิ่มขึ้นและตําแหน่งงานสูงขึ้น
144
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
แนวทางการจัดทํารายงาน ในส่วนการพัฒนาอย่างยั่งยืน CPN จัดทํารายงานการพัฒนาความยั่งยืนและเปิดเผยรวมใน รายงานประจํ า ปี เป็ น ปี ที่ 6 เพื่ อ แสดงผลการดํ า เนิ น งานด้ า น เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยประยุกต์ตามแนวทางการ รายงานขององค์กรความร่วมมือว่าด้วยการรายงานสากลด้าน ความยั่งยืน ฉบับมาตรฐานในแบบหลัก (Global Reporting Initiative (GRI) Standard-Core Option) รวมทั้งกรอบการ จัดทํารายงานของ International Integrated Reporting Committee (IIRC) มาตรฐานแนวทางความรับผิดชอบต่อ สังคม (ISO 2600:2010 Guidance on Social Responsibility) หลั ก สากล 10 ประการ ของข้ อ ตกลงโลกแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations Global Compact: UNGC) และเชื่อมโยง การดําเนินงานที่สอดคล้องต่อเป้าหมายการพัฒนาความยั่งยืน ของโลก (Sustainable Development Goals: SDGs)
ขอบเขตของรายงาน รายงานฉบับนี้ครอบคลุมผลการดําเนินงานของ CPN และบริษัท ย่ อ ยในประเทศไทยเท่ า นั้ น ซึ่ ง ไม่ ร วมผลการดํ า เนิ น งานในต่ า ง ประเทศ สอดคล้องกับหลักรายงานทางการเงินของบริษท ั ฯ ตัง ้ แต่ วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2561 โดยรายงานความคืบหน้า และผลการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตาม กลยุทธ์การดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน และขอบเขตของรายงานใน ส่วนผลการดําเนินงานด้านธุรกิจและด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ครอบคลุมเฉพาะการบริหารศูนย์การค้าทั้ง 33 โครงการ (แยก โครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต ออกเป็น 2 โครงการ คือ คือ เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล และเซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า อาคารสํานักงาน 7 โครงการ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องและส่งเสริมกันภายใต้การบริหาร งานของ CPN ทั่วประเทศ ดังที่รายงานในหัวข้อลักษณะการ ประกอบธุรกิจ หน้า 46-51 ยกเว้น การรายงานในด้านสิง ่ แวดล้อม ที่ไม่รวมผลการดําเนินงานของโรงแรมและโครงการที่พักอาศัย และการรายงานในด้านห่วงโซ่อุปทานไม่รวมผลการดําเนินงาน ของบริษัทย่อย คือ บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ จํากัด การดําเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ CPN ให้ความ สําคัญกับการมีสว ่ นร่วมของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกกลุม ่ ได้แก่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ ร้านค้า ลูกค้า คูค ่ า้ เจ้าหนี้ พนักงาน คูแ ่ ข่งทางการค้า สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม องค์กรภาครัฐ องค์กรอิสระและองค์กรอื่น ๆ ในสังคม โดยเนื้อหาและรายละเอียดในรายงานฉบับนี้ เป็นการ เปิดเผยผลการดําเนินงานของบริษัทฯ บริษัทร่วม และบริษัทย่อย ที่เกี่ยวข้อง ที่มีสัดส่วนการถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 50 หรือ บริษัทที่ CPN มีอาํ นาจในการบริหาร รวมทัง ้ บริษท ั ทีต ่ อ ้ งการเปิดเผยข้อมูล
การควบคุมคุณภาพของรายงาน แผนกพัฒนาความยัง ่ ยืนทางธุรกิจ ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและ การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหน่วยงานกลาง ควบคุมคุณภาพการจัด ทํารายงานให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ และมีคณะทํางานจัดทํา รายงานประจําปี และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชี การเงิน และบริหารความเสีย ่ งเป็นผูต ้ รวจสอบการเผยแพร่ขอ ้ มูล
การให้ความเชื่อมั่นต่อรายงาน รายงานฉบับนีไ้ ด้รบ ั การตรวจรับรองรายงานฯ และตัวชีว ้ ด ั ผลการ ปฏิบัติงานที่สําคัญโดยหน่วยงานภายนอก (Third Party) ที่มี ความเชีย ่ วชาญในการตรวจรับรองและให้ความเชือ ่ มัน ่ อย่างอิสระ ต่อผลการปฏิบต ั ง ิ านทีเ่ กีย ่ วข้องกับธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เพื่อความน่าเชื่อถือและโปร่งใส และสอดคล้องตามแนวทางการ รายงานของ GRI-Standards ดังรายละเอียดการรับรองความ เชื่อมั่นในหน้า 246-247
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงาน หากมีขอ ้ สงสัยหรือข้อซักถามเพิม ่ เติมเกีย ่ วกับการดําเนินงานด้าน ความยั่งยืนของ CPN สามารถติดต่อได้ที่ แผนกพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและการพัฒนาที่ยั่งยืน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ชั้น 10 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2667-5555 ต่อ 6907-9 โทรสาร: +66 (0) 2264-5593 อีเมล: sd.ho@cpn.co.th
145
คําจํากัดความและแนวทางการคํานวณ ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
อ้างอิงจาก Intergovernment Panel on Climate Change 2006’ (IPCC) 2.2 การคํ า นวณปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางอ้อม (ขอบเขต 2) จะรายงานจากปริมาณการซื้อ ไฟฟ้า โดยจะอ้างอิงค่าการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากผู้ผลิตหรือผู้ขาย
ข้ อ มู ล สิ่ ง แวดล้ อ มในรายงานฉบั บ นี้ ค รอบคลุ ม กิ จ กรรมที่ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) พิจารณาแล้วเห็นว่า อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสําคัญ และเป็นข้อมูล ที่มาจากกลุ่มบริษัทของบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ข้อมูลด้านสิง ่ แวดล้อมได้มาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ การบันทึก ค่ า จากเครื่ อ งวั ด หลั ก ฐานทางบั ญ ชี ข้ อ มู ล จากกระบวนการ ดําเนินงาน และการประเมินค่าตัวเลขบนพื้นฐานที่มีหลักการ พลังงาน การใช้พลังงานรวม ประกอบด้วย พลังงานจากการเผาไหม้เชือ ้ เพลิง พลังงานไฟฟ้า และพลังงานทางเลือก (พลังงานแสงอาทิตย์) ก๊าซเรือนกระจก หมายถึง ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดําเนิน งานของบริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) หรือกิจกรรมต่าง ๆ ทีค ่ าํ นวณตามแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริน ้ ท์องค์กรของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3, ตุลาคม 2559) โดยมีหลักการดังนี้ 1.
2.
146
ขอบเขตการรายงาน 1.1 ก๊าซเรือนกระจกทีเ่ กิดขึน ้ โดยตรง ( ขอบเขต 1) เกิดจาก กระบวนการดําเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีแหล่ง กําเนิดอยูใ่ นความดูแล ควบคุม บริหารจัดการของบริษท ั ฯ ในที่ นี้ ห มายถึ ง การเผาไหม้เชื้อเพลิงของเครื่องจักร ยานพาหนะขององค์กร (ที่องค์กรเป็นเจ้าของ) การ รั่วซึม/รั่วไหลจากก๊าซมีเทนของระบบ Septic Tank ระบบบําบัดนํา้ เสีย สารทําความเย็น สารดับเพลิงประเภท CO2 และ SF6 จากกระบวนการหรือกิจกรรม เป็นต้น 1.2 ก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยอ้ อ ม (ขอบเขต 2) เกิดจากการซื้อพลังงานจากภายนอกเพื่อการดําเนิน งานของบริษัทฯ ซึ่งการดําเนินงานของบริษัทฯ ในที่นี้ หมายถึงพลังงานไฟฟ้าเท่านั้น 1.3 ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยอ้อมอื่น ๆ (ขอบเขต 3) เกิดจากกระบวนการดําเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ที่มี ความเกี่ยวโยงกับบริษัทฯ ในที่นี้หมายถึง การเดินทาง เพื่อติดต่อธุรกิจ เช่น รถแท็กซี่ รถโดยสารประจําทาง เครื่องบิน หรือรถรับจ้างไม่ประจําทาง การใช้นาํ้ ประปา และการใช้ไฟฟ้าของร้านค้าผู้เช่า เป็นต้น การรายงานปริมาณ 2.1 การคํ า นวณปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ เ กิ ด จาก กระบวนการผลิตโดยตรง (ขอบเขต 1) จะรายงานจาก กระบวนการเผาไหม้ จ ากปริ ม าณการใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง (ตามนํ้าหนักหรือปริมาตร) อาทิ ปริมาณนํ้ามันหรือ ก๊าซธรรมชาติ x ค่าการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่
3.
การรายงานการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จะครอบคลุมถึง ก๊าซ CO2 CH4 N2O HFCs PFCs และ SF6 โดยคํานวณและแสดงผลในรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เที ย บเท่ า จากค่ า ศั ก ยภาพในการทํ า ให้ เ กิ ด ภาวะโลกร้ อ น (Global Warming Potential: GWP) ทีก ่ าํ หนดโดย IPCC
4. Emission Factor อ้ า งอิ ง จากองค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก รมหาชน) Thailand Greenhouse G as Management Organization (Public Organization) 5.
วิธีการประเมิน อ้างอิงตาม The Greenhouse Gas Protocol: A Corporate Accounting and Reporting Standard Revised Edition และแนวทางการประเมิ น คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ อ งค์ ก รของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) พิมพ์ครัง ้ ที่ 5 (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3, ตุลาคม 2559)
นํา้ การจัดการนํ้า ประกอบด้วย ปริมาณนํ้าจากภายนอก นํ้าที่ผ่าน การบํ า บั ด นํ้ า ที่ ป ล่ อ ยสู่ ภ ายนอก และนํ้ า ที่ นํ า กลั บ มาใช้ มี ก าร ประเมินประสิทธิภาพการใช้นํ้า และความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบ จากการนํานํ้าจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ ปริมาณนํา้ จากภายนอก หมายถึง ปริมาณการนํานํา้ จากแหล่งนํา้ ต่ า ง ๆ มาใช้ ภ ายในกิ จ กรรมของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ได้ ข้ อ มู ล มาจาก หลักฐานทางบัญชีหรือการอ่านค่าจากมิเตอร์นํ้าประปา นํ้าที่นํากลับมาใช้ หมายถึง ปริมาณนํ้าที่นํากลับมาใช้หลังผ่าน กระบวนการปรับปรุงคุณภาพแล้ว โดยบริษัทฯ ได้ออกแบบระบบ การจัดการนํา้ ภายในศูนย์การค้า และอาคารของบริษัทฯ ของเสีย การจัดการของเสียเป็นการพิจารณาทีเ่ กิดจากกระบวนการดําเนิน งานและกิจกรรมของบริษัทฯ ซึ่งการรายงานปริมาณของเสีย ที่เกิดขึ้นในรายงานฉบับนี้ได้จากการชั่ง หรือการประมาณค่า
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 20
ข้อมูลด้านสังคม
พนักงานของบริษัทฯ คือ ผู้ที่ปฏิบัติงานภายใต้สัญญาจ้างของ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) แบ่งออกเป็น 4 กลุม ่ ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Management) ผู้บริหาระดับปฏิบัติการ (Junior Management) และพนักงานทีไ่ ม่ใช่ผบ ู้ ริหาร (Officer) ดังนี้ • • • •
กลุม ่ ผูบ ้ ริหารระดับสูง ประกอบด้วย กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ผูบ ้ ริหารระดับระดับกลาง ประกอบด้วย ผูอ ้ าํ นวยการอาวุโส ผูอ ้ าํ นวยการ ผูช ้ ว ่ ยผูอ ้ าํ นวยการ ผูจ ้ ด ั การอาวุโส และผูจ ้ ด ั การ ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ ประกอบด้วย ผู้ช่วยผู้จัดการและ หัวหน้าแผนก พนั ก งานที่ ไ ม่ ใ ช่ ผู้ บ ริ ห าร ประกอบด้ ว ย เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ ส เจ้าหน้าที่ พนักงาน และทีป ่ รึกษา
หากพิจารณาตามประเภทสัญญาจ้าง สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุม ่ คือ สัญญาจ้างแบบไม่มก ี าํ หนดเวลา (Permanent) และสัญญา จ้างแบบมีกาํ หนดระยะเวลา (Contract) การคํานวณชั่วโมงการทํางาน 1) เป็นข้อมูลทีม ่ าจากระบบการบันทึกเวลาและการเก็บบันทึก ข้อมูลจากหน่วยงานการบุุคคล หน่วยงานบัญชี หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ในกรณีทบ ี่ ริษท ั ฯไม่มรี ะบบบันทึกเวลา จะใช้วธ ิ ก ี ารประมาณ ชั่วโมงการทํางานโดยใช้สูตรการคํานวณดังนี้ จํานวนชั่วโมงการทํางาน = [จํานวนคน x จํานวนวันทํางาน (ชั่วโมง - คน) x จํานวนชัว ่ โมงทํางานปกติ (ต่อวัน)] + จํานวนชัว ่ โมงล่วงเวลารวม (เฉพาะกรณีพนักงานระดับ ปฏิบต ั ก ิ าร)
การบันทึกข้อมูลด้านความปลอดภัย บริ ษั ท เซ็ น ทรั ล พั ฒ นา จํ า กั ด (มหาชน) บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ด้ า นความปลอดภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการทํ า งานโดยคํ า นวณ และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและอนามัยดังนี้ คํานิยาม จํานวนวัน (Day) คือ Scheduled Work Day การบาดเจ็บ (Injury) คือ การบาดเจ็บถึ งขั้นรักษาพยาบาล (Medical Treatment Injury: MTI) อัน ได้แก่ อุบต ั เิ หตุทท ี่ าํ ให้เกิดการบาดเจ็บจนต้องได้ รับการดูแลรักษาพยาบาลทางการแพทย์ เพือ ่ ต่อสูก ้ บ ั การบาดเจ็บ หรือโรคหรือความผิดปกติ ได้แก่ การเย็บบาดแผล การเข้าเฝือก การผ่าตัด (เล็กหรือใหญ่) การล้างพิษ ล้างท้อง การให้นาํ้ เกลือ การให้เลือด การให้ออกซิเจน การทํา CPR การจ่ายยาเพื่อรักษา อาการ รวมทั้งการ พักฟื้นสภาพร่างกายผู้บาดเจ็บให้คืนสู่สภาพ ปกติ เป็นต้น แต่ไม่รวมถึงการดําเนินการดังนี้ •
กรณีไปพบแพทย์เพื่อดูอาการ หรือรับคําปรึกษาจากแพทย์
ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น
•
กรณีที่เป็นกระ บวนการวินิจฉัยทางการแพทย์ ได้แก่ การ X-ray ตรวจอัลตราซาวด์ ตรวจเลือด หรือการ ให้ยาเพือ ่ การ วินิจฉัย (เช่น ให้ยาขยายม่านตาเพื่อตรวจวินิจฉัย)
การบาดเจ็บถึงขัน ้ หยุดงาน (Lost Time Injuries) คือ การบาด เจ็บที่ทําให้หยุดงานตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป (เริ่มนับวันหยุดถัดจากวันที่ เกิดอุบัติเหตุ) อุบัติเหตุขั้นรุนแรง (Severe Accident) คือ การเกิดอุบัติเหตุ ที่ส่งผลให้พนักงานมาทํางานไม่ได้มากกว่า 3 วัน หรือเกิดการ สูญเสียอวัยะ หรือเสียชีวิต การเสียชีวิตจากการทํางาน (Work-related Fatalities) คือ การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทํางาน หรือกิจกรรมของบริษัทฯ เป็นเหตุให้ผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต การคํานวณ อัตราการบาดเจ็บ (Injury Rate: IR) = (จํานวน (ครั้ง) ของการบาดเจ็บทุกระดับ (ในช่วงเวลาที่รายงาน) × 200,000 (ชั่วโมงการปฏิบัติงาน) ) (จํานวนชั่วโมงการปฏิบัติงาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล))
อัตราการเจ็บป่วย/โรคจากการทํางาน (Occupational Disease Rate: ODR) = (จํานวน (ราย) การเจ็บป่วยจากการทํางาน (ในช่วงเวลาทีร่ ายงานผล) × 200,000 (ชั่วโมงการปฏิบัติงาน)) (จํานวนชั่วโมงการปฏิบัติงาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล))
อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บจากการทํางาน (Lost Day Rate: LDR) = (จํานวนวันหยุดงานจากการบาดเจ็บ (ในช่วงเวลาที่รายงาน)×100) (จํานวนวันของการปฏิบัติงาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล)) หมายเหตุ : อ้างอิงข้อมูลจากการรายงานแบบแจ้งการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย และ ขอรับเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 (กท.16)
อัตราการขาดงาน (Absentee Rate: AR)
= (จํานวนวันหยุดงานจากการบาดเจ็บและเจ็บป่วยจากการทํางานรวมอืน ่ ๆ ที่ไม่ใช่การลาที่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาที่รายงาน x 100) จํานวนวันทํางานทั้งหมดในรอบปีของพนักงานทั้งหมด หมายเหตุ : อ้างอิงข้อมูลจากการบันทึกวันลาในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Information System : HRIS) โดยพิ จ ารณาจากจํ า นวนวั น ของ การลาป่วย และลาป่วยโดยไม่รับค่าจ้าง
147
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการ นโยบายความเสี่ยง
สํานักตรวจสอบภายใน
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
สายงานพัฒนาธุรกิจ และโครงการ
148
สายงานคอมเมอร์เชียล
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
ฝ่ายขาย
ฝ่ายบริหารทรัพย์สน ิ
กลุม ่ งาน พัฒนาโครงการ
ฝ่ายการตลาด
ฝ่ายบริหารทรัพย์สน ิ เขตพิเศษ
ฝ่ายวิศวกรรม การก่อสร้าง
ฝ่ายดิจท ิ ล ั และ นวัตกรรม
กลุม ่ สนับสนุนงาน พัฒนาธุรกิจและโครงการ
ฝ่ายบิสเิ นส อินเทลลิเจนซ์
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 21
โครงสร้ า งองค์ ก ร
คณะกรรมการบริษท ั
คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริหาร
กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่
สํานักเลขานุการบริษัท
สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง
ฝ่ายการเงิน
ฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ และพัฒนาองค์กร
ฝ่ายบัญชี
สํานักกลยุทธ์องค์กร
ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศ และการพัฒนาทีย ่ ง ั่ ยืน
ฝ่ายพัฒนาโครงการ ทีพ ่ ก ั อาศัย
แผนกกฎหมาย และบริหารสัญญาเช่า
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ต่างประเทศ
149
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างระดับกรรมการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการที่มีความรู้และ ประสบการณ์ทห ี่ ลากหลายทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ การดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการจํานวน 11 คน ซึ่งเพียงพอต่อการกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยมีองค์ประกอบดังนี้ - กรรมการอิสระ 4 คน หรือคิดเป็น 1 ใน 3 ของจํานวน กรรมการทั้งหมด กรรมการอิสระทุกท่านปฏิบัติหน้าที่ และให้ความเห็นด้วยความเป็นอิสระ และคํานึงถึงประโยชน์ ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น รวมถึงผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ อย่างเหมาะสม - ประธานกรรมการเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้น และไม่ได้เป็น บุคคลเดียวกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อให้มีการแบ่ง แยกบทบาทอย่างชัดเจนและมีการถ่วงดุลอํานาจในการ ดําเนินงาน - กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 10 คน และกรรมการที่เป็น ผูบ ้ ริหาร 1 คน
กรรมการผู้มีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ กรรมการผูม ้ อ ี าํ นาจลงลายมือชือ ่ แทนบริษท ั ฯ คือ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการสองในสีค ่ นนีล ้ งลายมือชือ ่ ร่วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ หรือกรณีที่ต้องยื่นแบบแสดง รายการภาษีต่าง ๆ หรือการยื่นงบการเงินต่อหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานอื่นใดให้กรรมการผู้มีอํานาจข้างต้นคนใดคนหนึ่ง ลงลายมือชื่อและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ
องค์ประกอบและคุณสมบัติ ของคณะกรรมการบริษัท 1)
2)
รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 3)
1. ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ คณะกรรมการบริษัท 1. นายสุทธิชัย 2. นายไพฑูรย์ 3. นายการุณ 4. นางโชติกา 5. นายวีรวัฒน์ 6. นายสุทธิเกียรติ 7. นายสุทธิศักดิ์ 8. นายสุทธิธรรม 9. นายกอบชัย 10. นายปริญญ์ 11. นายปรีชา
จิราธิวัฒน์1 ทวีผล กิตติสถาพร สวนานนท์ ชุติเชษฐพงศ์ จิราธิวัฒน์1 จิราธิวัฒน์1 จิราธิวัฒน์1 จิราธิวัฒน์1 จิราธิวัฒน์1 เอกคุณากูล
หมายเหตุ: 1
กรรมการที่เป็นตัวแทนจากผู้ถือหุ้น
150
ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
4)
5)
คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจํ า นวนกรรมการ ทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร กรรมการต้ อ งเป็ น บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นและไม่ มี ลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด และพระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศ คณะกรรมการกํ า กับตลาดทุน กฎระเบียบของสํ านักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ข้อบังคับบริษท ั ฯ หลักการ กํากับดูแลกิจการ และข้อกําหนดอืน ่ ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้อง รวมถึงไม่มี ลักษณะทีแ ่ สดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้ วางใจให้บริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ กรรมการต้องมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่ เป็นประโยชน์ตอ ่ การดําเนินธุรกิจ มีคณ ุ ธรรม มีความซือ ่ สัตย์ และมี เ วลาอย่ า งเพี ย งพอที่ จ ะอุ ทิ ศ ให้ กั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ กรรมการอย่างเต็มที่ กรรมการสามารถดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นได้ แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการของ บริษท ั ฯ โดยกําหนดให้กรรมการควรดํารงตําแหน่งกรรมการ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ไม่เกิน 5 บริษัท กรรมการต้องไม่กระทําการใด ๆ ทีม ่ ล ี ก ั ษณะเข้าไปบริหารหรือ จัดการในกิจการอืน ่ อันจะก่อให้เกิดการบัน ่ ทอนผลประโยชน์ ของบริ ษั ท ฯ หรื อ เอื้ อ ประโยชน์ ใ ห้ บุ ค คลหรื อ นิ ติ บุ ค คลใด ไม่ว่าจะทําเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น
วาระการดํารงตําแหน่ง 1)
ในการประชุมสามัญประจําปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจาก ตําแหน่ง 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด ถ้าจํานวน กรรมการที่ จ ะแบ่ ง ออกให้ ต รงเป็ น สามส่ ว นไม่ ไ ด้ ให้ อ อก จํานวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 22
2) กรรมการที่จ ะต้ อ งออกจากตําแหน่ง ในปีแ รกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลัง ๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตําแหน่งนานที่สุด นัน ้ เป็นผูอ ้ อกจากตําแหน่ง ทัง ้ นี้ กรรมการทีค ่ รบกําหนดวาระ อาจได้รบ ั การพิจารณาเลือกตัง ้ ให้เป็นกรรมการบริษท ั ต่อไปได้ นอกจากการพ้ น ตํ า แหน่ ง ตามวาระแล้ ว กรรมการจะ พ้นจากตําแหน่งเมื่อ 2.1) ตาย 2.2) ลาออก 2.3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย หรือข้อบังคับของบริษัทฯ 2.4) ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ลงมติให้ออกจากตําแหน่ง ด้วยคะแนน เสี ย งไม่ น้ อ ยกว่ า 3 ใน 4 ของจํ า นวนผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ ไม่น้ อ ยกว่ า กึ่ง หนึ่ งของจํานวนหุ้ น ที่ ถือโดยผู้ถือหุ้น ที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง 2.5) ศาลมีคาํ สั่งให้ออก 3) กรรมการที่ประสงค์จะลาออกจากตําแหน่งให้ยื่นใบลาออก ต่อบริษท ั ฯ โดยการลาออกมีผลนับแต่วน ั ทีใ่ บลาออกไปถึงบริษท ั ฯ 4) กรรมการอิสระสามารถดํารงตําแหน่งกรรมการติดต่อกันได้ ไม่เกิน 2 วาระ และสามารถต่อวาระได้โดยรวมระยะเวลาการ ดํารงตําแหน่งทุกวาระแล้วต้องไม่เกิน 9 ปี เพื่อความเป็น อิสระในการให้ความเห็นและปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการ อิสระของบริษัทฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทสามารถพิจารณาขยายระยะเวลา การดํารงตําแหน่งของกรรมการอิสระได้ตามทีเ่ ห็นสมควร และ ในปีที่ก รรมการอิ ส ระดั ง กล่ า วครบกํ า หนดออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเสนอชือ ่ กรรมการดังกล่าวให้ทป ่ี ระชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือกตั้งกรรมการกลับเข้าเป็นกรรมการ อิสระต่อไปได้
หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท 1)
บริ ห ารกิ จ การให้ เ ป็ น ไปเพื่ อ ประโยชน์ ที่ ดี ที่ สุ ด แก่ ผู้ ถื อ หุ้ น (Fiduciary Duty) โดยยึดถือแนวปฏิบต ั ส ิ าํ คัญ 4 ประการคือ 1.1) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) 1.2) การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง และรอบคอบ (Duty of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมีจริยธรรม (Ethic) 1.3) การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติคณะกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (Duty of Obedience)
โครงสร้ า งการจั ด การ
1.4) การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น โปร่ ง ใส เชื่ อ ถื อ ได้ ทันเวลา และเท่าเทียมกัน (Duty of Disclosure) 2) กําหนดวิสย ั ทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในระยะสัน ้ และระยะยาว ในการดําเนินธุรกิจ เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าสามารถบรรลุวต ั ถุประสงค์ และเป้าหมายหลักของบริษท ั ฯ โดยมุง ่ เน้นเป้าหมายเพือ ่ ความ ยั่งยืน ตลอดจนสอดคล้องกับการสร้างคุณค่าต่อกิจการ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย และสั ง คมโดยรวม โดยมี ก ารทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์เป็นประจําทุกปี 3) พิจารณาอนุมัติรายการที่สําคัญตามขอบเขตอํานาจหน้าที่ ของคณะกรรมการ ตามที่ ก ฎหมายและข้ อ บั ง คั บ ของ บริษัทฯ กําหนด รวมถึงระเบียบอํานาจอนุมัติดําเนินการ ของบริษัทฯ 4) พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนงานและงบประมาณประจํ า ปี ข อง บริ ษั ท ฯ โดยมี ก ารติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งานด้ า นต่ า ง ๆ ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่าการดําเนินงาน เป็ น ไปตามเป้ า หมายที่ กํ า หนดโดยมี ก ารนํ า นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีมาใช้อย่างเหมาะสมปลอดภัย 5) กําหนดและทบทวนโครงสร้างคณะกรรมการ ในเรือ ่ งจํานวน กรรมการ สั ด ส่ ว นกรรมการอิ ส ระ รวมทั้ ง คุ ณ สมบั ติ ที่ ห ลากหลายเพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริ ษั ท ฯ ตลอดจนพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท และกรรมการชุดย่อยอย่างเหมาะสม โดยผ่านการพิจารณา และนํ า เสนอโดยคณะกรรมการการสรรหาและกํ า หนด ค่าตอบแทน 6) พิจารณาแต่งตัง ้ คณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ เพือ ่ สนับสนุน การปฏิ บั ติ ง านตามความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ ตามความเหมาะสมและความจําเป็น โดยมีการติดตามผล การดําเนินงานของคณะกรรมการชุดย่อยอย่างสมํา่ เสมอ 7) จั ด ให้ มี ก ารเปิ ด เผยรายงานทางการเงิ น และข้ อ มู ล สํ า คั ญ ต่าง ๆ ต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เชื่อถือได้ ทันเวลา เท่าเทียมกัน และเป็นไป ตามกฎเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 8) จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 9) จั ด ให้ มี จ รรยาบรรณธุ ร กิ จ ของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และ พนั ก งาน เพื่ อ เป็ น มาตรฐานแนวทางในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริษัทฯ โดยกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องตนอย่ า งมี จ ริ ย ธรรมและปฏิ บั ติ ตามจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด 10) จั ด ให้ มี ก ารดํ า เนิ น งานตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารสื่ อ สารไปสู่ ทุ ก คนในบริ ษั ท ฯ ให้ ไ ด้ รับทราบยึดถือปฏิบัติอย่างจริงจัง 11) จั ด ให้ มี ก ระบวนการที่ ชั ด เจนและโปร่ ง ใสเกี่ ย วกั บ การ ทํารายการระหว่างกัน 12) จัดให้มก ี ระบวนการทีช ่ ด ั เจนในการรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบต่อคณะกรรมการ เมื่อพบหรือมีข้อสงสัยเกี่ยว
151
กั บ รายการหรื อ การกระทํ า ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบอย่ า งมี นัยสําคัญต่อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษท ั ฯ คณะกรรมการต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 13) จัดให้มน ี โยบายและกระบวนการบริหารความเสีย ่ งทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิภาพ มีการติดตามและประเมินการบริหารความ เสี่ยงอย่างสมํา่ เสมอ 14) จั ด ให้ มี ก ารกํ า หนดแผนการสื บ ทอดตํ า แหน่ ง ผู้ บ ริ ห าร ระดับสูงของบริษัทฯ และกํากับดูแลให้มีการประเมินผลการ ปฏิบต ั ง ิ านของผูบ ้ ริหารระดับสูงทีม ่ ป ี ระสิทธิผลเป็นประจําทุกปี 15) จัดให้มีเลขานุการบริษัทเพื่อช่วยดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ของ คณะกรรมการ และช่วยให้คณะกรรมการและบริษัทฯ ปฏิบัติ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง 16) ประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทเป็นประจํา ทุ ก ปี รวมทั้ ง ติ ด ตามผลการประเมิ น ของคณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อพิจารณาร่วมกันใน คณะกรรมการบริษัท 17) พัฒนาความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าอบรม หรื อ เข้ า ร่ ว มหลั ก สู ต รที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ กรรมการหรื อ กิ จ กรรมใด ๆ ที่ เ ป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู้ ใ น การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 18) กํ า กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารจั ด ทํ า นโยบายและแนวปฏิ บั ติ ด้ า นการ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน ปฏิบัติตามนโยบายและมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุคลากรของบริษัทฯ ตลอดจน สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารสื่ อ สารทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร เพื่อให้เกิดการปฏิบัติอย่างแท้จริง 19) กํากับดูแลให้มก ี ระบวนการและช่องทางในการรับและจัดการ กับข้อร้องเรียนของผู้ที่ประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่ายอย่างมีประสิทธิผล 20) กํ า กั บ ดู แ ลให้ มี ร ะบบการรั ก ษาความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล ซึ่ ง รวมถึ ง การกํ า หนดนโยบายและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการรั ก ษา ความลั บ (Confidentiality) การรั ก ษาความน่ า เชื่ อ ถื อ (Integrity) และความพร้อมใช้ของข้อมูล (Availability) รวมทั้ ง การจั ด การข้ อ มู ล ที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ ราคา หลักทรัพย์ (Market Sensitive Information) ตลอดจน ดูแลให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และพนักงาน ตลอดจน บุ ค คลภายนอกที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการปฏิ บั ติ ต ามระบบการ รักษาความปลอดภัยของข้อมูลด้วย 21) จัดให้มีการทบทวนและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการบริษัท ให้สอดคล้องกับภาวการณ์ 22) สามารถแสวงหาความเห็ น ทางวิ ช าชี พ เกี่ ย วกั บ การ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยการว่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษาภายนอกด้ ว ย ค่าใช้จ่ายบริษัทฯ 23) ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใดเกี่ ย วกั บ กิ จ การของบริ ษั ท ฯ ตามที่ ผู้ถือหุ้นมอบหมาย
152
บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ 1) 2) 3)
4)
5) 6) 7)
กํากับ ติดตาม และดูแลให้มั่นใจว่า การปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักขององค์กร ดูแลให้มั่นใจว่า กรรมการทุกคนมีส่วนร่วมในการส่งเสริม ให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่มีจริยธรรมและการกํากับดูแล กิจการที่ดี พิ จ ารณากํ า หนดวาระการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ร่วมกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยมีมาตรการดูแลให้เรื่อง ทีส ่ าํ คัญและเป็นไปตามอํานาจดําเนินการได้ถก ู บรรจุเป็นวาระ การประชุม จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอเพื่อให้ฝ่ายจัดการสามารถเสนอ เรือ ่ งและเพียงพอทีก ่ รรมการบริษท ั จะอภิปรายประเด็นสําคัญ อย่ า งรอบคอบโดยทั่ ว กั น ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ ก รรมการ บริษัทมีดุลยพินิจที่รอบคอบและให้ความเห็นได้อย่างอิสระ เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า งกรรมการบริ ษั ท กั บ ฝ่ า ยจั ด การและสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และฝ่ายจัดการตามนโยบายของบริษัทฯ กํากับดูแลให้มก ี ารเปิดเผยข้อมูลและการจัดการอย่างโปร่งใส ในกรณีที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กํ า กั บ ดู แ ลให้ ก ารปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท โดยรวมคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ และกรรมการบริษัท แต่ละคนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
กรรมการอิสระ กรรมการอิ ส ระ หมายถึ ง กรรมการที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระจาก การควบคุมของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และต้องไม่มีส่วน เกีย ่ วข้องหรือมีสว ่ นได้สว ่ นเสียกับการตัดสินใจของผูบ ้ ริหาร ทัง ้ นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดคุ ณ สมบั ติ ค วามเป็ น อิ ส ระไว้ เ ข้ ม งวดกว่ า ข้อกําหนดของสํานักงาน ก.ล.ต. โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1)
ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้ ง หมดของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนัน ้ ๆ ด้วย 2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนั ก งาน ที่ ป รึ ก ษาที่ ไ ด้ เ งิ น เดื อ นประจํ า หรื อ ผู้ มี อํ า นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท ย่ อ ยลํ า ดั บ เดี ย วกั น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ของ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการ มี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า 2 ปี ก่ อ นได้ รั บ การแต่งตั้ง 3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดา มารดา คูส ่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการ
รายงานประจําปี 2561
4)
5)
6)
7) 8)
บทที่ 22
รายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรือ บุ ค คลที่ จ ะได้ รั บ การเสนอให้ เ ป็ น กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ ผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ไม่มห ี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ในลั ก ษณะที่ อ าจเป็ น การขั ด ขวาง การใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือ เคยเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของผู้ ที่ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุมของ บริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ ้ ยกว่า 2 ปีกอ ่ นได้รบ ั การแต่งตัง ้ ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ตามวรรคหนึ่ ง รวมถึ ง การทํ า รายการทางการค้ า ที่ ก ระทํ า เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย ่ วกับสินทรัพย์ หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้ ว ยการรั บ หรื อ ให้ กู้ ยื ม คํ้ า ประกั น การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทํานองเดียวกัน ซึ่ ง เป็ น ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ หรื อ คู่ สั ญ ญามี ภ าระหนี้ ที่ ต้ อ งชํ า ระ ต่ออีกฝ่ายหนึ่งตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ ของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จาํ นวนใด จะตํ่ากว่า ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตาม วิธก ี ารคํานวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันตามประกาศ ค ณ ะ กร ร ม ก า ร กํ า กั บ ต ล า ด ทุ น ว่ า ด้ ว ย หลั ก เกณฑ์ ใ น การทํารายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณา ภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจ ควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจ ควบคุม หรือหุ้นส่วนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบ บัญชีของบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ สั ง กั ด อยู่ เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้ อ ย กว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษากฎหมายหรื อ ที่ ป รึ ก ษาทาง การเงิ น ซึ่ ง ได้ รั บ ค่ า บริ ก ารเกิ น กว่ า 2 ล้ า นบาทต่ อ ปี จ าก บริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ และไม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม หรื อ หุ้ น ส่ ว นของผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร ทางวิ ช าชี พ นั้ น ด้ ว ย เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของ กรรมการของบริ ษั ท ฯ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ห รื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ไม่ประกอบกิจการทีม ่ ส ี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็น
โครงสร้ า งการจั ด การ
หุน ้ ส่วนทีม ่ น ี ย ั ในห้างหุน ้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม ่ ส ี ว ่ นร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป ่ รึกษาทีร่ บ ั เงินเดือนประจํา หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้ ง หมดของบริ ษั ท อื่ น ซึ่ ง ประกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพ อย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม ่ น ี ย ั กับกิจการของบริษท ั ฯ หรือบริษท ั ย่อย 9) ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ น ใดที่ ทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถให้ ค วามเห็ น อย่ า ง เป็นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ กรรมการอิ ส ระอาจได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการให้ ตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท ย่ อ ยลํ า ดั บ เดี ย วกั น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ โดยมี ก ารตั ด สิ น ใจในรู ป แบบ ขององค์คณะ (Collective Decision) ได้ กรรมการอิสระควรใช้ดุลยพินิจอย่างเป็นอิสระในการพิจารณา เรื่องต่าง ๆ ในการดําเนินธุรกิจ และพร้อมที่จะแสดงความคิด เห็นหรือคัดค้านในกรณีทม ี่ ค ี วามเห็นขัดแย้งในเรือ ่ งทีม ่ ผ ี ลกระทบ ต่อความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกราย
คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการ บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระ ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ช่ ว ยพิ จ ารณา กลั่ น กรองการดํ า เนิ น งานที่ สํ า คั ญ เฉพาะเรื่ อ งตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย และเสนอความเห็นแก่คณะกรรมการบริษัท ตลอดจน มี อํ า นาจพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจเรื่ อ งสํ า คั ญ ในบางเรื่ อ งตามที่ คณะกรรมการบริษัทได้ให้อํานาจไว้ โครงสร้างกรรมการชุดย่อย มีดังต่อไปนี้
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษท ั เป็นผูแ ้ ต่งตัง ้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ 4 คน โดยมีองค์ประกอบดังนี้ - กรรมการอิสระ 4 คน ซึง ่ เป็นบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วน ตรงตามนิยามกรรมการอิสระของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ของบริษท ั ฯ - กรรมการตรวจสอบทุ ก คนมี ค วามรู้ แ ละประสบการณ์ เพียงพอทีจ ่ ะสามารถทําหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือ ของงบการเงิ น โดยมี ป ระสบการณ์ ใ นการสอบทาน งบการเงินของบริษท ั ฯ - กรรมการตรวจสอบลําดับที่ 1 มีความเชีย ่ วชาญด้านบัญชี
153
รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายไพฑูรย์
ทวีผล
ประธานกรรมการ
ประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือของงบการเงิน 2545-ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2551-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล บริษท ั สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) 2555-ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จํากัด (มหาชน) 2555-ปัจจุบน ั กรรมการตรวจสอบ บริษท ั อีซบ ี่ าย จํากัด (มหาชน) 2553-2555 ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษท ั บิก ๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) 2. นายการุณ
กิตติสถาพร
สวนานนท์
กรรมการ
ประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือของงบการเงิน 2558-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2557-2560 ประธานอนุกรรมการตรวจสอบ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. นายวีรวัฒน์
ชุติเชษฐพงศ์
1)
2)
3)
กรรมการ
ประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือของงบการเงิน 2552-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2551-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท สหมิตรเครื่องกล จํากัด (มหาชน) 2555-2560 กรรมการตรวจสอบ บริษัท นํ้าตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน) 3. นางโชติกา
หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
4)
5) 6)
7)
กรรมการ
ประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือของงบการเงิน 2559-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2560-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) 2555-2559 ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จํากัด (มหาชน)
8) 9)
10) 11)
154
รายงานทางการเงิน สอบทานให้บริษท ั ฯ มีกระบวนการจัดทําและการเปิดเผยข้อมูล ในรายงานทางการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ ให้ มี ค วามถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน เพียงพอ เชือ ่ ถือได้ และทันเวลา โดยการประสานงาน กั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละผู้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิ ด ชอบจั ด ทํ า รายงาน ทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจําปี สอบทานรายการที่มิใช่รายการปกติซึ่งมีนัยสําคัญที่เกิดขึ้น ในรอบปีที่ผ่านมา (ถ้ามี) โดยพิจารณาความสมเหตุสมผล ของการทํ า รายการดั ง กล่ า ว ผลกระทบต่ อ ฐานะการเงิ น และผลการดําเนินงานและความถูกต้องครบถ้วนของการ เปิดเผยข้อมูล รายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนด ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า รายการดั ง กล่ า ว สมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ พิ จ ารณาการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ฯ ในกรณี ที่ เ กิ ด รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่เกี่ยวข้อง หรือรายการ ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ ห้ มี ค วาม ถูกต้องและครบถ้วน การควบคุมภายใน สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง สอบทานรายการที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด การทุจริตต่อรายงานทางการเงิน พิจารณาผลการตรวจสอบ และข้อเสนอแนะของผูส ้ อบบัญชี และสํานักตรวจสอบภายใน เกีย ่ วกับระบบการควบคุมภายใน และเสนอให้ ฝ่ า ยบริ ห ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขตามข้ อ เสนอแนะ รวมทั้งติดตามผลการดําเนินการตามข้อเสนอแนะนั้น การตรวจสอบภายใน สอบทานให้บริษัทฯ มีหน่วยงานตรวจสอบภายในที่มีความ เป็นอิสระ และมีระบบการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลทีจ ่ าํ เป็นสําหรับงานตรวจสอบภายใน สอบทานกิจกรรมและโครงสร้างของสํานักตรวจสอบภายใน และอนุมัติกฎบัตรของสํานักตรวจสอบภายใน ร่วมพิจารณาให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง เสนอความดี ความชอบ โยกย้าย ถอดถอนหรือเลิกจ้าง รวมทั้งในการ กําหนดและปรับค่าตอบแทนผูจ ้ ด ั การสํานักตรวจสอบภายใน เพื่อสร้างความมั่นใจว่าหน่วยงานนี้ทาํ หน้าที่อย่างเป็นอิสระ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น และให้ ข้ อ สั ง เกตงบประมาณและ อั ต รากํ า ลั ง ของสํ า นั ก ตรวจสอบภายใน เพื่ อ เสนอฝ่ า ย บริหารเป็นผู้อนุมัติ สอบทานและให้ความเห็นชอบต่อแผนงานตรวจสอบภายใน ประจําปีและการเปลี่ยนแปลงแผนงานตามผลการประเมิน ความเสี่ ย งในภาพรวมขององค์ ก ร (Enterprise Risk Management) และแผนกลยุทธ์ของสํานักตรวจสอบภายใน
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 22
12) สอบทานแผนการตรวจสอบภายในร่วมกับผู้จัดการสํานัก ตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน และกระบวนการจัดการทางการเงิน 13) พิ จ ารณาแผนงานตรวจสอบและขอบเขตการตรวจสอบ ของผู้ ต รวจสอบภายในและผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ ให้มีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน ไม่ซํ้าซ้อน 14) สอบทานผลการปฏิ บั ติ ง านของสํ า นั ก ตรวจสอบภายใน ต า ม แ ผ น ง า น ต ร ว จ ส อ บ ที่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การปฏิ บั ติ ง าน ยั ง คงเป็ น ไปตามกรอบความรั บ ผิ ด ชอบที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบมอบหมาย 15) พิ จ ารณาการจ้ า งผู้ เ ชี่ ย วชาญภายนอกมาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตรวจสอบภายใน กรณี ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านตรวจสอบภายใน ขาดทั ก ษะบางอย่ า งที่ จํ า เป็ น หรื อ ขาดความเชี่ ย วชาญ เฉพาะด้ า นในการปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบภายในด้ ว ย เช่ น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น 16) จัดให้มก ี ารประเมินคุณภาพการปฏิบต ั ง ิ านตรวจสอบภายใน (Quality Assurance Review) เป็นประจําทุกปี รวมทั้ง การประเมิ น คุณภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในจาก บุคคลที่มีความเป็นอิสระจากภายนอกองค์กร (External Quality Review) อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี การสอบบัญชี 17) พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง และเสนอค่ า ตอบแทน ผู้ ส อบบั ญ ชี เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผู้ ส อบบั ญ ชี ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระ โ ด ย คํ า นึ ง ถึ ง ค ว า ม น่ า เ ชื่ อ ถื อ ค ว า ม เ พี ย ง พ อ ข อ ง ท รั พ ย า ก ร ป ริ ม า ณ ง า น ต ร ว จ ส อ บ ข อ ง สํ า นั ก ง า น ตรวจสอบบั ญ ชี นั้ น และประสบการณ์ ข องบุ ค ลากร ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ ต ร ว จ ส อ บ บั ญ ชี ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ร ว ม ถึ ง ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ปี ที่ ผ่ า น ม า ต ล อ ด จ น พิจารณาถอดถอนผู้ ส อบบั ญ ชี 18) สอบทานขอบเขตและวิ ธี ก ารตรวจสอบที่ เ สนอโดยผู้ ส อบ บัญชี รวมทั้งพิจารณาเหตุผลในการเปลี่ยนแปลงแผนการ ตรวจสอบ (กรณี มี ก ารเปลี่ ย นแปลงแผนการตรวจสอบ ในภายหลัง) 19) เสนอแนะให้ผส ู้ อบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบรายการใด ๆ ที่เห็นว่าจําเป็นและเป็นเรื่องสําคัญระหว่างการตรวจสอบ บัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 20) ส อ บ ท า น ร า ย ง า น ที่ จั ด ทํ า โ ด ย ผู้ ส อ บ บั ญ ชี เ ส น อ ใ ห้ ฝ่ า ยบริ ห ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข และติ ด ตามผลการดํ า เนิ น การ ตามข้อเสนอแนะนั้น 21) พิ จ ารณาความเพี ย งพอและความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน การประสานงานระหว่างผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน 22) รับทราบจากผู้สอบบัญชีโดยไม่ชักช้าในข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ พฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคล ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ได้ ก ระทํ า ความผิดตามมาตรา 281/2 วรรค 2 มาตรา 305, 306, 308, 309, 310, 311, 312 หรื อ มาตรา 313 ของ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์
โครงสร้ า งการจั ด การ
23)
24) 25) 26) 27)
28) 29) 30)
31)
32)
เมื่ อ ผู้ ส อบบั ญ ชี ไ ด้ พ บและดํ า เนิ น การตรวจสอบต่ อ ไป โดยไม่ ชั ก ช้ า รวมทั้ ง ต้ อ งรายงานผลการตรวจสอบใน เ บื้ อ ง ต้ น ใ ห้ แ ก่ สํ า นั ก ง า น ก . ล . ต . แ ล ะ ผู้ ส อ บ บั ญ ชี ทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี การปฏิบัติตามกฏหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง สอบทานประสิ ท ธิ ผ ลของระบบการติ ด ตามควบคุ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ห ลั ก ท รั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กํ า หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจน ระเบียบจรรยาบรรณของบริษัทฯ สอบทานผลการสอบสวนของฝ่ายจัดการและติดตามกรณี ของการไม่ปฏิบัติตาม สอบทานประเด็ น ที่ ต รวจพบโดยหน่ ว ยงานกํ า กั บ ดู แ ล ภายนอกและข้อสังเกตจากผู้ตรวจสอบ สอบทานกระบวนการสื่ อ สารประมวลจรรยาบรรณไปสู่ พนักงานภายในบริษัทฯ และติดตามผลการปฏิบัติตาม รับทราบรายงานความคืบหน้าจากฝ่ายจัดการและที่ปรึกษา กฎหมายของบริษัทฯ เกี่ยวกับประเด็นสําคัญในการปฏิบัติ ตามข้อกําหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างสมํา่ เสมอ การรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานผลการดําเนินงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบและพิจารณาอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง สอบทานรายงานใด ๆ ทีจ ่ ด ั ทําโดยบริษท ั ฯ ทีม ่ เี นือ ้ หาเกีย ่ วข้อง กับหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ จัดทํารายงานผลการดําเนินงานประจําปีของคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยแสดงรายการตามทีต ่ ลาดหลักทรัพย์ฯ กําหนด และให้ ล งนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ รวมทั้ ง เปิดเผยไว้ในรายงานประจําปีของบริษัทฯ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบ หรื อ มี ข้ อ สงสั ย ว่ า มี ร ายการหรื อ การกระทํ า ซึ่ ง อาจมี ผลกระทบอย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และผลการ ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ต้ อ งรายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ดํ า เนิ น การ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร รายการหรือการกระทําดังกล่าว ได้แก่ 31.1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 31.2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่อง ที่สําคัญในระบบการควบคุมภายใน 31.3) ก า ร ฝ่ า ฝื น ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ ผู้ บ ริ ห ารไม่ ดํ า เนิ น การ ให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายการหรือการกระทําที่เข้าลักษณะ ตามข้ อ 31.1), 31.2) และ 31.3) ข้ า งต้ น ภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร กรรมการตรวจสอบ ค น ใ ด ค น ห นึ่ ง อ า จ ร า ย ง า น ว่ า มี ร า ย ก า ร ห รื อ ก า ร กระทํ า ตามที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น ต่ อ สํ า นั ก งาน ก.ล.ต. หรื อ ตลาดหลักทรัพย์ฯ
155
การกํากับดูแลกิจการที่ดี 33) สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ระบวนการพั ฒ นาการกํ า กั บ ดู แ ล กิจการทีด ่ อ ี ย่างต่อเนือ ่ ง รวมทัง ้ ให้แนวทางและข้อเสนอแนะ ที่จําเป็นเพื่อการพัฒนา 34) ให้ ค วามสํ า คั ญ โดยส่ ง เสริ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ กํ า หนดเรื่ อ งการ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ว้ เ ป็ น วาระประจํ า ของการประชุ ม คณะกรรมการบริษท ั และการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ฯ 35) ติ ด ต า ม ใ ห้ ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ รั บ สํ า เ น า ร า ย ง า น ก า ร มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ต า ม ม า ต ร า 8 9/ 1 4 แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ จากเลขานุ ก ารบริ ษั ท ภายใน 7 วั น ทํ า การนั บ แต่ วั น ที่ บริษัทฯ ได้รับรายงานนั้น การบริหารความเสี่ยง 36) สอบทานให้บริษัทฯ มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่าง เป็นระบบและเป็นไปตามมาตรฐานที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 37) หารื อ ร่ ว มกั บ ฝ่ า ยจั ด การถึ ง นโยบายหลั ก ของบริ ษั ท ฯ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารความเสี่ ย งและการประเมิ น ความเสีย ่ งทุกด้าน รวมทัง ้ ความเสีย ่ งจากการทุจริตคอร์รป ั ชัน 38) หารือร่วมกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะทํางาน บริ ห ารความเสี่ ย ง และฝ่ า ยบริ ห ารในการพิ จ ารณาและ ให้ความเห็นในรายงานความคืบหน้าการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทฯ ความรับผิดชอบอื่น ๆ 39) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย 40) สอบทานกฎบั ต รเป็ น ประจํ า ทุ ก ปี เพื่ อ พิ จ ารณาความ รั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการตรวจสอบที่ กํ า หนดไว้ และเสนอให้พิจารณาปรับเปลี่ยนหากมีความจําเป็น 41) มีหน้าที่ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศกําหนดเพิ่มเติม 42) กํากับดูแลให้มก ี ระบวนการรับแจ้งเบาะแส ในกรณีทพ ี่ นักงาน และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า ง ๆ มี ข้ อ สงสั ย หรื อ พบเห็ น การกระทํ า อั น ควรสงสั ย ว่ า มี ก ารฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ จรรยาบรรณ หรือนโยบาย การกํากับดูแลกิจการ เพื่อให้ความมั่นใจแก่ผู้แจ้งเบาะแส ว่ า บริ ษั ท ฯ มี ก ระบวนการสอบสวนที่ เ ป็ น อิ ส ระและมี ก าร ดําเนินการในการติดตามที่เหมาะสม 43) ควบคุมดูแลกรณีการสอบสวนพิเศษตามความจําเป็น
คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ 3 คน โดยมีองค์ประกอบดังนี้ - กรรมการอิสระ 2 คน - กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ ้ ริหาร 1 คน - ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ
156
รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน 1. นายการุณ 2. นางโชติกา 3. นายสุทธิธรรม
กิตติสถาพร สวนานนท์ จิราธิวัฒน์
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ
โดยมีการแต่งตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน จํานวน 2 คน ดังนี้ 1. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ ที่ปรึกษา 2. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ ที่ปรึกษา ทั้งนี้ ที่ปรึกษาสามารถเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม นอกจากนี้ หากมีการพิจารณาวาระทีต ่ นเองมีสว ่ นได้เสีย ทีป ่ รึกษาจะไม่อยูใ่ น ทีป ่ ระชุม เพือ ่ ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์และเปิดโอกาส ให้คณะกรรมการและที่ปรึกษาท่านอื่นหารือกันอย่างเต็มที่
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 1) 2)
3)
4)
5) 6)
การสรรหา พิจารณาโครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบคณะกรรมการบริษท ั ให้มค ี วามเหมาะสมกับองค์กร และสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป ตลอดจนพิจารณาทบทวนเกณฑ์คณ ุ สมบัตขิ องกรรมการอิสระ ดูแลให้โครงสร้างของคณะกรรมการบริษัทประกอบไปด้วย ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท่ี มี ค วามรู้ ค วามสามารถที่ ห ลากหลาย มีประสบการณ์ ความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การดําเนินธุรกิจ ตรงตามที่บริษัทฯ ต้องการและสอดคล้อง กับทิศทางการดําเนินกลยุทธ์ของบริษัทฯ ยึดมัน ่ ในคุณธรรม และความซือ ่ สัตย์ โดยไม่จาํ กัด เพศ เชือ ้ ชาติ ศาสนา อายุ ทักษะ ทางวิชาชีพ หรือคุณสมบัตเิ ฉพาะด้านอืน ่ ๆ โดยพิจารณาให้ มี จํ า นวนกรรมการ และสั ด ส่ ว นกรรมการอิ ส ระตามที่ เหมาะสมกับขนาดขององค์กร พิจารณาหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการบริษัท สรรหา และพิจารณากลัน ่ กรองบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม สมควร ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท เพื่ อ นํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษท ั พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนนําเสนอ ต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ พิจารณาอนุมต ั แิ ต่งตัง ้ เป็นกรรมการบริษท ั พิจารณาหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ สรรหาและพิจารณากลัน ่ กรองบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม สมควรได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เพือ ่ นําเสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั พิจารณาอนุมต ั แ ิ ต่งตัง ้ เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายบุ ค คลเสนอรายชื่ อ บุ ค คลเข้ า รั บ การสรรหาเป็นกรรมการบริษัท โดยมีกาํ หนดระยะเวลาอย่าง เพียงพอก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น จั ด ให้ มี แ ผนสื บ ทอดตํ า แหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และผู้บริหารระดับสูง โดยมีการทบทวนอย่างสมํา่ เสมอ
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 22
7) พิ จ ารณากลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายด้ า นการบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร อ ง ค์ ก ร ใ ห้ มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก า ร ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ การกําหนดค่าตอบแทน 8) พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของ กรรมการบริษท ั กรรมการชุดย่อย และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ให้ มี ค วามชั ด เจน เป็ น ธรรม และเหมาะสมกั บ หน้ า ที่ ความรับผิดชอบ ความสําเร็จในการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยง กั บ ผลประกอบการ และปั จ จั ย แวดล้ อ มอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของ บริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น หรื อ ใกล้ เ คี ย งกั บ บริษท ั ฯ โดยคํานึงถึงการเพิม ่ มูลค่าส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ในระยะยาว 9) พิ จ ารณากํ า หนดค่ า ตอบแทนของกรรมการบริ ษั ท และ กรรมการชุดย่อยเพือ ่ นําเสนอให้คณะกรรมการบริษท ั พิจารณา เห็นชอบ และนําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ 10) พิจารณาการกําหนดเป้าหมายและประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ าน ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อพิจารณาความเหมาะสม ในการกําหนดค่าตอบแทน ความรับผิดชอบอื่น ๆ 11) สามารถแต่งตั้งที่ปรึกษาประจํา และ/หรือ ว่าจ้างที่ปรึกษา เฉพาะโครงการ เพื่อให้คําแนะนําในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ความรับผิดชอบได้ในกรณีที่พิจารณาว่าจําเป็นและสมควร โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนสามารถ พิจารณากําหนดค่าตอบแทนของที่ปรึกษาด้วยค่าใช้จ่าย ของบริษัทฯ ได้ตามความจําเป็นและสมควร 12) ทบทวนและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกําหนด ค่ า ตอบแทนให้ ส อดคล้ อ งกั บ ภาวการณ์ และนํ า เสนอ ขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 13) ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใ ด เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ กํ า ห น ด ค่าตอบแทนตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย
คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท เ ป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร นโยบายความเสี่ ย ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการ 4 คน โดยมีองค์ประกอบดังนี้ - กรรมการบริษท ั 4 คน - ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง 1. 2. 3. 4.
นายไพฑูรย์ นายกอบชัย นายปริญญ์ นายปรีชา
ทวีผล จิราธิวัฒน์ จิราธิวัฒน์ เอกคุณากูล
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
โครงสร้ า งการจั ด การ
หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง 1) 2) 3) 4)
5) 6) 7) 8) 9) 10) 11)
รับทราบและให้ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย กลยุทธ์ โครงสร้าง และกรอบการพัฒนาการบริหารความเสี่ยงในทุกประเภท และทุกระดับขององค์กร ประเมินประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงที่ฝ่ายบริหาร จัดให้มีขึ้นในองค์กร พิจารณา กลัน ่ กรองและให้ความเห็นชอบต่อระดับความเสีย ่ ง ที่องค์กรยอมรับได้ และช่วงความเบี่ยงเบนของความเสี่ยง ที่องค์กรยอมรับได้ สอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย งในภาพรวมขององค์ ก ร โดยคํานึงถึงผลตอบแทนรวมของผู้ถือหุ้น ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว และพิจารณาเปรียบเทียบกับระดับความเสี่ยง ที่องค์กรยอมรับได้ รับทราบถึงความเสี่ยงที่สําคัญ และพิจารณาว่าฝ่ายบริหาร ได้ตอบสนองต่อความเสี่ยงอย่างเหมาะสมหรือไม่ มีส่วนร่วมให้ความเห็นในการวิเคราะห์กลยุทธ์การบริหาร ความเสี่ยงประจําปีขององค์กร ให้ ทิ ศ ทางและแนวทางการดู แ ลงานบริ ห ารความเสี่ ย งแก่ ฝ่ายบริหารความเสี่ยง กํากับดูแลการกําหนดเป้าหมายในการวัดผลการปฏิบัติงาน และดัชนีตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สําคัญ รับทราบรายงานแนวโน้มความเสี่ยงขององค์กรและทําให้ แน่ใจว่ากลยุทธ์ขององค์กรสามารถตอบสนองต่อประเด็น เกี่ยวกับความเสี่ยงที่ได้ระบุไว้ รายงานกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของการบริ ห ารความเสี่ ย งต่ อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อรับทราบอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษท ั
นอกจากนี้ ฝ่ า ยจั ด การได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และผู้ บ ริ ห าร ใ น แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย ง า น ห ลั ก ทํ า ห น้ า ที่ ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม น โ ย บ า ย การบริหารความเสี่ยงที่ได้รับจากคณะกรรมการนโยบายความ เ สี่ ย ง ค ว บ คุ ม ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เสี่ ย งที่ อ ยู่ ใ นขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ บ ริ ห ารแต่ ล ะ หน่ ว ยธุ ร กิ จ ให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางมาตรฐานที่ กํ า หนดไว้ และผนวกการบริ ห ารความเสี่ ย งเข้ า ไปในแผนธุ ร กิ จ สอบทาน ก า ร วั ด ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม ม า ต ร ฐ า น ค ว า ม เ สี่ ย ง โ ด ย เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ช่ ว ง ค ว า ม เ บี่ ย ง เ บ น ที่ ย อ ม รั บ ไ ด้ สื่ อ ส า ร และจั ด การในเรื่ อ งการจั ด ตั้ ง และรั ก ษาไว้ ซึ่ ง การบริ ห าร ความเสี่ ย งทุ ก ระดั บ ขององค์ ก รให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทาง ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ข อ ง อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ร า ย ง า น ค ว า ม คื บ ห น้ า ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ต่ อ คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง
157
สรุปการดํารงตําแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการชุดต่าง ๆ รายชื่อกรรมการ
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการนโยบาย ความเสีย ่ ง
1. นายสุทธิชัย
จิราธิวัฒน์
C
-
-
-
2. นายไพฑูรย์
ทวีผล
M
C
-
C
3. นายการุณ
กิตติสถาพร
M
M
C
-
4. นางโชติกา
สวนานนท์
M
M
M
-
5. นายวีรวัฒน์
ชุติเชษฐพงศ์
M
M
-
-
6. นายสุทธิเกียรติ
จิราธิวัฒน์
M
-
-
-
7. นายสุทธิศก ั ดิ์
จิราธิวฒ ั น์
M
-
A
-
8. นายสุทธิธรรม
จิราธิวัฒน์
M
-
M
-
9. นายกอบชัย
จิราธิวัฒน์
M
-
-
M
10. นายปริญญ์
จิราธิวัฒน์
M
-
A
M
11. นายปรีชา
เอกคุณากูล
M
-
-
M
หมายเหตุ:
C : Chairman M : Member A : Advisory
หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ประธาน กรรมการ ที่ปรึกษา
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีความเหมาะสมเป็นเลขานุการบริษัทเพื่อช่วยสนับสนุนการ ทํางานที่เกี่ยวข้องให้ดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามกฎหมายและหลักธรรมาภิบาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ แต่งตั้งนางสาวอัมพาวีร์ ชมภูพงษ์เกษม ให้ดํารงตําแหน่งเลขานุการบริษัท รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และกํ า หนดค่ า ตอบแทน ประวั ติ แ ละประสบการณ์ ป รากฏในหั ว ข้ อ “รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุการบริษัท” โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบด้านเลขานุการบริษัทดังนี้
หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1)
2) 3)
4) 5)
158
จั ด ทํ า และเก็ บ รั ก ษาเอกสารเกี่ ย วกั บ ทะเบี ย นกรรมการ รายงานประจํ า ปี ข องบริ ษั ท ฯ หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะ กรรมการบริษท ั และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษท ั หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการ หรือผูบ ้ ริหาร จั ด ส่ ง สํ า เนารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของกรรมการและ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทําการ นับแต่วน ั ทีบ ่ ริษท ั ฯ ได้รบ ั รายงานนัน ้ จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผู้ถือหุ้น ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้คาํ แนะนําในการดําเนินงานของบริษท ั ฯ และคณะกรรมการ บริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตามหนั ง สื อ บริ ค ณห์ ส นธิ ข้ อ บั ง คั บ ของ
6) 7) 8) 9) 10)
บริษัทฯ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด และกฎหมายอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็ น ศู น ย์ ก ลางการติ ด ต่ อ สื่ อ สารข้ อ มู ล ข่ า วสารระหว่ า ง กรรมการ ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น ประสานงานและติดตามการดําเนินงานตามมติของกรรมการ และผู้ถือหุ้น ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสารสนเทศในส่ ว น ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน่ ว ยงานที่ กํ า กั บ ดู แ ลตามระเบี ย บและ ข้อกําหนดของหน่วยงานทางการ ดําเนินการอืน ่ ๆ ตามทีค ่ ณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศ กําหนดหรือตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย จัดทํารายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทและรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 22
คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห าร ซึง ่ ประกอบด้วยกรรมการ 5 คน ดังนี้
รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการบริหาร 1. นายสุทธิชัย 2. นายสุทธิเกียรติ 3. นายสุทธิศักดิ์ 4. นายสุทธิธรรม 5. นายปริญญ์
จิราธิวัฒน์ จิราธิวัฒน์ จิราธิวัฒน์ จิราธิวัฒน์ จิราธิวัฒน์
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
โครงสร้ า งการจั ด การ
9) พิ จ ารณาการบริ ห ารทรั พ ยากรและการพั ฒ นาบุ ค ลากร อย่างมีประสิทธิภาพ 10) ว่าจ้างทีป ่ รึกษาหรือบุคคลทีม ่ ค ี วามเป็นอิสระ เพือ ่ ให้ความเห็น หรือคําแนะนําตามความจําเป็น 11) ดําเนินการหรืออนุมัติรายการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทเป็นคราว ๆ ไป
โครงสร้างระดับจัดการ คณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการจัดการ ประกอบด้วยกรรมการ 11 คน ดังนี้ รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการจัดการ
หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหาร 1)
พิจารณากลั่นกรอง และนําเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติในเรื่องดังต่อไปนี้ 1.1) แผนกลยุ ท ธ์ ใ นการประกอบธุ ร กิ จ เป้ า หมายทาง การเงิน และแผนงานของบริษัทฯ 1.2) งบประมาณประจําปี (Annual Estimate) ซึ่งเป็นไป ตามแผนกลยุทธ์ 1.3) การลงทุนโครงการต่าง ๆ หรือรายการที่สําคัญภายใต้ ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1.4) กิ จ กรรมและการปฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วกั บ การควบรวม และซื้อกิจการ 1.5) แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม่
2) ติดตามผลประกอบการของบริษท ั ฯ ให้เป็นไปตามงบประมาณ และเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ 3) กํากับและติดตามผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษท ั ฯ 4) พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ยวกับการลงทุนและ จํ า หน่ า ยทรั พ ย์ สิ น และรายการอื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ภายในขอบเขตอํ า นาจที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัท 5) ประเมินโอกาสและความเสี่ยง ตลอดจนปัจจัยที่เกี่ยวข้องใน การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และให้ ค วามเห็ น หรื อ ข้ อ เสนอแนะแก่ คณะกรรมการจัดการ และคณะกรรมการบริษัท 6) สนับสนุนให้มก ี ารผนึกกําลังทางธุรกิจเพือ ่ เพิม ่ ความสามารถ ในการต่อรองและการแข่งขัน 7) สร้างเสริมความสัมพันธ์ ตลอดจนบริหารจัดการเกี่ยวกับ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย 8) จัดหาเงินทุนรวมถึงการกู้ยืมเงินเพื่อใช้ในการดําเนินธุรกิจ
ประธานกรรมการ 1. นายปรีชา เอกคุณากูล1 กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร 2. นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์1 กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 3. นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ 4. นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง 5. นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานคอมเมอร์เชียล 6. นายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ และโครงการ 7. นายเลิศวิทย์ ภูมิพิทักษ์ 1 และ 2 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายบริหารทรัพย์สิน 8. พันตรีนฤต รัตนพิเชฏฐชัย กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาโครงการ 9. นางนาถยา จิราธิวัฒน์ กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ 10. ดร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายการตลาด 11. นายบุญชาน กุลวทัญญู กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายขาย หมายเหตุ: 1
2
ผู้บริหารลําดับที่ 1-7 คือผู้บริหารของบริษัทฯ ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ซึ่งประวัติและประสบการณ์ปรากฏในหัวข้อ “รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท” ดํารงตําแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายบริหารทรัพย์สิน เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562
159
หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการจัดการ 1) 2) 3)
4) 5) 6) 7) 8)
9) 10) 11)
จัดทําและนําเสนอแผนกลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจ เป้าหมาย ทางการเงิน และแผนงานของบริษัทฯ จัดทําและนําเสนองบประมาณประจําปี (Annual Estimate) อนุมัติงบประมาณการลงทุนและการดําเนินงานต่าง ๆ ของ บริ ษั ท ฯ ภายในขอบเขตอํ า นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ จั ด การ ตลอดจนเสนอรายการลงทุ น หรื อ รายการอื่ น ๆ ทีส ่ าํ คัญแก่คณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษท ั เพื่อพิจารณาอนุมัติภายใต้ระเบียบอํานาจอนุมัติดําเนินการ หรือระเบียบ ข้อบังคับอื่น ๆ ของบริษัทฯ รับผิดชอบการดําเนินงานของบริษท ั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ มติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น มติทป ี่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั ตลอดจนระเบียบทีเ่ กีย ่ วข้อง พิ จ ารณาและสอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย งและระบบ การควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ฯ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพอย่ า ง สมํา่ เสมอ พิจารณาการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ และส่งเสริมให้มีการคิดค้นนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง รายงานการแต่ ง ตั้ ง ผู้ บ ริ ห ารที่ ร ายงานตรงต่ อ กรรมการ ผู้ จั ด ก า ร ใ ห ญ่ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ / ห รื อ คณะกรรมการบริษัทพิจารณา พิจารณามอบอํานาจช่วงให้ผบ ู้ ริหารหรือบุคคลใดบุคคลหนึง ่ มีอาํ นาจในการดําเนินการในเรือ ่ งใดเรือ ่ งหนึง ่ หรือหลายเรือ ่ ง ตามทีค ่ ณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษท ั พิจารณาเห็นสมควรได้ ส่งเสริมให้พนักงานและผูบ ้ ริหารพัฒนาความรูค ้ วามสามารถ อย่างต่อเนื่อง ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความ เห็นหรือคําแนะนําตามความจําเป็น ดําเนินการหรืออนุมัติรายการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการบริษท ั เป็นคราว ๆ ไป
โครงสร้างการดําเนินงานเพือ ่ ความยัง ่ ยืน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่เป็นประธาน และมีผบ ู้ ริหารระดับสูงจาก ทุกสายงานเป็นกรรมการ และรายงานต่อคณะกรรมการนโยบาย ความเสี่ยง โดยในปี 2561 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 5 ครั้ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ นํานโยบาย กรอบการควบคุมไปดําเนินการปฏิบัติ และติดตาม ผลการดํ า เนิ น การตามแผนบริ ห ารความเสี่ ย งขององค์ ก รให้ เป็นไปตามข้อกําหนด ทิศทางและนโยบายที่ระบุไว้
160
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นประธานกรรมการ มีรองกรรมการ ผู้ จั ด ก า ร ใ ห ญ่ แ ล ะ ผู้ ช่ ว ย ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ใ ห ญ่ จ า ก ทุกสายงานเป็นกรรมการ และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยในปี 2561 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 5 ครั้ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ กํ า หนดเป้ า หมายความยั่ ง ยื น ทางธุ ร กิ จ ทบทวนนโยบาย กลยุทธ์ แผนดําเนินงาน ข้อกําหนด ระบบมาตรฐาน แนวทาง ในการดํ า เนิ น งาน และติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งาน เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปในทิศทางเดียวกัน
คณะกรรมการด้านสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม มี ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ฝ่ า ยพั ฒ นาโครงการ และ ผู้ ช่ ว ย ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ใ ห ญ่ ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ท รั พ ย์ สิ น เป็ น ประธาน มี ผู้ บ ริ ห ารจากสายงานดั ง กล่ า วและฝ่ า ยบริ ห าร ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น เ ป็ น ก ร ร ม ก า ร และรายงานต่ อ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและการพั ฒ นา อย่ า งยั่ ง ยื น โดยในปี 2561 มี ก ารประชุ ม ทั้ ง สิ้ น จํ า นวน 2 ครั้ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ ถ่ า ยทอดและขั บ เคลื่ อ นนโยบายด้ า นสภาพภู มิ อ ากาศและ สิ่ ง แวดล้ อ ม การดํ า เนิ น งานและบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ พลั ง งาน และสาธารณู ป โภค สภาพแวดล้ อ ม ความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดการของเสีย การปล่อยก๊าซ เรือนกระจก และการใช้ทรัพยากรทางเลือกเพื่อให้เกิดประโยชน์ และประสิทธิภาพสูงสุดอย่างเป็นระบบและยัง ่ ยืน
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน และสิ่งแวดล้อม มี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง จากฝ่ า ยบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น ผู้ บ ริ ห ารจาก สายงานสนั บ สนุ น และพนั ก งานปฏิ บั ติ ก ารเป็ น กรรมการ และ ร า ย ง า น ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อย่ า งยั่ ง ยื น และ/หรื อ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยในปี 2561 มี ก ารประชุ ม ทั้ ง สิ้ น จํานวน 11 ครัง ้
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 22
โครงสร้ า งการจั ด การ
หน้าที่และความรับผิดชอบ ขับเคลือ ่ นและยกระดับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย ในองค์กรให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
คณะกรรมการซีเอสอาร์ มี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง จากฝ่ า ยบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น และผู้ บ ริ ห าร จากสายงานสนั บ สนุ น เป็ น กรรมการพิ จ ารณาหลั ก รวมทั้ ง มี ก รรมการท่ า นอื่ น ๆ หมุ น เวี ย นตามประเภทกิ จ กรรม และ รายงานต่ อ คณะกรรมการบ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อย่ า งยั่ ง ยื น โดยในปี 2561 มี ก ารประชุ ม ย่ อ ยจํ า นวน 1 ครั้ ง และมีการหารือร่วมกับผูบ ้ ริหารในส่วนงานทีเ่ กีย ่ วข้องตลอดทัง ้ ปี
หน้าที่และความรับผิดชอบ พิจารณาเห็ น ชอบในการดําเนิ น งานด้ า นกิ จ กรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางการพั ฒ นา อย่ า งยั่ ง ยื น และแนวทางการสร้ า งคุ ณ ค่ า ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย รวมไปถึ ง พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรม และโครงการจิตอาสาของพนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระดับองค์กร มี ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ประธาน และมี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็ น กรรมการ มี ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของฝ่ า ยบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ แ ล ะ พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร เ ป็ น เ ล ข า นุ ก า ร ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ฯ แ ล ะ รายงานต่ อ คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน โดยในปี 2561 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 12 ครั้ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ กํ า หนดกลยุ ท ธ์ พิ จ ารณา ติ ด ตาม และให้ คํ า แนะนํ า เกี่ ย วกั บ แผนงานดู แ ลพั ฒ นาและสร้ า งความผู ก พั น บุ ค ลากรอย่ า ง ใกล้ชิด พร้อมทั้งถ่ายทอดอย่างเป็นลําดับชั้น
161
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการ นโยบายความเสี่ยง
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการ สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระดับองค์กร
คณะกรรมการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระดับสายงานและสาขา
คณะกรรมการ ด้านสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
คณะกรรมการซีเอสอาร์
ทีมประสานงาน ความเสี่ยงประจําสาขา
ทีมตรวจประเมินภายในเรื่อง การจัดการพลังงาน และคาร์บอนฟุตพริน ้ ท์องค์กร
ระดับกรรมการ
ระดับจัดการ
162
หัวหน้าและทีมรับผิดชอบ ประสานงาน ระบบ ไอเอสโอ (ISO) สาขา และทีมงาน 5 ส
ระดับปฏิบัติการ
คณะกรรมการ สวัสดิการสาขา และทีมงาน ด้านทรัพยากรมนุษย์
ทีม CSR / CSV สาขา
คณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานสาขา
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 22
โครงสร้ า งการจั ด การ
บุคลากร บริ ษั ท ฯ มี จํ า นวนพนั ก งานทั้ ง สิ้ น 4,911 คน ในปี 2561 การเปลี่ ย นแปลงของจํ า นวนพนั ก งานสอดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทาง การเติบโตทางธุรกิจของบริษท ั ฯ โดยมีคณะกรรมการบริษท ั กํากับดูแล ให้มน ี โยบายการจ่ายค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรม รวมทัง ้ มีการพัฒนา ศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนือ ่ ง รายละเอียดเพิม ่ เติมปรากฏ ในหัวข้อ “การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร” ทัง ้ นี้ ตลอดระยะเวลาทีผ ่ า่ นมา บริษท ั ฯ ไม่มข ี อ ้ พิพาทด้านแรงงาน ที่มีนัยสําคัญ
163
การกํากับดูแลกิจการ
164
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี ด้วยเชื่อว่า การดําเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ จะส่งผลให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายของการเป็นองค์กรที่ เติบโตอย่างยั่งยืนได้ คณะกรรมการบริษัทจึงกําหนดนโยบาย การกํ า กั บ ดู แ ลกิจการ จรรยาบรรณ และแนวปฏิบต ั ต ิ า่ ง ๆ โดย กําหนดไว้ในคู่มือ “จรรยาบรรณและหลักการกํากับดูแลกิจการ” เพื่อเป็นรากฐานของการปฏิบัติงานแก่บุคลากรของบริษัทฯ โดย มีการทบทวนนโยบายและแนวปฏิบัติดังกล่าวให้สอดคล้องกับ สภาวการณ์ปัจจุบันอยู่เสมอ ตลอดจนคณะกรรมการบริษัทได้ เป็นแบบอย่า งที่ ดี ใ นการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํากับดูแลกิจการ เสมอมา รวมทัง ้ มีการติดตามให้มก ี ารปฏิบต ั ต ิ ามจรรยาบรรณและ หลักการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี และปลูกฝังเป็นวัฒนธรรมองค์กร เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าการดําเนินงานของบริษท ั ฯ สามารถเติบโตอย่างยัง ่ ยืน
หลักบรรษัทภิบาล บริษัทฯ กําหนดหลักบรรษัทภิบาลไว้ทั้งหมด 6 ประการ เพื่อให้ การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคนเป็นไปในทิศทางเดียวกันและ สอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษท ั ฯ ประกอบด้วย • ซื่อสัตย์ สุจริต • เปิดกว้าง โปร่งใส • ให้ความเสมอภาค • ให้ความเป็นธรรม • ยึดมั่นคําสัญญา • ใส่ใจดูแลสังคม
นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษั ท กํ า หนดนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยระบุไว้ภายใต้หัวข้อ “หลักการกํากับดูแลกิจการ” ซึ่งอยู่ใน คู่มือจรรยาบรรณฯ ของบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 5 หมวด โดยมี รายละเอียดดังนี้
1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
(Rights of Shareholders)
บริษัทฯ ให้ค วามสําคั ญ ในการดู แ ลและรั ก ษาสิ ท ธิของผู้ถือหุ้น ทุกรายดังนี้ • มีโครงสร้างระหว่างบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ทีไ่ ม่ซบั ซ้อน ไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น ร่ ว มและไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น ไขว้ และไม่ มี โ ครงสร้ า ง การถือหุ้นแบบปิรามิดในกลุ่มของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น มั่นใจว่าได้รับผลตอบแทนครบถ้วน • ดู แ ลและสนั บ สนุ น ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายไม่ ว่ า จะเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายบุคคล นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้น ต่ า งชาติ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ พื้นฐานและการปฏิบัติในการรักษาสิทธิ ของผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างเท่าเทียมกัน ได้แก่ สิทธิในการซื้อขายหรือ โอนหุ้น สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องชัดเจน สิทธิ ในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และลงมติ อ นุ มั ติ ก ารเข้ า ทํ า รายการ ที่สําคัญ สิทธิในการแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการบริษัท
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
•
สิทธิในการกําหนดอัตราค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษท ั สิ ท ธิ ใ นการแต่ ง ตั้ ง หรื อ ถอดถอนผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละกํ า หนด ค่ า สอบบั ญ ชี สิ ท ธิ ใ นการได้ รั บ ส่ ว นแบ่ ง กํ า ไร สิ ท ธิ ใ นการ เข้าร่วมตัดสินใจและรับทราบถึงผลการตัดสินใจของบริษท ั ฯ ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยพื้นฐานของบริษัทฯ เผยแพร่สารสนเทศ รายละเอียดการใช้สิทธิในเรื่องต่าง ๆ ผ่ า นระบบข่ า วของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) และเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยคํานึง ถึงความเท่าเทียมกันในการรับรูข ้ า่ วสาร ระยะเวลาการใช้สท ิ ธิ และความสะดวกในการใช้สิทธิดังกล่าว โดยไม่กระทําการ ใด ๆ ทีเ่ ป็นการจํากัดสิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศของบริษท ั ฯ หรือปิดกั้นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ถือหุ้นด้วยกัน
2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม (Equitable Treatment of Shareholders)
บริ ษั ท ฯ ยึ ด หลั ก การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย ม โดยไม่เลือกปฏิบต ั ิ ไม่วา่ จะเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายบุคคล นักลงทุนสถาบัน หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ต่างชาติ โดยมีแนวทางปฏิบต ั ด ิ ง ั นี้ • มีระเบียบบังคับใช้ภายในบริษัทฯ เรื่องการควบคุมเกี่ยวกับ สารสนเทศภายในและเรื่องการถือหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เพื่ อ ป้ อ งกั น การใช้ ข้ อ มู ล ภายในโดยมิ ช อบและป้ อ งกั น ไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายละเอียดเปิดเผย ไว้ในหัวข้อ “การกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน” • นําเสนอรายละเอียดของรายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งอาจเกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาให้ความเห็นก่อนขออนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั และผู้ถือหุ้นในกรณีที่ถึงเกณฑ์ทุกครั้ง และมีการเปิดเผย สารสนเทศที่สําคัญอย่างครบถ้วนและเป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับทีก ่ าํ หนด รายละเอียดเปิดเผยไว้ในหัวข้อ “การกํากับ ดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์” • ดําเนินการตามหลักการและแนวทางปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่าง เท่าเทียมกันในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 บริษัทฯ ให้ความสําคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยนําหลักการที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ อย่างเป็นรูปธรรมในการจัดประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ตั้งแต่ก่อน การประชุม วันประชุม และหลังการประชุม สําหรับการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 จัดขึ้นในวันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2561 เวลา 14.00 น. ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชัน ้ 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุ ม วั น เขตปทุ ม วั น กรุ ง เทพมหานคร มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองจํานวน 249 ราย และผู้รับ มอบฉันทะจํานวน 1,609 ราย รวมเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทัง ้ ทีม ่ าด้วยตนเอง และรับมอบฉันทะเข้าร่วมประชุม คิดเป็นร้อยละ 85.47 ของจํานวน หุน ้ ทัง ้ หมด 4,488,000,000 หุน ้ มีกรรมการบริษท ั เข้าร่วมประชุม
165
3)
10 คน จากกรรมการทั้ ง หมด 11 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 90.91 โดยประธานกรรมการบริษท ั ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน ประธานกรรมการ นโยบายความเสี่ยง กรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน เลขานุการบริษัท และผู้สอบบัญชี เข้าร่วมประชุม อย่างครบถ้วนพร้อมเพรียงกัน ทั้งนี้ รายละเอียดการดําเนินการ ประชุมมีดังนี้
ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น •
•
•
166
ให้ สิ ท ธิ ผู้ ถื อ หุ้ น รายบุ ค คลสามารถเสนอวาระการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และจั ด ให้ มี ก ระบวนการและช่ อ งทางให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายบุคคลมีสว ่ นในการสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ ระหว่าง วันที่ 29 กันยายน 2560 ถึง 15 มกราคม 2561 รวมถึง การให้ สิ ท ธิ ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ง คํ า ถามเกี่ ย วกั บ วาระการประชุ ม ถึ ง เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท ไ ด้ ล่ ว ง ห น้ า ก่ อ น ถึ ง วั น ป ร ะ ชุ ม โดยหลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาเกี่ ย วกั บ การเสนอวาระ การประชุมผู้ถือหุ้นและเสนอชื่อบุคคล เพื่อรับการพิจารณา เลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการเผยแพร่ ไ ว้ ใ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ทัง ้ นี้ การประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2561 ไม่มีผู้ถือหุ้น รายใดเสนอวาระการประชุ ม ผู้ถือหุ้น หรือเสนอชื่อบุคคล เพือ ่ รับการพิจารณาเลือกตัง ้ เป็นกรรมการ จั ด ทํ า จดหมายเชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้ ง ภาษาไทยและภาษา อั ง กฤษ โดยในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี 2561 บริษัทฯ ได้เผยแพร่จดหมายเชิญประชุมผู้ถือหุ้นบนเว็บไซต์ ของบริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2561 ล่วงหน้าก่อน วันประชุมมากกว่า 30 วัน และจัดส่งจดหมายเชิญประชุม ให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ ้ ยกว่า 21 วัน เพือ ่ ให้ผู้ถือหุ้นได้รับเอกสารล่วงหน้าก่อนวันประชุมและมีเวลา ศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมอย่างเพียงพอ ในจดหมายเชิญประชุม บริษัทฯ มีการชี้แจงข้อเท็จจริงและ เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ ประกอบ การพิจารณาของผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วนและเพียงพอ โดย วาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประกอบด้วย 1) วาระการแต่งตั้งกรรมการ ได้ให้ข้อมูลของผู้ได้รับการ เสนอแต่งตัง ้ ได้แก่ ชือ ่ อายุ ประเภทกรรมการ ตําแหน่ง ในบริ ษั ท ฯ การศึ ก ษา การอบรม/สั ม มนาหลั ก สู ต ร กรรมการ ประสบการณ์ การดํารงตําแหน่งในกิจการ อื่นและกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ วันที่ ดํารงตําแหน่งกรรมการ จํานวนปีทด ี่ าํ รงตําแหน่ง และ การเข้าร่วมประชุมในฐานะกรรมการชุดต่าง ๆ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา การถือหุ้นในบริษัทฯ และข้อมูลอื่น ๆ เช่น การทํารายการทีอ ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ ในรอบปีที่ผ่านมา 2) วาระการพิจารณาค่าตอบแทน มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ นโยบาย จํานวนเงินและรูปแบบค่าตอบแทนแยกตาม ตํ า แหน่ ง และหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการ หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาค่าตอบแทน
•
•
วาระการแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ได้ ใ ห้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ชือ ่ ผูส ้ อบบัญชีและสํานักงานสอบบัญชี ความเป็นอิสระ ของผูส ้ อบบัญชี จํานวนปีทป ี่ ฏิบต ั ห ิ น้าทีเ่ ป็นผูส ้ อบบัญชี ของบริษัทฯ การพิจารณาความเหมาะสมของค่าสอบ บัญชี โดยแสดงค่าสอบบัญชีแยกจากค่าบริการอื่น 4) วาระการจ่ายเงินปันผล ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย การจ่ายเงินปันผล จํานวนเงินทีข ่ ออนุมต ั ิ เปรียบเทียบกับ จํานวนเงินทีจ ่ า่ ยในปีกอ ่ น ไม่ มี ก ารแจกเอกสารที่ มี ข้ อ มู ล สํ า คั ญ ในที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อ ย่ า ง ก ะ ทั น หั น ร ว ม ทั้ ง ไ ม่ เ พิ่ ม ว า ร ะ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ห รื อ เปลี่ ย นแปลงข้ อ มู ล ที่ สํ า คั ญ โดยไม่ แ จ้ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบ ล่วงหน้า อํานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุม ด้วยตนเองโดยการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. ซึง ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถกําหนดทิศทางการลงคะแนนได้ พร้อมรายละเอียด วิธีการมอบฉันทะในการประชุมผู้ถือหุ้นไปพร้อมกับหนังสือ เชิญประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ส่วนหนังสือมอบฉันทะทัง ้ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ของ บริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีรายชื่อพร้อมประวัติของ กรรมการอิสระ 4 คน ให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกเป็นผู้รับมอบ ฉันทะไว้ด้วย โดยในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 มีผถ ู้ อ ื หุน ้ จํานวนรวม 1,396 ราย มอบอํานาจให้กรรมการอิสระ เป็นผูร้ บ ั มอบอํานาจในการออกเสียงแทน โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ มอบอํานาจให้นายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการตรวจสอบ จํานวน 918 ราย มอบอํานาจให้นายการุณ กิตติสถาพร กรรมการตรวจสอบ จํานวน 98 ราย มอบอํานาจให้นางโชติกา สวนานนท์ กรรมการตรวจสอบ จํานวน 315 ราย มอบอํานาจให้นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ กรรมการตรวจสอบ จํานวน 65 ราย
วันประชุมผู้ถือหุ้น •
• • • •
กําหนดให้มรี ะยะเวลาการลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุม 2 ชัว ่ โมง โดยได้นาํ ระบบคอมพิวเตอร์และบาร์โค้ดมาใช้ในการ ลงทะเบียนและตรวจนับคะแนน เพื่อความถูกต้อง รวดเร็ว และเชื่อถือได้ของข้อมูล กําหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตามจํานวนหุ้นที่ ผู้ ถื อ หุ้ น ถื อ อยู่ โดยหนึ่ ง หุ้ น มี สิ ท ธิ เ ท่ า กั บ หนึ่ ง เสี ย ง ทั้ ง นี้ บริษัทฯ มีหุ้นประเภทเดียวคือหุ้นสามัญ ก่อนเริม ่ การประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ บริษท ั ฯ ได้ชแ ี้ จงวิธก ี ารลงคะแนน และนับคะแนนให้ผู้ถือหุ้นในที่ประชุมรับทราบ นํ า บั ต รลงคะแนนมาใช้ ใ นการลงมติ ใ นการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น โดยจั ด ทํ า บั ต รลงคะแนนแยกตามวาระแต่ ล ะวาระ เพื่ อ ให้ ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร ให้สท ิ ธิแก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ ในการลงคะแนน โดยเปิดโอกาสให้ผถ ู้ อ ื หุน ้
รายงานประจําปี 2561
• •
• •
บทที่ 23
ลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ ง กรรมการเป็ น รายบุ ค คลในวาระ การเลือกตั้งกรรมการ มีการแสดงผลสรุปการนับคะแนนเสียงแต่ละวาระให้ผู้ถือหุ้น ในที่ประชุมรับทราบทุกวาระตามลําดับ ดํ า เนิ น การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ตามลํ า ดั บ วาระที่ ไ ด้ แ จ้ ง ไว้ ใ น หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งถู ก ต้ อ งและโปร่ ง ใส ตามข้อกฎหมายและข้อบังคับของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ เชิญตัวแทนทีม ่ ค ี วามเป็นอิสระเข้าร่วมประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ และเป็น พยานตรวจสอบการนับคะแนน ให้สิทธิผู้ถือหุ้นสามารถเข้าร่วมประชุมภายหลังจากเริ่มการ ประชุมไปแล้ว โดยมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ยัง ไม่ได้พิจารณาลงมติได้ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามอย่าง เต็มที่ โดยมีประธานกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการ ชุดย่อยครบทุกชุด กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ผูบ ้ ริหารระดับสูง เลขานุการบริษัท และผู้สอบบัญชี เข้าร่วมประชุมเพื่อตอบ ข้อซักถามของผู้ถือหุ้น
หลังการประชุมผู้ถือหุ้น • • •
•
•
•
นําส่งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายในวัน ประชุม ผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมรับทราบในทันที ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถรั บ ชมบั น ทึ ก ภาพการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ผ่าน Webcast ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ หรือติดต่อขอรับ ในรูปแบบแผ่น VCD ได้ที่สํานักเลขานุการบริษัท ให้ความสําคัญกับคุณภาพของรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น โดยบันทึกสาระสําคัญต่าง ๆ ประกอบด้วย รายชื่อพร้อมตําแหน่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม และกรรมการที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ สิทธิและวิธีการในการออกเสียงลงคะแนน และการใช้ บัตรลงคะแนน คําถามและข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้น และคําชี้แจงของ กรรมการหรือฝ่ายจัดการ มติ ที่ ป ระชุ ม และผลของคะแนนเสี ย งในทุ ก วาระที่ มี การลงคะแนนเสียงอย่างชัดเจน จั ด ทํ า ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้ ง ภ า ษ า ไ ท ย แ ล ะ ภาษาอั ง กฤษเผยแพร่ ท างเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม และนําส่งสําเนารายงานการประชุม ผู้ถือหุ้นให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายในเวลาที่กําหนด แจ้งมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 บนเว็บไซต์ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ในวันที่ 27 เมษายน 2561 ซึ่งเป็นวันเดียวกับการประชุม ภายหลังจากการประชุมเสร็จสิ้น เปิ ด กว้ า งและรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า นการ ตอบแบบสอบถามค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ก า ร จั ด ป ร ะ ชุ ม ผู้ถือหุ้น เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ในการปรั บ ปรุ ง และพัฒนาการจัด ประชุมผู้ถือหุ้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
บริษท ั ฯ ปฏิบต ั ต ิ ามเกณฑ์ภายใต้โครงการประเมินคุณภาพ AGM ซึ่ ง จั ด โดยสมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ ล งทุ น ไทย ร่ ว มกั บ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) และสมาคมบริษัทจดทะเบียน โดยหลักเกณฑ์ท่ีใช้ในการ ประเมิ น คุ ณ ภาพครอบคลุ ม ขั้ น ตอนต่ า ง ๆ ในการจั ด ประชุ ม ผู้ถือหุ้น ตั้งแต่ก่อนวันประชุม วันประชุม และภายหลังวันประชุม
3. การคํานึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Roles of Stakeholders)
บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยโดยยึ ด หลั ก ผลประโยชน์รว ่ มกันอย่างยัง ่ ยืน และมีการกําหนดเป็นนโยบายและ บทบาทต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ไว้ อ ย่ า งชั ด เจนใน “หลั ก การกํ า กั บ ดูแลกิจการ” สรุปรายละเอียดได้ดังนี้
นโยบายและแนวปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ถือหุ้น • สร้างการเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพและมัน ่ คง เพือ ่ ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ได้รบ ั ผลตอบแทนทีย ่ ง ั่ ยืน โดยมีผลประกอบการทีด ่ แี ละมีประสิทธิภาพ • เคารพสิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ในการได้ รั บ ข้ อ มู ล ที่ จํ า เป็ น โดย เท่าเทียมกัน เปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง • ดําเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส เป็นธรรม ซึ่ง รายละเอียดต่าง ๆ ได้กล่าวไว้ในหัวข้อ “สิทธิของผู้ถือหุ้น” และ “การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน” พนักงาน
•
• •
•
กําหนดนโยบายในการดูแลและปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็น ธรรมและเหมาะสม ทั้ ง ในด้ า นผลตอบแทน การแต่ ง ตั้ ง โยกย้าย การพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการควบคุมดูแล สภาพแวดล้ อ มในการทํ า งานให้ มี ค วามปลอดภั ย ต่ อ ชี วิ ต และทรัพย์สินของพนักงาน กําหนดนโยบายด้านการบริหารงานบุคคลทีไ่ ม่มก ี ารแบ่งแยก หรือกีดกัน เน้นความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ตลอดจนให้ ความเคารพในสิทธิมนุษยชนต่อพนักงานทุกระดับเสมอมา ส่งเสริมความรู้พนักงาน จัดอบรมในหัวข้อต่าง ๆ ที่สําคัญ และจําเป็นต่อการทํางาน โดยจัดให้มีการฝึกอบรมในหัวข้อ เกีย ่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทํ า งาน หลั ก สู ต รด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและการอนุ รั ก ษ์ พลังงาน ตลอดจนการฝึกอบรมด้านการกํากับดูแลกิจการ และการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต แก่ พ นั ก งานและพนั ก งานใหม่ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนั้ น ยั ง พั ฒ นาและจั ด หลั ก สู ต ร ความรู้เฉพาะทางในงานของแต่ละสายงาน ทั้งความรู้ด้าน การพั ฒ นาและบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า และความรู้ ที่ จํ า เป็ น ในการปฏิบัติงานของสายงานต่าง ๆ ด้วย เช่น ฝ่ายขาย ฝ่ายการตลาด ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ และฝ่ายพัฒนาธุรกิจ เป็นต้น จัดให้มโี ครงการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาพนักงานทีม ่ ี ความรูแ ้ ละความสามารถที่เหมาะสมสําหรับตําแหน่งงาน
167
•
•
•
•
• •
ในอนาคต อาทิ ตําแหน่งผูจ ้ ด ั การทัว ่ ไปศูนย์การค้า ตําแหน่งงาน แผนกงานระบบ ของศูนย์การค้า ผ่านโครงการบูรณาการ การเรี ย นกั บ การทํ า งานร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดให้มีการประเมินศักยภาพพนักงานทุกระดับ เพื่อค้นหา พนั ก งานที่ มี ศั ก ยภาพสู ง มาพั ฒ นาให้ เ ติ บ โตเป็ น ผู้ บ ริ ห าร ขององค์ ก รในอนาคต รวมถึ ง เพื่ อ ให้ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาได้ วางแผนพัฒ นาพนั ก งานให้ ส อดคล้ อ งกั บ ระดั บ ศักยภาพ เ พื่ อ ใ ห้ มี ความรู้ ความสามารถที่ เ หมาะสมกั บ ระดั บ ตําแหน่งงาน และสร้างความพร้ อ มสํ า หรั บ การเติ บ โตใน ระดับตําแหน่งที่สูงขึ้นต่อไป จัดให้มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปีเพื่อใช้ เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาผลตอบแทน เช่น การปรับ ขึน ้ เงินเดือน การให้โบนัส โดยสัดส่วนของตัวชีว ้ ด ั จะขึน ้ อยู่ กั บ ลักษณะงานและพฤติกรรมที่แสดงออกของพนักงาน แต่ละระดับ กํ า หนดนโยบายค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก ารที่ เ ป็ น ธรรม แก่บุคลากรของบริ ษั ท ฯ ทุ ก ระดั บ โดยกํา หนดโครงสร้าง ค่ า ตอบแทน อาทิ เงิ น เดื อ นและโบนั ส ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความรู้ ค วามสามารถ ผลการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งาน แ ล ะ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ทั้ ง ใ น ร ะ ย ะ สั้ น และระยะยาว เปิดรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงาน และ มี ก ารปฏิ บั ติ ต่ อ พนั ก งานทุ ก ระดั บ ด้ ว ยความเป็ น ธรรม โดยไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ สนั บ สนุ น การ หารื อ และความร่ ว มมื อ ระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ พนั ก งาน หรื อ ตั ว แทนพนั ก งานในการนํ า เสนอข้ อ มู ล แก่ ผู้ มี อํ า นาจ ในการตัดสินใจของบริษัทฯ เกี่ยวกับการปรับปรุงคุณภาพ ชีวิตการทํางานเพื่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน จั ด ให้ มี ก องทุ น สํ า รองเลี้ ย งชี พ ตามความสมั ค รใจของ พนักงาน เพื่อสนับสนุนให้พนักงานมีเงินทุนสํารองในยาม เกษียณหรือลาออก จั ด ให้ มี ส มาคมฌาปนกิ จ สงเคราะห์ ต ามความสมั ค รใจ ของพนั ก งาน เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ครอบครั ว เพื่ อ นพนั ก งาน ในพิธีฌาปนกิจ
ร้านค้าและลูกค้า • สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าเพื่อให้ได้รับบริการที่ดีภายใต้ ความปลอดภั ย ต่ อ สุ ข ภาพ อนามั ย ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ปฏิ บั ติ ต่ อ ลู ก ค้ า อย่ า งเป็ น ธรรมและเหมาะสม โดยมี สํ า นั ก ส่งเสริมและกํากับดูแลมาตรฐาน (สสม.) เป็นผู้ควบคุมดูแล การให้บริการร้านค้าให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทุกสาขา โดย ปรับปรุงนโยบายและกระบวนการทํางานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับร้านค้าอย่างสมํ่าเสมอ • ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และ ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง รวมทั้งให้ความสําคัญกับการจัดทํา สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ต่ า ง ๆ ของบริ ษั ท ฯ โดยจะไม่ นํ า ภาพ หรือเนื้อหาที่ก่อให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดี การแบ่งแยกในสังคม
168
•
•
•
คู่ค้า
• •
• •
•
หรือค่านิยมที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องเพศและศีลธรรม มาใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของบริษัทฯ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ที่ ทํ า ห น้ า ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล การให้บริการของเจ้าหน้าที่เป็นประจํา โดยเจ้าหน้าที่ร้านค้า สัมพันธ์จะเดินเยี่ยมร้านค้าเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย รับฟังปัญหาและข้อร้องเรียนต่าง ๆ จากร้านค้าในแต่ละวัน รวมทั้ ง จั ด ให้ มี เ จ้ า หน้ า ที่ ลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ เ ดิ น ตามจุ ด ต่ า ง ๆ ภายในศู น ย์ ก ารค้ า เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถสอบถาม หรือแนะนําผู้ใช้บริการได้ทันที ประชุ ม ร่ ว มกั บ ร้ า นค้ า เพื่ อ สื่ อ สารแผนการดํ า เนิ น งานที่ สํ า คั ญ อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง และเมื่ อ บริ ษั ท ฯ จะเปิ ด ศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ห รื อ ศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ป รั บ ปรุ ง จะมี ก าร ประชุ ม ร่ ว มกั บ ร้ า นค้ า เพื่ อ รั บ ทราบนโยบายแนวปฏิ บั ติ ต่าง ๆ และวางแผนการตลาดร่วมกัน ตลอดจนเปิดโอกาส ให้ ผู้ เ ช่ า ได้ แ สดงความคิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ า ง ๆ เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า ให้ ดี ขึ้ น อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง สํ า หรั บ ศู น ย์ ก ารค้ า ที่ เ ปิ ด ดํ า เนิ น การแล้ ว จะ มีการจัดประชุมร้านค้าไตรมาสละ 1 ครั้ง สํารวจความพึงพอใจด้านการบริการร้านค้าและลูกค้าอย่าง ต่อเนือ ่ งทุกปี เพือ ่ ทราบความต้องการของร้านค้าและลูกค้า อย่ า งแท้ จ ริ ง และนํ า มาปรั บ ปรุ ง เพื่ อ การให้ บ ริ ก ารที่ เป็นเลิศของบริษัทฯ ป ฏิ บั ติ กั บ คู่ ค้ า ด้ ว ย ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค แ ล ะ คํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ร่วมกัน พั ฒ นาและรั ก ษาสั ม พั น ธภาพที่ ยั่ ง ยื น กั บ คู่ ค้ า และสร้ า ง ความเชื่อถือซึ่งกันและกัน โดยบริษัทฯ ยึดถือปฏิบัติตาม ระเบี ย บการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งซึ่ ง มี ก ารกํ า หนดขั้ น ตอนและ วิธีปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน ส ร้ า ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั น ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่งแวดล้อม กํ า หนดขั้ น ตอนและเกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ กคู่ ค้ า อย่ า งชั ด เจน ไว้ ใ นระเบี ย บการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ตามระเบี ย บการพั ฒ นา โครงการและบริหารงานก่อสร้าง อาทิ การจัดซื้อจัดจ้าง โ ด ย ก า ร คั ด เ ลื อ ก คู่ ค้ า ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ส อ บ ร า ค า ห รื อ ก า ร ป ร ะ ก ว ด ร า ค า ห รื อ ก า ร จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ด้ ว ย วิ ธี การประมูลออนไลน์ (E-Auction) ตามระเบียบการจัดซื้อ จัดจ้างของหน่วยงานจัดซื้อกลาง (Pool Procurement) ของบริษัทฯ เป็นต้น โดยวิธีการจัดซื้อจัดจ้างจะดําเนินการ อ ย่ า ง โ ป ร่ ง ใ ส ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ น โ ย บ า ย ต่ อ ต้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ค อ ร์ รั ป ชั น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ โ ด ย จ ะ ต้ อ ง ผ่ า น ก า ร คั ด ก ร อ ง คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ ที่ จ ะ เ ข้ า ม า เ ป็ น คู่ ค้ า โ ด ยการประเมิน Pre-Qualification จัดงานประชุมคู่ค้า (Partner Engagement Meeting) เ พื่ อ พ บ ป ะ แ ล ะ สื่ อ ส า ร แ ผ น ก ล ยุ ท ธ์ แ ล ะ ทิ ศ ท า ง ก า ร ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้คู่ค้ารับทราบและดําเนินธุรกิจ ที่สอดคล้องและเติบโตทางธุรกิจไปด้วยกันอย่างยั่งยืน
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
เจ้าหนี้ • ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด บริหารเงิน กู้ยืมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้เงิน ไม่นําเงินไปใช้ ในทางที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ ควบคุมให้ มี ก ารชํ า ระคื น เงิ น กู้ แ ละดอกเบี้ ย ให้ กั บ เจ้ า หนี้ เ งิ น กู้ ยื ม ทุกประเภทอย่างครบถ้วนตามกําหนดเวลา และปฏิบัติตาม เงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อตกลงอย่างครบถ้วน รวมถึง ก า ร บ ริ ห า ร ง า น เ พื่ อ ใ ห้ เ จ้ า ห นี้ มั่ น ใ จ ใ น ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น และความสามารถในการชําระหนี้ที่ดีของบริษัทฯ • บริษัทฯ สามารถดํารงอัตราส่วนทางการเงินได้ตามที่ระบุ ในสัญญาเงินกู้ และ/หรือข้อกําหนดสิทธิ มีการรายงานผล การปฏิบัติตามเงื่อนไขให้กับเจ้าหนี้รับทราบอย่างต่อเนื่อง เป็ น ปกติ โดยบริ ษั ท ฯ ไม่ เ คยมี ป ระวั ติ ผิ ด นั ด ชํ า ระหนี้ แ ละ ดอกเบี้ยต่อเจ้าหนี้ ไม่เคยมีเหตุการณ์ที่ทาํ ให้เจ้าหนี้กังวลใจ เรื่องความสามารถในการชําระหนี้ของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทย่อยตามโครงสร้างการ ถือหุ้นเท่านั้น มิได้ให้การช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทที่ ไม่มีความเกี่ยวข้อง คู่แข่งทางการค้า ดําเนินธุรกิจภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่เป็นธรรม ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วย วิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม และไม่กระทําการใด ๆ ที่ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่นหรือคู่แข่งทางการค้า มุง ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลีย ่ นข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ กั บ ธุ ร กิ จ ด้ า นพั ฒ นาและบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า ในภาพรวม เพื่อสร้า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ธุ ร กิ จ และมี ส่ วนช่วยพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และประเทศชาติให้ยั่งยืน • การจัดตั้งสมาคมศูนย์การค้าไทยเป็นหนึ่งในความร่วมมือ ระหว่างบริษัทฯ และบริษัทที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวทางการ ดําเนินธุรกิจทีเ่ ป็นประโยชน์รว ่ มกัน ซึง ่ บริษท ั ฯ เป็นสมาชิกและ ร่วมเป็นกรรมการของสมาคม ตั้งแต่ปี 2541 โดยบริษัทฯ ชํ า ระค่ า สมาชิ ก ให้ แ ก่ ส มาคมศู น ย์ ก ารค้ า ไทยจํ า นวน 50,000 บาทต่อปี • เผยแพร่ข้อมูลของสมาคมฯ ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่ น การแถลงข่ า วและการให้ สั ม ภาษณ์ ต่ อ สื่ อ มวลชน การจั ด ทํ า เอกสารเผยแพร่ ตลอดจนการจั ด สั ม มนาของ สมาคมฯ เป็นต้น เพือ ่ ให้ความรูแ้ ละข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เกีย ่ วกับ ธุ ร กิ จ ศู น ย์ ก ารค้ า ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ละทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ต่ อ สาธารณชน • จั ด ตั้ ง คณะทํ า งานชุ ด ย่ อ ยเพื่ อ ติ ด ตามและให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ กฎหมายที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ศูนย์การค้าและธุรกิจค้าปลีกตั้งแต่ปี 2558 • ดําเนินมาตรการด้านความปลอดภัย เช่น การสร้างความ ร่ ว มมื อ เพื่อเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤต และการเชิญ วิ ท ยากรผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ม าให้ ค วามรู้ ด้ า นการรั ก ษาความ ปลอดภัยในศูนย์การค้า เป็นต้น
•
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
•
•
•
ผลักดันมาตรการส่งเสริมทางการค้าเพื่อกระตุ้นการใช้จ่าย ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว และการสนั บ สนุ น การซื้ อ สิ น ค้ า ภายใน ประเทศของคนไทย โดยมีการประชุมหารือร่วมกับภาครัฐ เช่น กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา กระทรวงการคลัง กระทรวง พาณิชย์ เป็นต้น รวมถึงภาคประชาสังคม และสมาคมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เข้ า ร่ ว มเป็ น คณะทํ า งานในโครงการต่ า ง ๆ เพื่ อ ผลั ก ดั น และส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ในระดั บ มหภาค และเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจศูนย์การค้า ภายใต้ แนวร่ ว มสานพลั ง ประชารั ฐ เช่ น คณะทํ า งานด้ า นการ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วและอุ ต สาหกรรมการจั ด ประชุ ม และงานแสดงสิ น ค้ า นานาชาติ (Meetings, Incentive Travels, Conventions and Exhibitions - MICE) ของ โครงการ Amazing Thai Taste และโครงการจั ด ทํ า มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาบริหารทรัพย์สิน ระยะที่ 2 เป็นต้น ทั้ ง นี้ ในปี 2561 สมาคมศู น ย์ ก ารค้ า ไทย ร่ ว มกั บ สมาคม ค้ า ปลี ก ไทย และสมาคมการค้ า ร้ า นค้ า ปลอดอากรไทย ผลักดันมาตรการเพิ่มจํานวนจุดคืนภาษีมูลค่าเพิ่มในเมือง หรือ Downtown VAT Refund for Tourist จนสําเร็จ โดยรั ฐ บาลอนุ มั ติ ใ ห้ ท ดลองตั้ ง จุ ด คื น ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ดังกล่าวได้ทั้งสิ้น 8 แห่ง โดยแบ่งออกเป็นร้านสะดวกซื้อ 3 แห่ง และศูนย์การค้า 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศู น ย์ ก ารค้ า ดิ เ อ็ ม โพเรี ย ม ศู น ย์ ก ารค้ า สยามพารากอน ห้ า งสรรพสิ น ค้ า เซ็ น ทรั ล ชิ ด ลม แ ล ะ ห้ า ง ส ร ร พ สิ น ค้ า โรบิ น สั น สุ ขุ ม วิ ท โดยเริ่ ม ทดลองในกรุงเทพฯ เป็นเวลา 6 เดือน มาตรการดังกล่าวเป็นหนึ่งในหกมาตรการที่ CPN แ ล ะ ส ม า ชิ ก ส ม า ค ม ศู น ย์ ก า ร ค้ า ไ ท ย ร่ ว ม กั น ผ ลั ก ดั น ผ่ า นกระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า กระทรวงพาณิ ช ย์ กระทรวงการคลัง และสํานักนายกรัฐมนตรีต้ังแต่ปี 2558 เพื่ อ สนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งมี คุ ณ ภาพให้ เกิดขึ้น ในประเทศไทย โดยตั้งเป้าหมายให้ประเทศไทยเป็นจุดหมาย ปลายทางของการจับจ่ายใช้สอยหรือ Shopping Destination
สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม • ปฏิบัติตามกฎหมาย และ/หรือ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และ พยายามยกระดับการปฏิบัติให้มีมาตรฐานสูงกว่ากฎหมาย กําหนด เช่น คิดค้นหรือนํานวัตกรรมอาคารอนุรก ั ษ์พลังงาน มาปรับใช้กับศูนย์การค้าและอาคารสํานักงาน ตลอดจนดูแล ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ก ารดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสียหายต่อคุณภาพชีวิตของสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ส่ ง เสริ ม และสร้ า งสรรค์ สั ง คม ทั้ ง ในส่ ว นของการพั ฒ นา คุ ณ ภาพชี วิ ต การส่ ง เสริ ม ด้ า นการศึ ก ษา การประหยั ด พลังงาน และการรักษาสิ่งแวดล้อม • ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การสื่ อ สารและเผยแพร่ ค วามรู้ ด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มไปสู่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ร่ ว มเป็ น เครือข่ายในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและถ่ายทอดความรู้ รวมทั้งประสบการณ์ไปยังทุกภาคส่วนของสังคม
169
ภาครัฐ • ให้ความร่วมมือและสนับสนุนนโยบายภาครัฐเพื่อประโยชน์ ของประเทศ ภายใต้ ก ฎหมายและหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตลอดจนมุง ่ มัน ่ ดําเนินโครงการทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ สาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นนโยบายที่ได้รับมอบหมายจากภาครัฐหรือเป็น โครงการทีบ ่ ริษท ั ฯ ริเริม ่ ขึน ้ เอง • ให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการร่วมต่อต้านการทุจริต
การพัฒนาโครงการจนกระทั่งพัฒนาโครงการแล้วเสร็จ และ ติดตามการปรับปรุงกฎหมายทีอ ่ าจกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ อย่างสมํ่ าเสมอ อาทิ กฎหมายผังเมือง เพื่อไม่ให้การ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ในบริ เ วณดั ง กล่ า วส่ ง ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิจ สังคม และสิง ่ แวดล้อมในพืน ้ ทีน ่ น ั้ ๆ นอกจากนี้ บริษท ั ฯ ยังให้ความสําคัญกับการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายในประเทศทีเ่ ข้าไปลงทุน เพือ ่ ให้การลงทุนของบริษัทฯ เป็นไปอย่างถูกต้องและโปร่งใส
องค์กรอิสระและองค์กรอื่น ๆ ในสังคม • ยกระดับความร่วมมือและแลกเปลีย่ นข้อมูลกับองค์กรอิสระและ องค์กรอืน ่ ๆ ในสังคม เพือ ่ ร่วมกันพัฒนาสังคมและประเทศไทย ให้เติบโตอย่างยั่งยืน โดยคํานึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
บริ ษั ท ฯ สนั บ สนุ น และเคารพการปกป้ อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ดู แ ล มิให้ธรุ กิจของบริษท ั ฯ เข้าไปมีสว ่ นเกีย ่ วข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิ มนุ ษ ยชน เช่ น ไม่ ส นั บ สนุ น การบั ง คั บ ใช้ แ รงงาน การปฏิ บั ติ ต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก ให้ความ เคารพนั บ ถื อ และปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยด้ ว ยความ เป็นธรรมบนพื้นฐานของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่แบ่งแยกถิน ่ กําเนิด เชือ ้ ชาติ เพศ อายุ สีผว ิ ศาสนา สภาพร่างกาย ฐานะ ชาติตระกูล ตลอดจนส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังการปฏิบัติ ตามข้อกําหนดด้านสิทธิมนุษยชนภายในบริษัทฯ และส่งเสริมให้ บริษัทย่อย ผู้ร่วมทุน คู่ค้า และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายปฏิบัติตาม หลักการสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากล คุ้มครองสิทธิของ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทีไ่ ด้รบ ั ความเสียหายจากการละเมิดสิทธิอน ั เกิดจาก การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ โดยพิ จ ารณาชดเชยค่ า เสี ย หาย ให้ไม่ตาํ่ กว่าอัตราทีก ่ ฎหมายกําหนด เป็นต้น
นโยบายและแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง ่ แวดล้อม บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ พนักงานและผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียต่าง ๆ จึงกําหนดเป็นนโยบายและแนว ปฏิบัติไว้ โดยกําหนดให้มีการวางแผน จัดให้มีระบบรักษาความ ปลอดภัยและระบบเตือนภัยทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพในปริมาณทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมภายในสํานักงานและสถานประกอบการ เพือ ่ ป้องกัน และควบคุ ม ความเสี่ ย งที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความสู ญ เสี ย อั น เนื่ อ ง มาจากอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่วยจากการปฏิบัติ งาน ทรั พ ย์ สิ น สู ญ หายหรื อ เสี ย หาย การปฏิ บั ติ ง านไม่ ถู ก วิ ธี และความผิดพลาดอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น
นโยบายและแนวปฏิบต ั ด ิ า้ นทรัพย์สน ิ ทางปัญญา บริษัทฯ กําหนดนโยบายด้านทรัพย์สินทางปัญญา และดําเนิน ธุรกิจโดยส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ภายใต้กฎหมายหรือ ข้อกําหนดที่เกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ไม่ว่าจะเป็น เครื่องหมายการค้า สิทธิบต ั ร ลิขสิทธิ์ ความลับทางการค้า และ ทรัพย์สินทางปัญญาด้านอื่นที่ก ฎหมายกําหนด โดยกํากับให้มี การปฏิบัติอย่างเคร่งครัด อาทิ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทม ี่ ี ลิขสิทธิถ ์ ก ู ต้อง โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทก ุ ชนิดจะต้องผ่านการ ตรวจสอบและลงโปรแกรมโดยฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น การส่งเสริมให้พนักงานตรวจสอบผลงานหรือข้อมูลที่ใช้ในการ ปฏิบต ั ง ิ านว่าไม่เป็นการละเมิดทรัพย์สน ิ ทางปัญญาของผูอ ้ น ื่
นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการต่อต้านการทุจริต และทุจริตคอร์รป ั ชัน บริษท ั ฯ ได้ผา่ นกระบวนการรับรองและเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบต ั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2558 ซึง ่ เป็นความร่วมมือระหว่างองค์กรภาคธุรกิจ 8 แห่ง ประกอบด้วย หอการค้าไทย หอการค้าร่วมต่างประเทศใน ประเทศไทย สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุ ร กิ จ ตลาดทุ น ไทย สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (“IOD”) ซึ่งทําหน้าที่เป็นเลขานุการ บริษท ั ฯ ได้รบ ั การต่ออายุการรับรองเมือ ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561 โดยมีนายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการตรวจสอบ เป็นตัวแทน ของบริษัทฯ ในการรับมอบประกาศนียบัตร
นโยบายและแนวปฏิบต ั ิ ด้านการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน
บริษท ั ฯ ได้ดาํ เนินการในด้านต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชันอย่างต่อเนื่องดังนี้
การเคารพและปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายเป็นพืน ้ ฐานสําคัญในการดําเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง รวมถึ ง กฎหมายภายในประเทศและต่ า ง ประเทศ ตลอดจนขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี และวั ฒ นธรรม ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดําเนินงาน โดยมุง ่ ยกระดับมาตรฐานการปฏิบต ั ิ ให้สง ู กว่าข้อกําหนดตามกฎหมาย เช่น การศึกษาและปฏิบต ั ต ิ าม กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งในช่ ว งระหว่ า งศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ น
การอบรมและการสื่อสาร • การให้ความรูค้ วามเข้าใจแก่พนักงานอย่างต่อเนือ ่ งเกีย ่ วกับ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน ดังนี้ การจัดอบรมในหัวข้อ “Ethics in Workplace” ในรูปแบบ การบรรยายโดยวิทยากร การระดมความคิดผ่านกรณี ศึ ก ษา และกิ จ กรรมบอร์ ด เกมส์ ซึ่ ง เป็ น หลั ก สู ต รที่
170
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
-
ในการพัฒนาแนวทางการส่งเสริมและการดําเนินงาน ด้านการกํากับดูแลกิจการ การประเมินผลพฤติกรรม (Behavior Assessment) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการวั ด ระดั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้วยการยึดมัน ่ ในหลักจรรยาบรรณ ซึง ่ ถือเป็นส่วนหนึง ่ ของค่านิยมองค์กร
การขยายความร่วมมือไปยังคู่ค้าของบริษัทฯ • การสื่อสารมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันไปยังคู่ค้า ในงานประชุมคูค ่ า้ (Partner Engagement Meeting) และ เชิญชวนให้คู่ค้าเข้าร่วมโครงการ CAC โดยบริษัทฯ ได้รับ เกี ย รติ จ ากวิ ท ยากรผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ ห้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การผลักดันสังคมไร้เงินสด และการป้องกันการทุจริตคอร์รป ั ชัน เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ ผู้ ป ระกอบการทุ ก รายดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่างโปร่งใสและสามารถเติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกัน ทัง ้ นี้ รายละเอียดนโยบายทีเ่ กีย ่ วข้องเปิดเผยไว้ในจรรยาบรรณและ หลักการกํากับดูแลกิจการ มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ของบริษท ั ฯ รวมทัง ้ จรรยาบรรณและแนวทางการปฏิบต ั ข ิ องคูค ่ า้
•
•
•
จั ด อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ประจํ า ทุ ก ปี โดยในปี 2561 มีพนักงานผ่านการอบรมจํานวน 85 คน การจั ด ให้ มี ก ารอบรมผ่ า นบทเรี ย น E-Learning หลักสูตร “CPN Code of Conduct” ให้สอดคล้อง กับจรรยาบรรณและหลักการกํากับดูแลกิจการ และ มาตรการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั นของบริษัทฯ การจั ด อบรมปฐมนิ เ ทศเพื่ อ ให้ ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ แก่พนักงานใหม่ การรณรงค์ค่านิยมองค์กร “ซื่อสัตย์ มีนํ้าใจ” โดยสื่อสาร แนวปฏิบัติที่ดีจากผู้บริหารระดับสูงเพื่อปลูกฝังวัฒนธรรม องค์กรในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ว ้ ยความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริตและมีนาํ้ ใจ ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น อีเมล การจัดกิจกรรม ป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่าง ๆ เป็นต้น การสื่อสารนโยบายที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เช่น นโยบาย งดรับของขวัญ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ อีเมล เว็บไซต์ บริษท ั ฯ ป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่าง ๆ วารสาร ADMIRED รายการ CPN TV ซึง ่ เป็นรายการโทรทัศน์ภายในสํานักงานใหญ่ เป็นต้น เพื่ อ สื่ อ สารถึ ง ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุกคนอย่าง ทั่วถึง ตลอดจนส่งจดหมายแจ้งไปยังลูกค้าและคู่ค้าของ บริษัทฯ ทุกรายให้รับทราบและถือปฏิบัติด้วย การจั ด ทํ า แบบประเมิ น ตนเองด้ า นการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ สําหรับผูบ ้ ริหารและพนักงานผ่านระบบออนไลน์ เพือ ่ ประเมิน ความรูค ้ วามเข้าใจ และระดับการปฏิบต ั ต ิ ามของผูบ ้ ริหารและ พนักงาน ดังนี้ การประเมินตนเองตามหลักบรรษัทภิบาล (CG Individual Assessment) โดยมีวต ั ถุประสงค์ในการวัดระดับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณและ หลักการกํากับดูแลกิจการ เพื่อนําผลการประเมินมาใช้
การแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ที่มีข้อสงสัยหรือ ข้อร้องเรียน สามารถติดต่อมาตามช่องทางดังนี้ • กรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ มีข้อสงสัย หรือพบเห็นการ กระทํ า ที่ ส งสั ย ว่ า มี ก ารฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรือจรรยาบรรณทางธุรกิจ และการทุจริต ต่ อ หน้ า ที่ สามารถสอบถาม แจ้ ง เบาะแส หรื อ ร้ อ งเรี ย น พร้อมส่งรายละเอียดหลักฐานต่าง ๆ ถึงบุคคลหรือหน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะดํ า เนิ น การ สื บ หาข้ อ เท็ จ จริ ง และมี ก ารรายงานสรุ ป ประเด็ น สํ า คั ญ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท กรรมการอิ ส ระ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง พร้ อ มพิ จ ารณาบทลงโทษในกรณี ที่ มี ความผิดจริงโดยเป็นไปตามกฎระเบียบของบริษท ั ฯ ทีก ่ าํ หนดไว้ สําหรับช่องทางในการติดต่อมีรายละเอียดดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ชั้น 30 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2667-5555 ต่อ 1200 อีเมล: whistleblower@cpn.co.th
•
กรณีผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสียกลุม ่ ต่าง ๆ มีขอ ้ สงสัย หรือต้องการร้องเรียน เกีย ่ วกับประเด็นด้านการปฏิบต ั ง ิ าน สามารถติดต่อสอบถาม หรือร้องเรียนมายังฝ่ายจัดการตามช่องทางในการติดต่อดังนี้
171
กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ชั้น 33 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย อีเมล: CEO@cpn.co.th สํ า หรั บ ผู้ ท่ี แ จ้ ง เบาะแสหรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นที่ เ ป็ น พนั ก งาน ลู ก ค้ า หรือบุคคลทีร่ บ ั จ้างทํางานให้แก่บริษท ั ฯ จะได้รบ ั การคุม ้ ครองสิทธิ โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง ต้องเก็บข้อมูลทีเ่ กีย ่ วข้องเป็นความลับ จะเปิดเผยเท่าทีจ ่ าํ เป็น โดย คํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย และความเสี ย หายของผู้ แ จ้ ง เบาะแส ผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง ทั้งนี้ กระบวนการแจ้งเบาะแส กระบวนการในการจัดการข้อร้อง เรียน การคุ้มครองสิทธิพนักงาน ลูกจ้าง หรือบุคคลอื่นที่รับจ้าง ทํางานให้แก่บริษท ั ฯ เปิดเผยไว้ในจรรยาบรรณและหลักการกํากับ ดูแลกิจการของบริษท ั ฯ และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency)
บริษท ั ฯ ยึดมัน ่ ในหลักการเปิดเผยข้อมูลทีม ่ ค ี วามถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทั่วถึง และทันเวลา ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ ทางการเงิ น เพื่ อ ให้ นั ก ลงทุ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยทั้ ง ใน ประเทศและต่ า งประเทศมี ข้ อ มู ล ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ แ ละเพี ย งพอต่ อ การตั ด สิ น ใจอย่ า งสมํ่ า เสมอ ผ่ า นระบบ SET Portal ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้บุคคลทุกกลุ่ม เข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน และในกรณีที่อยู่ในช่วงเวลาที่ ยั ง ไม่ ส ามารถเปิ ด เผยข้ อ มู ล ได้ บริ ษั ท ฯ มี แ นวทางในการดู แ ล รักษาข้อมูลภายในให้จํากัดเฉพาะบุคคลที่จําเป็น
ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจตามหลักการกํากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านของส่ ว นงานนั ก ลงทุ น สัมพันธ์เป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และสอดคล้องกับ กฎหมาย ข้อกําหนดของทางการและระเบียบปฏิบัติของบริษัทฯ และได้กําหนดจรรยาบรรณนักลงทุนสัมพันธ์ขึ้น เพื่อให้ผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องกับงานนักลงทุนสัมพันธ์ใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์เป็นศูนย์กลางและตัวแทนในการเปิด เผยข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ ข้อมูลทางการเงิน รวมถึงเสริมสร้างและบริหารความสัมพันธ์ อันดีต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บุคคลทั่วไป และผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในและต่างประเทศอย่างเท่าเทียม ถูกต้อง ครบถ้วน สมํา่ เสมอ และทันเวลา และเป็นไปตามทีต ่ ลาดหลักทรัพย์ฯ
172
กํ า หนด นอกจากนี้ ส่ ว นงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ไ ด้ ทํ า แบบ สํ า รวจความพึ ง พอใจของผู้ ถื อ หุ้ น สถาบั น ผู้ ถื อ หุ้ น บุ ค คล นักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ที่มีต่อการดําเนินงานของ ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์เป็นประจําทุกปี เพื่อนําข้อมูลที่ได้มา วิ เ คราะห์ พั ฒ นา และปรั บ ปรุ ง นโยบาย การปฏิ บั ติ ง าน และ กิจกรรมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อให้ เป็นมาตรฐานสากล ส่ ว นงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ร ายงานตรงต่ อ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห า ร ก า ร เ งิ น แ ล ะ ทํ า ง า น ใ ก ล้ ชิ ด กั บ ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง เพื่ อ กํ า หนดนโยบายและแผนงานประจํ า ไตรมาสและประจํ า ปี รวมถึงวางแนวทางในการปฏิบัติงานและพัฒนางานนักลงทุน สั ม พั น ธ์ ใ ห้ เ ท่ า เที ย มกั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นชั้ น นํ า ระดั บ ภู มิ ภ าค โดยมีการรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อคิดเห็นจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ต่อคณะกรรมการบริษัท ปีละ 2 ครั้ง บริ ษั ท ฯ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ สํ า คั ญ ทั้ ง ภาษาไทยและภาษา อั ง กฤษ และเป็ น ประโยชน์ ใ นการประกอบการตั ด สิ น ใจลงทุ น ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และนั ก ลงทุ น โดยเผยแพร่ ผ่ า นช่ อ งทางต่ า ง ๆ เช่น เปิดเผยสารสนเทศผ่านตลาดหลักทรัพย์ฯ สํานักงาน ก.ล.ต. หนั ง สื อ พิ ม พ์ และข่าวประชาสัมพันธ์ เป็ น ต้ น และเผยแพร่ ไ ว้ บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ภ า ย ใ ต้ หั ว ข้ อ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ (http://www.cpn.co.th/investor_th.aspx) และมีการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสมํา่ เสมอ ข้ อ มู ล ที่ เ ปิ ด เผยบนเว็ บ ไซต์ อาทิ แบบแสดงรายงานประจํ า ปี (แบบ 56-1) รายงานประจําปี (แบบ 56-2) รายงานทางการเงิน การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ายจัดการ (Management Discussion & Analysis) ผลการดํ า เนิ น งานย้ อ นหลั ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และข้ อ มู ล โครงการปัจจุบันและโครงการใหม่ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ข่ า วสาร แจ้ ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ปฏิ ทิ น ทางการเงิ น สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น (IR’s Events and Calendar) เอกสารข่าวแจ้งสื่อมวลชน (Press Release) รวมถึงเอกสารนําเสนอ (IR Presentation) ที่ ใ ช้ ใ นการพบปะนั ก ลงทุ น ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ เป็ น ต้ น ในปี 2561 มี ผู้ เ ข้ า เว็ บ ไซต์ ก ว่ า 237,817 ครั้ ง และมี ผู้ ส นใจ ลงทะเบี ย นรั บ ข่ า วสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จ ากส่ ว นงานนั ก ลงทุ น สัมพันธ์ ณ สิ้นปี 2561 จํานวน 4,151 คน นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดช่ ว งเวลางดติ ด ต่ อ สื่ อ สาร กั บ นั ก วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ นั ก ล ง ทุ น เ พื่ อ ใ ห้ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ผลประกอบการของบริ ษั ท ฯ รายไตรมาส (Silent Period) เป็นเวลา 14 วันก่อนวันประกาศผลการดําเนินงานรายไตรมาส และรายปี ข องบริ ษั ท ฯ ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เพื่ อ หลี ก เลี่ ย ง การให้ ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ราคา หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ได้
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการสร้างความ สัมพันธ์อันดีกับผู้ลงทุน โดยได้จัดสรรเวลาเข้าร่วมกิจกรรมด้าน นักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อแถลงนโยบายและทิศทางการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ รวมถึงพบนักลงทุนอย่างสมํ่าเสมอทั้งในประเทศ และต่ า งประเทศ เช่ น งานประชุ ม นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ นั ก ลงทุ น สถาบั น (Analyst Meeting) งานประชุ ม ร่ ว มกั บ นักลงทุน งานประกาศผลประกอบการประจําไตรมาส รวมถึง การเดินทางไปพบนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นต้น ซึ่ ง ในปี 2561 มี ผู้ ส นใจเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม Opportunity Day เฉลีย ่ 20-30 คนต่อไตรมาส โดยมีการถ่ายถอดสดผ่านทางเว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรั พ ย์ ฯ (Opportunity Day Webcast Live) และ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ ช ม ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ ส า ม า ร ถ ส่ ง คํ า ถ า ม และผู้ บ ริ ห ารสามารถตอบข้ อ ซั ก ถามได้ ใ นช่ ว งถาม-ตอบ ทัง ้ นี้ เอกสารและวีดท ิ ศ ั น์ของงานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาส จะเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ในส่วนนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อให้ นักลงทุนสามารถดูขอ ้ มูลย้อนหลังได้อย่างทัว ่ ถึง และในปี 2561 บริษัทฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรม SET Digital Roadshow เป็นปีแรก ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ จั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ช่ อ งทาง ให้บริษัทจดทะเบียนของไทยเข้าถึงนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้จัดกิจกรรมพานักวิเคราะห์หลักทรัพย์ จํ า นวน 21 คนไปชมการบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า โรงแรม และ คอนโดมิเนียม ที่อยู่ภายใต้การบริหารงานของบริษัทฯ ด้วย ในรอบปี 2561 บริษัทฯ ดําเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์หลาย รู ป แบบเป็ น ประจํ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และ ส่ ว นงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ไ ด้ พ บและให้ ข้ อ มู ล แก่ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในโอกาสต่าง ๆ ดังนี้
173
รูปแบบการเข้าพบ
จํานวนครั้ง
จํานวนบริษัท
จํานวนราย
1. การพบให้ข้อมูลแบบตัวต่อตัว (One-on-One Meeting)
64
77
146
2. การประชุมทางโทรศัพท์ (Conference Call)
10
10
14
3. งานประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และนักลงทุนสถาบัน (Analyst Meeting) - โดยกรรมการผู้จัดการใหญ่ (CEO Forum) 1 ครั้ง - โดยผู้บริหารระดับสูง 4 ครั้ง
5
62
227
4. บริษัทจดทะเบียนพบนักลงทุน (Opportunity Day) เพื่อสื่อสารกับนักลงทุน นักวิเคราะห์ และสื่อมวลชน
5
-
80
5. การเข้าร่วมประชุมนักลงทุน (Investor Conference)
8
131
237
6. การเดินทางไปพบปะผู้ถือหุ้นและนักลงทุน (Non-Deal Roadshow)
11
101
172
7. การเยี่ยมชมกิจการตามที่นัดหมาย (Site Visit Request)
17
31
89
8. กิจกรรมเยี่ยมชมกิจการสําหรับนักวิเคราะห์ (Site Visit)
1
21
21
121
433
986
รวม
ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่สนใจสามารถติดต่อส่วนงาน นักลงทุนสัมพันธ์เพือ ่ สอบถามข้อมูลของบริษท ั ฯ โดยส่งจดหมาย หรือติดต่อด้วยตนเองได้โดยตรงตามช่องทาง ดังนี้ ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ชั้น 31 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2667-5555 ต่อ 1614 1632 และ 1689 อีเมล: ir@cpn.co.th
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยบุคคลผูม ้ ค ี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ อั น เป็ น ประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ มีกรรมการอิสระ 4 คน ซึง ่ เป็นผูห ้ ญิง 1 คน จากกรรมการทัง ้ หมด 11 คน คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นกรรมการอิ ส ระจํ า นวน 1 ใน 3 ของ คณะกรรมการทัง ้ หมด ตามหลักเกณฑ์ของสํานักงาน ก.ล.ต. โดย กรรมการอิสระทุกท่านมีคณ ุ สมบัตค ิ วามเป็นอิสระครบถ้วนตามที่ บริษัทฯ กําหนด สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลเป็นประโยชน์ตอ ่ บริษท ั ฯ อย่างเต็มที่ ทัง ้ นี้ เพือ ่ ให้การกํากับดูแลองค์กรเป็นไปอย่างทัว ่ ถึงในทุกมิตแ ิ ละ สอดคล้องตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ จัดให้มี
174
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการ จัดการ ตลอดจนเลขานุการบริษท ั ซึง ่ มีบทบาทหน้าทีส ่ นับสนุนการ ปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท รายละเอียดปรากฏอยู่ใน หัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”
ความหลากหลายในโครงสร้างของ คณะกรรมการบริษัท บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ ข องความหลากหลายของ คณะกรรมการบริษท ั จึงกําหนดนโยบายเกีย ่ วกับความหลากหลาย ในโครงสร้างของคณะกรรมการไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหา และกํ า หนดค่ า ตอบแทน รวมทั้ ง ในจรรยาบรรณและหลั ก การ กํากับดูแลกิจการ โดยคณะกรรมการบริษท ั สนับสนุนให้โครงสร้าง คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถที่ ห ลากหลาย มี ป ระสบการณ์ ความรู้ ค วาม เชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินธุรกิจ ยึดมั่นในคุณธรรม และความซื่อสัตย์ โดยไม่จํากัดเพศ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ ทักษะ ทางวิชาชีพ หรือคุณสมบัติเฉพาะด้านอื่น ๆ
หน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษท ั คณะกรรมการบริษท ั ตระหนักถึงบทบาทในฐานะผูน ้ าํ องค์กรทีต ่ อ ้ ง กํากับดูแลให้องค์กรมีการบริหารจัดการทีด ่ ี โดยมีความรับผิดชอบ ในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับ ของบริษท ั ฯ ตลอดจนมติคณะกรรมการ และมติทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) ความระมัดระวัง (Duty of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และ มีจริยธรรม (Ethic) โดยคํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นในการกําหนด วิสย ั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายทางธุรกิจในระยะยาว และแผนกลยุทธ์ ของบริษท ั ฯ ให้เป็นไปเพือ ่ ความยัง ่ ยืน ตามทีฝ ่ า่ ยจัดการศึกษาและ นําทิศทางทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั ชีแ ้ นะมาจัดทําแผนงาน โดยมีการ ทบทวนเป็นประจําทุกปี เพือ ่ ปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ในการดําเนินธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งนโยบายต่าง ๆ อาทิ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ จรรยาบรรณสําหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เป็นต้น โดยมี ก ารติ ด ตามและกํ า กั บ ดู แ ลให้ ฝ่ า ยจั ด การนํ า กลยุ ท ธ์ แ ละ นโยบายที่สําคัญของบริษัทฯ ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ตลอดจน เสริมสร้างความมีประสิทธิผลของคณะกรรมการและผู้บริหาร ระดั บ สู ง เพื่ อ ช่ ว ยขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รไปสู่ เ ป้ า หมายที่ กํ า หนดไว้ ส่งเสริมนวัตกรรมในด้านต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดมูลค่าแก่ธุรกิจ ควบคู่ ไปกับการสร้างคุณประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง โดย ประกอบธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม กํากับดูแลระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในให้ มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและ มาตรฐานทีเ่ กีย ่ วข้อง กํากับดูแลระบบการรายงานทางการเงินและ การเปิดเผยข้อมูลสําคัญของบริษท ั ฯ ให้มค ี วามถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา เป็นไปตามกฎเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวปฏิบต ั ท ิ เี่ กีย ่ วข้อง ติดตามการดําเนินงานของคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ (AC) คณะกรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน (NRC) และคณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง (RPC) ตามที่ได้รับมอบหมายในการกํากับดูแลงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละ คณะ นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการตัดสิน ใจในเรื่ อ งสํ า คั ญ ของบริ ษั ท ฯ โดยปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ราย อย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ กลยุทธ์และนโยบายที่สําคัญของบริษัทฯ ได้รับการสื่อสาร ไปยังผูบ ้ ริหารและพนักงานทุกคนผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยในระดับ ผู้ บ ริ ห ารจะสื่ อ สารผ่ า นการประชุ ม Annual Management Committee และการประชุม Management Information Meeting เป็นประจําทุกปี เป็นต้น สําหรับในระดับพนักงานทั้งใน ส่วนของสํานักงานใหญ่และสาขา จะสื่อสารผ่านสายการบังคับ บัญชาตามลําดับ และผ่านสือ ่ ต่าง ๆ ทีแ ่ ผนกสือ ่ สารภายในองค์กร (Internal Communication) จัดทําขึ้นอย่างทั่วถึง โดยคณะ กรรมการบริษัทได้ติดตามความคืบหน้าแผนงานที่กําหนดไว้ผ่าน การพิจารณารับทราบรายงานผลการดําเนินงานเป็นประจําทุกไตรมาส ในปี 2561 คณะกรรมการบริษัทกํากับการดําเนินงานของบริษัทฯ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการสร้ า งการเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น ด้ ว ยการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ของกิ จ การในระยะยาว ทั้ ง ในด้ า น Financial, Non-Financial, Quality และการสร้าง Brand โดยคณะกรรมการบริษัทมีบทบาทสําคัญดังนี้ - พิจารณาผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับแผนงาน ตลอดจนพิ จ ารณาข้ อ มู ล ภาวะเศรษฐกิ จ ภาวะตลาดและ การแข่งขัน ข้อมูลลูกค้า คูค ่ า้ ทีเ่ กีย ่ วข้อง เป็นประจําทุกไตรมาส โดยมีกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นผู้รายงาน
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
-
-
พิ จ ารณาทบทวนแผนกลยุ ท ธ์ ทุ ก ครึ่ ง ปี โดยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่รายงานให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบผล การดํ า เนิ น งานเปรี ย บเที ย บกั บ เป้ า หมายตามกลยุ ท ธ์ ที่ กําหนดไว้ พิจารณาประเด็นด้านความยั่งยืนและความเสี่ยงที่อาจส่ง ผลกระทบกับแผนงานของบริษัทฯ อยู่เสมอ ในการกํ า หนดกลยุ ท ธ์ ฝ่ า ยจั ด การนํ า ทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์ ที่ คณะกรรมการบริษัทกําหนดและให้คําแนะนํามาพิจารณา ร่ ว มกั บ ประเด็ น ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ด้ า นความยั่ ง ยื น 3 ด้ า น คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง ่ แวดล้อม และนําประเด็นความเสีย ่ ง และโอกาสที่ มี นั ย สํ า คั ญ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ มาวิ เ คราะห์ เพื่อพิจารณากําหนดเป็นกลยุทธ์และแนวทางดําเนินงานใน ระยะยาว โดยเป็นประเด็นทีเ่ กีย ่ วข้องกับผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียกลุม ่ ต่าง ๆ
บทบาทของประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานกรรมการและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ของบริษท ั ฯ ไม่เป็น บุ ค คลเดี ย วกั น เพื่ อ ให้ มี ก ารแบ่ ง แยกบทบาทอย่ า งชั ด เจนและ มีการถ่วงดุลอํานาจในการดําเนินงาน แม้วา่ ประธานกรรมการจะเป็นตัวแทนจากผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ ใิ ช่กรรมการ อิสระ แต่อย่างไรก็ตาม จากการพิจารณาของคณะกรรมการ ส ร ร ห า แ ล ะ กํ า ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น ผ่ า น ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ ข อ ง คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า โครงสร้างดังกล่าวมีความ เหมาะสมกั บ ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และเป็ น จุ ด แข็ ง ที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ประสบ ความสํ า เร็ จ และมี ก ารเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น เนื่องจากประธานกรรมการเป็นผู้มีความรู้ ประสบการณ์ และ ความเชี่ยวชาญในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และการค้าปลีก มายาวนาน สามารถปฏิบัติหน้าที่โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกฝ่ายมาโดยตลอด ประธานกรรมการมีหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการ ตามกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ยึ ด มั่ น ในจรรยาบรรณและ หลักการกํากับดูแลกิจการเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ทั้งนี้ ประธานกรรมการเป็น ประธานในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ควบคุ ม ดู แ ลการประชุ ม ดั ง กล่ า วให้ ดํ า เนิ น ไปอย่ า งเรี ย บร้ อ ย เปิ ด โอกาสให้ ก รรมการและผู้ ถื อ หุ้ น ได้ แ สดงความคิ ด เห็ น หรื อ ข้อเสนอแนะอย่างเต็มทีใ่ นเชิงสร้างสรรค์และเป็นอิสระ รายละเอียด ปรากฏในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่มห ี น้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบในการบริหาร และจัดการให้บริษท ั ฯ มีการดําเนินการตามแผนกลยุทธ์ วิสย ั ทัศน์ และพันธกิจทีก ่ าํ หนดไว้ โดยมีขอบเขตอํานาจหน้าทีภ ่ ายใต้กฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ และข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ ตลอดจนมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการและมติทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้
175
การดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ตามกฎบัตรคณะกรรมการบริษัทกําหนดให้กรรมการสามารถ ดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นได้ แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรค ต่อการปฏิบต ั ห ิ น้าทีก ่ รรมการของบริษท ั ฯ โดยกําหนดให้กรรมการ ควรดํารงตําแหน่งกรรมการบริษท ั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ไม่เกิน 5 บริษัท กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่อาจไปดํารงตําแหน่งกรรมการทีบ ่ ริษท ั อืน ่ ได้ แต่ตอ ้ งไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบต ั ห ิ น้าทีก ่ รรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ของบริษท ั ฯ และกิจการนัน ้ ต้องไม่เป็นธุรกิจประเภทเดียวกัน หรือ เป็นการแข่งขันกับธุรกิจของบริษท ั ฯ โดยต้องได้รบ ั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริษท ั ก่อนไปดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษท ั อืน ่
•
•
•
การจํากัดจํานวนวาระการดํารงตําแหน่ง ของกรรมการอิสระ กฎบัตรคณะกรรมการบริษท ั ฯ กําหนดว่ากรรมการอิสระสามารถ ดํารงตําแหน่งกรรมการติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 วาระ และสามารถ ต่ อ วาระได้ โ ดยรวมระยะเวลาการดํ า รงตํ า แหน่ ง ทุ ก วาระแล้ ว ต้องไม่เกิน 9 ปี เพื่อความเป็นอิสระในการให้ความเห็นและปฏิบัติ หน้าที่ในฐานะกรรมการอิสระของบริษัทฯ
•
ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท สามารถพิ จ ารณาขยายระยะเวลา การดํ า รงตํ า แหน่ ง ของกรรมการอิ ส ระได้ ต ามที่ เ ห็ น สมควร และในปี ที่ ก รรมการอิ ส ระดั ง กล่ า วครบกํ า หนดออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเสนอชื่อกรรมการดังกล่าวให้ที่ประชุมสามัญ ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง กรรมการกลั บ เข้ า เป็ น กรรมการ อิสระต่อไปได้
•
การประชุมคณะกรรมการบริษัท
•
•
176
ข้อบังคับของบริษัทฯ กําหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการ บริษัทอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ ชี้ แ นะและกํ า หนดทิ ศ ทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ นโยบาย และ เป้าหมายของบริษท ั ฯ ผ่านการประชุมคณะกรรมการบริษท ั ซึง ่ จัดขึ้นอย่างน้อยปีละ 8 ครั้ง และการประชุมคณะกรรมการ ชุดย่อยต่าง ๆ ตลอดทั้งปี ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้ พิ จ ารณากํ า หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ การเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการซึ่งระบุไว้ในจรรยาบรรณและหลักการกํากับ ดู แ ลกิ จ การว่ า กรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการอย่างสมํ่าเสมอ โดยกรรมการควรเข้าร่วม การประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยร้อยละ 75 ของการ ประชุ ม ทั้ ง ปี โดยในปี 2561 บริ ษั ท ฯ มี ก ารประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทรวม 8 ครั้ง สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการบริษัททั้งคณะคิดเป็นร้อยละ 98.86
•
ประธานกรรมการ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และเลขานุการบริษท ั จะร่วมกันพิจารณากําหนดวาระการประชุมก่อนการประชุม แต่ละครั้งอย่างชัดเจน และเปิดโอกาสให้กรรมการทุกท่าน สามารถเสนอวาระการประชุมได้อย่างเป็นอิสระ โดยประธาน กรรมการเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสมของวาระดังกล่าว เลขานุการบริษัทจัดส่งเอกสารประกอบการประชุมในวาระที่ สามารถเปิดเผยเป็นลายลักษณ์อักษรได้โดยไม่ส่งผลกระทบ ต่อบริษท ั ฯ ให้กรรมการได้มเี วลาพิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน พร้อมกับจดหมายเชิญประชุม โดยระบุวน ั เวลา สถานที่ และวาระการประชุม เว้นแต่ในกรณีจาํ เป็นรีบด่วน เพื่อรักษา สิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ เลขานุการบริษัทจะแจ้งการ นัดประชุมโดยวิธีอื่น และกําหนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ ในระหว่างการประชุม ประธานในทีป ่ ระชุมได้มก ี ารจัดสรรเวลา อย่ า งเพี ย งพอในการอภิ ป รายประเด็ น ที่ สํ า คั ญ อี ก ทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ ก รรมการทุ ก ท่ า นได้ แ สดงความคิ ด เห็ น อย่ า ง สร้างสรรค์และเป็นอิสระ มีการใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบ ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทและฝ่ายกฎหมายจะเข้าร่วมประชุมและ จดบันทึกรายงานการประชุมทุกครัง ้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท กรรมการที่อาจมีส่วนได้ เสียจะไม่อยู่ในที่ประชุม และงดออกเสียงในวาระนั้น คณะกรรมการบริ ษั ท กํ า หนดให้ บั น ทึ ก องค์ ป ระชุ ม ขณะที่ คณะกรรมการบริษัทลงมติไว้ในรายงานการประชุมทุกครั้ง ซึง ่ ทีผ ่ า่ นมา การลงมติในวาระเพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ม ิ ก ี รรมการ อยู่ในที่ประชุมไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด เมือ ่ มีเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทีส ่ าํ คัญหรือทีม ่ ผ ี ลกระทบต่อบริษท ั ฯ และ/หรือ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างมีนัยสําคัญ ฝ่ายจัดการจะนํา รายละเอียดมาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็น และข้อเสนอแนะต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ความคืบหน้าโครงการ ในต่างประเทศ ภาวะตลาดและแผนการลงทุนโครงการต่าง ๆ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ ป็ น กระแสสั ง คมที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ มี โ อกาส เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งแนวทาง การกํากับดูแลกิจการที่ดี เป็นต้น ในปี 2561 คณะกรรมการบริษท ั พิจารณาประเด็นสําคัญต่าง ๆ เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการบริหารจัดการที่ดีรองรับกับ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต ดังนี้ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อาทิ ให้ความ สําคัญด้านความปลอดภัยในการออกแบบการปรับปรุง โครงสร้างศูนย์การค้า การออกแบบศูนย์การค้าเพือ ่ ลด ความเสี่ ย งในการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ การติ ด ป้ า ยหรื อ สัญลักษณ์ในจุดทีอ ่ าจมีความเสีย ่ งในการเกิดอุบต ั เิ หตุ ความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการก่อการร้าย การป้องกัน และดําเนินการในกรณีที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ เป็นต้น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ Smart Technology, Disruptive Technology, Cyber Crime, Cyber Security และ IT Governance ด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน อาทิ ความ เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ การออกแบบอาคาร
รายงานประจําปี 2561
•
•
•
•
•
บทที่ 23
รวมทั้ ง การเลื อ กใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ป ระหยั ด พลั ง งาน การบําบัดนํา้ เสีย ขุดลอกคูคลองบริเวณศูนย์การค้า เป็นต้น ด้ า นสั ง คม อาทิ โครงสร้ า งประชากรผู้ สู ง อายุ การ ออกแบบศูนย์การค้าที่คํานึงถึงผู้สูงอายุ การอํานวย ความสะดวกแก่ผู้พิการ การจัดการด้านจราจร การมี ระบบขนส่งสาธารณะเพื่อความสะดวกในการเดินทาง ของลู ก ค้ า และช่ ว ยลดปั ญ หาการจราจรติ ด ขั ด และ การจัดเตรียมที่จอดรถให้เพียงพอ เป็นต้น ด้านร้านค้าผู้เช่าและผู้บริโภค อาทิ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการตลาดให้กับร้านค้าผู้เช่า วางแผน ดําเนินงานให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ กําลังเปลี่ยนแปลง เป็นต้น ด้ า นนวั ต กรรมการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า และโครงการ ที่พักอาศัย อาทิ การสร้างบรรยากาศในศูนย์การค้าให้ น่าประทับใจ โดยเป็นศูนย์กลางในการนําเสนอวัฒนธรรม ของแต่ละจังหวัด (Center of Activities) ผ่านรูปแบบ กิจกรรมต่าง ๆ การสร้างสิ่งอํานวยความสะดวกและ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ เป็ น จุ ด หมายปลายทางในการ พักผ่อน (Destination) การพัฒนา Co-working Space เพือ ่ ตอบสนองการใช้ชว ี ต ิ ของคนรุน ่ ใหม่ การออกแบบ และจัดสรรพื้นที่โครงการที่พักอาศัยให้ตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้า เป็นต้น เอกสารประกอบการประชุม รายงานการประชุม ตลอดจน ข้อมูลหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องมีการเก็บไว้อย่างครบถ้วนใน ที่ปลอดภัย โดยมีการจัดเก็บในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ควบคู่กับการจัดเก็บเอกสารต้นฉบับ ในกรณีที่มีข้อซักถามในที่ประชุมและเป็นเรื่องที่ต้องติดตาม ขอข้อมูลจากฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง เลขานุการบริษัทจะเป็น ผู้ ป ระสานงานและจั ด ส่ ง เอกสารการชี้ แ จงเพิ่ ม เติ ม ของ ฝ่ายจัดการให้คณะกรรมการบริษัทโดยเร็วที่สุด เลขานุการบริษัทจัดส่งรายงานผลการดําเนินงานรายเดือน เปรี ย บเที ย บกั บ เป้ า หมายแผนงานที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท พิจารณาอนุมัติไว้ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณา รับทราบอย่างต่อเนือ ่ งทุกเดือน คณะกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการประชุมร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่งในปี 2561 มีการจัดประชุม 2 ครั้ง ในเดือนกรกฎาคมและพฤศจิกายน เพื่อพิจารณาเกี่ยวกับ แผนกลยุทธ์ประจําปี 2562 และประเด็นที่สาํ คัญต่าง ๆ ทาง ธุรกิจทีอ ่ าจส่งผลกระทบกับกลยุทธ์และการดําเนินธุรกิจของ บริษท ั ฯ โดยมีการสรุปประเด็นการพิจารณาและข้อเสนอแนะที่ เป็นประโยชน์ให้คณะกรรมการบริษท ั และฝ่ายจัดการรับทราบ เพื่อนําไปพัฒนาการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องต่อไป คณะกรรมการบริษัทมีการประเมินประสิทธิภาพการประชุม คณะกรรมการบริษัททั้งคณะทุกครั้งที่มีการประชุม เพื่อนํา ผลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ กรรมการและการจั ด ประชุ ม ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง ผลประเมิ น ประสิทธิภาพการประชุมคณะกรรมการบริษท ั เฉลีย ่ ในปี 2561 เท่ากับร้อยละ 98.62
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
•
คณะกรรมการบริษท ั มีการพิจารณาเกีย ่ วกับการเปลีย ่ นแปลง ในกฎหมาย ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่สําคัญ ตลอดจน ข่าวสารความเคลือ ่ นไหวด้านการกํากับดูแลกิจการทีด ่ อ ี ย่าง สมํา่ เสมอ เพือ ่ ให้การปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ นฐานะกรรมการสอดคล้อง ตามกฎหมาย ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่ดีและ เป็นปัจจุบัน
การประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัท แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายคณะ
• หลักเกณฑ์
บริษัทฯ จัดทําแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายคณะ ตามแนวทางจากตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ มาปรั บ ใช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ลักษณะและโครงสร้างของคณะกรรมการ ซึ่งผลการประเมินจะ เป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่และการดําเนินงาน เกีย ่ วกับคณะกรรมการให้มป ี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลยิง ่ ขึน ้ ต่อไป ทั้งนี้ แบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 คณะกรรมการประเมินระดับคะแนนความเห็นหรือระดับ การดําเนินการใน 5 หัวข้อประเมิน ได้แก่ 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ 3) การประชุมและการทําหน้าที่ของกรรมการ 4) ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 5)การพั ฒ นาตนเองของกรรมการและการพั ฒ นา ผูบ ้ ริหาร ส่วนที่ 2 คณะกรรมการให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ หรือสิ่งที่ให้ ความสนใจเป็นกรณีพิเศษสําหรับการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการหรือการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ของบริษท ั ฯ
• กระบวนการในการประเมิน
เลขานุการบริษัทจะจัดส่งแบบประเมินให้กรรมการบริษัททุกท่าน ประเมินตนเองในทุกสิ้นปี และเป็นผู้รวบรวมและรายงานสรุปผล ต่อทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณารับทราบและหารือ กันเป็นประจําทุกปี แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายบุคคล
• หลักเกณฑ์
บริษท ั ฯ จัดทําแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายบุคคลเพือ ่ เป็นเครือ ่ งมือที่ช่วยให้กรรมการได้ทบทวนและพัฒนาการปฏิบัติ หน้าที่ของตนเองให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดย มี หั ว ข้ อ ในการประเมิ น ที่ ส อดคล้ อ งกั บ หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ที่สําคัญของคณะกรรมการตามกฎหมาย กฎบัตร จรรยาบรรณ ของกรรมการบริ ษั ท แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ข องสํ า นั ก งาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ดังนี้
177
1) จรรยาบรรณและการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ 2) การกําหนดกลยุทธ์ การกํากับดูแล และติดตามการดําเนินงาน 3) ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย
• กระบวนการในการประเมิน
เลขานุการบริษัทจะจัดส่งแบบประเมินให้กรรมการบริษัททุกท่าน ประเมินตนเองในทุกสิ้นปี และเป็นผู้รวบรวมและรายงานสรุปผล ต่อทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณารับทราบและหารือ กันเป็นประจําทุกปี
คณะกรรมการบริษัท
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
1. คณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะ) 2. คณะกรรมการบริษัท (รายบุคคล)
แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ ซึง ่ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการ ตรวจสอบ 2) คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และ 3) คณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง มีการประเมินตนเองเป็นประจํา ทุกปี เพือ ่ นําผลประเมินมาพัฒนาการปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ นการสนับสนุน การทํางานของคณะกรรมการบริษท ั และการดําเนินธุรกิจของบริษท ั ฯ ทัง ้ นี้ ในปี 2561 ผลประเมินการปฏิบต ั ง ิ านของคณะกรรมการบริษท ั คณะกรรมการรายบุคคล และคณะกรรมการชุดย่อยอยูใ่ นเกณฑ์ “ดีเลิศ” สรุปได้ดง ั นี้
ผลประเมิน (ร้อยละ) 97.70 99.00
คณะกรรมการชุดย่อย 3. คณะกรรมการตรวจสอบ 4. คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 5. คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง
การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่
• หลักเกณฑ์
แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แบ่งเป็น 2 หมวด ตามแนวทางการประเมินจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกอบด้วย หมวดที่ 1 การวั ด ผลการปฏิ บั ติ ง าน ประกอบด้ ว ยหั ว ข้ อ การประเมิน 10 หัวข้อ ได้แก่ 1) ความเป็นผู้นํา 2) การกําหนดกลยุทธ์ 3) การปฏิบัติตามกลยุทธ์ 4) การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน 5) ความสัมพันธ์กับคณะกรรมการ 6) ความสัมพันธ์กับภายนอก 7) การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร 8) การสืบทอดตําแหน่ง 9) ความรู้ด้านธุรกิจและบริการ 10) คุณลักษณะส่วนตัว หมวดที่ 2 การพั ฒ นากรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ประกอบด้ ว ย จุ ด แข็ ง และประเด็ น ที่ ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ ค วร ได้รับการพัฒนามากยิ่งขึ้น โดยคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้ให้ความเห็นเพิ่มเติมในหมวดนี้
178
98.00 98.86 95.75
• กระบวนการในการประเมิน กรรมการผู้จัดการใหญ่มีการกํ าหนดเป้าหมายตัวชี้วัดผลการ ปฏิบัติงาน (KPIs) ที่ชัดเจนตั้งแต่ต้นปีร่วมกับคณะกรรมการ สรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน จากนั้ น คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทนจะรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ เกี่ยวกับเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน และเมื่อมีผลการดําเนินงานที่ เกิดขึน ้ จริงจะนํามาเทียบกับ KPIs ทัง ้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน เพื่ อ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ต่ อ ไป โดยผลการประเมินประจําปี 2561 คิดเป็นร้อยละ 98.36 ซึ่งอยู่ ในเกณฑ์ “ดีเลิศ”
การอบรมและสัมมนาของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาความรู้ ความสามารถในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก รรมการอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยกรรมการทุ ก ท่ า นเข้ า รั บ การอบรมในหลั ก สู ต รเกี่ ย วกั บ การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการจากสถาบัน IOD แล้ว รวมทั้ง บริษัทฯ สนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัทได้พัฒนาความรู้และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทําหน้าที่ในฐานะกรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อย โดยมีการประชาสัมพันธ์และประสานงาน เพื่ออํานวยความสะดวกให้กับกรรมการทุกท่านในการเข้าร่วม การอบรมและสั ม มนาหลั ก สู ต รต่ า ง ๆ รวมทั้ ง บริ ษั ท ฯ ได้ เ ชิ ญ ผูท ้ รงคุณวุฒต ิ า่ ง ๆ จากภายนอกมาเป็นวิทยากร เพือ ่ แลกเปลีย ่ น ประสบการณ์ แ ละความคิ ด เห็ น ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร ระดับสูงของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องทุกปี สรุปรายละเอียดเกี่ยว กับการอบรมสัมมนาของกรรมการแต่ละท่านในปี 2561 ดังนี้
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
การเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการในปี 2561 รายชื่อกรรมการ นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์
รายละเอียด
องค์กร
วันที่
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
- รับฟังการบรรยายวิชาการในหัวข้อ “Value Creation and
จั ด โดยคณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการ
14 มีนาคม 2561
Enhancement for Listed Companies with the New
บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
COSO 2017 Enterprise Risk Management (ERM)”
ตลาดหลักทรัพย์ฯ
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง แนวปฏิบัติของ ก.ล.ต.”
นายไพฑูรย์ ทวีผล
- สัมมนา Inaugural Corporate Governance Conference 2018 - Building Trust in a Transforming
จัดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลัก
19 กันยายน 2561
ทรัพย์ฯ
Economy - สัมมนา C-EB - Executive Briefing 3/2018 ในหัวข้อ “4 ปีคสช.กับการปราบปรามคอร์รัปชั่น”
โดยดร.มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ
7 มิถุนายน 2561
องค์กรต่อต้านคอร์รป ั ชัน ่ (ประเทศไทย) จัดโดยสถาบัน IOD
- สัมมนา R-IDF - ID Forum 1/2018 ในหัวข้อ
จัดโดยสถาบัน IOD
2 ตุลาคม 2561
จัดโดยสถาบัน IOD
21 พฤศจิกายน 2561
จัดโดยโครงการ CAC
11 ตุลาคม 2561
โดยดร.อมรเทพ จาวะลา ผู้อาํ นวยการ
19 กรกฎาคม 2561
“Tough Boardroom Situations - Independent Directors Share Lessons Learned” - สัมมนา G-ID - ID Club Event 3/2018 ในหัวข้อ “ID Club Networking - Now and Then”
- สัมมนา Thailand’s 9th National Conference on Collective Action against Corruption ในหัวข้อ “Disrupting Corruption” - รับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Economic Outlook 2018: Thailand, Malaysia and Vietnam”
อาวุโส สํานักวิจย ั ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จัดโดย CPN
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
จัดโดยสถาบัน IOD
6-7 มีนาคม 2561
จัดโดยสถาบัน IOD
8 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
จัดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ
23-31 มีนาคม 2561
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.” นายการุณ กิตติสถาพร
- หลักสูตร Board Nomination and Compensation Program (BNCP) Class 3/2018 - สัมมนา Director Dinner Talk (M-DDT) 1/2018 ในหัวข้อ “Social Responsibilities in Action” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.”
นางโชติกา สวนานนท์
- การศึกษาดูงานในหัวข้อ “Start-up Nation” ณ ประเทศอิสราเอล - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.”
179
การเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการในปี 2561 รายชื่อกรรมการ นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์
รายละเอียด - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง
องค์กร
วันที่
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
โดยคุณวารุณี ปรีดานนท์ หุ้นส่วน -
11 มิถุนายน 2561
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.” นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.”
นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.”
นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.”
คุณกอบชัย จิราธิวัฒน์
- รับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Risk Management Updates for Board and Senior Management,
ที่ปรึกษาด้านการบริหารความเสี่ยง
Central Group”
การควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายใน PwC จัดโดยกลุ่มบริษัทเซ็นทรัล
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
จัดโดยสถาบัน IOD
2 กรกฎาคม 2561
โดยคุณวารุณี ปรีดานนท์ หุ้นส่วน -
11 มิถุนายน 2561
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.” คุณปริญญ์ จิราธิวัฒน์
- หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) - รับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Risk Management Updates for Board and Senior Management,
ที่ปรึกษาด้านการบริหารความเสี่ยง
Central Group”
การควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายใน PwC จัดโดยกลุ่มบริษัทเซ็นทรัล
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
โดยดร.อมรเทพ จาวะลา
19 กรกฎาคม 2561
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.” นายปรีชา เอกคุณากูล
- รับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Economic Outlook 2018: Thailand, Malaysia and Vietnam”
ผู้อาํ นวยการอาวุโส สํานักวิจัย ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จัดโดย CPN
- รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุง
จัดโดย CPN
19 กุมภาพันธ์ 2561
จัดโดย CPN
12 กันยายน 2561
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535” - รับฟังการอัพเดทความรู้ในหัวข้อ “การปรับปรุงแนวปฏิบัติ ของ ก.ล.ต.”
180
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรทีเ่ กีย ่ วข้องกับการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องกรรมการ โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD)
•
Anti-Corruption for Executive Program (ACEP)
•
•
•
•
•
•
Chief Financial Officer (CFO)
•
Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI)
•
• •
Director Certification Program (DCP)
• •
•
Financial Institutions Governance Program (FGP)
•
Financial Statements for Directors (FSD)
•
•
•
• •
•
•
•
•
•
•
•
Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR)
•
•
Monitoring Fraud Risk Management (MFM)
•
•
Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR)
•
Chartered Director Class (R-CDC)
•
Role of the Compensation Committee (RCC)
•
Risk Management Committee Program (RMP)
•
•
•
Monitoring the Internal Audit Function (MIA)
Role of Chairman Program (RCP)
นายปรีชา เอกคุณากูล
•
•
Board Nomination and Compensation Program (BNCP)
Director Accreditation Program (DAP)
นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์
นายกอบชัย จิราธิวัฒน์
นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์
นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์
นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์
นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์
•
Advanced Audit Committee Program (AACP) Audit Committee Program (ACP)
นางโชติกา สวนานนท์
นายการุณ กิตติสถาพร
นายไพฑูรย์ ทวีผล
รายชื่อกรรมการ
นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์
หลักสูตรการอบรม
•
•
•
•
•
• •
181
การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทย่อย และบริษัทร่วม •
กลไกการกํากับดูแลบริษัทย่อยและบริษัทร่วม: บริษัทฯ กําหนดระบบการกํากับดูแลกิจการ การบริหารความเสี่ยง และการควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการกํ า กั บ ดู แ ล การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว ม โดยผ่ า น กฎระเบียบ นโยบาย และข้อบังคับต่าง ๆ เช่น อํานาจดําเนินการ แนวปฏิบต ั ิ และกระบวนการทํางานทีช ่ ด ั เจน ตลอดจนมีระบบ การรายงานเป็นลําดับขั้นต่อผู้บริหารที่เกี่ยวข้องโดยมีการ รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษท ั เป็นระยะ เพื่อให้มั่นใจว่าการดําเนินงานของบริษัทย่อยและ บริษท ั ร่วมสอดคล้องกับการดําเนินงานของบริษท ั ฯ และเป็น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการก่ อ ตั้ ง ซึ่ ง จะช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ บริษท ั ฯ บรรลุเป้าหมายระยะยาวทีว ่ างไว้และเติบโตอย่างยัง ่ ยืน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ที่สําคัญของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ได้แก่ ข้อมูลฐานะ การเงินและผลการดําเนินงาน การทํารายการระหว่างบริษัท ย่อย/บริษัทร่วมกับบุคคลที่เกี่ยวโยง การได้มาหรือจําหน่าย ไปซึ่งสินทรัพย์ และการทํารายการสําคัญ โดยรายการดัง กล่าวจะต้องมีการเปิดเผยอย่างถูกต้องครบถ้วน และไม่ขัด กับหลักเกณฑ์และวิธก ี ารตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ฯ ในปี 2561 คณะกรรมการบริษท ั พิจารณากําหนดเป็นนโยบาย ไว้ ใ นจรรยาบรรณและหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การว่ า คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่กํากับดูแลการดําเนินงานของ บริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วมทุนให้เป็นไปตามนโยบายและทิศทาง เดียวกันกับบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่าการลงทุนของบริษัทฯ มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษท ั จะต้ อ งให้ ค วามเห็ น ชอบในการดํ า เนิ น การที่ สํ า คั ญ อาทิ การส่ ง ตั ว แทนของบริ ษั ท ฯ ไปดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ในบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่วมทุน การกําหนดขอบเขตอํานาจหน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบ ของตั ว แทนของบริ ษั ท ฯ การกํ า กั บ ดู แ ลให้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ทางการเงินและผลการดําเนินงานอย่างถูกต้องครบถ้วน และการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
•
182
ก า ร จั ด ทํ า ข้ อ ต ก ล ง ร ะ ห ว่ า ง บ ริ ษั ท กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น อื่ น (Shareholders’ Agreement): บริษัทฯ เคารพซึ่งสิทธิ ของผูร้ ว ่ มทุนและปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูร้ ว ่ มทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยบริ ษั ท ฯ ร่ ว มกั บ ผู้ ร่ ว มทุ น จั ด ทํ า Shareholders’ Agreement กําหนดรายละเอียดทีส ่ าํ คัญเกีย ่ วกับการลงทุน ไว้อย่างชัดเจนและเป็นธรรม เพือ ่ สร้างความเข้าใจทีถ ่ ก ู ต้อง ตรงกันทุกฝ่าย อาทิ สัดส่วนการลงทุน อํานาจการควบคุม ขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการบริ ห ารงาน การจ่ายผลตอบแทน เป็นต้น
การกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริษัทกํ ากับดูแลให้มีการกํ าหนดนโยบายที่ใช้ใน การควบคุมเกีย ่ วกับการใช้ขอ ้ มูลภายในและการซือ ้ ขายหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้น ทุกราย และป้องกันมิให้กรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องซื้อขาย หลักทรัพย์และหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบ
•
การควบคุมเกีย ่ วกับข้อมูลภายใน: กรรมการ ผูบ ้ ริหาร และ พนักงานทุกคน ต้องไม่ใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่มีสาระ สําคัญ และยังไม่ได้เปิดเผยสารสนเทศต่อสาธารณชนเพื่อ ประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น และยึดถือปฏิบัติตามนโยบาย การเก็บรักษาและการใช้ข้อมูลภายในที่บริษัทฯ กํ าหนดไว้ อย่างเคร่งครัด
•
การถือหลักทรัพย์ของบริษัทฯ: กรรมการ ผู้บริหาร และ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ มี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในการลงทุ น ซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ของบริษท ั ฯ แต่เพือ ่ ป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน รวมถึง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องไม่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน จนกว่าบริษัทฯ จะเปิ ด เผยข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ หรื อ สาธารณชนแล้วไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง ในกรณีที่กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน รวมถึ ง คู่ ส มรส และบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บรรลุนิติภาวะมีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลักทรัพย์ ของบริ ษั ท ฯ จะต้ อ งจั ด ทํ า และเปิ ด เผยรายงานการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลงการถื อ ครอง หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ต่อหน่วยงานกํากับดูแลให้รับทราบ ตามเกณฑ์ที่กาํ หนด ทั้งนี้ หากผู้บริหารและพนักงานรายใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม นโยบายการกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายในที่กล่าวข้างต้นนี้ ถือเป็นความผิดทางวินัยตามระเบียบบริษัทฯ และอาจมีโทษ ตามกฎหมาย
•
การรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษท ั ฯ: กรรมการและ ผูบ ้ ริหารมีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษท ั ฯ ภายใน 30 วันนับจากวันที่ดํารงตําแหน่ง และรายงานการ เปลีย ่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทําการนับจาก มีการเปลีย ่ นแปลง โดยมีเลขานุการบริษท ั รวบรวมและรายงาน ข้ อ มู ล การถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องกรรมการและผู้ บ ริ ห าร รวมถึ ง คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ ให้ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส
การกํากับดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ มีนโยบายในการดําเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เปิดกว้าง โปร่งใส และเป็นธรรม โดยกําหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 23
และพนั ก งานทุ ก คน ห้ า มประกอบธุ ร กิ จ ที่ แ ข่ ง ขั น กั บ บริ ษั ท ฯ หลี ก เลี่ ย งการทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั บ ตนเองหรื อ บุ ค คล/ นิตบ ิ ค ุ คลทีเ่ กีย ่ วข้องทีอ ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษท ั ฯ โดยคณะกรรมการบริษท ั มีหน้าทีด ่ แ ู ลให้บริษท ั ฯ ปฏิบต ั ิ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยง กั น ตามที่ ก ฎหมายหรื อ หน่ ว ยงานกํ า กั บ ดู แ ลกํ า หนดไว้ อ ย่ า ง เคร่งครัด ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการนั้น จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม เ งื่ อ น ไ ข ก า ร ค้ า ทั่ ว ไ ป ต า ม ห ลั ก ก า ร ที่ คณะกรรมการบริษท ั อนุมต ั ด ิ ว ้ ยความโปร่งใสและเป็นธรรม เปรียบ เสมือนการทํารายการกับบุคคลภายนอก และคํานึงถึงประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ฯ โดยผู้ ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย จะต้ อ งไม่ มี ส่ ว นในการ พิ จ า ร ณ า ร า ย ก า ร ที่ ต น มี ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ท า ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ทั้ ง นี้ ใ นกรณี ที่ เ ป็ น รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ สํ า คั ญ หรื อ ไม่ เ ป็ น ไป ตามเงื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไปตามหลั ก การที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท อนุ มั ติ ซึ่ ง อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ต้ อ ง ผ่านการสอบทานและให้ความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ ก่อนนําเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น
•
•
•
การรายงานการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน: กรรมการและ ผู้บริหารต้องตอบแบบชี้แจงรายการที่เกี่ยวโยงกัน ในรอบปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม เป็นประจําทุกปี เพื่อแสดงถึง ความโปร่งใสและมีความรอบคอบและระมัดระวังในการทํา ธุรกรรมที่เกี่ยวโยงกันในรอบปี โดยมีเลขานุการบริษัทเป็น ผู้จัดส่งแบบชี้แจงรายการและรวบรวมข้อมูล การเปิดเผยข้อมูลส่วนได้เสียของกรรมการ ผูบ ้ ริหาร และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง: มีการรายงานครั้งแรกภายใน 30 วันนับจาก วั น เข้ า ดํ า รงตํ า แหน่ ง ในบริ ษั ท ฯ และรายงานข้ อ มู ล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี สําหรับกรณีทรี่ ะหว่างปี กรรมการ หรือผูบ ้ ริหาร รวมถึงบุคคลทีม ่ ค ี วามเกีย ่ วข้องจําเป็นต้องเข้า ทําธุรกรรมใด ๆ กับบริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่ว่าโดยทางตรง หรื อ โดยทางอ้ อ ม กรรมการหรื อ ผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ แ จ้ ง ให้ บริษัทฯ รับทราบโดยไม่ชักช้า โดยระบุข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ลักษณะของสัญญา ชื่อของคู่สัญญา และส่วนได้เสียของ กรรมการหรือผู้บริหารในสัญญา เพื่อความโปร่งใสในการ เข้าทําธุรกรรมนั้น การรายงานการมีสว ่ นได้เสีย: กรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษท ั ฯ มีหน้าที่รายงานการมีส่วนได้เสียของตนเองและของบุคคล ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นได้ เ สี ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารจั ด การกิ จ การของบริ ษั ท ฯ ตามหลั ก เกณฑ์ เงื่ อ นไขและวิ ธี ก ารตามที่ ค ณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น กํ า หนด ซึ่ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ร วบรวมและจั ด ส่ ง สํ า เนารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ให้ แ ก่ ป ระธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทําการ นับแต่วันที่ได้รับรายงาน
การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ
ทั้งนี้ ในปี 2561 บริษัทฯ ไม่ได้รับข้อร้องเรียนใด ๆ เกี่ยวกับการ กระทําความผิดของกรรมการและผู้บริหารเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล ภายในในทางมิชอบ
การนําหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสาํ หรับ บริษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) ไปปรับใช้ คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาและทบทวนการนําหลักปฏิบัติ ตาม CG Code ที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. ไปปรับใช้ตาม บริบททางธุรกิจของบริษัทฯ แล้ว และกําหนดให้มีการทบทวน เป็นประจําทุกปีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยในปี 2561 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2561 มีมติอนุมัติการปรับปรุง จรรยาบรรณและหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลัก CG Code ทั้ ง นี้ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาหลั ก ปฏิ บั ติ ที่ ยังไม่สามารถหรือยังมิได้นาํ ไปปรับใช้ โดยได้บน ั ทึกไว้เป็นส่วนหนึง ่ ของมติคณะกรรมการแล้ว
การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดีในเรื่องอื่น ๆ บริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ตลอดจนแนว ปฏิบัติที่ดีอื่น ๆ ทั้งที่เป็นหลักเกณฑ์การกํากับดูแลกิจการภายใน ประเทศ เช่น หลักการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ส ี าํ หรับบริษท ั จดทะเบียน ปี 2560 (CG Code) โครงการประเมินการกํากับดูแลกิจการ บริษท ั จดทะเบียนไทย (CGR) โครงการประเมินคุณภาพการจัดการ ประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ (AGM Checklist) โครงการแนวร่วมปฏิบต ั ข ิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (CAC) ตลอดจน หลักเกณฑ์ในระดับสากล เช่น หลักเกณฑ์ของ The Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) เกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard และ DJSI Sustainability Assessment เป็นต้น โดยเปิดเผยการ ปฏิบัติไว้ในรายงานประจําปีภายใต้หัวข้อหลักดังนี้
• • • • • •
การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน ผลการดําเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน โครงสร้างการจัดการ การกํากับดูแลกิจการ การสรรหากรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
183
การสรรหากรรมการและผู้บริหาร การสรรหากรรมการ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณา ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการจากช่องทางต่าง ๆ ดังนี้ •
• •
เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายบุคคล รวมทั้ง กรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทฯ เสนอชื่อบุคคลเพื่อรับ การพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการ ทั้งนี้ บริษัทฯ เปิดโอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น มี ส่ ว นร่ ว มในการเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ รั บ การ พิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการได้ ล่ ว งหน้ า ไม่ น้ อ ยกว่ า 3 เดือนก่อนวันสิน ้ สุดรอบปีบญ ั ชี โดยแจ้งผ่านระบบข่าวของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัทฯซึ่งมีรายละเอียด เกีย ่ วกับวิธก ี ารเสนอและขัน ้ ตอนการพิจารณา ทัง ้ นี้ ในปี 2561 ไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น รายใดเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณา เลือกตั้งเป็นกรรมการ พิจารณาจากทําเนี ย บกรรมการ (Director Pool) ของ สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย หรื อ ของ หน่วยงานอื่น ๆ ที่มีการจัดทําข้อมูลดังกล่าว ช่ อ งทางอื่ น ๆ ที่ ค ณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่าตอบแทนพิจารณาเห็นสมควร
โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนมีหน้าที่ความ รั บ ผิ ด ชอบในการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและกลั่ น กรองบุ ค คลที่ มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ห ม า ะ ส ม ต า ม ข้ อ บั ง คั บ ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ก ฎ บั ต ร คณะกรรมการบริ ษั ท กลยุ ท ธ์ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจนหลักเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ • พิจารณาผูท ้ ม ี่ ค ี ณ ุ สมบัตต ิ ามกฎหมาย ต้องไม่เป็นบุคคลต้อง โทษหรือบุคคลทีถ ่ ก ู ขึน ้ บัญชีดาํ (Black List) จากองค์กรใด ๆ (รวมถึ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ หรือ “สํานักงาน ก.ล.ต.”) หรือเคยถูกตัดสิน ในความผิดทางอาญา • สําหรับการเสนอแต่งตั้งกรรมการอิสระ พิจารณาความเป็น อิสระตามหลักเกณฑ์ที่สาํ นักงาน ก.ล.ต. กําหนด • พิ จ ารณาความเหมาะสมทางด้ า นความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความรูค ้ วามชํานาญเฉพาะด้านของคณะกรรมการบริษท ั (Board Skill Matrix) เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ใ น การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ • พิจารณาความหลากหลายในโครงสร้างคณะกรรมการบริษท ั ทั้งเพศและอายุ (Board Diversity) • พิจารณาบทบาทความเป็นผู้นํา วิสัยทัศน์ จริยธรรม และ ความซื่อสัตย์ • พิจารณาการอุทิศเวลาของกรรมการ (กรณีกรรมการเดิม) จากนัน ้ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนจะนําเสนอเพือ ่ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษท ั และนําเสนอต่อทีป ่ ระชุม ผูถ ้ อ ื หุน ้ เป็นผูเ้ ลือกตัง ้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธก ี ารดังต่อไปนี้
184
1.
ในการลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ ง กรรมการให้ ถื อ ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ลงคะแนนเสี ย งทั้ ง หมดที่ ต นมี อ ยู่ เ ลื อ กบุ ค คล ที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการทีละคน 3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็นผู้ได้รับ เลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือ พึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับเลือกตั้ง ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการ ที่จะพึงมี ให้ประธานในทีป ่ ระชุมออกเสียงได้เพิม ่ ขึน ้ อีกหนึง ่ เสียง เป็นเสียงชีข้ าด กรณีที่ตําแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากเหตุอื่นนอกจากการ ครบวาระออกจากตําแหน่งกรรมการ ให้คณะกรรมการพิจารณาแต่งตัง้ บุคคลซึง ่ มีคณ ุ สมบัตแ ิ ละไม่มล ี ก ั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทคราวถัดไป เว้น แต่วาระของกรรมการทีพ ่ น ้ จากตําแหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึง ่ เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตําแหน่งกรรมการได้เพียง เท่าวาระทีย ่ ง ั เหลืออยูข ่ องกรรมการทีพ ่ น ้ จากตําแหน่ง ทัง ้ นี้ มติการ แต่งตัง ้ บุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รบ ั คะแนนเสียง ไม่นอ ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการทีย ่ ง ั เหลืออยู่ ในการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2561 มีกรรมการทีค ่ รบกําหนดออกตามวาระทัง ้ สิน ้ 4 ท่าน ได้แก่ 1. นายการุณ
กิตติสถาพร
2. นางโชติกา
สวนานนท์
3. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4. นายปรีชา เอกคุณากูล
กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน / กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ / กรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการ / กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการนโยบายความเสีย ่ ง
ทั้ ง นี้ ถึ ง แม้ ว่ า นายการุ ณ กิ ต ติ ส ถาพร จะดํ า รงตํ า แหน่ ง เป็ น กรรมการอิสระนานกว่า 9 ปี แต่เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ เ ป็ น ที่ ต้ อ งการของบริ ษั ท ฯ นอกจากนี้ ยังเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตรงตามนิยาม กรรมการอิ ส ระของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และของบริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนมีความเห็นว่า นายการุ ณ กิ ต ติ ส ถาพร สามารถให้ ค วามเห็ น ได้ อ ย่ า งอิ ส ระ คณะกรรมการบริษัทจึงเห็นสมควรเสนอให้พิจารณาขยายวาระ การดํารงตําแหน่ง กรรมการอิสระของนายการุณ กิตติสถาพร ต่อไปอีกวาระหนึ่ง
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 24
ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น จึ ง มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง นายการุ ณ กิ ต ติ ส ถาพร นางโชติกา สวนานนท์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ และนายปรีชา เอกคุณากูล กลับเข้ามาดํารงตําแหน่งต่อไปอีกหนึง ่ วาระ
การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริ ษั ท ฯ จั ดใ ห้ มี ก าร พบ ปะกั นร ะหว่ าง กรร มการใหม่ แ ละ คณะกรรมการบริษท ั รวมถึงคณะผูบ ้ ริหารของบริษท ั ฯ และมีการ จั ด ปฐมนิ เ ทศแก่ ก รรมการใหม่ เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ บทบาทหน้าทีข ่ องกรรมการและให้ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับการประกอบธุรกิจ ของบริษัทฯ ให้แก่ กรรมการใหม่โดยประกอบด้วยการนําเสนอ ข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
เป้าหมาย วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ โครงสร้าง แผนผังองค์กรและคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ นโยบายการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ผลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โครงการในปั จ จุ บั น และ โครงการทีอ ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้างต่าง ๆ เพือ ่ ให้กรรมการใหม่ได้ มีพน ื้ ฐานข้อมูลเพียงพอและพร้อมทีจ ่ ะปฏิบต ั ห ิ น้าทีก ่ รรมการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ สํานักเลขานุการบริษัทได้จัดเตรียมและนําส่งเอกสาร แก่กรรมการใหม่ดังนี้ 1.
คูม ่ อ ื กรรมการ ซึง ่ มีเนือ ้ หาประกอบด้วย วิสย ั ทัศน์ พันธกิจ และค่ า นิ ย มของบริ ษั ท ฯ นโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ จรรยาบรรณของกรรมการ ผูบ ้ ริหารและพนักงาน ข้อบังคับ ของบริษท ั ฯ หนังสือบริคณห์สนธิ กฎบัตรคณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยต่ า ง ๆ คู่ มื อ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบียน ข้อแนะนําการให้สารสนเทศและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้อง 2. เอกสารแนะนําบริษัทฯ 3. ระเบียบว่าด้วยเรื่องการควบคุมเกี่ยวกับสารสนเทศภายใน ของบริษัทฯ 4. ระเบียบว่าด้วยการถือครองหลักทรัพย์ในบริษัทฯ 5. นโยบายการรายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของกรรมการและ ผู้บริหาร และเอกสารเพื่อจัดทํารายงานการมีส่วนได้เสีย 6. รายงานประจําปี 3 ปียอ ้ นหลัง ซึง ่ มีขอ ้ มูลเกีย ่ วกับการดําเนิน ธุรกิจและผลการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ตลอดจนรายละเอียด เกีย ่ วกับการบริหารความเสีย ่ งและการควบคุมภายในของบริษท ั ฯ 7. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทย้อนหลัง 1 ปี 8. รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ย้อนหลัง 1 ปี 9. รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทนย้อนหลัง 1 ปี 10. รายงานผลการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมการนโยบาย ความเสี่ยงย้อนหลัง 1 ปี 11. กําหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทประจําปี
การสรรหากรรมการและผู้ บ ริ ห าร
ทั้ ง นี้ ในปี 2561 ไม่ มี ก ารปฐมนิ เ ทศกรรมการใหม่ เนื่ อ งจาก ไม่มีการแต่งตั้งกรรมการรายใดที่เป็นกรรมการใหม่
การสรรหาผู้บริหาร การสรรหา กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร คณะกรรมการบริหารเป็นผู้พิจารณาเบื้องต้นในการกลั่นกรอง สรรหาบุ ค ค ล ที่ มี คุ ณ ส ม บั ติ ค ร บ ถ้ ว น เ ห ม า ะ ส ม มี ค ว า ม รู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ ่ การดําเนินงาน ของบริ ษั ท ฯ และนํ า เสนอให้ ค ณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่าตอบแทนพิจารณา เพือ ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั พิจารณา อนุมัติต่อไป
การสรรหาผู้บริหารระดับสูง กรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้พิจารณาสรรหาและแต่งตั้งบุคคล ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับตําแหน่งและหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมถึงมีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ ต่อการดําเนินงานของบริษท ั ฯ โดยการคัดเลือกเป็นไปตามระเบียบ ในการสรรหาบุคคลของฝ่ายบริหารทุนมนุษย์และพัฒนาองค์กร
แผนสืบทอดตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษท ั กํากับดูแลให้มก ี ารจัดทําแผนสืบทอดตําแหน่ง และแผนการพัฒนาผูบ ้ ริหารระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิง ่ ตําแหน่ง กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เพื่ อ ให้ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เป็ น ไปอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งและเสริ ม สร้ า งบุ ค ลากรให้ มี ค วามพร้ อ มสื บ ทอดงาน ในตําแหน่งที่สาํ คัญ โดยมีแนวทางดําเนินการดังนี้ •
•
•
•
คณะกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ร่วมกัน วางแผนการสืบทอดตําแหน่งงานสําหรับผู้บริหารระดับสูง ในตําแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ โดยมีการกําหนดทักษะ ความรู้ความสามารถ และศักยภาพของบุคคลที่จะเป็นผู้สืบทอดตําแหน่งงาน กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่กาํ กับดูแลการอบรมและพัฒนาความรู้ ความสามารถของผูส ้ บ ื ทอดตําแหน่งงานด้วยวิธก ี ารต่าง ๆ เช่น การฝึกอบรม การมอบหมายงานพิเศษ การหมุนเวียนงาน เพื่อเสริมสร้างทักษะที่จําเป็นและเตรียมความพร้อมให้แก่ ผู้บริหารสําหรับการสืบทอดตําแหน่งงาน กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ มี ห น้ า ที่ ร ายงานแผนการสื บ ทอด ตําแหน่งผู้บริหารระดับสูงและรายงานผลการพัฒนาตาม แผนพัฒนารายบุคคลของผู้บริหารที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เป็ น ผู้ สื บ ทอดตํ า แหน่ ง งานต่ อ คณะกรรมการสรรหา และกํ า หนดค่ า ตอบแทนพิ จ ารณาอย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนรายงาน สรุปผลการดํ าเนินงานเกี่ยวกับแผนการสืบทอดตํ าแหน่ง ผู้บริหารระดับสูงให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ
185
ค่าตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 25
ค่ า ตอบแทนกรรมการและผู้ บ ริ ห าร
ค่าตอบแทนกรรมการ CPN พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนกรรมการโดยคํานึงถึงความเป็นธรรม และเหมาะสม สะท้อนถึงหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ ความสําเร็จในการ ปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับผลประกอบการ ปัจจัยแวดล้อมอื่นที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทน ของบริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น หรื อ ใกล้ เ คี ย งกั บ บริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน มีการนําผลสํารวจค่าตอบแทนกรรมการทีจ ่ ด ั ทําโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย มาประกอบการพิจารณาเปรียบเทียบเป็นประจําทุกปี
ในปี 2561 คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน ได้ พิ จ ารณาทบทวนค่ า ตอบแทนกรรมการและนํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาเห็ น ชอบ และนํ า เสนอต่ อ ทีป ่ ระชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2561 เมือ ่ วันที่ 27 เมษายน 2561 เพื่อพิจารณาอนุมัติการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2561 มีวงเงินไม่เกิน 20,000,000 บาท โดยมีอัตราโครงสร้าง ค่าตอบแทนดังนี้
ประเภทค่าตอบแทน
จํานวนเงิน (บาท)
1. ค่าตอบแทนประจําไตรมาส (บาท/ไตรมาส) 165,000
• ประธานกรรมการ • ประธานกรรมการตรวจสอบ
133,000
• กรรมการตรวจสอบ
103,000 85,000
• กรรมการ 2. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการ
60,000
• กรรมการ
42,000
3. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการตรวจสอบ
65,000
• กรรมการตรวจสอบ
50,000
4. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และที่ปรึกษา (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน
35,000
• กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และที่ปรึกษา
30,000
5. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการนโยบายความเสี่ยง (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง
35,000
• กรรมการนโยบายความเสี่ยง
30,000
วงเงินที่ขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นในปี 2561
20,000,000
หมายเหตุ: กรรมการที่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ (Executive Director) และผู้บริหาร จะไม่ได้รับค่าตอบแทนสําหรับการดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมการชุดย่อย
ค่าตอบแทนประจําไตรมาส ค่าเบีย ้ ประชุมในปี 2561 และเงินโบนัสทีค ่ ณะกรรมการได้รบ ั จากบริษท ั ฯ ในฐานะกรรมการบริษท ั และกรรมการ ชุดย่อยต่าง ๆ รวมเป็นจํานวนทั้งสิ้น 17,383,500 บาท โดยไม่มีสิทธิประโยชน์อื่นใดในรูปแบบอื่น รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมและ ค่าตอบแทนกรรมการมีดังนี้
187
ค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2561 การเข้าร่วมประชุม (ครั้ง) รายชื่อกรรมการ
ตําแหน่ง
คณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
ประชุม 8 ครั้ง
ประชุม 11 ครั้ง
คณะกรรมการ สรรหาและ กําหนด ค่าตอบแทน ประชุม 3 ครั้ง
คณะกรรมการ นโยบาย ความเสี่ยง ประชุม 5 ครั้ง
1. นายสุทธิชัย
จิราธิวัฒน์
ประธานกรรมการ
8/8
-
-
-
2. นายไพฑูรย์
ทวีผล
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง
8/8
11/11
-
5/5
3. นายการุณ
กิตติสถาพร
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน
8/8
11/11
3/3
-
4. นางโชติกา
สวนานนท์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน
8/8
11/11
3/3
-
5. นายวีรวัฒน์
ชุติเชษฐพงศ์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
7/8
11/11
-
-
6. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์
กรรมการ
8/8
-
-
-
7. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์
กรรมการ ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน
8/8
-
3/3
-
8. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์
กรรมการ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน
8/8
-
3/3
-
9. นายกอบชัย
จิราธิวัฒน์
กรรมการ กรรมการนโยบายความเสีย ่ ง
8/8
-
-
5/5
10. นายปริญญ์
จิราธิวัฒน์
กรรมการ กรรมการนโยบายความเสีย ่ ง ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน
8/8
-
2/3
5/5
11. นายปรีชา
เอกคุณากูล
กรรมการ กรรมการนโยบายความเสีย ่ ง
8/8
-
-
-
รวม
ค่าตอบแทนผู้บริหาร CPN พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนผูบ ้ ริหารโดยคํานึงถึงความเป็นธรรม และเหมาะสมตามหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย สอดคล้องกับผลการดําเนินงานของบริษท ั ฯ และพิจารณาเปรียบ เที ย บกั บ อั ต ราค่ า ตอบแทนของบริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรม เดียวกันหรือใกล้เคียงกับบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังพิจารณาผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละคน ตามเป้ า หมายของงานที่ รั บ ผิ ด ชอบโดยมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ประจําปีของบริษัทฯ เพื่อเป็น
188
แรงผลักดันให้ CEO และผู้บริหารสร้างความมั่นคงและเติบโต ให้แก่องค์กรในระยะยาว โดยมีรายละเอียดดังนี้ •
ค่ า ตอบแทน CEO: คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่ า ตอบแทนและคณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ CEO เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี เพื่ อ นํ า ผลประเมิ น ดั ง กล่ า วมาประกอบการพิ จ ารณากํ า หนด ค่าตอบแทนของ CEO ในรูปแบบของเงินเดือนและโบนัส สําหรับผลการดําเนินงานระยะสั้น นอกจากนี้ สําหรับผลการ
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 25
ค่ า ตอบแทนกรรมการและผู้ บ ริ ห าร
ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) ค่าตอบแทน รายไตรมาส
ค่าเบี้ยประชุม กรรมการบริษัท
ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ ตรวจสอบ
ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ สรรหา และกําหนด ค่าตอบแทน
ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ นโยบาย ความเสี่ยง
โบนัสประจําปี 1
รวม (บาท)
660,000
480,000
-
-
-
712,500
1,852,500
532,000
336,000
715,000
-
175,000
570,000
2,328,000
412,000
336,000
550,000
105,000
-
570,000
1,973,000
412,000
336,000
550,000
90,000
-
570,000
1,958,000
412,000
294,000
550,000
-
-
570,000
1,826,000
340,000
336,000
-
-
-
570,000
1,246,000
340,000
336,000
-
90,000
-
570,000
1,336,000
340,000
336,000
-
90,000
-
570,000
1,336,000
340,000
336,000
-
-
150,000
570,000
1,396,000
340,000
336,000
-
60,000
150,000
570,000
1,456,000
340,000
336,000
-
-
-
-
676,000
4,468,000
3,798,000
2,365,000
435,000
475,000
5,842,500
17,383,500
หมายเหตุ: 1 โบนัสประจําปี 2561 ซึ่งจ่ายให้แก่กรรมการภายในไตรมาส 1/2562
•
ดํ า เนิ น งานระยะยาว บริ ษั ท ฯ ยั ง จั ด ให้ มี ค่ า ตอบแทนที่ สอดคล้องกับผลการปฏิบัติงานในระยะยาวรวมถึงระยะเวลา การปฏิบัติงานเพื่อจูงใจให้ CEO มีส่วนร่วมในการบริหาร บริษัทฯ อย่างยั่งยืน ค่าตอบแทนผูบ ้ ริหารระดับสูง: CEO พิจารณาประเมินผลการ ปฏิบต ั ง ิ านของผูบ ้ ริหารระดับสูงเป็นรายบุคคลเป็นประจําทุกปี เพื่อนําผลประเมินดังกล่าวมาประกอบการพิจารณากําหนด ค่ า ตอบแทนของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในรู ป แบบของเงิ น เดื อ น และโบนัส
สําหรับค่าตอบแทนที่ให้แก่ผู้บริหารในปี 2561 มีดังนี้ • เงินเดือนและโบนัส: บริษัทฯ มีการให้ผลตอบแทนแก่ ผู้บริหารเป็นเงินเดือนและโบนัส สําหรับผู้บริหารจํานวน 16 คน รวมทั้งสิ้น 199,660,526 บาท • เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ: บริษัทฯ ได้สมทบ เงินเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผู้บริหารจํานวน 16 คน รวมทั้งสิ้น 9,946,238 บาท
189
โครงสร้างเงินทุนและนโยบายการจ่ายเงินปันผล วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีรายละเอียดของโครงสร้างเงินทุนที่สําคัญดังต่อไปนี้
1. โครงสร้างเงินทุน หุ้นสามัญ ทุนจดทะเบียน 2,244,000,000 บาท ทุนเรียกชําระแล้ว 2,244,000,000 บาท จํานวนหุ้นสามัญ 4,488,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ราคาหุ้น 74.75 บาท
หุ้นกู้ไม่มีประกันและไม่ด้อยสิทธิ 1 ชื่อหุ้นกู้
อันดับเครดิต ตราสารหนี้
จํานวน (ล้านบาท)
วันที่ออก หุ้นกู้
อายุ (ปี)
รอบการจ่าย ดอกเบี้ย
รอบการจ่าย คืนเงินต้น
วันครบ กําหนด
ยอดคงเหลือ 31 ธ.ค. 2561
CPN21OA
AA
300
12/10/2554
10
ทุก ๆ 3 เดือน
เมื่อครบกําหนด
12/10/2564
300
CPN19NA
n/a
1,000
07/11/2557
5
ทุก ๆ 6 เดือน
เมื่อครบกําหนด
07/11/2562
1,000
CPN221A
AA
1,000
02/06/2558
6.6
ครั้งเดียว
เมื่อครบกําหนด
12/01/2565
1,000
AA
800
06/08/2558
7
ทุก ๆ 6 เดือน
มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้
06/08/2565
800
16/12/2563
800
16/12/2564
800
16/12/2565
600
2
CPN228A
นับแต่วันที่หุ้นกู้ 2
CPN20DA
ครบกําหนด 5 ปี AA
800
16/12/2558
5
ทุก ๆ 6 เดือน
มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ นับแต่วันที่หุ้นกู้
CPN21DA
2
ครบกําหนด 3 ปี AA
800
16/12/2558
6
ทุก ๆ 6 เดือน
มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ นับแต่วันที่หุ้นกู้
2
CPN22DA
ครบกําหนด 4 ปี AA
600
16/12/2558
7
ทุก ๆ 6 เดือน
มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ นับแต่วันที่หุ้นกู้ ครบกําหนด 5 ปี
CPN218A
AA
1,900
08/08/2561
3
ทุก ๆ 6 เดือน
เมื่อครบกําหนด
08/08/2564
1,900
CPN258A
AA
1,000
08/08/2561
7
ทุก ๆ 6 เดือน
เมื่อครบกําหนด
08/08/2568
1,000
หมายเหตุ: 1
อัตราดอกเบีย ้ หุน ้ กูถ ้ ว ั เฉลีย ่ ร้อยละ 3.14 ต่อปี
2
ผู้ออกหุ้นกู้มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ทั้งหมดหรือบางส่วนในวันกําหนดชําระดอกเบี้ยใด ๆ นับแต่วันที่หุ้นกู้ครบกําหนดนับจากวันที่ออกหุ้นกู้
การดํารงสถานะทางการเงินตามข้อกําหนดสิทธิ 1. จํานวนรวมของหนี้สินต่อจํานวนรวมของส่วนของผู้ถือหุ้น
การดํารงอัตราส่วน
ข้อมูล ณ 31 ธ.ค. 2561
ไม่เกิน 2.50 เท่า
1.18 เท่า
2. จํานวนรวมของเงินกู้ยืมต่อจํานวนรวมของส่วนของผู้ถือหุ้น 2.1 ก่อนหักเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว
ไม่เกิน 1.75 เท่า
0.41 เท่า
2.2 หลังหักเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว
ไม่เกิน 1.75 เท่า
0.37 เท่า
3. จํานวนรวมของสินทรัพย์หลังจากหักภาระผูกพันต่อเงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกัน
ไม่ตํ่ากว่า 1.50 เท่า
4.72 เท่า
190
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 26
โครงสร้ า งเงิ น ทุ น และนโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล
ผู้ถือหุ้น บริษท ั ฯ มีการกระจายการถือหุน ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ดังนี้ ผู้ถือหุ้น
จํานวนหุ้น
ทุนจดทะเบียนชําระแล้ว
4,488,000,000
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) 100.00
ผู้ถือหุ้นในประเทศ - นิติบุคคล - บุคคลธรรมดา รวม
1,936,911,773
43.16
1,338,136,870
29.81
3,275,048,643
72.97
1,185,268,157
26.41
ผู้ถือหุ้นต่างประเทศ - นิติบุคคล
27,683,200
0.62
1,212,951,357
27.03
จํานวนหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
1,176,343,960
26.21
264,065,216
5.88
3. STATE STREET EUROPE LIMITED ***
152,701,205
3.40
4. SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED ***
146,230,181
3.26
5. BBHISL NOMINEES LIMITED ***
97,969,000
2.18
6. สํานักงานประกันสังคม
94,107,500
2.10
- บุคคลธรรมดา รวม
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ดังนี้ * รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จํากัด ** 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด
7. BANK OF SINGAPORE LIMITED-SEG ***
79,490,020
1.77
8. CREDIT SUISSE AG, HONG KONG BRANCH ***
77,206,560
1.72
9. UBS AG SINGAPORE BRANCH ***
65,893,600
1.47
10. BANK OF SINGAPORE LIMITED-THB SEG AC ***
57,850,648
1.29
2,211,857,890
49.28
รวม หมายเหตุ: *
รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 รายแรก จัดเรียงโดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด
**
เป็นการถือหุ้นโดยครอบครัวจิราธิวัฒน์
***
นายทะเบียนไม่สามารถระบุรายชื่อผู้ถือหุ้นในรายละเอียดได้ อย่างไรก็ตาม Nominee Account ดังกล่าวไม่มีพฤติการณ์ที่มีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายและการจัดการของบริษัทฯ
กลุม ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ทโี่ ดยพฤติการณ์มอ ี ท ิ ธิพลต่อการกําหนด นโยบายหรือการดําเนินงานของบริษัทฯ อย่างมีนัยสําคัญ
ข้อจํากัดการถือครองหลักทรัพย์ ของบุคคลต่างด้าว
บริ ษั ท เซ็ น ทรั ล โฮลดิ้ ง จํา กั ด และบุ ค คลในตระกู ล จิ ร าธิ วั ฒ น์ รวมถือหุ้นประมาณร้อยละ 53 เป็นกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดย พฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายหรือการดําเนินงาน ของบริ ษั ท ฯ อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ เนื่ อ งจากมี ผู้ แ ทนเข้ า ร่ ว มเป็ น คณะกรรมการบริษท ั จํานวน 6 ท่าน จากจํานวนกรรมการทัง ้ สิน ้ 11 ท่าน
บริษัทฯ มีข้อจํากัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว (Foreign Limit) ไว้ร้อยละ 30 ของทุนชําระแล้ว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีบุคคลต่างด้าวถือครองหลักทรัพย์ของ CPN ร้อยละ 27.03 ของทุนชําระแล้ว
191
รายละเอียดการถือหลักทรัพย์ของ CPN โดยกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2561 รายชื่อ
ตําแหน่ง
จํานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ทางตรง
ทางอ้อม
1
รวม
1. นายสุทธิชัย
จิราธิวัฒน์
ประธานกรรมการ
3,312,800
22,293,200
25,606,000
2. นายไพฑูรย์
ทวีผล
กรรมการอิสระ
-
-
-
3. นายการุณ
กิตติสถาพร
กรรมการอิสระ
-
-
-
4. นางโชติกา
สวนานนท์
กรรมการอิสระ
-
-
-
5. นายวีรวัฒน์
ชุติเชษฐพงศ์
กรรมการอิสระ
-
-
-
6. นายสุทธิเกียรติ
จิราธิวัฒน์
กรรมการ
22,645,900
-
22,645,900
7. นายสุทธิศักดิ์
จิราธิวัฒน์
กรรมการ
28,346,400
-
28,346,400
8. นายสุทธิธรรม
จิราธิวัฒน์
กรรมการ
26,764,600
-
26,764,600
9. นายกอบชัย
จิราธิวัฒน์
กรรมการ
27,105,400
113,000
27,218,400
10. นายปริญญ์
จิราธิวัฒน์
กรรมการ
42,145,895
192,000
42,337,895
11. นายปรีชา
เอกคุณากูล
กรรมการ
-
3,000
3,000
กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 12. นางสาววัลยา
จิราธิวัฒน์
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
13. นายสุทธิภัค
จิราธิวัฒน์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่
14. นางสาวนภารัตน์
ศรีวรรณวิทย์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
17,199,200
-
17,199,200
25,589,600
-
25,589,600
54,000
24,000
78,000
สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง 15. นายปกรณ์
พรรธนะแพทย์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานคอมเมอร์เชียล
16. นายชนวัฒน์
เอือ ้ วัฒนะสกุล
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
17. นางสุวดี
สิงห์งาม
-
-
-
17,504,866
-
17,504,866
20,000
48,000
68,000
สายงานพัฒนาธุรกิจและโครงการ
หมายเหตุ:
192
1
ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี และบริหารสํานักงาน
ถือหลักทรัพย์โดยคู่สมรส และ/หรือ บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการหรือผู้บริหาร
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 26
การเปลี่ยนแปลงจํานวนการถือหุ้น เพิ่ม / (ลด) ในปี 2561 1
โครงสร้ า งเงิ น ทุ น และนโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล
จํานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 รวม
1
ทางอ้อม
ทางตรง
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
ทางตรง
ทางอ้อม
รวม
-
-
-
3,312,800
22,293,200
25,606,000
0.57
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
22,645,900
-
22,645,900
0.50
-
-
-
28,346,400
-
28,346,400
0.63
-
-
-
26,764,600
-
26,764,600
0.60
-
-
-
27,105,400
113,000
27,218,400
0.61
-
-
-
42,145,895
192,000
42,337,895
0.94
-
-
-
-
3,000
3,000
0.00
-
-
-
17,199,200
-
17,199,200
0.38
-
-
-
25,589,600
-
25,589,600
0.57
-
-
-
54,000
24,000
78,000
0.00
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
17,504,866
-
17,504,866
0.39
-
-
-
20,000
48,000
68,000
0.00
2. นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตํ่ากว่าประมาณ ร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิจากการดําเนินงานของงบการเงินรวม หากไม่มีเหตุจําเป็นอื่นใด ทั้งนี้ จํานวนเงินปันผลจ่ายจะต้องไม่ เกินกว่ากําไรสะสมของงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลเมื่อบริษัทย่อยมีกําไรสุทธิ จากการดํ า เนิ น งานและมี ก ระแสเงิ น สดคงเหลื อ เพี ย งพอ โดยอั ต ราการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลจะขึ้ น อยู่ กั บ การพิ จ ารณาของ คณะกรรมการและผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ย่อย ทัง ้ นี้ จํานวนเงินปันผล จ่ายจะต้องไม่เกินกว่ากําไรสะสมของงบการเงินบริษัทย่อย
193
การควบคุมภายใน
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 27
การควบคุ ม ภายใน
ความเห็นคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และฝ่ายจัดการ ของบริษท ั ฯ ตระหนักถึงการมีระบบควบคุมภายในทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ และมีความเพียงพอ โดยกําหนดให้มก ี ารควบคุมภายในตามกรอบ การควบคุมภายในของ COSO 2013 (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) โดยได้มอบหมายให้สาํ นักตรวจสอบภายในทําหน้าทีป ่ ระเมินความ เพี ย งพอและเหมาะสมของระบบการควบคุ ม ภายในเป็ น ประจํ า ทุกปี เพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการทํางานของบริษัทฯ ในทุกด้าน มีประสิทธิภาพประสิทธิผล และเป็นไปตามมาตรฐานสากล ในปี 2561 สํานักตรวจสอบภายในได้ประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายในด้านต่าง ๆ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การ ควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการ ปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการ ติ ด ตาม ตามแบบประเมิ น ที่ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) กําหนด และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ ก่อนที่จะรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป ในปี 2561 บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งหมด 11 ครั้ง ในการประชุมแต่ละครั้งจะมีวาระการประชุมเพื่อ สอบทานความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน ผ่ า น กระบวนการสอบทานรายงานผลการตรวจสอบของสํานักตรวจ สอบภายในและผู้สอบบัญชี สอบทานการทํารายการระหว่างกัน สอบทานให้บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงและการกํากับดูแล กิจการทีด ่ ี และให้ขอ ้ เสนอแนะทีจ ่ าํ เป็นเพือ ่ การพัฒนาและติดตาม การปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านของผู้ บ ริ ห ารตามข้ อ เสนอแนะใน รายงานทีเ่ กีย ่ วข้อง รวมทัง ้ พิจารณากระบวนการภายในเกีย ่ วกับ
การรับแจ้งเบาะแสและการรับข้อร้องเรียน ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบครั้ ง ที่ 1/2562 วั น ที่ 9 มกราคม 2562 มีการรายงานผลการประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ฯ ประจํ า ปี 2561 ซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษั ท ฯ มี ค วามเพี ย งพอและเหมาะสม และที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2562 โดยมีกรรมการอิสระทั้ง 4 ท่าน (ซึ่งเป็นกรรมการตรวจสอบ) เข้าร่วมประชุมด้วย โดยคณะกรรมการบริษัทได้ให้ความเห็นชอบ ว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษท ั ฯ อยูใ่ นระดับทีน ่ า่ พอใจ และ สามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของ งบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (ดังปรากฏในหัวข้อ “รายงานความรั บ ผิ ด ของคณะกรรมการต่ อ รายงานทาง การเงิ น ”) ตามที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบได้ ใ ห้ ค วามเห็ น ไว้ (ดั ง ปรากฏในหั ว ข้ อ “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ”) โดยบริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี บุ ค ลากรอย่ า งเพี ย งพอที่ จ ะดํ า เนิ น การ ตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผู้บริหารระดับสูงให้ความ สํ า คั ญ และติ ด ตามการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํ า กั ด ซึ่ ง เป็ น ผู้ ต รวจสอบงบการเงิ น รายไตรมาสและประจํ า ปี 2561 ได้ให้ความเห็นในรายงานการสอบบัญชีว่า งบการเงินรวม และงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรในสาระสํ า คั ญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น (ดั ง ปรากฏในหั ว ข้ อ “รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต”) สรุปผลประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในด้าน ต่าง ๆ 5 องค์ประกอบได้ดังนี้
195
1. การควบคุมภายในองค์กร
2. การประเมินความเสี่ยง
บริษัทฯ มีสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่เหมาะสมดังนี้
บริษท ั ฯ มีการประเมินความเสีย ่ งตามกรอบการบริหารความเสีย ่ ง สากล COSO ERM 2017 และระบุปัจจัยความเสี่ยงองค์กร ตามรายละเอี ย ดที่ ป รากฏในหั ว ข้ อ “ปั จ จั ย ความเสี่ ย ง” ทั้ ง นี้ การดําเนินการในภาพรวมด้านการประเมินความเสี่ยงสามารถ สรุปได้ดังนี้
(Control Environment)
•
•
•
•
•
196
คณะกรรมการบริษัทมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร และ เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับธุรกิจเป็นอย่างดี โดยมีกฎบัตรของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อยต่าง ๆ ไว้อย่างชัดเจน อาทิ กฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ กฎบั ต รคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่าตอบแทน และกฎบัตรคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง กฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง กฎบั ต รคณะ กรรมการบริหาร กฎบัตรคณะกรรมการจัดการ เพื่อให้การ ปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิ ท ธิ ผ ล เป็ น ธรรม และสอดคล้ อ งตามแนวทาง การกํากับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั ฯ ตลอดจนมีกระบวนการ สรรหาและพิจารณาคุณสมบัติของกรรมการและกรรมการ ผูจ ้ ด ั การใหญ่ภายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทนก่อนเสนอให้คณะกรรมการบริษัท อนุมัติแต่งตั้ง มีการกําหนดจรรยาบรรณและหลักการกํากับดูแลกิจการ มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน รวมถึงจรรยาบรรณ สําหรับคู่ค้า ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ตลอดจนมีการสื่อสาร ให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และบุคคลภายนอกรับทราบ อย่างชัดเจน มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านตามหลักจรรยาบรรณ ของบริษัทฯ ซึ่งจัดให้ผู้บริหารและพนักงานทําแบบประเมิน ประจําปีผา่ นระบบออนไลน์ ได้แก่ 1) แบบประเมินตนเองตามหลัก บรรษัทภิบาล (CG Individual Assessment) ซึ่งพัฒนา โดยฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและการพัฒนาที่ยั่งยืนร่วมกับ สํ า นั ก เลขานุ ก ารบริ ษั ท 2) การประเมิ น ผลพฤติกรรม (Behavior Assessment) ซึ่ ง จั ด ทํ า โดยหน่ ว ยงาน ทรัพยากรบุคคล กําหนดเป้าหมายการดําเนินธุรกิจที่ชัดเจน วัดผลได้ มีการ จั ด ฝึ ก อบรมในหลั ก สู ต รต่ า ง ๆ และกํ า หนดแผนอบรม ประจําปี เพื่อพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ มี ก ารสร้ า งแรงจู ง ใจและจั ด กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อผ่อนคลายความกดดันในการทํางานให้ กับพนักงาน นอกจากนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนผังโครงสร้าง องค์กร เพือ ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร การแข่งขัน ทางธุรกิจ และสภาวการณ์ในปัจจุบัน อีกทั้งมีการดําเนิน งานด้ า นแผนสื บ ทอดตํ า แหน่ ง (Succession Plan) สํ า หรั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ เ ป็ น Key Position มี ก าร กํ า หนดแผนอาชี พ และแผนพั ฒ นาศั ก ยภาพ เพื่ อ ให้ การดําเนินธุรกิจเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ในปี 2561 บริษท ั ฯ ได้ผา่ นการประเมินจากหน่วยงานภายนอก โดยได้รับการรับรองต่ออายุการเข้าร่วมโครงการแนวร่วม ปฏิบัติภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC)
(Risk Assessment)
•
•
•
การบริ ห ารความเสี่ ย งอยู่ ภ ายใต้ ก ารกํ ากั บ ดู แ ลโ ดย คณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง และมีคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งที่ มี ห น้ า ที่ ท บทวนและประเมิ น ความเสี่ ย งที่ ครอบคลุมทั้งปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร รวมทั้งมี การติดตามแผนการปฏิบัติงานเพื่อจัดการความเสี่ยงทั้ง ระดับองค์กรและระดับฝ่ายงาน โดยฝ่ายบริหารความเสี่ยง จะรายงานในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยงทุกไตรมาส มีการสื่อสารให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความ เสีย ่ งผ่านการจัดอบรม เช่น งานสัมมนา Cyber Security ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และการจั ด อบรมผู้ บ ริ ห ารสาขาให้ มี ความเข้าใจกระบวนการบริหารความเสี่ยง เป็นต้น ประเมินการเปลีย ่ นแปลงรูปแบบของธุรกิจทีอ ่ าจมีผลกระทบ ต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ปรั บ กลยุ ท ธ์ แ ละเป้ า หมายของ องค์ ก รให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มีการประเมินปัจจัยต่าง ๆ เช่ น สิ่ ง แวดล้ อ มระดั บ มหภาค ทั้งในประเทศและภูมิภาคใกล้เคียง การแข่งขันด้านค้าปลีก และแนวโน้มที่สําคัญ
3. การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities)
บริ ษั ท ฯ ควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ โดยมี ม าตรฐาน การควบคุมที่สําคัญดังนี้ •
•
มี น โยบายและระเบี ย บการปฏิ บั ติ ง านที่ ส นั บ สนุ น ให้ มี ก าร ควบคุมภายในอย่างเหมาะสม โดยครอบคลุมกระบวนการที่ สําคัญต่าง ๆ เช่น ขั้นตอนวิธีการทําธุรกรรมกับผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าว ขัน ้ ตอนการอนุมต ั ธ ิ รุ กรรมต่าง ๆ อาทิ ด้านการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารทั่วไป รวมถึงการแบ่งแยกหน้าที่ ให้มีความเหมาะสม กําหนดนโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน นโยบายการจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นโยบาย การทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น เพื่ อ เป็ น แนวทางในการ ดําเนินงานของบุคลากรของบริษท ั ฯ อีกทัง ้ ยังสือ ่ สารถึงคูค ่ า้ และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ รับทราบผ่านระบบ Intranet และ Website ของบริษัทฯ
รายงานประจําปี 2561
•
บทที่ 27
ดําเนินการตามมารตฐานสากล เช่น ISO 14001, ISO 50001, ISO 20121, ISO 45001 และการปฏิ บั ติ ง านผ่ า นระบบ สารสนเทศ โดยบริ ษั ท ฯ มี ก ารกํ า หนดการควบคุ ม ความ ปลอดภั ย ของระบบผ่ า นนโยบายด้ า นความปลอดภั ย สารสนเทศ และมาตรฐานความปลอดภั ย สารสนเทศ โดยสือ ่ สารไว้ใน “จรรยาบรรณและหลักการกํากับดูแลกิจการ” อีกทั้งมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานโดยฝ่าย IT Audit เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง การควบคุ ม ภายในของระบบสารสนเทศให้ ดียิ่งขึ้น
การควบคุ ม ภายใน
•
4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication)
บริษัทฯ มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้ •
•
•
•
คณะกรรมการบริ ษั ท กํ า หนดนโยบายและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการ รักษาความลับ (Confidentiality) การรักษาความน่าเชือ ่ ถือ (Integrity) และความพร้อมใช้ของข้อมูล (Availability) รวมทั้ ง การจั ด การข้ อ มู ล ที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ ราคาหลั ก ทรัพย์ (Market Sensitive Information) ตลอดจนกํากับ ดูแลให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และพนักงาน รวมทั้ง บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามระบบการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล จัดการข้อมูลสําคัญต่าง ๆ ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูล อื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและมีระบบในการสื่อสารข้อมูล ต่าง ๆ อย่างเพียงพอและทันท่วงที เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทใช้ประกอบการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี การสื่อสารข้อมูลให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบก่อนวัน ประชุมล่วงหน้าตามระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไว้ มี ช่ อ งทางการสื่ อ สารทั้ ง ภายในและภายนอกผ่ า นระบบ Intranet และ Website ของบริษท ั ฯ เพือ ่ ให้ผท ู้ ส ี่ นใจรับทราบ ข้อมูลข่าวสารของบริษท ั ฯ รวมถึงช่องทางในการแจ้งข้อมูล หรือเบาะแสเกีย ่ วกับการทุจริตได้ ในส่วนของการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล บริษท ั ฯ มี การจัดเก็บเอกสารสําคัญของบริษท ั ฯ อย่างเป็นระบบและเป็น หมวดหมู่ โดยบริษท ั ฯ มีแผนทีจ ่ ะพัฒนาการจัดเก็บเอกสารให้ เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึน ้ เพือ ่ ให้การสืบค้นเอกสารเป็นไป อย่างรวดเร็วที่สุด ป้องกันเอกสารสูญหาย และลดการเก็บ เอกสารทีเ่ ป็นกระดาษ
•
ในปี ที่ ผ่ า นมา กรณี ที่ ผ ลการดํ า เนิ น งานมี ค วามแตกต่ า ง จากเป้าหมายที่กําหนดไว้ บริษัทฯ ได้กําหนดให้แก้ไขภายใน ระยะเวลาที่เหมาะสม โดยมีผู้บังคับบัญชาตามสายงานเป็น ผู้ ติ ด ตามความคื บ หน้ า และรายงานให้ ผู้ บ ริ ห ารรั บ ทราบ เป็นประจําผ่านการประชุมของฝ่ายจัดการ มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ วางไว้อย่างสมํ่าเสมอ โดยสํานักตรวจสอบภายในที่มีสาย รายงานขึน ้ ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และผูต ้ รวจสอบ ภายในได้รับการส่งเสริมให้พัฒนาการปฏิบัติงานให้เป็นไป ตามมาตรฐานสากลอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสํานักตรวจสอบ ภายในได้ รั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพงานตรวจสอบภายใน โดยผู้ประเมินจากบริษัทชั้นนําภายนอกทุก 5 ปี เพื่อให้การ ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเป็นไปตามมาตรฐานสากลและ แนวทางการปฏิบัติที่ดี มีนโยบายและช่องทางการสือ ่ สารทีช ่ ด ั เจน เพือ ่ ให้ฝา่ ยบริหาร สามารถรายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะ กรรมการบริษัทอย่างทันกาล ซึ่งได้สื่อสารไว้ใน “มาตรการ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน” เมื่อเกิดเหตุการณ์ทุจริต หรือ สงสัยว่ามีเหตุการณ์ทจ ุ ริต หรือมีการปฏิบต ั ท ิ ฝ ี่ า่ ฝืนกฎหมาย และมีการกระทําทีผ ่ ด ิ ปกติอน ื่ เป็นต้น
หัวหน้างานตรวจสอบภายใน ปั จ จุ บั น หั ว ห น้ า ง า น ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ คื อ นางสาวนงลั ก ษณ์ ศรี ว งศ์ พ นาเวศ ผู้ ช่ ว ยผู้ อํ า นวยการ สํ า นั ก ตรวจสอบภายใน มี ป ระสบการณ์ ใ นการปฏิ บั ติ ง านด้ า น การตรวจสอบภายในในธุรกิจทีม ่ ล ี ก ั ษณะเดียวกับบริษท ั ฯ มาเป็น ระยะเวลา 17 ปี และมีความเข้าใจในกิจกรรมและการดําเนินงาน ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ คุ ณ สมบั ติ ข องผู้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง หั ว หน้ า งานตรวจสอบภายใน รวมทั้ ง ประสบการณ์ ปรากฏในหั ว ข้ อ “รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุการบริษัท”
5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities)
บริษท ั ฯ มีระบบติดตามทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพเพียงพอและเหมาะสมดังนี้ •
มีการติดตามผลการดําเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายการ ดําเนินธุรกิจผ่านทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั จํานวน 8 ครัง ้
197
รายการระหว่างกัน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลักในการ ให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ศู น ย์ ก ารค้ า และประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งและ ส่ ง เสริมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ความสําเร็จตลอดระยะ เวลาการดําเนินธุรกิจทีผ ่ า่ นมาของ CPN ส่วนหนึง ่ เป็นผลมาจาก การที่ CPN เป็นหนึ่งในสายธุรกิจของกลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งเป็นผู้นําใน ธุรกิจค้าปลีกมายาวนาน โดยกลุ่มเซ็นทรัลมีธุรกิจที่หลากหลาย ทั้งธุรกิจห้างสรรพสินค้า ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจร้านอาหาร และ ธุรกิจค้าปลีกสินค้าหลากหลายยี่ห้อและผลิตภัณฑ์ และธุรกิจใน กลุม ่ ดังกล่าวเป็นผูเ้ ช่าพืน ้ ทีใ่ หญ่และผูเ้ ช่าพืน ้ ทีร่ า้ นค้าในแต่ละศูนย์ ของ CPN จึงอาจกล่าวได้ว่าธุรกิจต่าง ๆ ในกลุ่มเซ็นทรัลเป็น พันธมิตรทางการค้ากับ CPN ที่ช่วยเพิ่มอัตราการเช่า และสร้าง ความมัน ่ ใจแก่ลก ู ค้ารายอืน ่ ๆ ให้มาเช่าพืน ้ ทีภ ่ ายในศูนย์การค้าของ CPN ซึ่งมีส่วนช่วยยืนยันความสําเร็จของโครงการต่าง ๆ และ สร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับผู้ถือหุ้นของ CPN จากความสัมพันธ์ ทางการค้าดังกล่าวข้างต้นระหว่าง CPN และกลุม ่ เซ็นทรัลซึง ่ เป็น บุคคลทีเ่ กีย ่ วโยงกัน โดยมีผถ ู้ อ ื หุน ้ รายใหญ่เป็นครอบครัวจิราธิวฒ ั น์ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ความสัมพันธ์ทางการค้าดังกล่าวข้างต้นเป็นจุดแข็งในการดําเนิน ธุรกิจของ CPN โดยมีความจําเป็น สมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะ กรรมการตรวจสอบได้กาํ กับดูแลให้มก ี ารทํารายการให้เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริษท ั ฯ ได้เปิดเผยรายละเอียดการทํารายการระหว่างกันกับกิจการ และบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งของบริษัทฯ และบริษัทย่อยไว้ใน งบการเงินประจําปี 2561 ซึง ่ รายการส่วนใหญ่เป็นการทํารายการ ระหว่างบริษัทฯ กับกิจการในกลุ่มเซ็นทรัลและกลุ่มจิราธิวัฒน์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ของบริษัทฯ ในขณะเดียวกันบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลมีการประกอบ ธุรกิจห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้าปลีก และร้านอาหาร แบรนด์ชั้นนําต่าง ๆ ซึ่งเป็นกิจการที่เกี่ยวเนื่องและส่งเสริมธุรกิจ ของบริษท ั ฯ ทําให้บริษท ั ฯ มีรายได้จากรายการค้าทีเ่ ป็นไปตามปกติ ธุรกิจและเงื่อนไขการค้าทั่วไปจากกิจการในกลุ่มเซ็นทรัลซึ่งเป็น องค์กรที่มีศักยภาพในการเติบโตและมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง นอกจากนี้ ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้าปลีก และร้าน อาหารแบรนด์ชั้นนําในศูนย์การค้าจะเป็นส่วนที่ดึงดูดให้ลูกค้าเข้า มาใช้บริการในศูนย์การค้ามากขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มผลตอบแทนให้ กับบริษท ั ฯ และผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยรวม โดยบริษท ั ฯ มีนโยบายการกําหนด อัตราค่าเช่าและค่าบริการต่าง ๆ เพื่อเรียกเก็บจากกิจการและ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ •
•
รายการระหว่างกันกับกิจการและบุคคล ที่เกี่ยวข้อง 1. รายได้จากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน ประกอบด้ ว ย รายได้ จ ากการให้ เ ช่ า พื้ น ที่ แ ละการให้ บ ริ ก าร สาธารณู ป โภคภายในศู น ย์ ก ารค้ า รายได้ จ ากการให้ เ ช่ า ที่ ดิ น รายได้ ค่ า บริ ห ารงาน และรายได้ อื่ น ๆ จากค่ า เบี้ ย ประกั น ภั ย ค่ า ภาษี โ รงเรื อ น ค่ า ใช้ จ่ า ยส่ ง เสริ ม การขาย ค่ า ธรรมเนี ย ม คํ้ า ประกั น และค่ า บริ ก ารต่ า ง ๆ ที่ เ รี ย กเก็ บ จากกิ จ การและ บุคคลที่เกี่ยวข้องกันในปี 2561 รวมจํานวน 4,815 ล้านบาท
ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ บริษท ั ฯ ประกอบธุรกิจหลักในการให้เช่าและให้บริการพืน ้ ทีค ่ า้ ปลีก ภายในศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน อาคารทีพ ่ ก ั อาศัย ศูนย์อาหาร สวนนํ้าและสวนพักผ่อน ที่ตั้งอยู่ในบริเวณโครงการศูนย์การค้า ตลอดจนเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารสาธารณู ป โภคภายในศู น ย์ ก ารค้ า
198
•
อั ต ราค่ า เช่ า ค่ า บริ ก าร และค่ า บริ ก ารสาธารณู ป โภค จากการให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ใ นศู น ย์ ก ารค้ า ที่ บ ริ ษั ท ฯ เรี ย กเก็ บ จาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน จะเป็นไปตามราคาตลาด ซึ่งหาก เที ย บเคี ย งกั บ ร้ า นค้ า อื่ น ที่ เ ช่ า อยู่ บ ริ เ วณติ ด กั น หรื อ ใกล้ เคี ย งกั น และอยู่ ใ นชั้ น เดี ย วกั น จะมี อั ต ราค่ า เช่ า และ ค่าบริการใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ อัตราค่าเช่าจะขึ้นอยู่กับทําเล ขนาดพื้ น ที่ รู ป แบบการเช่ า ระยะเวลาที่ เ ช่ า และประเภท ของการเช่ า และเป็ น ไปตามหลั ก การของรายการค้ า ที่เป็นปกติธุรกิจที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป รายได้ อื่ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการเรี ย กเก็ บ ค่ า เบี้ ย ประกั น ภั ย ค่าภาษีโรงเรือน ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ค่าธรรมเนียม คํ้ า ประกั น และค่ า บริ ก ารต่ า ง ๆ ที่ เ รี ย กเก็ บ จากลู ก ค้ า ที่ เ ช่ า พื้ น ที่ ใ น ศู น ย์ ก า ร ค้ า นั้ น บ ริ ษั ท ฯ มี น โ ย บ า ย แ ล ะ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ที่ จ ะ เ รี ย ก เ ก็ บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ดั ง ก ล่ า ว เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น เ ดี ย ว กั น ทั้ ง กั บ กิ จ ก า ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั น แ ล ะ ลู ก ค้ า ทั่ ว ไป โดยคิ ด จากต้ น ทุ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และเป็ น ไปตามประเภท ลั ก ษณะการเช่ า พื้ น ที่ และหลั ก การของรายการค้ า ที่ เ ป็ น ปกติ ธุ ร กิ จ ที่ มี เงื่อนไขการค้าทั่วไป รายได้จากการให้เช่าทีด ่ น ิ โครงการของบริษท ั ฯ บางโครงการ มีการพัฒนาศูนย์การค้าบนที่ดินแปลงเดียวกันกับโครงการ ของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล โดยพิจารณาจากการส่งเสริม ความได้ เ ปรี ย บทางการตลาด และขนาดโครงการที่ เหมาะสม ซึ่งการพัฒนาโครงการขึ้นมาบนที่ดินแปลงเดียว กั น นั้ น จะดํ า เนิ น การโดยให้ บ ริ ษั ท ใดบริ ษั ท หนึ่ ง เป็ น ผู้ ซื้ อ หรือเช่าที่ดินทั้งแปลงจากเจ้าของที่ดิน และนําที่ดินให้อีก บริ ษั ท หนึ่ ง เช่ า หรื อ เช่ า ช่ ว งตามสั ด ส่ ว นพื้ น ที่ ที่ ต้ อ งการใน ราคาทุ น บวกดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง หรื อ ในราคาตลาดที่ ประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ โดยเป็นไปตามกฎหมายและกฎ ระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) และ/หรือ หน่วยงาน อื่ น ใดที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง รายได้ ใ นการให้ เ ช่ า ที่ ดิ น จะได้ รั บ การ สอบทานและตรวจสอบจากผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ เป็นประจําทุกปี
รายงานประจําปี 2561
•
บทที่ 28
รายการระหว่ า งกั น
รายได้ จ ากการให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ ใ นโครงการ ศู น ย์ ก ารค้ า จะมี ก ารตกลงในส่ ว นของค่ า ตอบแทนกั น ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการออกแบบโครงการ โดยอั ต ราค่ า เช่ า จะคํ า นวณจากต้ น ทุ น ค่ า ที่ ดิ น และค่ า ก่ อ สร้ า งรวมด้ ว ย
ดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง และค่ า ใช้ จ่ า ยในการดํ า เนิ น งาน ซึ่ ง รายได้ จ ากค่ า ตอบแทนการเช่ า พื้ น ที่ ใ หญ่ ใ นโครงการ ศู น ย์ ก ารค้ า จะได้ รั บ การสอบทานและตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี
รายละเอียดรายได้จากกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน กิจการและบุคคล ที่เกี่ยวข้องกัน
ลักษณะรายการ
1. บริ ษั ท ฯ มี ร ายได้ ค่ า เช่ า ค่ า บริ ก าร
ลักษณะความสัมพันธ์
1
1. Central Department Store Group (CDG) 2
กลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (ล้านบาท) 1,858
ค่าบริการสาธารณูปโภค และรายได้อน ื่ ๆ
2. Central Food Retail Group (CFG)
656
จากการให้เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าและ
3. Central Hardlines Group (CHG)
246
อาคารสํานักงาน ซึง ่ เป็นรายการปกติ
4. Central Online Group (COL)
ธุรกิจที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป
5. Central Marketing Group (CMG)
2. บริษัทฯ ให้เช่าช่วงที่ดินและสิ่งปลูก
9
สร้างบริเวณโครงการเซ็นทรัลเวิลด์
3. บริษท ั ฯ ให้เช่าช่วงทีด ่ น ิ บริเวณโครงการ เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย
10
3
4
192
5
401
6
6. Centara Hotels and Resorts Group (CHR)
144
7. Central Restaurants Group (CRG)
469
7
8
8. กิจการอื่น ๆ
บุคคลทีเ่ กีย ่ วโยงกันของบริษท ั ฯ เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้
849
รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอาํ นาจ ควบคุม
หมายเหตุ: CDG ดําเนินธุรกิจห้างสรรพสินค้า ประกอบด้วย ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล, ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน, ห้างสรรพสินค้าเซน, ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี, ซูเปอร์สปอร์ต, ห้างสรรพสินค้า La Rinascente และ ห้างสรรพสินค้า ILLUM เป็นต้น CFG ดําเนินธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย เซ็นทรัล ฟู้ด ฮอลล์, ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต, แฟมิลี่มาร์ท, อีตไทย และเซ็นทรัล ไวน์ เซลลาร์ 3 CHG ดําเนินธุรกิจสินค้าตกแต่งบ้านและเครื่องใช้ไฟฟ้า ประกอบด้วย เพาเวอร์บาย, บ้านแอนด์บียอนด์ และไทวัสดุ 4 COL ดําเนินธุรกิจอุปกรณ์เครื่องเขียน หนังสือ และออนไลน์ ประกอบด้วย ออฟฟิศเมท และบีทูเอส 5 CMG ดําเนินธุรกิจบริหารและจัดการสินค้านําเข้าทั้งที่เป็น International Brands และ House Brands ประกอบด้วย - กลุ่มเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เช่น Dorothy Perkins, Hush Puppies, G2000, Jockey, Lee, Miss Selfridge, Wrangler, Topshop Topman และ Nautica เป็นต้น - กลุ่มเครื่องสําอาง เช่น CLARINS, Illamasqua และ H2O เป็นต้น - กลุ่มนาฬิกา เช่น Guess และ Casio เป็นต้น - กลุ่มสินค้าเบ็ดเตล็ด เช่น Dyson, Tanita และ Kawai เป็นต้น 6 CHR ดําเนินธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา 7 CRG ดําเนินธุรกิจร้านอาหาร โดยมีแบรนด์ธุรกิจหลากหลายรูปแบบ เช่น Mister Donut, KFC, Auntie Anne’s, Pepper Lunch, Chabuton, Cold Stone Creamery, Yoshinoya, Ootoya, The Terrace และ Tenya เป็นต้น 8 กิจการอื่น ๆ เช่น ภัตตาคารอาหารญี่ปุ่น ฟูจิ, ห้องอาหารซากุระ, เดอะบาร์บีคิวพลาซา, เดอะ บอดี้ ช็อป และรากาซเซ เป็นต้น 9 กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ได้ทาํ สัญญาให้เช่าช่วงทีด ่ น ิ และสิง ่ ปลูกสร้าง บริเวณโครงการเซ็นทรัลเวิลด์ กับ บริษท ั โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จํากัด จํานวนประมาณ 2.53 ไร่ ระยะเวลา 29 ปี สัญญาสิน ้ สุดวันที่ 22 ธันวาคม 2575 เพื่อพัฒนาโรงแรม ที่จอดรถ และ Convention Hall อัตราค่าเช่าระหว่างกันเป็นไปตามหลักการคํานวณค่าเช่าที่ดินของบริษัทฯ และต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง โดยมีการคิดค่าเช่าเป็น 2 ส่วน คือ ค่าเช่าช่วงจ่ายล่วง หน้าในปีที่ทําสัญญา และค่าเช่าช่วงรายปี 10 บริษท ั เซ็นทรัลเวิลด์ จํากัด ได้ทาํ สัญญาให้เช่าช่วงทีด ่ น ิ บางส่วนของโครงการเซ็นทรัลเฟสติวล ั สมุย แก่บริษท ั โคซี่ โฮเต็ล จํากัด เพือ ่ พัฒนาธุรกิจโรงแรม จํานวน 2 ไร่ 73 ตารางวา สัญญาสิน ้ สุดวันที่ 27 กันยายน 2586 ระยะเวลาประมาณ 27 ปี 2 เดือน และสิทธิในการต่ออายุสัญญาเช่าช่วงอีก 10 ปี รวมประมาณ 37 ปี 2 เดือน โดยบริษัทฯ ได้รับค่าตอบแทนสิทธิการเช่าช่วงรวม 62 ล้านบาท ตลอดระยะเวลาการให้เช่าช่วง ซึ่งรายการดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทที่ไม่มีส่วนได้เสียในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2559 เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2559 1
2
2. ค่าใช้จ่ายที่จ่ายให้กับกิจการและบุคคลที่ เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการเช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า ค่าเช่าที่ดิน และค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน โดยในปี 2561 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่าย ที่จ่ายให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันจํานวน 1,353 ล้านบาท
ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ •
การเช่ า ที่ ดิ น จากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น โครงการของ บริษท ั ฯ บางโครงการมีการพัฒนาศูนย์การค้าบนทีด ่ น ิ แปลง เดียวกันกับโครงการของบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัล โดยพิจารณา จากการส่ ง เสริ ม ความได้ เ ปรี ย บทางการตลาด และขนาด โครงการที่เหมาะสม ซึ่งการพัฒนาโครงการขึ้นมาบนที่ดิน แปลงเดียวกันนัน ้ จะดําเนินการโดยให้บริษท ั ใดบริษท ั หนึง ่ เป็น ผูซ ้ อ ื้ หรือเช่าทีด ่ น ิ ทัง ้ แปลงจากเจ้าของทีด ่ น ิ และนําทีด ่ น ิ ให้อก ี บริ ษั ท หนึ่ ง เช่ า หรื อ เช่ า ช่ ว งตามสั ด ส่ ว นพื้ น ที่ ที่ ต้ อ งการใน
199
•
•
•
•
200
ราคาทุนบวกดอกเบีย ้ ทีเ่ กิดขึน ้ จริง หรือในราคาตลาดทีป ่ ระเมิน โดยผู้ประเมินอิสระ โดยเป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบ ของสํา นักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) และ/หรือ หน่วยงานอืน ่ ใดทีเ่ กีย ่ วข้อง ซึง ่ การจ่ายค่าตอบแทนการเช่าทีด ่ น ิ จะได้รบ ั การสอบทานและ ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของ บริษัทฯ เป็นประจําทุกปี การเช่ า พื้ น ที่ ใ นศู น ย์ ก ารค้ า ในบางโครงการที่ บ ริ ษั ท ฯ มี การร่วมลงทุนกับห้างสรรพสินค้าในกลุ่มเซ็นทรัล อาคารจะ ถู ก แบ่ ง เป็ น 2 ส่ ว นคื อ อาคารศู น ย์ ก ารค้ า และอาคาร ห้างสรรพสินค้า ซึ่งในบางกรณีบริษัทฯ จะเข้าไปเช่าพื้นที่ ขนาดใหญ่จากส่วนอาคารห้างสรรพสินค้าเพื่อพัฒนาเป็น พื้นที่ขาย โดยพิจารณาจากผลตอบแทนที่จะได้รับเป็นรายได้ ค่าเช่าและค่าบริการ เทียบกับต้นทุนค่าเช่าพืน ้ ทีท ่ บ ี่ ริษท ั ฯ ต้อง จ่ า ยให้ กั บ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า เป็ น หลั ก ซึ่ ง จะมี ก ารตกลงค่ า ตอบแทนในการให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการ ออกแบบโครงการ โดยใช้หลักการเดียวกันกับกรณีทบ ี่ ริษท ั ฯ ให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ แ ก่ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ซึ่ ง ค่ า ตอบแทนการเช่าพื้นที่ใหญ่จะได้รับการสอบทานและตรวจ สอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี การว่าจ้างกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ โดยการว่าจ้างที่ปรึกษาทางธุรกิจนั้น บริษัทฯ จะพิจารณา จากประสบการณ์ ใ นการบริ ห ารงานด้ า นการค้ า ปลี ก และความเข้ า ใจในลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ์ ของบริษัทฯ เป็นสําคัญ โดยผลตอบแทนที่บริษัทฯ จ่ายให้ แก่ ที่ ป รึ ก ษาทางธุ ร กิ จ ซึ่ ง เป็ น กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น นั้ น เป็ น อั ต ราค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารจั ด สรร ตามการให้บริการ การทํ า ประกั น ภั ย กั บ บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ซึ่ ง มี ก าร กํ า หนดราคาและเงื่ อ นไขตามราคาตลาด หรื อ ราคา เปรี ย บเที ย บจากการเสนอราคาของนายหน้ า ประกั น ที่ มี ร าคาและเงื่ อ นไขที่ เ ป็ น ประโยชน์ กั บ บริ ษั ท ฯ มากที่ สุ ด โดยเปรียบเทียบราคาย้อนหลังอย่างน้อย 2 ปี ทั้งนี้ ในกรณี ที่ ไ ม่ มี ผู้ เ สนอราคาเปรี ย บเที ย บ บริ ษั ท ฯ จะพิ จ ารณา อนุมต ั ท ิ าํ รายการในราคาเทียบเคียงกับปีทผ ี่ า่ นมา โดยขึน ้ อยู่ กับเงื่อนไขการทําประกันและสภาวะตลาดด้านการประกันใน ขณะนั้น การว่ า จ้ า งด้ า นการจั ด การ IT Infrastructure กั บ บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ประโยชน์ สู ง สุ ด ในด้ า น IT Infrastructure ทั้ ง ในเชิ ง การลงทุน การบริหารงานระบบ และการพัฒนาบุคลากร ก่ อ ให้ เ กิ ด การประหยั ด เนื่ อ งจากขนาด (Economy of Scale) ตลอดจนมี อํ า นาจในการต่ อ รองทํ า ธุ ร กรรม ต่ า ง ๆ ทางด้ า น IT ทั้ ง นี้ เงื่ อ นไขและค่ า ใช้ จ่ า ยในการ บริ ก ารคํ า นวณตามต้ น ทุ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง เที ย บเคี ย งได้ กั บ ราคาตลาด และไม่ สู ง กว่ า ค่ า บริ ก ารที่ บ ริ ห ารโดย CPN โดยกํ า หนดให้ มี ก ารทบทวนอั ต ราค่ า บริ ก ารเฉลี่ ย เพื่ อ กําหนดเป็น Baseline และจะมีการทบทวนทุก 2 ปี
รายละเอียดค่าใช้จ่ายที่จ่ายให้กับกิจการและ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 2.1 บริษท ั ฯ เช่าทีด ่ น ิ จาก บริษท ั ห้างเซ็นทรัลดีพาทเมนท์สโตร์ จํากัด (“HCDS”) ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เพื่อเป็นที่ตั้งศูนย์การค้าในโครงการ เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา และโครงการเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า 2.2 บริษัทฯ เช่าพื้นที่ในอาคารบางส่วนของบริษัท สรรพสินค้า เซ็ น ทรั ล จํ า กั ด (“CDS”) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ทีม ่ ก ี ลุม ่ จิราธิวฒ ั น์เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ในโครงการเซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัล พลาซา พระราม 3 เพือ ่ นําพืน ้ ทีม ่ าพัฒนาเป็นพืน ้ ทีข่ ายเพิม ่ เติมจาก ส่วนที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือสิทธิการเช่าที่ดิน 2.3 บ ริ ษั ท ฯ เ ช่ า ช่ ว ง ที่ ดิ น แ ล ะ สิ่ ง ป ลู ก ส ร้ า ง ใ น โ ค ร ง ก า ร เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กับบริษท ั เซ็นทรัลอินเตอร์พฒ ั นา จํากัด (“CID”) ซึง ่ เป็นบริษท ั ทีม ่ ก ี ลุม ่ จิราธิวฒ ั น์เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ (เจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น คื อ การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย) โดยเช่าช่วงเป็นระยะเวลา 20 ปี สัญญาสิ้นสุด วันที่ 18 ธันวาคม 2571 ค่าตอบแทนการเช่าช่วงที่บริษัทฯ ต้องจ่ายให้แก่ CID ตลอดระยะเวลาการเช่ารวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 16,178.32 ล้านบาท ซึ่งรายการดังกล่าวได้รับการ อนุมต ั จ ิ ากผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่มส ี ว ่ นได้เสียในทีป ่ ระชุมวิสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 2.4 บริษัทฯ ว่าจ้างให้ HCDS ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มี กลุ่ ม จิ ร าธิ วั ฒ น์ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ เป็ น ผู้ บ ริ ห ารและ ที่ปรึกษาในการบริหารงาน ตลอดจนการกําหนดนโยบาย ต่าง ๆ รวมถึงการให้ข้อแนะนําที่เป็นประโยชน์ทางธุรกิจแก่ บริษัทฯ ทั้งนี้ กรรมการที่ไม่มีส่วนได้เสียและคณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่าการให้บริการของ HCDS เป็ น ประโยชน์ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เนื่องจากประสบการณ์อันยาวนาน และความรู้ ความเข้าใจ ในธุรกิจค้าปลีกเป็นอย่างดีของ HCDS ประกอบกับราคา และเงือ ่ นไขที่ HCDS เสนอเรียกเก็บค่าบริการมีความสมเหตุ สมผล โดยรายละเอียดของรายการเป็นไปตามสารสนเทศที่ เปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2559 2.5 โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี (เดิมชือ ่ “โรงแรมเจริญศรีแกรนด์โฮเต็ล”) ซึง ่ บริษท ั ฯ ได้ซอ ื้ กิจการมา พร้อมกับโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี (เดิม ชื่อ “ศูนย์การค้าเจริญศรีพลาซา”) เมื่อปี 2552 บริษัทฯ ได้ มีการว่าจ้าง บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่ม CHR ที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่เป็นผู้บริหารงานโรงแรม โดยอัตราค่าบริหารงาน ทีเ่ รียกเก็บระหว่างกันเป็นไปตามราคาตลาด ทีม ่ เี งือ ่ นไขการค้า ทั่วไปเทียบเคียงได้กับการทํารายการกับบุคคลอื่น
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 28
2.6 บริ ษั ท ฯ เช่ า ที่ ดิ น จาก บริ ษั ท แวนเทจ กราวด์ จํ า กั ด (“Vantage”) ซึง ่ เป็นบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัลทีม ่ ก ี ลุม ่ จิราธิวัฒน์ เป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ระยะเวลา 30 ปี สั ญ ญาสิ้ น สุ ด วั น ที่ 17 กุ ม ภาพั น ธ์ 2586 เพื่ อ พั ฒ นาเป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็นทรัล พลาซา เวสต์ เ กต ค่ า ตอบแทนการเช่าและค่าเช่า รายปีที่บริษัทฯ ต้องจ่ายให้แก่ Vantage ตลอดระยะเวลา การเช่ารวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,099 ล้านบาท ซึ่งรายการดัง กล่าวได้รบ ั การอนุมต ั จ ิ ากผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่มส ี ว ่ นได้เสียในทีป ่ ระชุม วิสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ครัง ้ ที่ 1/2556 เมือ ่ วันที่ 18 มกราคม 2556 ทั้งนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2558 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2558 ได้มี มติอนุมัติการยกเลิกสัญญาเช่าที่ดินบางส่วนของโครงการ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต กับ Vantage เพื่อให้ Vantage ขายทีด ่ น ิ ดังกล่าวให้กลุม ่ บริษท ั IKANO เพือ ่ ก่อสร้าง IKEA Store โดย Vantage ตกลงจะจ่ายคืนค่าตอบแทนการเช่า และค่าเช่ารายปีในส่วนที่บริษัทฯ ได้จ่ายไปแล้วตามเงื่อนไขใน สัญญาเช่าทีด ่ น ิ ให้กบ ั บริษท ั ฯ จํานวนประมาณ 120 ล้านบาท 2.7 บริษัทฯ ลงทุนในทรัพย์สินบางส่วนของโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล กับ CDS ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มี กลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประกอบด้วย การเช่า ช่วงที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล ระยะเวลา 41 ปี สั ญ ญาสิ้ น สุ ด วั น ที่ 6 มิ ถุ น ายน 2599 การเช่าอาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล บางส่วน (ไม่รวมพื้นที่ส่วนที่เป็นห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล) การรับโอน กรรมสิทธิ์งานระบบ และการรับโอนกรรมสิทธิ์อุปกรณ์และ เฟอร์นเิ จอร์ทเี่ กีย ่ วข้อง โดยค่าตอบแทนการเช่า ค่าเช่ารายปี และค่ารับโอนกรรมสิทธิท ์ บ ี่ ริษท ั ฯ ต้องจ่ายให้แก่ CDS ตลอด ระยะเวลาการเช่ า รวมเป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น 9,166 ล้ า นบาท ซึ่ ง ร า ย ก า ร ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ รั บ ก า ร อ นุ มั ติ จ า ก ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ไม่มีส่วนได้เสียในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 2.8 บริษัทฯ เช่าช่วงที่ดินขนาดพื้นที่รวมประมาณ 4 ไร่ และเช่า พืน ้ ทีอ ่ าคารห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลภายในโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล เป็นระยะเวลาประมาณ 38 ปี สัญญาสิ้นสุด วันที่ 6 มิถุนายน 2599 และซื้อ/รับโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์สิน ภายในอาคารทีเ่ กีย ่ วข้องของโครงการจาก CDS เพือ ่ พัฒนา โครงการศูนย์การค้า ภายในวงเงิน 1,282 ล้านบาท ซึ่งเป็น มูลค่าปัจจุบน ั โดยใช้อต ั ราคิดลดร้อยละ 12 โดยรายละเอียดของ รายการเป็นไปตามสารสนเทศทีเ่ ปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2561 2.9 บริษัทฯ มีการซื้อสินค้าและบริการจากบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล ได้แก่ กลุ่ม COL เช่น วัสดุและอุปกรณ์สํานักงานต่าง ๆ กลุ่ม CHR เช่น บริการห้องพัก อาหารและเครื่องดื่ม กลุ่ม CRG เช่น อาหารและเครื่องดื่ม และกิจการอื่น ๆ ที่มีบุคคล ที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผูบ ้ ริหาร หรือผูม ้ อ ี าํ นาจควบคุม ซึง ่ การทํารายการระหว่ากัน ดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนรายการปกติธุรกิจของบริษัทฯ
รายการระหว่ า งกั น
ที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปเทียบเคียงได้กับการทํารายการกับ บุคคลอื่น และมีการปฏิบัติตามระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ บริษัทฯ กําหนด โดยคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ 2.10 บริษัทฯ ทําประกันภัยศูนย์การค้าและอาคารสํานักงาน เพื่อ คุม ้ ครองความเสีย ่ งภัยอันมีสาเหตุมาจาก อุบต ั เิ หตุ อุบต ั ภ ิ ย ั และภัยอื่น ๆ และมีการใช้บริการบริษัทนายหน้าประกันภัยกับ บริษท ั ซี จี โบรกเกอร์ จํากัด ซึง ่ เป็นบริษท ั ทีม ่ ก ี ลุม ่ จิราธิวฒ ั น์ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2.11 บริษัทฯ ว่าจ้าง บริษัท อาร์ ไอ เอส จํากัด (“RIS”) ซึ่งเป็น บริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัลทีม ่ ก ี ลุม ่ จิราธิวฒ ั น์เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ เป็นผู้ให้บริการจัดการ IT Infrastructure ได้แก่ การจัดหา และติ ด ตั้ ง วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ท างเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสือ ่ สารทีจ ่ าํ เป็น ได้แก่ อุปกรณ์ Hardware และ Software ต่าง ๆ การบํารุงรักษาและการควบคุมการใช้งานให้สามารถ รองรับการใช้งานทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจน การให้บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบ (Service Desk) และ Hardware แก่บริษัทฯ
3. การกู้ยืมและการให้กู้ยืมกับกิจการและ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ นโยบายการกู้ยืมและการให้กู้ยืมกับกิจการ และบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รายการกูย ้ ม ื และให้กย ู้ ม ื ทุกรายการจะต้องอยูภ ่ ายใต้นโยบายการกูย ้ ม ื และการให้ กู้ ยื ม กั บ กิ จ การหรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งของบริ ษั ท ฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ •
กรณีการกูย ้ ม ื และการให้กย ู้ ม ื แก่บริษท ั ย่อย (ซึง ่ บริษท ั ฯ ถือหุน ้ ร้อยละ 99.99) บริษัทฯ มีนโยบายให้บริษัทย่อยกู้ยืมเงินจากบริษัทฯ ได้ใน กรณีที่มีความต้องการใช้เงิน ในขณะเดียวกันบริษัทย่อย สามารถให้เงินกูย ้ ม ื แก่บริษท ั ฯ ได้ หากบริษท ั ย่อยมีเงินสดคง เหลื อ เกิ น จากเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นที่ ใ ช้ ใ นการดํ า เนิ น งานและ บริษัทฯ มีความต้องการใช้เงินกู้จากบริษัทย่อย โดยจะเปิด เป็นบัญชีเดินสะพัดระหว่างกัน และจัดทําตั๋วสัญญาใช้เงิน เป็ น หลั ก ฐานการกู้ ยื ม ระหว่ า งกั น โดยคิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย เท่ า กั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ถั ว เฉลี่ ย ของตราสารหนี้ ที่ อ อกโดย บริษท ั ฯ โดยผูอ ้ นุมต ั ริ ายการระหว่างกัน ได้แก่ ผูบ ้ ริหารสูงสุด ของสายงานการเงินและบัญชี และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามลําดับ
201
•
กรณีการกูย ้ ม ื และการให้กย ู้ ม ื แก่บริษท ั ร่วมค้า (ซึง ่ บริษท ั ฯ ถือหุน ้ ตัง ้ แต่รอ ้ ยละ 50 แต่นอ ้ ยกว่าร้อยละ 99.99)
•
บริษัทฯ มีนโยบายให้บริษัทร่วมค้าหาแหล่งเงินกู้ของตัวเอง เว้นแต่กรณีทม ี่ ค ี วามจําเป็นเร่งด่วนในการใช้เงิน บริษท ั ร่วมค้า จะกู้จากผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยผ่านการอนุมัติ รายการจากผู้บริหารสูงสุดของสายงานการเงินและบัญชี กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และคณะกรรมการบริษท ั ตามลําดับ และมี ก ารจั ด ทํ า ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น เป็ น หลั ก ฐานในการกู้ ยื ม ระหว่ า งกั น โดยคิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย เท่ า กั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ถัวเฉลี่ยของตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทฯ
กรณีการกูย ้ ม ื และการให้กย ู้ ม ื แก่บริษท ั ร่วม (ซึง ่ บริษท ั ฯ ถือหุน ้ น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน) บริษท ั ฯ ไม่มน ี โยบายทีจ ่ ะให้บริษท ั ร่วมซึง ่ บริษท ั ฯ ถือหุน ้ ในสัดส่วน ทีต ่ าํ่ กว่าร้อยละ 50 หรือกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันกูย ้ ม ื เงิน โดยบริษท ั ฯ ไม่มก ี ารให้กย ู้ ม ื เงินแก่บริษท ั ทีม ่ ก ี ารถือหุน ้ ในสัดส่วน ทีต ่ าํ่ กว่าร้อยละ 50 รวมถึงกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันตาม ระเบียบหากมีการให้บริษท ั ร่วมกูย ้ ม ื เงิน ต้องผ่านการอนุมต ั จ ิ าก คณะกรรมการบริษัท และมีการจัดทําตั๋วสัญญาใช้เงินเป็น หลักฐานการกูย ้ ม ื ระหว่างกัน โดยคิดอัตราดอกเบีย ้ อ้างอิงกับ อัตราดอกเบีย ้ เงินให้กย ู้ ม ื แก่ลก ู ค้าชัน ้ ดีของธนาคาร
รายการกูย ้ ม ื และให้กย ู้ ม ื กับกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน จํานวนเงิน (ล้านบาท)
หมายเหตุ
1. เงินกู้ยืม 1) เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย1 2) เงินกู้ยืมจากบริษัทและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน2
22,243 -
งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม
2. เงินให้กู้ยืม3 1) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย 2) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วมค้า
16,246 -
งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม
ประเภทรายการ ณ 31 ธันวาคม 2561
หมายเหตุ : 1
เป็นการกู้ยืมประเภทไม่มีหลักประกัน และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม คิดดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทฯ เป็นการกู้ยืมประเภทไม่มีหลักประกัน และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม คิดดอกเบี้ยอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้าชั้นดีของธนาคาร 3 เป็นการให้กู้ยืมประเภทไม่มีหลักประกัน และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม คิดดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทฯ 2
4. การคํา้ ประกันหนีส ้ น ิ ให้กบ ั กิจการและบุคคล ที่เกี่ยวข้องกัน ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ บริษท ั ฯ มีนโยบายคํา้ ประกันให้แก่บริษท ั ย่อย ตามสัดส่วนการถือหุน ้ ของบริษท ั ฯ แต่ไม่มน ี โยบายวางหลักประกันเพือ ่ คํา้ ประกันหนีส ้ น ิ ใด ๆ ให้กับบริษัทย่อย บริษัทฯ จะคํ้าประกันให้ในฐานะบริษัทแม่เท่านั้น และมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการคํ้าประกันจากบริษัทนั้น ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีภาระการคํา้ ประกันแก่บุคคลที่เกี่ยวโยงกันอยู่ 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ ประเภทภาระการคํ้าประกัน
จํานวนเงิน (ล้านบาท)
1. ภาระการคํ้าประกันเงินกู้ให้กับบริษัทย่อย - โครงการลงทุนในประเทศมาเลเซีย
396
2. ภาระการคํ้าประกันวงเงินคํ้าประกันของบริษัทย่อยกับธนาคารพาณิชย์ไทย
307
202
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 28
ขั้นตอนการอนุมัติทาํ รายการที่เกี่ยวโยงกัน การทําธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ นั้น จะต้องผ่านขัน ้ ตอนการอนุมต ั ต ิ ามระเบียบวิธก ี ารปฏิบต ั ง ิ านของ บริษัทฯ เช่นเดียวกับการทําธุรกรรมปกติ โดยผ่านการพิจารณา จากผู้มีอํานาจตามสายงานที่รับผิดชอบและเกี่ยวข้องในเรื่องนั้น โดยผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทํารายการจะต้องทํา หน้าที่พิจารณาว่าการทํารายการมีความสมเหตุสมผลและเป็นไป ตามปกติธุรกิจ โดยคํานึงถึงประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น เสมือนเป็นรายการทีก ่ ระทํากับบุคคลภายนอก และการทําธุรกรรม เป็ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย เพื่ อ ให้ ก ารอนุ มั ติ ก ารทํ า ธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เป็นไปด้วย ความโปร่งใสและเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ กําหนดให้รายการปกติธุรกิจและรายการสนับสนุนธุรกิจ ปกติที่มีการดําเนินการตามเงื่อนไขการค้าทั่วไปที่คณะกรรมการ กําหนด อยูใ่ นอํานาจของฝ่ายจัดการในการพิจารณารายการ โดย ให้เป็นไปตามระเบียบขั้นตอนการอนุมัติของบริษัทฯ ส่วนรายการ ประเภทอื่น ๆ จะพิจารณาจากประเภทและขนาดของรายการ โดย มีสํานักเลขานุการบริษัทช่วยกํากับดูแลให้มีการปฏิบัติตามเกณฑ์ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และมีการรวบรวมและสรุปรายการทีเ่ กีย ่ ว โยงกันให้คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบเป็นระยะ ๆ โดยบริษท ั ฯ ได้ มี ก ารออกประกาศว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง “นโยบายการทํ า รายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ” และมี ก ารสื่ อ สารให้ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ย นําไปปฏิบต ั ิ ทัง ้ นี้ กรรมการและผูบ ้ ริหารจะต้องลงนามรับรองทุก ๆ สิ้ น ปี ว่ า ในปี ที่ ผ่ า นมาไม่ มี ก ารทํ า รายการที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ หรื อ หากมี ก็ ไ ด้ ดํ า เนิ น การตามข้ อ กํ า หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ เรียบร้อยแล้ว โดยการทําธุรกรรมกับกิจการ หรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกับบริษท ั ฯ จะถูกตรวจสอบจากสํานักตรวจ สอบภายในของบริ ษั ท ฯ และผู้ ส อบบั ญ ชี เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
นโยบายหรือแนวโน้มการทํารายการระหว่างกันใน อนาคต เนื่ อ งจากการทํ า ธุ ร กรรมกั บ กิ จ การหรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับบริษัทฯ เป็นรายการค้าที่เกิดขึ้นตามปกติธุรกิจ ดังนั้น การทํา ธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันจึงมีแนวโน้มทีจ ่ ะเกิด ขึน ้ อีกอย่างต่อเนือ ่ งในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิง ่ รายการเกีย ่ วกับ การพัฒนาศูนย์การค้าร่วมกับบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัล ซึง ่ เป็นจุดแข็ง ที่ช่วยส่งเสริมให้การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ประสบความสําเร็จ และเป็นผู้นาํ ในตลาดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ นโยบายหรือ แนวโน้มการทํารายการระหว่างกันยังคงยึดหลักการเช่นเดียวกับ ปีที่ผ่านมาคือ ปฏิบัติตามเงื่อนไขการค้าทั่วไปและยึดถือประโยชน์ ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็นสําคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้ อนุมัติเงื่อนไขการค้าทั่วไปในการทําธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยกั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ไว้ อ ย่ า งชั ด เจน เพื่ อ ความ โปร่ ง ใสในการประกอบธุ ร กิ จ และเป็ น แนวทางปฏิ บั ติ ใ ห้ กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
รายการระหว่ า งกั น
1. การพัฒนาโครงการศูนย์การค้าร่วมกับบริษัท ในกลุ่มเซ็นทรัล *** เป็นหลักการที่เปิดเผยและถือปฏิบัติตั้งแต่บริษัทเข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อปี 2538 *** การพัฒนาโครงการศูนย์การค้าให้ครบวงจร จําเป็นต้องมี องค์ประกอบที่จะช่วยส่งเสริมให้ธุรกิจของบริษัทฯ มีความ แข็งแกร่งมากขึน ้ ซึง ่ บริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัลมีการประกอบธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯ ได้แก่ ธุรกิจห้างสรรพสินค้า ธุรกิจ ค้าปลีกต่าง ๆ และธุรกิจโรงแรม เป็นต้น โดยบริษัทในกลุ่ม เซ็นทรัลมีประสบการณ์ในธุรกิจมายาวนาน และมีแบรนด์ที่ แข็งแกร่ง ซึง ่ จะช่วยเพิม ่ ความน่าเชือ ่ ถือของโครงการ ส่งผล ให้การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ มีความแข็งแกร่งมากขึ้น เป็ น การเพิ่ ม มู ล ค่ า แก่ บ ริ ษั ท ฯ และผู้ ถื อ หุ้ น โดยรวม ทั้ ง นี้ การพัฒนาโครงการศูนย์การค้าร่วมกับบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัล มีลักษณะดังนี้ 1.1 การซื้อ/ขาย หรือ เช่า/ให้เช่าที่ดิน หลักการ : บริษท ั ฯ หรือบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัล ซือ ้ หรือเช่าทีด ่ น ิ จากบุคคลภายนอก เพื่อนํามาพัฒนาโครงการศูนย์การค้า ร่วมกับธุรกิจของบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัล โดยให้บริษท ั ใดบริษท ั หนึง ่ ซือ ้ หรือเช่าทีด ่ น ิ ทัง ้ แปลงจากเจ้าของทีด ่ น ิ เมือ ่ ออกแบบ โครงการแล้วเสร็จ บริษัทที่เป็นผู้ซื้อหรือเช่าที่ดินจะขายหรือ ให้เช่าทีด ่ น ิ ให้อก ี บริษท ั หนึง ่ ตามสัดส่วนพืน ้ ทีท ่ แ ี่ ต่ละบริษท ั ใช้ พัฒนาโครงการของตนเอง (ต่างฝ่ายต่างรับผิดชอบค่าทีด ่ น ิ ในส่วนของตนเอง) การกําหนดราคาและเงื่อนไข : ราคาทุนบวกต้นทุนของ เงินลงทุน 1.2 การก่ อ สร้ า งอาคารศู น ย์ ก ารค้ า กั บ อาคารห้ า ง สรรพสินค้า หรือ Business Unit (BU) ต่าง ๆ หลั ก การ : แต่ ล ะฝ่ า ยเป็ น เจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น ส่ ว น ที่ อ าคารของตนตั้ ง อยู่ ดั ง นั้ น ต่ า งฝ่ า ยต่ า งรั บ ผิ ด ชอบ ค่าก่อสร้างอาคารในส่วนของตนเองด้วย การกําหนดราคาและเงื่อนไข : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง โดยมี วิศวกรทีป ่ รึกษาโครงการอิสระเป็นผูค ้ าํ นวณค่าก่อสร้างและ งานระบบให้เป็นไปตามสัดส่วนพืน ้ ทีใ่ ช้งานจริงอย่างยุตธ ิ รรม
203
1.3 การก่อสร้างพืน ้ ทีร ่ ว ่ ม ได้แก่ อาคารจอดรถ และพืน ้ ที่ รอบนอกอาคารศูนย์การค้า (Landscape)
การกําหนดราคาและเงื่อนไข : กําหนดราคาโดยใช้หลักการ เที ย บเคี ย งกั บ การกํ า หนดราคาพื้ น ที่ สํ า หรั บ ลู ก ค้ า ชั้ น ดี
หลักการ : - บริษัทฯ เป็นเจ้าของสิทธิอาคารที่จอดรถ และพื้นที่รอบ นอกอาคารศูนย์การค้า โดยบริษท ั ฯ จะรับผิดชอบต้นทุน พื้ น ที่ ร่ ว มทั้ ง หมด โดยถื อ เป็ น การบริ ก ารให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ที่มาเช่าพื้นที่ศูนย์การค้า - ห้างสรรพสินค้า หรือ BU ต่าง ๆ จะช่วยออกค่าก่อสร้าง ตามแนวทางปฏิบัติดังนี้
“ลูกค้าชัน ้ ดี” หมายถึง ลูกค้าทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพสูงซึง ่ มีการเช่าพืน ้ ที่ จํานวนมาก หรือมีการเช่าพื้นที่ในหลายโครงการ และมีส่วน สนับสนุนทั้งทางตรงและทางอ้อมให้การดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ ประสบความสําเร็จ
1)
อาคารทีจ ่ อดรถ : ช่วยออกค่าก่อสร้างไม่นอ ้ ยกว่า กึ่งหนึ่งของค่าก่อสร้างในส่วนที่ห้างสรรพสินค้า และ BU ต่าง ๆ ต้องจัดให้มีตามกฎหมาย 2) พื้นที่ร่วม : ช่วยออกค่าก่อสร้างตามสัดส่วนของ พื้นที่ทั้งหมด (Gross Area) 3) การกําหนดราคาและเงื่อนไข : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง โดยมีวศ ิ วกรทีป ่ รึกษาโครงการอิสระเป็นผูค ้ าํ นวณ ค่าก่อสร้างให้เป็นไปตามสัดส่วนพื้นที่ใช้งานจริง อย่างยุติธรรม
1.4 การเช่าหรือให้เช่าพื้นที่ใหญ่ในโครงการศูนย์การค้า หลั ก การ : บริ ษั ท ฯ อาจเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ใ หญ่ กั บ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า หรื อ BU ต่ า ง ๆ ซึ่ ง จะมี ก ารตกลง ค่าตอบแทนในการให้เช่าพื้นที่ขนาดใหญ่ตั้งแต่ขั้นตอนการ ออกแบบโครงการ การกํ า หนดราคาและเงื่ อ นไข : ต้ น ทุ น ค่ า ที่ ดิ น และ ค่าก่อสร้าง รวมต้นทุนของเงินลงทุน และค่าใช้จ่ายในการ ดําเนินงาน
2. การคิดค่าเช่าพื้นที่ ค่าบริการร่วม และค่าสาธารณูปโภค หลักการ : การคิดราคาค่าเช่าพื้นที่ระยะสั้น หรือค่าเช่าพื้นที่ ระยะยาว การคิดค่าบริการร่วม และค่าสาธารณูปโภค จาก ร้านค้าที่เป็นของกลุ่มเซ็นทรัลหรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันที่มา เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า หรือพื้นที่เช่าในการประกอบธุรกิจอื่น ๆ ของบริษัทฯ จะกําหนดราคาโดยใช้หลักการเทียบเคียงกับ การกําหนดราคาพื้นที่สําหรับลูกค้าชั้นดี โดยพิจารณาถึง ทํ า เลที่ ตั้ ง ขนาดพื้ น ที่ รู ป แบบการเช่ า ระยะเวลาการเช่ า ประเภทของการเช่า ประโยชน์ทบ ี่ ริษท ั ฯ จะได้รบ ั นอกจากราคา ค่าเช่า ค่าบริการร่วม และค่าสาธารณูปโภค ศักยภาพในการ ประกอบธุรกิจ ตลอดจนประสบการณ์และความสําเร็จในการ ประกอบธุรกิจร่วมกันในอดีตจนถึงปัจจุบัน
204
เนื่องด้วยกลุ่มเซ็นทรัลมีการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ บริษท ั ฯ หลากหลายประเภทและอาจมีการทํารายการระหว่างกัน ซึ่งตลอดระยะเวลาการดําเนินงานตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทฯ กลุ่ม เซ็นทรัลเป็นพันธมิตรทางการค้าที่มีศักยภาพ ช่วยสนับสนุน ต่อความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของบริษท ั ฯ มายาวนาน ดังนั้น บริษัทฯ จึงยังคงมีการทํารายการระหว่างกันอย่าง ต่อเนื่อง โดยในการพิจารณาเกี่ยวกับเรื่องราคาและเงื่อนไข บริ ษั ท ฯ ยั ง คงคํ า นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ เป็ น สํ า คั ญ
3. การเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน “ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน” ได้แก่ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าภาษี โรงเรือน ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ค่าธรรมเนียมคํา้ ประกัน และค่าบริการต่าง ๆ ที่เรียกเก็บจากผู้เช่าพื้นที่ หลักการ : ในการดําเนินการบริหารสินทรัพย์จะมีค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานเกิดขึ้น ซึ่งโดยปกติธุรกิจบริษัทฯ จะเรียก เก็บค่าใช้จ่ายเหล่านี้โดยคํานวณจากต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงใน การดําเนินงานของบริษัทฯ ทั้งนี้ อัตราที่เรียกเก็บจะขึ้นอยู่ กับประเภทของการเช่า และลักษณะการเช่าพื้นที่ซึ่งอัตราที่ เรียกเก็บเป็นมาตรฐานเดียวกันกับลูกค้าทั่วไป การกําหนดราคาและเงื่อนไข : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง
4. การทําประกันภัย / ประกันสุขภาพกลุ่ม หลักการ : ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องและจําเป็นต่อการเสนอราคา อย่ า งครบถ้ ว นและเท่ า เที ย มกั น แก่ น ายหน้ า ประกั น โดยมี คณะกรรมการเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกบริษัทประกัน ซึ่งใน ขั้ น ตอนการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กจะต้ อ งไม่ มี ก รรมการหรื อ ผูบ ้ ริหารของบริษท ั ฯ ทีม ่ ส ี ว ่ นได้เสียและเป็นบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน เข้าร่วมพิจารณา
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 28
รายการระหว่ า งกั น
การกําหนดราคาและเงื่อนไข : ราคาตลาด หรือราคาเปรียบ เที ย บจากการเสนอราคาของประกั น ที่ มี ร าคาและเงื่ อ นไข ทีเ่ ป็นประโยชน์กบ ั บริษท ั ฯ มากทีส ่ ด ุ โดยเปรียบเทียบราคาย้อนหลัง อย่ า งน้ อ ย 2 ปี ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ ไ ม่ มี ผู้ เ สนอราคาเปรี ย บเที ย บ บริษัทฯ จะต้องพิจารณาอนุมัติทํารายการในราคาเทียบเคียง กั บ ปี ที่ ผ่ า นมา โดยขึ้ น อยู่ กั บ เงื่ อ นไขการทํ า ประกั น และสภาวะ ตลาดด้านการประกันในขณะนั้น
5. การจัดซื้อ-จัดจ้าง “การจัดซือ ้ ” หมายถึง การจัดซือ ้ วัสดุ เครือ ่ งมือเครือ ่ งใช้หรือ สินค้า รวมทั้งการเช่าและเช่าซื้อ “การจัดจ้าง” หมายถึง การว่าจ้างผู้ขาย ผู้ผลิต ผู้รับเหมา หรือผู้จัดทํา ดําเนินการผลิต จัดทํา จัดการ จัดประกอบหรือ ก่อสร้าง ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นเป็นชิ้นงาน รวมทั้งการ ให้บริการต่าง ๆ การจ้างเหมาบริการและการขนส่ง ทั้ ง นี้ ใ ห้ ห มายความรวมถึ ง การจั ด ซื้ อ พั ส ดุ หรื อ จั ด จ้ า ง ผู้รับเหมาเข้าก่อสร้างอาคารและติดตั้งอุปกรณ์ส่วนควบ สําหรับงานบริหารโครงการก่อสร้างด้วย หลักการ : ปฏิบต ั ต ิ ามระเบียบและวิธก ี ารจัดซือ ้ -จัดจ้างของ บริษัทฯ ซึ่งในการพิจารณาคัดเลือกผู้ขาย หรือผู้รับเหมา จะดํ า เนิ น การตามระเบี ย บดั ง กล่ า วด้ ว ยความโปร่ ง ใสและ เป็นธรรม ตามนโยบายการจัดซื้อ-จัดจ้างที่กาํ หนดไว้ โดย ในขั้นตอนการพิจารณาคัดเลือกจะต้องไม่มีกรรมการหรือ ผูบ ้ ริหารของบริษท ั ฯ ทีม ่ ส ี ว ่ นได้เสียและเป็นบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้อง กันเข้าร่วมพิจารณา การกําหนดราคาและเงือ ่ นไข : ราคาตลาด หรือราคาเปรียบเทียบ จากการเสนอราคาของผู้ เ สนอราคาที่ มี ร าคาและเงื่ อ นไข ที่เป็นประโยชน์กับบริษัทฯ มากที่สุด
205
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 29
ข้ อ พิ พ าททางกฏหมาย
ข้อพิพาททางกฎหมาย คดีความที่มีสาระสําคัญกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และความคืบหน้าของคดีมีดังนี้ บริษัท เบย์วอเตอร์ จํากัด (กิจการร่วมค้า) 1)
ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2558 บริ ษั ท เบย์ ว อเตอร์ จํ า กั ด (กิจการร่วมค้า) ได้รบ ั โอนกรรมสิทธิท ์ ด ี่ น ิ โครงการบางกอกโดม ในราคา 7,350 ล้านบาท จากการเป็นผู้ชนะในการประมูล ขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลายโดยเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ อย่างไรก็ตาม ลูกหนี้ในคดีล้มละลาย (ลูกหนีฯ ้ ) ได้ขอให้ศาลพิจารณาเพิกถอนการขายทอดตลาด ทรัพย์สินดังกล่าวจํานวนรวม 3 คดี โดยศาลฎีกาได้มีคําสั่ง ให้ยกคําร้องของลูกหนี้ฯ จํานวน 2 คดีแล้ว ณ ปัจจุบัน ยัง เหลือคดีความที่ลูกหนี้ฯ และเจ้าหนี้ไม่มีประกันของลูกหนี้ฯ อีก 2 ราย (เจ้าหนี้ฯ) ได้ยื่นคําร้องขอให้ศาลล้มละลายกลาง (ศาลฯ) มีคําสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย์สินส่วน ที่กิจการร่วมค้าเป็นผู้ชนะในการประมูล และยื่นคําร้องขอให้ ศาลฯ งดการบังคับคดีไว้ระหว่างการพิจารณาคําร้องขอ เพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย์สินดังกล่าว โดยอ้างเหตุ ว่าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขายให้กิจการร่วมค้าในราคาที่ ตํา่ กว่าราคาตลาดมาก ซึง ่ ศาลฯ ได้มค ี าํ สัง ่ ให้จาํ หน่ายคําร้อง ดังกล่าวไว้ชั่วคราวเพื่อรอผลการพิจารณาของศาลฎีกาใน คดีที่เกี่ยวข้องอื่นก่อน โดยศาลฎีกาได้พิจารณาคดีความ อื่นเสร็จสิ้นแล้ว คดีนี้จึงกลับมาในการพิจารณาของศาลฯ อีกครั้งหนึ่ง ต่อมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2561 ศาลฯ ได้ มีคําสั่งยกคําร้องของผู้ร้องทั้ง 3 ราย ในคดีดังกล่าวแล้ว วันที่ 26 ธันวาคม 2561 ผู้ร้องที่ 1 ได้ยื่นอุทธรณ์คัดค้าน คํ า สั่ ง ศาลล้ ม ละลายกลางมี คํ า สั่ ง ให้ ส่ ง สํ า นวนให้ ศ าล อุทธรณ์แผนกคดีชํานัญพิเศษพิจารณาต่อไป ส่วนผู้ร้อง ที่ 2 และที่ 3 ศาลล้ ม ละลายกลางอนุ ญ าตให้ ข ยายเวลา อุทธรณ์ออกไปถึงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 วั น ที่ 23 มกราคม 2562 ผู้ ร้ อ งที่ 1 ยื่ น คํ า ร้ อ งขอถอน อุทธรณ์ ส่วนผู้ร้องที่ 2 และที่ 3 ยื่นคําร้องขอสละสิทธิยื่น อุทธรณ์ คดีนี้จึงเป็นอันถึงที่สุดแล้ว
206
2) ในระหว่างปี 2560 กิจการร่วมค้าถูกฟ้องร้องในคดีแพ่ง จากกลุ่ ม บุ ค คลธรรมดา โดยฟ้ อ งขอให้ กิ จ การร่ ว มค้ า จดทะเบียนให้ใช้ทางเข้าออกเป็นภาระจํายอม หรือขอให้ศาล แพ่งพิพากษาให้ทางพิพาทเป็นทางสาธารณะ ซึ่งในเดือน เมษายน 2561 ศาลแพ่งได้มีคําพิพากษาให้ยกฟ้องของกลุ่ม บุคคลธรรมดาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม กลุ่มบุคคลธรรมดา ดังกล่าวได้ยน ื่ อุทธรณ์ตอ ่ ศาลอุทธรณ์ ปัจจุบน ั คดีดง ั กล่าว ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ เมือ ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 ศาลอุทธรณ์ ได้มค ี าํ พิพากษา ยืน (ยกฟ้อง) ตามคําพิพากษาศาลชั้นต้น แต่อย่างไรก็ตาม กลุม ่ บุคคลธรรมดายังมีสท ิ ธิยน ื่ ฎีกาคัดค้านคําพิพากษาของ ศาลอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาต่อไป
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอาํ นาจควบคุม และเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัท
1.
นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ อายุ 78 ปี ประธานกรรมการ วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 28 มีนาคม 2543 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 3,312,800 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0738) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 22,293,200 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.4967) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นพี่ของนายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรมโยธา Kingston College of Technology ประเทศอังกฤษ ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จํากัด • ปี 2543 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2552 - 2556 ประธานกรรมการกํากับการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2540 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และกรรมการบริษัทย่อย การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 76 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2549 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน ่ ที่ 55/2006 • ปี 2543 - หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) หลักสูตรอบรมอื่น - ไม่มี -
207
2.
นายไพฑูรย์ ทวีผล อายุ 68 ปี กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 10 กรกฎาคม 2545 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคําแหง • ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2557 - ปัจจุบน ั ประธานกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2545 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2558 - 2559 กรรมการนโยบายบริหารความเสีย ่ ง บริษท ั สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) • ปี 2553 - 2555 กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) • ปี 2546 - 2548 กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีที ที่ปรึกษาธุรกิจ จํากัด • ปี 2541 - 2543 กรรมการและอุปนายกสมาคม สมาคมตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • ปี 2540 - 2543 กรรมการผูอ ้ าํ นวยการ บริษท ั ทีป ่ รึกษาธุรกิจ อาร์เธอร์ แอนเดอร์เซ่น จํากัด • ปี 2534 - 2548 ประธานและเลขาธิการ สหพันธ์นักบัญชีอาเซียน • ปี 2534 - 2546 กรรมการและอุปนายกสมาคม สมาคมนักบัญชีและผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาตแห่งประเทศไทย • ปี 2518 - 2543 กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท สํานักงาน เอส จี วี ณ ถลาง จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จํากัด (มหาชน) • ปี 2551 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล บริษท ั สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 2 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2555 - หลักสูตร DCP Reunion (M-DCP Re) รุ่นที่ 1/2012 - หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุน ่ ที่ 2/2012 • ปี 2553 - หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) รุ่นที่ 9/2010 - หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) รุ่นที่ 9/2010 - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน ่ ที่ 10/2010 - หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) รุน ่ ที่ 11/2010 • ปี 2552 - หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) รุ่นที่ 1/2009 • ปี 2551 - หลักสูตร Chartered Director Class (R-CDC) รุ่นที่ 3/2008 • ปี 2548 - หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่นที่ 11/2005 - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 6/2005 • ปี 2546 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 38/2003 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 4/2003 หลักสูตรอบรมอื่น - ไม่มี -
208
รายงานประจําปี 2561
3.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายการุณ กิตติสถาพร อายุ 71 ปี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 10 เมษายน 2552 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่ม)ี • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • หลักสูตร Commercial Policy องค์กร The General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ • ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ Syracuse University ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ Victoria University of Wellington ประเทศนิวซีแลนด์ ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2560 กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษท ั นํา้ ตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน) • ปี 2552 - 2554 กรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • ปี 2551 - 2560 ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) • ปี 2551 - 2554 กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ • ปี 2550 - 2557 กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษท ั นํา้ ตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน) • ปี 2553 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษท ั นํา้ ตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน) • ปี 2551 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริษท ั สหมิตรเครือ ่ งกล จํากัด (มหาชน) • ปี 2551 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2561 - หลักสูตร Board Nomination and Compensation Program (BNCP) รุน ่ ที่ 3/2018 • ปี 2556 - หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุ่นที่ 7/2013 - หลักสูตร Monitoring The Internal Audit Function (MIA) รุ่นที่ 15/2013 • ปี 2554 - หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) รุน ่ ที่ 13/2011 - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) รุน ่ ที่ 2/2011 • ปี 2552 - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 27/2009 - หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่นที่ 4/2009 • ปี 2551 - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่นที่ 6/2008 • ปี 2549 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 81/2006 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 8
209
4.
นางโชติกา สวนานนท์ อายุ 58 ปี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 25 กันยายน 2558 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท จิตวิทยา University of San Francisco ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี จิตวิทยา University of Minnesota ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2558 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2560 - 2561 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กองทุนประกันชีวิต • ปี 2557 - 25 6 1 กรรมการ ประธานอนุกรรมการตรวจสอบ อนุกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ปี 2557 - 2560 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงิน สํานักงานคณะกรรมการกํากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) • ปี 2557 - 2558 กรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • ปี 2552 - 2557 กรรมการผู้อาํ นวยการ ประธานอนุกรรมการบริหารเงินลงทุน อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จํากัด • ปี 2539 - 2552 ประธานอนุกรรมการบริหารเงินลงทุน อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 3 บริษัท • จํานวน 1 องค์กร การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2560 - หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุน ่ ที่ 18/2017 • ปี 2558 - หลักสูตร Risk Management Committee Program (RMP) รุ่นที่ 6/2015 - หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) รุ่นที่ 18/2015 • ปี 2549 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 73/2006 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10 • หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.) รุ่นที่ 5 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 20
210
รายงานประจําปี 2561
5.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ อายุ 58 ปี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 21 เมษายน 2559 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่ม)ี • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Stern School of Business, New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2559 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษท ั หลักทรัพย์ ภัทร จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2556 กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) • ปี 2553 - 2559 กรรมการ บริษัท ทุนภัทร จํากัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2552 คณะอนุกรรมการศึกษาการลงทุนทางเลือกสํานักบริหารการลงทุน สํานักงานประกันสังคม • ปี 2548 - 2559 กรรมการ บริษท ั หลักทรัพย์ ภัทร จํากัด (มหาชน) • ปี 2546 - 2553 กรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จํากัด • ปี 2546 - 2552 คณะอนุกรรมการวินจ ิ ฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพือ ่ ครอบงํากิจการ (Take Over Panel) สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • ปี 2545 - 2546 กรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์เมอร์ริล ลินช์ ภัทร จํากัด • ปี 2541 - 2545 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์เมอร์ริล ลินช์ ภัทร จํากัด • ปี 2538 - 2541 กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จํากัด • ปี 2537 - 2538 กรรมการผู้จัดการ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ภัทรธนกิจ จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2560 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) • ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 2 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2559 - หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุน ่ ที่ 15/2016 • ปี 2548 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 40/2005 หลักสูตรอบรมอื่น - ไม่มี -
211
6.
นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ อายุ 76 ปี กรรมการ วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 10 กรกฎาคม 2545 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 22,645,900 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.5046) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ • เป็นพีข ่ องนายสุทธิศก ั ดิ์ จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิธรรม จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิภค ั จิราธิวฒ ั น์ และนางสาววัลยา จิราธิวฒ ั น์ • เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล South West Essex Technical College ประเทศอังกฤษ • ปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง • ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2557 - 2559 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมการค้าไทยไหหลํา • ปี 2557 - 2558 ที่ปรึกษา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ • ปี 2535 - 2539 สมาชิกวุฒิสภา • ปี 2534 - 2535 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ • ปี 2527 - 25 3 1 ผู้ก่อตั้ง นายกสมาคม สมาคมผู้ค้าปลีกห้างสรรพสินค้า การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2552 - ปัจจุบน ั กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร บริษท ั บางกอก โพสต์ จํากัด (มหาชน) และบริษท ั ย่อย • ปี 2536 - ปัจจุบน ั ประธานกรรมการ บริษท ั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และกรรมการบริษท ั ย่อย การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 66 บริษัท • จํานวน 2 องค์กร การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2551 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 68/2008 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 1 • หลักสูตรการจัดการสมัยใหม่ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 1
212
รายงานประจําปี 2561
7.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ อายุ 73 ปี กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 10 กรกฎาคม 2545 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 28,346,400 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.6316) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ และนายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ • เป็นพี่ของนายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ St. John Fisher College ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2550 - ปัจจุบน ั ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2549 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท โรบินสัน จํากัด (มหาชน) และกรรมการบริษัทย่อย • ปี 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 28 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2550 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 61/2007 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 89/2007 หลักสูตรอบรมอื่น - ไม่มี -
213
8.
นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ อายุ 71 ปี กรรมการ (มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริษัท) กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 1 มีนาคม 2538 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 26,764,600 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.5964) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ และนายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ • เป็นพี่ของนายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ (Operations Research) Iona University ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) University of Maryland (College Park) ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2552 - 2556 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จํากัด • ปี 2550 - 2558 ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2549 - 2551 สมาชิก วุฒิสภา • ปี 2544 - 2546 ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์ • ปี 2541 - 2545 นายกสมาคมและผู้ก่อตั้ง สมาคมศูนย์การค้าไทย • ปี 2533 - 2545 กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และประธาน เจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2561 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) • ปี 2558 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ทีวีธันเดอร์ จํากัด (มหาชน) • ปี 2553 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษท ั จัสมิน อินเตอร์เนชัน ่ แนล จํากัด (มหาชน) • ปี 2547 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บริษัท โรบินสัน จํากัด (มหาชน) และกรรมการบริษัทย่อย • ปี 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 64 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2546 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 37/2003 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 13
214
รายงานประจําปี 2561
9.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายกอบชัย จิราธิวัฒน์ อายุ 62 ปี กรรมการ (มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริษัท) กรรมการนโยบายความเสี่ยง วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 1 มีนาคม 2538 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 27,105,400 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.6040) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 113,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0025) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นหลานของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นลูกพี่ลูกน้องของนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ University of Chicago, Graduate School of Business ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ University of Norte Dame ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการนโยบายความเสี่ยง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2559 กรรมการ บริษัท มาลีกรุ๊ป จํากัด (มหาชน) • ปี 2545 - 2556 กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 31 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2544 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 7/2001 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 21
215
10.
นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ อายุ 56 ปี กรรมการ (มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริษัท) กรรมการนโยบายความเสี่ยง ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 1 มีนาคม 2538 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 42,145,895 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.9391) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 192,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0043) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ ้ ริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นหลานของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นลูกพี่ลูกน้องของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาบัญชี Skidmore College ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการนโยบายความเสี่ยง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2550 - ปัจจุบน ั ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2558 - 2559 กรรมการ หอการค้าไทย • ปี 2546 - 2555 ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์บัวหลวง จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2555 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท โรงพยาบาลบํารุงราษฎร์ จํากัด (มหาชน) • ปี 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โรบินสัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย • ปี 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 133 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2561 - หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุน ่ ที่ 20/2018 • ปี 2552 - หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) รุ่นที่ 1/2009 - หลักสูตร Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR) รุน ่ ที่ 7/2009 • ปี 2550 - หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) รุ่นที่ 1/2007 - หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) รุ่นที่ 1/2007 • ปี 2548 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 35/2005 - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 6/2005 - หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่นที่ 11/2005 • ปี 2543 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 2/2000 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรการปฏิบัติการจิตวิทยา ฝ่ายอํานวยการ รุ่นที่ 73 สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสําหรับนักบริหารระดับสูงรุน ่ ที่ 4 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุน ่ ที่ 1 • หลักสูตรกระบวนการผู้บริหารความยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 13 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 22
216
รายงานประจําปี 2561
11.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายปรีชา เอกคุณากูล อายุ 60 ปี กรรมการ (มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริษัท) กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการนโยบายความเสี่ยง วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 25 เมษายน 2557 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่ม)ี • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0001) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาอุตสาหการและการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย • ปริญญาตรี สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร กรรมการนโยบายความเสีย ่ ง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2557 กรรมการ บริษัท ออฟฟิศเมท จํากัด (มหาชน) • ปี 2546 - 2556 กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย • ปี 2543 - 2546 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บีทูเอส จํากัด • ปี 2543 - 2546 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล จํากัด • ปี 2538 - 2543 กรรมการผู้จัดการ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • ปี 2561 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 39 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2548 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 62/2005 • ปี 2547 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 8/2004 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 7
217
คณะผู้บริหาร
12.
218
นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ อายุ 57 ปี รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 17,199,200 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.3832) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ และนายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ • เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ University of Hartford ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ University of California, Los Angeles (UCLA) ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2561 - ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด • ปี 2554 - 25 6 1 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจและบริหารโครงการก่อสร้าง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2548 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและบริหารโครงการก่อสร้าง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2541 - 2547 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษท ั เซ็นทรัลรีเทล คอร์ปอเรชัน ่ จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 42 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2561 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 251/2018 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตร Business Revolution and Innovation Network (BRAIN) รุน ่ ที่ 2 โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Advanced Management Program, Executive Course, Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน รุ่นที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 25 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10
รายงานประจําปี 2561
13.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ อายุ 57 ปี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 25,589,600 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.5702) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ และนายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ • เป็นพี่ของนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ และนายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล คุณวุฒิทางการศึกษา • Executive MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Mini MBA คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Mini MBA สาขาอสังหาริมทรัพย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2558 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2550 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2547 - 2549 ผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ฝ่ายขาย บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2546 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2545 ผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ฝ่ายขายและการตลาด บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 24 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2554 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 12/2011 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตร Advanced Management Program, Executive Course, Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Real Estate Investment สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 24 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 8 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5 • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุน ่ ที่ 9 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการพาณิชย์ รุ่นที่ 10 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง ธรรมศาสตร์เพื่อสังคมและโลก (นมธล.) รุ่นที่ 1
219
14.
นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ อายุ 46 ปี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 54,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0012) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 24,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0005) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด • ปี 2558 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชีและบริหารความเสี่ยง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2556 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชีและบริหารความเสี่ยง บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2558 เลขานุการบริษัท บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 13 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2545 - หลักสูตรเลขานุการบริษัท (CSP) รุ่นที่ 2/2002 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตร Finance for Executives Program, INSEAD Business School ประเทศฝรั่งเศส • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 26 หลักสูตรอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชีในปี 2561 • หลักสูตร เจาะลึกการรับรู้รายได้กับมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 พร้อมกรณีศึกษา โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์ เซ็นเตอร์ จํากัด จํานวน 7 ชั่วโมง • หลักสูตร เตรียมพร้อมมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับใหม่ และผลกระทบของการใช้ TFRS ฉบับที่ 7, 9 โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์ เซ็นเตอร์ จํากัด จํานวน 7 ชั่วโมง • หลักสูตร ภาพรวมมาตรฐานการสอบบัญชีของไทย รุ่นที่ 4/61 โดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ จํานวน 6 ชั่วโมง • หลักสูตร สรุปการเปลีย ่ นแปลงและประเด็นทีส ่ าํ คัญของ TFRS (ฉบับปรับปรุง 2561) สําหรับสมาชิกและบุคคลทัว ่ ไป รุ่นที่ 3/61 โดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ จํานวน 6 ชั่วโมง
220
รายงานประจําปี 2561
15.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์ อายุ 53 ปี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานคอมเมอร์เชียล การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่ม)ี • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) Columbia Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2561 - ปัจจุบน ั รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สายงานคอมเมอร์เชียล บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2560 - 2561 รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สายงานปฏิบต ั ก ิ าร บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2557 - 2559 รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) • ปี 2555 - 2557 กรรมการ บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จํากัด • ปี 2552 - 2556 กรรมการ บริษัท เมืองไทย กรุ๊ป โฮลดิ้ง จํากัด • ปี 2551 - 2558 กรรมการ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2557 รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไม่มี หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 16 • หลักสูตร Good Governance for Medical Executives (TMC) รุ่นที่ 3 จากสถาบันพระปกเกล้า
221
16.
นายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล อายุ 46 ปี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจและโครงการ การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 17,504,866 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.3900) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นหลานของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นลูกพี่ลูกน้องของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาการเงิน/ Supply Chain Management, Marshall School of Business, University of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจMarshall School of Business, University of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2561 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจและโครงการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2561 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท จีแลนด์ รีท แมเนจเม้นท์ จํากัด • ปี 2560 - 2561 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2556 - 2559 ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาโครงการและบริหารโครงการก่อสร้าง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 27 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2561 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 255/2018 หลักสูตรอบรมอื่น • Advanced Management Program, Harvard Business School, Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา
222
รายงานประจําปี 2561
17.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นางสุวดี สิงห์งาม อายุ 54 ปี ผู้อาํ นวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชีและบริหารสํานักงาน การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 20,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0004) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 48,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0011) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2552 - ปัจจุบน ั ผูอ ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชีและบริหารสํานักงาน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2538 - 2551 ผู้อํานวยการ ฝ่ายบัญชี บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2536 - 2538 ผู้อํานวยการ ฝ่ายบัญชี บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไม่มี หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายภาษีอากรภาคปฏิบัติ โดยสมาคมกฎหมายอาเซียนประจําประเทศไทย • หลักสูตร Executive Financial Management โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Employee’s Choice Ambassadors โดยสมาคมบริษัทจัดการลงทุน หลักสูตรอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชีในปี 2561 • หลักสูตร เจาะลึกการรับรู้รายได้กับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 พร้อมกรณีศึกษา โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์เซ็นเตอร์ จํากัด จํานวน 7 ชั่วโมง • หลักสูตร เตรียมพร้อมมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับใหม่ และผลกระทบของการใช้ TFRS ฉบับที่ 7, 9 โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์เซ็นเตอร์ จํากัด จํานวน 7 ชั่วโมง
223
18.
นางสาวอัมพาวีร์ ชมภูพงษ์เกษม อายุ 41 ปี ผู้อํานวยการ สํานักเลขานุการบริษัท และเลขานุการบริษัท วันที่ดํารงตําแหน่งเลขานุการบริษัท 1 พฤษภาคม 2559 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบัญชีบริหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สําคัญ • ปี 2559 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2546 - 2559 ผู้ช่วยเลขานุการบริษัท บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2560 - Open House for Company Secretary: บทบาทเลขานุการบริษัทในการส่งเสริม ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้กับองค์กร (IOH) รุ่นที่ 1/2017 - หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) รุ่นที่ 38/2017 - CGR Workshop 2017: Enhancing Good Corporate Governance based on CGR Scorecard (R-CGW) รุ่นที่ 2/2017 - Director Briefing 4/2017: The Sleeping Giants of Succession (M-DBT) รุน ่ ที่ 4/2017 • ปี 2556 - หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) รุ่นที่ 5/2013 • ปี 2553 - หลักสูตร Board Reporting Program (BRP) รุ่นที่ 4/2010 • ปี 2550 - หลักสูตร Board Performance Evaluation (CG Workshop) รุ่นที่ 2/2007 • ปี 2549 - หลักสูตร Developing Corporate Governance Policy (CG Workshop) รุน ่ ที่ 1/2006 หลักสูตรอบรมอื่น - ไม่มี หลักสูตรอบรมพัฒนาความรู้ด้านเลขานุการบริษัท • ปี 2561 - Roundtable Discussion 2018 “Driving business value & sustainability through active investors” โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - สัมมนา “การเปิดเผยข้อมูลตาม CG Code ใหม่” โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - CG Code Workshop: Assist your board in leading through disruptions with CG perspective โดย PwC ประเทศไทย • ปี 2552 - หลักสูตรพื้นฐานสําหรับผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท (FPCS) รุ่นที่ 21 โดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • ปี 2547 - หลักสูตร Corporate Secretary Development Program รุ่นที่ 9 โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
224
รายงานประจําปี 2561
19.
บทที่ 30
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม และเลขานุ ก ารบริ ษั ท
นางสาวนงลักษณ์ ศรีวงศ์พนาเวศ อายุ 44 ปี ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการ สํานักตรวจสอบภายใน การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่ม)ี • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่ม)ี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัย New South Wales ประเทศออสเตรเลีย • ปริญญาตรี สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประสบการณ์ทํางาน และ/หรือตําแหน่งที่สาํ คัญ • ปี 2558 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการ สํานักตรวจสอบภายใน บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) • ปี 2554 - 2558 ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2554 ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไม่มี หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตร Analytical Thinking for Professional Internal Auditors โดยสมาคมผูต ้ รวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Anti-Corruption Synergy to Success โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร ความท้าทายของผูต ้ รวจสอบภายในต่อการสร้างมูลค่าเพิม ่ ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบน ั โดยสมาคมผูต ้ รวจสอบ ภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร ธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: บนความท้าทายที่รออยู่ข้างหน้า โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายใน แห่งประเทศไทย • หลักสูตร IA Core Competencies โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Fraud Examination โดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ • หลักสูตร Skills for New Auditor-In-Charge โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Endorsed Internal Auditing Program โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Standards and Techniques of Auditing โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Accountants with the Operating Internal Audit โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Risk Management Updates for Board and Senior Management โดย PWC • หลักสูตร CAE Forum - Digitization: Empower IA New GEN โดยสมาคมผูต ้ รวจสอบภายในแห่งประเทศไทย
225
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57.
นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายปรีชา เอกคุณากูล นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายไพฑูรย์ ทวีผล นางโชติกา สวนานนท์ นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ นายการุณ กิตติสถาพร นายสุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ นางนาถยา จิราธิวัฒน์ นายสุทธิลักษณ์ จิราธิวัฒน์ นายโยธิน บุญดีเจริญ นายเจตรศิริ บุญดีเจริญ นายเปรมชัย กรรณสูต นายทวีผล คงเสรี นายเจริญ จิรวิศัลย์ นายพีระพล พัฒนพีระเดช นายนพดล พัฒนพีระเดช นายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล นายอิศเรศ จิราธิวัฒน์ เรืออากาศเอกกรี เดชชัย นายคุณายุธ เดชอุดม นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ นายชาลี มาดาน นางศุภจี สุธรรมพันธุ์ นางสาวพัฒนีพร เธียรประสิทธิ์ นายแสงชัย อภิชาติธนพัฒน์ นายสิทธิศักดิ์ อภิชาติธนพัฒน์ นางพรทิพา พฤฒิศาสตร์ นายอุปถัมป์ นิสิตสุขเจริญ นางสาวกนกรัตน์ พรมเถื่อน นายมิโรสลาฟ ฟริมอล นางสาวอนุสรา โชควาณิชย์พงษ์ นายอิทธิชัย บรรณสารประสิทธิ์ นายทศพล พิบูลสงคราม นายปัณฑิต มงคลกุล นายประพันธ์พงศ์ เวชชาชีวะ นางจิตรมณี สุวรรณพูล นางสาวนพพร ติรวัฒนกุล นายปั๊ก โต เหลียง นางเพียงหทัย พงษ์สุวรรณ นายชาลี โสภณพนิช นางนิจพร จรณะจิตต์ นางสาวพิรินี พริ้งศุลกะ นายสรวิศ ชัยโรจน์ นายรังสิน กฤตลักษณ์ นายจรัล มงคลจันทร์ นายวิทยา ชวนะนันท์ Ms. Puan Sri Tey Siew Thuan Mr. Soon Thien Suan Ms. Leong Wai Yin Mr. Razali Bin Abdul Rashid
หมายเหตุ
226
1
บริษัทอยู่ระหว่างการชําระบัญชี
บจ. ซีพีเอ็น เลิร์นนิ่ง เซ็นเตอร์ 1
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี 1
บจ. ซีพีเอ็น ซิตี้
บจ. ซีพีเอ็น โกบอล
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์
บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์
บจ. ซีพีเอ็น พัทยา
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3
บจ. บางนา เซ็นทรัล พร๊อพเพอร์ตี้
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์
บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้
บจ. เซ็นทรัลเวิลด์
บจ. เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว
บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
รายชื่อกรรมการ ในบริษัทย่อย
Central Plaza i-City Real Estate Sdn. Bhd.
CPN Ventures Sdn. Bhd.
Global Commercial Property Limited
Global Retail Development & Investment Limited
บจ. เบย์วอเตอร์
บทที่ 31
บจ. รัชดา แอสเซทส์ โฮลดิ้ง
บจ. จีแลนด์ รีท แมเนจเม้นท์
บจ. พระราม 9 สแควร์ โฮเต็ล
บจ. พระราม 9 สแควร์
บจ. สเตอร์ลิง อีควิตี้
บจ. จี แลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์
บจ. เบ็ล ดีเวลลอปเมนท์
บจ. เบ็ล แอสเซทส์
บมจ. แกรนด์ คาแนล แลนด์
บจ. คอมมอน กราวด์ (ประเทศไทย)
บจ. ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเมนท์
บจ. ฟีโนมินอน ครีเอชั่น
บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์
บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์
บจ. สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้
บจ. ชนะคุณ ดีเวลลอปเม้นท์
บจ. ซีพีเอ็น วิลเลจ
บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ แมเนจเมนท์
บจ. ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล
บจ. ดาราฮาร์เบอร์
บจ. ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์
บจ. ซีพีเอ็น เอสเตท
บจ. ซี.เอส. ซิตี้
บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ ขอนแก่น
บจ. ซีพีเอ็น โคราช
บจ. ซีพีเอ็น ระยอง
บจ. ซีพีเอ็น คอมเพล็กซ์
รายงานประจําปี 2561 รายชื่ อ กรรมการในบริ ษั ท ย่ อ ย
227
สรุปข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคล ที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป บริษัท
1.
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ศูนย์การค้า
บริษัท เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
5,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555
2.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
1,003,658,000
เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี
1,500,000,000
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2
โทร +66 (0) 2667 5555 3.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2 จํากัด 160 ถ.พระรามที่ 2 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กทม. 10150 โทร +66 (0) 2866 4300
4.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ จํากัด 2 ถ.มหิดล 252-252/1 ถ.วัวลาย ต.หายยา อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50100
1,000,000,000
โทร +66 (0) 5399 9199 5.
เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์ จํากัด 562, 566 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี 11000
800,000,000
เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์
โทร +66 (0) 2834 6000 6.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3 จํากัด 79 ถ.สาธุประดิษฐ์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม. 10120
324,738,000
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3
โทร +66 (0) 2649 6000 7.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
2,000,000,000
เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น
3,200,000,000
เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9
1,160,563,400
เซ็นทรัลพลาซา บางนา
2,500,000,000
เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช
โทร +66 (0) 2667 5555 8.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ จํากัด 9/9 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310 โทร +66 (0) 2103 5999
9.
บริษัท บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ จํากัด 587, 589 ถ.บางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260 โทร +66 (0) 2763 6000
10.
บริษัท ซีพีเอ็น พัทยา จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555
228
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 32
สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป
ประเภทธุรกิจ ศูนย์อาหาร
อาคาร สํ านักงาน
ที่พักอาศัย
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
ลงทุน และ/หรือ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
อื่น ๆ
เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า (บางส่วน) เซ็นทรัลพลาซา บางนา ศูนย์การค้าและบริการ เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี
สาธารณูปโภค เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว (บางส่วน)
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2
เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต
เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์
เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า (บางส่วน) เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3
เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น
เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9
เซ็นทรัลพลาซา บางนา
เซ็นทรัล ซิตี้ เรสซิเดนซ์
สวนนํ้า: เซ็นทรัลพลาซา บางนา
เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช
โรงแรมฮิลตัน พัทยา
229
บริษัท
11.
ทุนจดทะเบียน (บาท)
เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี
บริษัท เซ็นทรัลเวิลด์ จํากัด 4, 4/1-4/2, 4/4 ถ.ราชดําริห์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
2,511,938,100
โทร +66 (0) 2640 7000
12.
ศูนย์การค้า
เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย
บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จํากัด 587, 589, 589/7-9 ถ.รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. 10230
500,000,000
แฟชั่น ไอส์แลนด์
โทร +66 (0) 2947 5000 13.
บริษัท สแควร์ ริทซ์ พลาซ่า จํากัด 587 ถ.รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. 10230
125,000,000
โทร +66 (0) 2947 5000 14.
บริษัท อยุธยาเกษตรธานี จํากัด 3/10 หมู่ที่ 17 ถ.บางนา-ตราด ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540
400,000,000
โทร +66 (0) 2399 4510 15.
ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท บริหารงานโดยบริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด
29,653,382,715
999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 16.
กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท บริหารงานโดย บลจ.ไทยพาณิชย์ จํากัด
4,394,381,700
ไทยพาณิชย์ ปาร์ค พลาซ่า อาคาร 1 ชั้น 7-8 เลขที่ 18 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร +66 (0) 2949 1500 17.
กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 บริหารงานโดย บมจ.หลักทรัพย์จัดการกองทุนกรุงไทย
5,443,793,158
1 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 32 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กทม. 10120 โทร +66 (0) 2686 6100 18.
บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ จํากัด
400,600,000
999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 19.
20.
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด
700,000,000
เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี
โทร +66 (0) 2667 5555
เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง
บริษัท ซีพีเอ็น โกบอล จํากัด
1,000,000
999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 21.
บริษัท ซีพีเอ็น ซิตี้ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555
230
เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย
999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
2,863,485,000
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 32
สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป
ประเภทธุรกิจ ศูนย์อาหาร
อาคาร สํ านักงาน
ที่พักอาศัย
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
ลงทุน และ/หรือ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี
อื่น ๆ
โรงแรมเซ็นทารา และ
เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก
คอนเวนชันเซ็นเตอร์
เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี
อุดรธานี
เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย
เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช โรงแรมฮิลตัน พัทยา
อาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์
โครงการ ESCENT
เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง
231
บริษัท
22.
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ศูนย์การค้า
บริษัท ซีพีเอ็น คอมเพล็กซ์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
2,341,600,000
โทร +66 (0) 2667 5555 23.
บริษัท ซีพีเอ็น ระยอง จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
1,000,000,000
เซ็นทรัลพลาซา ระยอง
1,000,000,000
เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา
โทร +66 (0) 2667 5555 24.
บริษัท ซีพีเอ็น โคราช จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555
25.
บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ ขอนแก่น จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
200,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 26.
บริษัท ซี.เอส. ซิตี้ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
500,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 27.
บริษัท ซีพีเอ็น เอสเตท จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
1,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 28.
บริษัท ฟีโนมินอน ครีเอชั่น จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
400,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 29.
บริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
10,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 30.
บริษัท วิมานสุริยา จํากัด 946 อาคารพาณิชย์ดุสิตธานี ชั้น 5 ถ.พระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500
1,100,000,000
โทร +66 (0) 2200 9999 31.
บริษัท สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
172,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 32.
บริษัท ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
400,000
โทร +66 (0) 2667 5555 33.
บริษัท พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555
232
1,000,000
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 32
สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป
ประเภทธุรกิจ ศูนย์อาหาร
อาคาร สํ านักงาน
ที่พักอาศัย
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
ลงทุน และ/หรือ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
อื่น ๆ
เซ็นทรัลพลาซา ระยอง
เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา
พัฒนาโครงการธีมปาร์ค ภายในศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต ให้บริการจัดการกอง ทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์
233
บริษัท
34.
ทุนจดทะเบียน (บาท)
บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
400,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 35.
บริษัท ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเมนท์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
465,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 36.
บริษัท ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
200,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 37.
Global Retail Development & Investment Limited
HKD 10,000
30th Fl., Jardine House One Connaught Place, Central, Hong Kong 38.
Global Commercial Property Limited
HKD 10,000
30th Fl., Jardine House One Connaught Place, Central, Hong Kong 39.
CPN Ventures Sdn. Bhd. Unit 30-01, 30th Fl., Tower A, Vertical Business Suite, Avenue 3,
MYR 10,000,000
Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia 40.
Central Plaza i-City Real Estate Sdn. Bhd. Unit 30-01, 30th Fl., Tower A, Vertical Business Suite, Avenue 3, Bangsar
MYR 458,000,000
South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia 41.
บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ แมเนจเมนท์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
1,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 42.
บริษัท ชนะคุณ ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
70,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 43.
บริษัท ซีพีเอ็น วิลเลจ จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330
1,000,000
โทร +66 (0) 2667 5555 44.
บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) 946 อาคารพาณิชย์ดุสิตธานี ชั้น 5 ถ.พระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500
850,000,000
โทร +66 (0) 2200 9999 45.
บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จํากัด (มหาชน) 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310 โทร +66 (0) 2246 2323
234
6,535,484,202
ศูนย์การค้า
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 32
สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป
ประเภทธุรกิจ ศูนย์อาหาร
อาคาร สํ านักงาน
ที่พักอาศัย
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
ลงทุน และ/หรือ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
อื่น ๆ
ผูเ้ ช่าช่วงและประกอบธุรกิจ โรงแรมฮิลตัน พัทยา ที่อยู่ภายใต้ CPNREIT
ให้คําปรึกษาด้านการ บริหารและการจัดการ อสังหาริมทรัพย์
บริหารงานนิติบุคคล อาคารชุดและบ้านจัดสรร
ประกอบธุรกิจโรงแรม รับจ้างบริหารงานโรงแรม
เดอะ ไนน์ ทาวเวอร์
235
บริษัท
46.
ทุนจดทะเบียน (บาท)
บริษัท เบ็ล ดีเวลลอปเมนท์ จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
2,064,261,300
โทร +66 (0) 2246 2323 47.
บริษัท เบ็ล แอสเซทส์ จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
11,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323 48.
บริษัท สเตอร์ลิง อีควิตี้ จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
1,800,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323 49.
บริษัท จี แลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
500,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323 50.
บริษัท พระราม 9 สแควร์ จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
1,900,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323 51.
บริษัท พระราม 9 สแควร์ โฮเต็ล จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
16,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323” 52.
บริษัท จีแลนด์ รีท แมเนจเม้นท์ จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
10,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323 53.
บริษัท รัชดา แอสเซทส์ โฮลดิ้ง จํากัด 33/4 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม. 10310
6,000,000
โทร +66 (0) 2246 2323 54.
บริษัท เบย์วอเตอร์ จํากัด 21 ซอยเฉยพ่วง ถ.วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900
10,000,000
โทร +66 (0) 2273 8838 55.
ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ อาคารสํานักงาน จีแลนด์ ไทยพาณิชย์ ปาร์ค พลาซ่า อาคาร 1 ชั้น 7-8 เลขที่ 18 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร
10,000,000
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร +66 (0) 2949 1500 56.
บริษัท คอมมอนกราวน์ (ประเทศไทย) จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555
หมายเหตุ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี จํากัด และบริษัท ซีพีเอ็น เลิร์นนิ่ง เซ็นเตอร์ จํากัด อยู่ระหว่างการชําระบัญชี
236
1,000,000
ศูนย์การค้า
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 32
สรุ ป ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของนิ ติ บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 10 ขึ้ น ไป
ประเภทธุรกิจ ศูนย์อาหาร
อาคาร สํ านักงาน
ที่พักอาศัย
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
ลงทุน และ/หรือ ถือหุ้นในบริษัทอื่น
อื่น ๆ
Belle Grand Rama 9
ยูนิลีเวอร์ เฮ้าส์ แกรนด์ พระราม 9
จี ทาวเวอร์ แกรนด์ พระราม 9
ให้บริการจัดการกองทรัสต์ เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์
เดอะ ไนน์ ทาวเวอร์ ยูนิลีเวอร์ เฮ้าส์ และพื้นที่จอดรถ
ธุรกิจ Co-working Space
237
ศูนย์การค้าภายใต้การบริหารงานของ CPN
01 02 03 04
05 06 07 08 09 10 11 238
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
ที่อยู่ : 1693 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : +66 (0) 2793 6000 โทรสาร : +66 (0) 2541 1341
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา
ที่อยู่ : 109/10 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : +66 (0) 2790 3000 โทรสาร : +66 (0) 2552 5513
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า
ที่อยู่ : 7/222 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ : +66 (0) 2877 5000 โทรสาร : +66 (0) 2884 8446
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลมารีนา
ที่อยู่ : 78/54 หมู่ 9 ถนนพัทยาสาย 2 ตํ าบลหนองปรือ อํ าเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20260 โทรศัพท์ : +66 (0) 3300 3888 โทรสาร : +66 (0) 3300 3888 ต่อ 1225-6
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต
ที่อยู่ : 2 ถนนมหิดล, 252-252/1 ถนนวัวลาย ตํ าบลหายยา อํ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์ : +66 (0) 5399 9199 โทรสาร : +66 (0) 5399 9122-3
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3
ที่อยู่ : 79 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : +66 (0) 2649 6000 โทรสาร : +66 (0) 2673 6009
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา
ที่อยู่ : 587, 589 ถนนบางนา-ตราด (กม.3) แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : +66 (0) 2763 6000 โทรสาร : +66 (0) 2399 5777
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2
ที่อยู่ : 160 ถนนพระราม 2 แขวงแสมดํ า เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ : +66 (0) 2866 4300 โทรสาร : +66 (0) 2872 4560
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์
ที่อยู่ : 4, 4/1-4/2, 4/4 ถนนราชดํ าริห์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0) 2640 7000 โทรสาร : +66 (0) 2255 9767
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์
ที่อยู่ : 68/100, 68/919 หมู่ 8 ถนนรัตนาธิเบศร์ ตํ าบลบางกระสอ อํ าเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : +66 (0) 2103 5777 โทรสาร : +66 (0) 2526 6092
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ
ทีอ ่ ยู่ : 99, 99/9 หมูท ่ ี่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตํ าบลบางตลาด อํ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : +66 (0) 2101 0000 โทรสาร : +66 (0) 2101 1343
รายงานประจําปี 2561
12 13 14 15
16 17
18 19 20 21 22
บทที่ี 33
ศู น ย์ ก ารค้ า ภายใต้ ก ารบริ ห ารงานของ CPN
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช
ที่อยู่ : 333/99 หมู่ที่ 9 ตํ าบลหนองปรือ อํ าเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20260 โทรศัพท์ : +66 (0) 3300 3999 โทรสาร : +66 (0) 3300 3999 ต่อ 1225-6
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี
ที่อยู่ : 277/1-3, 271/5 ถนนประจักษ์ศิลปาคม ตํ าบลหมากแข้ง อํ าเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์ : +66 (0) 4224 9192 โทรสาร : +66 (0) 4224 4639
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี
ที่อยู่ : 55/88-89, 55/91 หมู่ที่ 1 ตํ าบลเสม็ด อํ าเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ : +66 (0) 3300 3333 โทรสาร : +66 (0) 3300 3179
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น
ที่อยู่ : 99, 99/1 ถนนศรีจันทร์ ตํ าบลในเมือง อํ าเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ : +66 (0) 4300 1000 โทรสาร : +66 (0) 4300 1209
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย
ที่อยู่ : 99/9 หมู่ 13 ตํ าบลรอบเวียง อํ าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท์ : +66 (0) 5202 0999 โทรสาร : +66 (0) 5202 0900
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก
ที่อยู่ : 9/99 หมู่ 5 ตํ าบลพลายชุมพล อํ าเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ : +66 (0) 5500 0999 โทรสาร : +66 (0) 5500 0990
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9
ที่อยู่ : 9/9 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์ : +66 (0) 2103 5999 โทรสาร : +66 (0) 2103 5990
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี
ทีอ ่ ยู่ : 88 หมู่ 10 ตํ าบลวัดประดู่ อํ าเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ : +66 (0) 7796 3555 โทรสาร : +66 (0) 7796 3599
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลําปาง
ที่อยู่ : 319 ถนนไฮเวย์ลาํปาง-งาว ตํ าบลสวนดอก อํ าเภอเมืองลํ าปาง จังหวัดลํ าปาง 52100 โทรศัพท์ : +66 (0) 5401 0555 โทรสาร : +66 (0) 5401 0599
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี
ที่อยู่ : 311 หมู่ที่ 7 ตํ าบลแจระแม อํ าเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ : +66 (0) 4595 0699 โทรสาร : +66 (0) 4595 0600
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่
ทีอ ่ ยู่ : 99, 99/1, 99/2 หมูท ่ ี่ 4 ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ตํ าบลฟ้าฮ่าม อํ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ : +66 (0) 5399 8999 โทรสาร : +66 (0) 5200 1700
239
รายงานประจําปี 2561
บทที่ี 33
ศู น ย์ ก ารค้ า ภายใต้ ก ารบริ ห ารงานของ CPN
ศูนย์การค้าภายใต้การบริหารงานของ CPN
23 24 25 26 27
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่
ที่อยู่ : 1518, 1518/1, 1518/2 ถนนกาญจนวณิชย์ ตํ าบลหาดใหญ่ อํ าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ : +66 (0) 7480 1555 โทรสาร : +66 (0) 7480 1599
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย
ที่อยู่ : 209, 209/1-209/2 หมู่ที่ 2 ตํ าบลบ่อผุด อํ าเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84320 โทรศัพท์ : +66 (0) 7796 2777 โทรสาร : +66 (0) 7796 2799
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ศาลายา
ที่อยู่ : 99/19, 99/20 หมู่ที่ 2 ตํ าบลบางเตย อํ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 โทรศัพท์ : +66 (0) 3410 0888 โทรสาร : +66 (0) 3410 0899
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ระยอง
ที่อยู่ : 99, 99/1 ถนนบางนา-ตราด ตํ าบลเชิงเนิน อํ าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 โทรศัพท์ : +66 (0) 3301 3333 โทรสาร : +66 (0) 3301 3300
ศูนย์การค้าเซ็นทรัล ภูเก็ต เซ็นทรัล ภูเก็ต เฟสติวัล
ที่อยู่ : 74, 75 หมู่ที่ 5 ถนนวิชิตสงคราม ตํ าบลวิชิต อํ าเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ : +66 (0) 7629 1111 โทรสาร : +66 (0) 7629 4000
เซ็นทรัล ภูเก็ต ฟลอเรสต้า
ที่อยู่ : 199 หมู่ที่ 4 ถนนวิชิตสงคราม ตํ าบลวิชิต อํ าเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ : +66 (0) 7660 3333
28 29 30 31 32 240
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต
ที่อยู่ : 199, 199/1, 199/2 หมู่ที่ 6 ตํ าบลเสาธงหิน อํ าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 11140 โทรศัพท์ : +66 (0) 2102 7999 โทรสาร : +66 (0) 2102 7900
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์
ที่อยู่ : 69, 69/ 1, 69/2 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท์ : +66 (0) 2102 5000 โทรสาร : +66 (0) 2102 5099
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช
ที่อยู่ : 8, 9/8 หมู่ที่ 7 ตํ าบลนาสาร อํ าเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ : +66 (0) 7580 3333 โทรสาร : +66 (0) 7580 3399
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา
ที่อยู่: 990, 998 ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ตํ าบลในเมือง อํ าเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์: +66 (0) 4400 1555 โทรสาร : +66 (0) 4400 1599
ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย
ที่อยู:่ 98 หมู่ที่ 4 ตํ าบลนาดี อํ าเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์: +66 (0) 3411 2777 โทรสาร : +66 (0) 3411 2799
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 34
ข้ อ มู ล สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น และบุ ค คลอ้ า งอิ ง
ข้อมูลสําหรับนักลงทุนและบุคคลอ้างอิง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)
นโยบายการจ่ายเงินปันผล :
ทุนจดทะเบียน : 2,244,000,000 บาท ทุนที่ออกและชําระแล้ว : 2,244,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 4,488,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.5 บาท
CPN มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราประมาณร้อยละ 40 ของกํ า ไรสุ ท ธิ จ ากการดํ า เนิ น งานประจํ า ปี (กรณี ไ ม่ มี เ หตุ ผ ล จําเป็นอืน ่ ใด)
ข้อมูลหลักทรัพย์ หุ้นสามัญของ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนและทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ “CPN”
ข้อมูลราคาหลักทรัพย์และการจ่ายเงินปันผล ในช่วงเวลา 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2557 – 2561) หน่วย: บาทต่อหุ้น
การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทมีมติให้จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจํา ปี 2562 ในวันที่ 26 เมษายน 2562 เวลา 14.00 น. ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย
ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ชั้น 31 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์: +66 (0) 2667 5555 ต่อ 1614, 1632, 1689 อีเมล: ir@cpn.co.th เว็บไชต์: www.cpn.co.th
ปี
ราคาสูงสุด
ราคาตํ่าสุด
เงินปันผลจ่าย
2557
49.50
37.00
0.65
2558
49.25
39.75
0.70
2559
6 1 .75
43.00
0.83
2560
87.00
53.75
1.40
2561
87.25
68.25
1.10
1
1 หมายเหตุ : รออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2562
การเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN เปรียบเทียบกับ ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและดัชนีราคา หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ การเพิ่มค่าของดัชนีราคาหลักทรัพย์ (ร้อยละ)
3 ปี ย้อนหลัง
1 ปี ย้อนหลัง
ดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN
59
-12
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ฯ
21
-11
ดัชนีราคาหมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
9
-16
เปรียบเทียบการเคลื่อนไหวของดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN กับดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ฯ และดัชนีราคาหมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 3 ปี ย้อนหลัง (ราคาปี 2559 เป็นปีฐาน)
ดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN ดัชนีตลาดหลักทรัพย์
หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ดัชนีราคาเปรียบเทียบ (ม.ค. 2559 = 100) 250 200
150
100
50
0 ม.ค. 59
ก.ค. 59
ม.ค. 60
ก.ค. 60
ม.ค. 61
ก.ค. 61
ธ.ค. 61
ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
241
กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ปี 2561 วันที่
242
กิจกรรม
11-12 มกราคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บล. ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย)
16 มกราคม 2561
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ในประเทศ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
19 มกราคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศมาเลเซีย จัดโดย บล. แมคควอรี (ประเทศไทย)
29-30 มกราคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง จัดโดย บล. ซี แอล เอส เอ (ประเทศไทย)
27 กุมภาพันธ์ 2561
ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารการเงินพบผูจ ้ ด ั การกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
5-6 มีนาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ในงาน Daiwa Investment Conference ณ ประเทศญี่ปุ่น จัดโดย บล. ไดว่า ซิเคียวริตี้
27-28 มีนาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ในงาน Invest ASEAN ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บล. เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย)
27 เมษายน 2561
ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์
16 พฤษภาคม 2561
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
6 มิถุนายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ จัดโดย บล. บัวหลวง
11 มิถุนายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง จัดโดย บล. บัวหลวง และมอร์แกน สแตนลีย์
19-20 มิถุนายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บล. ธนชาต และไดว่า แคปปิตอล มาร์เก็ต สิงคโปร์
29 มิถุนายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ ในงาน dbAccess Thailand Corporate Day จัดโดย หลักทรัพย์ ที่ปรึกษาทางการลงทุน ดอยซ์ ทิสโก้
12 กรกฎาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ ในงาน Thailand Property and REITs Corporate Day จัดโดย บล. ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย)
15 สิงหาคม 2561
ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารการเงินพบผูจ ้ ด ั การกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
24 สิงหาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศมาเลเซีย จัดโดย บล. เจพี มอร์แกน (ประเทศไทย)
30-31 สิงหาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันในและต่างประเทศ ในงาน Thailand Focus 2018 Conference จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
21 กันยายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ ในงาน Corporate Day จัดโดย บล. กรุงศรี
24-28 กันยายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา จัดโดย บล. ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย)
25-26 กันยายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ในงาน 2018 Global Real Estate ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดโดย แบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริลล์ ลินซ์ และ บล. ภัทร
11-12 ตุลาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บล. ยูบีเอส (ประเทศไทย)
16-19 ตุลาคม 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศอังกฤษและเยอรมนี จัดโดย บล. ซี แอล เอส เอ (ประเทศไทย)
16 พฤศจิกายน 2561
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
21 พฤศจิกายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศญี่ปุ่น จัดโดย บล. กรุงศรี
26-27 พฤศจิกายน 2561
พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง จัดโดย บล. ซีจีเอส-ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย)
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 34
ข้ อ มู ล สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น และบุ ค คลอ้ า งอิ ง
ปฏิทน ิ ทางการเงินทีส ่ าํ คัญปี 2562 ปฏิทินทางการเงิน
เดือน (คาดการณ์)
ประกาศงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําปี 2561
กุมภาพันธ์
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําปี 2561 ณ อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
กุมภาพันธ์
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําปี 2561 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มีนาคม
ปิดสมุดทะเบียนสําหรับสิทธิการเข้าประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี
มีนาคม
การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี
เมษายน
จ่ายเงินปันผลสําหรับผลการดําเนินงานประจําปี 2561
พฤษภาคม
ประกาศงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 1
พฤษภาคม
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 1 ณ อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
พฤษภาคม
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 1 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
พฤษภาคม
ประกาศงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 2
สิงหาคม
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 2 ณ อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
สิงหาคม
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 2 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สิงหาคม
ประกาศงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 3
พฤศจิกายน
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 3 ณ อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
พฤศจิกายน
งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 3 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
พฤศจิกายน
243
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 34
ข้ อ มู ล สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น และบุ ค คลอ้ า งอิ ง
บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหุ้น
ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2009 9999 โทรสาร : + 66 (0) 2009 9991
หุ้นกู้ CPN218A และ CPN258A
นายทะเบียนหุ้นกู้
ผู้สอบบัญชี
หุ้นกู้ CPN19NA
บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด โดยนางสาววรรณาพร จงพีรเดชานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4098 ชั้น 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ เลขที่ 1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2677 2000 โทรสาร : + 66 (0) 2677 2222
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) เลขที่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2626 7503 โทรสาร : + 66 (0) 2626 7542
หุ้นกู้ CPN21OA
ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2256 2323-8 โทรสาร : + 66 (0) 2256 2406
หุ้นกู้ CPN221A, CPN228A, CPN20DA, CPN21DA, CPN22DA, CPN218A และ CPN258A
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) เลขที่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2296 3582 โทรสาร : + 66 (0) 2683 1298
244
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) เลขที่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2296 3582 โทรสาร : + 66 (0) 2683 1298
บริษัทจัดอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้ บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ชั้น 24 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ เลขที่ 191 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ : + 66 (0) 2098 3000 โทรสาร : + 66 (0) 2231 3012
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 35
สรุ ป ตํ า แหน่ ง รายการที่ กํ า หนดตามแบบ 56-2
สรุปตํ าแหน่งรายการทีก ่ าํหนดตามแบบ 56-2 หัวข้อ
หน้า
1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
12 / 14 / 20 - 23 / 46
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
46 - 63
3. ปัจจัยความเสี่ยง
28 / 80 - 85
4. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสําคัญอื่น
ปกใน / 241 - 244
5. ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
191
6. นโยบายการจ่ายเงินปันผล
193
7. โครงสร้างการจัดการ
150 - 163
8. การกํากับดูแลกิจการ
164 - 183
9. ความรับผิดชอบต่อสังคม
67 - 69 / 100 - 147
10. การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง
80 - 85 / 194 - 197
11. รายการระหว่างกัน
198 - 205
12. ข้อมูลทางการเงินที่สําคัญ
16 - 19
13. การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ
86 - 99
หมายเหตุ: ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายงานประจําปี(แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.cpn.co.th)
245
246
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 36
ใบรั บ รองตั ว ชี้ วั ด ด้ า นความยั่ ง ยื น จากหน่ ว ยงานภายนอก
247
GRI CONTENT INDEX GRI Standard
Disclosure
Page Number and/or URL
SGDs
GRI 101: Foundation 2016 General Disclosures ORGANIZATION PROFILE
General Disclosures 2016
102-1
Core
Name of the organization
Inside cover, 46
102-2
Core
Activities, brands, products, and services
46 - 51, 54 - 63
102-3
Core
Location of headquarters
Inside cover
102-4
Core
Location of operations
54 - 63
102-5
Core
Ownership and legal form
64
102-6
Core
Markets served
46 - 51, 58 - 63
102-7
Core
Scale of the organization
18 - 19, 52 - 65
102-8
Core
Information on employees and other workers
143 - 144
102-9
Core
Supply chain
124 - 126
102-10
Core
Significant changes to the organization and its supply chain
20 - 23, 34 - 35
102-11
Core
Precautionary principle or approach
28 - 29, 80 - 84
102-12
Core
External initiatives
78 - 79
102-13
Core
Membership of associations
24 - 25
SDG 8 Employment
STRATEGY 102-14
Core
Statement from senior decision-maker
30 - 31
102-15
Core
Key impacts, risks, and opportunities
72 - 77
ETHICS AND INTEGRITY 102-16
248
Core
Values, principles, standards, and norms of behavior
15, 164
Code of Business Conduct: (www.cpn.co.th/sustainability. a s p x ? m e n u = C o d e _O f _ Conducts)
SDG 16 Ethical and lawful behavior
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 37
GRI Standard
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Number and/or URL
SGDs
External Assurance
GRI 101: Foundation 2016 General Disclosures GOVERNANCE 102-17
Mechanisms for advice and concerns about ethics
171 - 172
Governance Structure
148 - 149, 160 - 162
102-19
Deligating authority
15, 164
102-20
Executive-level responsibility for economic, environmental, and social topics
Roles and Responsibilities (www.cpn.co.th/sustainability. aspx?menu=Sustainable_ Management)
102-21
Consulting stakeholders on economic, environmental, and social topics
69 - 70
102-22
Composition of the highest governance body and its committees
150 - 159
102-23
Chair of the highest governance body
150
Nominating and selecting the highest governance body
184
102-25
Conflicts of interest
182 - 183
102-26
Role of highest governance body in setting purpose, values, and strategy
150 - 163
102-27
Collective knowledge of highest governance body
179 - 181
102-28
Evaluating the highest governance body’s performance
207 - 225
102-29
Identifying and managing economic, environmental, and social impacts
160 - 162
102-30
Effectiveness of risk management processes
157
102-31
Review of economic, environmental, and 160 - 162 social topics
102-18
General Disclosures 102-24 2016
Core
SDG16 Effective, accountable and transparent governance
249
GRI Standard
Disclosure
Page Number and/or URL
GRI 101: Foundation 2016 General Disclosures
General Disclosures 2016
102-32
Highest governance body’s role in sustainability reporting
71
102-33
Communicating critical concerns
68 - 75
102-34
Nature and total number of critical concerns
75
102-35
Remuneration policies
187 - 189
102-36
Process for determining remuneration
156 - 157, 187 - 189
102-37
Stakeholders’ involvement in remuneration
156
102-38
Annual total compensation ratio
187 - 189
102-39
Percentage increase in annual total compensation ratio
187
STAKEHOLDER ENGAGEMENT
250
102-40
Core
List of stakeholder groups
69 - 70
102-41
Core
Collective bargaining agreements
123
102-42
Core
Identifying and selecting stakeholders
69 - 70
102-43
Core
Approach to stakeholder engagement
69 - 70
102-44
Core
Key topics and concerns raised
69 - 70
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 37
GRI Standard
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Number and/or URL
SGDs
External Assurance
GRI 101: Foundation 2016 General Disclosures REPORTING PRACTICE 102-45
Core
Entities included in the consolidated financial statements
145 - 147
102-46
Core
Defining report content and topic boundaries
145 - 147
102-47
Core
List of material topics
72 - 75
102-48
Core
Restatements of information
145
102-49 General Disclosures 102-50 2016
Core
Changes in reporting
145
Core
Reporting period
145
102-51
Core
Date of most recent report
145
102-52
Core
Reporting cycle
145
102-53
Core
Contact point for questions regarding the report
145
102-54
Core
Claims of reporting in accordance with the GRI Standards
145
102-55
Core
GRI content index
248 - 265
102-56
Core
External assurance
246 - 247
251
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
Material Topics GRI 200 Economic Standards Series ECONOMIC PERFORMANCE GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
40 -45, 101 - 102
103-2 The management approach and its components
86 - 89
103-3 Evaluation of the management approach
110 - 111
201-1 Direct economic value generated and distributed
16 - 19, 128
Management Approach 2016
201-2 Financial implications and other risks and opportunities Performance due to climate change GRI 201:
SDG 8 Infrastructure investments
80 - 84
Economic 2016
201-3 Defined benefit plan obligations and other retirement plans
Note to the Financial Statements
136 - 137
INDIRECT ECONOMIC IMPACTS GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
102 - 110
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
GRI 203: Indirect
203-1 Infrastructure investments and services supported
102 - 110
203-2 Significant indirect economic impacts
129
Economic Impacts 2016
252
SDG 8 Infrastructure investments
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 200 Economic Standards Series PROCUREMENT PRACTICES GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
124 - 126 Supply Chain Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Supply_Chain_ Management)
103-3 Evaluation of the management approach GRI 204: Procurement
204-1 Proportion of spending on local suppliers
SDG 12 Procurement practices
126
Practices 2016
ANTI-CORRUPTION GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
GRI 205: AntiCorruption 2016
83, 107 - 117, 182 - 183 Anti-Corruption Measures (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Anti_Corruption _Measures)
205-1 Operations assessed for risks related to corruption
83
205-2 Communication and training about anticorruption policies and procedures
119, 123, 126
205-3 Confirmed incidents of corruption and actions taken
SDG 16 Anti Corruption
Number and nature of confirmed incidents of corruption
Confidentiality constraints
Company constrains for operating system
SDG 16 Anti Corruption
253
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
Material Topics GRI 200 Economic Standards Series ANTI-COMPETITIVE BEHAVIOR 103-1 Explanation of the material topic and its Boundary GRI 103 Management 103-2 The management approach Approach
and its components
2016
103-3 Evaluation of the management approach
168 - 169 Hiring & purchasing and treatment of business partners policy Business competition policy (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Policies_and_ Implementing _Guidelines)
206-1 Legal actions for anticompetitive behavior, competitive anti-trust, and monopoly Behavior practices GRI 206:
Number of legal actions pending or completed
Anti-
2016
MATERAILS GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
131 - 141 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 301:
301-1 Material used by weight or volume
133 - 137
301-3 Reclaimed products and their packaging materials
137
Materials 2016
254
Confidentiality constraints
Company constrains for operating system
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
บทที่ 37
GRI Standard
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
SDG 7/ SDG 8/ SDG 12 SDG 13 Energy Efficiency, Renewable enerygy
Yes
Material Topics GRI 300 Environmental Standards Series ENERGY GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
132 - 136, 145 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
302-1 Energy consumption within the organization
132
302-3 Energy intensity
132
GRI 302: Energy 2016 302-4 Reduction of energy
consumption
302-5 Reductions in energy requirements of products and services
Yes
132
134
WATER GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
GRI 303:
136 - 137, 145 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
303-1 Water withdrawal by source
137
303-3 Water recycled and reused
137
Yes
Yes
Water 2016
255
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
Material Topics GRI 300 Environmental Standards Series BIODIVERSITY 103-1 Explanation of the material topic and its boundary GRI 103 Management 103-2 The management approach Approach
and its components
2016
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 304: Biodiversity
139 - 141, 145 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
304-1 Operational sites owned, leased, managed in, or adjacent to, protected areas and areas of high biodiversity value outside protected areas
139
304-2 Significant impacts of activities, products, and services on biodiversity
139
304-3 Habitats protected or restored
139
2016
EMISSION GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
256
131 - 132, 145 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 300 Environmental Standards Series 305-1 Direct (Scope 1) GHG emissions
132
305-2 Energy indirect (Scope 2) GHG emissions
132
305-3 Other indirect (Scope 3) GHG emissions
132
305-4 GHG emissions intensity
131
305-5 Reduction of GHG emissions
132
SDG 13 GHG Emission
Yes
Yes
GRI 305: Emissions 2016
Yes Yes
EFFLUENT AND WASTE GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
GRI 306: Effluents
138 - 139 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
306-1 Water discharge by quality and destination
138
306-2 Waste by type and disposal method
139
Volumn of water discharge
Information unavailable
The data will be available in 2019
and Waste 2016
257
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
Material Topics GRI 300 Environmental Standards Series ENVIRONMENTAL COMPLIANCE GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
Environmental ResourceManagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
103-3 Evaluation of the management approach 307-1 Non-compliance with environmental laws and Compliance regulations GRI 307:
141
Environmental 2016
SUPPLIER ENVIRONMENTAL ASSESSMENT GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
124 - 126 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 308: Supplier
308-1 New suppliers that were screened using environmental criteria
141
308-2 Negative environmental impacts in the supply chain and actions taken
141
Environmental Assessment 2016
258
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 400 Social Standards Series EMPLOYMENT GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee_ Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach 401-1 New employee hires and employee turnover
117, 143 - 144
GRI 401: Employment 401-2 Benefits provided to 2016
full-time employees that are not provided to temporary or part-time employees
118
259
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 400 Social Standards Series OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
105 - 107, 122 - 123
103-2 The management approach and its components
Employee_ Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
Management Approach 2016
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 403: Occupational Health and Safety 2016
260
403-1 Workers representation in formal joint management– worker health and safety committees
123
403-2 Types of injury and rates of injury, occupational diseases, lost days, and absenteeism, and number of work-related fatalities
123, 144
403-3 Workers with high incidence or high risk of diseases related to their occupation
123, 126
Yes
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 400 Social Standards Series TRAINING AND EDUCATION GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
120 - 122 Employee_ Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 404: Training and Education
404-1 Average hours of training per year per employee
121
404-2 Programs for upgrading employee skills and transition assistance programs
120 - 121
404-3 Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews
122 - 123
SDG 4/ SDG 8 Employee training & education
2016
261
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
Material Topics GRI 400 Social Standards Series DIVERSITY AND EQUAL OPPORTUNITY GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 405:
405-1 Diversity of governance bodies and employees
143 - 144
405-2 Ratio of basic salary and remuneration of women to men
143 - 144
Diversity and Equal Opportunity 2016
NON-DISCRIMINATION GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach GRI 406 : Non- 406-1 Incidents of discrimination discrimination 2016
262
and corrective actions taken
123
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 400 Social Standards Series FREEDOM OF ASSOCIATION AND COLLECTIVE BARGAINING GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach 407-1 Operations and suppliers in which the right to freedom of association and Freedom of collective bargaining may Association be at risk and Collective
123
GRI 407:
Bargaining 2016
CHILD LABOR GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach GRI 408: Child Labor 2016
408-1 Operations and suppliers at significant risk for incidents of child labor
126
263
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
Material Topics GRI 400 Social Standards Series FORCED OR COMPULSORY LABOR GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu =Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach 409-1 Operations and suppliers at significant risk for Compulsory incidents of forced or Labor 2016 compulsory labor GRI 409:
126
Forced or
RIGHTS OF INDIGENOUS PEOPLES
GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
117 - 123 Employee Engagement (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Employee_ Engagement)
103-3 Evaluation of the management approach GRI 411: Rights of Indigenous Peoples
264
411-1 Incidents of violations involving rights of indigenous peoples
126
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 400 Social Standards Series LOCAL COMMUNITIES GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
126 - 130 Environmental Resource Management (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Resource_Management)
103-3 Evaluation of the management approach
GRI 413:
413-1 Operations with local community engagement, impact assessments, and development programs
126
Local Communities 413-2 Operations with significant
actual and potential negative impacts on local communities
130
SUPPLIER SOCIAL ASSESSMENT
GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
124 - 126
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
GRI 414: Supplier
414-1 New suppliers that were screened using social criteria
126
414-2 Negative social impacts in the supply chain and actions taken
126
Social Assessment
265
GRI Standard
Disclosure
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
Material Topics GRI 400 Social Standards Series PUBLIC POLICY GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components
Political participation policy (www.cpn.co.th/ sustainability. aspx?menu= Policies_and_Implementing_ Guidelines)
103-3 Evaluation of the management approach GRI 415:
415-1 Political contributions
None
Public Policy
CUSTOMER HEALTH AND SAFETY GRI 103
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
106 - 107
Management Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
GRI 416:
416-1 Assessment of the health and safety impacts of product and service categories
111
416-2 Incidents of non-compliance concerning the health and safety impacts of products and services
None
Customer Health and Safety
266
SGDs
External Assurance
รายงานประจําปี 2561
GRI Standard
บทที่ 37
Disclosure
GRI INDEX & UNGC PRINCIPLES
Page Omission Number and/or URL Part Omitted Reason Explanation
SGDs
External Assurance
Material Topics GRI 400 Social Standards Series SOCIOECONOMIC COMPLIANCE GRI 103 Management
103-1 Explanation of the material topic and its boundary
105 - 106
Approach 2016
103-2 The management approach and its components 103-3 Evaluation of the management approach
419-1 Non-compliance with laws and regulations in the social Compliance and economic area GRI 419:
Socioeconomic
105, 126, 130
267
UNITED NATIONS GLOBAL COMPACT PRINCIPLES Principles
Human Rights
Disclosure
Principle 1 : Businesses should support and respect the protection of internationally proclaimed human rights
Page
74, 117, 124 - 126
Principle 2 : Businesses should make sure that they are not complicit in human rights abuses Labor
Principle 3 : Businesses should uphold the freedom of association and the effective recognition of the right to collective bargaining
117 - 118, 122 - 126
Principle 4 : The elimination of all forms of forced and compulsory labour Principle 5 : The effective abolition of child labour Principle 6 : The elimination of discrimination in respect of employment and occupation Environment
Principle 7 : Businesses should support a precautionary approach to environmental challenges
131 - 141
Principle 8 : Undertake initiatives to promote greater environmental responsibility Principle 9 : Encourage the development and diffusion of environmentally friendly technologies Anti-corruption
268
Principle 10 : Businesses should work against corruption in all its forms, including extortion and bribery
119, 124 - 126, 170 - 172, 194 - 197