ขนาดภาพและมุมกล้อง

Page 1

ระยะของภาพ และ มุมกล้อง


การกาหนดภาพของแต่ละช็อตในการถ่ายทาภาพยนตร์ มีลักษณะสาคัญ เพราะเป็นการใช้กล้องโน้มน้าวชักจูงใจ ความสนใจของคนดูและเพื่อให้เกิด ความหมายที่ต้องการสื่อสารกับผู้ดู ซึ่งต้องพิจารณาใช้องค์ประกอบหลาย อย่ างในการกาหนดภาพ เช่ น ความยาวของช็ อ ต แอ็ ค ชั่ น ของผู้ แสดง ระยะความสัมพันธ์ระหว่างคนดูกับผู้แสดง หรือสิ่งของ มุมมองการเคลื่อนไหว ของกล้องและผู้แสดง ตลอดจนบอกหน้าที่ของช็อตว่าทาหน้าที่อะไร เช่น แทน สายตาใคร เป็นต้น


การกาหนดขนาดภาพในแต่ละช็อตเหล่านี้ไม่ใช่เป็นเรื่องง่าย ซึ่งต้องสอดคล้อง กับความหมายที่ต้อง การสื่อ แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายของภาพระยะใกล้ และระยะไกลของผู้ ก ากั บ คนหนึ่ ง อาจมี ค วามแตก ต่ า งจากอี ก คนหนึ่ ง นอกจากนี้ การใช้ภาพต้องมีความสัมพันธ์เชื่อมต่อกันได้เป็นอย่างดี


ขนาดภาพ


โดยทั่วไปการกาหนดขนาดภาพนั้นไม่มีกฎแน่นอนที่ตายตัว โดยใช้รูปร่างของ

“คน” เป็นตัวกาหนดขนาดของภาพ ในหลักปฏิบัติแล้วมักใช้

3 ขนาด

คือ...


ขนาดภาพระยะไกล

ระยะปานกลาง

ระยะใกล้


ขนาดภาพระยะไกล

1. ภาพระยะไกลมาก (Extreme Long Shot / ELS) 2. ภาพระยะไกล (Long Shot /LS)

ขนาดภาพระยะปานกลาง

3. ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS) 4. ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS)

ขนาดภาพระยะใกล้

5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU) 6. ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU) 7. ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU)


ขนาดภาพระยะไกล

1. ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS) ได้แก่ ภาพที่ถ่ายภายนอกสถานที่โล่งแจ้ง มักเน้นพื้นที่หรือบริเวณที่ กว้างใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบ เทียบกับสัดส่วนของมนุษย์ที่มีขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ใช้สาหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลาและสถานที่


ขนาดภาพระยะไกล

2. ภาพระยะไกล (Long Shot /LS) ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดที่ไม่แน่นอนตายตัว บางครั้ง เรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เป็นภาพขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของ ฉากหลังและผู้แสดงมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก เป็นภาพกว้างเห็นผู้ แสดงเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึงส่วนเท้า


ขนาดภาพระยะปานกลาง

3. ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS) เป็นภาพที่เห็นรายละเอียดของผู้แสดงมากขึ้นตั้งแต่ ศีรษะจนถึงขาหรือหัวเข่า เป็นภาพที่เห็นตัวผู้แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉากหลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ใน ฉากนั้น


4. ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS) ภาพระยะปานกลาง เป็นการถ่ายตัว แสดงครึ่งตัวจาก เอวขึ้นไป ใช้สาหรับ ถ่ายทอดอากับกิริยาของตัว แสดง โดยที่ไม่มีผลของ การเร้าอารมณ์เข้ามาเกี่ยว ข้อง เป็นช็อตที่ใช้มากสุด อันหนึ่งภาพยนตร์ มักใช้ เป็นฉากสนทนาและเห็นแอ็ค ชั่นของผู้แสดง

ขนาดภาพระยะปานกลาง


ขนาดภาพระยะใกล้

5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU) เป็นภาพแคบ คลอบคลุมบริเวณตั้งแต่ ศีรษะถึงหน้าอก ของผู้แสดง ใช้สาหรับในฉากสนทนาที่เห็นอารมณ์ความรู้สึกที่ใบหน้า ผู้แสดงรู้สึก เด่นในเฟรม มีขนาดเท่ารูปปั้นครึ่งตัว


ขนาดภาพระยะใกล้ 6. ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU) เป็นภาพที่เห็นบริเวณ ศีรษะและบริเวณ ใบหน้า ของผู้แสดง มีรายละเอียดชัด เจนขึ้น เช่น ริ้วรอยบนใบหน้า น้าตา ส่วนใหญ่เน้นความรู้สึกของผู้แสดงที่ สายตา แววตา เป็นช็อตที่นิ่งเงียบมากกว่า ให้มีบทสนทนา โดยกล้องนาคนดูเข้าไป สารวจตัวละครอย่างใกล้ชิด


7. ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU) เป็นภาพที่เน้น ส่วนใดส่วนหนึ่ง ของร่างกาย เช่น ตา ปาก เท้า มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการเพิ่มการ เล่าเรื่องในหนังให้ได้อารมณ์มากขึน้ เช่น ในช็อตของหญิงสาวเดินทางกลับ บ้านคนเดียวในยามวิกาล เราอาจใช้ภาพ ด้านหลังที่หูของเธอเพื่อเป็นการบอกว่าเธอ ได้ยินเสียงฝีเท้าแผ่ว ๆ ที่กาลังติดตามเธอ

ขนาดภาพระยะใกล้


มุมกล้อง


ในภาพยนตร์โดยทั่วไปการตั้งกล้องมิได้วางไว้แค่เฉพาะด้านหน้าตรงของผู้แสดง เท่านั้น แต่จะทามุมกับผู้แสดงหรือวัตถุด้วย ยิ่งกล้องทามุมกับผู้แสดงมากเท่าไร ก็ยิ่งสะดุดความสนใจมากขึ้นเท่านั้น และการใช้มุมกล้องต้องให้สอดคล้องกับการ เล่าเรื่องด้วย เหตุผลของการเปลี่ยนมุมกล้องให้หลากหลายเพื่อใช้ติดตามผู้ แสดง เปิดเผย/ ปิดบังเนื้อเรื่อง หรือตัวละคร เปลี่ยนมุมมอง บอกสถานที่ เน้น อารมณ์หรืออื่น ๆ อีกมากมายที่ต้องการสื่อความหมาย มุมกล้องเกิดขึ้นจากการ ที่เราวางตาแหน่งคนดูให้ทามุมกับตัวละครหรือวัตถุ ทาให้มองเห็นตัวละครในระดับ องศาที่แตกต่างกัน จึงแบ่งมุมกล้องได้ 5 ระดับ คือ...


1. มุมสายตานก (Bird’s-eye view) 2. มุมสูง (High-angle shot) 3. มุมระดับสายตา (Eye-level shot) 4. มุมต่า (Low-angle shot) 5. มุมสายตาหนอน (Worm’s-eye view)



มุมกล้อง

1. มุมสายตานก (Bird’s-eye view) เป็นมุมถ่ายมาจากด้านบนเหนือศีรษะ ทามุมตั้งฉากเป็นแนวดิ่ง 90 องศา กับผู้แสดง เป็นมุมมองที่เราไม่คุ้นเคย ในชีวิตประจาวัน จึงเป็นมุมที่แปลก แทนสายตานกที่อยู่บนท้องฟ้า


มุมกล้อง 2. มุมสูง (High-angle shot) คือมุมสูงกล้องอยู่ด้านบนหรือวางไว้บนเครน (crane) ถ่ายกดมาที่ผู้แสดง ประมาณ 45 องศา เป็นมุมมองที่เห็นผู้แสดงหรือวัตถุอยู่ต่า กว่า ใช้แสดงแทนสายตามองไปเบื้องล่างที่พนื้ ถ้าใช้กับตัวละครจะให้ความรู้สกึ ต่าต้อย ไร้ ศักดิ์ศรี ไม่มีความสาคัญ หรือเพื่อเผยให้เห็น ลักษณะภูมิประเทศหรือความกว้างใหญ่ไพศาล ของภูมิทัศน์


มุมกล้อง

3. มุมระดับสายตา (Eye-level shot) เป็นมุมที่มีความหมายตรงตามชื่อที่เรียก คือคนดูถูกวางไว้ในระดับเดียวกับสายตา ของตัวละครหรือระดับเดียวกับกล้องที่วาง ไว้บนไหล่ของตากล้อง


มุมกล้อง

4. มุมต่า (Low-angle shot) คือมุมที่ต่ากว่าระดับสายตาของตัวละคร แล้วเงยกล้องขึ้นประมาณ 70 องศา ทาให้ เกิดผลคือ ความมั่นคง น่าเกรงขาม ทรงพลังอานาจ ความเป็นวีรบุรุษ


มุมกล้อง

5. มุมสายตาหนอน (Worm’s-eye view) คือมุมที่ตรงข้ามกับมุมสายตานก (Bird’s-eye view) กล้องเงยตั้งฉาก 90 องศากับตัวละคร หรือซับเจ็ค บอกตาแหน่งของคนดูอยู่ต่าสุด มองเห็นพื้นหลังเป็นเพดานหรือท้องฟ้า


จบ.... การนาเสนอ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.