Newsletter 4 total

Page 1

THAIL AND

TH UNIVER EAL SIT EH

กิจกรรม

ORK ET W YN

ON

จดหมายขาวฉบับที่ 4 ประจำเดือน พฤษภาคม 2557

ของเครือขายมหาวิทยาลัยสุขภาพหนึ่งเดียวแหงประเทศไทย • การพัฒนาศักยทางการสื่อสารภาพเพื่อการพัฒนา • การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง GHI: ประเทศไทย 2557 • One Health One Mahidol: หนวยการเรียนรูที่ 2 • การสรุปผลการพัฒนาโปรแกรมการฝกอบรมและการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา สำหรับการปองกันการติดเชื้อของโรค Streptococcus suis


การพัฒนา

ศักยภาพทางดานการสื่อสารเพื่อการพัฒนา

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดจดั การฝกอบรม 5 วันขึน้ เพื่อเพิม่ พูน ความรูในการควบคุมและปองกันโรคสัตวสูคนและการสื่อสารเพื่อการพัฒนา (C4D) และ การประยุกต ใชทักษะ C4D เพื่อการควบคุมและปองกันการติดตอของโรคสัตวสูคน ผูเ ขารวมการฝกอบรม ในครัง้ นีป้ ระกอบดวย อาจารยและเจาหนาทีจ่ ากมหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง หนวยงานสาธารณสุข และเทศบาลตำบล หนองควาย รวมจำนวน 16 ทาน

การฝกอบรมนี้ แบงออกเปน 2 สวน โดยสวนแรก จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 - 8 มกราคม 2557 โดยมุงเนนไปที่การเรียนรู และอภิปรายถึงความรูพื้นฐานในการติดตอ การควบคุมและปองกันโรคสัตวสูคน ชองทางการสื่อสารและการวิเคราะห รวมถึงแนวคิด C4D ไปพรอมๆกับการวิเคราะห พฤติกรรม สำหรับในสวนที่สองนั้น ที่จัดขึ้นในวันที่ 30-31 มกราคม 2557 ที่ผานมานั้น เพื่อเปดโอกาสใหผูเขารวมอบรมฯ ไดประยุกต ใชสิ่งที่เรียนรูจากสวนแรกใหเกิดผลไดจริง จากการแบงกลุม ของผูเ ขาอบรมฯ เปน 3 กลุม ยอย ทำใหผเู ขารวมอบรมฯ สามารถสำรวจ ชุมชนตำบลหนองควาย จังหวัดเชียงใหม ไดหลากหลายมิติ


การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง GHI: ประเทศไทย 2557

คณะสัตวแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมมือกับคณะสาธารณสุขศาสตรและวิทยาลัยสัตวแพทยศาสตร University of Minnesota’s (UMN) THOHUN SEAOHUN และ DAI-RESPOND ไดจัดประชุมฯ ขึ ้ น วันที่ 3-13 กุมภาพันธ 2557 โดยมี ว ั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก ของการจัดงานคือ (1) ผูเขารวม ประชุ ม ฯ เข า ใจความท า ทาย ที ่ ส ำคั ญ ยิ ่ ง อาทิ เ ช น ป ญ หา ที่มีความซับซอนและมีหลายปจจัย เกี ่ ย วข อ งและมี ค วามเชื่ อ มโยง กับสาธารณสุข สุขภาพสัตว เศรษฐศาสตร และสุขสิ่งแวดลอม ดานสุขภาพหนึ่งเดียวเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อขยายและเสริมสรางความเขมแข็งใหกับ SEAOHUN การประชุมฯ ดังกลาว มีผเู ขารวมรวมทัง้ สิน้ 52 ทาน ประกอบดวยผูเ ชีย่ วชาญ (อาจารยและรองศาสตราจารย) และนักศึกษาระดับปริญญาโท-เอก จากมหาวิทยาลัยตางๆ ที่เปนสมาชิก SEAOHUN นอกจากนี ้ ได ม ี ผ ู  เ ข า ร ว มประชุ ม ฯ จากมหาวิ ท ยาลั ย สมาชิ ก THOHUN ได แ ก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ดวย การประชุมฯ 5 วันแรก (3-7 กุมภาพันธ 2557) มุงเพื่อเสริมสรางภาวะผูนำ ทางดานสุขภาพหนึ่งเดียวและความสามารถเชิงเทคนิคตางฯ โดยมีหัวขอกิจกรรม ดังนี้ ปญหาอันรายกาจ รูปแบบการตระหนักในตนเอง/สังคม ทักษะการฟงอยางตั้งใจ การเขาใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย ความรวมมือแบบขามศาสตรของประเทศตางๆ และอื่นๆ


ในชวงเชาของวันที่ 7 กุมภาพันธ ครูฝก ทัง้ 6 ทานของ THOHUN ซึง่ ไดรบั ทุนสนับสนุน การเดินทางจาก THOHUN-NCO ไดใหการอบรมครึ่งวันใหแกผูเขาประชุมฯ เพื่อแนะนำ หลักสูตรระยะสั้นทางดานสุขภาพหนึ่งเดียว (SEAOHUN One Health Short Courses) นอกจากนี้ ผูเขารวมประชุมฯ ยังไดเรียนรูวิธีการสอนแบบใหม จากหนวยการเรียนรู ความรวมมือและพันธภาพและความเปนผูนำ ผานกิจกรรม Marshmallow challenge และ กิ จ กรรม diffusion of innovation จากการให ก ารอบรมดั ง กล า ว ครู ฝ  ก ไดรับการตอบรับที่ดีจากผูเขารวมประชุมฯ ที่มาจากประเทศลาว ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งบงบอกถึงความสำเร็จ ของครูฝกของ THOHUN ในการถายทอดวิธกี ารสอนแบบใหม ๆ จากหลักสูตรระยะสัน้ ฯ ใหกบั ผูเ ขารวมจากนานาชาติได

อี ก 4 วั น ถั ด มา (8-12 กุ ม ภาพั น ธ 2557) การประชุ ม ฯ ได ท ำการฝ ก ทั ก ษะ ความสามารถเชิงเทคนิคโดยเปน 2 แนวทางคือ สุขภาพสิ่งแวดลอม และ ระบาดวิทยา การเฝาระวังโรค โดยผูเขารวมประชุมฯ สามารถเลือกแนวทางของตนเองไดอยางอิสระ โดยการบรรยายและการฝกภาคสนามเปนวิธีการสอนของสองแนวทาง ในวันสุดทาย เปนการสรุปผลรวบยอด เพื่อการประมวลแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว และเนื้อหาเฉพาะตางๆ ที่ไดเรียนรูตลอดการประชุมฯ เขาดวยกัน จดหมายขาวฉบับนี้ ไดรบั การสนับสนุนจากประชาชนชาวอเมริกนั ผานการใหทนุ จากองคกรเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศ ของสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ดี เนือ้ หาที่ไดรบั การตีพมิ พนน้ั อยูภ ายใตความรับผิดชอบของเครือขายมหาวิทยาลัยสุขภาพ หนึง่ เดียวแหงประเทศไทย และไมไดมคี วามเกีย่ วของใดๆ กับความคิดเห็นหรือทาทีขององคกรเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศ ของสหรัฐฯ หรือรัฐบาลสหรัฐอเมริกา


One

Health หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 Mahidol

คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะสั ต วแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย มหิดล ไดงานประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 ของ “One Day, One Workshop, One Health” ในวันที่ 10 มีนาคม 2557 ที่ผานมา โดยมี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ การแลกเปลี ่ ย นความคิ ด เห็ น ความรู  แ ละประสบการณ ด า นสุ ข ภาพหนึ ่ ง เดี ย วของหน ว ยงานภายในมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล การประชุ ม ฯ ครั้งนี้มุงเนนไปที่การแนะนำเรื่องชุมชนศึกษา สถานที่ฝกภาคสนาม และการเตรียม ความพรอมสำหรับ One Health One Mahidol :หนวยการเรียนรูที่ 3” ที่จะเกิดขึ้น และการให ข  อ มู ล เกี ่ ย วกั บ วิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของชาวบ า น และวิ ธ ี ก ารมี ส  ว นร ว มกั บ ชาวบ า น ผูเขารวมประชุมฯ ครั้งนี้ มีจำนวน 70 ทานซึ่งผานการเขารวมประชุมฯ ครั้งแรก และเปน ตัวแทนจาก คณะและหนวยงานตางๆ ในมหาวิทยาลัยมหิดล


การ

สรุปผลการพัฒนาโปรแกรม

ฝึกอบรมและการผลิตสื่อ สำหรับการป้องกัน ติดเชื้อของโรค S. suis

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ได้ จ ั ด การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร เมื ่ อ วั น ที ่ 27-28 มี น าคม 2557 ซึ ่ ง เป็ น การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารครั ้ ง ที ่ 3 ภายใต้ โครงการ “การเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพแบบข้ า มศาสตร์ ข อง THOHUN ในการป้ อ งกั น การติดเชื้อของโรค S. suis โดยมีเป้าหมายหลัก เพื่อทำสรุปผลการจัดโปรแกรมการอบรม แบบ 2 วั น และสื ่ อ การศึ ก ษาที ่ ม ี ก ารพั ฒ นาขึ ้ น ในการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร ครั้งที่ 2 ที่ผ่านมา

เนื้อหาหลักของการประชุมฯ ประกอบดวย ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการติดเชื้อ ของโรค S. suis ในหมูและคน แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว และเครือขายความรวมมือ เพื่อการปองกันการติดเชื้อโรค S. suis และทักษะการสื่อสารตางๆ รวมทั้งสื่อการศึกษา 5 อยาง ไดแก วีดีโอ หนังสือคูมือ สติ๊กเกอร ภาพโปสเตอรและสื่อโฆษณาทางวิทยุ เพื่อรณรงคการปองกันการติดเชื้อโรค S. suis ใหแกบุคลากรในดานสุขภาพและ บุคคลทั่วไปในชุมชน

ที่อยู: ศูนยประสานงานเครือขายมหาวิทยาลัยสุขภาพหนึ่ง เดียวแหงประเทศไทย คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล 420/6 ถ. ราชวิถี กรุงเทพมหานคร 10400

อีเมล : ncothohun@gmail.com

เว็บไซต : www.thohun.org

เฟซบุก : www.facebook.com/NCOTHOHUN


Finalizing training program

and educational materials for S. suis prevention Held on March 27-28, 2014, the workshop was organized by the Faculty of Nursing, Chiang Mai University. It was the third workshop under a project on Trans-disciplinary capacity building of THOHUN for S. suis infection prevention. The main goal of this workshop was to finalize two-day training program as well as the educational materials developed in the second workshop.

Main contents of the workshop included basic knowledge of S. suis infection in pig and human, One Health concepts, collaborative network for prevention of S. suis infection, and communication skills. Regarding the educational materials, five media: video, manual, stickers, poster, and spot aimed to promote prevention of S. suis infection to both healthcare-related personnel and laymen in community, were created. Postal address: THOHUN-National Coordinating Office 9th floor, Tranakchit Harinasuta building 420/6 Ratchawithi Road Bangkok 10400

Email Address: ncothohun@gmail.com

Website: www.thohun.org

Facebook Page: www.facebook.com/NCOTHOHUN


One

Health Mahidol

: Module 2

The workshop was organized on March 10, 2014 by the Faculty of Veterinary Science, Mahidol University. It was the second meeting of “One Day, One Workshop, One Health�, aimed to share the idea about One Health knowledge and experience within Mahidol community. This meeting focused on introduction of community study and the field sites, and preparedness for the upcoming One Health One Mahidol: Module 3. The basic information regarding the villagers’ ways of life as well as how to get along with the villagers were also provided. Participants in this meeting included 70 representatives who had attended the first meeting from faculties, centers, institutes, and colleges in Mahidol University.


The morning session on February 7, six THOHUN trainers who were funded by THOHUN-NCO for travel, conducted a half-day training for the GHI’s participation. Participants of this section were introduced about SEAOHUN One Health Short Courses, and could experience innovative teaching methods under Collaboration & Partnerships and Leadership modules through the Marshmallow challenge and diffusion of innovation activities. The session received positive responses from participants from Lao PDR, Indonesia, Malaysia, Thailand, and USA reflecting success of the THOHUN trainers in delivery some of innovative teaching methods in the SEAOHUN Short Course modules to the international participants.

The next four days (February 8-12) of the course provided technical capacities in two tracks: environmental health and surveillance epidemiology. The participants could select freely for their track, while lectures and field trips were the main teaching methods of both tracks. The final day of the course was served for a wrap-up activity bringing together the One Health concepts and specific contents learned from the whole course. This publication is made possible by the generous support of the American people through the United States Agency for International Development (USAID). The contents are the responsibility of THOHUN and do not necessarily reflect the views of USAID or the United States Government.


Global Health Institute (GHI): Thailand 2014

GHI 2014 was organized on February 3-13, 2014 by the Faculties of Veterinary Medicine, Nursing, and Medicine of Chiang Mai University in collaboration with Schools of Public Health and College of Veterinary Medicine of University of Minnesota’s (UMN), THOHUN, SEAOHUN, and DAI-RESPOND. The main objectives of the course were: (1) participants would gain the better understanding of One Health “grand challenges”, i.e. complex and multi-factorial issues emerging at the convergence of public health, animal health, economic health, and environmental health; and (2) expanding and strengthening SEAOHUN. Participants comprised of 52 junior- to mid-levels of university professionals as well as post-graduate students from SEAOHUN member institutes. There were also participants from THOHUN university members: Chulalongkorn, Kasetsart, Khon Kaen, and Prince of Songkla, participating in the course. The first five days of the course (February 3-7) focused on developing One Health Leadership and technical capacities. The topics of activities during this period included wicked problems, self-awareness/social types, active listening skills, intercultural understanding, trans-disciplinary collaboration across countries, etc.


Enhancing

c

apacity on

ommunication for development

Faculty of Nursing, Chiang Mai University organized the five-day training course which was aimed to gain more knowledge on control and prevention of zoonotic diseases and communication for development (C4D) and application of the C4D skills for control and prevention of zoonotic diseases transmission. Participants of the course included 16 lecturers/staffs from Chiang Mai University and Mae Fah Luang University, public health sectors, and Nong Kwai municipality.

The course was divided into two phases. The first phase was held on January 6-8, 2014, and focused on learning and discussing the fundamentals: transmission, control and prevention of zoonotic diseases, communication channels and analysis, and the C4D concept as well as behavior analysis. The second phase which was organized on January 30-31, 2014, provided participants an opportunity to apply what they learned in the first phase in the real world. Formed into three groups, participants explored a community in Nong Kwai subdistrict, Chiang Mai province from different dimensions.


Newsletter Volume: Four Issue: May 2014 TH UNIVER EAL SIT EH

ORK ET W YN

THAIL AND ON

Activities of Thailand

One Health University Network • Enhancing capacity on communication for development • Global Health Institute (GHI): Thailand 2014 • One Health One Mahidol: Module 2 • Finalizing training program and educational materials for Streptococcus suis prevention


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.