- ช.ศรีชวนะ -
MIN/ NIBUS ชีวิต/มินิบัส/คนขับกับกระเป๋า
MIN/NIBUS มิน/นิ-บัส
ชื่อหนังสือ ครั้งที่ตีพิมพ์ จำ�นวนตีพิมพ์ ผู้เขียน ผู้ถ่ายภาพ จัดหน้า จัดพิมพ์ อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ประจำ�เอก หลักสูตร ปีการศึกษา
MIN/NIBUS (มิน/นิ-บัส) ชีวิต/มินิบัส/คนขับกับกระเป๋า ครั้งที่ ๑ (มีนาคม ๒๕๕๘) ๓ เล่ม ชวัลนาถ ศรีชวนะ ชวัลนาถ ศรีชวนะ ชวัลนาถ ศรีชวนะ บริษัท อี่ซี่ ปริ้นติ้ง เอ็กซ์เพรส จำ�กัด ปฏิมา กลิ่นส่ง ผศ.ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ สรนัยน์ นนท์ปิยสกุล วัยวัฒน์ สายทุ้ม ศิวนนท์ แนกซ์ ไชยช่อฟ้า อริน เจียจันทร์พงษ์ ผศ.มัทนา เจริญวงศ์ นิเทศศาสตร์บัณฑิต ๒๕๕๗
มิ นิ บั ส สี ส้ ม สดใสจนแสบตา วิ่ ง ผ่ า นไป ผ่ า นมาอย่ า งรวดเร็ ว จนทำ � ให้ ผู้ โ ดยสาร และคนสัญจรต่างหันมองด้วยความสนใจ ว่ารถเมล์คันนี้จะวิ่งไปถึงที่หมายปลายทาง ได้เร็ว ขนาดไหน ซึ่งท่านผู้อ่านที่ไม่เคยได้ สัมผัสรถดังกล่าว อาจจะรู้สึกถึงความตื่น เต้น แต่สำ�หรับคนที่เคยใช้บริการนั้น มัน เป็นเรื่องชวนให้เสียว (ไส้) ซาบซ่าจนหลั่ง สารอะดรีนาลินออกมามากมายในแบบที่ คาดไม่ถงึ เปรียบเทียบง่ายๆ กับการขึน้ รถไฟ เหาะตีลังกาในความเร็วกว่า 120 กิโลเมตร/ ชั่วโมง...คงจะพอนึกภาพออกใช่ไหมค่ะ รถเมล์สแี สบตานี้ กลายเป็นทีร่ จู้ กั กันอย่าง กว้ า งขวางของชาวไทยและชาวต่ า งชาติ (บางส่วน) และเป็นเอกลักษณ์ Thailand Only แบบชนะใสๆ นอกจากความน่าตืน่ เต้นของขนส่งมวลชน ประเภทนี้แล้ว ยังมีเสน่ห์ในตัวมันเอง ตั้งแต่
ตัวรถ รูปแบบการตกแต่ง Build-In ภายใน ตั ว รถที่ เ สมื อ นอาศั ย อยู่ ใ นบ้ า นเลยก็ ว่ า ได้ เสียงกดกริ่งลงป้ายที่สุดจะไม่ธรรมดา แนวเพลงที่เปิด หรือแม้แต่แฟชั่นกระเป๋า เหล็กทีก่ �ำ ลังอินเทรนด์ รวมไปถึงความหลาก หลายของผู้โดยสาร และการให้บริการของ บรรดาพี่น้อง อาชีพกระเป๋า กระปี๋ และคน ขับรถ จึงทำ�ให้เกิดเป็นหนังสือภาพ “MIN/ NI-BUS” ชีวิต/มินิบัส/คนขับกับกระเป๋า ขึ้น เพื่อนำ�เสนอภาพถ่ายของคนประกอบ อาชีพบนรถโดยมินบิ สั ในเมืองหลวงมหานคร อันแสนจะรถติดไปพร้อมๆ กัน ...ขอให้ขึ้นรถโดยสารอย่างปลอดภัย ไม่ ประมาท และอย่าลืมทำ�ประกันอุบัติเหตุ ด้วย... ช.ศรีชวนะ
๑
(ส่วนที่หนึ่ง)
ว่าด้วย เรื่องของ คนขับ มินิบัส
“ทำ�ไมขับรถเร็วจัง!” “ทำ�ไมขับรถอันตรายแบบนี้!” “ขับรถประมาทแบบนี้ สักวันจะต้องเกิด อุบัติเหตุแน่ๆ!” “เปลี่ยนเส้นทางเดินรถอีกแล้ววว” “เอะอะรถติดก็เทผู้โดยสาร” แต่คุณรู้บ้างไหม? ว่าผมต้องหาเงินค่าเช่ารถ ค่าแก๊ส ค่าน้ำ� มัน ค่ากินอยู่ประจำ�วัน ฯลฯ การขับรถถึง 7 รอบต่อวันนี่...งานโ_ตร หนักเลยจริงๆ พวกเราไม่อยากละเลยความปลอดภัยของ ผู้โดยสารหรอก แต่เราก็ต้องดิ้นรนทำ�มาหากินเหมือนกัน พวกเราทำ�ได้แค่บอกให้พวกเขาระวังและ ดูแลตัวเองด้วย ...คุณก็มีเหตุผลของคุณ ผมก็มีเหตุผล ของผมเหมือนกัน...
โทรศัพท์ขณะขับรถ เป็นเรื่อง อันตราย อาจจะเกิดอุบัติเหตุ ได้ แต่ ป ลายสายที่ โ ทรมานั้ น “สำ�คัญ” มากที่สุด เพราะเธอ คื อ คนที่ ผ มรั ก ผมต้ อ งรั บ สาย
แม้หน้าคอนโซลรถจะดูเก่า และ ผ่านการใช้งานมาอย่างโชกโชน แต่ ร ถคั น นี้ ก็ เ ป็ น รถที่ เ ก็ บ เงิ น ซื้อด้วยน้ำ�พักน้ำ�แรง จนกลาย เป็นเครื่องมือหาเลี้ยงครอบครัว
สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ สุ ด สำ � ห รั บ ก า ร ขั บ รถโดยสาร ไม่ ใ ช่ แ ค่ มี ร ถ ดีๆ แต่ต้องมี “สมาธิ” และ “สติ ” จดจ่ อ อยู่ กั บ การขั บ รถ ตลอดเวลา เพราะทุ ก เสี้ ย ว วิ น าที เราต้ อ งแบกรั บ ชี วิ ต ผู้ โดยสารมากกว่ า 400 คนต่ อ วัน ให้ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย
ใครๆ ก็ ว่ า อาชี พ แบบนี้ ถู ก สร้างมาเพื่อ “ผู้ชาย” แต่ใคร จะรู้ ว่ า “ผู้ ห ญิ ง ” อย่ า งเราก็ ทำ � หน้ า ที่ ไ ด้ ดี ไ ม่ แ พ้ ผู้ ช ายเลย
แม้ “กระจก” จะ ส ะ ท้ อ น รู ป ลั ก ษ ณ์ ภายนอกของผู้ ค น มากมาย แต่ อ าจไม่ ส า ม า ร ถ ส ะ ท้ อ น “ความคิ ด ” ที่ อ ยู่ ใ น สมองและหั ว ใจของ คนๆ นั้ น ได้ #คน ขั บ รถเมล์ ก็ เ ช่ น กั น
ช่ ว งนี้ ประเทศไทยเข้ า สู่ “ฤดู ห นาว” อย่ า งเป็ น ทางการ แต่ ใ นความเป็ น จริง ประเทศไทย เป็นเมือง ร้ อ น ยิ่ ง ที่ ทำ � งานประจำ � เราไม่ ไ ด้ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งปรั บ อากาศแล้ ว คงนึ ก สภาพ ร้ อ นจนขาดใจออกได้ ไ ม่ ยาก เครื่องดื่มเย็นๆ อย่าง น้ำ � ในกระติ ก จึ ง เป็ น วิ ธี คลายความร้ อ นได้ อ ย่ า งดี
ผูโ้ ดยสารทุกคน ต่าง “สะดุดใจ” ในความโดดเด่นของรถผม ไม่วา่ จะโลโก้รถ เครื่องเล่นเพลงครบ วงจร หมวก และอื่นๆ มากมาย ทุ ก สิ่ ง ที่ ผ มนำ � มาใส่ ภ ายในรถ สะท้อนความชอบ และวิถีการ ใช้ชวี ติ ในแบบของผมเข้ามาใช้ใน ชีวิตทำ�งาน อย่างน้อย สิ่งที่ท�ำ ก็ เป็นความสุขของผม
สิ่งของมากมายที่วางอยู่บนรถ มักมีเส้นบางๆ กัน้ ระหว่าง “งาน ศิ ล ปะ” และ “รกรุ ง รั ง ” แต่ สำ�หรับทุกสิ่งที่ผมใช้่ทั้งหมดนั้น มันคืองานศิลปะที่ผมภูมิใจทุก ครั้งเมื่อเห็นมัน
เวลารถติ ด คิ ด อะไรไม่ อ อก หรื อ มี เรื่ อ งกลุ้ ม ใจอะไรเกิ ด ขึน้ ก็ตาม สิง่ หนึง่ ทีท่ �ำ คือ มอง ออกไปนอกหน้าต่าง ซึ่งวิธีนี้ อาจจะไม่ได้ช่วยอะไรมากนัก แต่มนั ก็ท�ำ ให้สมองผ่อนคลาย จากปัญหาได้
๒ (ส่วนที่สอง)
ว่าด้วย เรือ่ งของ กระเป๋า /กระปี๋ มินิบัส
“... เจริญกรุง สีพ่ ระยา สน.บางรัก โรบินสัน BTS เอเชียทิคจ้าาา...” “เดินไปข้างหลังก่อนเลยนะจ๊ะ” “เก็บค่าโดยสารด้วยคะ” ผู้โดยสารจ่ายค่ารถ “...กึ๊บกึ๊บ กึ๊บกึ๊บกึ๊บ กึ๊บกึ๊บ กึ๊บกึ๊บ กึ๊บ...” “นี่คะตั๋ว” เมื่อผู้โดยสารี่ได้รับตั๋วโดยสารแล้ว “ฟิ้วววว...” ตั๋วราคา ๘ บาทพร้อมรอยฉีกปลิวหาย ไปกับสายลม ราวกับมันไม่มีราคาใดๆ ได้ แต่กลายเป็นเศษขยะที่รอเอาไปทิ้ง ผิดกับ ความทุ่มเทของกระปี๋ ที่ก่อนหน้านี้ ได้ใช้ เวลาม้ ว นตั๋ ว เข้ า กระเป๋ า เหล็ ก อย่ า งตั้ ง ใจ พร้อมที่จะฉีกให้ผู้โดยสารอย่างยินดี เพื่อที่ จะได้เงินอันมีคา่ ทีอ่ าจจะดูไม่มากในสายตา ใคร แต่เงินจำ�นวนดังกล่าว สามารถใช้เป็น ค่าใช้จา่ ยในแต่ละวัน เลีย้ งปากเลีย้ งท้องคน ข้างหลังให้กินอิ่มนอนหลับ บางที...เราอาจจะแสดงมารยาทที่ดูไม่ดี กับผู้โดยสาร พูดจาหยาบๆ คายๆ ไปบ้าง แต่เราก็แค่อยากหาเงินมาเลีย้ งดูคนทีเ่ รา รัก...ก็แค่นั้นเอง
คำ � ว่ า “แก่ ” ไม่ ไ ด้ เ ป็ น อุปสรรคการทำ�งาน แต่ “ความขี้ เ กี ย จ” เป็ น อุ ป สรรคสำ � หรั บ ทุ ก สิ่ ง #เจ็ดสิบสีย่ งั แจ๋ว
ในหนึ่งวัน เราต้องทำ�งาน ตัง้ แต่ตหี า้ ถึงสีท่ มุ่ ทำ�งาน ตลอดทั้งวันแทบไม่หยุด พัก เวลาเข้าห้องน้ำ� หรือ เวลากิ น ข้ า วก็ ยั ง ไม่ ค่ อ ย จะมี ดังนั้น ถ้ามีเวลาว่าง เมื่อไร เราก็ต้องกินข้าว เพราะกองทัพ ต้องเดิน ด้วย “ท้อง”
หลายๆ คน อาจจะเคยเห็นชุด เครือ่ งแบบของเราเป็นสีฟา้ หรือ สีกรมท่า แต่ดิฉัน ในฐานะกระ ปี๋รถเมล์ ขสมก. เก่า ที่ยังคงคุ้น เคยกับการใส่ชุดยูนิฟอร์มสีขาว แบบเดิม แม้แต่วิธีการเก็บเงิน หรือการพับธนบัตร ก็ยังคงเป็น แบบเดิม ราวกับว่า ความเป็น ขสมก. ได้ซึมซับเข้าสู่ตัวตนของ ดิฉันไปแล้ว
เวลาที่ เ ราหลงทาง จนหา ทางออกไม่ได้ สิ่งที่เราต้องทำ� เป็ น อย่ า งแรกคื อ “ถาม” ดั ง นั้น ผู้ตอบคำ�ถามที่ดี จึงมีความ สำ�คัญอย่างมาก เพราะพวกเขา เหล่านี้ สามารถช่วยเหลือและ ตอบคำ � ถามที่ คุ ณ ต้ อ งการคำ � ตอบได้อย่างดี
ถึ ง ผมจะหน้ า ตาดี ขนาดไหน หล่อจน เป็นนายแบบได้ แต่ ตั ว ผมก็ ไ ม่ เ คยทิ้ ง งานที่ ท างบ้ า นผม ทำ�เลย แม้ว่าจะเป็น งานที่ ร ายได้ ไ ม่ ดี เท่าไร แต่ผมก็มีวัน นี้ได้ เพราะ “รถมินิ บั ส ” #กระเป๋ า มิ นิ บัสคิ้วบอย
“กระเป๋าเหล็ก” เป็นอุปกรณ์คใู่ จ ที่ขาดไม่ได้ของกระเป๋ า/กระปี๋ ซึ่งกระเป๋าแต่ละคนต่างให้ความ สำ�คัญกับรายละเอียดในการผลิต กระเป๋าเหล็ก ตั้งแต่คุณภาพของ เหล็ก ขนากกระเป๋า หรือแม้แต่ การตกแต่งกระเป๋าให้ดูดี น่าใช้ นอกจากนี้ กระเป๋ายังสะท้อนถึง ผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน
เห็นสวยๆ แบบนี้ แต่พอเวลา ปฏิบตั หิ น้าที่ เราทำ�เต็มที่ ไม่หว่ ง สวยเลยคะ บางทีก็มีผู้โดยสาร มาคุ ย ๆ บ้ า ง แต่ ก็ ไ ม่ ลื ม หน้ า ที่ๆ ต้องทำ�
“...ยืนกันดีๆ หน่อยค่ะ แบ่งกัน ยืนๆ ไปค่ะ 3 แถว นะคะ ไม่ใช่ ยืนกันแค่ 2 แถว อย่าเห็นแก่ ตัว ส่วนผู้ชายที่นั่งอยู่แถวหลัง ก็ควรจะลุกให้เด็กกับผู้หญิงนั่ง นะคะ...” คุณป้า ผูส้ วมมาดผูจ้ ดั ระเบียบบนรถเมล์ กำ�ลังจัดการ คนที่มีจำ�นวนมาก เนื่องจากรถ ขาดระยะ คุ ณ ป้ า จึ ง ต้ อ งรั บ ผู้ โดยสารจำ�นวนมากขึ้นมาบนรถ #มนุษย์ป้าก็มีความรับผิดชอบ
ว่ า จะซื้ อ ขนม นม เนย ขึ้นไปกินบนรถ ซะเลย เพราะบางที เราก็ ไ ม่ มี เวลาว่ า ง พอที่จะนั่งกินข้าว
ตอนนี้...พวกเรารีบมาก เราเลยรออย่างใจจดใจ จ่อว่า เมื่อไรนายท่าจะ เซ็นรอบให้เราเสร็จซะที พวกเราจะไปทำ�งานต่อ
๓
(ส่วนที่สาม)
ว่าด้วย เรื่องของ มินิบัส บนถนน
“...ปี๊น ปี๊น ปี๊น ปี๊น ปี๊น...” เสียงบีบแตรดังสนั่นลั่นถนนแห่งหนึ่งของ รถเมล์มินิบัส พร้อมกับตะโกนขอทางให้รถ อื่นหลีกไป จากนั้นจึงขับรถไปจอด ณ ป้าย หยุดจอด พร้อมกับเสียงตะโกนของกระเป๋า รถเมล์ เพือ่ ต้อนรับผูโ้ ดยสารสูร่ ถส้มแสบสัน และขับมุ่งไปยังจุดหมายปลายทาง ด้ ว ยลี ล าการขั บ รถด้ ว ยความเร็ ว สู ง กั บ จั ง หวะในการเบรคจึ๊ ก ๆ ชนิ ด ที่ ทำ � ให้ ผู้ โดยสารต้องควักยาดมมาสูดดมเพื่อเรียก ขวัญที่อาจจะหล่นหายไประหว่างทาง แต่ ในขณะเดียวกันก็ถึงที่หมายปลายทางได้ อย่างรวดเร็วด้วย แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น ผู้ โ ดยสารที่ นั่ ง และ ยืนโดยสารอยู่ในรถสีส้มต่างลุ้นและหวาด เสี ย วจากลี ล าการขั บ รถของคนขั บ ว่ า จะ เบรคจนคนยืนเกือบเซล้มหรือเปล่า หรือ แม้แต่กลัวว่าจะขับรถเร็วจนไปปาดหน้ารถ คันอื่นหรือเปล่า แต่สุดท้าย...ก็ไปถึงที่หมายอย่างรวดเร็ว และปลอดภัย แต่ก็แอบหวาดเสียวนิดหน่อย “...อยูน่ งิ่ ๆ เดีย๋ วพีพ่ าน้องไปให้ถงึ เอง...”
ชั่วโมงเร่งด่วน...อะไรก็เร่งด่วน ทุกคนต่างรีบ บนถนนคอนกรีต ก็เหมือนกัน ปาดซ้าย ปาดขวา ขึ้นแซง ทำ�ทุกอย่างเพื่อให้ถึงที่ หมายปลายทางให้เร็วที่สุด ทำ� รอบให้ได้เยอะที่สุด
อนุเสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศูนย์รวม รู ป แบบการคมนาคมทุ ก ชนิ ด ไม่นา่ แปลกสักเท่าไรทีร่ ถจะหนา แน่นตลอดเวลา แต่เราก็พยายาม จะส่งผู้โดยสารให้รวดเร็วที่สุด เท่าที่จะทำ�ได้ จึงไม่แน่แปลก ที่ จะเห็นพวกเราชอบขับรถแซงกัน
“รถรอบสุดท้ายแล้วจ๊ะ...รถรอบ สุดท้ายแล้ว” เสียงของกระเป๋า สาย 203 ที่ตะโกนออกมา ใน ขณะที่ จ อดรอผู้ โ ดยสารรอบ สุ ด ท้ า ยมานานกว่ า ครึ่ ง ชั่ ว โมง เพื่อให้ทุกคนได้กลับบ้านอย่าง ปลอดภัย
รถเมล์ มิ นิ บั ส โฉมใหม่ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ซึ่ ง มี ส ถาปั ต ยกรรมที่ เ ก่ า แก่ แ ละ สวยงาม ซึ่งเข้ากันได้เป็นอย่างดี
เ ท ศ ก า ล สิ้ น ปี อ ย่ า ง “ วั น คริสต์มาส” และ “วันปีใหม่” ต่างเป็นเทศกาลที่ทุกคนเตรียม ตั ว ที่ จ ะเฉลิ ม ฉลองด้ ว ยการ ตกแต่ ง ประดั บ ประดาสถานที่ ให้สวยงาม อู่รถเมล์ก็จัดฉลอง เช่นเดียวกัน เพราะพวกเขาใช้ เวลากับการทำ�งานทุกวัน ไม่มี วันหยุด แต่พวกเขาก็มีความสุข ที่ได้ฉลองเทศกาลในวันทำ�งาน อันแสนเหนื่อย
ทุ ก ๆ วั น สิ่ ง ที่ ผ มต้ อ งทำ � คื อ ตั้ ง หน้ า ตั้ ง ตาซ่ อ มรถมิ นิ บั ส ให้ กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติ ผม ทุ่ ม เทกั บ การทำ � งานมาก ผม ซ่อมรถทุกคน เหมือนกับหมอ ที่กำ�ลังผ่าตัดคนไข้ บางเคสก็ใช้ เวลาแก้ไขไม่นาน บางเคสก็ยาก หน่อย มีญาติผู้ป่วยมาเฝ้าด้วย
แม่คา้ ลูกค้า เดินสวนกันขวักไขว่ แถวย่ า นพาหุ รั ต ซื้ อ ผ้ า มาตั ด เสื้ อ ทำ � กระเป๋ า และทำ � อย่ า งอื่ น ๆ เท่ า ที่ จ ะคิ ด ออก แถว นี้ เป็ น ที่ รู้ กั น ว่ า รถติ ด แทบจะ ตลอดเวลา แต่ ผู้ โ ดยสารก็ มี เยอะเหมือนกัน บางคนนี่ ถึง กับเอาม้วนผ้าขึ้นรถ บางคนก็ ต่ อ ว่ า บางคนก็ คิ ด ค่ า โดยสาร เพิ่ ม บางคั น ก็ ห ยวนๆ กั น ไป
ถนนเจริญกรุง ถนนสายแรกๆ ในกรุงเทพฯ ที่แม้จะผ่านกาล เวลามานาน หรื อ ผ่ า นความ เจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี มามากแค่ ไ หน แต่ ค วามเป็ น เจริญกรุงก็ยงั คงเป็นเหมือนก่อน มีรถเมล์ประจำ�ทางสาย 1 มีผู้ โดยสารเป็นคนแก่แถวเจริญกรุง ใช้บริการซะเป็นส่วนใหญ่
ทุ ก ๆ วั น สิ่ ง ที่ ผ มต้ อ งทำ � คื อ ตั้ ง หน้ า ตั้ ง ตาซ่ อ มรถมิ นิ บั ส ให้ กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติ ผม ทุ่ ม เทกั บ การทำ � งานมาก ผม ซ่อมรถทุกคน เหมือนกับหมอ ที่กำ�ลังผ่าตัดคนไข้ บางเคสก็ใช้ เวลาแก้ไขไม่นาน บางเคสก็ยาก หน่อย มีญาติผู้ป่วยมาเฝ้าด้วย
เครื่องจักร ที่ผ่านการใช้งานมา อย่างโชกโชน บัดนี้ ก็ ถึ ง เวลา ตรวจเช็ ค สุ ข ภาพกั น ซะหน่ อ ย บางคันสุขภาพดี ส่วนบางคัน ก็มี ปัญหา ชีวิตก็แบบนี้แหละ มีเกิด แก่ เจ็บตาย #ชีวิตคนก็เช่นกัน
ผมภูมิใจ...รถของผม นอกจาก จะถู ก นำ � มาใช้ ใ นฐานะรถที่ ต้องขับทำ�มาหากินแล้ว ผมยัง สามารถแต่งรถได้ตามความชอบ ของผมอีกด้วย
รถเมล์ . ..ก็ มี อ ายุ ก ารใช้ ง านที่ จำ � กั ด เหมื อ นกั บ รถประเภท อื่ น ๆ แล้ ว ยิ่ ง ถ้ า ใช้ ง านหนั ก ๆ แล้ ว บวกกั บ ขาดการดู แ ล ล่ ะ ก็ . ..ต้ อ งเอามาเข้ า อู่ เหมื อ นกับคนที่เข้าโรงพยาบาล เพื่อ ดู แ ลรั ก ษาให้ ดี ขึ้ น ตามอาการ
๔ (ส่วนที่สี่)
ว่าด้วย เรื่องของ ภายใน มินิบัส
“...กระติกน�้ำ เย็นพร้อมแก้วน�้ำ ลายการ์ตนู หมอนอิง ผ้าห่ม ผ้าเช็ดรถ ผ้าขี้ริ้ว จานข้าว ช้อนส้อม เครือ่ งดืม่ ชูก�ำ ลังยีห่ อ้ ดัง บุหรีซ่ อง แข็งพร้อมไฟแช็ค ขวดนม กระป๋องนมผง ของเล่นเด็ก เรื่องรางของขลังมากมายทั้ง กุมาร พระเครื่อง พระพุทธรูป หิ้งพระ พวง มาลัยปลอม และอีกมากมาย...” ของใช้กม็ แี ล้ว สิง่ มีชวี ติ แบบเด็กเล็ก เด็กโต หรือสัตว์เลี้ยงก็เอามาขึ้นรถด้วย แม้แต่มนิ บิ สั บางคันก็มกี ารสะสมของทีเ่ รา อาจจะไม่เคยเห็นอย่างตุก๊ ตา ตรารถยนต์กม็ ี สิ่ ง ของเหล่ า นี้ อยู่ ภ ายในเนื้ อ ที่ จำ � กั ด บริเวณที่นั่งหน้าคนขับ ซึ่งเป็นเสมือนบ้าน หลังน้อยเคลื่อนที่ได้ ...ใช้ชีวิตบนรถนี่นานกว่าอยู่บ้านอีก...
อาชีพบนรถมินิบัส มีรายได้ไม่ แน่นอน บางทีก็เยอะ จนมีเงิน เก็ บ แต่ บ างวั น ก็ น้ อ ยจนแทบ จะขาดทุ น แต่ ต อนนี้ เงิ น หา ยาก เศรษฐกิจก็ไม่ดี หาเงินส่ง รถไม่ทัน ผมก็เลยประกาศขาย รถ ที่ดอกเบี้ยเยอะพอๆ กับเงิน ต้น แล้วจะไปหาเช่ารถขับเอา ไม่ เป็นภาระตอนสิ้นเดือนด้วย
บางที วัยรุน่ ก็คกึ คะนอง ชอบสลักความทรง จำ�ของตนลงบนรถ ไม่ว่าจะตัวรถหรือเบาะ รถ บางครั้งก็บอกรัก บางครั้งก็ประกาศตัว เป็นศัตรูกับฝ่ายตรงข้าม แต่เขาดันลืมไป ว่า...รถนี้ เป็นรถส่วนตัว ไม่ใช่รถสาธาณะ ขสมก. เป็นรถมีเจ้าของ เขาฝากบอกมา จะเขียนอะไร เห็นใจเจ้าของบ้าง #ฝากไว้ บนเบาะเธอ
ทุกวันนี้...ก็มีลูกสาวแล้วคนนึง ทั้งที่อายุยังน้อย ตอนไม่มีน้อง ก็ไม่ได้รสู้ กึ ว่า การใช้ชวี ติ แบบวัย รุ่น จะต้องรับผิดชอบอะไรมาก แต่ พ อมี น้ อ งเกิ ด มา ความรั บ ผิดชอบในชีวิตกลับเพิ่มมากขึ้น หนูต้องเป็นกระเป๋า แฟนก็ยัง ต้องมาขับรถอีก #ไม่ทอ้ งไม่รสู้ กึ
ถึงจะบอกว่าการมีลูกเป็น ภาระที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่ง มันก็น่าเหนื่อยแหละ แต่ พอเห็นเขายิ้มและหัวเราะ นั่นแหละ...ความสุขที่สุด แล้ ว #ไม่ ท้ อ งไม่ รู้ สึ ก
“เธอเป็นตุ๊กตาหน้ารถ” ไม่ใช่ เนือ้ เพลง แต่หมายถึงตุก๊ ตาทีอ่ ยู่ หน้ารถ และหลังรถเป็นจำ�นวน มากมากกว่า 200 ตัว ยิ่งมอง ดู...ก็ยิ่งเพลิน
มองจากด้านหลังรถ...ก็ยังมอง เห็นตุ๊กตาตัวใหญ่ 4 ตัว ที่สะดุด ตามาแต่ไกล
ตุ๊ ก ตาที่ ผ มชอบมากที่ สุ ด ก็ คื อ “โดเรมอน” มีเยอะมากๆ เยอะ ที่สุดแล้ว บางที ผู้โดยสารที่ขึ้น รถประจำ� เขาก็รู้ว่าผมชอบ ก็ เลยเอาตุ๊กตามาให้ ผมก็รับและ สะสสมมันจนมีจ�ำ นวนเยอะมาก อย่างที่เห็น
หิ้งพระ ยันต์ พระพุทธรูป และ เครื่องรางอันศักดิ์สิทธิ์มากมาย ที่ ตั้ ง อยู่ ภ ายในรถ แม้ จ ะไม่ ไ ด้ ช่วยให้ร่ำ�รวยหรือมีเงินทอง แต่ ก็เป็นที่ยึดเหนี่ยวและเป็นที่พึ่ง ทางใจในทุกๆ วัน ที่เรามีชีวิต
ในเมืองแห่งอากาศร้อนระอุ ที่ เกิดจากความร้อนของรถ แล้ว ถ้ายิ่งเวลารถติดนี่ก็แทบไม่ต้อง พูดถึง “พัดลม” จึงเป็นไอเทม สำ�คัญ ที่จะทำ�ให้อากาศเย็นขึ้น มาบ้าง (นิดนึง)
ปกติแล้ว...ยานพาหนะมักจะมี แม่ย่านางคอยปกป้องคุ้มครอง ผู้ ค นบนรถให้ ป ลอดภั ย จาก อันตราย รถเมล์ก็เช่นเดียวกัน ยิ่งโดยเฉพาะมอเตอร์ตรงที่นั่ง คนขับแล้ว ยิ่งต้องติดป้ายโตๆ “ห้ามนั่ง” เอาไว้ด้วย
รถคั น นี้ . ..มี ข องมากมาย ทั้ ง เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องเล่นเพลง เครือ่ งเสียง รวมถึงของใช้จ�ำ เป็น ในชีวิตประจำ�วัน รถเมล์สำ�หรับ ผมก็เหมือนบ้าน ถ้าวันนึงผม ไม่ มี ร ถ...ผมก็ ค งเหมื อ นคนจร จัดที่ไร้บ้าน ไร้ที่อยู่อาศัยไปด้วย
ช่างเป็น พระคุณยิ่ง “...ขอบคุณโชคชะตา และความบังเอิญ ที่ท�ำ ให้ได้ภาพถ่ายเด็ดๆ มา...” “...ขอบคุ ณ รถเมล์ มิ นิ บั ส ทุ ก สาย ที่ ถ่ า ยทอดชิ วิ ต อั น น่ า ตื่ น เต้ น เร้ า ใจให้ ช าว เมืองได้หวาดเสียว และเดินทางไปถึงจุด หมายปลายทาง...” “....ขอบคุณคนขับรถเมล์ กระเป๋า/กระปี๋ ทุกๆ คน และอูร่ ถทุกๆ อู่ ทีม่ าเป็นแบบให้ได้ ถ่ายภาพสวยๆ ทัง้ แบบตัง้ ใจและไม่ตงั้ ใจ...” “...ขอบคุณอาจารย์ ป ฏิ ม า กลิ่ น ส่ ง ที่ ปรึ ก ษาคนสำ � คั ญ ขอโทษนะคะ ที่ ช อบ สะกดนามสกุลอาจารย์ผิดบ่อยๆ รวมไป ถึงกรรมการจุลอีก 4 ท่าน ที่คอยแนะนำ� เทคนิคการถ่ายภาพ และมุมมองดีๆ ในการ ผลิตผลงาน...” “...ขอบคุณคนสำ�คัญในบ้าน ทั้งพ่อ แม่ พี่ตู้ พี่จุ๋ย ที่คอยสนับสนุนเงินทุนและคอย ให้กำ�ลังใจในวันที่ท้อแท้...” “...และสุดท้าย ขอบคุณเพื่อนๆ ที่คอย เป็นกำ�ลังใจให้เสมอมา...”
ประวัติ ผู้จัดทำ� “...สวัสดีค่ะ นางสาวชวัลนาถ ศรีชวนะ หรืชอาจะเรี นสั้นๆ ว่า “ฟลุก” ตอนนี้ ภาพถ่ายโดย : อธิ สุขยจิกชื ตสำ่อ�เล่ราญ อายุกป็ าเข้าไป ๒๑ ปี จวนจะ ๒๒ ปีแล้ว...” “...ตอนนี้ ศึ ก ษาอยู่ ชั้ น ปี ที่ ๔ คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สาขา นิเทศศาสตร์ เอกวารสารและหนังสือพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร...” “...ก็เรียนจนใกล้จะจบปริญ ญาตรี แล้ ว เลยอยากจะผลิตผลงานที่ตนเองอยากทำ� สักชิ้นในวิชาจุลนิพนธ์ ซึ่งกินเวลานานกว่า เกือบ ๑ ปี ดังนั้น จึงอยากทำ�อะไรที่ตนเอง ชอบแล้วมีความสุขไปในเวลาเดียวกัน...” “...ด้วยความที่ชอบถ่ายรูป และชอบงาน จัดหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ ประกอบกับตัวเองเป็น คนที่ใช้บริการรถเมล์มินิบัส อยู่บ่อยๆ จึง ได้เกิดเป็นผลงานการผลิตหนังสือภาพเล่ม นี้ขึ้น...”
MIN/NIBUS มิน/นิ-บัส
หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในหลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
LIFE IS JOURNEY ชีวิตคือการเดินทาง