แผนบริหารความต่อเนื่อง สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี
แผนบริหารความต่อเนื่องสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี 1. บทนา สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรีได้จัดทาแผนการบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan (BCP) เพื่อให้หน่วยงานของรัฐมีการจัดทาแผนรองรับการดาเนินกิจการให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่องในงาน บริการหลักที่มีความสาคัญได้อย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ แม้ประสบสถานการณ์วิกฤต อันจะส่งผลต่อการสร้างความ เชื่อมั่นในระบบการให้บริการของรัฐ และสามารถตอบสนองต่อการปฏิบัติง านในสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ต่างๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงานต้องหยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการได้อย่าง การท าแผนบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง เป็ น กระบวนการบริ ห ารจั ด การแบบองค์ ร วมที่ เ ป็ น ระบบ จะสามารถคาดการณ์ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น จึงเป็นเรื่องที่ดีและถือเป็นการทบทวนและแก้ไ ข ปรับปรุงแผนเผชิญเหตุ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานให้สามารถรับมือกับสภาวะ วิกฤตที่เกิดขึ้นได้ จะช่วยให้สามารถลดระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อหน่วยงานได้ทุกเมื่อ 2. วัตถุประสงค์ (Objectives) เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตกับสภาวะวิกฤตหรือ เหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพือ่ ลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินงานหรือการให้บริการ เช่น ผลกระทบด้าน เศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้ประชาขน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานภาครัฐ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของหน่วยงาน แม้หน่วยงานต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงและส่งผล กระทบจนทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงัก
3. สมมุตฐิ านของแผนความต่อเนื่อง (BCP Assumptions) เอกสารฉบับนีจ้ ัดทาขึ้นภายใต้สมมุติฐาน ดังต่อไปนี้ เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสาคัญต่างๆ แต่มิได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงาน สารองที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ หน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศรับผิดชอบในการสารองระบบสารสนเทศต่างๆ โดยระบบ สารสนเทศสารองมิได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินเหมือนกับระบบสารสนเทศหลัก “บุคลากร” ที่ถูกระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง เจ้าหน้าที่และพนักงานทั้งหมดของสานักงาน จังหวัด 4. ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง (Scope of BCP) แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รับรองสถานการณ์ ในกรณีเกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ ฉุกเฉินในพื้นที่สานักงานของหน่วยงาน หรือภายในหน่วยงานในจังหวัดสิงห์บุรี ด้วยเหตุการณ์ต่างๆดังต่อไปนี้ เหตุการณ์อุทกภัย เหตุการณ์อัคคีภยั เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด ฯลฯ
-25. การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สาคัญ หน่วยงานวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงและภัยคุกคามจากเหตุการณ์ต่างๆ สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการ ดาเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สาคัญจึงเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องระบุไว้ในแผนความ ต่อเนื่อง ดังนั้นการเตรียมการสามารถแบ่งประเภทของผลกระทบต่อทรัพยากรที่สาคัญได้ 5 ด้าน ดังนี้ (1) ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้สถานที่ ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้า ไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะยาว (2) ผลกระทบด้านวั สดุอุปกรณ์ที่สาคัญ/การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หรือไม่สามารถจัดหา/จัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญได้ (3) ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรือข้อมูลที่สาคัญไม่สามารถนามาใช้ในการปฏิบัติงานได้ตามปกติ (4) ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้บุคลากรหลักไม่สามารถมา ปฏิบัตงิ านได้ตามปกติ 5. ผลกระทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริการที่สาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้คู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สามารถติดต่อหรือให้บริการหรือส่งมอบงานได้ 6. สรุปเหตุการณ์สภาวะวิกฤตและผลกระทบจากเหตุการณ์ ผลกระทบ เหตุการณ์สภาวะวิกฤต
ด้านอาคาร/ สถานที่ ปฏิบัตงิ าน หลัก
ด้านวัสดุ อุปกรณ์ที่ สาคัญ/การ จัดหาจัดส่ง วัสดุอุปกรณ์ที่ สาคัญ
ด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ และข้อมูล ที่สาคัญ
ด้านคูค่ ้า / ด้านบุคลากร ผู้ให้บริการ/ หลัก ผูม้ ีส่วนได้เสีย ที่สาคัญ
1. เหตุการณ์อุทกภัย 2. เหตุการณ์อัคคีภยั 3. เหตุการณ์ชุมนุม ประท้วง/จลาจล 4. เหตุการณ์โรค ระบาด แผนบริหารความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการดาเนินงาน ปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดาเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน เนื่องจากหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดยผู้บริหาร หน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละกลุ่มงานและฝ่ายงานสามารถรับผิดชอบและดาเนินการได้ด้วยตนเอง
-37. ทีมบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan Team) เพื่อให้แผนบริหารความต่อเนื่อง (BCP) ของสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรีสามารถนาไป ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จะต้องจัดตั้งทีมบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ขึ้น โดย BCP Team ประกอบด้วย หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง และทีมบริหารความต่อเนื่อง โดยทาหน้าที่ตามบทบาทหน้าที่ที่กาหนดไว้ ทั้งการดาเนินการ ดูแล ติดตาม และกู้คืนเหตุการณ์ ฉุกเฉินใน ฝ่ายฯ/กลุ่มฯ ของตนเอง ให้สามารถปฏิบัติงานที่สาคัญได้อย่างต่อเนื่องและกลับคืนสู่สภาวะปกติได้ โดยเร็ว ทั้งนี้ หากทีมบริหารความต่ อเนื่อง ซึ่งเป็นบุคลากรหลัก ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสารอง รับผิดชอบ และทาหน้าที่ในบทบาทของบุคลากรหลัก แทนได้ โดยปรากฏรายชื่อดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีม บริหารความต่อเนื่องสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี (BCP Team) บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์โทรศัพท์
นางประนอม คลังทอง วัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี
089-901-1108
นางปภัสสร ตรีศลิ า ผอ.กลุ่มส่งเสริมด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม นางไมตรีจิต เหม่ชัยภูมิ ผอ.กลุ่มยุทธศาสตร์และ เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม นางสุธิชา ไกยสิทธิ์ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป
081-870-9702
081-870-9704
081-874-3615
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ เบอร์โทรศัพท์
หัวหน้าทีงานบริหาร นางปภัสสร ตรีศลิ า ความต่อเนื่อง ผอ.กลุ่มส่งเสริมด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม หัวหน้าทีงานบริหาร นางลัดดาวัลย์ กันโต ความต่อเนื่อง หัวหน้างานวัฒนธรรม
081-870-9702
081-874-3596
หัวหน้าทีงานบริหาร นางเพชรรัตน์ เถกิงศรี 081-874-3592 ความต่อเนื่อง หัวหน้างานยุทธศาสตร์ และแผนงาน หัวหน้าทีงานบริหาร นางกัลป์ยกร ศรีสุข 082-236-4545 ความต่อเนื่อง นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
8. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) การกาหนดกลยุทธ์ความต่อเนื่องหรือแนวทางในการสร้างความต่อเนื่องของการปกิบัตงิ าน เป็น ขั้นตอน/แนวทางที่สาคัญก่อนที่จะมีการจัดทาแผนความต่อเนื่องในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากรให้มีความ พร้อมเมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ซึ่งพิจารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง อาคาร/ สถานที่ ปฏิบัติงานสารอง
กาหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสารองบริเวณศาลากลางจังหวัด สิงห์บุรีหลังใหม่ โดยมีการสารวจความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียมความพร้อม กับส่วนราชการ/หน่วยงาน จังหวัดสิงห์บุรี
-4ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ / การจัดหาจัดส่งวัสดุ อุปกรณ์ที่สาคัญ
กาหนดให้มีการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์สารอง ที่มีคุณลักษณะ เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงต่อผ่าน อินเตอร์เน็ต เข้าสูร่ ะบบเทคโนโลยีของหน่วยงานกลางและ กรมบัญชีกลางได้ กาหนดให้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Notebook) ของเจ้าหน้าที่ ของหน่วยงานได้เป็นการชั่วคราว หากมีความจาเป็นเร่งด่วนในช่วง ระหว่างการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ข้อมูลที่สาคัญ
ระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของ สานักงานจังหวัด มีลักษณะแบบรวมศูนย์ที่ส่วนกลาง (สานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย) และกรมบัญชีกลาง และเชื่อมโยงระบบ เครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เน็ตเพื่อการใช้งาน ทาให้สานักงานจังหวัดไม่มี ระบบคอมพิวเตอร์สารอง ดังนั้น หากเกิดภาวะฉุกเฉินต้องรอจนกว่า ระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานกลางจะกอบกู้ให้ สามารถใช้งานได้
บุคลากรหลัก
กาหนดให้มีบุคลากรหลักและบุคลากรสารอง ทางานทดแทนกันได้ ภายในกลุ่มงานฯเดียวกัน ในสภาวะวิกฤต กาหนดให้ใช้บุคลากรนอกกลุม่ งานฯในกรณีที่บุคลากรไม่เพียงพอ หรือขาดแคลน กาหนดแนวทางและกลุ่มบุคลากรที่สามารถขอให้ช่วยปฏิบัติงาน ชั่วคราวจากหน่วยงานราชการอื่นๆในสังกัด หรือส่วนกลาง
คู่ค้า/ผู้ให้บริการ ที่ สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสานักงานจังหวัด กาหนดให้ ทีโอ ที เป็นผู้ให้บริการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งหาก ทีโอที ไม่สามารถให้บริหารได้ กาหนดให้ผู้บริหารใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูล เชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ ( Government Information Network) ส่วนเจ้าหน้าที่จะใช้ระบบโครงข่ายสื่อสารข้อมูลในข่ายของสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย (moinetwork) กาหนดให้จัดหาอุปกรณ์เชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เน็ต แบบพกพา (Air Card) ของผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ เชื่อมโยงการ บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของหน่วยงานกลางผ่าน อินเตอร์เน็ต ในกรณีที่ผู้ให้บริการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ของจังหวัดไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
9. ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) พบว่ากระบวนการทางานของฝ่ายฯ/ กลุ่มฯ ต้องให้ความสาคัญกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบและกลับมาดาเนินงานหรือฟื้นคืนสภาพให้ได้ภายใน ระยะเวลาที่กาหนดปรากฏดังตารางที่ 3
-5ตารางที่ 3 ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) กระบวนงานหลัก
ระดับความ เร่งด่วน
งานสารบรรณและงานธุรการ ทั่วไป
สูง
งานด้านการเงิน การบัญชี งานวัสดุ ครุภัณฑ์ การบริหาร บุคคล งานติดต่อประสานงาน
สูง
การจัดทาแผนงาน งบประมาณ และเร่งรัดติดตามประเมินผล การปฏิบัติงาน
ปานกลาง
งานข้อมูล
ต่า
ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพ 4 1 2 1 เดือน 1 วัน ชั่วโมง สัปดาห์ สัปดาห์
สาหรับกระบวนงานอื่น ๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมีความ ยืดหยุ่นกันได้จะสามารถชะลอการดาเนินงานและการให้บริการได้ โดยให้หัวหน้าฝ่ายฯ/ ผอ.กลุ่มฯ นั้นๆประเมิน ความจาเป็นและเหมาะสม ทั้งนี้ หากมีความจาเป็น ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน/แนวทางการบริหารความต่อเนื่อง เช่นเดียวกับกระบวนงานหลัก 10. กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน ( Call Tree) กระบวนการ Call Tree คือกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกในทีมบริหารความต่อเนื่อง ที่เกี่ยวข้องตามผังรายชื่อทางโทรศัพท์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการบริหารจัดการขั้นตอนในการติดต่อบุคลากร ภายหลังจากมีการประกาศเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤตของหน่วยงาน จุดเริ่มต้นของกระบวนการ Call Tree จะเริ่มจากหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องของสานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี แจ้งเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน ให้หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ จังหวัดสิงห์บุรีทราบและหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของจังหวัดสิงห์บุรี แจ้งให้ผู้ประสานงานคณะบริหาร ความต่อเนื่องของจังหวัด จากนั้น ผู้ประสานงานฯก็จะแจ้งให้หัวหน้าทีมบริหารความต่อ เนื่องของสานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดรับทราบการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง จากนั้นหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องของสานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดจะแจ้งให้ทีมบริการความต่อเนื่องของแต่ละฝ่ายฯ /กลุ่มฯ แล้วทีมงานบริหารความต่อเนื่องฝ่ายฯ /กลุ่มฯ จึงติดต่อและแจ้งไปยังบุคลากรภายใต้การบังคับบัญชาของตนรับทราบเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้ แผนบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานที่ได้รับผลกระทบ ตามรายชื่อและช่องทางติดต่อสื่อสารที่ได้ระบุใน ตาราง ที่ 2.1 สาหรับหัวหน้าทีมและทีมบริหารความต่อเนื่องของสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด และภาคผนวก ก สาหรับ รายชื่อและรายละเอียดของบุคลากรทั้งหมดในสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี ในกรณีที่ไม่สามารถติดต่อทีมบริหารความต่อเนื่องได้ ให้ติดต่อไปยังบุคลากรสารอง โดยมีการพิจารณา ดังนี้ ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นในเวลาทาการ ให้ดาเนินการติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์ โทรศัพท์ของหน่วยงานเป็นช่องทางแรก
-6 ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นนอกเวลาทาการหรือสถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับผลกระทบให้ดาเนินการ ติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์โทรศัพท์มือถือเป็นช่องทางแรก ถ้าสามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ให้แจ้งข้อมูลแก่บุคลากรหลักของหน่วยงานทราบ ดังต่อไปนี้ 1. สรุปสถานการณ์ของเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง 2. เวลาและสถานที่สาหรับการนัดประชุมเร่งด่วนของหน่วยงาน สาหรับผู้บริหารของ หน่วยงานและทีมงานบริหารความต่อเนื่อง 3. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน เพื่อบริหารความต่อเนื่องต่อไป ได้แก่ สถานทีร่ วมพลในกรณีที่ มีการย้ายสถานที่ทาการ
รูปภาพที่ 1 – กระบวนการแจ้งเหตุ Call Tree ภายหลังจากได้รับการตอบรับจากบุคลากรหลักครบถ้ วนตามผังการติดต่อ (Call Tree) หัวหน้า หน่วยงาน มีหน้าที่โทรกลับไปแจ้งยังผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อรวบรวมสรุปความพร้อมของ หน่วยงานในการบริหารความต่อเนื่อง รวมทั้งความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ ทั้งหมดในหน่วยงาน ทีมบริหารความต่อเนื่องมีหน้าที่ในการปรับปรุงข้อมูลสาหรับการติดต่อให้เป็นปัจจุบันอยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้กระบวนการติดต่อบุคลากรภายในหน่วยงานสามารถดาเนินได้อย่างต่อเนื่องและสาเร็จลุล่วง ภายในระยะเวลา ที่คาดหวัง ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินและมีการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง
-7– 11. การวิเคราะห์เพื่อกาหนดความต้องการทรัพยากรที่สาคัญ 1) ด้านสถานที่ปฏิบัติงานสารอง (Working Space Requirement) ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 การระบุพนื้ ทีก่ ารปฏิบัตงิ านสารอง 4 ประเภททรัพยากร ที่มา ชั่วโมง พื้นที่สาหรับสถานที่ ปฏิบัติงานใหม่ (งานเกี่ยวกับสารบัญ) พื้นที่สาหรับสถานที่ ปฏิบัติงานใหม่ (การเงิน การบัญชี งานวัสดุ ครุภณ ั ฑ์ การบริหารบุคคล งานติดต่อประสาน งานแผนงาน งบประมาณ งานเร่งรัดติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน และ งานข้อมูล)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดสิงห์บุรี (หลังเก่า)
2 ตร.ม.
-
รวม
1 วัน 2 ตร.ม.
4 ตร.ม. (เฉพาะงาน การเงิน และบัญชี)
2 ตร.ม. 6 ตร.ม.
1 สัปดาห์ 2 ตร.ม.
2 1 เดือน สัปดาห์ 2 ตร.ม.
2 ตร.ม.
96 ตร.ม 96 ตร.ม
96 ตร.ม
98 ตร.ม. 98 ตร.ม. 98 ตร.ม.
2) ความต้องการด้านวัสดุอปุ กรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 การระบุจานวนวัสดุอปุ กรณ์ 4 ประเภททรัพยากร ที่มา 1 วัน ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ ร้านค้าผ่านกระบวนการ ๑ เครื่อง สารองที่มีคุณลักษณะ จัดซื้อพิเศษ เหมาะสมสาหรับงาน การเงินและบัญชี ๑ เครื่อง และแต่ละฝ่าย/ กลุ่ม ๆ ละ 1 เครื่อง GFMIS Token Key เจ้าหน้าที่การเงินที่เก็บ ๑ ตัว รักษา เครื่องพิมพ์รองรับการใช้ ร้านค้าผ่านกระบวนการ 1 เครื่อง งานกับเครื่อคอมพิวเตอร์ จัดซื้อพิเศษ โทรศัพท์พร้อมหมายเลข ร้านค้าผ่านกระบวนการ 1 เครื่อง จัดซื้อพิเศษ
1 2 สัปดาห์ 1 เดือน สัปดาห์ ๔ เครื่อง ๔ เครื่อง ๔ เครือ่ ง
๑ ตัว
๑ ตัว
๑ ตัว
๔ เครื่อง
๔ เครื่อง ๔ เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง 1 เครื่อง
-8– ประเภททรัพยากร
โทรสาร พร้อม หมายเลข เครื่องถ่ายเอกสาร โต๊ะ เก้าอี้ สาหรับ เจ้าหน้าที่ปฏิบัตงิ าน วัสดุสานักงาน
ที่มา
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ พิเศษ ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ พิเศษ ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ พิเศษ ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ พิเศษ
4 ชั่วโมง -
1 วัน
1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
1 เดือน
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
-
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 ชุด
3 ชุด
1๖ ชุด
1๖ ชุด
1๖ ชุด
เบิกใช้ตามความเหมาะสม
3) ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information Requirement) เนื่องจากระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อ มูลที่สาคัญของสานักงานจังหวัดอยู่ใน ความดูแลของหน่วยงานกลาง (สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย) เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ ดังนั้น สานักงาน จังหวัดจึงใช้ข้อมูลสารสนเทศโดยการเชื่อมโยงระบบของหน่วยงานกับหน่วยงานกลางผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ ต ทาให้หน่วยงานไม่มีระบบคอมพิวเตอร์สารองและหากระบบมีปัญหาต้องรอให้หน่วยงานกลางกู้คืนระบบการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศก่อนหน่วยงานจึงจะสามารถใช้งานของระบบได้ ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยีและข้อมูล 4 1 ประเภททรัพยากร ที่มา 1 วัน 2 สัปดาห์ 1 เดือน ชั่วโมง สัปดาห์ Email กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร GFMIS กรมบัญชีกลาง และกลุ่ม (ระบบเบิกจ่ายเงิน) งานข้อมูลสารสนเทศและ การสื่อสาร EGP (ระบบจัดซื้อจัด กรมบัญชีกลาง และกลุ่ม จ้าง) งานข้อมูลสารสนเทศและ การสื่อสาร หนังสือสัง่ การจาก หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานส่วนกลาง ข้อมูลประกอบการ หน่วยงานส่วนกลาง และ จัดทาแผนพัฒนา หน่วยงานต่างๆในจังหวัด จังหวัด และ งบประมาณ
-94) ความต้องการด้านบุคลากรสาหรับความต่อเนื่องเพื่อปฏิบัตงิ าน (Personnel Requirement) ปรากฏดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 การระบุจานวนบุคลากรหลักทีจ่ าเป็น ประเภททรัพยากร 4 ชั่วโมง 1 วัน 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน จานวนบุคลากร 1 ๔ 1๖ 1๖ 1๖ ปฏิบัตงิ าน ณ สถานที่ปฏิบัตงิ าน สารอง (สานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด สิงบุรี ศาลากลาง จังหวัดสิงห์บุรี) รวม 1 ๔ 1๖ 1๖ 1๖ 5) ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สาคัญ (Service Requirement) ตารางที่ 8 การระบุจานวนผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ ประเภททรัพยากร 4 ชั่วโมง 1 วัน 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน ผู้ให้บริการเชื่อมโยง 1 1 1 1 ระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต รวม 1 1 1 1 หมายเหตุ -ให้จัดหาอุปกรณ์เชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เน็ต แบบพกพา (Air Card) ของผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ เชื่อมโยงการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีส่ าคัญของหน่วยงานกลางผ่าน อินเตอร์เน็ต ในกรณีผู้ให้บริการหลักและสารองไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด 12. ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและการกอบกูก้ ระบวนการ วันที่ 1 ( ภายใน 24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของสานักงานจังหวัด สิงห์บุรีคานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของ ตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเอง และสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสิงห์บุรีกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม บทบาทความรับผิดชอบ ดาเนินการแล้วเสร็จ - แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤต ตามกระบวนการ Call หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง Tree ให้กับบุคลากรในกลุ่ม/ฝ่ายฯ ภายหลังได้รับ แจ้งจากหัวหน้า/ผู้ประสานงานคณะบริหารความ ต่อเนื่องของจังหวัด - จัดประชุมทีมบริหารความต่อเนื่อง เพื่อประเมิน หัวหน้า และทีมบริหารความ ความเสียหาย ผลกระทบต่อการดาเนินงาน การ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ ให้บริการ และทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการ บริหารความต่อเนื่อง - ทบทวนกระบวนงานที่มีความเร่งด่วน หรือส่งผล กระทบอย่างสูง (หากไม่ดาเนินการ) ดังนั้น จาเป็นต้องดาเนินงานหรือปฏิบัติด้วยมือ (Manual Processing)
- 10 – ขั้นตอนและกิจกรรม - ระบุและสรุปรายชื่อบุคลากรในกลุ่มงานฯ ที่ได้รับ บาดเจ็บหรือเสียชีวิต - รายงานหัวหน้า/ผู้ประสานงานคณะบริหารความ ต่อเนื่องของจังหวัดทราบ โดยครอบคลุมประเด็น ดังนี้ • จานวนและรายชื่อบุคลากรที่ได้รับบาดเจ็บ / เสียชีวิต • ความเสียหายและผลกระทบต่อการ ดาเนินงานและการให้บริการ • ทรัพยากรสาคัญที่ตอ้ งใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง • กระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและส่งผล กระทบอย่างสูงหากไม่ดาเนินการ และจาเป็นต้อง ดาเนินงานหรือปฏิบัติงานด้วยมือ - สื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่ทีมบริหารความ ต่อเนื่อง และบุคลากรในกลุม่ งานฯ ให้ทราบ ตาม เนื้อหาและข้อความที่ได้รับการพิจารณาและเห็นชอบ จากคณะบริหารความต่อเนื่องของจังหวัดสิงห์บุรี - ประเมินและระบุกระบวนการหลัก และงานเร่งด่วน ที่จาเป็นต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน 1 - 5 วัน ข้างหน้า - ประเมินศักยภาพและความสามารถของหน่วยงานฯ ในการดาเนินงานเร่งด่วนข้างต้น ภายใต้ข้อจากัดและ สภาวะวิกฤต พร้อมระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ใน การบริหารความต่อเนื่องตามแผนการจัดหาทรัพยากร - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของจังหวัด ทราบ พร้อมขออนุมัติการ ดาเนินงานหรือปฏิบตั ิงานด้วยมือ (Manual Processing) สาหรับกระบวนงานที่มีความเร่งด่วน และส่งผลกระทบอย่างสูงหากไม่ดาเนินการ - ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกีย่ วข้องใน การจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง ได้แก่ สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีส่ าคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย
บทบาทความรับผิดชอบ ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม งานฯ หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ งของกลุ่ม/ฝ่าย
ดาเนินการแล้วเสร็จ
หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ - กลุ่มส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมสานักงาน จังหวัดสิงห์บุรี - กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้า ระวังทางวัฒนธรรม สานักงาน จังหวัดสิงห์บุรี - ฝ่ายบริหารงานทั่วไป สานักงานจังหวัดสิงห์บุรี
- 11 ขั้นตอนและกิจกรรม บทบาทความรับผิดชอบ - พิจารณาดาเนินการหรือปฏิบัตงิ านด้วยมือ ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม (Manual) เฉพาะงานเร่งด่วน หากไม่ดาเนินการจะ งานฯ ส่งผลกระทบอย่างสูงและไม่สามารถรอได้ ทั้งนี้ ต้อง ได้รับการอนุมัติ
ดาเนินการแล้วเสร็จ
- ระบุหน่วยงานทีเ่ ป็นคู่ค้า/ผูใ้ ห้บริการสาหรับงาน เร่งด่วน เพื่อแจ้งสถานการณ์และแนวทางในการ บริหารงานให้มีความต่อเนื่องตามความเห็นของ คณะบริหารความต่อเนื่องของจังหวัด
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
- บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและ งานต่างๆ ที่ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ ต้องดาเนินการ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ
ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม งานฯ
- แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดาเนินการ หัวหน้า และทีมบริหารความ สาหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรหลักในกลุ่มงานฯ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ เพื่อรับทราบและดาเนินการ อาทิ แจ้งวัน เวลา และสถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง
- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่องของจังหวัดอย่างสม่าเสมอหรือตามที่ ได้กาหนดไว้
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
- 12 วันที่ 2-7 การตอบสนองในระยะสั้น ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของกลุ่มงานฯคานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและ บุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสิงห์บุรีกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม บทบาทความรับผิดชอบ ดาเนินการแล้วเสร็จ - ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากร หัวหน้าและทีมบริหารความ ที่ได้รับผลกระทบ ประเมินความจาเป็นและ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน - ตรวจสอบกับหน่วยงาน ถึงความพร้อมและ หัวหน้าและทีมบริหารความ ข้อจากัดในการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ใน ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ การบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่ - กลุ่มส่งเสริมศาสนา ศิลปะ สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง วัฒนธรรม สานักงานจังหวัดสิงห์บุรี วัสดุอุปกรณ์ทสี่ าคัญ - กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้า เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีส่ าคัญ ระวังทางวัฒนธรรม สานักงาน บุคลากรหลัก จังหวัดสิงห์บุรี คู่ค้า/ผู้ให้บริการทีส่ าคัญ/ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย - ฝ่ายบริหารงานทั่วไป สานักงานจังหวัดสิงห์บุรี - รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง จังหวัด ความพร้อม ข้อจากัด และข้อเสนอแนะ ใน การจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง - ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรัพยากรที่ หัวหน้าและทีมบริหารความ จาเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง - กลุ่มส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัสดุอุปกรณ์ทสี่ าคัญ วัฒนธรรมสานักงานจังหวัดสิงห์บุรี เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีส่ าคัญ - กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้า บุคลากรหลัก ระวังทางวัฒนธรรม สานักงาน คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้เสีย จังหวัดสิงห์บุรี - ฝ่ายบริหารงานทั่วไป สานักงานจังหวัดสิงห์บุรี - ดาเนินการกอบกู้และจัดหาข้อมูลและรายงาน - กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้าระวัง ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้ในการดาเนินงานและ ทางวัฒนธรรม สานักงานจังหวัด ให้บริการตามตารางที่ 6 สิงห์บุรี - ดาเนินงานและให้บริการ ภายใต้ทรัพยากรที่จัดหา ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม เพื่อบริหารความต่อเนื่อง: งานฯ สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง - กลุ่มส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัสดุอุปกรณ์ทสี่ าคัญ วัฒนธรรมสานักงานจังหวัดสิงห์บุรี เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีส่ าคัญ - กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้า บุคลากรหลัก ระวังทางวัฒนธรรม สานักงาน คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ จังหวัดสิงห์บุรี - ฝ่ายบริหารงานทั่วไป สานักงานจังหวัดสิงห์บุรี
- 13 ขั้นตอนและกิจกรรม บทบาทความรับผิดชอบ - แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารความ หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องแก่หน่วยงาน/ คู่ค้า /ผู้ใช้บริการ /ผู้ที่ได้รับ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ ผลกระทบ
ดาเนินการแล้วเสร็จ
ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม งานฯ
- แจ้งสรุปสถานการณ์และขัน้ ตอนการดาเนินการ หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง ต่อไป สาหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรในกลุ่มงานฯ
- บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและ งานต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของฝ่ายฯ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ
- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่องของจังหวัด ตามเวลาที่ได้กาหนดไว้
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
- 14 วันที่ 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์) ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของกลุ่มงานฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและ บุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสิงห์บุรีกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม - ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของ ทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบ และประเมินความ จาเป็นและระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน - ระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ เพื่อดาเนินงาน และให้บริการตามปกติ
บทบาทความรับผิดชอบ หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
ดาเนินการแล้วเสร็จ
ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม งานฯ
- รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ จังหวัด ถึงสถานภาพการกอบกู้คืนมาของ ทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบ และทรัพยากรที่ จาเป็นต้องใช้เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ - ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรัพยากรที่ จาเป็นต้องใช้เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ: สถานที่ปฏิบัตงิ านสารอง วัสดุอุปกรณ์ทสี่ าคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีส่ าคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย
หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง
หัวหน้าและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ - กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาจังหวัด - กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล - กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร - กลุ่มงานอานวยการ หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง
ทีมบริหารความต่อเนื่องของกลุ่ม งานฯ
หัวหน้าทีมและทีมบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มงานฯ
- แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อม ด้านทรัพยากรต่างๆ เพื่อดาเนินงานและให้บริการ ตามปกติ ให้กับบุคลากรในกลุ่มงานฯ - บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและ งานต่างๆ ที่ทีมบริหารความต่อเนื่องของฝ่ายฯ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหาร ความต่อเนื่องของจังหวัด ตามเวลาที่ได้กาหนดไว้
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
รายชื่อบุคลากรสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสิงห์บุรี ที่ 1
ชื่อ - สกุล นางประนอม คลังทอง
ตำแหน่ง
เบอร์โทรศัพท์
วัฒนธรรมจังหวัดสิ งห์
กลุ่มส่ งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 2
นางปภัสสร ตรี ศิลา
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการพิเศษ
081-870-9702
3
นางลัดดาวัลย์ กันโต
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3596
4
นายเชษฐา หิรัญแพทย์
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3620
5
นางประวิทย์ บุญใบ
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
089-084-2977
6
นางนพวรรณ ไล้เลิศ
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3621
7
นางชมัยพร วงศ์กุลพิลาศ
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3670
8
นางกาญจนาพร โพธิ์ ไกร
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
083-158-6059
กลุ่มยุทธศาสตร์ และเฝ้ าระวังทาง วัฒนธรรม 9
นางไมตรี จิต เหม่ชยั ภูมิ
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการพิเศษ
081-870-9704
10
น.ส.เพชรรัตน์ เถกิงศรี
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3592
11
น.ส.อริ สรา คาชารี
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
089-124-5957
12
นางประทุมพร แก้วรอด
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
085-081-3367
13
น.ส.แก้วตา สุ วรรณประทีป
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3624
ฝ่ ายบริหารทัว่ ไป 14
นางสุ ธิชา ไกยสิ ทธิ์
นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
081-874-3615
15
น.ส.แกมกาญจน์ กษมากรณ์
นักวิชาการเงินและบัญชีชานาญการ
081-851-9957
16
นางกัลยกร ศรี สุข
นักจัดการงานทัว่ ไปปฏิบตั ิการ
082-236-4545