รายการข่าวส่วนที่ 3

Page 1

35

4.2 การอภิปรายผล 4.2.1 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว การศึกษาลักษณะทั่วไปของการรายงานขาวนี้ จะพิจารณาลักษณะโดยรวมของการรายงานขาวโดยพิจารณาจาก การ เรียงลําดับขาว ความสมดุล ความยาว ภาษา ความคิดเห็นของผูรายงาน เรื่องภาษาและภาพตัวแทนทั่วไปที่ปรากฏในขาวโดย อธิบายผลแยกตามแตละชองสถานีโทรทัศน จากผลการศึกษาพบวา ตารางที่ 3 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ลักษณะทั่วไป รายการขาวทั่วไปเปนรูปแบบ “รายงานขาว” และมีการแสดงความคิดเห็นผานขอความสั้น (SMS) ในรายการขาวชอง 3 และ itv 1. การจัดลําดับขาว การจัดลําดับขาวของแตละชองจะแตกตางกันไป แตมักนําเอาขาวเดนๆ ไวในลําดับตน แตบาง (Priority) สถานีจะวางขาวที่มีประเด็นขัดแยงสูง ไวในลําดับหลัง 2. ความสมดุล โดยรวมพบวายังขาดความสมดุลอยูบาง และหากพิจารณาจากแหลงขาวฝายที่ 3 ก็ยิ่งขาด (Balance) ความสมดุลของขาว อยางไรก็ตามหากมีความสมดุลในขาว ก็ยังขาดความเปนธรรมในการนําเสนอ กลาวคือมีการใหพื้นที่ขาวที่ไมเทาเทียมกันในคูกรณีฝายที่ 1, 2 และ 3 โดยเฉพาะการปลอยภาพ, เสียง และเนื้อหาของคูกรณีฝายที่ 2 และ ฝายที่ 3 มีนอยมาก โดยเฉพาะในประเภทขาวการเมือง 3. บุคคลที่ขาดหาย พบวาบุคคลที่ขาดหายไปจากขาวมากคือผูที่ไดรับผลกระทบจากเหตุการณนั้นๆ โดยตรง (Missing Person) โดยเฉพาะขาวประเภทการเมืองและนโยบายรัฐ ขาดหายเสียงของประชาชน องคกรภาคประชาชน หรือฝายที่ 3 ที่เปนกลางหรือไมมีผลประโยชนไดเสียโดยตรง หรือสวนที่มีความเห็นแตกตางออกไป เชน บุคลากรสถาบันศึกษา นักวิชาการ ซึ่งปรากฏนอยมากในรายการขาวของทุกชอง โดยผูที่ ขาดหายไปจากเนื้อหาขาวมากที่สุดคือ องคกรภาคประชาชน,ประชาสังคมตางๆ 4. ความยาวขาว ความยาวขาวลําดับที่ 1-3 โดยเฉลี่ย 2-3 นาที ขาวลําดับตอๆมาความยาวเฉลี่ย ประมาณ 30 (Timing Duration) วินาที -1 นาที ในขณะที่ ขาวสั้นๆ จะยาวประมาณขาวละ 10-15 วินาที 5. ความคิดเห็นของผู พบวาชองที่มักมีการแสดงความคิดเห็นของผูประกาศขาวคือชอง 3,และ itv พบในขาวประเภท ประกาศขาว อาชญากรรม สังคม และการเมือง (Opinion of Narrator) 6. ภาษา พบวาการใชภาษาของผูประกาศขาวในลักษณะชี้นําในขาวทัว่ ๆ ไปยังมีนอย แตพบมากในขาว (Language) ประเภทอาชญากรรมรุนแรงและโหดราย โดยผานเสียงบรรยายเนื้อขาว เชนคําวา “คนราย”, “เหี้ยมโหด”, “อํามหิต” สรางความรูสึกเราอารมณ ขณะที่ภาษาจากแหลงขาวที่มีลักษณะคําพูดที่ รุนแรง แข็งกราว ดุดัน ก็จะปลอยเสียงของแหลงขาวนั้นเอง โดยเฉพาะแหลงขาวที่เปนนักการเมือง เชน นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีและเจาหนาที่ภาครัฐในระดับสูง 7. ภาพ พบวามีการใชภาพที่ละเมิดสิทธิของแหลงขาวอยูบาง ในกรณีที่เปนเด็ก สตรี เยาวชนที่เปนเหยื่อ (Visual) อาชญากรรม แตอาจมีลักษณะการเซ็นเซอรหรือการพรางภาพหากกอใหเกิดทัศนะอุจาด กรณีเปน ภาพศพ มักใชการเซ็นเซอรภาพเพื่อไมใหภาพนั้นอุจาดตา 8. ภาพตัวแทน พบวาโดยทั่วไปภาพตัวแทนที่ปรากฏมากที่สุดมาจากภาพแหลงขาวที่ถูกนําเสนอมากที่สุด และ (Representation) การวางลําดับการปรากฏภาพของแหลงขาวไวกอน-หลังก็มักมีลักษณะที่เหมือนกันคือ มักนําภาพ แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 เชน ฝายภาครัฐ หรือฝายที่มีอํานาจเหนือกวาไวในลําดับตนๆ ขณะที่ภาพ


36

9. อื่นๆ

แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 จะนําไวลําดับถัดมา ซึ่งสะทอน “ลําดับขั้น” ของอํานาจที่ไลลําดับลงมา สะทอนภาพผูที่มีอํานาจ (รัฐ) มากกวามีสิทธิ “พูดและแสดงตน” ไดกอนและมากกวาผูที่มีอํานาจ นอยกวา และการนําเสนอภาพตัวแทนในการรายงานขาวยังมีลักษณะเนนมิติ “สถานภาพของบุคคล” เชน อาชีพ ตําแหนงหนาที่ (ภาครัฐ) มากกวาอาชีพอื่นๆ โดยภาพตัวแทนที่ปรากฏมากที่สุดคือ “ภาพตัวแทนเจาหนาที่รัฐ” เชน นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี นักการเมือง ทหารระดับ ผูบังคับบัญชา ตํารวจ เจาหนาที่ขาราชการระดับสูง ถัดมาคือ “ภาพตัวแทนกลุมธุรกิจ” เชน พอคา นักธุรกิจ นักลงทุน รองลงมาคือ “ภาพตัวแทนกลุมวิชาชีพ” เชน แพทย นักกฎหมาย วิศวกร ครู อาจารย และที่แทบไมปรากฏในขาวหลัก คือภาพตัวแทนของ “กลุมแรงงาน” เชน กรรมกร เกษตรกร นอกจากนี้พบวา แทบไมมีการนําเสนอภาพตัวแทนจากกลุมองคกรภาคประชาชน ประชาสังคมเลยในขาวเกือบทุกๆขาว การรายงานขาวแตละชองมีความแตกตางกันไปในรายละเอียด ทั้งความยาวรายการขาว การ แบงชวงเวลาขาว การวางลําดับขาว การใหความสําคัญ ความเปนกลาง ความสมดุลของขาว การ ใหพื้นที่ขาว เปนตน

โดยมีรายละเอียดแบงตามแตละชองดังนี้

ผลการศึกษาลักษณะการรายงานขาวทั่วๆ ไปของแตละชอง ตารางที่ 4 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ชอง 3 มีขาว 2 ชวง ชวงที่ 1 เวลา 17.30-18.30 น. ชวงที่ 2 เวลา 20.00-20.30 น. ชอง 3 1.ลักษณะทั่วไป รายการขาวแบบ “เลาขาว” มีคําถาม sms ใหผูชมแสดงความคิดเห็น 1. การจัดลําดับขาว จากการศึกษาพบวา สวนใหญรายการขาวภาคค่ําชอง 3 เริ่มดวยขาวเดนในรอบวัน ขาว (Priority) อาชญากรรม หรือขาวภัยธรรมชาติ เชน ขาวน้ําทวม และใหเวลากับขาวอยางเต็มที่ รวมถึงตั้ง ประเด็นใหผูชมรวมแสดงความคิดเห็นผานทาง sms กับขาวเดนรอบวันนั้น สวนขาวการเมืองจะถูก นําเสนอในชวงที่ 2 และ 3 ของรายการ สําหรับขาวที่มีความขัดแยงสูง ก็อาจถูกลดความสําคัญ ดวยการนําเสนอในลักษณะสรุปขาว ชวงรอบวันรอบโลกแทน 2. ความสมดุล การรายงานขาวของชอง 3 โดยมากมักนําเสนอแหลงขาวทุกฝายที่เกี่ยวของกับเหตุการณในเนื้อ (Balance) ขาวชวงตน แตเมื่อเขาสูเนื้อขาวชวงกลางหรือทาย สวนใหญปรากฏวามีแหลงขาวเพียงฝายเดียว หากมีการนําเสนอแหลงขาว 2 ฝาย ก็ไมเทาเทียมกันในการไดพื้นที่ คือมีจํานวนแหลงขาว และ เนื้อหาขาวนอยกวา และแหลงขาวทั้ง 2 ฝาย ก็เปนบุคคลที่มีสถานะในสังคมที่มีโอกาสที่จะพูด มากกวาคนทั่วไป เชน สส., สว. นายกฯ, รัฐมนตรี แพทย ฯลฯ และพบวามีนอยมากที่จะนําเสนอ แหลงขาวฝายที่ 3 เพื่อที่จะวิเคราะห เสนอแนะ หรือ หาทางออกให การนําเสนอเสียงสัมภาษณของแหลงขาว ไมคอยปรากฏมากในขาวของชอง 3 โดยสวนใหญ คําพูดของแหลงขาวมักจะถูกสรุปโดยผูเลาขาว หากมีการปลอยเสียงแหลงขาว ก็มักเปนบุคคลเชน นายกรัฐมนตรี นักการเมือง รวมถึงเจาหนาที่ฝายรัฐ ขณะที่คูกรณีฝายที่ 2 นําเสนอใหเห็นภาพการ สัมภาษณแตไมปลอยเสียง ลักษณะนี้มักพบมากในขาวประเภทขาวการเมือง สวนในขาวประเภท


37

3.

4. 5.

6.

7. 8.

9.

สังคม อาชญากรรม แหลงขาวที่ปรากฏมากกวาคือ ตํารวจ แพทย และผูมีอํานาจรับผิดชอบ ผูไดรับ ความเสียหายจะถูกพูดถึงในเนื้อขาว เทานั้น กลาวโดยสรุป การนําเสนอขาวของชอง 3 ไมมีความสมดุลภาพและเสียงของแหลงขาว และมีการนําเสนออยางไมเทาเทียมในแงพื้นที่ขาวเพราะแหลงขาวมักมีเฉพาะเจาหนาที่ของ รัฐและนักการเมืองโดยเฉพาะในขาวการเมือง แตก็มีความสมดุลของเนื้อหาจากแหลงขาวฝาย ตางๆ บุคคลที่ขาดหาย บุคคลที่หายไปจากขาว มักเปนเปนแหลงขาวที่มีผลกระทบโดยตรง หรือโดยออมที่เกี่ยวของกับ (Missing Person) เหตุการณนั้นๆ โดยเฉพาะขาวเรื่องไฟใตจะไมมีเสียงและภาพของแหลงขาวที่เปนชาวบานเลย ผูชม สามารถรับทราบสถานการณในพื้นที่จากแหลงขาวภาครัฐฝายเดียวเทานั้น ความยาวขาว ความยาวขาวสวนใหญอยูที่ 1-2 นาที มีเฉพาะบางขาวที่ถูกใหเวลามาก โดยเฉพาะขาวเดนรอบ (Timing Duration) วัน หรือ ขาวแรก ที่บางครั้งใชเวลา ทั้งชวงแรกของรายการ ความคิดเห็นของผู พบวา การรายงานขาวของชอง 3 มีการสอดแทรกความเห็นของผูเลาขาวโดยเฉพาะกรณีขาว ประกาศขาว อาชญากรรม ผูประกาศขาวมักตัดสินความผิดของผูถูกกลาวดวยคําพูดที่รุนแรง เชน “ไอคนที่มัน (Opinion of Narrator) เปนพอเลี้ยง ไมรูมันเปนตัวอะไรกลับชาติมาเกิดนะ” “คําวาแมก็ไมควรใชกับผูหญิงคนนี้ ไมมี คุณสมบัติใดเลยที่จะเปนแมคน” (กรณีขาว พอเลี้ยงเตะลูกเลี้ยงพิการ) ภาษา พบวาผูเลาขาว มีการใชภาษาในการชี้นํา และบางครั้งประณามผูตองสงสัย โดยเฉพาะในขาว (Language) อาชญากรรม และพบบางจากการใชภาษาของแหลงขาวเอง โดยเฉพาะแหลงขาวทางการเมือง ที่ การใชภาษาเชิงชี้นํา หรือ กลาววา มักมาจากนักการเมืองฝายบริหาร ภาพ พบวา มีการนําเสนอภาพที่ละเมิดสิทธิเด็กที่ไดรับผลกระทบจากเหตุการณ โดยเฉพาะศพเด็กที่ (Visual) เสียชีวิต สวนภาพที่มีทัศนะอุจาดพบมากในขาวอาชญากรรม หรือขาวอุบัติเหตุ ภาพตัวแทน พบวา ภาพตัวแทนสวนมากที่นําเสนอในรายการขาวมักเปนภาพตัวแทนจากอาชีพ บทบาท (Representation) สถานภาพในสังคม โดยพบวา ภาพตัวแทนจากฝายเจาหนาที่รัฐ/นักการเมือง ที่ปรากฎมากที่สุดคือ นายกรัฐมนตรี นักการเมือง ขาราชการ ทหาร ตํารวจ แพทย ขณะที่ภาพตัวแทนอาชีพอื่นๆ เชน พอคา เกษตรกร ผูประสบภัย ชาวบาน ปรากฏนอยกวามาก หรือถามีก็ปรากฏเปนภาพตัวแทนของ ผูที่ตองการความชวยเหลือ ผูไดรับผลกระทบจากการทํางานของเจาหนาที่รัฐ หรือผูรอรับความ ชวยเหลือเทานั้น อื่นๆ ภาพรวมของการนําเสนอขาวของชอง 3 เปนขาวเบา มักนําเสนอขาวอาชญากรรม ขาวที่เปน เรื่องแปลกประหลาด และขาวน้ําทวมรายวัน โดยใหเวลากับขาวประเภทนี้สูงมาก ในขณะที่การ รายงานขาวการเมือง นําเสนอเหตุการณที่เกิดขึ้นรายวัน และสวนมากมักนําเสนอขอมูลจาก แหลงขาวฝายเจาหนาที่รัฐ/นักการเมืองฝายเดียว ทําใหขอเท็จจริงถูกนําเสนอแตเพียงดานเดียว อีก ทั้งการแทรกความคิดเห็นของผูเลาขาว โดยเฉพาะขาวอาชญากรรม มักมีการชี้นําใหเชื่อตามขอมูล ที่ยังไมมีขอสรุป อาจเปนเหตุกอใหเกิดความเขาใจผิดและเกลียดชังตอผูที่ถูกกลาวหาดวยการใช ภาษาเชิงตัดสินและประณามจากผูประกาศขาวได และในบางครั้งก็มีขอดี ในการนําเสนอขาวแบบ มีความคิดเห็นเขาไป เมื่อผูเลาขาวแทรกความคิดเชิงบวกที่ชวยประสานสังคม

ตารางที่ 5 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ชอง 5 มีขาว 2 ชวง ชวงที่ 1 เวลา 18.50-19.00 น. ชวงที่ 2 เวลา 19.30-20.15 น. ชอง 5


38

1.ลักษณะทั่วไป 1. การจัดลําดับขาว (Priority)

2. ความสมดุล (Balance)

3. บุคคลที่ขาดหาย (Missing Person)

รายการขาวแบบ “รายงานขาว” จากการศึกษาพบวา ชอง 5 แบงรายการขาวออกเปน 2 ชวง ชวงที่ 1 เปนรายการขาวสั้นๆ ประมาณ 10 นาที ซึ่งมีเนื้อขาวจริงๆ ประมาณ 3-4 นาที จํานวนประมาณ 1-2 ขาว จากนั้นจึงตัด เขาสกูปขาวยาเสพติด กีฬา และรายการบันเทิงสั้นๆ การเรียงลําดับขาวของชอง 5 นั้นไลเรียงไปตามขาวที่มีความสําคัญ เนนขาวสถานการณภาคใต ไวในลําดับตนของขาวชวงที่ 2 กลาวโดยสรุปปริมาณขาวสถานการณใต โดยรวมอยูในสัดสวนที่สูง กวาขาวอื่นๆ และมักจะใหความสําคัญมากกวา นอกจากนี้การนําพาดหัวขาว ก็ใชเฉพาะขาวภาคค่ําชวงที่ 2 ประมาณ 1-2 ขาวเทานั้น และมัก เปนขาวในประเทศ จากการศึกษาพบวา ความสมดุลดานภาพของแหลงขาวยังคงมีฝายเดียวที่ปรากฏคือเจาหนาที่ ฝายรัฐ และเกือบทั้งหมดของเนื้อขาวมีเจาหนาที่รัฐเปนแหลงขาว โดยเฉพาะขาวสถานการณ ภาคใต ซึ่งแหลงขาวสําคัญมักปรากฏทั้ง ภาพ และเนื้อหา คือ นายกรัฐมนตรี ทหาร รัฐมนตรี นอกจากนั้น การปรากฏเนื้อหาอีกดานของเหตุการณก็มีนอยมากในขาวสถานการณใต หากจะมี เนื้อหาของคูกรณีฝายที่ 2 ก็มักปรากฏภาพ แตไมปรากฏเสียงของแหลงขาว นอกจากนี้เมื่อ พิจารณาความสมดุลจากฝายที่ 3 ที่เปนผูใหความคิดเห็นตอเรื่องราว ก็กลับไมพบอีกเชนกัน แมพบวา การรายงานขาวเหตุการณตางๆ จะมีแหลงขาวหลายฝาย แตพบวา จํานวนแหลงขาว ที่ใหขอมูลนั้น เปนขอมูลเพียงดานเดียวกันเปนสวนมาก พบวา สวนใหญแมแหลงขาวจะหลากหลาย แตสวนใหญมักเปนจากฝายรัฐ เนื้อหาขาวจึงมี เพียงดานเดียว ดังนั้น บุคคลที่มักขาดหายจากขาวมักเปนผูที่ไดรับผลกระทบ ผูที่ถูกกระทํา หากแม มีเรื่องราวปรากฏก็มักไมมีการปลอยเสียงของผูพูด แตใชเสียงบรรยายของผูประกาศขาวมากกวา อยางไรก็ตามลักษณะวิธีการเชนนี้อาจพบทั่วไปในรายการขาวของชองอื่นดวย บุคคลที่ขาดหายไป จากการนําเสนอเรื่องราวขาว มากที่สุด คือประชาชน หรือเจาทุกข โดยเฉพาะเหตุการณ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต แตหากเจาทุกขนั้น มีความเกี่ยวของกับเจาหนาที่ภาครัฐ ก็จะปรากฏเนื้อหาของ เจาทุกขดวย นอกจากนี้ บุคคลที่มักขาดหายไปจากการนําเสนอขาวของชอง 5 มากที่สุดคือ ฝายที่ 3 เชน นักวิชาการ หรือองคกรภาคประชาชน หรือ ฝายอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของโดยตรงกับเหตุการณ ขาวทั่วไปมีความยาว 30 วินาที - 1 นาที แตหากเปนขาวสําคัญก็จะมีความยาว ประมาณ 1-3 นาที พบวาไมมีการนําเสนอความคิดเห็นของผูประกาศขาว

4. ความยาวของขาว (Timing Duration) 5. ความคิดเห็นของผู ประกาศขาว (Opinion of Narrator) 6. ภาษา พบวาไมมีการใชภาษาชี้นําจากผูประกาศขาว แตพบวาแหลงขาวมีการใชภาษาชี้นํา ตัดสิน โดยใช (Language) คําขยายตอผูกระทํา โดยเฉพาะขาวเกี่ยวกับสถานการณชายแดนภาคใต ซึ่งมาจากเสียงของ แหลงขาวเอง โดยเฉพาะจากนายกรัฐมนตรี ทหาร และรัฐมนตรี 7. ภาพ พบวาไมมีการนําเสนอภาพที่ละเมิดสิทธิ เด็ก เยาวชนและสตรี หรือนําเสนอภาพที่มีทัศนะอุจาดแต (Visual) อยางใด 8. ภาพตัวแทน ภาพตัวแทนที่ปรากฏมากที่สุดมาจากภาพแหลงขาวที่ขาวนําเสนอมากที่สุด ซึ่งมักเปนเจาหนาที่


39

(Representation)

9. อื่นๆ

ภาครัฐและนักการเมือง คือ นายกรัฐมนตรี ทหาร รัฐมนตรี ขาราชการ โดยมักถูกนําเสนอใหอยูดาน เดียวกัน รองลงมาคือภาพตัวแทนที่ปรากฏในเนื้อหาขาว ซึ่งมักมีภาพในแงลบ และมักเปนคูกรณี ฝายตรงกันขามกับฝายแรก สิ่งที่นาสังเกตสําหรับการรายงานขาวของชอง 5 คือ จํานวนเวลารายการขาวภาคค่ําที่สั้นมาก เพียง 55 นาทีซึ่งนอยที่สุดในบรรดารายการขาวภาคค่ํา นอกจากนี้ยังสังเกตพบวาชอง 5 มีการรายงาน ขาวตนชั่วโมงในชวงเวลาตอนเย็นประมาณ 16.00 -18.00 น. ชวงละประมาณ 5 นาที โดยเนนขาว หนัก (hard news) ประเภทการเมือง เศรษฐกิจ และมักเปนเรื่องราวทั้งจากฝายภาครัฐและฝาย อื่นๆ สูงกวา ขาวประเภทเบาๆ (soft news) ดังนั้นจึงพบวาสัดสวนขาวหนัก ในชวงขาวภาคค่ํา จึงมี ความเขมขนนอยกวาขาวตนชั่วโมงในเวลาตอนเย็น

ตารางที่ 6 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ชอง 7 มีขาว 2 ชวง ชวงที่ 1 เวลา 17.30-18.00 น. ชวงที่ 2 เวลา 19.40-20.25 น. ชอง 7 1.ลักษณะทั่วไป รายการขาวแบบ “รายงานขาว” 1. การจัดลําดับขาว จากการศึกษาพบวา โดยปกติ ชอง 7 มักจัดลําดับขาวทั่วไปที่มีผลกระทบตอคนหมูมากไวใน (Priority) ลําดับตนๆ เชน ขาวน้ําทวมหรืออุทกภัย พายุหรือวาตภัย ซึ่งสงผลตอคนทั่วไป ขณะที่ขาว อาชญากรรม หากมีความนาสนใจก็จะจัดไวลําดับตน เชนเดียวกัน ถาขาวการเมืองเปนเรื่องดวน หรือมีความสําคัญมาก ก็จะไวในชวงตน อยางไรก็ตาม พบวา ไมมีความแตกตางใด ในขาวที่มีการแบงออกเปน 2 ชวง เพียงแตขาวที่ นําเสนอในชวงที่ 1 จะเปนขาวเดนและมีความสด ความนาสนใจ มากกวา 2. ความสมดุล โดยมากมีการนําเสนอแหลงขาวฝายเดียว หากนําเสนอแหลงขาวทั้ง 2 ฝาย ก็จะพบวาไมมี (Balance) ความเปนธรรมในสัดสวนพื้นที่ในขาวของแหลงขาวแตละฝาย กลาวคือ แหลงขาวภาครัฐ มักมี จํานวนและเนื้อหามากกวาอีกฝาย และมักไมคอยปรากฏแหลงขาวฝายที่ 3 ในขาวการเมือง แตมัก มีการใหสัมภาษณของแหลงขาวภาครัฐ ที่มักเปน นักการเมือง ทหาร ตํารวจ ขาราชการ เปน แหลงขาวหลัก โดยมากการปรากฏภาพของแหลงขาวภาครัฐ จะมีมากกวาคูกรณีฝายที่ 2 และหากแมปรากฏ ภาพคูกรณีฝายที่ 2 ก็มักไมปรากฏเสียงของแหลงขาว แตจะมีการปลอยเสียงของแหลงขาวที่เปน เจาหนาที่รัฐมากกวา โดยพบวา มีการปรากฏเสียงของแหลงขาวฝายรัฐบาลมากที่สุด โดยเฉพาะ นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี อาจสรุปไดวา ยังขาดความรอบดานในการนําเสนอแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 อยูบาง และยัง บกพรองเรื่องการใหสัดสวนพื้นที่ขาวที่เทาเทียมกันของแหลงขาวแตละฝายทั้งในเรื่องของภาพ และ เสียงของแหลงขาว โดยเฉพาะขาวการเมือง นอกจากนี้ยังพบวา มักมีการรายงานขาวในลักษณะรายงานพิเศษเกี่ยวกับองคกรรัฐวิสาหกิจ เพื่อการเสริมสรางภาพลักษณองคกร เชนหนวยงาน การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค แทรกอยูบางเปนระยะ 3. บุคคลที่ขาดหาย จากการศึกษาพบวา บุคคลที่ขาดหายไปในการรายงานขาวมักเปนผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรง (Missing Person) หรือโดยออม กับเรื่องราวหรือเหตุการณนั้นๆ อันเปนผลสืบเนื่องจากความไมสมดุลในการรายงาน ขาวที่มีแหลงขาวฝายเดียว


40

4. ความยาวของขาว (Timing Duration)

5. ความคิดเห็นของผู ประกาศขาว (Opinion of Narrator) 6. ภาษา (Language) 7. ภาพ (Visual) 8. ภาพตัวแทน (Representation)

9. อื่นๆ

การใหเวลาของขาวพบวา หากเปนขาวลําดับที่ 1-2 จะมีความยาวมากกวา คือประมาณ 2-3 นาทีตอขาว ขณะที่ขาวในลําดับหลังๆ มักสั้นกวา คือยาวประมาณ 1-2 นาที จากการศึกษาพบวา ชอง 7 มักเนนการนําเสนอขาวทั่วๆ ไปที่มีความขัดแยงต่ํา หลีกเลี่ยง ประเด็นทางการเมือง โดยการใหระยะเวลา ที่สั้นกวา ขาวทั่วไป แตหากเปนขาวที่มีความสําคัญ จริงๆ ก็จะใหความยาวเพิ่มขึ้น พบวาการรายงานขาวของชอง 7 ไมมีการสอดแทรกความคิดเห็นของผูรายงานขาว

พบวาไมมีการใชภาษาที่ชี้นํา หรือการประณามผูตองสงสัยจากผูประกาศขาว แตพบบางจาก แหลงขาวเอง โดยเฉพาะแหลงขาวทางการเมือง และมักมาจากนักการเมืองฝายบริหาร พบวา ไมมีการละเมิดสิทธิในการนําเสนอภาพ เด็ก สตรีและเยาวชน สวนการนําเสนอภาพที่มี ลักษณะอุจาดนั้น พบเฉพาะภาพขาวอาชญากรรมที่นําเสนอภาพศพผูเสียชีวิต แตมีการเซ็นเซอร ภาพหรือการพรางภาพ พบวา ภาพตัวแทนสวนมากที่นําเสนอในรายการขาวมักเปนภาพตัวแทนจากอาชีพ บทบาท สถานภาพในสังคม โดยพบวา ภาพตัวแทนเจาหนาที่ภาครัฐ ถูกนําเสนอมากกวา รองลงมาคือภาพ ตัวแทนนักการเมือง ขาราชการ ทหาร ตํารวจ แพทย ขณะที่ภาพตัวแทนอาชีพอื่นๆ เชน เกษตรกร รับจาง มีนอยกวามาก แมวาการนําเสนอชวงขาวของชอง 7 ในชวงตนของรายการ จะเปนขาวเรื่องราวทั่วไป ขาว เหตุการณเดนประจําวัน ขาวเบา ๆ ทั่วไป ตามดวยขาวหนักประเภทการเมือง อยางไรก็ตามยังมี พื้นที่สําหรับรายงานพิเศษ คือชวง ทุกขชาวบาน ดวยลําแขง และสกูปชีวิต ที่นําเสนอเรื่องราวความ เดือดรอนของประชาชนจากการบริหารของเจาหนาที่ภาครัฐ เรื่องราวความเขมแข็งของชุมชนดาน วิชาชีพและเศรษฐกิจชุมชน และความลําบากยากแคนของสมาชิกสังคมในมุมตางๆ ทั้งความพิการ ทางรางกาย ความยากจน และคุณภาพชีวิตที่ไมดีพอตอการดํารงชีพ

ตารางที่ 7 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ชอง 9 มีขาว 3 ชวง ชวงที่ 1 เวลา 18.00-18.15 น. ชวงที่ 2 เวลา 18.45-19.30 น. ชวงที่ 3 เวลา 20.00ชอง 9 20.15 น. 1.ลักษณะทั่วไป รายการขาวแบบ “รายงานขาว” 1. การจัดลําดับขาว ชอง 9 นําเสนอขาวเปน 3 ชวงเวลา โดยสวนมากขาวเดนจะอยูในชวงที่ 2 คือ ในเวลาประมาณ (Priority) 18.45 น. โดยชวงที่ 1 จะเสนอประเด็นทั่วไปที่เกิดขึ้นในรอบวัน จะมีเพียงบางวันที่ประเด็นใหญถูก นําเสนอในชวงแรก โดยเฉพาะกรณีจิตรลดา และชิงตัวนักโทษ 2. ความสมดุล โดยมากมีการนําเสนอแหลงขาวฝายเดียว หากนําเสนอแหลงขาวทั้ง 2 ฝาย ก็จะพบวาไมมี (Balance) ความเปนธรรมในสัดสวนพื้นที่ของแหลงขาว กลาวคือแหลงขาวภาครัฐ มักมีจํานวนและเนื้อหา มากกวาอีกฝาย และมักไมคอยปรากฏแหลงขาวฝายที่ 3 ลักษณะเชนนี้มีอยูมากในขาวการเมือง โดยมักมีการใหสัมภาษณของแหลงขาวภาครัฐ ที่มักเปน นักการเมือง ทหาร ตํารวจ ขาราชการ เปน แหลงขาวหลัก โดยมากการปรากฏภาพของแหลงขาวภาครัฐจะมีมากกวา และหากแมปรากฏภาพคูกรณีฝายที่


41

3. บุคคลที่ขาดหาย (Missing Person)

4. ความยาวขาว (Timing Duration)

2 ก็มักไมปรากฏเสียงของแหลงขาว แตจะมีการปลอยเสียงของแหลงขาวที่เปนเจาหนาที่รัฐ มากกวา โดยพบวา มีการปรากฏเสียงของแหลงขาวฝายรัฐบาลมากที่สุด โดยเฉพาะ นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี แตก็พบวา ในบางครั้ง แหลงขาวอีกฝายถูกนําเสนอ ครบถวน สมบูรณทั้งภาพและเสียง แต เปนไปเฉพาะบางกรณี ซึ่งยังไมมีความคงตัวในการนําเสนอนัก แหลงขาวที่เปนคูกรณีฝายที่ 2 กรณีเปนแหลงขาวที่ขาดในขาวนั้น ทางชอง 9 จะนํามานําเสนอ ในรูปของรายงานพิเศษ ที่แหลงขาวฝายชาวบานจะปรากฏทั้งเสียงและภาพ อาจสรุปไดวา ไมมีความสมดุลโดยรวมของการรายงานขาว และไมมีความเปนธรรมในสัดสวน พื้นที่ของแหลงขาวแตละฝาย ในเรื่องของภาพและเสียงของแหลงขาว หากแตคอนขางมีความ สมดุลดานเนื้อหาขาว แตอาจไมมีความเปนธรรม (ในสัดสวนพื้นที่ขาวของแหลงขาวฝายตางๆ) ใน การรายงานขาว โดยเฉพาะขาวการเมือง จากการศึกษาพบวา บุคคลที่ขาดหายไปในการรายงานขาวมักเปนผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรง หรือโดยออม เกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณนั้นๆ อันเปนผลสืบเนื่องจากความไมสมดุลในการรายงาน ขาวที่มีแหลงขาวฝายเดียว รวมถึงแหลงขาวที่เปนนักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ หรือ นักวิเคราะหตางๆ ก็ไมปรากฏ อยูในเนื้อขาว พบวา ชอง 9 ใหเวลากับรายงานพิเศษ และรายงานสดมากกวาการรายงานขาวทั่วไป โดยขาว ทั่วไปจะถูกนําเสนอในความยาวประมาณ 1-2 นาที ในขณะที่ขาวที่เปนขาวเดนรอบวันถูกนําเสนอ ในความยาวประมาณ 3-5 นาที พบวาการรายงานขาวของชอง 9 ไมมีการสอดแทรกความคิดเห็นของผูรายงานขาว

5. ความคิดเห็นของผู ประกาศขาว (Opinion of Narrator) 6. ภาษา พบวา ไมมีการใชภาษาที่ชี้นําจากผูประกาศขาว แตพบบางจากแหลงขาวเอง โดยเฉพาะ (Language) แหลงขาวทางการเมือง และมักมาจากนักการเมืองฝายบริหาร 7. ภาพ พบทั้ง 2 ประเภท แตเปนการนําเสนอภาพการละเมิดสิทธิผูใหญ เชน กรณีนักโทษหญิง ใส (Visual) หมวก และแวนดํา แตก็เห็นไดวาเปนใคร และภาพผูหญิงที่มีปญหาหนาอกโตผิดปกติ ไมมีการ เซ็นเซอรหนา หลังจากการผาตัดแลว สวนภาพทัศนะอุจาดมีเห็นไดไมมากนักในขาวอาชญากรรม 8. ภาพตัวแทน พบวา ภาพตัวแทนสวนมากที่นําเสนอในรายการขาวมักเปนภาพตัวแทนจากอาชีพ บทบาท (Representation) สถานภาพในสังคม โดยพบวา ภาพตัวแทนนายกรัฐมนตรี ถูกนําเสนอมากสุด รองลงมาคือภาพ ตัวแทนนักการเมือง ขาราชการ ทหาร ตํารวจ แพทย ขณะที่ภาพตัวแทนอาชีพอื่นๆ เชน พอคา เกษตรกร ผูประสบภัย มีนอยกวามาก หรือถามีก็ปรากฏในลักษณะของผูที่ตองการความชวยเหลือ หรือรอรับความชวยเหลือ กรณีเหตุการณภาคใต ทางชอง 9 นําเสนอใหเห็นภาพของประชาชนมากขึ้น โดยเฉพาะกรณี 131 คนไทย ที่ชอง 9 ใชรายงานพิเศษในการนําเสนอขอมูลในเชิงลึก สะทอนภาพวิถีชีวิตของ ชาวบานที่เดินทางไปทํางานในมาเลเซีย อาจจะสรุปไดวา ภาพตัวแทนคนในสังคม ที่ปรากฏในขาวของชอง 9 มีความหลากหลาย และมี การใหพื้นที่กับฝาย ที่มิใชภาครัฐดวย 9. อื่นๆ ชอง 9 มีการแบงชวงขาวออกเปน 2 ชวง โดยชวงแรกจะเปนขาวเดนประจําวัน ชวงที่ 2 เนนขาว


42

เศรษฐกิจ ตารางที่ 8 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ชอง 11 มีขาว 1 ชวง เวลา 18.00-20.15 น. ชอง 11 1.ลักษณะทั่วไป รายการขาวแบบ “รายงานขาว” 1. การจัดลําดับขาว จากการศึกษาพบวา โดยปกติ ชอง 11 จัดลําดับขาวที่จะสงผลกระทบตอประชาชนไวในอันดับ (Priority) ตนๆ ในลักษณะขาวเตือนภัย อันไดแก ขาวน้ําทวมหรืออุทกภัย พายุหรือวาตภัย รวมถึงความ เคลื่อนไหวของตางประเทศที่จะสงผลกระทบตอประเทศไทย รองลงมาคือ ขาวการเมือง การ เปลี่ยนแปลงโยกยายขาราชการ รวมถึงกิจกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานราชการ สวนประเด็นอื่นๆ ขึ้นอยูกับความเหมาะสม 2. ความสมดุล พบวา ใหความสําคัญกับแหลงขาวที่เปน นักการเมือง ขาราชการที่รับผิดชอบงาน คือแหลงขาว (Balance) ภาครัฐ โดยเรียงลําดับชั้นของตําแหนงตามสายการบังคับบัญชา หรือตามลักษณะประเด็นที่ นําเสนอ แหลงขาวที่เปนคูกรณีฝายที่ 2 จะมีจํานวนนอยกวาหรือบางครั้งไมมีเลย ไมปรากฏ การ นําเสนอแหลงขาวฝายที่3 หรือแหลงขาวที่เปนนักวิเคราะหหรือนักวิชาการ แตบางครั้งมีการ นําเสนอแหลงขาวฝายที่ 3 มารวมแสดงความคิดเห็น การปรากฏภาพของแหลงขาวภาครัฐมีมากกวาคูกรณีฝายที่ 2 และหากแมปรากฏภาพคูกรณี ฝายที่ 2 ก็มักไมปรากฏเสียงของแหลงขาว แตจะมีการปลอยเสียงของแหลงขาวที่เปนเจาหนาที่รัฐ มากกวา โดยพบวามีการปรากฏเสียงของแหลงขาวภาครัฐมากที่สุด โดยเฉพาะ นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี จะเห็นไดวา การรายงานขาวขาดความความสมดุล ทั้งในลักษณะประเด็นและพื้นที่การนําเสนอ โดยขาวถูกใหน้ําหนักไปยังแหลงขาวที่เปนเจาหนาที่ของรัฐ แมในบางกรณีที่เปนขาวที่ประชาชน ไดรับผลกระทบโดยตรง อาจมีการนําเสนอเพียงภาพขาวและบรรยายขาวเทานั้น ไมมีเสียงของ แหลงขาวแตอยางใด นอกจากนี้ยังพบวา การนําเสนอแหลงขาวที่ไมใชเจาหนาที่ของรัฐ มักไดพื้นที่ในลักษณะของ รายงานพิเศษ โดยจะปรากฏทั้ง ภาพ เสียง ความคิดเห็น แตจะเปนประเด็นหรือแงมุมที่ไมไดมี ความสัมพันธกับเนื้อหาในขาวหลัก 3. บุคคลที่ขาดหาย จากการศึกษาพบวา บุคคลที่ขาดหายไปในการรายงานขาวมักเปนผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรง (Missing Person) หรือโดยออม เกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณนั้นๆ 4. ความยาวขาว การใหเวลาของขาวพบวา จัดความยาวขาวตามลักษณะประเด็น โดยเฉพาะอยางยิ่งประเด็นที่ (Timing Duration) มีผลกระทบตอการเมืองและความมั่นคง จะใหเวลามาก ถึงประมาณ 7- 13 นาที ในขณะที่ขาวอื่นๆ มีความยาว 2-3 นาทีโดยประมาณ 5. ความคิดเห็นของผู พบวาการรายงานขาวของชอง 11 ไมมีการสอดแทรกความคิดเห็นของผูรายงานขาว ประกาศขาว (Opinion of Narrator) 6. ภาษา พบวา ไมมีการใชภาษาที่ชี้นําจากผูประกาศขาว แตพบบางจากแหลงขาวเอง โดยเฉพาะ (Language) แหลงขาวทางที่เปนนักการเมือง หรือเจาหนาที่รัฐฝายบริหาร 7. ภาพ พบวา ไมมีการนําเสนอภาพที่ละเมิดสิทธิเด็ก สตรีและเยาวชน สวนการนําเสนอภาพที่มี


43

(Visual) 8. ภาพตัวแทน (Representation) 9. อื่นๆ

ลักษณะอุจาดนั้นมักปรากฏในภาพขาวอาชญากรรม ซึ่งถายใหเห็นผูเสียชีวิต แตมีการเซ็นเซอร ภาพ หรือ พรางภาพ พบวา ภาพตัวแทนสวนมากเปนการนําเสนอภาพของเจาหนาที่รัฐในลักษณะผูใหความ ชวยเหลือ ผูบําบัดบรรเทาความเดือดรอนของประชาชน ในขณะที่ภาพตัวแทนของประชาชนทั่วไป คือผูที่รอรับความชวยเหลือ การนําเสนอขาวของชอง 11 ใหพื้นที่นอยแกประชาชนหรือผูที่มีความคิดเห็นแตกตางจาก ภาครัฐ ขาดการรายงานขาวในลักษณะรายงานพิเศษหรือขาวเชิงสืบสวนสอบสวน รวมถึงไมมีการ ตั้งคําถาม ตอประเด็นที่มีผลกระทบตอสวนรวม ในประเด็นที่เปนโครงการของรัฐบาล และขาดขาว ที่ใหความสําคัญตอการสรางความเขมแข็งของภาคประชาสังคม

ตารางที่ 9 ลักษณะทั่วไปของการรายงานขาว ชอง itv มีขาว 2 ชวง ชวงที่ 1 เวลา 18.30-19.30 น. ชวงที่ 2 เวลา 20.00-20.15 น. ชอง itv 1.ลักษณะทั่วไป รายการขาวแบบ “รายงานขาว” มีคําถาม sms ใหผูชมแสดงความคิดเห็น 1. การจัดลําดับขาว จากการศึกษาพบวา การจัดลําดับขาวของชอง itv ในแตละวันจะมีความแตกตางกันอยูเล็กนอย (Priority) โดยสวนใหญ ทางสถานีจะรายงานขาวทั่วไปที่มีผลกระทบตอคนหมูมากในชวงแรกของรายการขาว เชน ขาวน้ําทวม การเกิดพายุ พยากรณอากาศ และขาวอาชญากรรมโดยเฉพาะเหตุอุกฉกรรจ ตอ ดวยขาวบันเทิง ขาวกีฬา ขาวการเมือง ตามลําดับ แตหากวันใดมีเหตุการณที่มีความสําคัญมากๆ ก็ จะรายงานในชวงตน โดยเฉพาะวันเสาร – อาทิตย จะมีการสลับสับเปลี่ยนลําดับการรายงานขาวแต ละประเภท 2. ความสมดุล โดยมากมีการนําเสนอแหลงขาว 2 ฝาย ไดแก แหลงขาวตนเรื่อง และแหลงขาวอื่นๆ ซึ่งมีสวน (Balance) เกี่ยวของกับเหตุการณนั้นๆ นอกจากนี้ยังปรากฏวามีแหลงขาวฝายที่ 3 ซึ่งไดแก นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน หรือบุคคลที่เคยดํารงตําแหนงทางการเมืองในอดีต ลักษณะเชนนี้ปรากฏอยู ทั้งในขาวการเมือง ขาวอาชญากรรม และขาวสิ่งแวดลอมและการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ การปรากฏภาพของแหลงขาวภาครัฐมีมากกวาฝายอื่นๆ โดยเฉพาะขาวการเมือง ในบางครั้งจะ ปรากฏเพียงภาพแตไมปรากฏเสียงของแหลงขาว โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี อาจสรุปไดวา มีความสมดุลของการรายงานขาวบางขาว และในภาพและเสียงของแหลงขาวใน ระดับหนึ่ง นอกจากนี้ยังพบวา มักมีการรายงานขาวในลักษณะรายงานพิเศษซึ่งใหรายละเอียดในมุมที่ กวางและลึกเพิ่มเติมจากการรายงานขาวนั้นๆของผูประกาศขาว หรือเปดพื้นที่ใหกับแหลงขาวที่ เกี่ยวของไดชี้แจงเพิ่มเติมจากเนื้อขาวที่ผูประกาศขาวรายงาน โดยเฉพาะขาวซึ่งมีความซับซอน มี ความขัดแยงสูง หรือเปนที่สนใจของประชาชนในวงกวาง เชน ขาวปญหาสังคม 3. บุคคลที่ขาดหาย จากการศึกษาพบวา เฉพาะในขาวบางประเภทจะมีบุคคลที่ขาดหายไปในการรายงานขาว มัก (Missing Person) เปนผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรง หรือโดยออมจากเหตุการณนั้นๆ หรือเปนผูตองสงสัย 4. ความยาวของขาว การใหเวลาของขาวพบวา หากเปนขาวเดนประจําวันที่มีรายละเอียด ที่ซับซอน หรือเปนขาวที่ (Timing Duration) ไดรับความสนใจจากประชาชนมาก จะมีความยาวเกินกวา 3-5 นาที เชน ขาวนางสาวจิตรลดาทํา รายเด็กนักเรียนโรงเรียนเซ็นโยเซฟ คอนแวนท หากเปนขาวที่มีความสําคัญหรือมีรายละเอียดนอย กวา จะมีความยาวประมาณ 2-3 นาที และหากเปนการรายงานขาวเหตุการณทั่วๆไป จะมีความ


44

ยาวประมาณ 30 วินาที ถึง 1 นาที พบวาการรายงานขาวของชอง itv ไมมีการสอดแทรกความคิดเห็นของผูรายงานขาวอยางชัดเจน แตในบางครั้งผูประกาศขาวพูดในเชิงตั้งคําถามตอประเด็นขาวที่มีความสําคัญตอประชาชน

5. ความคิดเห็นของผู ประกาศขาว (Opinion of Narrator) 6. ภาษา พบวาไมมีการใชภาษาที่ชี้นําจากผูประกาศขาว แตพบบางจากแหลงขาวเอง โดยเฉพาะ (Language) แหลงขาวทางการเมือง และมักมาจากนักการเมืองฝายบริหาร 7. ภาพ พบวาไมมีการนําเสนอภาพที่ละเมิดสิทธิเด็ก สตรีและเยาวชน สวนการนําเสนอภาพที่มีลักษณะ (Visual) อุจาดนั้นมีเพียงเล็กนอย มักปรากฏในขาวอาชญากรรม ซึ่งถายใหเห็นผูเสียชีวิต แตมีการเซ็นเซอร หรือพรางภาพ 8. ภาพตัวแทน พบวาภาพตัวแทนที่นําเสนอในรายการขาวมักเปนภาพตัวแทนจากอาชีพ บทบาท สถานภาพใน (Representation) สังคม โดยพบวา ในขาวแตละประเภทจะปรากฏภาพตัวแทนที่แตกตางกัน ในขาวการเมืองภาพ ตัวแทนนักการเมืองฝายบริหาร ถูกนําเสนอมากกวาภาพตัวแทนของกลุมอื่นๆ ในขณะที่ขาว อาชญากรรมและขาวปญหาสังคม จะปรากฏภาพตัวแทนของประชาชน ชาวบาน ที่กระทําผิด หรือ ตกเปนเหยื่อจากเหตุการณ สําหรับขาวปญหาสิ่งแวดลอม และการจัดสรรทรัพยากร จะปรากฏภาพ ตัวแทนของกลุมนายทุน หรือนักการเมืองทองถิ่น และชาวบานซึ่งไดรับผลกระทบ และความ เดือดรอนจากการแสวงหาผลประโยชนอันมิชอบจากทรัพยากรธรรมชาติ 9. อื่นๆ นอกจากการรายงานขาวที่มีความสําคัญ มีความโดดเดนของตัวเหตุการณในแตละวันแลว ก็จะ มีการรวบรวมขาวที่เกิดขึ้นในสวนภูมิภาคมารายงานอยางกระชับ หากขาวใดที่สอเคาเงื่อนงํา หรือ มีปมขัดแยงสูง ก็จะถูกนํามาเสนอรายละเอียดเพิ่มเติมในชวงตนของรายการขาวในวันถัดมา นอกจากการรายงานขาวของผูประกาศขาวแลว ยังปรากฏเนื้อหาของขาวเคลื่อนไหวอยูดานลาง หนาจอโทรทัศน ซึ่งโดยสวนใหญจะเปนขาวเดียวกันกับที่ผูประกาศขาวรายงานและมีการตั้งกระทู ถามความคิดเห็นจากประชาชนที่รับชมขาว กระทูที่ตั้งจะเปนประเด็นขาวที่ผูประกาศขาวไดเกริ่น นํากอนจะเขาสูการรายงานขาวอยางเต็มรูปแบบ กระทูสวนใหญโดยสวนใหญจะเกี่ยวของกับ ปญหาสังคมเพื่อถามความคิดเห็น หรือขอเสนอแนะจากประชาชนเกี่ยวกับขาวนั้นๆ

4.2.2 ความสมดุล และภาพตัวแทนในขาวทีม่ ีความขัดแยง การศึกษาภาพตัวแทนในรายการขาวภาคค่ํา เดือนกันยายน เพื่อศึกษาถึงการสรางความสมานฉันทผานการรายงานขาว โดยไดคัดกรองเฉพาะขาวที่มีประเด็นความขัดแยงและเปนที่สนใจของประชาชนได 5 เรื่องดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5)

สถานการณ 3 จังหวัดชายแดนใต การแทรกแซงกิจการสื่อ “แกรมมี่ซื้อหุนมติชน” และ “ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห” กรณี “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง การสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแผนดิน การพิจารณาเปดสถานบริการ อาบอบนวด “เอไลนา”


45

จากเหตุการณขาวทั้ง 5 เรื่อง ตางก็เปนขาวที่มีความขัดแยงระหวางกลุมคนตางๆ ในสังคมไทย ที่สะทอนการสรางความ สมานฉันทในสังคมไทยไดชัดเจน จากการศึกษาโดยดูรายการขาวจากสถานีโทรทัศนทั้ง 6 ชอง และ 5 เรื่องขาวและพิจารณารวมกับลักษณะภาพตัวแทนที่ ปรากฏในรายการขาวมีผลดังนี้


46

1.สถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต สรุปสาระสําคัญ: สถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตเปนขาวที่ สื่อทุกแขนงไดใหความสําคัญในการนําเสนออยางตอเนื่อง ทั้งนี้ตั้งแต เหตุการณปลนปนในกองบัญชาการทหารพัฒนา อ.เจาะไอรอง จ.นราธิวาส เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 สําหรับในชวงเดือน กันยายน 2548 ประเด็นเกี่ยวกับสถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตแบงออกไดเปน 3 ประเด็นคือ 0. 131 คนไทยหนีเขาเมือง รัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย 0. เหตุการณความวุนวายที่บานตันหยงลิมอร 0. เหตุการณความวุนวายรายวัน โดยแตละประเด็นมีรายละเอียดดังนี้ 1.กรณี 131 คนไทยหนีเขาเมือง รัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย ในประเด็นนี้เปนผลตอเนื่องมาจาก ความเขาใจผิดของชาวบาน ละหาน ต.ปะลุรุ อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส เหตุการณที่ นาย สะตอปา ยูโซะ โตะอิหมาม ถูกลอบยิง เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2548 โดยกอนตายโตะอิหมามไดสั่งเสียกับคนใกลชิดวา เปนฝมือของเจาหนาที่รัฐ สงผลใหเกิดความหวาดระแวงของชาวบาน ชาวบานไดประกาศหามเจาหนาที่รัฐเขาหมูบานเพราะขาด ความเชื่อมั่นในตัวเจาหนาที่ ผลกระทบเกิดขึ้นเมื่อสํานักขาวเบอรนามา ของทางการมาเลเซีย รายงานการอพยพของคนไทย 131 คน หนีเขาเมือง อยางผิดกฎหมายไปยังรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย รายงานขาวยังแจงวา มีคนไทยมุสลิมอีก ราวๆ 1,000 คน รอคอยเวลาที่จะหนี เขามาเลเซียอีก หากรัฐไทยยังใชความรุนแรงในการแกปญหาภาคใต เมื่อรัฐบาลไทยทราบเรื่อง จึงมีการตอบโต โดย นายกรัฐมนตรี ไดออกมาวิพากษสื่อมวลชนมาเลเซียและสํานักขาว ตางประเทศอื่นๆ ในขณะเดียวกันก็มอบหมายให รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เรงประสานงานกับทางการมาเลเซีย เพื่อตรวจสอบขอเท็จจริง รวมถึงความเขมงวดของเจาหนาที่ในการตรวจตราคนเขาออก บริเวณดานชายแดนของทั้ง 2 ประเทศ วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2548 เจาหนาที่ สํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ จํานวน 5 นาย เขาพบกลุม 131 คนไทยเพื่อสอบถามปญหาและความเปนอยู รวมทั้งองคกรมุสลิมโลก ซึ่งมีประเทศมาเลเซียเปนประธานไดเขารวมตรวจสอบ ขอเท็จจริง ผูอพยพสวนใหญยืนยันวาเกิดจากความหวาดกลัวเจาหนาที่ในเครื่องแบบทางรัฐไทย โดยนายกรัฐมนตรีของไทยได ตอบโตวาเปน “วิชามาร” เปนการสรางกระแสการทําลายความมั่นคงของชาติ ซึ่งทําใหเกิดการตอบโตไปมาระหวางเจาหนาที่ของ รัฐทั้งสองประเทศ ผานทางสื่อมวลชน ดร.มหาธีร โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรี มาเลเซีย ใหสัมภาษณผานสํานักขาว เอเอฟพี วา 131 คนไทย สมควรไดรับ การรับรองสถานะเปนผูลี้ภัย คําสัมภาษณดังกลาว ทําให พล.อ.ธรรมรักษ อิศรางกูร ณ อยุธยา รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม มองวาเปนการกาวกายกิจการภายในของไทย จึง ตอบโตดวยการเปดโปงวา มีการเคลื่อนไหวที่เกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซียของ อดีตนักการเมืองและแกนนําผูกอการรายในภาคใต มีการซองสุมกวา 1 เดือน แตไมมีหลักฐานเพื่อจับกุม มีการตอบโตกลับจาก นายนาจิบ ราซัก รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซีย เรียกรองใหรัฐบาลไทยหาหลักฐานมาพิสูจนขอกลาวหา ดังกลาว ขาวความขัดแยงดังกลาวดําเนินมาอยางตอเนื่อง รวม 20 วัน รวมถึงประเด็นการพิจารณา ตออายุพระราชกําหนดบริหาร ราชการในสถานการณฉุกเฉิน (พรก.ฉฉ.) โดยไมตองถามความเห็นของคนในพื้นที่


47

2.กรณีเหตุการณความวุนวายที่บานตันหยงลิมอร ประเด็นนี้มีความเชื่อมตอระหวาง 2 เหตุการณ คือ เหตุการณแรก เกิดในชวงค่ําของวันที่ 20 กันยายน 2548 มีกลุม คนรายใชอาวุธ สงคราม กราดยิงถลมรานน้ําชาแหงหนึ่ง ริม ถนนสายตันหยงลิมอ – ปาไผ บ.ตันหยงลิมอร อ.ระแงะ จ.นราธิวาส เปนเหตุให ชาวบานที่นั่งดื่มน้ําชาไดรับบาดเจ็บ 5 คน และในนั้น 2 คนเสียชีวิตในเวลาตอมา เหตุการณที่ 2 เปนเวลาไลเลี่ยกันคือหลังจากที่เจาหนาที่ถอนตัวจากพื้นที่แลว ร.ต.วินัย นาคะบุตร และ จ.อ.คําธร ทอง เอียด สังกัดกรมทหารราบที่ 3 กองพลนาวิกโยธิน ซึ่งประจําอยูโครงการพระราชดําริ บานตันหยงลิมอร ขับรถมายังหมูบานและรถ เสียใกลที่เกิดเหตุ ทั้งสองถูกชาวบานลอมรถ พรอมยึดอาวุธไปดวย เพราะสงสัยวา 2 นย.อาจเกี่ยวของกับเหตุการณยิงถลมรานน้ํา ชา โดยกักตัวนาวิกโยธิน 2 นายที่ศาลาอเนกประสงคกลางหมูบาน มีความพยายามชวยเหลือ 2 นาวิกโยธินแตไมสามารถเขาไปไดเพราะเปนชวงดึกมาก ทําไดแคตรึงไวบริเวณนอกหมูบาน ทั้งคืน เจาหนาที่ทั้งจาก กองทัพภาคที่ 4 ฝายปกครองและ อดีต ส.ส.ในพื้นที่ พยายามติดตอเจรจาแตชาวบานไดนําไมซุงมาปดกั้น และใหเด็กและผูหญิงราว 500 คน ปดลอมทางเขาหมูบาน ทั้งตัวแทนที่สงมาเจรจายีงบอกวาตองการใหสื่อมวลชนมาเลเซียมาทํา ขาว(แลว)จึงจะยอมเจรจาเพื่อปลอยตัว ในชวงบายเวลา 14.00 น. สื่อมวลชนมาเลเซียมาถึง เมื่อสงตัวแทนเพื่อขอเจรจารับตัวประกัน ตัวแทนจาก พรรค ประชาธิปตย ซึ่งเปนหนึ่งตัวแทนเจรจากับกลุมชาวบานเดินมาแจงวา 2 นาวิกโยธิน เสียชีวิตนานแลว เมื่อรูวา 2 นาวิกโยธิน เสียชีวิตชาวบานทั้งหมดที่รวมกลุมก็กระจัดกระจายหนีกลับเขาบาน 2 นาวิกโยธิน ไดรับพระราชทานน้ําหลวงอาบศพและพิธีพระราชทานเพลิงศพ ไดรับบําเหน็จ 8 ขั้น เปน นาวาเอก และ นาวาตรี และนายกรัฐมนตรีใหสัมภาษณวา 2 นายทหารตองไมตายฟรี 3.เหตุการณความวุนวายรายวัน ในประเด็นนี้ สวนใหญเปนการเสนอขาวเหตุการณความรุนแรง รายวัน คือ การลอบวางระเบิด วางเพลิง การเปด อนุสาวรียนกสันติภาพ การเปดตลาดธงฟาวันศุกร ความคืบหนาการจับกุมผูกระทําผิด การทําสมารทการดและบุคคล 2 สัญชาติ ซึ่งจะเปนประเด็นที่เขามาแทรก รวมกับ 2 ประเด็นหลักขางตน ในชวงเดือนกันยายน

ผลการศึกษา “ขาวสถานการณ 3 จังหวัดชายแดนใต” ทีมงานศึกษาฯ ไดแยกประเด็นออกไปอีกเปน 4 ประเด็น ใหละเอียดยิ่งขึ้น โดยยึดความแตกตางระหวางเหตุการณขาวและบริบทสถานการณที่มีนัยยะแตกตางกัน คือ 1) ประเด็นเหตุการณรายวัน คือ เหตุการณขาวเรื่องทั่วๆ ไป ใน 3 จังหวัดชายแดนใต, เหตุการณรายรายวัน, ความไม สงบที่เกิดขึ้นทั่วไป, การลงพื้นที่ของรัฐมนตรี เปนตน 2) ประเด็น 131 คนไทย คือขาวที่มีประเด็นเรื่อง 131 คนไทยที่หนีไปอยูฝงมาเลเซียโดยเฉพาะ ชวงที่นายกรัฐมนตรีไม อยูภายในประเทศ 3) ประเด็นสังหาร 2 นาวิกโยธิน คือ ขาวกรณีความวุนวายในหมูบานตันหยงลิมอร และเหตุการณสังหาร 2 นาวิกโยธิน 4) นายกประสานความคิดฝายคาน คือ ขาวการหารือแนวทางในการแกไขปญหาความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนใต ระหวางรัฐบาลและ สส.พรรคฝายคาน


48

จากการศึกษาพบวา (* ดูตารางภาคผนวกที่ 1-4 ประกอบ) 1) ประเด็นเหตุการณรายวัน (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 1 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, รมต. ยุติธรรม, คณะรัฐมนตรีและนายทหารระดับผูบังคับบัญชา ขณะที่ “ภาพ” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏ นอยกวามาก “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรียุติธรรม, คณะรัฐมนตรีและนายทหารระดับผูบังคับบัญชา ขณะที่ “เสียง” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏ นอยกวามาก “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีวาการกระ ทวงยุติธรรม, คณะรัฐมนตรีและนายทหารระดับผูบังคับบัญชา ขณะที่ “เนื้อหา” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏนอยกวามาก ขอสังเกต เมื่อพิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวฝายที่ 1 คือ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจํากระทรวงตางๆ และนายทหารระดับผูบังคับบัญชามี พื้นที่ใน “ขาว” มากกวาแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 คือ ผูนําฝายคาน นักวิชาการ ประชาชนที่อยูในพื้นที่ ผูนําชุมชน ผูนําศาสนา หรือแมแตคณะทํางานเพื่อความสมานฉันท (กอส.) ซึ่งมีสัดสวนพื้นที่ในขาวนอย กวาแหลงขาวฝายที่ 1 มาก 2) ประเด็น 131 คนไทย (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 2 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีวาการ กระทรวงยุติธรรมและรัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศ, โฆษกกระทรวงตางประเทศและนายทหาร ระดับผูบังคับบัญชา ขณะที่ “ภาพ” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏนอยกวามาก “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมและ รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศ, นายกรัฐมนตรีและนายทหารระดับผูบังคับบัญชา ขณะที่ “เสียง” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏนอยกวามาก “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก, รัฐมนตรีวาการกระทรวง ตางประเทศ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม, โฆษกกระทรวงตางประเทศ, และ นายทหารระดับผูบังคับบัญชา ขณะที่ “เนื้อหา” ของแหลงขาวฝายที่ 2 ปรากฏมากขึ้น แตฝายที่ 3 นั้น ยังคงปรากฏนอยกวา ขอสังเกต เมื่อพิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวฝายที่ 1 คือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศ, รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม นายกรัฐมนตรี โฆษกกระทรวงการตางประเทศ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม,รัฐมนตรีวาการ กระทรวงมหาดไทยและนายทหารระดับผูบังคับบัญชามีพื้นที่ใน “ขาว” มากกวาแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 คือ ผูนําฝายคาน นักวิชาการ และขาดการนําเสนอขาวจากฝายคนไทย 131 คน โดยตรง 3) ประเด็นสังหาร 2 นาวิกโยธิน (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 3 ประกอบ)


49

“ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, แมทัพภาคที่ 4, รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม, ภรรยาของ 2 นาวิกโยธิน และผูบัญชาการทหารสูงสุด ขณะที่ “ภาพ” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏนอยกวามาก “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, ภรรยาของ 2 นาวิก โยธิน , แมทัพภาคที่ 4, รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม ขณะที่ “เสียง” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้น ปรากฏนอยกวามาก “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก นายกรัฐมนตรี, แมทัพภาคที่ 4, ภรรยาของ 2 นาวิกโยธิน , รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมและผูบัญชาการทหารสูงสุด ขณะที่ “เนื้อหา” ของแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 นั้นปรากฏนอยกวามาก ขอสังเกต เมื่อพิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวฝายที่ 1 คือ นายกรัฐมนตรี, แมทัพภาคที่ 4, ภรรยา 2 ยาวิกโยธิน รัฐมนตรีวาการกระทรวง ยุติธรรม, รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม,ชาวบานตันหยงลิมอร นายทหารระดับผูบังคับบัญชามีพื้นที่ใน “ขาว” มากกวาแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 คือ ชาวบานตันหยงลิมอร ผูนําฝายคาน ผูนําชุมชน ผูนําศาสนา หรือคณะกรรมการเพื่อความสมานฉันท (กอส.) 4) ประเด็นนายกประสานความคิดฝายคาน (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 4 ประกอบ) “ภาพ” “เสียง” “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏคือ ไดแก นายกรัฐมนตรี, นายไตรรงค สุวรรณคีรี สส. ประชาธิปตย ขอสังเกต ประเด็นขาวที่ 4 อาจเปนประเด็นขาวที่เล็ก แตจะเห็นวาจากเดิมที่ฝายคานมักเปน “คูกรณีฝาย ที่ 2” ของรัฐบาลในประเด็นขาวอื่นๆ ในประเด็นนี้ฝายคานจะกลับมาเปนฝายเดียวกับรัฐคือการพยายาม สรางความสมานฉันท อยางไรก็ตามพบวา “บุคคลที่ขาดหายไป” นาจะเปนฝายการแสดงคิดเห็นของฝาย อื่นๆ เชน สมาชิกวุฒิสภา (สว.) หรือ คณะกรรมการเพื่อความสมานฉันท (กอส.) และองคกรตางๆ จาก ภาคประชาชน จากประเด็นขาวเกี่ยวกับสถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต เมื่อพิจารณาในเรื่อง “ความเปนธรรม” หรือ “การให สัดสวนพื้นที่ในขาวของแหลงขาวฝายตางๆ” ในการรายงานขาวโทรทัศนทั้ง 6 ชองสถานีโทรทัศน โดยแบงแหลงขาวออกเปน 3 ฝายคือ “คูกรณีฝายที่ 1-คูกรณีฝายที่ 2-และฝายที่ 3” (หรือเรียกสั้นๆ วา “ฝายที่ 1-ฝายที่ 2-ฝายที่ 3”) โดยนําการปรากฏของ “ภาพ-เสียง-เนื้อหา” จากแหลงขาวทั้ง 3 ฝายมาพิจารณาแลว จะไดผลรวมของสัดสวนพื้นที่ของแหลงขาวแตละฝาย ดังตารางและ แผนภูมิดังนี้


50

ลําดับที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ตารางที่ 11 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาวสถานการณ 3 จังหวัดชายแดนใต (รวมทุกประเด็น) สัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3 ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ นายกรัฐมนตรี รมต.ยุติธรรม ชิดชัย รมต.กลาโหม ธรรมรักษ รมต.มหาดไทย คงศักดิ์ แมทัพภาค 4 ขวัญชาติ ผบ.สูงสุด ชัยสิทธิ์ ผบ.ทบ. สนธิ รมต.ตางประเทศ กันตธีร คณะรัฐมนตรีลงพื้นที่ (ประชา,วิษณุ ,ปรีชา,ยงยุทธ,สรอรรถ,อดิศร,สุ รพงษ,กันตธีร,สุดารัตน,รุง) รมต.สํานักนายก สุรนันทน โฆษก ก.ตางประเทศ รมต.ศึกษาธิการ จาตุรนต ภรรยารอยตรีวน ิ ัย ผบภ. 9 พล.ต.ท.อดุลย ภรรยาจาเอกคําธร ผบ.ทร. นัดมุดดิน (อดีต สส.ทรท.) พล.ท.พลางกูร มารดาของรอยตรีวินย ั ไตรรงค สส. ประชาธิปต  ย * อธิบดีกรมการปกครอง(ศิวะ) ผูวาราชการจังหวัดนราธิวาส ผบ.ตร. โกวิท 2 นาวิกโยธิน นพ.วิชย ั สส.ทรท. อดีต ผบ.ทบ. ประวิทย กงสุลไทยประจําโกตาบารู พญ.คุณหญิงพรทิพย นายเอกภาพ สส.ทรท. ผูวาราชการจังหวัดสงขลา

1117 147 108 76 66 66 65 43 42 36 35 34 33 32 31 28 15 15 15 14 14 13 10 10 9 9 8 7 7 7 7

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

นายอภิสิทธิ์ สส. ประชาธิปตย 131 คนไทย ชาวบานตันหยงลิมอร UNHCR ผูทรงคุณวุฒิและเลขาธิการพรรค บาธ ประธานกรรมาธิการยุติธรรมและ สิทธิมนุษยชน รัฐสภา รัฐบาลมาเลเซีย ชาวบานละหาน ผูตองหา นายสมศักดิ์ สส ชาติไทย ผูหลงผิด เจะอามิง ชาวบานระแงะ นายองอาจ สส. ประชาธิปตย สว.ไกรศักดิ์ 19 คนไทยที่หนีไปมาเลเซีย ภายหลัง สส. ประชาธิปต  ย ชาวบานระแงะ นายนิกร จํานงค สส.ชาติไทย ประธานคณะกรรมธิการ ตางประเทศ วุฒิสภา ฮามีเยาะ BRN กลุมผูกอเหตุทไ ี่ ปประชุมที่เกาะ ลังกาวี ชาวบานหนองจิก นายบัญญัติ สส ประชาธิปต  ย กลุมสตรีปตตานี สส.นราธิวาส ประชาธิปต  ย ผูตองหาที่มอบตัวกรณี 2 นาวิกฯ

213 48 31 20 19 9 8 8 8 7 6 6 4 4 4 4 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

นายอานันท กอส. ชาวบานที่ไปทํางานที่มาเลเซีย ทหารที่เขาไปชวยเหลือในพืน ้ ที่ ชาวสงขลาที่สง กําลังใจชวย รองประธานคณะกรรมการอิสลาม แหงประเทศไทย กอเตบ(ตําแหนงทางศาสนา) เด็กกําพราจากเหตุการณ ศ.เสนห (ประธานกรรมการสิทธิ มนุษยชน) นักศึกษามอ.ไวอาลัย พระสงฆ นายเดชอุดม (สภาทนายความ) นักธุรกิจนราธิวาส นพ.ประเวศ CNN/ BBC อิหมามประจํามัสยิดในกลันตัน ชาวมาเลเซียในกลันตัน นักเรียนพัทลุงใหกําลังใจ นาจิ๊บ ราซัก รมต.กลาโหม มาเลย อธิบดีกรมสุขภาพจิต องคมนตรี ชาวอยุธยาไวอาลัย นักวิจัย ผูใชโทรศัพทมอ ื ถือ ผูไดรับบาดเจ็บ

หนวย 138 36 15 9 9 8 6 6 6 4 4 4 4 3 3 3 3 3 2 2 2 1 1 1 1


51 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69

โฆษกรัฐบาล ปลัดสํานักนายก ลูกนองเรือตรีวน ิ ัย ผูวาราชการจังหวัดปตตานี หัวหนาหนวยขาวกรอง สมชาย สส.ทรท. ตํารวจน้ํา นักรองเยี่ยมตลาดธงฟา พงศพัศ พงศเจริญ รองเลขาธิการ สภาความมั่นคง เจาหนาที่กอ.สสส.จชต. อดีต รมต.ตางประเทศ สุรเกียรติ์ รองทร.ภ. 2 เจาหนาที่ประจําจุดผอนปรน หัวหนาชุด ผบ.ปจว. โฆษก กอ.สสส.จชต. นายอําเภอระแงะ รมต.สาธารณสุข สุชัย ผอ.ททท. ผบ.หนวยบัญชาการสงครามพิเศษ ทหารในพื้นที่ รองผบ.พันร. 9 รอ. กระทรวงพัฒนาสังคม หาญ (อดีตผบภาค 4) ผูกํากับการตํารวจน้ํา ปลัดวธ. นายมิ่งขวัญ อสมท รองแมทัพภาค 4 UBC อธิบดีกรมประชาสัมพันธ ศุลกากรสตูล อาสามัคร ยะลา ผกก.สภอ.สุไหงปาดี รองผูวาราชการจังหวัดปตตานี ผูวาราชการจังหวัดยะลา ถาวร สส ประชาธิปตย * ผช.ผบ.ทร. ผูวาการการกีฬา ตํารวจในพื้นที่

7 6 6 6 6 5 5 4 4 4 4 4 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 1

28 29 30 31 32 33 34

อดีตนักการเมืองมาเลเซีย ผบ.มาเลเซีย สื่อมาเลเซีย ผูนําศาสนา โตะอิหมามบานระหาน ชาวบานรายงานตัวกรณีตากใบ ครูสอนศาสนา

1 1 1 1 1 1 1


52

แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ (1. ปญหาสถานการณ 3 จังหวัดชายแดนใต-รวมทุกประเด็น) 1117

1200 1000

หนวย

800 600

ฝายที่ 1 514

446

ฝายที่ 2 ฝายที่ 3

400 200

157 60

52

144 9

26

213 60

138

0 ภาพ

เสียง

เนื้อ หา

รวม

แผนภูมิที่ 2 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม )ของแหลงขาวฝายตางๆ (1. สถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต-รวมทุกประเด็น)

จากตารางและแผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ ขางตน พบวา เรื่องความสมดุล (Balance) พบวา การนําเสนอขาว “สถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต” ยังคงขาดความสมดุล ของแหลงขาวอยู แมจะปรากฏวาพบการนําเสนอแหลงขาวทั้ง 3 ฝาย แตก็ไมใชทุกครั้ง/ทุกวัน/ทุกชองของการ นําเสนอขาวจะมีความสมดุล โดยเฉพาะยังขาดการนําเสนอแหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 และแหลงขาวฝายที่ 3 เรื่องสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) พบวา การนําเสนอขาว “สถานการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต” ยังคง บกพรองในการใหสัดสวนพื้นที่ในขาวที่ใหแกฝายตางๆ ทั้ง 3 ฝายอยู ซึ่งจากแผนภูมิภาคผนวกที่ 1 แสดงใหเห็นอยาง ชัดเจนวา คูกรณีฝายที่ 1 (แหลงขาวฝายที่ 1) ที่สวนใหญมักเปนเจาหนาที่ภาครัฐจะไดสัดสวนพื้นที่ขาว (ทั้ง ภาพ เสียง และเนื้อหา) มากกวา คูกรณีฝายที่ 2 ซึ่งอาจเปนฝายคาน ชาวบานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน สส.ในพื้นที่ ผูนํา ศาสนา นักวิชาการ ชาวไทยมุสลิม องคกรภาคประชาชน ฯลฯ และยังมากกวาแหลงขาวฝายที่ 3 คือ คณะกรรมการ เพื่อความสมานฉันท(กอส.) นักวิชาการ ประชาชนในจังหวัดใกลเคียง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนหรือองคกรอื่นๆ ขอสังเกตอื่นๆ เรื่องลําดับของแหลงขาว จากการสังเกตพบวา โดยมากลําดับของแหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 จะปรากฏทั้งภาพ เสียง และเนื้อหากอนแหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 และ ฝายที่ 3 ตามลําดับ นอกจากนี้หากเปนแหลงขาวฝายเดียวกันก็จะมี ลําดับการเรียงที่เปนรูปแบบเหมือนกันคือ เรียงตามลําดับของสถานภาพ ตําแหนงที่สูงกวาไปต่ํากวาเสมอ และเปน เหมือนกันในแหลงขาวฝายที่ 2 และ 3 การใชเสียงบรรยายเนื้อหาและคําพูดโดยผูประกาศขาว ซึ่งพบวาแทบทุกชองและโดยมากมักใชเสียงของผู ประกาศขาวแทนเสียงของแหลงขาว และปรากฏมากในการรายงานขาวของแหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 และฝายที่ 3 ภาพตัวแทน (Representation) พบวาภาพตัวแทนสวนใหญมาจากการนําเสนอภาพของแหลงขาวดังนี้ แหลงขาวที่มักใหขอมูลของเหตุการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนใตมักเปนเจาหนาที่ฝายรัฐ


53

ภาพตัวแทนของแหลงขาวจากเจาหนาที่ฝายรัฐสะทอนแนวคิดเรื่อง “ความมั่นคงของชาติ” “การแกไขปญหาความไม สงบ” “การตอบโตความรุนแรง” และเปนภาระและหนาที่เฉพาะเจาหนาที่รัฐเทานั้นที่มีสิทธิใหขาวหรือแสดงความ คิดเห็นตอเหตุการณความไมสงบที่เกิดขึ้น ขณะที่ภาพตัวแทนของคนใต หรือคนมุสลิม อาจถูกเหมารวมไปในทางลบโดยมักเกี่ยวเนื่องกับ “การกอการราย” “การ สรางความไมสงบ” “ความปาเถื่อน-โหดเหี้ยม” ซึ่งอาจสรางภาพเหมารวมและความเขาใจผิดตอชาวไทยมุสลิม โดย เห็นไดชัดจากการคําขยายตอหรือภาษาที่ใชเรียกผูที่กอความไมสงบ เชน “คนราย” “กลุมผูไมหวังดีตอชาติ” “กลุมที่ หลงผิด” “กลุมผูกลับตัว” “โจรใต” ซึ่งพบทั้งจากการใหขอมูลของแหลงขาวที่เปนเจาหนาที่รัฐและจากคําที่ใชในการ รายงานขาว เชน “พวกนี้ก็ยังใชความโหดเหี้ยมทารุณ ในลักษณะที่เหมือนไมใชมนุษย ทั้งๆที่คนเหลานั้นก็ไมไดตอสูอะไร ทํารายแบบนี้ เนี่ย เราจะไมยอมใหสองคนนี้ตายฟรีแนนอน กฏหมายตองเปนกฏหมาย ไดบอกใหเจาหนาที่ทํางานเต็มที่ภายใต กฏหมาย แลวก็จับกุมดําเนินคดีโดยเด็ดขาด” นายกรัฐมนตรี, 21 กันยายน 2548 สถานีโทรทัศนชอง itv “ผูหลงผิดเขารวมกอความไมสงบในจังหวัดยะลา 19 คน เขารายงานตัวเขารวมพัฒนาชาติไทยกับพลตรีพงษศักดิ์ อินทรสงฆศักดิ์ เลขาธิการกองอํานวยการเสริมสรางสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต...” ผูประกาศขาว สถานีโทรทัศนชอง itv, 21 กันยายน 2548 “สําหรับที่จังหวัดนราธิวาสวันนี้มีผูหลงผิดขอเขาเปนผูรวมเสริมสรางสันติสุขอีก 60 คน ในจํานวนนี้เคยผานการฝก หลักสูตรคอมมานโดมาแลว 5 คน และการปลุกระดมอีก 55 คน...” ผูประกาศขาว สถานีโทรทัศนชอง 7, 25 กันยายน 2548 “มาดูเรื่องของนายทหารสองนายนะคะที่ถูกชาวบานควบคุมตัวเอาไวในหมูบานตันหยงลิมอก็ถูกฆาอยางโหดเหี้ยมแลว คะจากฝมือของกลุมวัยรุนที่หลงผิด...” ผูประกาศขาว สถานีโทรทัศนชอง 7, 21 กันยายน 2548 “...ที่รูชัดเจนเนี่ยสามคน เดี๋ยวผมไปหารือกอน ใหออกหมายกอน คนในนั้นแถวนั้นแหละ แลวก็มีสวนคายาเสพติดดวย ไอบาเนี่ย...” พล.อ.ธรรมรักษ อิศรางกูร ณ อยุธยา, 22 กันยายน 2548 สถานีโทรทัศนชอง 11 “...ลางสมองงายมาก เพราะวาคนมีการศึกษาที่เปนความรูอยางเหตุผลนอยไปนะครับ ถูกปลุกระดมงายมาก....” นายกรัฐมนตรี, 22 กันยายน 2548 สถานีโทรทัศนชอง 11 “...ไมมีคําวาเขตปลดปลอย ที่ไหนที่นี่ประเทศไทยทุกตารางนิ้วไมมีคําวาเขตปลดปลอย ลองใครบอกประกาศวาที่นี่เขต ปลดปลอย ผมจะไปลางใหดู...” นายกรัฐมนตรี, 22 กันยายน 2548 สถานีโทรทัศนชอง itv


54

“...การปฏิบัติหนาที่อยางสมเกียรติเยี่ยงชายชาติทหารอาจมิไดมีความหมายเลยกับกลุมโจรที่มีจิตใจโหดเหี้ยม สําหรับครอบครัวแลว เขาทั้งสองคนเปนวีรบุรุษที่เสียสละชีวิตเพื่อชาติอยางแทจริง” ผูรายงานขาว สถานีโทรทัศนชอง 5, 22 กันยายน 2548 “สังหารโหด 2 นาวิกโยธิน” เฮดไลน สถานีโทรทัศนชอง 3, 23 กันยายน 2548 “สังหารโหด นาวิกโยธิน” ผูรายงานขาว สถานีโทรทัศนชอง ชอง 5, 23 กันยายน 2548 “ผูกอเหตุมีจิตใจโหดเหี้ยมยิ่งกวาสัตวเดรัจฉาน” จากรายการนายกทักษิณคุยกับประชาชน สถานีโทรทัศนชอง 5, 24 กันยายน 2548 เปนตน

แต


55

2. การแทรกแซงกิจการสื่อ “แกรมมี่ซื้อหุน มติชน” และ “ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห” สรุปสาระสําคัญ: 1-แกรมมี่ซื้อหุนมติชน จีเอ็มเอ็มมีเดีย (มหาชน) บริษัทในเครือแกรมมี่ ยักษใหญดานสื่อบันเทิง ที่มีนายไพบูลย ดํารงชัยธรรม เปนประธาน กรรมการเปดการแถลงขาว การเขาถือหุน เครือบริษัท มติชน จํากัด (มหาชน) ที่มีหนังสือพิมพในกลุม คือ มติชน ประชาชาติธุรกิจ ขาวสด และนิตยสารอื่นๆ จํานวน 32.23 %และ เครือบริษัท โพสต พับลิชชิ่ง ที่มีหนังสือพิมพบางกอกโพสตและโพสตทูเดย 23.60 % โดยประกาศจะซื้อหุนมติชนเพิ่มใหครบ 75 % เพื่อเปนผูถือหุนรายใหญที่จะมีสิทธิในการเขาบริหารงานบริษัท มติชน ขาวเริ่มตนจากวันจันทรที่ 12 กันยายนและดําเนินไปอยางเขมขนเปนเวลา 5 วัน จนมีการเจรจา - แถลงการณรวม ระหวาง นายขรรคชัย บุนปาน แหงมติชน กับ นายไพบูลย ดํารงชัยธรรม โดยฝายแกรมมี่ยุติการเทคโอเวอรใน วันศุกรที่ 16 กันยายน เรื่องราวยุติระดับหนึ่งเมื่อมีการออกแถลงการณรวม ฝายจีเอ็มเอ็ม ยุติการเคลื่อนไหว ยอมลดสัดสวนการถือหุนลงเหลือ 20 % และขายสวนที่เกินคืนใหกับมติชน กลาวไดวา มีผลจากปฏิกิริยาพลังประชาชน นักวิชาการ และองคกรสื่อรวมกันเรียกรอง คัดคานการเทคโอเวอร อยาง กวางขวางและกระแสการ “บอยคอต” สินคาในเครือ แกรมมี่ นาจะมีผลตอการที่จีเอ็มเอ็ม ยอมลดสัดสวนการถือหุนลง ขณะที่มี ขอสังเกตวาประเด็นการนําเสนอขาว การเขาซื้อหุนเครือบริษัท โพสต พับลิชชิ่ง โดย จีเอ็มเอ็มเชนกัน มีสัดสวนขาวนอยกวา 2-ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห ในชวงเวลาใกลเคียงกัน คณะกรรมการบริหารบริษัท อสมท.จํากัด (มหาชน) โดยนายเรวัตร ฉ่ําเฉลิม อดีต อัยการสูงสุด ในฐานะประธานกรรมการบริหารบริษัท อสมท.และนายธงทอง จันทรางศุ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ในฐานะกรรมการบริหาร บริษัท อสมท. รวมกันแถลงการณ การถอดรายการ เมืองไทยรายสัปดาห ที่ดําเนินรายการโดย นาย สนธิ ลิ้มทองกุล ผูกอตั้ง หนังสือพิมพผูจัดการ และ นางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ ผูรวมดําเนินรายการ (ทั้ง 2) เนื่องจากมีการนําเสนอเนื้อหา กาวลวงสถาบัน พระมหากษัตริย ความเคลือบแคลงใจในประเด็นการแทรกแซงกิจการสื่อนี้ สวนหนึ่งมาจาก ความสัมพันธระหวางนายไพบูลย กับ พตท. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เมื่อครั้งเปนตัวแทนการติดตอซื้อหุน สโมสรฟุตบอล ลิเวอรพูล ประเทศอังกฤษ นํามาสูคําถามวา นายกรัฐมนตรีมีสวนพัวพันในกรณีนี้ดวยหรือไม ซึ่งนายกรัฐมนตรีไดตอบปฏิเสธตอผูสื่อขาว ในชวง นายกฯพบสื่อมวลชน วาไมได มีความเกี่ยวของในกรณีดังกลาวแตอยางใด

ผลการศึกษา การแทรกแซงกิจการสื่อ “แกรมมี่ซื้อหุนมติชน” และ “ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห” ทีมงานศึกษาฯ ไดแยก ประเด็นออกเปน 2 ประเด็นโดยยึดความแตกตางระหวางเหตุการณขาวและบริบทสถานการณที่มีนัยยะแตกตางกัน คือ 1) ประเด็นแกรมมี่ซื้อหุนมติชน คือ เหตุการณขาวเรื่องที่บริษัท จีเอ็มเอ็มมีเดีย จํากัด (มหาชน) เขาซื้อหุนในบริษัทมติ ชน จํากัด (มหาชน) โดยมีประเด็นยอยคือ 1.การทําธุรกิจสื่อ และ 2.คือการแทรกแซงและควบกิจการสื่อ 2) ประเด็นปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห คือ เหตุการณขาวเรื่องที่ บริษัท อสมท. จํากัด (มหาชน) สั่งปลดรายการ เมืองไทยรายสัปดาห ที่มีนายสนธิ ลิ้มทองกุล และ นางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ เปนพิธีกร โดยมี 2 ประเด็นยอยคือ 1. การหมิ่นพระบรมราชานุภาพและหมิ่นประมาทนายกรัฐมนตรี และ 2. คือการแทรกแซงสิทธิและเสรีภาพสื่อใน การแสดงออก


56

จากการศึกษาพบวา 1) ประเด็นแกรมมี่ซื้อหุนมติชน (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 6-7 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมีปริมาณเฉลี่ยใกลเคียงกัน ระหวางคูกรณีฝายที่ 1 ไดแก นายไพบูลย ดํารง ชัยธรรม ประธานกรรมการบริษัทจีเอ็มเอ็ม จํากัด (มหาชน) และนายสุเมธ ดํารงชัยธรรม รองกรรมการ ผูอํานวยการอาวุโส GMM ขณะที่ “ภาพ” ของคูกรณีฝายที่ 2 และ ฝายที่ 3 ซึ่งปรากฏมากกวา ไดแก กลุม นักวิชาชีพหนังสือพิมพของมติชนและขาวสด และสื่ออื่นๆ สวนฝายที่ 3 ไดแก สว.เจิมศักดิ์ ปนทอง, มานิจ สุขสมจิตร อดีตประธานสภาการหนังสือพิมพ และกลุมนักวิชาการดานสื่อมวลชน “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 2 ไดแก บรรณาธิการอํานวยการมติชน ขณะที่ “เสียง” ของแหลงขาวที่เปนคูกรณีฝายที่ 1 และ ฝายที่ 3 ปรากฏนอยกวา “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ คูกรณีฝายที่ 2 รองลงมาคือคูกรณีฝายที่ 1 และ ฝายที่ 3 ตามลําดับ ขอสังเกต พิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 คือ กลุมนักวิชาชีพหนังสือพิมพ และ ฝายที่ 3 คือ นักวิชาการดานสื่อ มีพื้นที่ใน “ขาว” มากกวาแหลงขาวฝายที่ 1 คือ กลุมนายทุนฝงบริษัทจีเอ็มเอ็ม จํากัด (มหาชน) 2) ประเด็นปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 8-9 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก ผูบริหารระดับสูงของบริษัท อสมท. จํากัด (มหาชน) ขณะที่ “ภาพ” ของแหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 และฝายที่ 3 ปรากฏนอยกวา “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏพบนอยมาก โดยชองที่พบวามีการปลอยเสียงของแหลงขาวคูกรณีทั้ง 2 ฝายคือ ชอง 9 และชอง itv ขณะที่ชองอื่นๆ ไมมีการปลอยเสียงในรายการขาวภาคค่ํา “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก ผูบริหารระดับสูงของบริษัท อสมท. จํากัด (มหาชน) ขณะที่ “เนื้อหา” ของแหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 และฝายที่ 3 ปรากฏนอยกวา ขอสังเกต พิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวฝายที่ 1 คือ ผูบริหารระดับสูงของบริษัท อสมท. จํากัด (มหาชน) มีพื้นที่ใน “ขาว” มากกวา แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 คือ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผูดําเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห หรือฝาย นายกรัฐมนตรีและ ฝายที่ 3 คือ ฝายราชสํานัก จากประเด็นขาวเกี่ยวกับการแทรกแซงกิจการสื่อทั้ง 2 ประเด็น เมื่อพิจารณาในเรื่อง “ความเปนธรรม” หรือ “การให สัดสวนพื้นที่ในขาว” ในการรายงานขาวโทรทัศนทั้ง 6 ชองสถานีโทรทัศน โดยแบงแหลงขาวออกเปน 3 ฝายคือ “คูกรณีฝายที่ 1คูกรณีฝายที่ 2-ฝายที่ 3” (หรือเรียกสั้นๆ วา “ฝายที่ 1-ฝายที่ 2-ฝายที่ 3”) โดยนําการปรากฏของ “ภาพ-เสียง-เนื้อหา” จาก แหลงขาวทั้ง 3 ฝายมาพิจารณาจะไดผลรวมของสัดสวนพื้นที่ของแหลงขาวแตละฝายดังตารางและแผนภูมิดังนี้


57

ลําดับที่ รวม 1 2 3 4

ตารางที่ 12 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาวการแทรกแซงกิจการสื่อ ประเด็น: “แกรมมี่ซื้อหุนมติชน” แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3 ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ นายไพบูลย GMM นายสุเมธ รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส GMM ธ.ไทยพาณิชย ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย

25 10 10 3 2

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

นายพิเชียร บก.อํานวยการมติชน นายฐากูร บก.ขาวสด สส.ฝายคาน นายพงษศักดิ์ พยัฆวิเชียร นายจุรินทร สส ประชาธิปตย นายองอาจ สส ประชาธิปตย นายขรรคชัย บุนปาน นาย หงา คาราวาน นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน ประชาชนใหกําลังใจ นายบุญเลิศ ชางใหญ บกอาวุโส มติชน นายภัทระ คําพิทักษ บก.โพสตทูเดย นายเทพชัย หยอง บก เครือเนชั่น นายอลงกรณ สส ประชาธิปตย นายพิภพ ธงไชย

67 9 7 7 5 5 5 5 4 4 4 3 3 2 2 2

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

สว.เจิมศักดิ์ นักวิชาการสื่อคนอื่นๆ นายมานิจ สุขสมจิต อดีตประธานสภาการ หนังสือพิมพ สว.แกวสรร รศ.ดร.พันธุทิพย นักวิชาการกฏหมาย รองนายก วิษณุ นายกิตติรัตน (กลต.) นายธนวิบูลย นักกฎหมายระหวางประเทศ นายกรัฐมนตรี ดร.เจษฏ นักวิชาการกฎหมาย เอแบคโพล นายสมเกียรติ พงศไพบูลย นักวิชาการ นายอนุสรณ ศรีแกว นักวิชาการนิเทศศาสตร นายเอนก เหลาธรรมทัศน ที่ปรึกษา อธิการบดี ม.ธุรกิจบัณฑิตย รมว.สํานักนายก สุรนันทน

หนวย 54 8 7 6 6 4 4 4 3 2 2 2 2 2 2 2


58

แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ (2. ปญหาการแทรกแซงกิจการสื่อ-แกรมมี่ซื้อหุนมติชน) 80

67

70

54

หนวย

60

ฝายที่ 1

50 35

40 30 20 10

24

27

23

ฝายที่ 2 25

ฝายที่ 3

15 8

2

8

4

0

ภาพ

เสีย ง

เนื้อหา

แผนภูมิที่ 3 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของแหลงขาวฝายตางๆ (2. การแทรกแซงกิจการสื่อ-แกรมมี่ซื้อหุนมติชน)

รวม


59

ลําดับที่ รวม 1 2 3

ตารางที่ 13 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาวการแทรกแซงกิจการสื่อ ประเด็น: “ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห” แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3 ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ ประธานกรรมการ บมจ อสมท เรวัติ กรรมการ บมจ. อสมท ธงทอง ประธานกรรมการผูอํานวยการใหญ อสมท มิ่งขวัญ

22 9 7 6

1 2 3

นายสนธิ ผูดําเนินรายการเมืองไทยราย สัปดาห นางสาวสโรชา ผูดําเนินรายการเมืองไทย รายสัปดาห ทนายของนายสนธิ

14 12 1 1

1 2 3

นายกรัฐมนตรี รองราชเลขาธิการองคมนตรี สนอง ราชเลขาธิการองคมนตรี อาสา

หนวย 7 3 2 2


60 แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ (2. ปญหาการแทรกแซงกิจการสื่อ-เมืองไทยรายสัปดาห) 25

22

หนวย

20 14

15 10

ฝายที่ 1 ฝายที่ 2

10

9

7 5

5 3

5

7

1

2

ฝายที่ 3

1

0

ภาพ

เสีย ง

เนื้อหา

รวม

แผนภูมิที่ 4 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของแหลงขาวฝายตางๆ (2. ปญหาการแทรกแซงกิจการสื่อ-เมืองไทยรายสัปดาห)

จากตารางและแผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ ขางตน พบวา เรื่องความสมดุล (Balance) พบวา การนําเสนอขาว “ปญหาการแทรกแซงกิจการสื่อ” คงมีความสมดุลของ แหลงขาวอยู เพราะปรากฏวาพบการนําเสนอแหลงขาวทั้ง 3 ดาน และไมใชทุกชองจะนําเสนอขาวนี้ในรูปแบบของ เนื้อขาวปกติ แตมักใชลักษณะของการ “สรุปขาวสั้นๆ” เพียงประมาณ 10-30 วินาที เรื่องสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) พบวา การนําเสนอขาว “ปญหาการแทรกแซงกิจการสื่อ” ยังบกพรอง เรื่องความเปนธรรมในสัดสวนของพื้นที่ในขาวที่ใหแกฝายตางๆ ทั้ง 3 ฝายอยูเพราะปรากฏวามีความแตกตางเล็กนอย ระหวางสัดสวนพื้นที่ในขาวของฝายที่ 1, 2 และ 3 ขอสังเกตอื่นๆ เรื่องการใหความสําคัญของขาว พบวาแตละชองนําเสนอขาว 2 ประเด็นนี้แตกตางกันไป 2 รูปแบบคือ 1.เปนขาว นํา ขาวเดนประจําวัน และ 2. เปนขาวยอยสั้นๆ โดยมักปรากฏเปนสรุปขาวสั้นๆ มากกวา กรณีการแทรกแซงสื่อซึ่งพาดพิงถึงนายกรัฐมนตรีและรัฐบาล แตปรากกฎวามีภาพ เสียง และเนื้อหาจากฝาย นายกรัฐมนตรีนอยกวามาก ทั้งนี้พบวาเปนเพราะบางชองมีการนําเสนอภาพ เสียงและเนื้อหาของนายกรัฐมนตรีไปไว ในขาวตนชั่วโมงชวงเย็น หรือบางชองนําเสนอในรายการขาวชวงดึก ภาพตัวแทน (Representation) พบวาภาพตัวแทนสวนใหญมาจากการนําเสนอภาพของแหลงขาวดังนี้ เนื่องจากเหตุการณการแทรกแซงสื่อเกี่ยวของกับภาพตัวแทนของ “สื่อ” และ “รัฐ” แตปรากฏวามีภาพตัวแทนของ “นายทุน” และ “เจาหนาที่รัฐ” เขามาเปนตัวกลางระหวางความขัดแยงของคูกรณีทั้ง 2 ฝายซึ่งอาจสะทอนภาพตัวแทน วาสื่อเปน “เครื่องมือของรัฐ” และภาพตัวแทนของการแทรกแซงสื่อทางดานสิทธิและเสรีภาพในการ ภาพตัวแทนของสื่อ เชน “มติชน” และ “สนธิ ลิ้มทองกุล” สะทอนความหมายของการ “ตรวจสอบการทุจริตของ รัฐบาล” และในอีกทาง ภาพตัวแทนของสื่อก็สะทอนความหมายของ “สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น” ขณะที่ภาพตัวแทนของรัฐบาลในการแทรกแซงกิจการสื่อก็สะทอนวา “ใชอํานาจทางเศรษฐกิจ” และ “อํานาจทาง กฎหมาย” ในการแทรกแซงสื่อ


61

3. กรณี “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง สรุปสาระสําคัญ: เชาวันที่ 9 กันยายน 2548 เกิดเหตุคนรายเปนหญิง อาละวาดใชมีดไลแทง นักเรียนโรงเรียนเซนตโยเซฟคอนแวนต ยานสี ลม จํานวน 4 คน คือ ดญ.ชญมน ไตรเลิศสมุทร อายุ 14 ป ม.2, ดญ.จิณหจุฑาฤกษ ศิรินิกูล อายุ 13 ป ม.2, ดญ.ชมณรรฐ อารีฟ อายุ 12 ป ป.6 และด.ญ.อภิษฐา บุญนํา อายุ 14 ป ม.2 โดย 2 คนหลังอาการสาหัสเพราะถูกแทงหลายแผลและเปนบาดแผล ฉกรรจกระทบถึงอวัยวะภายใน โดยทั้งหมดถูกสงเขาโรงพยาบาลบางกอก เนอรสซิ่งโฮม ที่อยูใกลๆ กับโรงเรียน โดยคนรายเปนหญิงวัยกลางคนอายุราวๆ 30- 35 ป ผิวดําแดง สูง 156 – 160 ซม. ตัดผมบอบสั้น สวมเสื้อสีดํา สวม กางเกงกระโปรงสีชมพู หลังกอเหตุเดินออกจากโรงเรียน ปะปนกับผูปกครองโดยไมมีใครทราบ ในภายหลังทราบชื่อวา น.ส. จิตรลดา ตันติวาณิชยสุข หรือเปด อายุ 36 ป ชาว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ซึ่งภายหลังกอเหตุ ตร. สืบทราบวาไดวาจาง จักรยานยนตรับจางหนาโรงเรียนใหไปสงที่ยาน สะพานเหลือง หัวลําโพงหลังจากกอเหตุแทงนักเรียน ภายหลังจากถูกจับกุม น.ส.จิตรลดาใหการวา ตนไดกอเหตุจริง โดยอางวามีเสียงกองในหัว สั่งใหลงมือ ประกอบกับไม ชอบคนที่มีฐานะโดยเฉพาะที่มีเชื้อสายอินเดียและจีน ผลคําใหการที่สับสนและวกวน นําไปสูการตั้งขอสันนิษฐานวา คนรายอาจมี อาการทางจิต เมื่อ ตร.ไดทําการคนประวัติจึงพบวา น.ส.จิตรลดา เคยเขารักษาอาการทางประสาท 2 ครั้ง เมื่อ 10 ปกอน ประเด็นดังกลาวนําไปสูความเคลือบแคลงใจของเจาหนาที่วา น.ส.จิตรลดา กระทําการลงไปดวยสภาพจิตที่สามารถ แยกแยะผิดถูกดีชั่ว ไดหรือไม ซึ่งหากผลสรุปวามีอาการทางจิตไมสามารถควบคุมตัวเองไดจะถือวาไมมีความผิด เจาหนาที่จึงได สงตัว น.ส.จิตรลดา ใหคณะแพทยที่ สถาบันกัลยาราชนครินทร กรมสุขภาพจิต ตรวจสอบสภาพจิตใจอยางละเอียด โดยมี นายแพทย ศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน ผอ.สถาบันตั้งทีมงานวิเคราะหเพื่อสรุปผลเสนอตอเจาหนาที่ตํารวจเปนเวลา 2 สัปดาห ซึ่งผลการ วิเคราะหไดสรุปวา น.ส.จิตรลดา มีอาการทางจิตจริง ซึ่งตองไดรับการบําบัด

ผลการศึกษา กรณี “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง ทีมงานศึกษาฯ ไดแยกประเด็นออกเปน 2 ประเด็นโดยยึดความ แตกตางระหวางเหตุการณขาวและบริบทสถานการณที่มีนัยยะแตกตางกัน คือ 1) ประเด็นกอนจับตัวผูกอเหตุ คือ เหตุการณขาวชวงที่มีการติดตามผูกอเหตุ และเมื่อจับไดนํามาใหการ 2) ประเด็นหลังจับตัวผูกอเหตุ คือ เหตุการณขาวชวงหลังจากจับตัวไดและทําแผน โดยสงตัว “จิตรลดา” ใหแพทย วินิจฉัยโรคและตรวจสอบสภาพจิตใจ และกระบวนการดําเนินทางกฎหมายและทางแพทย จากการศึกษาพบวา 1) ประเด็นกอนจับตัวผูกอเหตุ (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 10-11 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก ตํารวจ พยาน เด็กนักเรียน ผูปกครอง และอาจารย รองลงมาคือแหลงขาวฝายที่ 3 คือ แพทยที่ทําการรักษาเด็กนักเรียนที่ถูกแทง รัฐมนตรีชวยวา การกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีวาการ/ชวยกระทรวงศึกษาธิการ ขณะที่ “ภาพ” ของผูกระทําผิด (คูกรณีฝายที่ 2) ปรากฏในลักษณะภาพรางประกาศจับออกในสื่อแทบทุกชอง “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก พอแมผูปกครองของเด็กที่ถูกทําราย และตํารวจที่ติดตามคดี ขณะที่ “เสียง” ของแหลงขาวฝายที่ 3 นั้นปรากฏนอยกวา


62

“เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากคือ แหลงขาวฝายที่ 1 ไดแก ตํารวจที่ติดตามคดี พยาน เพื่อนเด็ก นักเรียน ผูปกครอง และรัฐมนตรี ขณะที่ “เนื้อหา” ของแหลงขาวฝายที่ 3 และ 2 นั้นปรากฏนอยกวา ขอสังเกต พิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 และฝายที่ 3 มีพื้นที่ใน “ขาว” ใกลเคียงกัน คือ ระหวางเจาหนาที่ตํารวจ พยาน เด็กนักเรียนที่ถูกทํารายและแพทยที่รักษาเด็กที่ถูกแทง รัฐมนตรีชวยกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ 2) ประเด็นหลังจับตัวผูกอเหตุ (ดูตารางที่ภาคผนวกที่ 12-13 ประกอบ) กรณีนี้เกิดการกลับขางฝายของแหลงขาว คือ จากเดิมที่ “ผูกอเหตุ-จิตรลดา” เปนคูกรณีฝายที่ 2 แตหลังจากถูกจับ ก็กลายเปนคนกลางของความขัดแยงระหวาง กระบวนการทางกฎหมาย และกระบวนการทางการแพทย ดังนั้น คูกรณีที่ 2 และ ฝายที่ 3 ในประเด็นชวงกอนจับตัว ไดจึงสับเปลี่ยนกันในประเด็นหลังการจับกุมตัวได “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 3 ไดแก ภาพของ “จิตรลดา” และแพทยที่ โรงพยาบาลที่จิตรลดาเคยรักษาตัว และมารดาของจิตรลดา ขณะที่ “ภาพ” ของแหลงขาวฝายที่ 1 ปรากฏ นอยกวา คือ จิตแพทย รัฐมนตรีชวยกระทรวงสาธารณสุข และคูกรณีฝายที่ 2 ปรากฏนอยสุดคือ ตํารวจ เจาของคดีและเจาหนาที่ฝายสืบสวน “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 1 คือจิตแพทยผูวินิจฉัยภาวะทางจิตและ แพทยที่เคยรักษาอาการทางจิตของ “จิตรลดา” ขณะที่เริ่มปรากฏเสียงของคูกรณีฝายที่ 2 คือ ตํารวจ เจาของคดีและเจาหนาที่สอบสวนนอยกวา “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวฝายที่ 3 ไดแก “จิตรลดา”และ แพทยที่เคยรักษา อาการทางจิตของ “จิตรลดา” รองลงมาคือ เนื้อหาของคูกรณีฝายที่ 1 คือ จิตแพทย และนอยสุดคือ เนื้อหา ทางดานตํารวจเจาของคดี ขอสังเกต การเกิดความขัดแยงขึ้นระหวาง แพทย และ ตํารวจเริ่มปรากฏชัดขึ้นและสงผลตอการนําเสนอ และรายงานขาวโทรทัศนเกือบทุกชอง ใหเปลี่ยนประเด็นในการรายงาน ดังนั้นเราจึงพบวา แหลงขาวที่ได พื้นที่ในขาวมากกวาคือ ตํารวจ พยาน พอแมผูปกครอง และเพื่อนเด็กนักเรียน หลังจากจับตัวได แหลงขาวที่ไดพื้นที่ในการรายงานขาวมากกวาคือ จิตแพทย และแพทยที่เคยรักษา อาการของจิตรลดา โดยมีพื้นที่ทาง ภาพ เสียง และเนื้อหามากกวาฝายตํารวจมาก


63

ลําดับที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ตารางที่ 14 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาว “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง (ประเด็น กอนจับได) แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3 ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ พล.ต.ท.โกสินทร ผูปกครองของเด็กที่ถูกทําราย ผบ.นครบาล พล.ต.ท.ปานศิริ มอเตอรไซดรับจาง เด็กนักเรียนเซ็นตโยฯ คุณหญิงพจมาน(ศิษยเกา) ผบ.ตร.แหงชาติ โกวิท คุณหญิงสุดารัตน (ศิษยเกา) เจาของรานครัวตานอย เด็กนักเรียนที่ถูกทําราย ผูปกครองเด็กเซ็นตโย ชูวิทย พนักงานครัวตานอย อธิการโรงเรียน ครู

104 14 12 12 12 11 7 7 7 7 5 3 2 2 2 1

1

นางสาวจิตรลดา

9 9

1 2 3 4 5 6 7 8

แพทย BNH รมว.ก.สาธารณสุข สุชัย รมว.ก.ศึกษาธิการ จาตุรนต รมช.สาธารณสุข อนุทิน มารดาของจิตรลดา ผูวากทม. อธิบดีกรมสุขภาพจิต นายกรัฐมนตรี

หนวย 69 18 13 10 9 7 6 4 2


64

ลําดับที่ รวม 1 2 3 4 5 6

ตารางที่ 15 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาว “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง (ประเด็น หลังจับได) แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3 ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ นายแพทยกัมปนาท รมช.ก.สาธารณสุข อนุทิน แพทยหญิงที่เคยรักษาจิตรลดา นายคัมภีร (อัยการสูงสุด) อธิบดีกรมสุขภาพจิต ม.ล.สมชาย

61 27 9 9 8 5 5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

พล.ต.ท.โกสินทร ผบ.ตร.นครบาล ปานศิริ ตํารวจทําแผนประกอบคํารับสารภาพ รองผกก.นครบาล รองผบ.นครบาล เด็กนักเรียนที่ถูกทําราย พนักงานรักษาความปลอดภัย ผูปกครองเด็กนร.เซ็นตโย ผอ.โยนออฟอารค เด็กนักเรียนเซ็นตโย

44 14 5 5 4 3 3 3 3 3 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

จิตรลดา นายแพทย BNH มารดาของจิตรลดา นายสมศักดิ์ สส ชาติไทย นางสาวจนิสตา (ศิษยเกา) นายแพทยทศพร เสรีรักษ ผอ.รพ.ศรีธัญญา ผอ.โรงพยาบาล BNH คุณหญิงสุดารัตน (ศิษยเกา) นายแพทยทวีศิลป

หนวย 78 25 22 9 6 4 4 3 2 2 1


65

แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของ แหลงขาวฝายตางๆ (3. ปญหา "จิตรลดา" บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง-กอนจับได) 120

104

100 69

หนวย

80 60

ฝายที่ 2

46

40 30

40 20

ฝายที่ 3

29 18

10

4

0

ภาพ

เสีย ง

ฝายที่ 1

5

9

เนื้อหา

รวม

0

แผนภูมิที่ 5 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของแหลงขาวฝายตางๆ (3. ขาว "จิตรลดา" บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง-กอนจับได)

หนวย

แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของ แหลงขาวฝายตางๆ (3. ปญหา "จิตรลดา" บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง-หลังจับได) 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

78 61 38 30 23

18

24 14 6

ภาพ

เสีย ง

44

ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3

20

10

เนื้อหา

รวม

แผนภูมิที่ 6 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของแหลงขาวฝายตางๆ (3. ขาว "จิตรลดา" บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง-หลังจับได)

จากตารางและแผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ ขางตน พบวา เรื่องความสมดุล (Balance) พบวา การนําเสนอขาว “ปญหา “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง” คงมี ความสมดุลของแหลงขาว เพราะปรากฏวาพบการนําเสนอแหลงขาวทั้ง 3 ดานและคอนขางเหมือนกันในทุกชอง เรื่องสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) พบวา การนําเสนอขาว “จิตรลดา” บุกโรงเรียนสตรีแทงเด็กหญิง คงมีความเปนธรรมในสัดสวนของพื้นที่ในขาวที่ใหแกฝายตางๆ ทั้ง 3 ฝาย (จากแผนภูมิภาคผนวกที่ 4-5) และพบวามี การเปลี่ยนสัดสวนพื้นที่ในขาวของแหลงขาวจากฝาย “ตํารวจ” มาเปนฝาย “หมอ” ในภายหลัง ขอสังเกตอื่นๆ


66

เรื่องการใหความสําคัญของขาว พบวา แตละชองนําเสนอขาวโดยใหความสําคัญอยางมากเหมือนกันทุกๆ ชอง และนําเสนออยางตอเนื่อง มีการใชคําขยายเชิงตัดสินและประณาม จากการใชภาษาของผูประกาศขาวเชน “คนราย” “วิกลจริต” “ทอมโรค จิต” ในการายงานขาวกอนที่จะจับตัวผูกอเหตุได ตัวอยางการใชคําขยาย ภาษาเชิงตัดสินและประณาม เชน “...ที่มุมจอดานลาง เปนภาพสเก็ตชของคนราย เปนผูหญิง ลักษณะคลายๆกับทอม...เปนผูหญิงอายุประมาณ สามสิบ เปนมือมีดที่เขาไปกอเหตุตั้งแตชวงเชา...” ผูประกาศขาวชอง 3 , 9 กันยายน 2548 “บางกระแสบอกวาคนรายคนนี้เปนโรคจิตหรือเปลา แตสําหรับพล.ต.ต.โกสิทนทร หินเธาวบอกวาไมนาจะเปนโรค จิตนะคะ คือเปนหญิงทาทางคลายทอม รูปรางสูงผอมประมาณ 170 เซนติเมตร อายุประมาณ 20 -30 ป ผมสั้นคะ มีพฤติกรรมคลายทอม ชอบนั่งยิ้มคนเดียวและบิดคอไปมา” ผูประกาศขาวชอง 3, 9 กันยายน 2548 “ตํารวจไดเบิกตัวนางสาววนิดา ตันติวาณิชยสุข ผูตองหามาใหนักจิตวิทยาตรวจสอบสภาพทางจิตวามีความผิดปกติ หรือไม ใชเวลาประมาณหนึ่งชั่วโมง ผูตองหามีทาทีไมสะทกสะทานหรือหวาดวิตกที่จะตองตอบคําถาม และทันที่ที่ นําตัวกลับหองควบคุม ผูตองหาไดลมตัวลงนอนดวยความสบายใจ” ผูประกาศขาวชอง 9, 11 กันยายน 2548 “นางสาววนิดา ตันติวนิชสุข (แมของจิตรลดา) ยังคงมีสีหนาและทีทาที่ไมสะทกสะทานในขณะที่ตํารวจนําตัวไปทํา แผนประกอบคํารับสารภาพในชวงเวลาที่แทงเด็กนักเรียน 4 คนจนไดรับบาดเจ็บสาหัส” ผูรายงานขาว สถานีโทรทัศนชอง itv, 11 กันยายน 2548 หรือการใชภาษาจากแหลงขาว โดยเฉพาะฝายเจาหนาที่รัฐ (ตํารวจ) “...เห็นไหมครับ แสดงวาปกปดหลักฐานในการกระทําผิด เสื้อผาเปอนเลือดแลวไปซื้อชุดใหม เราก็ไปสอบเรียบรอย แลวที่รานคา แลวก็เอาใสถุงไปทิ้งขยะ อยางนี้รับผิดชอบชั่วดีแนนอน…” พล.ต.ต.โกสินทร หินเธาว ผูบ ังคับการตํารวจนครบาล 5, 11 กันยายน 2548 สถานีโทรทัศนชอง itv “คือเขาก็แบบ เหมือนวาเปนโรคจิตคะ แตวาในความรูสึกคือไมอยากใหเขาเปนโรคจิต เพราะวาถาเปนโรคจิตเนี่ยเอา ความผิดคนรายไมไดคะ ถาผลการตรวจออกมาวาถาตอนที่เขาทําเขามีสติพอ ก็อยากใหเอาผิดถึงที่สุดเพราะวามัน เปนสิ่งที่สะเทือนขวัญคนทั้งประเทศ เพราะวาไมเคยเกิดขึ้นกับเมืองไทยอยูแลว...” เพื่อนนักเรียนที่ถูกแทง, 11 กันยายน 2548 สถานีโทรทัศนชอง 3


67

ไมปรากฏวาการรายงาน “จิตรลดา” สิ้นสุดตรงไหน หรือมีการเสริมสรางมาตรการทางสังคมตอ “ผูปวยทางจิต” ตอไป แตอยางใด

ภาพตัวแทน (Representation) พบวาภาพตัวแทนสวนใหญมาจากการนําเสนอภาพของแหลงขาวดังนี้ จากการใชคําวา “คนราย” และ “วิกลจริต” “ทอมสาว” ประกอบกันในการรายงานขาวอาจกอใหเกิดภาพเหมารวม ที่ กอใหเกิดความเขาใจผิดและภาพตัวแทนที่ตอกย้ําความเชื่อตอคนกลุมตาง ๆ คือ “คนปวย=คนราย” และ “ทอม= วิกลจริต” ได ซึ่งอาจเปนความเขาใจที่ไมถูกตองและไมยุติธรรมสําหรับกลุมบุคคลเหลานี้ การใชคําวา “คนราย” ในการรายงานขาวอาจมีการชี้นําและตัดสิน แมพบวามีหลักฐานชี้ชัดและหมดขอสงสัย อยางไร ก็ตาม หากยังไมสิ้นสุดกระบวนการทางยุติธรรมก็ไมควรใชคําเหลานี้ เพราะอาจสงผลตอการตัดสินทางคดี และเปน การลงโทษทางสังคมโดยลวงหนา ควรใชคําวา “ผูตองสงสัย” หรือ “ผูตองหา” แทนและควรเปนมาตรฐานเดียวกันใน การรายงานขาว ภาพตัวแทนของ “ตํารวจ” ถูกสะทอนวา จะตองดําเนินการกับ “ผูผิด” หรือ “อาชญากร” และมีการลงโทษทาง กฎหมาย ไมวาจะเปนผูปวยทางจิตหรือไม (จากการใหสัมภาษณของแหลงขาวฝายตํารวจเอง) ภาพตัวแทนของ “หมอ” หรือ “จิตแพทย” ถูกสะทอนวา ไมวาจะเปนผูกระทําผิด หรือไม หากเปน “ผูปวย” ก็ตองไดรับ การเยียวยารักษา


68

4. การสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแผนดิน (สตง.) สรุปสาระสําคัญ: คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา เปนผูวาการตรวจเงินแผนดิน คนแรกตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 โดยไดรับการโปรดเกลา เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2545 แตหลังจากที่ดํารงตําแหนงเปนเวลา 1 ป 6 เดือน การดํารงตําแหนงของคุณหญิงจารุวรรณ ถูกตั้ง คําถามโดย สมาชิก วุฒิสภาจํานวน 7 คน นําโดย พ.ต.อ.สุรพงษ ไผนวล ส.ว.บุรีรัมย ใชสิทธิตามรัฐธรรมนูญขอใหศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัย ขั้นตอน การสรรหาผูวาการตรวจเงินแผนดินวาขัดรับธรรมนูญหรือไม เนื่องจาก การที่ประธานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน เสนอชื่อผูสมควรเปนผูวาการตรวจเงินแผนดิน จํานวน 3 คน และวุฒิสภามีมติเลือกผูวาการฯ 1 คน จากจํานวน 3 คน ทั้งที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดินฯ ระบุวาใหเสนอรายชื่อ 1 คน ใหวุฒิสภาเลือกเทานั้น ซึ่งตอมาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวา การสรรหาไมถูกตอง วุฒิสภาจึงเริ่มกระบวนการสรรหาใหมและไดมีมติเลือก นายวิสุทธิ์ มนตรีวัตร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2548 ขึ้นเปนผูวา การตรวจเงินแผนดินคนใหม ทามกลางเสียงคัดคานจากหลายฝายวา คุณหญิงจารุวรรณ ยังไมพนจากตําแหนง เนื่องจากยังไมมี พระราชโองการโปรดเกลาฯใหพนจากตําแหนง ความเห็นที่แตกตางนี้ นําไปสูการเรียกรองของวุฒิสมาชิกเสียงขางนอย นักวิชาการ รวมถึง นายเสนาะ เทียนทอง และ นายประมวล รุจนเสรี ลารายชื่อ สส.จากกลุมวังน้ําเย็น 60 คน (ซึ่งภายหลังบางคนถอนตัว) ทําหนังสือถึง ประธานวุฒิสภา เมื่อ วันที่ 25 พฤษภาคม 2548 ขอใหประธานวุฒิสภา ระงับการนําเสนอชื่อ นายวิสุทธิ์ ขึ้นทูลเกลาฯ จากการเคลื่อนไหวของกลุมวังน้ํา เย็นจึงทําใหประเด็นดังกลาวกลายเปนปญหาในสภาผูแทนราษฎร ในขณะเดียวกัน นายสุชน ชาลีเครือ ประธานวุฒิสภา กลับเสนอชื่อ นายวิสุทธิ์ ขึ้นทูลเกลาฯ ซึ่งไมไดเปดเผยตอ สาธารณะชนอยางเปนทางการวาไดทูลเกลาฯ เมื่อใด แตเมื่อเวลาผานไปนับเดือน ก็ไมปรากฏวาจนบัดนี้ ก็ยังไมมีพระบรมราช โองการแตงตั้งนายวิสุทธิ์ลงมา ผลที่เกิดขึ้นภายในเดือน กันยายนมี 2 ประเด็น คือ การเคลื่อนไหวของกลุม ส.ส.ไทยรักไทยเพื่อขับ นายประมวล รุจนเสรี ออกจากพรรค การถกเถียงในการออกหนังสือที่ชื่อวา “พระราชอํานาจ” รวมถึงการเคลื่อนของกลุม สว.เสียงสวนนอย เรียกรองนาย สุชน ชาลีเครือ ประธานวุฒิสภาออกมาแสดงความรับผิดชอบ หลังจากเสนอชื่อผูวาการฯ คนใหม ผานพนไป 90 วันยังไมไดรับการ ลงประปรมาภิไธย ผลการกดดันทําให นาย วิสุทธิ์ มนตรีวัตร ประกาศถอนตัวจากการเปนผูวาการตรวจเงินแผนดิน

ผลการศึกษา ขาว “การสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแผนดิน” จากการศึกษาพบวา (* ดูตารางภาคผนวกที่ 14-15 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุด คือ แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 คือ ประธานวุฒิสภา สุชน ชาลีเครือ และนายวิสุทธิ์ มนตรีวัต และประธานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ขณะที่ “ภาพ” ของคูกรณีฝายที่ 2 และ ฝายที่ 3 ปรากฏนอยกวา ไดแก คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา กลุมสว. กทม.ขางนอย และภาพ แหลงขาวฝายที่ 3 นอยที่สุด เชน ศาลรัฐธรรมนูญ หรืออดีดประธานวุฒิสภา “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 และพบวาแทบไมปรากฏเสียงของ แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 2 และฝายที่ 3 เลย “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุดคือ คูกรณีฝายที่ 1 รองลงมาคือคูกรณีฝายที่ 2 และ 1 ตามลําดับ โดยปรากฏเนื้อหาจากประธานวุฒิสภามากที่สุด ตามดวย กลุมสว.กทม. และคุณหญิงจารุ วรรณ


69

ขอสังเกต พิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 คือฝาย ประธานวุฒิสภา นายวิสุทธิ์ มนตรีวัต และฝายคณะกรรมกรตรวจเงิน แหงชาติ มีสัดสวนพื้นที่ในขาวมากกวาคูกรณีฝายที่ 2 คือ สว.กทม., คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ขณะที่ ฝายที่ 3 แทบไมปรากฏเลย จากประเด็นขาวเกี่ยวกับปญหาการสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแหงชาติ (สตง.) เมื่อพิจารณาในเรื่องความเปนธรรม ในการใหสัดสวนพื้นที่ขาวแกฝายตางๆ” ในการรายงานขาวโทรทัศนทั้ง 6 ชองสถานีโทรทัศน โดยแบงแหลงขาวออกเปน 3 ฝายคือ “คูกรณีฝายที่ 1-คูกรณีฝายที่ 2-ฝายที่ 3” โดยนําการปรากฏของ “ภาพ-เสียง-เนื้อหา” จากแหลงขาวทั้ง 3 ฝายมาพิจารณา จะได ผลรวมของสัดสวนพื้นที่ของแหลงขาวแตละฝายดังตารางและแผนภูมิดังนี้


70

ลําดับที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8

ฝายที่ 1 ชื่อ ประธานวุฒิสภา สุขน ผูถูกเสนอชื่อ นายวิสุทธิ์ ประธานคตง. เกรียงศักดิ์ นายคํานวณ ฝายกฎหมาย ปธ.สว. โฆษก คตง ตัวแทนคตง รองนายกรัฐมนตรี โภคิน รองนายกรัฐมนตรี วิษณุ

ตารางที่ 16 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาวการสรรหาผูวา สํานักงานตรวจเงินแผนดิน แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ฝายที่ 2 หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ 104 51 22 17 10 7 4 4 2

1 2 3 4 5 6

สว.กทม. เสรี ผูวาสตง คุณหญิงจารุวรรณ สว.วิญู สว.เจิมศักดิ์ เด็กนักเรียนใหกําลังใจ ครป.

56 25 21 9 4 2 2

1 2 3 4 5

ฝายที่ 3 ชื่อ

นายบรรหาร สส ชาติไทย อดีตประธานวุฒิสภา มีชัย เลขาศาลรัฐธรรมนูญ นายอุทัย อดีตประธานรัฐสภา สํานักราชเลขา

หนวย 12 4 3 2 2 1


71

แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ (4. ปญหาการสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแหงชาติ) 120

104

100

หนวย

80 60 40

40

ฝายที่ 2 ฝายที่ 3

30

23

20

ฝายที่ 1

56

49

15 5

3

12

6

1

0

ภาพ

เสีย ง

เนื้อหา

รวม

แผนภูมิที่ 7 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของแหลงขาวฝายตางๆ (4. ขาวการสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแหงชาติ)

จากตารางและแผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ ขางตน พบวา เรื่องความสมดุล (Balance) พบวา การนําเสนอขาว “การสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงินแหงชาติ” คงมีความสมดุล ของแหลงขาวอยู เพราะปรากฏวาพบการนําเสนอแหลงขาวทั้ง 3 ดาน และไมใชทุกชอง/ทุกครั้ง/ทุกวันจะนําเสนอ ขาวนี้ในรูปแบบของเนื้อขาวปกติ และโดยมากมักใชลักษณะของการ “สรุปขาวสั้นๆ” บอกเลาความคืบหนาของ เหตุการณโดยไมมีรายละเอียดและการนําเสนอหาทางออกตอเรื่องนี้อยางจริงจัง เรื่องสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) พบวา การนําเสนอขาว “การการสรรหาผูวาสํานักงานตรวจเงิน แหงชาติ” ยังคงบกพรองเรื่องความเปนธรรมในสัดสวนของพื้นที่ในขาวที่ใหแกฝายตางๆ ทั้ง 3 ฝายอยู โดยพบวามี ความแตกตางระหวางแหลงขาวฝายที่ 1 และ 3 คอนขางมาก ขอสังเกตอื่นๆ เรื่องการใหความสําคัญของขาว พบวา แตละชองนําเสนอขาว 2 ประเด็นนี้แตกตางกันไป 2 รูปแบบ คือ 1.เปนขาว นํา ขาวเดนประจําวัน และ 2. เปนขาวยอยสั้นๆ แตทั้ง 2 รูปแบบมีความเหมือนกันคือ เพียงแตบอกความคืบหนาของ เหตุการณ ไมไดลงลึกในรายละเอียด และบุคคลที่ขาดหายไปจากการรายงานขาวนาจะเปน “นักกฎหมาย” หรือ “ผูที่ ใหความเห็นที่กระจาง ชัดเจน” เพื่อหาทางออกแตอยาง ภาพตัวแทน (Representation) พบวา ภาพตัวแทนสวนใหญมาจากการนําเสนอภาพของแหลงขาวดังนี้ ภาพตัวแทนของ “นักการเมือง” ถูกสะทอนออกมาอยางชัดเจนในความหมายของ “เลหเหลี่ยมทางการเมือง” และการ แยงชิง ”อํานาจ” หรือ “การทะเลาะทางการเมือง” ซึ่งเมื่อพิจารณาจากการนําเสนอรายงานขาวแตละชองก็ไมไดให รายละเอียดของปญหานี้ แตนําเสนอในลักษณะความขัดแยง และการโตตอบรายวันซึ่งยิ่งตอกย้ํา “ภาพตัวแทนของ นักการเมือง” ที่มุงแตจะ “เลนการเมือง” โดยไมคิดถึงผลประโยชนของบานเมืองแตอยางใด


72

5. การพิจารณาเปดสถานบริการ อาบอบนวด “เอไลนา” สรุปสาระสําคัญ: การอนุญาตเปด สถานอาบอบนวด เอไลนา ยานถนนรัชดาภิเษก ซึ่ง อยูตรงขามโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ถูก เปดประเด็นโดยนาย ชูวิทย กมลวิศิษฏ รองหัวหนาพรรคชาติไทยและกรรมาธิการตํารวจ สภาผูแทนราษฎร ซึ่งใหเหตุผลวาเปน ตําแหนงที่ไมเหมาะสมเพราะตั้งอยูใกลสถานศึกษา โดยกอนหนานั้น สํานักงานตํารวจแหงชาติไดอนุญาตนั้นอยูในพื้นที่โซนนิ่ง ตามที่กฎหมายกําหนด ประเด็นที่เกี่ยวของในชวงเดือน กันยายนคือ นายกุลประเสริฐ สุขขี หรือ โกรักษ เจาของสถานอาบอบนวดเอไลนา ชี้แจงกับสื่อมวลชนวา ในกฎหมายไมไดระบุวาหาม ตั้งหางจากโรงเรียนกี่เมตร ที่มีปญหาเพราะ เคยมีปญหากันกับ นายชูวิทย กมลวิศิษฏ เรื่องที่ดินในป 2544 และในพื้นที่ใกลเคียง ยังมีอีกหลายที่ๆ ติดโรงเรียนและวัด แตกองบัญชาการตํารวจนครบาลยังเห็นชอบอนุญาต ทางผูประกอบการจึงยื่นฟองตอศาลปกครอง ให พล.ต.อ.โกวิท วัฒนะ ผูบัญชาการสํานักงานตํารวจแหงชาติ มีความผิด ฐานเจาหนาที่รัฐกระทําความผิดโดยมิชอบดวยกฎหมาย และกระทําละเมิดจากกรณี ผบ.ตร.ใหทําการทบทวนการออกใบอนุญาต แก สถานอาบอบนวด เอไลนา ที่มีที่ตั้งอยูใกลสถานศึกษา ดวยการเรียกรองคาเสียหายเปนเงิน จํานวน 4.2 ลานบาท ดาน พล.ต.อ.โกวิท วัฒนะ ผูบัญชาการสํานักงานตํารวจแหงชาติ อางวา ไดพิจารณาเรื่องดังกลาวและมีคําสั่งอุทธรณไม อนุญาต คือ ใหงดออกใบอนุญาตสถานบริการผานทาง พล.ต.ท.ปานศิริ ประภาวัติ ผูบัญชาการตํารวจนครบาล (ผบช.น.) รับไป ดําเนินการและถือวาเรื่องนี้จบแลว และไดนําคําสั่งปดประกาศในสถานที่ดังกลาว ขณะเดียวกัน กระทรวงศึกษาธิการและกรรมาธิการการศึกษา สภาผูแทนราษฎร ตางมีความเห็น วา สถานบันเทิงไมมี ความเหมาะสมที่มีตั้งอยูใกลสถานศึกษา รวมถึงเครือขายประชาชน สภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร ไดเขาพบ ผบ.ตร.เพื่อให กําลังใจ ความตอเนื่องของขาวมีผลทําให รัฐมนตรีสํานักนายกเรียกหนวยงานที่เกี่ยวของมาหารือ เพื่อ แกไขกฎกระทรวงใหม ไมใหพื้นที่ รัชดาฯ เพชรบุรีตัดใหม พัฒนพงษ เปดสถานบริการใหมและตองมีระยะหางจากสถานศึกษาและวัด อยางนอย 200 เมตร รวมถึงคาธรรมเนียมในการจัดเก็บภาษีใหม

ผลการศึกษา ขาว การพิจารณาเปดสถานบริการอาบอบนวด “เอไลนา” จากการศึกษาพบวา (* ดูตารางภาคผนวกที่ 16-17 ประกอบ) “ภาพ” ของแหลงขาวที่ปรากฏมากที่สุด คือ แหลงขาวคูกรณีฝายที่ 1 คือ นายชูวิทย กมลวิศิษฎ ขณะที่ “ภาพ” ของคูกรณีฝายที่ 2 และ ฝายที่ 3 ปรากฏนอยกวา ไดแก ตํารวจ เจาของสถานอาบอบนวด และ ฝายรัฐบาลคือ รัฐมนตรีที่เกี่ยวของ “เสียง” ของแหลงขาวที่ปรากฏใกลเคียงกันระหวางคูกรณีฝายที่ 1,2 และ 3 “เนื้อหา” ของแหลงขาวที่ปรากฏในสัดสวนที่ใกลเคียงกันทั้ง 3 ฝาย โดยคูกรณีฝายที่ 1 มีสัดสวนมากกวา เล็กนอย ขอสังเกต พิจารณาความสมดุลของแหลงขาวทั้ง 3 ฝายจากมิติ ภาพ เสียงและเนื้อหารวมกัน พบวา มี ความสมดุลในสัดสวนพื้นที่ขาวของแหลงขาวฝายตางๆ การนําเสนอเนื้อหาขาว


73

จากประเด็นขาวเกี่ยวกับปญหาการอนุญาตเปดสถานบริการอาบอบนวด “เอไลนา” เมื่อพิจารณาในเรื่องความเปนธรรม หรือการใหสัดสวนพื้นที่ขาวแกแหลงขาวฝายตางๆ ในการรายงานขาวโทรทัศนทั้ง 6 ชองสถานีโทรทัศน โดยแบงแหลงขาวออกเปน 3 ฝายคือ “คูกรณีฝายที่ 1-คูกรณีฝายที่ 2-ฝายที่ 3” โดยนําการปรากฏของ “ภาพ-เสียง-เนื้อหา” จากแหลงขาวทั้ง 3 ฝายมา พิจารณาจะไดผลรวมของสัดสวนพื้นที่ของแหลงขาวแตละฝายดังตารางและแผนภูมิดังนี้


74

ลําดับที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตารางที่ 17 แสดงสัดสวนพื้นที่ขาว (ความเปนธรรม) ขาการพิจารณาเปดสถานบริการ อาบอบนวด “เอไลนา” ความสมดุล (Balanced) ฝายที่ 1 ฝายที่ 2 ฝายที่ 3 ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ หนวย ลําดับที่ ชื่อ ชูวิทย กมลวิศิษฎ ผบ.ตร. โกวิท นักศึกษาใหกําลังใจ พล.ต.อ.อํานวย ปธ.กรรมการพิจารณา เครือขายพอแมเยาวชน ประธานสภาเยาวชน โฆษกกรรมาธิการตํารวจ รองผบ.ตร. กรรมาธิการตํารวจ สภาผูแทนราษฎร นายมณเฑียร

78 34 16 6 6 4 3 3 3 2 2

1 2 3 4 5

พล.ต.ท.ธวัชชัย (ผูชวย ผบ.ตร.สนง.ตร. แหงชาติ) นายประเสริฐ เจาของเอไลนา ทนายของเอไลนา รอง.ผบช.น. ผกก. สน.หวยขวาง

60 22 17 12 7 2

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

รมต.สํานักนายก สุรนันทน รมต.มหาดไทย คงศักดิ์ นักเรียนโรงเรียนเตรียมฯ เลขาการศึกษาฯ นายกรัฐมนตรี ผูปกครองโรงเรียนเตรียมฯ รมต.พัฒนาสังคม วัฒนา รมต.ยุติธรรม ชิดชัย สว. ครูยุน สว. ครูหยุย รมต.ศึกษาธิการ จาตุรนต วิมล ผอ.พื้นที่การศึกษา 2 ผอ.รร.เตรียมพัฒนาการ อ.สังศิต พระพยอม

หนวย 52 9 6 6 5 5 54 4 2 2 1 1 1 1 1 1


75

หนวย

แผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ (5. ปญหาการเปดสถานบริการอาบอบนวด "เอไลนา") 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

78 60 52 30 21

27 19 11

ภาพ

12

เสีย ง

ฝายที่ 1 ฝายที่ 2

37 27

ฝายที่ 3

6

เนื้อหา

รวม

แผนภูมิที่ 8 แสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว(ความเปนธรรม)ของแหลงขาวฝายตางๆ (5. ขาวการเปดสถานบริการอาบอบนวด "เอไลนา")

จากตารางและแผนภูมิแสดงสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) ของแหลงขาวฝายตางๆ ขางตน พบวา เรื่องความสมดุล (Balance) พบวา การนําเสนอขาว “การอนุญาตเปดสถานบริการอาบอบนวด เอไลนา” คงมีความ สมดุลของแหลงขาวอยู เพราะปรากฏวาพบการนําเสนอแหลงขาวทั้ง 3 ดาน อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณา “บุคคลที่ขาด หายไป” จากการรายงานขาว คือ “ผูปกครองและเด็กนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมพัฒนาการ” และ “นักกฎหมาย” ที่ สามารถใหขอมูล คําชี้แจงไดอยางกระจางชัด เรื่องสัดสวนพื้นที่ในขาว (ความเปนธรรม) พบวา การนําเสนอขาว “ปญหาการอนุญาตเปดสถานบริการอาบอบ นวด เอไลนา” มีความเปนธรรมในสัดสวนของพื้นที่ในขาวที่ใหแกฝายตางๆ ทั้ง 3 ฝาย เพราะไมมีความแตกตางกัน มากนัก ขอสังเกตอื่นๆ เรื่องการใหความสําคัญของขาว พบวาการรายงานขาวเรื่อง “ปญหาการเปดสถานบริการอาบอบนวด เอไลนา” จากทุกชองมีความเหมือนกันในการนําเสนอประเด็นความขัดแยงของคูกรณีทั้ง 2 ฝาย และขาวนี้ก็ยุติดวยการสั่ง ยกเลิกเพิกถอนใบอนุญาตการเปดสถานบริการ ดวยความคิดเห็นของนายกรัฐมนตรีที่ไมเห็นดวย ทั้งหมดของการ รายงานขาวไมมีการรายงานเชิงลึก สืบสวนหรือชี้ใหเห็นปญหาเชิงโครงสรางทางสังคม ระหวางสถาบันกฎหมาย สถาบันปกครอง สถาบันชุมชนและการศึกษา และไมไดใหบทเรียนตอที่ควรเพิ่มเติมตอไปวาสังคมไดเรียนรูอะไรจาก เรื่องนี้บาง ภาพตัวแทน (Representation) พบวาภาพตัวแทนสวนใหญมาจากการนําเสนอภาพของแหลงขาวดังนี้ ภาพตัวแทนของ “ตํารวจ” ถูกสะทอนออกมาอยางชัดเจนในความหมายของ “การอาศัยชองโหวของระบบกฎหมาย” และ “พัวพันกับการทุจริต” หรือ “การเลนแงในทางกฎหมาย” ขณะที่ภาพตัวแทนของ “ชูวิทย กมลวิศิษฎ” ถูกนําเสนอ ในลักษณะของ “คนดี” ที่กลับตัวจากธุรกิจอาบอบนวด และภาพของเจาของสถานบริการอาบอบนวดก็ถูกนําเสนอให มีความหมาย “นักธุรกิจ” ที่คํานึงถึงผลประโยชนโดยไมคํานึงศีลธรรมของสังคม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.