chompoomut-arti3314-101-corn cone snack

Page 1

รายงาน โครงการ Gusto Corn วิชา การออกแบบกราฟิ กบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3314 เรื่อง ข้ าวโพด (Sweet Corn) ส่ ง อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร จัดทําโดย ชื่อ นางสาวชมพูนุช นามสกุล ประเทียบอินทร์ รหัส 5211303119 ภาคเรียนที่ 1/54 กลุ่ม 101 คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ สาขา ศิลปกรรม แขนง ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

• ประวัตขิ ้ าวโพด • ข้ าวโพด (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays Linn. ) ชื่ออืน่ ๆ ข้ าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี่) โพด (ใต้ ) บือเคเส่ ะ (กะเหรี่ยง-แม่ ฮ่องสอน) เป็ นพืชตะกูล


เดียวกับหญ้ ามีลาํ ต้ นสู ง โดยเฉลีย่ 2.2 เมตร ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของลําต้ น 0.5-2.0 นิว้ เมล็ดจากฝักใช้ เป็ นอาหารคนและสั ตว์

• ลักษณะทางพฤษศาสตร์ • ข้ าวโพดเป็ นพืชจําพวกหญ้ า มีลาํ ต้ นตั้งตรงแข็งแรง เนือ้ ภายในฟ่ ามคล้ ายฟองนํา้ สู งประมาณ 1.4 เมตร ใบ จะเป็ นเส้ นตรงปลายแหลม ยาวประมาณ 30-100 ซม. เส้ นกลางของใบจะเห็นได้ ชัด ตรงขอบใบมีขนอ่ อนๆ ดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย อยู่ในต้ นเดียวกัน ช่ อดอกตัวผู้อยู่ส่วนยอดของลําต้ น ช่ อดอกตัวเมียอยู่ตาํ่ ลงมาอยู่ ระหว่ างกาบของใบ และลําต้ นฝักเกิดจากดอกตัวเมียทีเ่ จริญเติบโตแล้ ว ฝักอ่ อนจะมี สี เขียว พอแก่ เป็ นสี นวล

• ถิ่นกําเนิด • มีการขุดพบซังข้ าวโพดและซากของต้ นข้ าวโพดทีใ่ กล้ แม่ นํา้ ในนิวเม็กซิโก (แถบ อเมริกาใต้ ) และปัจจุบันนิยมปลูกแพร่ หลายในแถบอเมริกา แคนาดา สามารถปลูก ได้ ในสภาพทีภ่ ูมอิ ากาศแตกต่ างกันมาก ๆ เป็ นแหล่ งอาหารทีส่ ํ าคัญของสั ตว์ เพราะ สามารถนํามาเลีย้ งสั ตว์ ได้ ท้งั ต้ น ใบ และเมล็ด •

การนําเข้ามาในประเทศไทย

• สําหรั บประเทศไทย คนไทยรู้ จักนําข้ าวโพดมาเลีย้ งสัตว์ ตงั ้ แต่ หลัง สงครามโลกครั ง้ ที่ 1 โดย หม่ อมเจ้ าสิทธิพร กฤดากร ได้ นําข้ าวโพดพันธุ์ท่ ี ใช้ เลีย้ งสัตว์ มาปลูกและทดลองใช้ เลีย้ งสัตว์ ซึ่งในขณะนั น้ เป็ นยังเป็ นที่ รู้ จักกันน้ อย จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั ง้ ที่ 2 การใช้ ข้าวโพดเริ่ม แพร่ หลายขึน้ เนื่องจาก หลวงสุวรรณวาจกกสิกจิ ได้ นําการเลีย้ งไก่ แบบ การค้ ามาเริ่มสาธิต และกระตุ้นให้ ประชาชนปฏิบัตติ ามผู้เลีย้ งไก่ จงึ รู้ จักใช้


ข้ าวโพดมากขึน้ กว่ าเดิม แต่ เนื่องจากระยะนั น้ ข้ าวโพดมีราคาสูงและหา ยาก การใช้ ข้าวโพดจึงใช้ เป็ นเพียงส่ วนประกอบของอาหารหลัก ซึ่งมีรํา และปลายข้ าวเป็ นส่ วนใหญ่ แต่ ในปั จจุบันผู้เลีย้ งสัตว์ ร้ ู จักข้ าวโพดกันทั่วไป และในปั จจุบันประเทศไทยได้ ปลูกข้ าวโพดในปี หนึ่ง ๆ เป็ นจํานวนมาก

• ชนิดของข้ าวโพด • โดยทัว่ ไปข้าวโพดจัดออกเป็ น 5 กลุ่ม คือ • 1.ข้ าวโพดเลีย้ งสั ตว์ หรือข้ าวโพดไร่ (Field Corn) ทีร่ ้ ูจักในปัจจุบันเช่ น ข้ าวโพดหัวบุ๋ม (Dent Coorn) และข้ าวโพดหัวแข็ง (Fint Corn) ซึ่ง เป็ นการเรียกตามลักษณะเมล็ดข้ าวโพดหัวบุ๋มหรือหัวบุบ ข้ าวโพดชนิดนีเ้ มือ่ เมล็ดแห้ ง แล้ วตรงส่ วนหัวบนสุ ดจะมีรอยบุ๋มลงไป ซึ่งเป็ นส่ วนของแป้งสี ขาว ข้ าวโพดชนิดนี้ สํ าคัญมากและนิยมปลูกกันมากใน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทางแถบคอร์ น เบลท์ สี ของเมล็ดมีต้งั แต่ ขาวไปจนถึงเหลือง เนื่องจากมีหลายสายพันธุมโี ปรตีนน้ อย กว่ าพวกข้ าวโพดหัวแข็ง ข้ าวโพดหัวแข็ง ข้ าวโพดพันธุ์นีส้ ่ วนขนสุ ดของเมล็ดมักมีสี เหลืองจัดและเมือ่ แห้ งจะแข็งมาก ภายในเมล็ดมีสารทีท่ าํ ให้ ข้าวโพดมีสีเหลืองจัดเป็ น สารให้ สีทชี่ ื่อ คริปโตแซนทีน (Cruptoxanthin) สารนีเ้ มือ่ สั ตว์ ได้ รับร่ างกาย สั ตว์ จะเปลีย่ นสารนีใ้ ห้ เป็ นไวตามินเอ นอกจากนีส้ ารนีย้ งั ช่ วยให้ ไข่ แดงมีสีแดงเข้ ม ช่ วยให้ ไก่ มผี วิ หนัง ปาก เนือ้ และแข้ งมีสีเหลืองเข้ มขึน้ เป็ นทีน่ ิยมของตลาด โดยเฉพาะแถบอเมริกาส่ วนอังกฤษนั้นนิยมใช้ ข้าวโพดขาว • • 2.ข้ าวโพดหวาน (Sweet Corn) เป็ นข้ าวโพดทีค่ นใช้ รับประทาน ไม่ มกี ารแปร รู ป เมล็ดมักจะใสและเหี่ยวเมือ่ แก่ เต็มที่ เพราะมีนํา้ ตาลมาก ก่ อนทีจ่ ะสุ กจะมีรสหวาน มากกว่ าชนิดอืน่ ๆ จึงเรียกข้ าวโพดหวาน มีหลายสายพันธุ์


• • 3.ข้ าวโพดคัว่ (Pop Corn) เป็ นข้ าวโพดทีค่ นใช้ รับประทาน ไม่ มกี ารแปรรู ป เมล็ดค่ อนข้ างแข็ง สี ดแี ละขนาดแตกต่ างกัน สํ าหรับต่ างประเทศ ถ้ าเมล็ดมีลกั ษณะ แหลมเรียกว่ า ข้ าวโพดข้ าว (Rice Corn) ถ้ าเมล็ดกลม เรียกว่ า ข้ าวโพดไข่ มุก (Pearl Corn) • • 4.ข้ าวโพดแป้ง (Flour Corn) เมล็ดมีสีหลายชนิด เช่ น ขาว (ขุ่น ๆ หรือปน เหลืองนิด ๆ) หรือสี นํา้ เงินคลํา้ หรือมีท้งั สี ขาวและสี นํา้ เงินคลํา้ ในฝักเดียวกัน เนื่องจาก กลายพันธุ์ พวกทีม่ เี มล็ดสี คลํา้ และพวกกลายพันธุ์เรียกว่ าข้ าวโพดอินเดียนแดง (Squaw Corn) หรือเรียกได้ อกี ชื่อว่ าข้ าวโพดพันธุ์พนื้ เมือง (Native Corn) พวกข้ าวโพดสี คลํา้ นีจ้ ะมีไนอาซีน สู งกว่ าข้ าวโพดทีม่ แี ป้งสี ขาว • • 5.ข้ าวโพดเทียน (Waxy Corn) เป็ นข้ าวโพดทีค่ นใช้ รับประทาน จะมีแป้งที่มี ลักษณะเฉพาะคือ นุ่มเหนียว เพราะในเนือ้ แป้งจะประกอบด้ วยแป้งพวกแอมมิโลเป คติน (Amylopectin) ส่ วนข้ าวโพดอืน่ ๆ มีแป้งแอมมิโลส (Amylose) ประกอบอยู่ด้วย จึงทําให้ แป้งค่ อนข้ างแข็ง

ข้ าวโพดทีใ่ ช้ เลีย้ งสั ตว์ ในประเทศไทยมีหลาย พันธุ์

• ทีน่ ิยมปลูกในประเทศไทยได้ แก่ พันธุ์กวั เตมาลา พียี 12 (Rep.1) กัวเตมาลา พีบี 12 (Rep.2) พีบี 5 ข้ าวโพดเหนียว และโอเปค-2 มีเมล็ดตั้งแต่ สีขาว สี เหลืองไปจนถึงสี แดง ขนาดของเมล็ดขึน้ อยู่กบั พันธุ์ โดยทัว่ ไปจะมี


เส้ นผ่ าศูนย์ กลางอยู่ในช่ วง 0.5-0.8 ซม. ก่ อนนํามาเลีย้ งสั ตว์ จึงต้ องบดก่ อนเพือ่ ช่ วยให้ การย่ อยและการผสมได้ ผลดีขนึ้ ทีบ่ ดแล้ วจะมีขนาดประมาณ 1-8 มม.

• ประโยชน์ ในด้ านอื่นๆ • ข้ าวโพดสามารถส่ งเสริมการย่ อยสลายพีเอเอชทีป่ นเปื้ อนในดิน เช่ น ฟี แนนทรีน ไพรีนได้ โดยย่ อยสลายได้ 90 % ทีค่ วามเข้ มข้ นเริ่มต้ น 100 mg/kg [1] และทนทานต่ อดินทีป่ นเปื้ อนนํา้ มันเครื่อง [2]จึงมีประโยชน์ ต่อการนําไปใช้ ฟื้นฟู ดินทีป่ นเปื้ อนพีเอเอชและปิ โตรเลียม

• ข้ าวโพด (corn) • ลักษณะทัว่ ไป ข้ าวโพดเป็ นธัญพืชทีใ่ ช้ ประโยชน์ เป็ นอาหารมนุษย์ และสั ตว์ มี ความสํ าคัญรองจากข้ าวสาลีและข้ าว การผลิตโดยทัว่ ไปอยู่ในเขตอบอุ่น เขตกึง่ ร้ อนชื้น และพืน้ ทีร่ าบเขตร้ อน สามารถปรับตัวได้ ดใี นสภาพแวดล้ อมค่ อนข้ าง กว้ าง ปลูกได้ ต้งั แต่ เส้ นรุ้ง 55 องศาเหนือ ถึง 40 องศาใต้ เมล็ดข้ าวโพดสามารถ ใช้ ทาํ ผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ได้ หลายชนิด ภายในเมล็ดมีแป้งเป็ นองค์ ประกอบทีส่ ํ าคัญ ใช้ เป็ นอาหารหลักของมนุษย์ ในหลายประเทศ เช่ น เม็กซิโก สเปน อิตาลี ปอร์ ตุเกส แอฟริกาใต้ อินเดีย และอินโดนีเซีย นอกจากนีย้ งั นําไปใช้ ในอุตสาหกรรมแป้ง นํา้ มัน นํา้ ตาล และผลิตภัณฑ์ อนื่ ๆ แล้ ว ต้ นข้ าวโพดยังใช้ เป็ นอาหารสั ตว์ ได้ ด้วย • พืน้ ทีป่ ลูกข้ าวโพดทัว่ โลกมีประมาณ 826.9 ล้ านไร่ มีผลผลิตรวม 575.62 ล้ านตัน ประเทศสหรัฐอเมริการเป็ นผู้ผลิตรายใหญ่ ทสี่ ุ ดของโลก รองลงมาได้ แก่ จีน ประชาคมยุโรป บราซิล เม็กซิโก อาร์ เจนตินา และประเทศไทย (ตารางที่ 1) ในปี เพาะปลูก 2539/40 ผลผลิตข้ าวโพดเพิม่ ขึน้ ค่ อนข้ างสู ง เนื่องจากมีความ


ต้ องการใช้ เมล็ดข้ าวโพดในปริมาณมากขึน้ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารสั ตว์ ซึ่งมีส่วนผสมของข้ าวโพดสู งถึงร้ อยละ 50-60 • สํ าหรับการปลูกข้ าวโพดในประเทศไทยทํากันมานานกว่ า 40 ปี ในช่ วงก่ อน สงครามโลกครั้งทีส่ อง (พ.ศ. 2482-2489) การผลิตข้ าวโพดในประเทศไทย ยังมีอยู่อย่ างจํากัด พันธุ์ทเี่ ริ่มทดลองปลูกมีอยู่ 4 พันธุ์ คือ พันธุ์พนื้ เมืองไทย พันธุ์ เม็กซิกนั จูน พันธุ์นิโคลสั น เยลโล่ เด้ นท์ และพันธุ์อนิ โดจีน ช่ วงหลังสงครามโลก ครั้งทีส่ องในพ.ศ. 2496 ได้ นําข้ าวโพดพันธุ์ ทิกเิ สท โกลเดน เยลโลว์ (Tiquisate Golden Yellow) จากประเทศกัวเตมาลา และเรียกชื่อ พันธุ์ว่า พันธุ์กวั เตมาลา พันธุนีใ้ ห้ ผลผลิต 500-700 กิโลกรัมต่ อไร่ ในแปลง ทดลองทีม่ ี • การดูแลรักษาอย่ างดี และในแปลงปลูกของเกษตรกรสามารถให้ ผลผลิตในระดับ 300-400 กิโลกรัมต่ อไร่ พันธุ์กวั เตมาลาเป็ นข้ าวโพดทีม่ คี วามสู งประมาณ 2.5 เมตร อายุเก็บเกีย่ ว 115-120 วัน เมล็ดสี เหลืองส้ ม สามารถปรับตัวเข้ ากับ สภาพแวดล้ อมของประเทศไทย ให้ ผลผลิตสู งกว่ าพันธุ์ทเี่ กษตรกรปลูกอยู่เดิมมาก และพันธุ์นีเ้ ป็ นปัจจัยสํ าคัญทําให้ การปลูกข้ าวโพดของประเทศไทยเพิม่ ขึน้ อย่ าง มาก ต่ อมาได้ มกี ารคัดเลือกภายในพันธุ์กวั เตมาลาเพือ่ ให้ ลกั ษณะต่ างๆ ดีขนึ้ จนใน พ.ศ. 2505 จึงได้ พนั ธุ์ใหม่ เรียกว่ าพันธุ์พระพุทธบาล ซึ่งทางราชการประกาศ เป็ นพันธุ์ส่งเสริมจึงกล่ าวได้ ว่าพันธุ์ข้าวโพดทีใ่ ช้ ปลูกในช่ วงแรกๆ เป็ นพันธุ์ กัวเตมาลา หรือพันธุ์ทปี่ รับปรุงมาจากพันธุ์กวั เตมาลา • ประกอบอยู่ด้วย จึงทําให้ แป้งค่ อนข้ างแข็ง


• ข้ าวโพดทีใ่ ช้ เลีย้ งสั ตว์ ในประเทศไทยมีหลายพันธุ์ ทีน่ ิยมปลูกในประเทศไทยได้ แก่ พันธุ์กวั เตมาลา พียี 12 (Rep.1) กัวเตมาลา พีบี 12 (Rep.2) พีบี 5 ข้ าวโพดเหนียว และโอเปค-2 มีเมล็ดตั้งแต่ สีขาว สี เหลืองไปจนถึงสี แดง ขนาดของ เมล็ดขึน้ อยู่กบั พันธุ์ โดยทัว่ ไปจะมีเส้ นผ่ าศูนย์ กลางอยู่ในช่ วง 0.5-0.8 ซม. ก่ อน นํามาเลีย้ งสั ตว์ จึงต้ องบดก่ อนเพือ่ ช่ วยให้ การย่ อยและการผสมได้ ผลดีขนึ้ ทีบ่ ดแล้ ว จะมีขนาดประมาณ 1-8 มม. • พืน้ ทีป่ ลูกข้ าวโพดทัว่ โลกมีประมาณ 826.9 ล้ านไร่ มีผลผลิตรวม 575.62 ล้ านตัน ประเทศสหรัฐอเมริการ เป็ นผู้ผลิตรายใหญ่ ทสี่ ุ ดของโลก รองลงมาได้ แก่ จีน ประชาคมยุโรป บราซิล เม็กซิโก อาร์ เจนตินา และประเทศไทย (ตารางที่ 1) ในปี เพาะปลูก 2539/40 ผลผลิตข้ าวโพดเพิม่ ขึน้ ค่ อนข้ างสู ง เนื่องจากมีความ ต้ องการใช้ เมล็ดข้ าวโพดในปริมาณมากขึน้ • งานวิจัยข้ าวโพดในระยะต่ อมาได้ ผลิตพันธุ์ใหม่ ทใี่ ห้ ผลผลิตสู งและลักษณะอืน่ ๆ ดีกว่ าพันธุ์กวั เตมาลาหลายพันธุ์ ซึ่งเป็ นพันธุ์สังเคราะห์ (synthetic หรือ composite) เช่ น สุ วรรณ 1 สุ วรรณ 2 สุ วรรณ 3 และ สุ วรรณ 5 พันธุ์ เหล่ านีเ้ ป็ นพันธุ์ผสมเปิ ด (open-pollinated variety) • ใน พ.ศ. 2528 ประเทศไทยเคยมีเนือ้ ทีป่ ลูกข้ าวโพดสู งสุ ด 12.38 ล้ านไร่ ผลผลิตเฉลีย่ 421 กิโลกรัมต่ อไร่ ต่ อมาในระหว่ าง พ.ศ. 2531-2535 การผลิต ข้ าวโพดของไทยมีแนวโน้ มลดลงร้ อยละ 7.7 และ 6.1 ของเนือ้ ทีป่ ลูกและ ผลผลิตตามลําดับ ทั้งนีเ้ นื่องจากสภาพความแห้ งแล้ งทําให้ เกษตรกรหันไปปลูกพืช ชนิดอืน่ ทีท่ นความแห้ งแล้ งได้ ดกี ว่ า เช่ น อ้ อย และมันสํ าปะหลัง อย่ างไรก็ตาม แม้ ว่าพืน้ ทีก่ ารผลิตจะลดลงแต่ ผลผลิตเฉลีย่ ต่ อไร่ กลับมีแนวโน้ มสู งขึน้ จาก 400 กิโลกรัมต่ อไร่ เป็ น 435 กิโลกรัมต่ อไร่ ทั้งนีเ้ นื่องจากการส่ งเสริมให้ เกษตรกรใช้


พันธุ์ดแี ละมีการจัดระบบการเขตกรรมทีด่ ขี นึ้ ปัจจุบันเนือ้ ทีป่ ลูกข้ าวโพดของ ประเทศไทยมีประมาณ 8.67 ล้ านไร่ ผลผลิตเฉลีย่ 507 กิโลกรัมต่ อไร่ คิดเป็ น ผลผลิตรวม 4.40 ล้ านตัน

• พฤกษศาสตร์ ทวั่ ไป

• ราก ข้ าวโพดมีระบบรากแบบรากฝอย (fibrous root system) ซึ่งเจริญ มาจาก 2 ส่ วน คือรากทีเ่ จริญมาจากศัพภะ เรียกว่ า primary root หรือ first seedling root เป็ นรากทีม่ กี ารพัฒนามาจากแรดิเคิล และมีรากแขนง แตกออกมาเรียกว่ า secondary root หรือ lateral root นอกจากนีย้ งั มีรากทีเ่ กิดขึน้ ที่ scutellar node เรียกว่ า seminal root รากทั้งหมด นีม้ กี ารเจริญเติบโตในระยะเวลาสั้ นๆ ขณะข้ าวโพดเป็ นต้ นกล้ า และจะตายไปเมือ่ ต้ นข้ าวโพดโตขึน้ รากส่ วนทีส่ องคือรากทีเ่ จริญมากลําต้ น เรียกว่ า adwentitious root มีจุดกําเนิดรากทีข่ ้ อส่ วนล่ างของลําต้ น ข้ อแรกทีเ่ กิด รากชนิดนีค้ อื coleoptilar node รากเหล่ านีจ้ ะเจริญเติบโตอยู่ตลอดชีวติ ของข้ าวโพดสามารถเจริญแผ่ กระจายรอบลําต้ นมีรัศมีประมาณ 1 เมตร และหยัง่ ลึกลงไปในดินได้ 2.1-2.4 เมตร • ลําต้ น (culm หรือ stalk) ประกอบด้ วยข้ อและปล้ อง บริเวณข้ อมีเนือ้ เยือ่ เจริญ จุดกําเนิดราก ตา และ รอยกาบใบ มีความสู งตั้งแต่ 30 เซนติเมตร จนถึง 7.5 เมตร ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของลําต้ น 2.5-5.0 เซนติเมตร • ใบ ประกอบด้ วย กาบใบ และแผ่ นใบ กาบใบจะหุ้มลําต้ น ส่ วนแผ่ นใบแผ่ กางออก มี เส้ นกลางใบเรียกว่ า mid rip ข้ าวโพดทีไ่ ด้ รับการปรับปรุงพันธุ์ให้ ทนต่ ออัตรา


การปลูกสู ง มักจะมีลกั ษณะใบตั้ง แผ่ นใบด้ านบนมีขนเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีใ่ นการรับแสง ส่ วนแผ่ นใบด้ านล่ างจะเรียบ และมีปากใบจํานวนมาก • ดอก ข้ าวโพดมีช่อดอกตัวผู้เรียกว่ า tassel และช่ อดอกตัวเมียเรียกว่ า ear อยู่ บนต้ นเดียวกันแต่ แยกกันอยู่คนละตํา่ แหน่ ง(monoecious plant) โดยช่ อ ดอกตัวผู้อยู่ทสี่ ่ วนยอดของลําต้ นเป็ นแบบ panicle มีแกนกลางช่ อดอกเรียกว่ า rachis ที่ rachis มีกงิ่ แขนงชั้นแรกเกิดอยู่ และบนกิง่ แขนงนีเ้ ป็ นทีเ่ กิดของ กิง่ แขนงชั้นทีส่ อง กลุ่มดอกย่ อย(spikelet) เกิดเป็ นคู่คอื ชนิดทีม่ กี ้ าน (pedicelled spikelet) และไม่ มกี ้ าน (sessil spikelet) แต่ ละกลุ่ม ดอกประกอบด้ วย 2 ดอกย่ อยทีอ่ ยู่ด้านบนมีการเจริญเติบโตดีกว่ าดอกย่ อยทีอ่ ยู่ ด้ านล่ าง แต่ ละดอกย่ อยประกอบด้ วยกลีบดอกทีเ่ รียกว่ า lemma และ palea ทีเกสรตัวผู้ 3 อัน เยือ่ รองรังไข่ (lodicule) 2 อัน และเกสรตัวเมียทีไ่ ม่ ทาํ หน้ าที่ (rudimentary pistil) อีก 1 อัน โดยทั่วไปดอกตัวผู้จะโปรย ละอองเกสรอยู่นาน 5-8 วัน ส่ วนช่ อดอกตัวเมียหรือฝัก เกิดจากตาทีม่ ุมใบข้ อที่ 6 นับจากใบธงลงมา มีช่อดอกแบบ spike การพัฒนาของช่ อดอกเริ่มขึน้ เมือ่ ข้ าวโพดมีอายุ 40-45 วันหลังงอก ก้ านฝักหรือก้ านดอก (shank) ถูกหุ้มด้ วย กาบใบหรือเปลือกหุ้มฝัก (husk) กลุ่มดอกตัวเมียเกิดเป็ นคู่เรียงกันเป็ นแถวยาว บนแกนกลางช่ อดอกหรือซัง (cob) ดังนั้นฝักข้ าวโพดจึงมีจํานวนแถวของเมล็ด เป็ นแถวคู่ กลุ่มดอกทีม่ กี ้ านสั้ นถูกห่ อหุ้มด้ วยกลีบ (glume) สั้ นๆ 2 กลีบ ภายในแต่ ละกลุ่มมีดอกย่ อย 2 ดอก เฉพาะดอกย่ อยดอกบนเท่ านั้นทีเ่ จริญ แต่ ละ ดอกย่ อยประกอบด้ วย lemma และ palea รวมเรียกว่ า chaff มีเกสรตัว เมีย 1 อันเยือ่ รองรังไข่ 2 อัน และเกสรตัวผู้ทเี่ ป็ นหมัน (rudimentary stamen) 3 อัน ก้ านเกสรตัวเมียยาว 10-30 เซนติเมตร เรียกว่ า (silk) ไหมแต่ ละเส้ นจะมีขนทีส่ ามารถรับละอองเกสรตัวผู้ได้ ตลอดความยาว เส้ นไหม บริเวณโคนฝักจะเกิดก่ อนตามด้ วยส่ วนกลางฝัก


• แต่ เส้ นไหมบริเวณกลางฝักจะยืดตัวโผล่ พ้นกาบหุ้มฝักก่ อน จึงได้ รับการผสมก่ อน ทําให้ เมล็ดบริเวณกลางฝักมีความสมบูรณ์ และขนาดใหญ่ กว่ าบริเวณโคน และปลาย ฝัก ไหมจะเปลีย่ นเป็ นสี นํา้ ตาลและแห้ งเหี่ยวเมือ่ ดอกได้ รับการผสม ข้ าวโพด 1 ฝัก จะมีไหม 400-1,000 เมล็ด • ผลและเมล็ด ผลเป็ นแบบ caryopsis ทีม่ เี ยือ่ หุ้มผล (pericarp) ติดอยู่กบั ส่ วนของเยือ่ หุ้มเมล็ด (seed coat) มีลกั ษณะเป็ นเยือ่ บางๆ ใสไม่ มสี ี เยือ่ หุ้มผล และเยือ่ หุ้มเมล็ดรวมเรียกว่ า hull ข้ าวโพดจะสะสมแป้งไว้ ในส่ วนองเอนโด สเปิ ร์ ม การสะสมแป้งจะสิ้นสุ ดเมือ่ ข้ าวโพดเจริญเติบโตถึงระยะสุ กแก่ ทาง สรีรวิทยา โดยจะปรากฎแผ่ นเผือ่ สี ดาํ หรือนํา้ ตาลดํา (black layar) ที่ บริเวณโคนของเมล็ด

• การจําแนกชนิดข้ าวโพด • จําแนกตามคุณสมบัตขิ องแป้งในเมล็ด ภายในเมล็ดข้ าวโพดประกอบด้ วยแป้ง 2 ชนิด คือ แป้งแข็ง (hard starch) และแป้งอ่ อน ( soft starch) จึง สามารถจําแนกโดยอาศัยตําแหน่ งของแป้งแต่ ละชนิดและลักษณะของเปลือกหุ้ม เมล็ด ได้ เป็ น 7 ชนิด คือ (ภาพที่ 1) • ข้ าวโพดป่ า (pod corn) เป็ นข้ าวโพดเก่ าทีป่ ลูกในบริเวณถิ่นกําเนิดแถบ อเมริกากลางและใต้ เมล็ดข้ าวโพดป่ าทุกเมล็ดจะมีเปลือกหุ้มเมล็ดอย่ างมิดชิด เหมือนกับเมล็ดหญ้ า และยังมีเปลือกหุ้มฝักหุ้มอีกชั้นหนึ่งเมล็ดมีสีต่างๆ หรือเป็ น ลาย ลักษณะทีก่ ล่ าวมานีถ้ ูกควบคุมด้ วยยีน TU อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 4


• ข้ าวโพดคัว่ (pop corn) เป็ นข้ าวโพดทีเ่ มล็ดให้ แป้งแข็งทีอ่ ดั กันอย่ างแน่ นมาก มีแป้งอ่ อนเป็ นองค์ ประกอบเล็กน้ อย ลักษณะรูปร่ างของเมล็ดแบ่ งเป็ น 2 พวก คือ พวกทีม่ รี ู ปร่ างเรียวแหลมคล้ ายเมล็ดข้ าวเรียกว่ า rice pop corn เมือ่ เมล็ด ข้ าวโพดชนิดนีไ้ ด้ รับความร้ อนระดับหนึ่งแป้งจะขยายตัวสร้ างความดันขึน้ ภายใน จนกระทั้งเปลือกหุ้มเมล็ดทีห่ นาแตกออก ปริมาตรของแป้งจะเพิม่ ขึน้ 25-30 เท่ า ข้ าวโพดคัว่ จัดอยู่ใน subspecies everta • ข้ าวโพดหัวแข็ง (flint corn) เป็ นข้ าวโพดทีด่ ้ านบนของเมล็ดมีแป้งแข็งเป็ น องค์ ประกอบ ส่ วนแป้งอ่ อนจะอยู่ภายในตรงกลางเมล็ดหรืออาจไม่ มเี ลย เมือ่ เมล็ด แห้ งจะไม่ มรี อยบุบด้ านบน ลักษณะดังกล่ าวนีถ้ ูกควบคุมด้ วยยีน FI บน โครโมโซมคู่ที่ 2 ข้ าวโพดหัวแข็งจัดอยู่ใน subspecies indurata เมล็ดมี สี ต่างๆ เช่ น เหลือง เหลืองส้ ม ขาว และดํา • ข้ าวโพดหัวบุบ (dent corn) เป็ นข้ าวโพดทีม่ สี ่ วนของแป้งอ่ อนอยู่ด้านบน ของเมล็ด ส่ วนแป้งแข็งจะอยู่ด้านล่ างและด้ านข้ าง เมือ่ ข้ าวโพดแก่ เมล็ดสู ญเสี ย ความชื้นทําให้ แป้งอ่ อนด้ านบนหดตัวเมล็ดจึงเกิดรอยบุบข้ าวโพดชนิดนีจ้ ัดอยู่ใน subspecies indentata • ข้ าวโพดแป้ง (flour corn) เป็ นข้ าวโพดทีม่ อี งค์ ประกอบเป็ นแป้งอ่ อนเกือบ ทั้งหมด มีแป้งแข็งเป็ นชั้นบางๆ อยู่ด้านในเมล็ด เมือ่ ข้ าวโพดแก่ การหดตัวของแป้ง ในเมล็ดจะเท่ าๆ กัน ทําให้ เมล็ดมีรูปร่ างเหมือนข้ าวโพดหัวแข็ง • แต่ มลี กั ษณะทึบแสง (opaque) ลักษณะนีถ้ ูกควบคุมด้ วยยีนด้ อย fl ซึ่งอยู่บน โครโมโซมคู่ที่ 2 ข้ าวโพดแป้งจัดอยู่ใน subspecies amylacea)


• ข้ าวโพดหวาน (sweet corn) เป็ นข้ าวโพดทีน่ ํา้ ตาลในเมล็ดเปลีย่ นไปเป็ น แป้งไม่ สมบรู ณ์ เมล็ดจึงมีความหวานมากกว่ าข้ าวโพดชนิดอืน่ ๆ เมล็ดเมือ่ แก่ จะ เหี่ยวย่ น ลักษณะของข้ าวโพดหวานถูกควบคุมด้ วยยีนด้ อยหลายกลุ่ม เช่ น กลุ่ม sugary (su) อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 4 shrunken 2 (sh2) อยู่บน โครโมโซมคู่ที่ 3 และยีน brittle (bt) อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 5 ข้ าวโพดหวาน จัดอยู่ใน subspecies saccharata • ข้ าวโพดข้ าวเหนียว (waxy corn) เมล็ดประกอบด้ วยแป้งอ่ อนทีม่ คี วาม เหนียวเนื่องจากองค์ ประกอบของแป้งส่ วนใหญ่ เป็ นอะมิโลเปกติน (amylopectin) เมือ่ เปรียบเทียบสั ดส่ วนของอะมิโลเปกตินกับอะมิโลส (amylose) มีประมาณร้ อยละ 73:27 ลักษณะนีถ้ ูกควบคุมด้ วยยีน wx บน โครโมโซมคู่ที่ 9 ข้ าวโพดนีจ้ ัดอยู่ใน subspecies ceratina

• จําแนกตามองค์ ประกอบทางเคมีในเมล็ด

• ข้ าวโพดแป้ง (field corn หรือ starchy corn) เป็ นข้ าวโพดทีใ่ ช้ ประโยชน์ จากแป้งในเมล็ด ได้ แก่ ข้ าวโพดหัวแข็ง ข้ าวโพดหัวบุบ และข้ าวโพดแป้ง • ข้ าวโพดนํา้ มันสู ง (high oil corn) เป็ นข้ าวโพดทีม่ ปี ริมาณนํา้ มันในส่ วน ของศัพภะสู ง ซึ่งพันธุ์ปกติจะมีร้อยละ 1.2-5.0 พันธุ์ที่มปี ริมาณนํา้ มันในเมล็ด สู งกว่ านีจ้ ัดเป็ นข้ าวโพดนํา้ มันสู ง นํา้ มันข้ าวโพดเป็ นผลิตผลพลอยได้ จาก อุตสาหกรรมผลิตแป้งข้ าวโพด คุณสมบัตขิ องนํา้ มันข้ าวโพดคล้ ายกับนํา้ มันรําข้ าว และนํา้ มันถั่วเหลือง แต่ จะมีปริมาณโคเลสเตอรอลตํา่


• ข้ าวโพดคุณภาพโปรตีนสู ง(high lysine corn) โปรตีนในเมล็ดข้ าวโพด ปกติมรี ้ อยละ 7-10 แต่ ข้าวโพดชนิดนีม้ ยี นี 1 คู่ ทีเ่ ป็ นยีนด้ วยของ Opaque2 (o2) อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 7 ควบคุมการสั งเคราะห์ ไลซีนให้ ได้ ปริมาณสู งกว่ า ปกติ ลักษณะแป้งจะเป็ นแป้งอ่ อนและทึบแสง เชื้อราและแมลงเข้ าทําลายเมล็ดได้ ง่ าย นํา้ หนักเมล็ดเบา

• จําแนกตามเขตภูมอิ ากาศ • ข้ าวโพดในเขตอบอุ่น (temperate maize) ข้ าวโพดชนิดนีเ้ จริญเติบโตได้ ดีในเขตเส้ นรุ้งทีส่ ู งกว่ า 30 องศาเหนือและใต้ อุณหภูมอิ ากาศในฤดูปลูกค่ อนข้ าง ตํา่ และได้ รับแสงช่ วงยาว ข้ าวโพดในกลุ่มนีไ้ ด้ แก่ ข้ าวโพดทีป่ ลูกในประเทศ สหรัฐอเมริกา ยุโรป และจีน เมือ่ นําข้ าวโพดกลุ่มนีม้ าปลูกในเขตอากาศร้ อนจะออก ดอกเร็วและผลผลิตตํา่ • ข้ าวโพดในเขตกึง่ ร้ อนชื้น (subtropical maize) เป็ นข้ าวโพดทีป่ ลูกใน ระหว่ างเส้ นรุ้ง 20-30 องศาเหนือและใต้ อุณหภูมขิ องอากาศไม่ สูงมากนัก • ข้ าวโพดในเขตร้ อน (tropical maize) เป็ นข้ าวโพดทีป่ ลูกบริเวณตั้งแต่ เส้ น ศูนย์ สูตรจนถึงเส้ นรุ้งที่ 20 องศาเหนือและใต้ บริเวณทีป่ ลูกในทีส่ ู งจาก ระดับนํา้ ทะเล (high land maize) และข้ าวโพดทีป่ ลูกในพืน้ ทีร่ าบ (tropiical lowland maize) • จําแนกตามอายุการเก็บเกีย่ ว ข้ าวโพดเขตอากาศร้ อน (tropical maize) โดยเฉพาะทีป่ ลูกในพืน้ ทีร่ าบจะแบ่ งตามอายุ


เก็บเกีย่ วได้ 4 พวก คือ

• พันธุ์อายุมาก (extremely early variety) เก็บเกีย่ วเมือ่ มีอายุ 80-90 วัน • พันธุ์อายุส้ั น (early variety) เก็บเกีย่ วเมือ่ มีอายุ 90-100 วัน • พันธุ์อายุปานกลาง (intermediate variety) เก็บเกีย่ วเมือ่ มีอายุ 100110 วัน • พันธุ์อายุยาว (late variety) เก็บเกีย่ วเมือ่ มีอายุมากกว่ า 110 วัน

• จําแนกตามวัตถุของการใช้ ประโยชน์ สามารถ จําแนกได้ 4 ประเภท • ใช้ เมล็ดสุ กแก่ เป็ นข้ าวโพดทีเ่ ก็บเกีย่ วเมล็ดแก่ มาใช้ ประโยชน์ เพือ่ การบริโภคทั้ง มนุษย์ และสั ตว์ หรือ ใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตแป้งหรือนํา้ มัน • ใช้ บริโภคฝักสด คือข้ าวโพดทีป่ ลูกเพือ่ เก็บเกีย่ วฝักทีย่ งั อ่ อนไปใช้ ประโยชน์ ต่างๆ ได้ แก่ ข้ าวโพดฝักอ่ อน ข้ าวโพดหวาน และข้ าวโพดข้ าวเหนียว • ใช้ เป็ นพืชอาหารสั ตว์ คือปลูกข้ าวโพดแล้ วตัดต้ นในระยะก่ อนแก่ เพือ่ นําข้ าวโพด ทั้งต้ นไปทําหญ้ าสด (fodder) หญ้ าหมัก (silage) หรือหญ้ าแห้ ง (hay)


• ปลูกเพือ่ ใช้ ฝักสํ าหรับประดับ (ornamental corn) ข้ าวโพดทีเ่ มล็ดบนฝัก เดียวกันมีหลากสี สันเนื่องจากการสะสมสารสี (pigment) ทีแ่ ตกต่ างกัน สามารถนําฝักไปประดับตกแต่ งได้

• จําแนกตามระยะการเจริญเติบโต • ระยะการเจริญเติบโตทางลําต้ นและใบ (vegetative stage) เริ่มตั้งแต่ coleoptileโผล่ พ้นผิวดิน จนถึงระยะออกดอกตัวผู้ รวมเวลา 45-55 วัน ทั้งนีข้ นึ้ อยู่กบั พันธุกรรมและสภาพแวดล้ อมของการเจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่ าง ยิ่ง • 2. ระยะออกดอก (flowering stage) คือระยะตั้งแต่ ดอกตัวผู้บานจนถึง ระยะไหมโผล่ พ้นกาบหุ้มฝักรวมทั้งระยะการผสมเกสรด้ วย รวมเวลา 5-15 วัน • ระยะสะสมนํา้ หนักเมล็ด (grain filling) คือระยะทีม่ กี ารสะสมแป้งในเมล็ด เริ่มตั้งแต่ ระยะนํา้ นม (early milk และ late milk stage) และระยะ แป้งอ่ อน (dough stage) จนถึงระยะทีเ่ มล็ดสิ้นสุ ดการพัฒนา รวมเวลา ทั้งสิ้นประมาณ 35-45 วัน • ระยะสุ กแก่ ทางสรีรวิทยา (physiological maturity) เป็ นระยะทีม่ ชี ้ัน เนือ้ เยือ่ สี ดาํ (black layer) ปรากฏทีส่ ่ วนโคนของเมล็ด การสะสมนํา้ หนัก แห้ งสิ้นสุ ดลง และมีนํา้ หนักแห้ งสู งสุ ด


• ระยะสุ กแก่ และเก็บเกีย่ ว (harvesting maturity) คือระยะทีต่ ้ นใบ และ กาบหุ้มฝักแห้ ง ความชื้นในเมล็ดเริ่มลดลงตามอุณหภูมแิ ละความชื้นของ บรรยากาศ

• พันธุ์ ข้ าวโพดพันธุ์ดคี วรมีลกั ษณะดังนี้ • .ให้ ผลผลิตสู ง อาจจําเพาะสภาพพืน้ ทีป่ ลูก (specific location) หรืออาจมี เสถียรภาพสํ าหรับทุกพืน้ ทีป่ ลูก (stabilized location) • มีลกั ษณะทางสั ณฐาน (morphology) ทีด่ ี เช่ น ทรงต้ นเตีย้ ตําแหน่ งฝักตํา่ หักล้ มน้ อย ใบตั้งรับแสง ระบบรากแข็งแรง และขนาดช่ อดอกตัวผู้เล็ก • มีลกั ษณะทางการเกษตรดี เช่ น ฝักใหญ่ ซังเล็ก นํา้ หนักเมล็ดมาก กาบหุ้มปลายฝัก มิด และลําต้ นยังคงความสด (stay green) ในระยะแก่ • ทนต่ อสภาพความแห้ งแล้ ง ระยะออกไหมและดอกตัวผู้บานใกล้ เคียงกัน และมีการ ฟื้ นตัวได้ เร็วเมือ่ รับนํา้ เพิม่ ขึน้ หลังจากสภาพความแห้ งแล้ ง • ทนต่ อการใช้ อตั ราปลูกสู ง ตอบสนองต่ อการใช้ ปยุ๋ และทนต่ อสภาพความอุดม สมบูรณ์ ตาํ่ • ต้ านทานต่ อโรค และแมลงศัตรู ทสี่ ํ าคัญ • มีอายุการเก็บเกีย่ วเหมาะสมต่ อระบบการปลูกข้ าวโพดของไทยได้ แก่


• พันธุ์ผสมเปิ ด (open-pollinated variety) มีหลายพันธุ์เช่ น • สุ วรรณ 1 เป็ นพันธุ์ผสมเปิ ด ได้ จากการผสมรวมของพันธุ์ดเี ด่ น 36 พันธุ์ เป็ น พันธุ์จากหมู่เกาะแคริบเบียน 16 พันธุ์ ประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง 6 พันธุ์ อเมริกาใต้ 5 พันธุ์ อินเดีย 5 พันธุ์ และจากแหล่ งอืน่ ๆ 4 พันธุ์ โดยนํามาปลูกและ ปล่ อยให้ ผสมกันเอง 4 ชั่ว เพือ่ ให้ เชื้อพันธุ์พนั ธ์ คลุกเคล้ ากันดี แล้ วเรียกพันธุ์นีว้ ่ า ไทยคอมพอสิ ต เบอร์ 1 (Thai Composite # 1) หลังจากนั้นคัดเลือก แบบวงจรเอส 1 (S1 recurret selection) 3 ชั่ว เพือ่ ปรับปรุงลักษณะ ต่ างๆ เช่ น ผลผลิต ความสู ง อายุการเก็บเกีย่ ว และการหักล้ ม จนได้ พนั ธุ์ไทยคอม โพสิ ตเบอร์ 1 (S)C3 พันธุ์นีไ้ ม่ ต้านทานต่ อโรครานํา้ ค้ าง จึงนําพันธุ์ฟิลิปปิ นส์ ดีเอ็มอาร์ 1 และ 5 (Philippines DMR และ DMR 5) ซึ่งเป็ นพันธุ์ ต้ านทานต่ อโรครานํา้ ค้ าง มาผสมกับพันธุ์ไทยคอมโพสิ ตเบอร์ 1 (S)C1 เพือ่ เป็ นแหล่ งของความต้ านทาน เลือกจนได้ พนั ธุ์ทมี่ ผี ลผลิตสู งต้ านทานต่ อโรครา นํา้ ค้ างทางราชการประกาศเป็ นพันธุ์ส่งเสริมใน พ.ศ. 2518 มีชื่อว่ าพันธุ์สุวรรณ 1 ลักษณะเด่ นของพันธุ์นีค้ อื ให้ • ผลผลิตเฉลีย่ 719-1,040 กิโลกรัมต่ อไร่ ปรับตัวได้ ดใี นสภาพแวดล้ อมกว้ าง มี ความสู งต้ นเฉลีย่ 1.90 เมตร ความสู งฝักเฉลีย่ 1.04 เมตร ต้ านทานต่ อโรครา นํา้ ค้ างและโรคทีท่ าํ ลายใบอืน่ ๆ มีอายุเก็บเกีย่ ว 110-120 วัน และเมล็ดมีส้ม เหลืองชนิดหัวแข็ง


• สุ วรรณ 2 เป็ นพันธุ์ผสมเปิ ดทีม่ บี รรพบุรุษเหมือนพันธุ์สุวรรณ 1 ลักษณะเด่ นคือ เป็ นพันธุ์ทมี่ อี ายุเก็บเกีย่ วสั้ น (90-100 วัน) ให้ ผลผลิตตํา่ กว่ าพันธุ์สุวรรณ 1 ร้ อยละ 20-30 มีความสู งต้ นและความสู งฝักตํา่ กว่ าพันธุ์สุวรรณ 1 สามารถปลูก จํานวนต้ นต่ อพืน้ ทีไ่ ด้ มากว่ าพันธุ์สุวรรณ 1 โดยมีการหักล้ มของต้ นน้ อย ต้ านทาน ต่ อโรครานํา้ ค้ างได้ ดี และเมล็ดมีสีส้มเหลืองชนิดหัวแข็ง ปัจจุบันแนะนําให้ เกษตรกรใช้ เป็ นพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่ อน • สุ วรรณ 3 ให้ ผลผลิตเฉลีย่ 772-1,159 กิโลกรัมต่ อไร่ ปรับตัวได้ ดใี น สภาพแวดล้ อมทัว่ ไป มีความสู งต้ นเฉลีย่ 1.73 เมตร ความสู งฝักเฉลีย่ 0.89 เมตร ต้ านทานโรครานํา้ ค้ างและราสนิม มีระบบรากและลําต้ นแข็งแรง มีอายุการ เก็บเกีย่ ว 110-120 วัน ใบยังคงมีสีเขียวเข้ มขณะทีเ่ ปลือกหุ้มฝักแห้ งและเมล็ดมี สี ส้มเหลือง • สุ วรรณ 5 ให้ ผลผลิตเฉลีย่ 839-1,168 กิโลกรัมต่ อไร่ ต้ านทานต่ อโรครานํา้ ค้ าง และราสนิมได้ ดมี คี วามสู งเฉลีย่ 1.92 เมตร ความสู งของฝักเฉลีย่ 1.09 เมตร มี ระบบรากและลําต้ นแข็งแรง ใบยังคงเขียวเข้ มขณะทีเ่ ปลือกหุ้มฝักแห้ ง ฝักมีขนาด ใหญ่ และยาวสมํา่ เสมอ มีอายุการเก็บเกีย่ ว 110-120 วัน และเมล็ดมีสีส้มเหลือง ชนิดหัวแข็งถึงกึง่ หัวแข็ง พันธุ์สุวรรณ 5 ยังเหมาะสํ าหรับการทําข้ าวโพดหมักเพือ่ ใช้ เป็ นอาหารหยาบสํ าหรับเลีย้ งโคนม เนื่องจากมีลาํ ต้ นสู งใหญ่ ใบมีขนาดใหญ่ และ ยาว จึงมีนํา้ หนักต้ นสด และนํา้ หนักแห้ งสู ง • นครสวรรค์ 1 เป็ นพันธุ์ทพี่ ฒ ั นาโดยศูนย์ วจิ ัยพืชไร่ นครสวรรค์ กรมวิชาการ เกษตร เป็ นพันธุ์ผสมเปิ ด ได้ รับการรับรองพันธุ์โดยกรมวิชาการเกษตร เมือ่ พ.ศ. 2532 มีอายุการเก็บเกีย่ ว 100-110 วัน ผลผลิต 500-800 กิโลกรัมต่ อไร่ ต้ นทานต่ อโรครานํา้ ค้ างได้ ดี เมล็ดสี เหลืองส้ มชนิดหัวแข็ง


• ข้ อพิจารณาในการเก็บฝักข้ าวโพดพันธุ์ผสม เปิ ดไว้ ทาํ พันธุ์ ซึ่งเกษตรกรควรทําดังนี้ • เก็บเฉพาะฝักทีอ่ ยู่ด้านในของแปลง • ต้ องเป็ นต้ นทีฝ่ ักโตสมบูรณ์ ต้ นและฝักไม่ ถูกโรคและแมลงทําลาย • ต้ องเป็ นต้ นทีไ่ ม่ สูงเกินไป คือความสู งต้ องอยู่ในเกณฑ์ ความสู งเฉลีย่ ของพันธุ์ • ฝักทีเ่ ก็บมาทําพันธุ์ ควรเก็บจากจุดต่ างๆ ให้ ทวั่ แปลง • เกษตรกรไม่ ควรเก็บเมล็ดไว้ ทาํ พันธุ์เองเกิน 2-3 ปี ทั้งนีเ้ นื่องจากได้ มกี ารคัดเลือก ภายในพันธุ์ทุกปี เพือ่ ให้ ผลผลิตและลักษณะอืน่ ๆ ดีขนึ้ • พันธุ์ลูกผสม เป็ นลูกผสมชั่วแรก (F1) ทีเ่ กิดจากการผสมระหว่ างสายพันธุ์แท้ (inbred line) จํานวน 2,3 หรือ 4 สาย •

พันธุ์ คือ

• ลูกผสมเดีย่ ว (single cross hybrid) เกิดจากสายพันธุ์แท้ จํานวน 2 สาย พันธุ์ผสมกัน เช่ น ก x ข (ก เป็ นต้ นแม่ ข เป็ นต้ นพ่ อ) เช่ น พันธุ์สุวรรณ 2301 (Kasetsart Single Cross 2310หรือ KSX 2301) เป็ น ข้ าวโพดลูกผสมเดีย่ วพันธุ์แรกทีไ่ ด้ ปรับปรุงพันธุ์ขนึ้ ในประเทศไทย โดยโครงการ


ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ มาจากการผสมระหว่ าง สายพันธุ์แก่ การเกษตรศาสตร์ 3 (Ki 3) กับสายพันธุ์แท้ เกษตรศาสตร์ 11 (Ki 11) ศูนย์ วจิ ัยข้ าวโพดข้ าวฟ่ างแห่ งชาติได้ แนะนําพันธ์ สุวรรณ 2301 สู่ เกษตรกรใน พ.ศ. 2525 นับเป็ นจุดเริ่มต้ นของการพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมสู่ ระบบธุรกิจการค้ าเมล็ดพันธุข้าวโพดลูกผสม ข้ าวโพดพันธุ์นีใ้ ห้ ผลผลิตสู งกว่ า พันธุ์สุวรรณ 1 ประมาณร้ อยละ 10 ในขณะนั้น มีลกั ษณะทางการเกษตรอืน่ ๆ ดี เช่ น ต้ นเตีย้ มีความสู ง 152 เซรติเมตร ความสู งฝัก 74 เซนติเมตร มีระบบราก และลําต้ นแข็งแรงดีมาก ต้ านทานต่ อโรครานํา้ ค้ าง และทนต่ อสภาพความแห้ งแล้ ง ดีกว่ าพันธุ์สุวรรณ 1 เมล็ดส้ มชนิดหัวแข็ง • ลูกผสมสามทาง (three way cross hybrid) เกิดจากสายพันธุ์แท้ จํานวน 3 สายพันธุ์เช่ น (ก x ข) x ค โดยใช้ ลูกผสมเดีย่ ว คือ (ก x ข) เป็ นแม่ และ สายพันธุ์แท้ ค เป็ นพ่ อ เช่ น พันธุ์สุวรรณ 2602 (Kasetsart Three Way Cross 2602 หรือ KTX 2602) ได้ จากการผสมระหว่ าง ลูกผสมเดีย่ วพันธุ์สุวรรณ 2301 กับสายพันธุ์แท้ เกษตรศาสตร์ 20 (Ki 20) ให้ ผลิตเฉลีย่ 800-1,000 กิโลกรัมต่ อไร่ มีความสู งประมาณ 211 เซนติเมตร ความสู งฝัก 114 เซนติเมตร ใบมีสีเขียวเข้ ม ลําต้ นและช่ อดอกมีสีม่วง เมล็ดมีสี ส้ มเหลืองชนิดหัวแข็ง • ลูกผสมคู่ ( double cross hybrid ) เป็ นลูกผสมทีเ่ กิดจากสายพันธุ์แท้ 4 สายพันธุ์ทแี่ ตกต่ างกัน เช่ น ( ก x ข ) x ( ค x ง ) ต้ องใช้ เวลาผลิต 2 ฤดู คือ ฤดูแรกผลิตลูกผสมเดีย่ ว ( ก x ข ) และ ( ค x ง ) ฤดูทสี่ องใช้ ลูกผสมเดีย่ ว ( ก x ข ) เป็ นแม่ และลูกผสมเดีย่ ว ( ค x ง ) เป็ นพ่ อ


• เนื่องจากลูกผสมจะให้ ผลผลิตสู งในช่ วงแรก ในช่ วงต่ อไปจะมีการกระจายตัว ผลผลิตจะลดลง ดังนั้นการปลูกในครั้งต่ อไปต้ องซื้อเมล็ดลูกผสมใหม่ ทุกครั้ง ปริมาณการใช้ เมล็ดพันธุ์ระหว่ างพันธุ์ผสมเปิ ดและพันธุ์ลูกผสมนั้นพบว่ าในปี เพาะปลูก 2539/40 มีการใช้ เมล็ดพันธุ์ลูกผสมเป็ นจํานวนมาก มีพนื้ ทีป่ ลูกถึง 5.75 ล้ านไร่ หรือร้ อยละ 67 ของพืน้ ทีป่ ลูกทั้งหมด แยกเป็ นปลูกพันธุ์ลูกผสม เดีย่ ว 4.75 ล้ านไร่ หรือร้ อยละ 55 และปลูกลูกผสมคู่และลูกผสมสามทาง 1 ล้ านไร่ หรือร้ อยละ 12 ของพืน้ ทีป่ ลูกทั้งหมด ส่ วนทีเ่ หลืออีก 2.85 ล้ านไร่ หรือ ร้ อยละ 33 ปลูกพันธุ์ผสม • จําแนกตามอายุการเก็บเกีย่ ว ข้ าวโพดเขตอากาศร้ อน (tropical maize) โดยเฉพาะทีป่ ลูกในพืน้ ทีร่ าบจะแบ่ งตามอายุ •

จําแนกตามวัตถุของการใช้ ประโยชน์ สามารถ จําแนกได้ 4 ประเภท • ใช้ เมล็ดสุ กแก่ เป็ นข้ าวโพดทีเ่ ก็บเกีย่ วเมล็ดแก่ มาใช้ ประโยชน์ เพือ่ การบริโภคทั้ง มนุษย์ และสั ตว์ หรือ ใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตแป้งหรือนํา้ มัน

• ใช้ บริโภคฝักสด คือข้ าวโพดทีป่ ลูกเพือ่ เก็บเกีย่ วฝักทีย่ งั อ่ อนไปใช้ ประโยชน์ ต่างๆ ได้ แก่ ข้ าวโพดฝักอ่ อน ข้ าวโพดหวาน และข้ าวโพดข้ าวเหนียว • ใช้ เป็ นพืชอาหารสั ตว์ คือปลูกข้ าวโพดแล้ วตัดต้ นในระยะก่ อนแก่ เพือ่ นําข้ าวโพด ทั้งต้ นไปทําหญ้ าสด (fodder) หญ้ าหมัก (silage) หรือหญ้ าแห้ ง (hay)


• ปลูกเพือ่ ใช้ ฝักสํ าหรับประดับ (ornamental corn) ข้ าวโพดทีเ่ มล็ดบนฝัก เดียวกันมีหลากสี สันเนื่องจากการสะสมสารสี (pigment) ทีแ่ ตกต่ างกัน สามารถนําฝักไปประดับตกแต่ งได้





• นํานํา้ ผสมกับนํา้ ตาลทรายแล้ วกวนให้ เข้ ากัน


• นําแผ่ นข้ าวโพดอบกรอบแบบสํ าเร็จรูปโรยใส่ ลงในกระทะเบาเบาแล้ วใช้ ไม้ พายกวนเบาเบา กวนจนกว่ านํา้ ตาลเชื่อม ติดกับแผ่ นข้ าวโพด โพดอบกรอบให้ ทวั่ แผ่ น


• แล้ วตักขึน้ มาพักไว้ ระหว่ างทีร่ อให้ แผ่ น ข้ าวโพดแห้ ง ให้ นําผงโกโก้ โรยใส่ ลงไปอีก เพราะระหว่ างทีร่ อให้ แผ่ นข้ าวโพดแห้ งจะทํา


ให้ โกโก้ ติดกับแผ่ นข้ าวโพดได้ ดเี ลยทีเดียว เพือ่ ทีจ่ ะเพิม่ รสชาติทเี่ ข้ มข้ นขึน้


• หลังจากทีแ่ ผ่ นข้ าวโพดแห้ งได้ ทแี่ ล้ วก็นําไปใส่ ในบรรจุภัณฑ์ ทปี่ ิ ดสนิทเพือ่ กันลมเข้ าเพราะ จะทําให้ ขนมไม่ กรอบแล้ วไม่ อร่ อย


• รูปของผลิตภัณฑ์ แบบสํ าเร็จแล้ ว


• ขั้นตอนการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ ตรา CORN CORN SNACK • การออกแบบโลโก้ ของ ผลิตภัณฑ์ • แบบสํ าเร็จ


• การออกแบบตัวหนังสื อบน กล่ องบรรจุภณ ั ฑ์ หรือ การ ออกแบบชื่อของตัวผลิตภัณฑ์ • แบบสํ าเร็จ





• การออกแบบกล่ องบรรจุภณ ั ฑ์




• รู ปของตัวผลิตภัณฑ์ แบบสํ าเร็จ แล้ ว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.