โครงการสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยั่งยืน

Page 1

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบันและแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทย กับการใช้ ทะเลอย่ างยั่งยืน

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ และคณะ ธันวาคม 2550


สัญญาเลขที่ RDG5030005

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบันและแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทย กับการใช้ ทะเลอย่ างยั่งยืน

คณะผู้วิจัย สังกัด 1. รศ. ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางนํา้ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2. รศ. ดร. ศรัณย์ เพ็ชร์ พริ ุ ณ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3. ดร.สมิท ธรรมเชือ้ กองประมงต่ างประเทศ กรมประมง 4. นายโกมล จิรชัยสุทธิกุล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 5. นางพวงทอง อ่ อนอุระ กองประมงต่ างประเทศ กรมประมง 6. นางสุมาลี สุขดานนท์ สถาบันการขนส่ ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 7. นางสาวอรชา ธนากร กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย 8. นายเทวัญ ธนมาลารั ตน์ สํานักงานประมงจังหวัดนครสวรรค์ กรมประมง 9. นายสมภพ รุ่ งสุภา สถาบันวิจัยทรัพยากรทางนํา้ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 10. นางสุนันทา เจริญปั ญญายิ่ง สถาบันการขนส่ ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 11. นาวาตรี วันชัย จันทร์ ละเอียด กองสมุทรศาสตร์ กรมอุทกศาสตร์

สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนีเ้ ป็ นของผู้วจิ ัย สกว. ไม่ จาํ เป็ นต้ องเห็นด้ วยเสมอไป)


บทสรุ ปสําหรับผู้บริหาร 1.

ความเป็ นมาของงานวิจัย

ทะเลเป็ นแหล่งทรั พยากรธรรมชาติที่สํา คัญของประเทศ การใช้ ทะเลทัง้ ภายในน่ านนํ า้ ไทยและนอก น่านนํ า้ ไทยครอบคลุมหลายมิติ ทัง้ ด้ านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ แต่เนื่องจากการใช้ เป็ นไปโดยขาดแผนการแบบองค์ รวมที่ชัดเจน และยังขาดการประสานงานร่ วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ ยวข้ อง ปั ญ หาต่ า งๆ จึ ง เกิ ด ขึ น้ อย่า งต่ อ เนื่ อ ง และกระทบกับ ผู้ค นกลุ่ม ใหญ่ ข องประเทศทัง้ ทางตรงและทางอ้ อ ม การ ประกาศใช้ กฎหมายทางทะเลร่ วมกันในระดับนานาชาติทงอดี ั ้ ต ปั จจุบนั และอนาคต ทําให้ ประเทศไทยควรทบทวน และศึกษาสถานการณ์ของการใช้ ทะเลว่ามีศกั ยภาพเพียงใด รองรับการใช้ และมาตรการข้ อบังคับต่างๆ ได้ มากน้ อย แค่ไหน สถานการณ์ การใช้ ในปั จจุบนั และแผนการใช้ ต่อไปในอนาคตควรเป็ นแบบใด โครงการศึกษาสถานการณ์ ปั จจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน จะได้ ทําการศึกษาวิเคราะห์ถึงการใช้ ทะเล ไทยในมิติต่างๆ โดยใช้ ข้อมูลขันทุ ้ ติยภูมิจากหน่วยงานต่างๆ อย่างครบถ้ วน เพื่อนํามาวิเคราะห์/ สังเคราะห์ร่วมกัน และเพื่อเป็ นระบบฐานข้ อมูลเบื ้องต้ นสําหรับเป็ นข้ อมูลสนับสนุนการจัดทํายุทธศาสตร์ ทะเลไทยที่เหมาะสมได้ ตอ่ ไป 2.

วัตถุประสงค์

1 เพื่อสรุปประเด็นปั ญหาและผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการใช้ ทะเลในด้ านต่างๆ ของประเทศไทย 2 เพื่อระบุโอกาสและอุปสรรคของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน 3 เพื่อเป็ นแหล่งข้ อมูลสนับสนุนการจัดทํายุทธศาสตร์ ทะเลไทย 3.

วิธีการศึกษา

แนวทางการดําเนินการศึกษาจะใช้ วิธีการรวบรวมเอกสารซึง่ เป็ นข้ อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) และ ทบทวนวรรณกรรมในเรื่ องการใช้ ทะเลจากหน่วยงานต่างๆ ในประเทศไทยที่ได้ มีการศึกษาไว้ วิเคราะห์ข้อมูลการใช้ ทะเลในสถานการณ์ปัจจุบนั รวมถึงแนวโน้ มที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต โดยการจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากคณะที่ ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญในด้ านต่างๆ ร่วมกัน เพื่อหาข้ อสรุ ปและข้ อเสนอแนะเชิงนโยบายในการบริ หารจัดการการใช้ ทะเลไทยให้ มีความสมดุล พอเพียง และยัง่ ยืน พร้ อมทังพั ้ ฒนาระบบฐานข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้ ทะเลเพื่อเตรี ยมความ พร้ อมไปสูก่ ารจัดทําระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) ในอนาคต


ข 4.

ผลการศึกษา ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเลกว่า 350,000 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้ วย น่านนํ ้าภายใน ทะเลอาณา

เขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล่ทวีป อย่างไรก็ตาม การใช้ ทะเลไม่ได้ จํากัดอยู่เฉพาะอาณาเขตทาง ทะเลของไทยเท่านัน้ แต่สามารถใช้ ทะเลไปถึงเขตน่านนํ ้าของประเทศเพื่อนบ้ านหรื อเขตทางทะเลของประเทศอื่นๆ ที่ สามารถทําความตกลงกันได้ และทะเลหลวงหรื อน่านนํ ้าสากล ดังนัน้ พื ้นที่ทางทะเลที่จะสร้ างผลประโยชน์แห่งชาติมี นัยที่กว้ างขวางมากกว่าพื ้นที่ทางบก ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล หมายถึง ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยพึงได้ รับจากทะเลหรื อเกี่ยวเนื่องกับ ทะเลทังภายในน่ ้ านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นๆ รวมถึงชายฝั่ งทะเล เกาะ พื ้นดินท้ องทะเลหรื อใต้ พื ้นดินท้ องทะเล หรื อ อากาศเหนือท้ องทะเลด้ วย ทังนี ้ ไ้ ม่ว่ากิจกรรมใดในทุกๆ ด้ าน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อมทางทะเล การ ขนส่ง การท่องเที่ยว ความมัน่ คง ความสงบเรี ยบร้ อย หรื ออื่นๆ โดยที่มลู ค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ก็น่าจะ หมายถึงคุณค่าของผลประโยชน์จากทะเลในทุกมิติที่สามารถประเมินออกมาในรูปตัวเงิน การศึกษาในครัง้ นี ้ได้ ประเมินผลประโยชน์ทางทะเลเป็ น 3 ส่วน คือ มูลค่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง มูลค่าของกิจกรรมการใช้ ทะเล และมูลค่าผลกระทบจากกิจกรรมการใช้ โดยใช้ แนวคิดของการประเมินมูลค่าโดยรวม ทางเศรษฐศาสตร์ ของทรัพยากรทัว่ ไป มาประยุกต์เป็ นการคิดมูลค่าทรัพยากรทางทะเลโดยจําแนกเป็ นมูลค่าการใช้ ประโยชน์ทงทางตรงและทางอ้ ั้ อม มูลค่าไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ และมูลค่าเผื่อการใช้ ในอนาคต ผลการศึกษาดังปรากฎใน ตาราง อนึ่ง มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลตามที่โครงการสถานการ์ ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของ ้ น้ จึงอาจ ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืนคิดได้ นี ้ เป็ นการศึกษาจากการรวบรวมข้ อมูลทุติยภูมิเท่านัน้ ดังนั ไม่ใช่มลู ค่าที่แท้ จริ ง มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่แท้ จริ งและครบถ้ วนถูกต้ องควรจะต้ องมีการศึกษาวิจยั และประเมินโดยละเอียดต่อไป จากการรวบรวมข้ อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้ องกับการประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง พบว่า ทรัพยากรทางทะเลของประเทศไทยในส่วนที่มีชีวิตมีมลู ค่าประมาณ 0.23 ล้ านล้ านบาท และทรัพยากรไม่มีชีวิตมี มูลค่าประมาณ 0.50 ล้ านล้ านบาท รวมทังสิ ้ ้น 0.73 ล้ านล้ านบาท กิ จ กรรมการใช้ ท ะเลของคนไทยสามารถสร้ างมูล ค่ า ได้ ถึ ง 6.7 ล้ า นล้ า นบาท คิ ด เป็ นประมาณ 90 เปอร์ เซ็นต์ของมูลค่าผลประโยชน์ทางทะเลทังหมด ้ กิจกรรมที่ทําให้ เกิดมูลค่ามากที่สดุ คือ การขนส่งทางทะเล ซึ่งมี มูลค่าการค้ าระหว่างประเทศทางทะเลรวมขาเข้ าและขาออกในปี 2548 สูงถึง 6.12 ล้ านล้ านบาท จากปริ มาณการ ขนส่งทางทะเลเข้ า-ออกผ่านประเทศไทยจํานวน 183,527 พันตัน โดยมูลค่าการค้ าระหว่างประเทศนี ้เป็ นข้ อมูลจาก กระทรวงคมนาคม


มูลค่าผลกระทบจากการใช้ ทะเลเท่าที่รวบรวมได้ เท่ากับ 0.09 ล้ านล้ านบาท เกิดจากการกัดเซาะชายฝั่ ง การรั่วไหลของนํ ้ามัน และมูลค่าความเสียหายจากภัยสึนามิในเหตุการณ์สนึ ามิปลายปี 2547 ตลอดความยาวชายฝั่ ง อันดามันของประเทศไทย รวมมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลจึงมีไม่น้อยกว่า 7.4 ล้านล้านบาท ในจํานวนนี ้ตกอยู่ในมือคน ไทยไม่ถงึ 30 เปอร์ เซ็นต์ หน่วย: ล้ านบาท 1. มูลค่าจากทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง 1.1 ทรัพยากรมีชีวิต 1.2 ทรัพยากรไม่มีชีวิต 2. มูลค่าจากกิจกรรมการใช้ ทะเล

%

234,608.85 499,069.12

3.15 6.71

6,120,901.00

82.24

2.2 อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ

341,061.30

4.58

2.3 การท่องเที่ยว

197,390.30

2.65

49,786.60

0.67

7,442,817.17

100

2.1 พาณิชยนาวี

2.4 อื่นๆ รวมมูลค่ าผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล

หมายเหตุ

เป็ นมูลค่าที ร่ วบรวม ได้เท่าทีม่ ี การประเมิ น โดยการศึกษาวิ จยั เท่านัน้ อาจไม่ใช่มูล ค่าทีแ่ ท้จริ งทัง้ หมด

3. มูลค่าผลกระทบจากกิจกรรมการใช้ ทะเล 3.1 การกัดเซาะ

4,657.00

3.2 นํ ้ามันรั่วไหล

1,919.11

3.3 สึนามิ

85,084.17

รวม

91,660.28

สถานการณ์ ปัจจุบันของประเทศไทยกับการใช้ ทะเล ทรัพยากรที่มีชีวิต 1. ทรัพยากรประมง ประเทศไทยจัดเป็ นประเทศที่ประสบความสําเร็ จในด้ านการพัฒนาการประมงจน สามารถติดอันดับหนึ่งในสิบของโลกที่มีผลผลิตสูง และยังติดอันดับต้ นๆ ของผู้ส่งออกสินค้ าประมงมาตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2535 โดยผลผลิตมวลรวมในสาขาประมงมีมลู ค่า 98.9 พันล้ านบาท คิดเป็ น 12 เปอร์ เซ็นต์ของผลผลิตมวลรวมของ ภาคเกษตร หรื อ 1.27 เปอร์ เซ็นต์ ของผลผลิตมวลรวมของประเทศ ผลผลิตการประมงทะเลในปี 2538-2547 อยู่ ระหว่าง 2.6-2.8 ล้ านตัน ผลผลิตการประมงส่วนหนึง่ นํามาใช้ บริโภคเป็ นอาหารโปรตีนที่สําคัญสําหรับคนในประเทศ และเป็ นภาคการผลิตที่สําคัญในระบบเศรษฐกิจของประเทศ


- สถานการณ์การทําประมงชายฝั่ ง ที่เป็ นปั ญหาอย่างชัดเจน คือปั ญหาการทําการประมงเกินกําลัง ผลิตเป็ นผลให้ เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝั่ งทะเล ปั ญหาการแย่งพื ้นที่ทําการประมง และปั ญหาความ ขัดแย้ งในการใช้ เครื่ องมือประมงต่างชนิดกัน เป็ นสาเหตุหลักของปั ญหาสังคมประมงชายฝั่ งมากที่สดุ ในปั จจุบัน ปั ญหาต่างๆ สร้ างแรงกดดันต่อชาวประมงให้ ทําการประมงมีความพยายามที่จะใช้ เครื่ องมือที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ ผิดกฎหมายมากขึ ้นในการช่วงชิงทรัพยากรที่ร่อยหรอและมีอยูอ่ ย่างจํากัด - สถานการณ์ การทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ และประมงนอกนํ ้า ที่เป็ นปั ญหาอย่างชัดเจน คือ ความไม่เป็ นเอกภาพของผู้ประกอบการประมงไทยในลักษณะต่างคนต่างไป และแย่งกันเสนอผลประโยชน์หรื อ ยอมรับเงื่อนไขที่ประเทศเจ้ าของทรัพยากรกําหนด โดยไม่คํานึงว่าจะปฏิบตั ิตามได้ หรื อไม่ ทําให้ กองเรื อประมงไทย อยู่ในฐานะผู้ตงรั ั ้ บในการเจรจาต่อรอง ปั ญหาการทําประมงแบบร่ วมทุนกับประเทศที่ให้ สมั ปทานการประมง และ ปั ญหาความเสี่ยงในการลงทุนเนื่องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศและระหว่างประเทศ เป็ นผลให้ การพัฒนาด้ านเทคโนโลยี วิธีการทําประมง การพัฒนาเรื อ เครื่ องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ ประกอบการเดินเรื อและการทํา ประมงไม่ก้าวหน้ าเท่าที่ควร แนวโน้ มการทําการประมงของไทยคือ การทําการประมงทูน่าในน่านนํ ้าสากล หรื อทะเลหลวงเพิ่มมากขึ ้น การสร้ างความตกลงกับประเทศที่อยู่ไกลออกไปมากยิ่งขึ ้นเพื่อให้ กองเรื อประมงไทยสามารถเข้ าไปทําการประมงใน น่านนํ ้าเหล่านันได้ ้ อย่างถูกกฎหมายในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ การพัฒนาวิธีการทําประมงในลักษณะที่เป็ นมิตรกับ สิง่ แวดล้ อมและระบบนิเวศมากยิ่งขึ ้น รวมถึงการเอาใจใส่ในสวัสดิภาพของแรงงานประมงในกองเรื อให้ ดีขึ ้นด้ วย และ การทําการประมงควบคู่กับการอนุรักษ์ ท รั พยากรประมงให้ เกิดความสมดุลระหว่างกัน สําหรั บการทําประมงใน น่านนํ ้าไทย เนื่องจากถูกจํากัดจากทรัพยากรประมงที่ลดลงโดยเฉพาะในฝั่ งอ่าวไทย นอกจากนี ้ยังมีการปรับกลยุทธ์ ในการทําประมงในน่านนํา้ ไทยโดยเปิ ดโอกาสให้ ผ้ มู ีส่วนได้ เสียเข้ ามาร่ วมในการกําหนดมาตรการจัดการทรัยากร ประมงและการทําประมงมากยิ่งขึ ้น ในส่วนการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํา้ ชายฝั่ งมีแนวโน้ มของปริ มาณผลผลิตโดยรวมที่เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี และน่าจะเป็ นผลผลิตหลักของการส่งออกสัตว์นํ ้าจากประเทศไทยไปสูต่ ลาดโลก เนื่องจากสามารถเลือกชนิดสัตว์นํ ้า ได้ ต ามต้ อ งการ ซึ่ง จะทํ า ให้ ช นิ ด สัต ว์ นํ า้ ที่ เ พาะเลี ย้ งมี ค วามหลากหลาย นอกจากนี ร้ ะบบการเพาะเลี ย้ งเป็ น กระบวนการที่สามารถตรวจสอบได้ ในทุกขันตอน ้ อย่างไรก็ตามประเทศไทยควรมีนโยบาย/ยุทธศาสตร์ การเพาะเลี ้ยง สัตว์นํ ้าชนิดต่างๆ ที่ชดั เจน เพื่อจะสามารถกําหนดและควบคุมราคาของสัตว์นํ ้านันๆ ้ ได้ ตามต้ องการ และสร้ างตรา ของสินค้ า (Brand Name) ให้ กบั ประเทศไทย 2. ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่างๆ ตลอดแนวชายฝั่ ง ทะเลของไทย เช่น ป่ าชายเลน แนวปะการัง หญ้ าทะเล ป่ าชายหาด เป็ นต้ น


สถานการณ์ ปัจจุบนั ของความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศที่กําลังประสบอยู่ทกุ วันนี ้คือ การ ลดลงทังคุ ้ ณภาพและปริ มาณจากการใช้ ประโยชน์ทงแบบเฉพาะเจาะจง ั้ และแบบรู้ เท่าไม่ถึงการณ์ รวมทังการลด ้ ปริ มาณจากผลกระทบของพิบตั ิภยั ตามธรรมชาติที่ทวีความรุ นแรงมากขึ ้นทุกปี ตัวอย่างเช่น การลดลงของพื ้นที่ป่า ชายเลนจากการกัดเซาะชายฝั่ ง การลดลงของพื ้นที่หญ้ าทะเลและพะยูนจากผลกระทบของการท่องเที่ยวและการทํา การประมงที่ไม่รับผิดชอบ การลดลงของพื ้นที่แนวปะการังจากพิบตั ิภยั สึนามิ เป็ นต้ น ผลกระทบเหล่านี ้แสดงให้ เห็น ถึงความจําเป็ นที่จะต้ องมีมาตรการอย่างทันท่วงทีในการใช้ การฟื น้ ฟู การอนุรักษ์ และการสร้ างให้ มีขึ ้นใหม่ เพื่อที่ ประเทศไทยจะยังคงมีทรัพยากรที่เป็ นความหลากหลายทางชีวภาพไว้ ใช้ ได้ อย่างยัง่ ยืน ทรัพยากรไม่มีชีวิต ทรัพยากรที่ไม่มีชีวิตนี ้มีความสําคัญไม่น้อยในเชิงของการใช้ ต่อประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากร ใต้ ผิวดินพื ้นท้ องทะเล ที่เป็ นทรัพยากรปิ โตรเลียม ปั จจุบนั ได้ มีการสํารวจพบปริ มาณสํารองที่พิสจู น์แล้ วจํานวนหนึ่ง และอยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการร่วมกับประเทศเพื่อนบ้ านที่มีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกันอีกจํานวนหนึง่ ทรัพยากรไม่มีชีวิตกลุ่มอื่นๆ เช่น กลุ่มทรัพยากรจากนํา้ ทะเล กลุ่มแร่ ธาตุบริ เวณพื ้นดินท้ องทะเล และ กลุ่มทรั พ ยากรในทะเลลึก ก็มีค วามเป็ นไปได้ ที่ จ ะถูกนํ า มาใช้ เพิ่มมากขึ น้ หากมี ก ารศึก ษาวิจัยและพัฒ นาด้ ว ย เทคโนโลยีที่ทนั สมัย การขนส่งและพาณิชยนาวี ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา สัดส่วนการขนส่งสินค้ าทางทะเลโดยรวมทังการนํ ้ าเข้ าและส่งออกมีประมาณเกือบ 70 เปอร์ เซ็นต์ จากปริ มาณการขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศทังหมด ้ และตลอดระยะเวลา 30 ปี ที่ผ่านมามูลค่าการค้ า ทางทะเลก็ เ พิ่ม ขึ น้ อย่า งต่ อ เนื่ อ งทุก ปี โดยเป็ นผลมาจากนโยบายทางเศรษฐกิ จของรั ฐ ที่ มุ่ง เน้ น ในการพัฒ นา อุตสาหกรรมและการส่งออก ในปี 2548 การค้ าทางทะเลทะเลของไทยมีมลู ค่าสูงถึง 6,120,901 ล้ านบาท ปั ญหาในปั จจุบนั ของพาณิชยนาวีไทย 1) ขาดความรู้เรื่ องการบริ หารและจัดการท่าเรื อ 2) กองเรื อไทยมี สัดส่วนในการขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศโดยเฉลี่ยน้ อย ในรอบ 20 ปี ที่ผ่านมากองเรื อไทยไม่ได้ มีขนาดและจํานวน เพิ่มขึ ้น เจ้ าของเรื อไทยมีสว่ นแบ่งในค่าขนส่งน้ อยมาก 3) การบริ การท่าเรื อ อุตสาหกรรมต่อเรื อและซ่อมเรื อได้ รับการ ส่งเสริ มจากภาครัฐบาลน้ อยมาก ทําให้ ไม่สามารถแข่งกับตลาดโลกได้ กิจการพาณิ ชยนาวีเป็ นกิจการที่ประกอบด้ วยกิจกรรมที่หลากหลายและซับซ้ อน และเปลี่ยนแปลงเร็ ว ้ งเป็ นกิจการที่มีการแข่งขันสูง ตลาดการขนส่งทางทะเล ท่าเรื อ หรื ออู่เรื อ เป็ นตลาดที่แข่งขัน และไม่หยุดยัง้ อีกทังยั โดยสมบูรณ์ ดังนันบทบาทของรั ้ ฐในการพัฒนากิจการพาณิชยนาวีจึงไม่ใช่การควบคุม หรื อผูกขาด หรื อโอบอุ้ม แต่ ้ จึงจะสามารถสนับสนุน เป็ นนโยบายที่ชดั เจน มาตรการสนับสนุนต่อเนื่อง ยาวนาน และสําคัญที่สดุ ต้ องครบทังวงจร ผู้ประกอบการให้ แข็งแกร่งสามารถต่อสู้และแข่งขันในโลกยุคเปิ ดเสรี ได้ ทังหมดนี ้ ้ต้ องอาศัยการบูรณาการจากหลาย


ฝ่ าย และจําเป็ นต้ องมีหน่วยงานกลางที่มีความเข้ าใจในธรรมชาติของธุรกิจพาณิชยนาวี เพื่อทําหน้ าที่ประสานกับ หน่วยงานต่างๆ เกี่ยวข้ องในการกําหนดนโยบายการพัฒนา การท่องเที่ยว พื น้ ที่ บ ริ เ วณชายฝั่ ง ทะเลของไทยมี ท รั พ ยากรการท่อ งเที่ ย วสร้ างรายได้ เ ข้ า ประเทศเป็ นจํ า นวนมาก กิจกรรมการท่องเที่ยวทางทะเล เช่น กิจกรรมดํานํ ้า กิจกรรมการเดินใต้ ทะเล กิจกรรมผักผ่อนชายหาด การชมหมู่บ้าน ชาวประมงและชาวเล กิจกรรมการแล่นเรื อ กิจกรรมการเดินศึกษาเส้ นทางศึกษาทางธรรมชาติ การดูนก การปี น/ไต่ ้ ์ การเดินป่ า กิจกรรมศึกษาท้ องฟ้าและดาราศาสตร์ การชมทิวทัศน์ การเล่นกีฬาทางนํ ้า การ ภูเขา กิจกรรมตังแคมป ตกปลา การศึกษาทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ฯลฯ เป็ นต้ น ในแต่ละปี ประเทศไทยสามารถรองรับจํานวนนักท่องเที่ยวได้ เป็ นจํานวนมาก ทังนั ้ กท่องเที่ยวที่เดินทางมา จากต่า งประเทศ และนักท่ อ งเที่ ย วชาวไทยเอง เกิ ด เป็ นรายได้ เข้ า สู่ป ระเทศ และก่อ เกิ ด การหมุน เวี ย นเงิ น ตรา ภายในประเทศ เนื่องจากความสวยงามของทะเลไทยเป็ นที่ยอมรับไปทัว่ โลก อีกทังก่ ้ อให้ เกิดอาชีพแก่ประชาชนใน พื ้นที่เป็ นจํานวนมาก อย่างไรก็ตามความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลกําลังเป็ นปั ญหาเนื่องจาก 1)ประชาชนขาด ความสนใจ และขาดการมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ ทรั พยากรธรรมชาติ และมีทัศนคติเชิ งลบต่อการประกาศเขต อนุรักษ์ 2) ขาดประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการ มีงบประมาณไม่เพียงพอ 3) ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถอย่างเพียงพอต่อการบริ หารจัดการพื ้นที่ 4) กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการ บริ หารจัดการพื ้นที่ทางทะเลและชายฝั่ ง 5) ขาดประสิทธิภาพในการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยัง่ ยืน 6) ขาดองค์ความรู้ ที่มีความจําเป็ นต่อการบริ หารจัดการพื ้นที่ และ 7) นักท่องเที่ยวและประชาชนทัว่ ไป ขาดทักษะ และความรู้ความตระหนักในการอนุรักษ์ และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน สิง่ แวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ ง ปั ญ หาสิ่ง แวดล้ อ มจากกิ จ กรรมการใช้ ท ะเล ได้ แ ก่ ปั ญ หาการรั่ ว ไหลของนํ า้ มัน การกัด เซาะชายฝั่ ง ปรากฏการณ์ นํ ้าทะเลเปลี่ยนสี การเปลี่ยนแปลงของระดับนํ ้าทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้ อน เป็ นต้ น ปั ญหาเหล่านี ้ ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมทางทะเล กล่าวคือทําให้ สิ่งแวดล้ อมทางทะเลเสื่อมโทรมลง เช่น เกิดมลภาวะหรื อมลพิษในทะเล คุณภาพนํ ้าเสื่อมโทรมลง ความงดงามของทัศนียภาพของทะเลลดน้ อยลง เป็ นต้ น และยังก่อให้ เกิดการสูญสิ ้นของทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิต เช่น สิ่งมีชีวิตใกล้ สญ ู พันธุ์และสัตว์สงวนไว้ เพื่อความ ยัง่ ยืนในอนาคต ได้ แก่ พะยูน ฉลาม หอยมือเสือ เป็ นต้ น โดยสาเหตุที่สําคัญที่ทําให้ เกิดปั ญหาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล ของประเทศไทย คือ มนุษย์ โดยผ่านกิจกรรมทังที ้ ่อยู่บนบก ชายฝั่ ง และในทะเล ทังนี ้ ้เนื่องจากการใช้ ประโยชน์จาก


ทรัพยากรธรรมชาติตา่ งๆ ของคนไทยที่ผ่านมาไม่ได้ ให้ ความสําคัญหรื อตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้ อม ดังนันจึ ้ งเกิดความสูญเสียที่บางครัง้ มิอาจประเมินเป็ นมูลค่าได้ ประเด็นปั ญหาสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ งที่กําลังเป็ นที่สนใจเป็ นอย่างมาก คือ ปั ญหาการกัดเซาะ ชายฝั่ ง ซึ่งมีผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อทรัพย์สินและสภาพจิตใจของประชาชน จําเป็ นต้ องหามาตรการจัดการอย่าง เร่งด่วน ความมัน่ คงของประเทศ ทะเลเป็ นแหล่งก่อเกิดรายได้ และความเจริ ญรุ่ งเรื องของประเทศอย่างมหาศาล การที่จะทําให้ สามารถ แสวงประโยชน์ จ ากทะเลให้ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ นัน้ จํ า เป็ นจะต้ อ งมี ก ารเสริ ม สร้ างกํ า ลัง อํ า นาจของชาติ ที่ เ รี ย กว่ า ้ วนขององค์ประกอบ สมุททานุภาพ ให้ อยูใ่ นระดับที่สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ได้ โดยจะต้ องมีการพัฒนาทังในส่ ที่เสริ มสร้ างความมัง่ คัง่ คือ กําลังอํานาจทางทะเลและองค์ประกอบที่เป็ นส่วนป้องกันกําลังอํานาจทางทะเลดังกล่าว คือ กําลังทางเรื อ ทังนี ้ ้ รัฐบาลหรื อผู้มีหน้ าที่ในการกําหนดนโยบายด้ านกิจกรรมทางทะเลของชาติ จะต้ องดําเนินการ อย่างสมดุลระหว่างปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยไม่ละเลยด้ านใดด้ านหนึง่ มาตราการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง กฎหมายที่เกี่ ยวข้ องกับกิจกรรมการใช้ ทะเลไทย มีประมาณกว่า 50

ฉบับ ได้ แก่ กฎหมายด้ านการ

พาณิชยนาวี กฎหมายด้ านทรัพยากรมีชีวิต กฎหมายด้ านทรัพยากรไม่มีชีวิต กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิ ในเขตต่อเนื่อง กฎหมายเกี่ยวกับความมัน่ คงหรื อความสงบเรี ยบร้ อยทางทะเล กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อม และกฎหมายเกี่ยวกับ กิจกรรมทางทะเลอื่นๆ จากการศึกษากฎหมายไทยไม่ว่าจะในแง่ของการใช้ อํานาจตามกฎหมายของเจ้ าหน้ าที่เพื่อการควบคุม กิ จกรรมการใช้ ทะเลหรื อในบทบัญญัติของกฎหมาย โดยพิจารณาประกอบกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ ว ย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 พบว่า การควบคุมกิจกรรมทางทะเลของประเทศไทยยังคงมีความบกพร่ องในด้ านต่างๆ จึงไม่สามารถใช้ เป็ นเครื่ องมื อในการรั กษาผลประโยชน์ แ ห่งชาติทะเลได้ อ ย่างมีประสิทธิ ภาพ ทํ าให้ การดํา เนิ น กิจกรรมทางทะเลของประเทศไทยไม่เกิดความยัง่ ยืน ในส่วนของการบังคับใช้ กฎหมายมีลกั ษณะความซํ ้าซ้ อนในอํานาจหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่หลายหน่วยงาน แต่ขาดการประสานกัน ทังที ้ ่การใช้ อํานาจตามกฎหมายเพื่อควบคุมกิจกรรมในการใช้ ทะเลมีความจําเป็ นอย่างยิ่งที่ จะต้ องมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานหลายหน่วยงาน เพื่อให้ การควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ความชัดเจนของหน่วยงานผู้รับผิดชอบเพื่อบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมายยังก่อให้ เกิดความ


สับสนแก่เจ้ าหน้ าที่ผ้ ปู ฏิบตั ิ ประกอบกับเจ้ าหน้ าที่ผ้ ปู ฏิบตั ิก็ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรรวมถึงบางครัง้ มีข้อจํากัดเชิง พื ้นที่ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ ปั ญหาเหล่านี ้ทําให้ การบังคับใช้ กฎหมายที่ผา่ นมาไม่ประสบความสําเร็จ บทบัญญัติทางกฎหมายของประเทศไทยยังไม่ครอบคลุมทุกกรณีในทุกเขตทางทะเลไม่ว่าจะเป็ นในเขต เศรษฐกิจจําเพาะ เขตไหล่ทวีป หรื อในทะเลหลวง ข้ อบกพร่ องของกฎหมาย เช่น 1) ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมาย ภายในบัญญัติไว้ ในเรื่ องนันๆ ้ 2) กฎหมายภายในกําหนดไว้ แตกต่างจากอนุสญ ั ญาฯ ระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมี ั ญาฯ ระหว่างประเทศที่ พันธกรณี อยู่ 3) มีบทบัญญัติของกฎหมายภายในแต่ไม่ครอบคลุมถึงขอบเขตตามอนุสญ ประเทศไทยมีพนั ธกรณีอยู่ สําหรับแนวทางการพัฒนาการของกฎหมายทางทะเลของไทยนัน้ เนื่องจากอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่า ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เป็ นสนธิ สญ ั ญาระหว่างประเทศที่ทวั่ โลกให้ การรับรองและยอมรับมากกว่า 145 ประเทศทั่วโลก จึงถือว่าเป็ นกฎหมายแม่บททางทะเลของโลกที่ได้ วางหลักการสําคัญๆ ทางทะเลไว้ อย่างกว้ างๆ เพื่อให้ รัฐต่างๆ ทัว่ โลกได้ มีการประชุมเพื่อเจรจาทําความตกลงระหว่างรัฐต่างๆ ทังในระดั ้ บโลก ระดับภูมิภาค ระดับ ั ญาฯ อนุภมู ิภาคและระดับชาติแล้ วแต่กรณี ประเทศไทยมีสถานะเป็ นเพียงรัฐที่ลงนามรับรองการเกิดขึ ้นของอนุสญ ทําให้ มีผลผูกพันว่า “ไทยจะต้ องไม่ปฏิบตั ิการใดให้ เป็ นการขัดหรื อแย้ งต่อเจตนารมณ์ หลักของอนุสญ ั ญาฯ” จาก พันธกรณีดงั กล่าวประเทศไทยจึงควรใช้ ประกาศดังกล่าวเป็ นจุดเริ่มต้ นในการจัดทํากรอบนโยบายทางทะเลเพื่อรักษา ผลประโยชน์ ของชาติให้ เป็ นรู ปธรรม เมื่อกรอบนโยบายได้ รับการจัดทําเสร็ จแล้ ว จึงควรต้ องเริ่ มจัดทํากรอบด้ าน กฎหมายทางทะเลเพื่อให้ ครอบคลุมกิจกรรมทางทะเลทังหมด ้ (All Marine Activities) ที่เกิดขึ ้นภายในน่านนํ ้าไทย ซึง่ ประกอบด้ ว ยน่ า นนํ า้ ภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่ อ เนื่ อ ง และเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะ นอกจากนี ค้ วรจัด ตัง้ คณะกรรมการหรื อคณะทํางานเฉพาะกิจเพื่อศึกษาถึงความไม่ชัดเจนของอํานาจหน้ าที่และกฎหมายที่ให้ อํานาจ ดังกล่าว ความซํ า้ ซ้ อนของการใช้ อํานาจ ความไม่ครอบคลุมของบทบัญญัติของกฎหมายที่ ใช้ อ ยู่ในปั จจุบันกับ กิจกรรมทางทะเลและธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ เพื่อสรุ ปปั ญหาและอุปสรรคของการพัฒนากฎหมายทางทะเลทังหมด ้ โดยเร็ ว เพื่อเร่ งหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาโดยด่วน หรื อกล่าวโดยย่อคือ เร่ งสังคยานากฎหมายทางทะเลโดยเร็ ว และ อย่างเป็ นรูปธรรม โดยรวมแล้ วสถานการณ์การใช้ ทะเลของของประเทศไทยในปั จจุบนั อาจจะเรี ยกได้ ว่ามีปัญหาอยู่ในทุก มิติ เริ่ มตังแต่ ้ ปัญหาในมิติของทรัพยากร โดยที่ตวั ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝั่ งมีข้อจํากัดในลักษณะที่ บางอย่างอาจเติบโตหรื อเพิ่มจํานวนขึ ้นมาแทนที่ได้ คือ ทรัพยากรคืนรูป (Renewable Resources) แต่บางอย่างเมื่อ ใช้ หมดแล้ วก็หมดไป คือ ทรัพยากรไม่คืนรูป (Non-Renewable Resources) ทําให้ ทรัพยากรที่สามารถใช้ ประโยชน์ ได้ มีอยู่ในจํานวนจํากัด ยิ่งเมื่อเกิดกรณีการใช้ แบบมือใครยาวสาวได้ สาวเอาและจํานวนผู้ใช้ ที่เพิ่มมากขึ ้น จึงทําให้ ทรัพยากรทางทะเลที่เคยมีอยู่มากได้ ลดลงทังปริ ้ มาณและคุณภาพ เกิดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้ อมดังที่เห็น กันอยูใ่ นปั จจุบนั


นอกจากผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมซึ่งนับเป็ นปั ญหาใหญ่ ที่ทั่วโลกให้ ความสําคัญแล้ ว ในทางสังคมก็ ได้ รับผลกระทบด้ วยเช่นกัน เพราะความขัดแย้ งจากการที่ต้องแย่งกันใช้ ทรัพยากร เช่น ความขัดแย้ งระหว่างประมง พื ้นบ้ านกับประมงพาณิชย์ ทําให้ สงั คมในระดับชุมชนเกิดการแตกแยก นอกจากนี ้เพื่อที่จะหาทรัพยากรมาใช้ ได้ อย่าง เพียงพอ เราจึงต้ องแสวงหาแหล่งทรัพยากรใหม่ๆ ซึง่ หากเป็ นไปในทางที่ไม่ถกู วิธี เช่น การลักลอบใช้ อย่างไม่ถกู ต้ อง ตามข้ อบังคับของประเทศอื่นๆ ก็จะทําให้ เกิดการจับกุมคุมขัง กลายเป็ นกรณี พิพาทระหว่างประเทศที่กระทบถึง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ นอกจากนี ้ การขาดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลในภาพรวม และ ภาครัฐขาดวิสยั ทัศน์ในการบริ หารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลร่ วมกัน ทําให้ ไม่สามารถสร้ างความร่ วมมือใน การบริ หารจัดการแบบองค์รวมได้ ทงในส่ ั ้ วนของนโยบายและองค์กร หรื อหน่วยงานที่มีหน้ าที่ในการบริ หารจัดการ ตัวอย่างเช่น กรณีการจดทะเบียนเรื อประมงและเครื่ องมือทําการประมงที่มีหน่วยงานรับผิดชอบคนละหน่วยงาน หรื อ กรณีการสร้ างท่าเรื อกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าชายเลน เป็ นต้ น ทําให้ การอนุรักษ์ และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเกิด ความไม่สอดคล้ องกัน การขาดองค์ความรู้ที่มีความจําเป็ นต่อการบริ หารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเล เช่น วิทยาศาสตร์ ทาง ทะเล การประมงนอกน่านนํ ้า กิจการทางทะเล การขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี รวมทังการที ้ ่ประชาชนซึง่ เป็ นผู้ที่อยู่ ในพื ้นที่ซึ่งเป็ นผู้มีสิทธิ ใช้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอย่างเต็มที่เข้ ามามีส่วนร่ วมน้ อยในการวางแผน หรื อการ จัดการทรัพยากร ก็เป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ การบริ หารจัดการเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่ผ่านมาไม่ ประสบผลสําเร็จเท่าที่ควร แนวโน้ มการใช้ ทะเลในอนาคต ด้ วยสถานการณ์การใช้ ทะเลที่ได้ นําเสนอในแง่มมุ ต่างๆ จากอดีตจนถึงปั จจุบนั ที่ขาดทังนโยบายและการ ้ ปฏิบตั ิการที่เหมาะสมจนทําให้ เกิดสภาพความเสื่อมโทรมลงในทุกมิติ ทําให้ พอที่จะคาดการณ์ ได้ ว่าการใช้ ทะเลใน อนาคตจะเกิดข้ อจํากัดอย่างมากมาย หลากหลายและซับซ้ อนจนต้ องเพิ่มความระมัดระวังและต้ องมีการจัดการใน แต่ละมิติของการใช้ อย่างเหมาะสมที่สดุ เช่น ในมิติด้านการขนส่งซึง่ มีสดั ส่วนผลประโยชน์ทางทะเลมากที่สดุ และจะ ยิ่งทวีเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ เนื่องจากการพัฒนาด้ านเศรษฐกิจที่ต้องมีการขนส่งเป็ นปั จจัยเสริ มที่สําคัญและจําเป็ น และ การขนส่งทางทะเลยังคงเป็ นทางเลือกที่ดจู ะมีความคุ้มทุนในการลงทุนด้ านนี ้มากที่สดุ ดังนัน้ การใช้ ทะเลในมิติของ การขนส่งจึงอาจเป็ นกิจกรรมที่จะถูกจัดอันดับความสําคัญไว้ เป็ นอันดับต้ นที่ประเทศไทยจะต้ องมีนโยบายส่งเสริ ม การใช้ อย่างไรก็ตามหากประเทศไทยจะหันมาเน้ นนโยบายส่งเสริ มการขนส่งทางทางทะเลก็จะต้ องมีการปรับเปลี่ยน วิธีการบริหารจัดการเพื่อให้ ผลประโยชน์ที่มีอยูอ่ ย่างมากมายมหาศาลกลับคืนมาอยูใ่ นมือคนไทยให้ ได้ มากกว่าเดิม


สําหรับมิติของทรัพยากรมีชีวิตซึ่งเป็ นปั จจัยพื ้นฐานที่สําคัญจะต้ องมีการสร้ างหลักของการจัดการอัน ได้ แก่ การใช้ อนุรักษ์ ฟื น้ ฟู และสร้ างใหม่ ให้ เหมาะสมกับทรัพยากรแต่ละประเภท โดยคํานึงถึงความสมดุล พอเพียง และยัง่ ยืนเป็ นหลัก เช่น ทรัพยากรประมงต้ องมีการเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ ใช้ ให้ สมดุลกับการเกิดทดแทนใหม่ หรื อหาแหล่งของการใช้ ใหม่ๆ ที่มีความเป็ นไปได้ ไม่ว่าจะเป็ นขยายการประมงไปนอกน่านนํา้ หรื อการส่งเสริ มการ เพาะเลี ้ยงเพื่อทดแทนการจับ เป็ นต้ น ส่วนทรั พยากรที่เป็ นระบบนิเวศซึ่งมีความหลากหลายทางชี วภาพสูงแต่มี แนวโน้ มที่จะลดลงทังในเชิ ้ งปริ มาณและคุณภาพก็จะต้ องถูกอนุรักษ์ และฟื น้ ฟูเป็ นส่วนใหญ่ เนื่องจากที่ผ่านมามีการ ใช้ อย่างเกิดขีดความสามารถในการรองรับไปแล้ ว การท่องเที่ยวเป็ นอีกหนึง่ กิจกรรมการใช้ ทะเลที่ก่อให้ เกิดผลกระทบอย่างมากต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและ ก็จะเพิ่มมากขึ ้นตามลําดับ ที่ผ่านมาการคิดผลประโยชน์ที่ได้ จากการท่องเที่ยวไม่ได้ คํานึงถึงต้ นทุนทางสิ่งแวดล้ อมที่ เป็ นต้ นทุนแอบแฝงอยู่ด้วย ทําให้ การบริ หารจัดการยังไม่มีความเหมาะสม ดังนันถ้ ้ าประเทศไทยจะยังต้ องการรักษา อันดับของการเป็ นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่สวยงามอันดับต้ นๆ ของโลกเอาไว้ ก็จําเป็ นจะต้ องหาทาง สร้ างหลักการท่องเที่ยวทางทะเลให้ มีความเหมาะสมกับแหล่งท่องเที่ยวต่อไป รวมทังต้ ้ องตระหนักไว้ เสมอว่าการ ท่องเที่ยวไม่ใช่การได้ เปล่าแต่มีต้นทุนทางสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรที่เราต้ องเสียไป ดังนัน้ จะใช้ อย่างไรให้ ค้ มุ กับ ต้ นทุนที่ต้องเสียไปนี ้ นอกจากนี ้ แนวโน้ มการใช้ ทะเลในอนาคตยังอาจมีประเด็นที่ทําให้ เกิดความขัดแย้ งขึ ้นได้ ทังนี ้ ้เพราะหาก กิจกรรมการใช้ ทะเลมีเพิ่มมากขึ ้นจนเกินขอบเขตบางครัง้ ก็อาจทําให้ เกิดความขัดแย้ งเพื่อแย่งชิงขึ ้นได้ ทงภายในมิ ั้ ติ เดียวกันเอง เช่น ปั ญหาการประมงพื ้นบ้ านกับประมงพาณิชย์ เป็ นต้ น และระหว่างมิติด้วยกัน เช่น ปั ญหาระหว่าง การประมงกับการท่องเที่ยว เป็ นต้ น โดยสรุ ป แล้ ว ภาพรวมของการใช้ ท ะเลในอนาคตคื อ มี ก ารใช้ เ พิ่ ม มากขึ น้ ในขณะที่ ส ถานภาพของ ้ ตินนๆ ั ้ และยังมีแนวโน้ มที่จะ ทรัพยากรมีแต่จะลดน้ อยถอยลงในอัตราเร่งอย่างต่อเนื่องอันจะส่งผลกระทบทังภายในมิ ก่อให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่างมิติการใช้ หากไม่มีการจัดการที่เหมาะสม ดังนัน้ เราจึงต้ องพิจารณาว่าจะใช้ อย่างไรให้ มีความสมดุลกัน ใช้ อย่างไรไม่ให้ เลื่อมลํ ้าเกิดการขัดแย้ งกันได้ ทังยั ้ งต้ องพยายามรักษาสถานภาพของทรัพยากรให้ คงมีไว้ ใช้ ได้ ถงึ รุ่นลูกรุ่นหลานด้ วย แนวทางหนึ่งที่จะเป็ นไปได้ ในการใช้ ทะเลให้ เกิดความสมดุลและสอดคล้ องกัน คือ ต้ องตระหนักถึงความ ซับซ้ อนของกิจกรรมทางทะเลที่มีความหลากหลายแต่ต้องสร้ างหลักของการใช้ ทะเลที่มองทะเลเป็ นภาพเดียวกัน ทังหมด ้ และมีตวั ชี ้วัดที่จะใช้ เป็ นตัวประเมินผลหรื อตัดสินร่ วมกัน ซึง่ ตัวชี ้วัดที่น่าจะมีความเป็ นไปได้ มี 3 ประการ คือ ความเจริ ญก้ าวหน้ าทางเศรษฐกิจ การอยู่ดีมีสขุ ของคนในสังคม และสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ งไม่เกิดการ เสื่อมโทรม ซึ่งเครื่ องมือที่จะช่วยเสริ มสร้ างให้ การใช้ หลักการนี ้ประสบผลสําเร็จ คือ กฎหมาย การดําเนินงานร่ วมกัน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเป็ นองค์รวม และการศึกษาวิจยั ในลักษณะต่างๆ เพื่อให้ ได้ มาซึ่งความรู้ ที่ถกู ต้ อง ครบถ้ วน


และทันเหตุการณ์ตามความจําเป็ น ดังนันเพื ้ ่อเตรี ยมความพร้ อมไปสูก่ ารสร้ างหลักการใช้ ทะเลที่เหมาะสมในอนาคต จะต้ องพัฒนาบทบัญญัติทางกฎหมายทังภายในและระหว่ ้ างประเทศให้ เหมาะสมและเข้ มแข็ง สร้ างกรอบหรื อกลไกที่ จะส่งเสริมให้ หน่วยงานต่างๆ บูรณาการกิจกรรมด้ านทะเลอย่างมีระบบ นอกจากนี ้ยังต้ องสร้ างองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้ อง กับการใช้ ทะเลในทุกมิติจากการศึกษาวิจัย และพัฒนาระบบฐานข้ อมูลเพื่ อใช้ สนับสนุนการตัดสินใจ ไว้ ใช้ เป็ น เครื่ องมือในการบริ หารประเทศอีกด้ วยซึง่ สิ่งต่างๆ เหล่านี ้จะเกิดขึ ้นได้ จะต้ องมีนโยบายทางทะเลที่ชดั เจนและคลอบ คลุมประเด็นทังหมดที ้ ่วา่ ด้ วยผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลเป็ นสําคัญ

ข้ อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการบริหารจัดการผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล ในการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่ดีควรจะมีองค์ประกอบที่สําคัญ 5 ส่วน คือ 1) ความรู้ทาง วิชาการ 2) การจัดการ (นโยบาย ปั จจัยภายนอกและภายใน พัฒนานโยบาย และข้ อเสนอแนะเพื่อการจัดการ วนแรกจะสนับสนุนการกําหนดนโยบายให้ กบั ส่วนที่ 3) คือคณะรัฐมนตรี ซึง่ มีหน้ าที่ประสานงาน นโยบาย) ทังสองส่ ้ ในระดับนโยบาย เพื่อให้ ส่วนที่ 4) คือ หน่วยงานต่างๆ ของรัฐ ซึ่งเป็ นหน่วยปฏิบตั ิ จะทําหน้ าที่สนองนโยบาย ซึ่ง อาจจะมีหน่วยงานเฉพาะกิจที่ประกอบด้ วยเจ้ าหน้ าที่จากหน่วยงานต่างๆ มาทํางานประสานงานกัน และส่วนที่ 5) คือ ภาคสังคมซึ่งจะต้ องสร้ างความเข้ าใจให้ ผ้ ูมีส่วนได้ ส่วนเสียที่เกี่ ยวข้ องกับการใช้ ประโยชน์ จากทะเล ทัง้ ภาค ประชาชนในท้ องถิ่น เอ็นจีโอ กลุ่มธุรกิจต่างๆ เข้ ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ตังแต่ ้ การกําหนดนโยบายไปจนถึงการปฏิบตั ิ โครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน จึงเสนอ ให้ มีการดําเนินการ ดังนี ้ 1) การจัดตังคณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์ ้ แห่งชาติทางทะเล เพื่อทําหน้ าที่กําหนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์ ผลประโยชน์ชาติทางทะเล และเพื่อทําหน้ าที่สนับสนุน ส่งเสริมและผลักดันให้ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ อง ดําเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์ ที่ตงไว้ ั้ 2) การดําเนินการเพื่อสนับสนุนให้ ประเทศไทยเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (ลงนามรับรองไว้ ตงแต่ ั ้ ค.ศ. 1982 (2525)) เพื่อสร้ างโอกาสที่จะสงวน รักษา และปกป้องสิทธิที่พงึ่ มีพงึ่ ได้ จากการใช้ ทะเลของคนในชาติ 3) การจัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ ระดับชาติเกี่ยวกับผลประโยชน์ชาติทางทะเลในทุกมิติอย่างเป็ น ระบบที่สอดคล้ องกัน โดยกระบวนการมีสว่ นร่วมของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง 4) การจัดทํากฎหมายกลางเพื่อเป็ นกลไกในการขับเคลื่อนนโยบายระดับชาติเกี่ยวกับผลประโยชน์ชาติ ทางทะเล รวมทังปรั ้ บปรุงกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับกรอบด้ านกฎหมายทางทะเล


5) การส่งเสริมการศึกษาวิจยั อย่างบูรณาการที่ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อเป็ นฐานความรู้ที่จะใช้ ในการบริ หาร จัดการทะเลอย่างเหมาะสม 6) การรณรงค์สร้ างจิตสํานึกสาธารณะเกี่ยวกับผลประโยชน์ทางทะเลในทุกมิติให้ กับกลุ่มคนทุกระดับ อย่างเป็ นรูปธรรม 7) การพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถให้ กบั หน่วยงานที่มีความรับผิดชอบด้ านการรักษาความมัน่ คง ทางทะเล เพื่อให้ สามารถคุ้มครองและดูแลรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลไว้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ


กิตติกรรมประกาศ โครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน ได้ สําเร็จลง ด้ ว ยดี แ ละได้ รับผลเป็ นที่ พ อใจ ซึ่ง เป็ นผลจากการประสานความร่ ว มมื อ ในการวิจัยเชิ ง วิชาการร่ ว มกัน ระหว่า ง หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องหลายหน่ ว ยงาน คณะผู้วิ จั ย ใคร่ ข อขอบคุณ ผู้ที่ มี ส่ ว นในการสนั บ สนุ น ที่ สํ า คัญ ได้ แ ก่ คณะที่ปรึ กษาผู้ทรงคุณวุฒิของโครงการซึ่งประกอบด้ วย ศาสตราจารย์ ดร. ทวีศกั ดิ์ ปิ ยะกาญจน์ ศาสตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ ว พลเรื อเอก ถนอม เจริ ญลาภ รองศาสตราจารย์ ดร. พิพฒ ั น์ ั น์ ตังสื ้ บกุล พลเรื อตรี ศิริวฒ ธนะเพทย์ รองศาสตราจารย์ ดร. สิตานนท์ เจษฎาพิพฒ ั น์ และคุณสุธรรม จิตรานุเคราะห์ ที่กรุ ณาให้ ความรู้ และ ข้ อคิดเห็นตลอดจนคําแนะนําที่เป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดําเนินโครงการ ขอขอบคุณผู้บริ หารหน่วยงาน ได้ แก่ อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เจ้ ากรมอุทกศาสตร์ ผู้บริ หารคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้บริ หารทุก ระดับของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ให้ ความร่ วมมือและเปิ ดโอกาสให้ นกั วิจยั ในหน่วยงานร่ วมเป็ นคณะผู้วิจยั ใน โครงการ นอกจากนี ้โครงการฯ ยังได้ รับความอนุเคราะห์ข้อมูลและความร่ วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องอื่นๆ เช่น กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมทรัพยากรธรณี กรมการขนส่ง ทางนํ ้าและพาณิชยนาวี กรมควบคุมมลพิษ กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม เป็ นต้ น จนสามารถดําเนินงานวิจยั ได้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ขอขอบคุณ อ. ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง ภาควิ ช าชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ นทร์ ที ม ผู้ ช่ ว ยวิ จั ย ในโครงการ ได้ แก่ น.ส. วลัยพร ล้ ออัศจรรย์ น.ส. อาภรณ์ โพธิ์ พงศ์วิวัฒน์ น.ส. โสภิต สร้ อยสอดศรี น.ส.พรพรรณ จันทร์ แจ้ ง และ น.ส. จีรวรรณ ช่วยพัฒน์ ตลอดจนทีมผู้ช่วยวิจัยของคณะนักวิจยั ทุกท่านที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมาร่ วมแรงร่ วมใจ ประสานการทํางานในทุกขัน้ ตอนจนบรรลุผลสําเร็ จ และสุดท้ ายขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ได้ สนับสนุนให้ ทนุ วิจยั ทําให้ โครงการนี ้เกิดขึ ้นอย่างเป็ นรูปธรรม


บทคัดย่อ รหัสโครงการ: RDG5030005 ชื่อโครงการ: โครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการ ใช้ทะเลอย่างยังยื ่ น ุ 2, โกมล จิรชัยสุทธิกุล3, พวงทอง อ่อนอุระ ชื่อนักวิ จยั : เผดิมศักดิ ์ จารยะพันธุ1์ , ศรัณย์ เพ็ชร์พริ ณ 4 , สมิท ธรรมเชือ้ 4, เทวัญ ธนมาลารัตน์4, อรชา ธนากร5, สุมาลี สุขดานนท์6, สุนนั ทา เจริญปญั ญา ั น์1, วลัยพร ล้ออัศจรรย์1, ยิง่ 6, สมภพ รุง่ สุภา1, วันชัย จันทร์ละเอียด7, อาภรณ์ โพธิ ์พงศ์ววิ ฒ โสภิต สร้อยสอดศรี1, พรพรรณ จันทร์แจ้ง1, 1 สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ั ญา , 3สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 4กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 5กรมสนธิสญ 6 และกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ, สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 7 กรมอุทกศาสตร์, Email address: jpaderms@chula.ac.th ระยะเวลาโครงการ: พฤศจิ กายน 2549 – ตุลาคม 2550 ทะเลเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทส่ี าํ คัญของประเทศ การใช้ทะเลในปจั จุบนั ครอบคลุมหลายมิติ แต่เป็ นไปโดยขาดแผนการบริหารจัดการในภาพรวมทีช่ ดั เจน จึงเกิดปญั หาต่างๆ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง การศึกษาครัง้ นี้มุ่งเพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้ทะเลในทุกมิติ โดยรวบรวมข้อมูลทุตยิ ภูมใิ นแต่ละ ด้านมาวิเคราะห์ประกอบกับการจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วนเพื่อให้ได้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจ จากการศึกษาพบว่า ขอบเขตการใช้ทะเลของ ประเทศไทยไม่ได้มเี พียงแค่ในอาณาเขตทะเลของประเทศไทยเท่านัน้ แต่เรายังสามารถใช้ทะเลใน อาณาเขตประเทศเพื่อนบ้าน หรือประเทศอื่นๆ ที่สามารถทําความตกลงร่วมกัน รวมไปถึงทะเล หลวง หรือน่ านนํ้ าสากลด้วย ทรัพยากรทางทะเลที่ถูกใช้สามารถสร้างผลประโยชน์ในด้านต่างๆ รวมไม่น้อยกว่า 7.4 ล้านล้านบาท อย่างไรก็ดผี ลประโยชน์จํานวนนี้กลับตกอยู่ในมือคนไทยไม่ถงึ 30 % อันมีสาเหตุมาจาก 1) ทรัพยากรมีอยูอ่ ย่างจํากัด มีการใช้ประโยชน์อย่างไม่ยงยื ั ่ น ส่งผลให้ เกิดความเสื่อมโทรม และหมดไปของทรัพยากรธรรมชาติ 2) ขาดองค์ความรูท้ ม่ี คี วามจําเป็ นต่อ การบริหารจัดการทะเลในภาพรวม 3) กฎหมายซึ่งเป็ นเครื่องมือในการบริหารจัดการขาด ประสิทธิภาพ 4) ประชาชนขาดโอกาสเข้าถึงการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลแบบบูรณาการ และ 5) ภาครัฐขาดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการจัดการผลประโยชน์ ชาติทางทะเลในภาพรวม


เป็ นทีช่ ดั เจนว่าในอนาคตการใช้ทะเลจะมีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ ในขณะทีส่ ถานภาพของทรัพยากร แต่ละมิตจิ ะเสื่อมถอยลงในอัตราเร่งอย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบทัง้ ภายในมิตนิ ัน้ ๆ และก่อให้เกิด ความขัดแย้งระหว่างมิติด้วย การบริหารจัดการจึงจําเป็ นจะต้องพิจารณาว่าควรใช้อย่างไรให้มี ความสมดุ ล พร้อ มๆ ไปกับ การสงวนรัก ษาให้ท รัพ ยากรทุ ก ชนิ ด มีใ ช้ไ ด้อ ย่า งยังยื ่ น แนวทาง แก้ปญั หาทีเ่ ป็ นไปได้ คือ ต้องสร้างหลักของการใช้ทะเลทีม่ องทะเลเป็ นภาพเดียวกัน ใช้ผลทีไ่ ด้รบั ทางเศรษฐกิจ สัง คม และสิ่ง แวดล้อ มเป็ น ตัว ชี้ว ดั ร่ว มกัน ในการประเมิน ผลหรือ ตัด สิน โดยมี กฎหมาย และการศึกษาวิจยั เป็ นเครื่องมือ ข้อเสนอเชิงนโยบายสําหรับการบริหารจัดการการใช้ ทะเล ได้แก่ 1) จัดตัง้ คณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล 2) ให้ประเทศไทยเข้า เป็ นภาคีอนุ สญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 3) จัดทํานโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับชาติเกีย่ วกับผลประโยชน์ชาติทางทะเล 4) ปรับปรุงกฎหมายและข้อบังคับอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ทะเลให้ทนั สมัย และใช้ได้จริง 5) ส่งเสริมการศึกษาวิจยั แบบบูรณาการและ ครอบคลุมทุกมิตขิ องการใช้ทะเล 6) รณรงค์ให้ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลกลายเป็ นประเด็น สาธารณะ และ 7) สร้างองค์กร/ หน่วยงานกลางทีด่ แู ลรับผิดชอบการใช้ทะเลในภาพรวม พร้อมทัง้ พัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถให้กบั หน่ วยงานทีม่ คี วามรับผิดชอบด้านการรักษาความมันคงทาง ่ ทะเล

คําหลัก: สถานการณ์ปัจจุบนั แนวโน้ มในอนาคต การใช้ทะเลอย่างยังยื ่ น


Abstract Project Code: RDG5030005 Project Title: Present Status and Future Trend of Thailand’s Sustainable Utilization of the Sea Investigators : Jarayabhand P.1, Petpiroon S.2, Jirachaisudtigkun K.3, Onoora P.4, Thammachau S.4, Thanamalarat T.4, Tanakorn O.5, Sukdanont S.6, Charoenpanyaying S.6, Rungsupa S.1, Chanla-iad W.7, Losussachan W.1, Soisodsri S.1, Janjang P.1 1 Aquatic Resource Research Institute Chulalongkorn University, 2Faculty of Fisheries Kasetsart University, 3Office of the Council of State, 4Department of Fisheries Ministry of Aquiculture and Coopratives, 5Department of Treaties and Legal Affairs Ministry of Foreign Affairs, 6Transportation Institute Chulalongkorn University, 7Hydrographic Department Royal Thai Navy Email address: jpaderms@chula.ac.th Project Duration: November 2006 – October 2007 Thai’s seas are invaluable natural resource assets. The multifaceted utilizations of Thai’s seas have occurred without sound management and good governance. Consequently, environmental problems and associated challenges have emerged continuously. The objective of this study is to examine a wide range of marine-related issues by conducting a comprehensive review of secondary data and meetings of experts and stakeholders. The outcome from the study will be the recommendations for the high level decision makers in creating an effective and farsighted policy for Thai’s seas. Findings show that the boundary of the seas that we have been used is not only limited to those under Thai jurisdiction, but also expanded to those of the neighboring countries, the high seas, as well as of other countries with whom we have agreements. Thai’s seas and coasts provide considerable values to our economy. Such values account for more than 7.4 trillion Baht, of which less than 30 % is contributed to Thai people. The rest is lost due to 1) unsustainable use of limited resources resulting in the degradation of those natural resources 2) lack of knowledge and understanding necessary for effective integrated


ต

management of coastal and marine resources 3) inefficiency of law and legislation which are essential tools to manage marine resources 4) lack of opportunities for public participation in integrated marine resource management, and 5) insufficiency of government policies and strategies to address all marine-related issues as a whole. While the future trend is an increase in uses of marine resources, the conditions of marine ecosystem have declined continuously resulting in an intensification of a conflict among resource users. Accordingly, sound management must balance diverse uses of those resources as well as protect those valuable resources at the same time. Therefore, the government must create a comprehensive framework which directs the uniform principle for multifaceted uses of the seas. Results from multidimensional monitoring including social, economic, and environmental indicators must be compared together, to evaluate the accomplishment by using legislation and best available knowledge as the instrument. Recommendations for comprehensive management of marine resources are as follows; 1) to establish the commission on Thailand’s marine policy, 2) Thailand should ratify the UNCLOS 1982, 3) to create and develop national policies and strategies to address the marine-related issues, 4) to amend law and legislation governing uses of seas and coastal resources to be practical, clear, and up to date, 5) to promote a multidisciplinary research and education associated with multidimensional uses of sea and coastal resources, 6) to encourage public awareness and concerns on marine asset issues, and 7) to establish an organization or agency responsible specifically for management of marine-related activities as well as increase the capacity of the agency responsible for national security of the seas.

Keywords: Present Status, Future Trend, Sustainable Utilization of the Sea


สารบัญ หน้ า บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

กิตติกรรมประกาศ

บทคัดย่อ

Abstract

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

บทที่ 1 ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

1

1.1 ขอบเขตและคําจํากัดความของผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

1

1.2 ความสําคัญ

1

1.3 มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

7

1.4 นโยบายการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของประเทศไทย

14

1.5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

18

1.6 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ

19

บทที่ 2 หน่วยงาน/ องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลไทย

21

2.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของประเทศไทย

21

2.2 ปั ญหาการบริหารจัดการหน่วยงานที่เกี่ยวกับการใช้ ทะเล

26

2.3 แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

26

บทที่ 3 สถานการณ์ปัจจุบนั ของประเทศไทยกับการใช้ ทะเล: ปั ญหาและผลกระทบ

27

3.1 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองของทรัพยากรธรรมชาติ

27

3.2 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองด้ านพาณิชยนาวี

82

3.3 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองของการท่องเที่ยวและนันทนาการ

111

3.4 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองด้ านสิง่ แวดล้ อม

139

3.5 บทสรุป

161

บทที่ 4 มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ทางทะเล 4.1 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองด้ านกฎหมาย

163 163


ท สารบัญ (ต่ อ) หน้ า 4.2 สถานการณ์ในปั จจุบนั ด้ านกฎหมายของประเทศไทย

295

4.3 แนวโน้ มในอนาคตของกฎหมายทางทะเลของประเทศไทย

300

บทที่ 5 ข้ อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

303

5.1 ปั ญหาและอุปสรรคของการใช้ ทะเลในภาพรวม

303

5.2 ข้ อเสนอแนะเพื่อการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

306

บทที่ 6 การศึกษาวิจยั เพิ่มเติมในประเด็นที่เกี่ยวข้ องในอนาคต

309

6.1 มิติทรัพยากรธรรมชาติ

309

6.2 มิติกิจกรรมการใช้ ทะเล

310

6.3 มิติผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อมทางทะเล

310

6.4 มิติด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเล

311

6.5 งานวิจยั ในประเด็นอื่นๆ

311

บทที่ 7 ระบบฐานข้ อมูลและเว็บไซต์

313

7.1 ระบบฐานข้ อมูล

313

7.2 เว็บไซต์

318

เอกสารอ้ างอิง ภาคผนวก ก

การจําแนกมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของโครงการฯ

337

ภาคผนวก ข

การจําแนกหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของประเทศไทยในมิติตา่ งๆ

343

ภาคผนวก ค

กฎหมาย กฎข้ อบังคับต่างๆ ที่ประเทศไทยใช้ บงั คับที่เกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลไทย ในปั จจุบนั

ภาคผนวก ง ภาคผนวก จ

375

ร่างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้ วยคณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ...

447

ร่างพระราชบัญญัติสง่ เสริมและรักษาผลประโยชน์ทางทะเล พ.ศ. ...

453


ธ สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 1-1

มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

12

ตารางที่ 3-1

ผลผลิตและการใช้ สตั ว์ นํ ้าของโลกจากการประมงโดยการจับและการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า 39

ตารางที่ 3-2

ปริมาณการนําเข้ าปิ โตรเลียมของประเทศไทย

73

ตารางที่ 3-3

จํานวนท่าเรื อจําแนกตามชายฝั่ งทะเล จังหวัด และประเภทท่าเรื อ

85

ตารางที่ 3-4

รายชื่อเมืองท่าชายทะเลและด่านศุลกากร จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

90

ตารางที่ 3-5

ปริมาณเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของประเทศไทยในปี 2540-2546

91

ตารางที่ 3-6

ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของประเทศไทย ปี 2540-2546

91

ตารางที่ 3-7

จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก ปี 2540-2546

94

ตารางที่ 3-8

ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก ปี 2540-2546

95

ตารางที่ 3-9

จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตอนใน ปี 2540-2546

95

ตารางที่ 3-10 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตอนใน ปี 2540-2546

95

ตารางที่ 3-11 จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ปี 2540-2546

96

ตารางที่ 3-12 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ปี 2540-2546

96

ตารางที่ 3-13 จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในชายฝั่ งอันดามัน ปี 2540-2546

97

ตารางที่ 3-14 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในชายฝั่ งอันดามัน ปี 2540-2546

97

ตารางที่ 3-15 ปริมาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทย ปี 2540-2546

99

ตารางที่ 3-16 รายได้ อตุ สาหกรรมต่อเรื อ/ซ่อมเรื อเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการค้ าทางทะเลปี 2545-2549 107 ตารางที่ 3-17 จํานวนผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดที่ติดทะเลในภาคกลางและภาคตะวันออก

116

ตารางที่ 3-18 จํานวนผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดที่ติดทะเลในภาคใต้

116

ตารางที่ 3-19 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออก ปี 2546

117

ตารางที่ 3-20 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออก ปี 2547

117

ตารางที่ 3-21 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคใต้ ปี 2546

118

ตารางที่ 3-22 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคใต้ ปี 2547

118

ตารางที่ 3-23 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคกลางและภาคตะวันออก ปี 2549

119

ตารางที่ 3-24 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคใต้ ปี 2549

120

ตารางที่ 3-25 สรุปมูลค่าสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่จะได้ รับผลกระทบ จากกรณีนํ ้ามันรั่วไหล เฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนในและอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

146


น สารบัญรู ป หน้ า รูปที่ 1-1 อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย

5

รูปที่ 1-2 มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยรวม

8

รูปที่ 3-1 ปริมาณและมูลค่าของการจับสัตว์นํ ้าเค็มของประเทศไทย ปี 2495-2547

30

รูปที่ 3-2 ปริมาณการจับสัตว์นํ ้าเค็มใน-นอกน่านนํ ้าไทย ประมาณการปี 2538-2550

37

รูปที่ 3-3 ดุลการค้ าสินค้ าสัตว์นํ ้าและผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้า ปี 2529-2549

40

รูปที่ 3-4 ปริ มาณและมูลค่าสัตว์นํ ้าจากการเพาะเลี ้ยง ปี 2522-2547

41

รูปที่ 3-5 พื ้นที่ป่าชายเลนในประเทศไทยตังแต่ ้ ปี 2504-2547

44

รูปที่ 3-6 สรุปสภาพแนวปะการังในประเทศไทย

49

รูปที่ 3-7 การประเมินมูลค่าการใช้ ประโยชน์ของแนวปะการังในพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติทางทะเล

51

รูปที่ 3-8 แผนที่แสดงแหล่งแร่ดีบกุ ในทะเลอันดามัน

68

รูปที่ 3-9 แหล่งทรัพยากรแร่ในทะเลไทย

71

รูปที่ 3-10 แผนที่แสดงแหล่งปิ โตรเลียมในประเทศไทย

74

รูปที่ 3-11 แปลงสํารวจพื ้นที่ร่วมไทย-มาเลเซีย

77

รูปที่ 3-12 แผนที่แสดงพื ้นที่ทบั ซ้ อนไทย-กัมพูชา

78

รูปที่ 3-13 ผังคณะกรรมการและคณะทํางานเพื่อแก้ ไขปั ญหาพื ้นที่ทบั ซ้ อนไทย-กัมพูชา (ฝ่ ายไทย)

79

รูปที่ 3-14 ปริมาณการค้ าระหว่างประเทศ จําแนกตามรูปแบบการขนส่ง ปี 2525-2548

82

รูปที่ 3-15 มูลค่าการค้ าระหว่างประเทศ จําแนกตามรูปแบบการขนส่ง ปี 2525-2548

83

รูปที่ 3-16 ท่าเรื อไทย จําแนกตามชายฝั่ ง

86

รูปที่ 3-17 ท่าเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ

87

รูปที่ 3-18 ท่าเรื อในอ่าวไทยตอนใน จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ

88

รูปที่ 3-19 ท่าเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ

89

รูปที่ 3-20 ท่าเรื อชายฝั่ งอันดามัน จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ

89

รูปที่ 3-21 ปริมาณเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลไทย ปี 2540-2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

92

รูปที่ 3-22 ปริ มาณเรื อสินค้ าระหว่างประเทศที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของไทย ปี 2540-2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

92

รูปที่ 3-23 สัดส่วนปริมาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทย จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

98

รูปที่ 3-24 สินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าต่างประเทศ ปี 2540-2546

100


บ สารบัญรู ป (ต่ อ) หน้ า รูปที่ 3-25 สินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ปี 2540-2546

101

รูปที่ 3-26 ปริมาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทย ปี 2540-2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

102

รูปที่ 3-27 ปริมาณสินค้ าขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศ ปี 2540-2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

102

รูปที่ 3-28 ปริ มาณสินค้ าขนโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ปี 2540-2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล

103

รูปที่ 3-29 กองเรื อเดินสมุทรที่ขนส่งสินค้ าระหว่งประเทศของไทย จําแนกตามประเภทกองเรื อ

106

รูปที่ 3-30 โครงข่ายคมนาคมที่เชื่อมต่ออนุภมู ิภาคลุม่ แม่นํ ้าโขง

109

รูปที่ 3-31 การแบ่งกลุม่ ปั ญหาที่มาของความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ ้นของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล

122

รูปที่ 3-32 อุณหภูมิโลกเฉลี่ยรายปี 2423-2548 (125 ปี )

153

รูปที่ 3-33 เปอร์ เซ็นต์ความเสียหายของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งจากภัยพิบตั ิสนึ ามิ

157

รูปที่ 3-34 แหล่งหญ้ าทะเลที่ได้ รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิ

158

รูปที่ 3-35 สัตว์ทะเลใกล้ สญ ู พันธ์ (เต่าทะเล โลมา และพะยูน) ที่ได้ รับผลกระทบจากภัยพิบตั ิสนึ ามิ

159

รูปที่ 3-36 มูลค่าที่สญ ู เสียในด้ านต่างๆ จากภัยพิบตั ิสนึ ามิใน 6 จังหวัดชายฝั่ งอันดามัน

160


1

บทที่ 1 ผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล 1.1 ขอบเขตและคําจํากัดความของผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล คําว่า “ผลประโยชน์แห่งชาติ” (National Interests) เป็ นแนวความคิดที่ได้ เกิดขึ ้นตังแต่ ้ ศตวรรษที่ 15 ใน ยุค ของแมคคิ อ าวิ ล ลี นัก วิ ช าการด้ า นการทหารชาวอิ ต าลี มี ค วามหมาย คื อ สิ่ ง ใดก็ ต ามที่ ดี ต่ อ ประเทศชาติ เป็ นส่วนรวมในการดําเนินกิจการระหว่างประเทศ1 ผลประโยชน์ของชาติ ในอีกความหมาย คือ ความต้ องการที่สําคัญที่สดุ ที่จําเป็ นเกี่ยวกับการดํารงอยู่ของชาติ ซึง่ เป็ นจุดมุ่งทัว่ ไปและต่อเนื่องในปลายทางที่ชาติม่งุ จะให้ บรรลุ ผลประโยชน์ของชาติไทยในปั จจุบนั คือ 1) การดํารง อยู่ของรัฐ โดยมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งดินแดน (Freedom & Sovereignty) 2) ความเกษมสุขสมบูรณ์ ของประชาชน (มั่งคั่ง) 3) ความเจริ ญก้ าวหน้ าส่วนรวมของชาติทงั ้ ทางเศรษฐกิจและสังคม สถาบันที่เอือ้ อํานวย ประโยชน์แก่ประชาชน และ 4) ความมีเกียรติและศักดิ์ในประชาคมระหว่างประเทศ2 นอกจากนี ้คําว่า “ผลประโยชน์แห่งชาติ” ยังปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในหมวด 5 แนวนโยบายพื ้นฐานแห่งรัฐ ส่วนที่ 2 แนวนโยบายด้ านความมัน่ คงของรัฐ มาตรา 77 “รัฐต้ องพิทกั ษ์ รักษา ไว้ ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริ ย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอํานาจรัฐ และต้ องจัดให้ มีกําลังทหาร อาวุธ ยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทนั สมัย จําเป็ น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์ รักษาเอกราช อธิ ปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริ ย์ ผลประโยชน์ แห่ งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ น ประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ”3 แต่ไม่ได้ ให้ นิยามหรื อความหมายกํากับไว้ ดัง นัน้ ผลประโยชน์ แ ห่งชาติทางทะเล น่าจะหมายถึง ผลประโยชน์ ที่ ประเทศไทยพึงได้ รับจากทะเลหรื อ เกี่ยวเนื่ องกับทะเลทัง้ ภายในน่านนํ า้ ไทยหรื อน่านนํ า้ อื่น รวมทัง้ ชายฝั่ งทะเล เกาะ พืน้ ดินท้ องทะเลหรื อใต้ พืน้ ดิน ท้ องทะเล หรื ออากาศเหนือท้ องทะเลด้ วย ทังนี ้ ้ ไม่ว่ากิจกรรมใดในทุกๆ ด้ าน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อมทาง ทะเล การขนส่ง การท่องเที่ยว ความมัน่ คง ความสงบเรี ยบร้ อย หรื ออื่นๆ โดยที่มูลค่าผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเล ก็น่าจะหมายถึง คุณค่าของผลประโยชน์จากทะเลในทุกมิติที่สามารถประเมินออกมาในรูปตัวเงิน4 1.2 ความสําคัญ ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) กว่า 350,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นกว่าครึ่งหนึ่งของ อาณาเขตทางบกที่มีอยู่ประมาณ 513,000 ตารางกิโลเมตร ความยาวของชายฝั่ งทะเลรวมฝั่ งอ่าวไทยและอันดามัน 1

พลเรื อเอกชาติ นาวาวิจิต. 2545. “หลักการและรู ปแบบในการกําหนดยุทธศาสตร์ และกําลังรบ”. นาวิกาธิปัตย์สาร 59 กลางปี 2545 (ก.พ. – พ.ค. 2545): หน้ า 8. 2 พลเรื อเอกสุทศั น์ ขยิ่ม. 2545. “ยุทธศาสตร์ ทางทฤษฏีกับกรรมวิธีในการตกลงใจ”. นาวิกาธิปัตย์สาร 59 กลางปี 2545 (ก.พ. – พ.ค. 2545): หน้ า 26. 3 ราชกิจจานุเบกษา. 2550. รั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย. เล่ม 124 ตอนที่ 47ก วันที่ 24 สิงหาคม 2550: หน้ า 21-22. 4 คําจํากัดความนี ้เป็ นการสรุป และให้ ความหมายภายใต้ การศึกษาวิจยั ของโครงการ “สถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของ ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน” มิใช่ความหมายโดยทัว่ ไป

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


2

กว่า 2,815 กิโลเมตร ใน 23 จังหวัด แต่ผ้ ูใช้ ทะเลมีอยู่ในทุกกลุ่มคน ทุกระดับ และทุกพื น้ ที่แม้ ในจังหวัดที่ไม่ได้ มี อาณาเขตติดต่อกับทะเลโดยตรงก็ตาม การใช้ ก็ครอบคลุมในหลายด้ านทัง้ ทรั พ ยากรมี ชีวิตและไม่มีชีวิต โดยมี กิจกรรมการใช้ ทะเลที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็ นการคมนาคมขนส่ง การเดินเรื อ การสื่อสาร การท่องเที่ยว ตลอดจน การศึกษาวิจัย นอกจากนี ท้ รั พยากรทางทะเลและชายฝั่ งยังมีคุณประโยชน์ ทางอ้ อม เช่น เป็ นกําแพงกันคลื่นลม เป็ นระบบนิ เ วศขนาดใหญ่ ที่ ช่ ว ยปรั บ สมดุล ทางธรรมชาติ เป็ นแม้ แ ต่ห้ อ งสมุด มี ชี วิ ต หรื อ พิพิ ธ ภัณ ฑ์ ข นาดใหญ่ นอกเหนือไปจากการเป็ นห้ องอาหาร และห้ องทํางานของผู้คนชุมชนชายฝั่ ง อย่างไรก็ตามการใช้ ทะเลของคนไทย ก็ไม่ได้ จํากัดอยู่แค่ในอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทยเท่านัน้ แต่ยงั สามารถใช้ ทะเลไปถึงเขตน่านนํ ้าของประเทศ เพื่อนบ้ าน ทะเลหลวงหรื อน่านนํ ้าสากล หรื อแม้ แต่เขตทางทะเลของประเทศอื่น ๆ ทัว่ โลกที่สามารถทําความตกลงกัน ได้ อีกด้ วย ดังนัน้ พื ้นที่ทางทะเลที่จะสร้ างผลประโยชน์แห่งชาติให้ กบั ประเทศไทยจึงมีอยูท่ วั่ โลก ตามนโยบายความมั่น คงแห่ ง ชาติ ท างทะเล พ.ศ. 2548–25525 พื น้ ที่ ผ ลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเล ประกอบด้ วย พื ้นที่ชายฝั่ งทะเล น่านนํ ้าภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตไหล่ทวีป เขตเศรษฐกิจจําเพาะ น่านนํ ้าสากล พื ้นที่นอกน่านนํ ้าที่มีสิทธิทําประมง พื ้นที่รับผิดชอบในการค้ นหาและกู้ภยั ทางทะเล และเส้ นทาง คมนาคมกับประเทศคู่ค้าสําคัญตามที่กฎหมายระหว่างประเทศรับรองการใช้ อํานาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตยทางทะเล เขตอํานาจและการมีสทิ ธิและหน้ าที่ไว้ ตามกรณี ทังนี ้ ้ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้ พิจารณาอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทยจากแนวคิดที่ว่าคนไทย มิได้ ใช้ ทะเลเฉพาะแต่ในเขตทางทะเลของประเทศเราเองเท่านัน้ หากยังสามารถใช้ ทะเลไปถึงนอกเขตทางทะเลของ ั ญา ประเทศด้ วย ดังนัน้ ในการจัดเขตน่านนํ า้ ที่ทําการศึกษาจึงแบ่งออกเป็ น 6 เขต โดยให้ ความหมายตามอนุสญ สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 6 ได้ แก่ - น่านนํ ้าภายใน (Internal Water) คือ น่านนํ ้าทางด้ านแผ่นดินของเส้ นฐาน7 (baselines) แห่งทะเล อาณาเขต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 8 วรรคหนึง่ ) เช่น อ่าว แม่นํ ้า ปากแม่นํ ้า ทะเลสาบ เป็ นต้ น แต่ในกรณีของรัฐหมูเ่ กาะ8 5

สํานักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ. 2550. นโยบายความมั่นคงแห่ งชาติทางทะเล (พ.ศ. 2548-2552) (เอกสารไม่ตีพิมพ์ เผยแพร่). สํานักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. 6 กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย. 2548. หนังสือแปล อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982, กรมสนธิสญ ั ญา และกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ, กรุงเทพฯ. 7 ในการกําหนดเขตทางทะเลของรัฐชายฝั่ งและการใช้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือเขตทางทะเล รัฐชายฝั่ งต้ องกําหนดเส้ นฐานเพื่อ เป็ นจุดเริ่ มต้ นในการกําหนดความกว้ างของเขตทางทะเลต่างๆ ปั จจุบนั เส้ นฐานจําแนกได้ เป็ น 3 ประเภท คือ เส้ นฐานปกติ (normal baselines) ได้ แก่ เส้ นแนวนํ ้าลดตลอดฝั่ ง (low-water line) ตามที่ได้ หมายไว้ ในแผนที่ซงึ่ ใช้ มาตราส่วนที่รัฐชายฝั่ งยอมรับนับถือเป็ นทางการ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 5) เส้ นฐานตรง (straight baselines) ได้ แก่ เส้ นฐานที่ลากตามแนวทัว่ ไปของชายฝั่ ง ใช้ ในกรณีที่ชายฝั่ งของรัฐมีลกั ษณะเว้ าแหว่งและตัด ลึกเข้ ามามากหรื อมีแนวเกาะเรี ยงรายในบริ เวณประชิดติดกันกับบริ เวณชายฝั่ งทะเล รัฐชายฝั่ งอาจนําวิธีการลากเส้ นฐานตรงเชื่อมต่อจุดที่ เหมาะสม เช่น จุดนอกสุดของแนวเกาะเหล่านันได้ ้ แต่รัฐมิอาจนําระบบเส้ นฐานตรงมาใช้ ในลักษณะเช่นที่จะปิ ดกันทะเลอาณาเขตของรั ้ ฐหนึง่ จากทะเลหลวงหรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 7) และเส้ นฐานหมู่เกาะ (straight archipelagic baselines) ได้ แก่ การลากเส้ น ตรงเชื่อมต่อจุดนอกสุดของเกาะที่ตงอยู ั ้ น่ อกสุดกับโขดหินที่โผล่พ้นนํ ้าของหมูเ่ กาะ โดยมีเงื่อนไขว่าภายในเส้ นฐานนันจะต้ ้ องรวมเกาะใหญ่และ บริ เวณที่ซึ่งอัตราส่วนของบริ เวณที่เป็ นพื ้นนํ ้าต่อบริ เวณที่เป็ นพื ้นแผ่นดินรวมทังเกาะปะการั ้ ง อยู่ในระหว่างอัตรา 1 ต่อ 1 และ 9 ต่อ 1 โดย ความยาวของเส้ นฐานหมูเ่ กาะจะต้ องไม่เกิน 100 ไมล์ทะเล ยกเว้ นไม่เกินร้ อยละ 3 ของจํานวนทังหมดของเส้ ้ นฐานที่ปิดล้ อมหมู่เกาะใดๆ อาจ เกินความยาวนันได้ ้ จนกระทัง่ ถึงความยาวมากที่สดุ เพียง 125 ไมล์ทะเล แต่อย่างไรก็ตาม การลากเส้ นฐานดังกล่าวจะต้ องไม่หนั เหไปมากจน เกินสมควรจากรูปลักษณ์ทวั่ ไปของหมูเ่ กาะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 47) นอกจากนี ้ หากแม่นํ ้าใดไหลลงสู่ทะเลโดยตรง ให้ เส้ นตรงซึ่งลากตัดปากแม่นํา้ ระหว่างจุดบนเส้ นแนวนํา้ ลดของตลิ่งเป็ นเส้ นฐาน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 9)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


3

(archipelagic states) น่านนํ ้าที่อยูภ่ ายใน “เส้ นฐานหมูเ่ กาะ” (straight archipelagic baselines) เรี ยกว่า “น่านนํ ้า หมูเ่ กาะ” (archipelagic waters) อย่างไรก็ดี รัฐหมูเ่ กาะอาจลากเส้ นปิ ด (closing lines) ภายในน่านนํ ้าหมูเ่ กาะนัน้ เช่น ลากเส้ นปิ ดปากอ่าวที่เกาะใดเกาะหนึง่ ในน่านนํ ้าหมูเ่ กาะ เพื่อกําหนดเขตน่านนํ ้าภายในของตนได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 50) รัฐชายฝั่ งย่อมมีอํานาจอธิปไตย (sovereignty) เหนือน่านนํ ้าภายใน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 2) ในทํานองเดียวกับที่ รัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดน (territory) ดังนัน้ หากเรื อต่างชาติหรื ออากาศยานต่างชาติจะผ่านเข้ ามาใน ั ้ องขออนุญาตรัฐชายฝั่ งก่อน เขตน่านนํ ้าภายในของรัฐชายฝั่ ง เรื อต่างชาติหรื ออากาศยานต่างชาตินนจะต้ - ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดความกว้ างของทะเลอาณาเขตว่าต้ องไม่เกิน 12 ไมล์ทะเลโดยวัดจากเส้ นฐาน (baselines) ซึง่ รัฐชายฝั่ งเป็ นผู้ กําหนดตามหลักเกณฑ์แห่งกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิ ปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน ซึ่ง หมายความรวมถึงอํานาจอธิปไตยในห้ วงอากาศ (air space) เหนือทะเลอาณาเขต และอํานาจอธิปไตยเหนือพื ้นดิน ท้ องทะเล (sea-bed) และดินใต้ ผิวดิน (subsoil) แห่งทะเลอาณาเขตด้ วย (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 2 (1) และ (2) ) โดยมี ข้ อยกเว้ นในการใช้ อํานาจอธิปไตยของรัฐชายฝั่ งเหนือทะเลอาณาเขต คือ “การใช้ สิทธิการผ่านโดยสุจริ ต” (right of ั ญาฯ ข้ อ 17) innocent passage) ของเรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ - เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 กําหนดให้ เขตต่อเนื่ องมิอาจขยายเกินกว่า 24 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานซึ่งใช้ วัดความกว้ างของทะเลอาณาเขต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 33 วรรคสอง) รัฐชายฝั่ งอาจดําเนินการควบคุมที่จําเป็ นเพื่อป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับ เกี่ยวกับศุลกากร (customs) การคลัง (fiscal) การเข้ าเมือง (immigration)หรื อการสุขาภิบาล (sanitation) ภายใน อาณาเขตหรื อทะเลอาณาเขตของตน และลงโทษการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับดังกล่าว ซึง่ ได้ กระทําภายในอาณา เขตหรื อทะเลอาณาเขตของตน รัฐชายฝั่ งมีหน้ าที่ในการคุ้มครองวัตถุโบราณ หรื อวัตถุทางประวัติศาสตร์ ที่พบใต้ ทะเล ในเขตต่อเนื่อง - เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) คือบริ เวณที่อยู่เลยไปจากและประชิดกับ ทะเลอาณาเขต โดยเขตเศรษฐกิจจําเพาะจะต้ องไม่ขยายออกไปเลย 200 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานซึง่ ใช้ วดั ความกว้ าง ของทะเลอาณาเขต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 55 และข้ อ 57) รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยเพื่อความมุ่งประสงค์ในการสํารวจ (exploration) และการแสวงประโยชน์ (exploitation) การอนุรักษ์ (conservation) และการจัดการ (management) ทรัพยากรธรรมชาติ ทังที ้ ่มีชีวิตหรื อไม่มีชีวิตในนํ ้าเหนือพื ้นดินท้ องทะเล (water superjacent to the sea-bed) และ ในพื ้นดินท้ องทะเล (sea-bed) กับดินใต้ ผิวดิน (subsoil) ของพื ้นดินท้ องทะเลนัน้ และมีสทิ ธิอธิปไตยในส่วนที่เกี่ยวกับ กิจกรรมอื่น ๆ เพื่อการแสวงประโยชน์และการสํารวจทางเศรษฐกิจในเขต อาทิเช่น การผลิตพลังงานจากนํ ้า (water) กระแสนํา้ (currents)และลม (winds)(อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 56 วรรคหนึ่ง (เอ))รัฐชายฝั่ งมีสิทธิ แต่ผ้ ูเดียว (exclusive rights)ในการสร้ างหรื อ อนุ ญ าตให้ ส ร้ าง และควบคุม การสร้ างเกาะเที ย ม (artificial islands)สิ่ ง ติ ด ตั ง้ (installations)และสิ่งก่อสร้ าง (structures) เพื่อทําการสํารวจ และแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิต ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ หรื อควบคุมการใช้ สงิ่ ติดตังหรื ้ อสิง่ ก่อสร้ างอันอาจเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ สทิ ธิของรัฐชายฝั่ งใน 8

อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 46 ได้ กําหนดความหมายของคําว่า “รัฐหมูเ่ กาะ” และ “หมูเ่ กาะ” ไว้ ดงั นี ้ “รัฐหมูเ่ กาะ” หมายถึง รัฐซึง่ ประกอบทังหมดด้ ้ วยหมูเ่ กาะหนึง่ หรื อมากกว่า และอาจรวมถึงเกาะอื่นๆ ด้ วย “หมู่เกาะ” หมายถึง กลุ่มของเกาะ รวมทังส่ ้ วนต่างๆ ของเกาะ น่านนํ ้าที่เชื่อมติดต่อระหว่างกัน และลักษณะทางธรรมชาติอื่นซึ่ง เกี่ยวพันกันอย่างใกล้ ชิดจนกระทัง่ เกาะ น่านนํ ้า และลักษณะทางธรรมชาติอื่นเช่นว่านันประกอบกั ้ นขึ ้นเป็ นองคภาวะทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และการเมืองอันหนึง่ อันเดียวกัน หรื อซึง่ ตามประวัติศาสตร์ ถือกันว่าเป็ นเช่นนัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


4

เขตเศรษฐกิจจําเพาะ รัฐอื่นๆ ย่อมมีเสรี ภาพในการเดินเรื อ (freedom of navigation) การบินผ่าน (freedom of over flight) การวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเล (freedom of the laying of submarine cables and pipelines) - ไหล่ทวีป (Continental Shelf) หมายถึง พื ้นดินท้ องทะเล (sea-bed) และดินใต้ ผิวดิน (subsoil) ของบริ เวณใต้ ทะเล ซึ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติ (natural prolongation) ของดินแดนทางบกของตนจนถึงริ มนอกของขอบทวีป (continental margin) หรื อจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้ น ฐานซึง่ ใช้ วดั ความกว้ างของทะเลอาณาเขตในกรณีที่ริมนอกของขอบทวีปขยายไปไม่ถึงระยะนัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 76 วรรคหนึ่ง) ในกรณีที่ริมนอกของขอบทวีปสันกว่ ้ า 200 ไมล์ทะเล ซึ่งเป็ นความกว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ก็ให้ ถือ ว่าไหล่ทวีปมีความกว้ างถึง 200 ไมล์ทะเลตามความกว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในกรณี นี ้ รัฐที่มีไหล่ทวีปสัน้ เนื่องจากไหล่ทวีปมีความลาดชันมาก รัฐนันสามารถอ้ ้ างอํานาจเหนือเขตไหล่ทวีปได้ ถึง 200 ไมล์ทะเล เท่ากับระยะ ความกว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในกรณีที่ขอบทวีปยาวกว่า 200 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้ นฐานที่ใช้ วดั ความกว้ าง ของทะเลอาณาเขต เขตไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่ งก็เป็ นไปตามส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติ ของดินแดนทางบกของตน จนถึงริ มนอกของขอบทวีป ให้ กําหนดขอบทวีปโดยอ้ างอิงจุดคงที่นอกสุดซึ่งหินตะกอน (sedimentary rocks) ในแต่ ละจุดมีความหนาอย่างน้ อยที่สดุ ร้ อยละหนึ่งของระยะทางที่สนที ั ้ ่สดุ จากจุดนันไปยั ้ งเชิงของลาดทวีป (foot of the continental slope) หรื อ กําหนดขอบทวีปโดยอ้ างอิงจุดคงที่ซงึ่ ห่างจากเชิงของลาดทวีปไม่เกิน 60 ไมล์ทะเล โดยวัด จากเชิงลาดทวีป ขอบไหล่ทวีปที่กําหนดไม่ว่ากรณีใดๆ ไม่ว่ากรณีใดๆ จะต้ องอยู่ห่างไม่เกิน 350 ไมล์ทะเล จากเส้ น ฐานที่ใช้ วัดความกว้ างของทะเลอาณาเขต หรื อไม่เกิน 100ไมล์ทะเลจากเส้ นนํ า้ ลึกเท่า 2,500 เมตร ซึ่งเป็ นเส้ น เชื่อมต่อความลึก 2,500 เมตร รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตย (sovereign rights)เหนือทรัพยากรธรรมชาติบนและใต้ ไหล่ทวีป ไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตหรื อไม่มีชีวิต โดยมีลกั ษณะพิเศษ 2 ประการ คือ 1) เป็ นสิทธิ แต่เพียงผู้เดียว (exclusive rights) กล่าวคือ หากรัฐชายฝั่ งไม่สํารวจหรื อแสวง ประโยชน์ จ ากทรั พ ยากรบนหรื อ ได้ ไ หล่ท วี ป แล้ ว รั ฐ อื่ น จะสํ า รวจหรื อ แสวงประโยชน์ จ าก ทรัพยากรบนหรื อใต้ ไหล่ทวีปโดยมิได้ รับความยินยอมอย่างชัดแจ้ งจากรัฐชายฝั่ งมิได้ 2) สิทธิ ของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีปนี ้ ไม่ได้ ขึน้ อยู่กับการครอบครอง (occupation) ไม่ว่าอย่าง แท้ จริ งหรื อเพียงในนาม หรื อกับการประกาศอย่างชัดแจ้ งใดๆ กล่าวคือ สิทธิ ของรัฐชายฝั่ ง เหนือเขตไหล่ทวีปนันเป็ ้ นสิทธิที่รัฐชายฝั่ งมีอยู่แต่ดงเดิ ั ้ ม (inherent right) โดยไม่ต้องทําการ ประกาศเข้ ายึดถือเอาแต่อย่างใด รัฐชายฝั่ งได้ สทิ ธิอธิปไตยดังกล่าวมาโดยอัตโนมัติ ทรัพยากรธรรมชาติของไหล่ทวีปนัน้ ประกอบด้ วยแร่ และทรัพยากรไม่มีชีวิตอย่างอื่นของพื ้นดินท้ อง ทะเล (sea-bed) และดิ น ใต้ ผิ ว ดิ น (subsoil) รวมทัง้ อิ น ทรี ย ภาพมี ชี วิ ตซึ่ง จัด อยู่ใ นชนิ ด พัน ธุ์ ที่ อ ยู่ติ ด ที่ กล่า วคื อ อินทรี ยภาพซึ่งในระยะที่อาจจับได้ นนไม่ ั ้ เคลื่อนที่ไปบนหรื อใต้ พื ้นดินท้ องทะเล หรื อไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เว้ นแต่ โดยการสัมผัสทางกายภาพอยู่เสมอกับพื ้นดินท้ องทะลหรื อดินใต้ ผิวดิน เช่น ปะการัง ฟองนํ ้า หอยชนิดต่างๆ ปู และ กุ้ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) รัฐชายฝั่ งสิทธิแต่ผ้ เู ดียวที่จะก่อสร้ าง อนุญาต และวางระเบียบการก่อสร้ าง การปฏิบตั ิงาน ของและการใช้ เกาะเที ย ม สิ่ ง ติ ด ตัง้ และสิ่ ง ก่ อ สร้ างเพื่ อ วัต ถุป ระสงค์ ใ นการสํ า รวจและแสวงประโยชน์ จ าก ทรัพยากรธรรมชาติในไหล่ทวีปหรื อเพื่อความมุ่งประสงค์ อื่นๆ ทางเศรษฐกิจ หรื อสิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ างซึ่งอาจ รบกวนการใช้ สทิ ธิของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีป - ทะเลหลวง (High Seas) หมายถึง ทุกส่วนของทะเลซึ่งไม่ได้ รวมอยู่ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) ในทะเลอาณาเขต (territorial sea) หรื อในน่านนํ ้าภายใน (internal waters) ของรัฐ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


5

หรื อในน่านนํ ้าหมู่เกาะ (archipelagic waters) ของรัฐหมู่เกาะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 86) เป็ นที่น่าสังเกตว่า ห้ วงนํา้ (water column) และผิวนํ ้าเหนือไหล่ทวีปที่อยู่นอกเขตเศรษฐกิจจําเพาะยังคงเป็ นเขตทะเลหลวง ถึงแม้ ไหล่ทวีปและ ทรัพยากรบนไหล่ทวีปจะตกอยู่ภายใต้ สิทธิอธิปไตย (sovereign rights) ของรัฐชายฝั่ งก็ตาม ทะเลหลวงเปิ ดให้ แก่รัฐ ทังปวง ้ ไม่ว่ารัฐชายฝั่ ง (coastal states) หรื อ รัฐไร้ ฝั่งทะเล (landlocked states) เสรี ภาพแห่งทะเลหลวงใช้ ได้ ภายใต้ เงื่อนไขที่กําหนดไว้ โดยอนุสญ ั ญาฯ และหลักเกณฑ์อื่น ๆ ของกฎหมายระหว่างประเทศ อาทิเช่น เสรี ภาพในการ เดินเรื อ (freedom of navigation) เสรี ภาพในการบิน (freedom of overflight) เสรี ภาพในการวางสายเคเบิลและท่อ ใต้ ทะเล (freedom of lay submarine cables and pipelines) เสรี ภาพในการทําประมง (freedom of fishing) โดย หน้ าที่ประการสําคัญของรัฐต่าง ๆ ที่ ทําการประมงในทะเลหลวง คือ ต้ องร่ วมมือกันเพื่อกําหนดมาตรการในการ อนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในท้ องทะเลหลวง ในการนี ้ รัฐเหล่านีอ้ าจจัดตังองค์ ้ การประมงระดับภูมิภาค ้ ่น ๆ (freedom of construct หรื ออนุภมู ิภาคขึ ้นตามความเหมาะสมก็ได้ เสรี ภาพในการสร้ างเกาะเทียมและสิ่งติดตังอื artificial islands and other installations) เสรี ภาพในการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ (freedom of scientific research)

รูปที่ 1-1 อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย9 คําอธิบาย - น่านนํ ้าภายใน ได้ แก่พื ้นที่ ที่แสดงด้ วยสีเขียวทังหมด ้ ซึ่งอยู่ด้านในถัดจากเส้ นฐาน ไปถึงฝั่ ง มีอยู่ 5 บริ เวณ อ่ า วประวัติ ศ าสตร์ ได้ แ ก่ พื น้ ที่ บ ริ เ วณอ่ า วไทยรู ป ตัว ก. เหนื อ เส้ น ฐานที่ กํ า หนดขอบเขตอ่ า ว ประวัติศาสตร์ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 76 ฉบับพิเศษ ตอนที่ 91 วันที่ 26 กันยายน 2502 หน้ า 1 บริ เวณที่ 1 ได้ แก่พื ้นที่บริ เวณแหลมลิง ถึงหลักเขตแดนไทย-เขมร ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 87 ตอนที่ 52 ฉบับพิเศษ วันที่ 12 มิถนุ ายน 2513 หน้ า 4-7 9

สํ า นัก งานเลขาธิ ก ารศูน ย์ ไ ทยอาสาป้ องกัน ชาติ ใ นทะเล. 2550. อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย. แหล่ ง ที่ ม า : http://www.navy.mi.th/thaiasa/, 10 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


6

บริ เวณที่ 2 ได้ แก่พื ้นที่บริ เวณตังแต่ ้ แหลมใหญ่ ถึงแหลมหน้ าถํ ้า ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 87 ตอนที่ 52 ฉบับพิเศษ วันที่ 12 มิถนุ ายน 2513 บริ เวณที่ 3 ได้ แก่พืน้ ที่ บริ เวณตัง้ แต่ เกาะภูเก็ต ถึง พรมแดนไทย-มาเลเซี ย ตามประกาศสํา นัก นายกรั ฐมนตรี ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 87 ตอนที่ 52 ฉบับพิเศษ วันที่ 12 มิถุนายน 2513 และส่วนที่แก้ ไขตาม ประกาศสํ า นัก นายกรั ฐ มนตรี เชื่ อ มเส้ น ฐานตรงและน่ า นนํ า้ ภายใน ของประเทศไทย ฉบับ ที่ 2 พ.ศ. 2536 ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 110 ตอนที่ 18 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2536 บริ เวณที่ 4 ได้ แก่พืน้ ที่บริ เวณตัง้ แต่เกาะกงออก ถึง พรมแดนไทย-มาเลเซีย ตามประกาศสํานัก นายกรัฐมนตรี ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 89 วันที่ 19 สิงหาคม 2535 หน้ า 1 - ทะเลอาณาเขต (Territorial Water) ได้ แก่พื ้นที่ ที่แสดงด้ วยสีเหลืองซึง่ อยู่ภายในระยะ 12 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานตรง และเส้ นฐานปกติตามที่มีพระบรมราชโองการประกาศความกว้ างของทะเลอาณาเขตของประเทศ ไทย (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 83 ตอนที่ 92 วันที่ 18 ตุลาคม 2509) - เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) ได้ แก่พื ้นที่ ที่แสดงด้ วยสีนํ ้าเงิน อยู่ถดั จากทะเลอาณาเขตออกไป จนถึงระยะ 24 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานตรง ตามที่มีพระบรมราชโองการประกาศเขตต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย เมื่อ วันที่ 14 สิงหาคม 2538 (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 69 วันที่ 29 สิงหาคม 2538 หน้ า 1) - เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) ได้ แก่พื ้นที่ ที่แสดงด้ วยสีฟ้าและสีม่วง ซึง่ เป็ น ส่วนของมวลนํา้ ลงไปจนถึงผิวดินก้ นทะเล แลใต้ ผิวดิน ซึ่งอยู่ถัดจากทะเลอาณาเขตออกไป ราชอาณาจักรไทยได้ ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะเมื่อ พ.ศ. 2524 โดยประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะออกไปเป็ นระยะ 200 ไมล์ทะเล จาก เส้ นฐานตรง และเส้ นฐานปกติ ในส่วนที่เขตเศรษฐกิจจําเพาะอยูป่ ระชิดหรื อตรงข้ ามกันกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะกับรัฐ ชายฝั่ งอื่นๆ รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยพร้ อมที่จะเจรจา เพื่อกําหนดเขตระหว่างกันต่อไป (ตามราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 30 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2524 หน้ า 9) ต่อมาราชอาณาจักรไทยได้ ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของ ราชอาณาจักรไทย ส่วนที่ประชิดกับมาเลเซีย โดยประกาศเขตตามพิกดั ภูมิศาสตร์ จํานวน 8 จุด (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 105 ตอนที่ 27 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2531 หน้ า 51,52) และได้ ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะด้ านทะเลอันดามัน โดยประกาศขอบเขตตามพิ กัด ภูมิ ศ าสตร์ จํ า นวน 27 จุด (ราชกิ จ จานุเ บกษาเล่ม ที่ 105 ตอนที่ 120 วัน ที่ 26 กรกฎาคม 2531 หน้ า 231-233) - เขตไหล่ทวีป (Continent Shelf) ได้ แก่พื ้นดินก้ นทะเล และใต้ ผิวดิน ราชอาณาจักรไทยมีประกาศ กําหนดเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้ านอ่าวไทยเมื่อ พ.ศ. 2516 ซึง่ อยู่ในขอบเขตของเส้ นที่ลากเชื่อมต่อตามค่าพิกดั ภูมิศาสตร์ เริ่มตังแต่ ้ จดุ หมายเลข 1 ถึง 18 ตามราชกิจจานุเบกษา เล่ม 90 ตอนที่ 60 วันที่ 1 มิถนุ ายน 2516 หน้ า 1-2 ต่อมาได้ มีการเจรจาเขตไหล่ทวีปที่ซ้อนทับกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และได้ กําหนดเขตไหล่ทวีประหว่าง ราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ตามเส้ น CK โดยได้ แลกเปลี่ยนสัตยาบันสารระหว่างประเทศ เมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2541 อย่างไรก็ตาม การใช้ ทะเลไม่เพียงแต่จะใช้ เฉพาะทรัพยากรที่อยู่แต่ในทะเลเท่านัน้ หากกิจกรรมส่วนใหญ่ยงั ต้ องเชื่อมโยงถึงพื ้นที่ชายฝั่ งด้ วย ในการบริ หารจัดการก็จําเป็ นจะต้ องคํานึงถึงพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลด้ วยเช่นกัน ดังนัน้ ผลประโยชน์ แ ห่ง ชาติ ท างทะเล จึง ได้ ร วมเขตพื น้ ที่ ช ายฝั่ ง ทะเลเข้ า ไปด้ ว ย จากที่ ก ล่า วมาทัง้ หมดจะเห็น ได้ ว่ า

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


7

ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่จะเกิดขึ ้นเหล่านี ้มีมลู ค่ามหาศาล ซึง่ น่าจะเป็ นกําลังสําคัญในการผลักดันให้ ประเทศ ไทยมีความเจริญก้ าวหน้ าทังในด้ ้ านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและการปกครองถ้ ามีการจัดการที่ดีและเหมาะสม 1.3 มูลค่ าผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล 1.3.1 การคิดมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ประเทศไทยเคยมีทรัพยากรทางทะเลทังที ้ ่มีชีวิตและไม่มีชีวิตอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ ทรัพยากรเหล่านี ้ถูกมนุษย์ นํามาใช้ ประโยชน์อย่างมากในระดับต่างๆ โดยทัว่ ไปแล้ วหากจะประเมินความสําคัญของทรัพยากรเหล่านี ้ออกมาเป็ น มูลค่า ก็มกั จะใช้ มลู ค่าราคาตลาดอันเกิดจากการซื ้อขายผลผลิตของทรัพยากรซึง่ เป็ นการใช้ ทรัพยากรโดยตรงเท่านัน้ มูลค่าผลประโยชน์ในทางอ้ อม ที่ทรัพยากรเหล่านี ้มีอยู่ เช่น การที่ป่าชายเลนเป็ นแหล่งอาหารของสัตว์นํา้ เป็ นแนว ้ เ้ นื่องจากมูลค่าเหล่านี ้ไม่ปรากฏเป็ นราคาตลาด ป้องกันคลื่นลมจากพายุ เป็ นต้ น มักจะไม่ถูกคิดคํานวณด้ วย ทังนี โดยตรงและการคิดมูลค่าในทางอ้ อมก็ต้องใช้ เทคนิคและวิธีการค่อนข้ างมากถึงจะได้ มูลค่าที่แท้ จริ ง นอกจากนี ้ กิจกรรมต่างๆ ที่มนุษย์สร้ างขึ ้นเพื่อใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลนันก็ ้ ไม่มีการคิดรวมต้ นทุนด้ านสิ่งแวดล้ อม หรื อต้ นทุนผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมอันเกิดจากการประกอบกิจกรรมนันเข้ ้ าไปด้ วย เป็ นเหตุให้ ผลประโยชน์สทุ ธิที่หกั ลบกับต้ นทุนการผลิตของกิจกรรมต่างๆ เหล่านัน้ ไม่ใช่มลู ค่าผลประโยชน์ที่แท้ จริ งของกิจกรรมดังกล่าว ปั ญหาเหล่านี ้ ยังคงปรากฏชัดเจนในการลงทุนทํ ากิ จกรรมต่างๆ ของประเทศไทยอยู่ทั่วไปไม่เฉพาะแต่กิจกรรมทางทะเล อาจ เนื่องมาจากเรายังไม่ค่อยให้ ความสําคัญกับผลกระทบสิ่งแวดล้ อม แต่ในอนาคตอันใกล้ กิจกรรมที่ไม่นํามูลค่าต้ นทุน ทางสิ่งแวดล้ อมมาคิดนี ้จะเริ่ มมีปัญหาด้ านการตลาด เพราะต้ องเผชิญกับมาตรการตรวจสอบและกีดกันการค้ าจาก ประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว ซึ่งปั จจุบนั เริ่ มให้ ความสําคัญกับปั ญหาสิ่งแวดล้ อมกันอย่างมาก และ เริ่ มนํามาตรการต่างๆ เข้ ามาใช้ เช่น การกําหนดให้ องค์กรต่างๆ ที่ผลิตสินค้ าและบริ การต้ องได้ มาตรฐานระบบการ จัดการสิง่ แวดล้ อม (ISO 14000) จึงจะสามารถรักษาตลาดและมีโอกาสขยายตลาดได้ เป็ นต้ น เช่น เดีย วกับกิ จกรรมการใช้ ทะเล ผลผลิตจากท้ องทะเลไทยในปั จจุบัน นับได้ ว่า เป็ นแหล่งสร้ างรายได้ ใ ห้ ประเทศเป็ นจํานวนไม่น้อย แต่กิจกรรมส่วนใหญ่ยงั คงไม่คิดถึงต้ นทุนทางด้ านสิ่งแวดล้ อม หรื อต้ นทุนของผลกระทบที่ จะเกิดกับทรัพยากรในพื ้นที่ที่ทํากิจกรรม ทําให้ เรายังคิดว่ารายได้ ของกิจกรรมตํ่ากว่าต้ นทุนการผลิต และยังมีกําไร จากการดําเนินกิจกรรมนันๆ ้ ทังที ้ ่ในความเป็ นจริ งแล้ วรายได้ ที่ได้ มาต้ องเอามาใช้ จ่ายไปกับการซ่อมแซม บูรณะหรื อ ฟื น้ ฟูทรัพยากรที่ถกู ทําลายไปโดยไม่ร้ ู ตวั และยังต้ องจ่ายเพื่อการกําจัดเศษซากหรื อขยะที่เหลือจากการใช้ ที่ไม่ค้ มุ ค่า อีกส่วนหนึง่ ด้ วย ในการคิดหามูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่แท้ จริ ง จึงควรคํานึงถึงมูลค่าแฝงเหล่านีด้ ้ วย แม้ จะไม่ สามารถคิดมาได้ โดยง่าย อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั ก็มีแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ที่สามารถจะนํามาใช้ ประเมินมูลค่าทุก มูลค่าของทรัพยากรได้ ซึง่ การคิดมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลก็น่านําวิธีการคิดดังกล่าวมาพิจารณา

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


8

1.3.1.1 มูลค่าโดยรวมทางเศรษฐศาสตร์ (Total

Economic

Value) ของทรัพยากรหรื อมูลค่าทาง

10

รูปที่ 1-2 มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยรวม10

สิง่ แวดล้ อม ประกอบด้ วย (รูปที่ 2)

10

Dominika Dziegielewska. 2007. “Environmental economics” The Encyclopedia of Earth. Encyclopedia of Earth. Available Source: http://www.eoearth.org/article/Total_economic_value, September 10, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


9

-

มูลค่าการใช้ ประโยชน์ (Use Value) ได้ แก่ 1) มูลค่าการใช้ โดยตรง (Direct Use Value) หมายถึง มูลค่าที่คิดจากรายได้ การใช้ ทรัพยากรโดยตรง เช่น รายได้ จากการจับสัตว์นํ ้า รายได้ จากการท่องเที่ยวในแหล่งปะการังรวมถึงค่าเดินทาง ค่าที่พกั นักท่องเที่ยว รวมทังการลงทุ ้ นในการบูรณะทรัพยากร 2) มูลค่าการใช้ ทางอ้ อม (Indirect Use Value) หมายถึง มูลค่าการใช้ ทรัพยากรที่ไม่ สามารถนํามาขายได้ โดยตรง คือไม่มีราคาผ่านตลาด แต่มีคณ ุ ค่ามหาศาลและยากต่อการประเมิน เช่น ระบบนิเวศ ทางทะเลซึ่งมีความสลับซับซ้ อนและมีบทบาทสําคัญ ในการรักษาไว้ ซึ่งระบบนิเวศให้ มีความอุดมสมบูรณ์ ในทะเล เป็ นที่เลี ้ยงตัว วางไข่ อนุบาล เป็ นที่อยู่อาศัยและเจริ ญเติบโตของทรัพยากรสัตว์ และพืชในห่วงโซ่อาหาร และจาก การศึกษาในงานวิจยั หลายเรื่ องพบว่า การใช้ ทรัพยากรทางอ้ อมนี ้มีมลู ค่ามากกว่ารายได้ จากการใช้ ประโยชน์โดยตรง อย่างมาก - มูลค่าที่เกิดจากการเลือกที่จะสงวนไว้ ใช้ ในอนาคต (Option Value) หมายถึง มูลค่าที่ สังคมให้ แก่ทรัพยากรเพื่อเก็บไว้ ใช้ ในอนาคตหากต้ องการใช้ - มูลค่าไม่ใช้ ประโยชน์ (Non-Use Value) หมายถึง คุณค่าของทรัพยากรจากการไม่ได้ ใช้ ทรัพยากรโดยตรง แต่บคุ คลหรื อสังคมมีความต้ องการให้ ทรัพยากรนี ้ดํารงอยูเ่ พื่อตนเองและบุคคลอื่นในอนาคต โดยที่ ประชาชนไม่ได้ รับประโยชน์จากทรัพยากรนันเลยไม่ ้ วา่ ทางตรงหรื อทางอ้ อม มูลค่าไม่ใช้ ประโยชน์ได้ แก่ 1) มูลค่าการคงอยู่ (Existence Value) หมายถึง มูลค่าที่สะท้ อนความต้ องการของ บุคคล ที่ปรารถนาให้ ทรัพยากรดํารงคงอยู่ต่อไปในอนาคต แม้ ว่าผู้บริ โภคนัน้ จะไม่ได้ มีส่วนร่ วมในการใช้ ประโยชน์ ตาม แต่ผ้ บู ริโภครู้สกึ พอใจที่จะให้ ทรัพยากรนันคงอยู ้ ต่ อ่ ไป หรื อไม่มีโอกาสได้ ใช้ ทรัพยากรนันเลยก็ ้ 2) มูลค่าเพื่อลูกหลาน (Bequest Value) หมายถึง มูลค่าของสิ่งแวดล้ อมที่บุคคลรุ่ น ปั จจุบนั ต้ องอนุรักษ์ ไว้ ให้ ลกู หลานได้ เห็นหรื อได้ ใช้ ประโยชน์ 1.3.1.2 มูลค่าทรัพยากรทางทะเล เป็ นการคิดมูลค่าโดยดัดแปลงจากเทคนิคการคิดมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยรวมของทรัพยากรทัว่ ไป11 โดยมี 2 ลักษณะ คือ - การคิดมูลค่าทรัพยากรทางทะเลโดยตรง หมายถึง ทรัพยากรทังที ้ ่มีชีวิตและไม่มีชีวิตซึง่ เป็ น ผลผลิตหรื อบริ การที่มีราคาในตลาดโดยตรง สามารถนํารายได้ ไปประเมินมูลค่าการใช้ ประโยชน์โดยตรง เช่น การ ประเมินมูลค่าแหล่งหญ้ าทะเลจากผลผลิตสัตว์นํา้ กล่าวคือ จากข้ อมูลการศึกษาวิจัยแหล่งหญ้ าทะเลพบว่าแหล่ง หญ้ าทะเลมีระบบนิเวศอันเป็ นที่อยู่อาศัยของทรัพยากรสัตว์นํ ้าหลากหลายชนิดอย่างอุดมสมบูรณ์ ดังนัน้ จึงสามารถ ้ ได้ นอกจากนี ้การประเมิน ใช้ ปริมาณและรายได้ จากการจับสัตว์นํ ้านันมาประเมิ ้ นเป็ นมูลค่าของแหล่งหญ้ าทะเลนันๆ มูลค่าทรัพยากรทางทะเลโดยตรง ยังสามารถนํารายได้ ที่เกิดจากการกิจกรรมนันทนาการหรื อการท่องเที่ยวมาคิดเป็ น มูลค่าของทรัพยากร เช่น หาดป่ าตอง จังหวัดภูเก็ต ประกอบด้ วยพื ้นที่ปะการังประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็ น ทรั พยากรสําคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว ดังนัน้ รายได้ จากการท่องเที่ยวที่คิดจากค่าใช้ จ่ายจากการเดินทาง ค่าที่พัก

11

ประวีณ ลิมปสายชล. 2546. การประเมินมูลค่ าทรั พยากรทางทะเล วิธีการและกรณีศึกษา. เอกสารเผยแพร่ ลําดับที่ 3. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


10

ค่าทํากิจกรรมอื่นๆ ของนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชมปะการังที่หาดป่ าตอง จึงเป็ นมูลค่าของปะการังและชายหาดของ หาดป่ าตอง - การคิดมูลค่าทรัพยากรทางทะเลโดยอ้ อม เป็ นการมุง่ ประเมินแบบบูรณาการของมูลค่าทาง ระบบนิเวศโดยเน้ นทางด้ านสิ่งแวดล้ อมและชีววิทยา ซึ่งไม่มีราคาโดยตรงทางการตลาด แต่มีวิธีการประเมินเพื่อ สะท้ อนมูลค่าออกมา ที่นิยมใช้ มีอยูด่ ้ วยกัน 6 วิธี คือ 1) การประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลโดยการเทียบเคียงราคาผ่านตลาด (Market based technique) เป็ นการประเมินมูลค่าสินค้ าใดๆ ที่ไม่ได้ ซื ้อขายในตลาดโดยตรง เพียงแต่ใช้ ราคาในตลาดเป็ นตัวกลางใน การเทียบเคียง เช่น แนวปะการังเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตว์นํา้ หลายชนิด จึงสามารถเทียบเคียงมูลค่าสัตว์นํา้ ในแนว ปะการังที่ไม่ได้ ทําการประมงโดยตรง แต่ใช้ ข้อมูลชนิดและปริ มาณเทียบเคียงกับราคาในตลาด เพื่อสะท้ อนให้ เห็น มูลค่าแนวปะการังด้ านความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิเวศในการเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นํ ้า กรณีตวั อย่างเช่น การคํานวณหามูลค่าทัว่ ไปของแนวปะการังโดยรวมของจังหวัดภูเก็ต โดยอาศัยผลการวิจยั ทรัพยากรปลาเศรษฐกิจใน แนวปะการังฝั่ งทะเลอันดามัน และผลงานวิจัยโครงสร้ างประชากรปลาในแนวปะการังจังหวัดภูเก็ต ได้ มลู ค่าปลา เศรษฐกิจและมูลค่าปลาสวยงามในแนวปะการังต่อพื ้นที่ 1,000 ตารางเมตร มีค่าเท่ากับ 19,679.9 บาท จังหวัดภูเก็ต มีพื ้นที่แนวปะการังรวม 11 ตารางกิโลเมตร จึงมีมลู ค่าตัวทรัพยากรแนวปะการังด้ านความหลากหลายของชนิดสัตว์ นํ ้าประเมินได้ อย่างน้ อยเท่ากับ 196.8 ล้ านบาท12 เป็ นต้ น 2) การประเมิ น มูล ค่า ทรั พ ยากรทางทะเลโดยการเที ย บเคี ย งส่ว นเพิ่ ม ผลผลิต (Marginal effect on production) มี 2 แบบ คือ การเทียบเคียงผลผลิตโดยตรงลดลง ตามหลักการที่ว่า หากระบบนิเวศถูก กระทบกระเทือนผลผลิตจะลดลง และทําให้ มลู ค่าผ่านตลาดลดลงด้ วย อีกแบบคือการเทียบเคียงทางผลผลิตชีวภาพ ทรัพยากรบางชนิดอาจไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจในด้ านการใช้ บริ โภค แต่มีคุณค่ามหาศาลด้ านอุตสาหกรรมทาง ชีวภาพ เช่น ใช้ สกัดสารเคมีที่มีคุณสมบัติทางการแพทย์ บางอย่าง และใช้ ทดแทนสารเคมีบางชนิ ดได้ ดังนัน้ จึง สามารถใช้ ราคาของสารเคมีที่ถกู ทดแทนนันเป็ ้ นตัวบอกมูลค่าของทรัพยากรได้ 3) การประเมิ น มูล ค่ า ทรั พ ยากรทางทะเลโดยการเที ย บเคี ย งกับ การลงทุน (Cost-based technique) เป็ นวิ ธี ก ารประเมิ น มูลค่า ทรั พ ยากรจากการใช้ ห ลัก การสละผลประโยชน์ ที่ ค วรจะได้ เพื่ อ หลี กเลี่ย ง ผลกระทบเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิเวศ มี 3 ลักษณะ คือ การประเมินมูลค่าทรัพยากรจากการเสีย โอกาส การประเมิ น มูลค่า ทรั พ ยากรจากการลงทุน ในเชิ ง ป้ องกัน (Preventive cost) และการลงทุน ทดแทน (Replacement cost) 4) การประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลด้ วยวิธีการสํารวจด้ านการใช้ ประโยชน์ (Contingent Valuation Method: CVM) เป็ นวิธีการประเมินมูลค่าโดยทางอ้ อม ใช้ พื ้นฐานการวิจยั โดยการสอบถามผู้ใช้ ทรัพยากร ว่าเต็มใจที่จะจ่าย (Willingness to pay: WTP) หรื อเต็มใจที่จะรับการชดเชย (Willingness to accept: WTA) ในการ ใช้ ทรัพยากรและให้ คงอยู่ตลอดไป วิธีนี ้ใช้ หลักการประเมินสถานการณ์ ซึ่งสมมุติให้ ทรัพยากรมีการเปลี่ยนแปลงซึ่ง เป็ นสถานการณ์ สมมุติที่มีโอกาสเกิดขึ ้นจริ ง เป็ นวิธีที่นิยมใช้ กนั มากในงานวิจยั ที่มีการศึกษาเรื่ องการประเมินมูลค่า ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม 5) การประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลด้ านนันทนาการหรื อการท่องเที่ยว (Travel Cost

12

อ้ างแล้วเชิงอรรถที่ 11

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


11

Method: TCM) แนวคิดของวิธีการนี ้คือ ทรัพยากรให้ คณ ุ ประโยชน์ในทางนันทนาการแก่ผ้ เู ดินทางซึ่งจะมีค่าใช้ จ่าย เกิดขึ ้นระหว่างการเดินทาง ฉะนัน้ จึงนําค่าใช้ จ่ายและค่าเวลาที่สญ ู เสียไปในการเดินทางเป็ นตัวแทนของราคา 6) การประเมินมูลค่าทรัพยากรโดยวิธีประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้ อม (Hedonic Price Method: HPM) เป็ นการประเมินมูลค่าทรัพยากรผ่านตลาดขึ ้นกับองค์ประกอบของทรัพยากรโดยเน้ นการบริ การด้ านคุณภาพ สภาพแวดล้ อม เช่น ความสวยงามของภูมิทศั น์ อากาศบริ สทุ ธิ์ และอื่นๆ ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้ อมเหล่านีจ้ ะมีผลต่อ ความเต็มใจที่จะจ่ายของผู้ใช้ ทรัพยากร ในการประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งตามวิธีการต่างๆ นัน้ จําเป็ นต้ องอาศัยผลการวิจัย หลายด้ านมาบูรณาการ โดยเฉพาะความหลากหลายทางชีวภาพ ชีววิทยาสัตว์และพืชทะเล ตลอดจนนิเวศวิทยา และ กระบวนการทางสมุทรศาสตร์ ซงึ่ มีความสลับซับซ้ อนเกี่ยวโยงกันทังระบบ ้ และจากวิธีการประเมินมูลค่าทรัพยากรที่ได้ ้ น้ จําเป็ นจะต้ องใช้ ระยะเวลาใน กล่าวมา จะเห็นได้ วา่ ในการหามูลค่าทรัพยากรทางทะเลให้ ได้ มลู ค่าที่แท้ จริ งทังหมดนั การศึกษา งบประมาณ รวมถึงความเชี่ยวชาญของผู้ศึกษาเป็ นอย่างมาก เพราะมูลค่าของทรัพยากรแม้ จะเป็ นชนิด เดียวกันแต่ต่างพื ้นที่กนั ก็จะมีมลู ค่าไม่เท่ากัน เนื่องจากปั จจัยที่นํามาใช้ คิดคํานวณมูลค่าของทรัพยากรในแต่ละพื ้นที่ มีความแตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลในส่วนของมูลค่าทรัพยากรทางทะเลที่ได้ จาก การศึกษาในครัง้ นี ้ จะนํามาจากงานวิจยั ที่มีการศึกษาไว้ แล้ วเป็ นหลัก ส่วนมูลค่าทรัพยากรในส่วนที่ยงั ไม่พบว่ามีการ วิจยั จะใช้ การประเมินโดยใช้ มลู ค่าทรัพยากรที่ผ้ อู ื่นประเมินไว้ แล้ วจากสถานที่อื่นมาปรับค่าตามความแตกต่างของ สภาพแวดล้ อมหรื อสภาพทางสังคม เรี ยกว่าวิธี Benefit Transfer Approach 13 เพื่อให้ ได้ มลู ค่าทรัพยากรโดยรวมของ ประเทศทังหมด ้ เป็ นการประมาณการโดยคร่าวถึงประโยชน์แห่งชาติทางทะเลในส่วนของทรัพยากร 1.3.2 มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของประเทศไทยมีมลู ค่าโดยรวมเท่ากับ 7.4 ล้ านล้ านบาท โดยรวบรวมจาก ข้ อมูลทุติยภูมิที่เคยมีการศึกษาเอาไว้ แบ่งออกเป็ นมูลค่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง มูลค่าของกิจกรรมการใช้ ทะเล และมูลค่าการสูญเสียโอกาสจากการสูญเสียทรัพยากรหรื อผลกระทบจากกิจกรรมการใช้ ทะเล (ตารางที่ 1-1)

13

สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2550. การประเมินมูลค่าของประเทศไทย. “การจัดลําดับความสําคัญของปั ญหา ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม”. แหล่งที่มา : http://www.thaienvimonitor.net/Concept/value-env.pdf, 10 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


12

ตารางที่ 1-1 มูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล14 หน่วย: ล้ านบาท 1. มูลค่าจากทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง 1.1 ทรัพยากรมีชีวิต 1.2 ทรัพยากรไม่มีชีวิต 2. มูลค่าจากกิจกรรมการใช้ ทะเล 2.1 พาณิชยนาวี 2.2 อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ 2.3 การท่องเที่ยว 2.4 อื่นๆ รวมมูลค่ าผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล

6,120,901.00 341,061.30 197,390.30 49,786.60 7,442,817.17

3. มู ล ค่ า การสู ญ เสี ย โอกาสจากการสู ญ เสี ย ทรัพยากร หรื อ ผลกระทบจากกิจกรรมการใช้ ทะเล 3.1 การกัดเซาะ 3.2 นํ ้ามันรั่วไหล 3.3 สึนามิ รวม

4,657.00 1,919.11 85,084.17 91,660.28

%

234,608.85 3.15 499,069.12 6.71 82.24 4.58 2.65 0.67 100

หมายเหตุ เป็ นมูลค่าที ่ รวบรวมได้เท่าทีม่ ี การประเมิ นโดย การศึกษาวิ จยั ยังไม่ใช่มูลค่าที ่ แท้จริ งทัง้ หมด

1.3.2.1 มูลค่าจากทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง จากการรวบรวมข้ อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้ องกับการประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งตามวิธีการ ประเมินมูลค่าที่ได้ กล่าวไปแล้ วข้ างต้ น พบว่า ทรัพยากรทางทะเลของประเทศไทยในส่วนที่มีชีวิตมีมลู ค่าประมาณ ้ ้น 0.73 ล้ านล้ านบาท ทังนี ้ ้ 0.23 ล้ านล้ านบาท และทรัพยากรไม่มีชีวิตมีมลู ค่าประมาณ 0.50 ล้ านล้ านบาท รวมทังสิ เป็ นมูลค่าที่เกิดจากงานวิจยั ที่มีการศึกษาโดยระบุชนิดทรัพยากรและพื ้นที่ ร่วมกับการประเมินมูลค่าทรัพยากรโดยใช้ มูลค่าทรัพยากรที่ผ้ อู ื่นประเมินไว้ แล้ วจากสถานที่อื่นมาปรับค่าตามความแตกต่างของสภาพแวดล้ อมหรื อสภาพทาง สังคม เรี ยกว่าวิธี Benefit Transfer Approach ซึง่ จะสามารถนําไปใช้ พิจารณาเพื่อวางนโยบายหรื อแผนการบริ หาร จัดการทรั พ ยากรในภาพรวมได้ 15 อย่างไรก็ตามมูลค่า ดังกล่าวยังไม่ใ ช่มูลค่าของทรั พยากรทัง้ หมดอย่า งแท้ จริ ง หากต้ องการมูลค่าการใช้ ทรั พยากรทางทะเลที่แท้ จริ งและครบถ้ วนถูกต้ อง จํ า เป็ นต้ องมีการศึกษาวิจัยเรื่ องการ ประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งโดยละเอียดอีกครัง้ 1.3.2.2 มูลค่าจากกิจกรรมการใช้ ทะเล กิจกรรมการใช้ ทะเลของคนไทยสามารถสร้ างมูลค่าได้ ถงึ 6.7 ล้ านล้ านบาท และการคิดมูลค่าจากกิจกรรม การใช้ ท ะเลจะใช้ มูลค่า ของผลผลิตหรื อ บริ ก ารที่ เกิ ด จากกิ จ กรรมนัน้ ๆ ส่ว นใหญ่ เป็ นมูล ค่า ราคาตลาดโดยตรง

14 15

รายละเอียดการจําแนกมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ดูได้ จากภาคผนวก ก สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย, อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 13.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


13

อาจเรี ยกได้ ว่ามูลค่าผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลจากกิ จกรรมการใช้ ทะเลนี จ้ ึงจัดเป็ นมูลค่าในส่วนของการใช้ ประโยชน์ทงหมด ั้ ซึง่ ราคาของสินค้ าและบริการที่เกิดขึ ้นส่วนใหญ่มกั จะยังไม่ได้ คิดรวมไปถึงต้ นทุนทางสิง่ แวดล้ อม มูลค่าของผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่เกิดจากกิจกรรมทางทะเลในการศึกษาครัง้ นี ้คิดเป็ นประมาณ 90 เปอร์ เซ็นต์ ของมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลทังหมด ้ ทังนี ้ เนื่องจากการศึกษาในครัง้ นี ้ไม่สามารถหามูลค่า ในส่วนของทรัพยากรได้ อย่างครบถ้ วนทําให้ สดั ส่วนมูลค่าส่วนใหญ่มาจากกิจกรรมต่างๆ เป็ นหลัก และกิจกรรมที่ทํา ให้ เกิดมูลค่ามากที่สดุ ในส่วนนี ้ คือ การขนส่งทางทะเล ซึ่งมีมลู ค่าการค้ าระหว่างประเทศทางทะเลรวมขาเข้ าและขา ออกสูงถึง 6.12 ล้ านล้ านบาท จากปริ มาณการขนส่งทางทะเลเข้ า-ออกผ่านประเทศไทยจํานวน 183,527 พันตัน โดย มูลค่าการค้ าระหว่างประเทศนี ้เป็ นข้ อมูลจากกระทรวงคมนาคม16 ซึ่งรวมมูลค่าของค่าบริ การท่าเรื อ ค่าระวางการ ขนส่ง และมูลค่าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการขนส่งทางทะเลไว้ ด้วยแล้ ว และจากการรวบรวมเอกสารงานวิจยั ในการศึกษา ครัง้ นี ้ ยังไม่พบว่ามีการวิจยั เรื่ อง ค่าระวางการขนส่งทางทะเลไว้ อย่างชัดเจน ทังนี ้ ้อาจเนื่องจากขนาดของการขนส่ง ทางทะเล (ขนาดของเรื อ) มีหลายระดับ และมีสินค้ าหลายประเภทที่ทําการขนส่ง ซึ่งแต่ละขนาดและแต่ละประเภท สินค้ าก็จะมีคา่ ใช้ จ่ายในการขนส่งทางทะเลแตกต่างกันอย่างมาก เป็ นการยากที่จะทําการศึกษารวมรวมให้ ได้ ข้อสรุป ทังหมด ้ จึงยังไม่มีใครทําการศึกษาอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม จากเอกสารรายงานการประชุมสัมมนาเรื่ อง “บทบาทของทะเลในการฝ่ าวิกฤตเศรษฐกิจ ไทย” 17 ของโครงการกฎหมายทะเลแห่ง เอเซี ย อาคเนย์ (SEAPOL) ที่ จัด ขึ น้ เมื่ อ ปี 2542 มี ก ารพูด ในหัว ข้ อ เรื่ อ ง “ศักยภาพของพาณิ ชยนาวี ต่อเศรษฐกิ จไทย” โดยคุณ สาริ น สกุลรั ตนะ ได้ กล่าวไว้ ว่า การคิดอัตราค่าระวางจะ ประมาณที่ 10 เปอร์ เซ็นต์ของมูลค่าการค้ า ซึ่งถ้ าคิดค่าระวางตามนีจ้ ะพบว่าในปี 2548 มีมลู ค่าจากค่าระวางการ ขนส่งทางทะเลประมาณ 0.61 ล้ านล้ านบาท นอกจากนีย้ งั ระบุว่า ในการขนส่งทางทะเลนี ้ประเทศไทยมีส่วนอยู่ ประมาณ 11 เปอร์ เซ็นต์ แต่ถ้าคิดเป็ นมูลค่าสินค้ าจะประมาณ 8 เปอร์ เซ็นต์ แสดงให้ เห็นว่ามูลค่าที่ได้ จากการขนส่ง ทางทะเลเหล่านี ้ตกอยูก่ บั คนไทยน้ อยมาก 1.3.2.3 มูลค่าการสูญเสียโอกาสจากการสูญ เสียทรั พยากร หรื อ ผลกระทบจากกิ จกรรมการใช้ ทะเล เท่ากับ 0.09 ล้ านล้ านบาท โดยทัว่ ไปแล้ วตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ โดยรวมมีวิธีการคิดที่นําเอามูลค่าการลงทุน ในเชิงการป้องกัน การลงทุนทดแทน และการเสียโอกาสไปคํานวณเป็ นมูลค่าทรัพยากรจากการใช้ ประโยชน์ทางอ้ อม ได้ อย่ า งไรก็ ต ามมูล ค่ า ในส่ว นนี ไ้ ม่ ใ ช่ มูล ค่า ที่ เ กิ ด จากตัว ทรั พ ยากรแต่เ ป็ นมูล ค่า ที่ เ กิ ด จากผลกระทบภายนอก การศึกษาในครัง้ นี ้จึงไม่นําไปรวมในการคิดมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลโดยรวม สําหรับประเทศไทยมีมลู ค่า การสูญเสียโอกาสหรื อมูลค่าผลกระทบจากการใช้ ทะเลเกิดจากการกัดเซาะชายฝั่ ง การรั่วไหลของนํ ้ามัน และมูลค่า ความเสียหายจากภัยสินามิในเหตุการณ์สนึ ามิปลายปี 2547 ตลอดความยาวชายฝั่ งอันดามันของประเทศไทย โดยรวมแล้ วมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลจึงมีไม่น้อยกว่า 7.4 ล้ านล้ านบาท และจากการศึกษา ในเบื ้องต้ นพบว่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลจากการใช้ ทะเลไทยไม่ได้ สร้ างผลประโยชน์ ให้ กบั คนในชาติอย่าง เต็มที่ มีบางส่วนถูกส่งไปอยู่ในมือเจ้ าของกิจการที่เป็ นชาวต่างชาติ แต่สิ่งที่คนไทยได้ รับอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยคือ ผลกระทบที่ เกิ ด กับ สภาพแวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ ง เช่ น มลพิ ษ ทางทะเลที่ ทํ า ให้ สิ่ง มี ชี วิ ต ตาย ระบบนิ เวศ 16

กระทรวงคมนาคม. 2550. บริ การสถิติคมนาคม. ข้ อมูลด้ านการขนส่ ง. แหล่งที่มา : http://www.news.mot.go.th, 2 กรกฎาคม

2550. 17

โครงการกฎหมายทะเลแห่งเอเชียอาคเนย์ (SEAPOL). 2542. บทบาทของทะเลในการฝ่ าวิกฤติเศรษฐกิจไทย. เอกสาร ประกอบการสัมมนาวันที่ 12 พฤษภาคม 2542 ณ ห้ องแกรนด์บอลรูม โรงแรมแม่นํ ้า, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


14

ป่ าชายเลน หญ้ าทะเล ปะการัง เสื่อมโทรม ชายฝั่ งถูกกัดเซาะ เป็ นต้ น ซึ่งเกิดจากการใช้ โดยที่ไม่มีนโยบายและการ บริ หารจัดการที่ ดี ซึ่งหากปล่อ ยให้ การใช้ ทะเลของคนไทยเป็ นแบบนี ต้ ่อไป ในอนาคตประเทศไทยคงไม่มีค วาม จําเป็ นต้ องมาประเมินมูลค่าผลประโยชน์ ชาติทางทะเลที่คนไทยได้ รับอีก เพราะคงไม่มีผลประโยชน์ใดเหลือไว้ ให้ ประเมินได้ แล้ วผลสุดท้ ายก็อาจจะต้ องไปบ่นเสียดายกับมูลค่าที่สญ ู เสียไปอย่างมหาศาลแทน 1.4 นโยบายการรั กษาผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเลของประเทศไทย ช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยมีนโยบายหรื อแผนยุทธศาสตร์ รักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลใน ลักษณะแบ่งแยกตามหน่วยงาน ซึง่ แผนเหล่านี ้มุง่ เน้ นการจัดการและแก้ ไขปั ญหาเฉพาะเรื่ อง ได้ แก่ 1.4.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตงแต่ ั ้ ฉบับที่ 1 ได้ มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาเรื่ องของทรัพยากร โดยรวมไว้ ทังนี ้ ้ในส่วนของทรัพยากรประมงจะมีนโยบายที่ระบุเฉพาะเจาะจงชัดเจน เช่น ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 มีการตังเป ้ ้ าหมายทําผลผลิตจากการประมงทะเลให้ ได้ 88 เปอร์ เซ็นต์ ในปี 2509 และเพิ่ม ผลผลิตให้ ได้ 93 เปอร์ เซ็นต์ในปี 2514 ซึง่ ตรงกับช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 ต่อมาได้ มี การกําหนดเป้าหมายการผลิตประมงทะเล เป็ น 2.0, 2.1 และ 3.2 ล้ านตัน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่4, 5 และ 6 ตามลําดับ นอกจากนี ้ ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 เป็ นต้ นมา เป็ นช่วงที่ ทรัพยากรการประมงของประเทศไทยประสบกับภาวะการเสื่อมโทรม ทําให้ เกิดนโยบายเพื่อการฟื น้ ฟูทรัพยากรประมง ในน่านนํา้ ขึน้ ซึ่งเป็ นจุดเปลี่ยนทางด้ านแนวคิดเรื่ องการจัดการการประมงที่คํานึงถึงสภาพแวดล้ อมเพื่อให้ การทํา ประมงเป็ นไปอย่างยัง่ ยืนมากยิ่งขึ ้น 1.4.2 นโยบายและยุทธศาสตร์ การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล สภาความมัน่ คงแห่งชาติ (สมช.)ได้ จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ตังแต่ ้ ปี 2536 โดยคณะรัฐมนตรี มีมติให้ ความเห็นชอบ และแต่งตังคณะกรรมการดู ้ แลตามแผนต่างๆ จนถึงปั จจุบนั มี ทังสิ ้ ้น 3 แผน คือ - นโยบายและยุทธศาสตร์ การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล พ.ศ. 2536–2542 มีคณะกรรมการ อํานวยการและประสานการดําเนินการตามนโยบายและยุทธศาสตร์ การรักษาผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเล (อปท.) จํานวน 28 คน - นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ. 2542–2546 มีคณะกรรมการอํานวยการและประสาน การปฏิบตั ิตามนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติทางทะเล (อปท.) จํานวน 40 คน - นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ. 2548–2552 มีคณะกรรมการอํานวยการและประสาน การปฏิบตั ิตามนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติทางทะเล (อปท.) จํานวน 44 คน นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ. 2548–2552 ซึ่งเป็ นนโยบายล่าสุดที่มีการใช้ อยู่ในปั จจุบนั มี วัตถุประสงค์หลัก 4 ข้ อ คือ 1) เพื่อให้ มีและธํ ารงไว้ ซึ่งอํานาจอธิปไตย การรักษาและคุ้มครองสิทธิอธิปไตยของชาติ ทางทะเล และการสนับสนุนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ 2) เพื่อให้ ระบบการคมนาคมขนส่งทางทะเลที่สําคัญ ของประเทศ สามารถใช้ ประโยชน์ได้ อย่างเต็มที่และต่อเนื่อง 3) เพื่อให้ พื ้นที่ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล มีความ สงบเรี ย บร้ อยและมี ค วามปลอดภัย สามารถพัฒ นาให้ เ กิ ด ประโยชน์ สูง สุด ของชาติ ท างทะเล และ 4) เพื่ อ ให้ มี

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


15

การศึกษา ค้ นคว้ า วิจยั และพัฒนาระบบข้ อมูลทางสมุทรศาสตร์ ธรณีวิทยา นโยบายและยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับความ มัน่ คงทางทะเล สําหรับใช้ ประโยชน์ร่วมกันและปกป้องผลประโยชน์ของชาติทางทะเล 1.4.3 นโยบายประมงแห่งชาติ การประมงนับเป็ นกิจกรรมหลักของการใช้ ทะเลของคนไทย ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานโยบายการพัฒนา ้ ต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้ ทะเลมักจะมุ่งเน้ นไปเพื่อการประมง โดยการพัฒนาด้ านการประมงของประเทศไทยมีมาตังแต่ ก่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจะเริ่ มใช้ และเมื่อประเทศไทยเริ่ มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติตงแต่ ั ้ ฉบับที่ 1 จนกระทัง่ ปั จจุบนั เป็ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่10 ก็ได้ มีการกําหนด แผนเรื่ องการประมงไว้ อย่างชัดเจน โดยมีกรมประมงเป็ นผู้ดแู ลรับผิดชอบโดยตรง ปั จจุบนั กรมประมงได้ เริ่ มพิจารณา ดําเนินมาตรการจัดการทรั พยากรประมงแนวใหม่ตามหลักการของกฎหมายประมงฉบับใหม่ โดยมุ่งเน้ นถึงการ ประกอบอาชีพการทําการประมง การใช้ ทรัพยากรสัตว์นํ ้าให้ เหมาะสมและกําหนดหลักการเกี่ยวกับการพัฒนาความ เป็ นอยู่ของชาวประมงทังหมด ้ โดยจัดทําร่างพระราชบัญญัติการประมงฉบับใหม่ ในลักษณะ “กฎหมายกรอบการใช้ อํ านาจในการบริ หารจัดการทรัพยากรประมง” ทังนี ้ ้เพื่อให้ การพัฒนาเป็ นไปอย่างยัง่ ยืนและมีประสิทธิ ภาพสูงสุด18 รวมทังกํ ้ าลังดําเนินการจัดทําแผนแม่บทในการจัดการประมงทะเลของไทยด้ วย 1.4.4 แผนแม่บทการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง เนื่องจากเป็ นหน่วยงานที่ดแู ลรับผิดชอบโดยตรงในเขตพื ้นที่ทางทะเล ได้ รวมกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยต่างๆ เป็ นต้ น ทํ า การศึก ษาวิจัยและจัดทํ า นโยบายการบริ หารจัด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง โดยจํ า แนกตามประเภท ทรัพยากร ดังนี ้ - ป่ าชายเลน ตามแผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549) รั ฐ ได้ ตังเป ้ ้ าหมายการอนุรักษ์ ป่าชายเลนไว้ ว่า ให้ อนุรักษ์ และฟื น้ ฟูป่าชายเลนเพื่อให้ มีป่าชายเลนไม่น้อยกว่า 1.25 ล้ านไร่ (2,000 ตร.กม.) นอกจากนี ย้ งั มีหลายนโยบายที่เกี่ยวข้ องกับทรัพยากรป่ าชายเลน เช่น นโยบายด้ านการคุ้มครอง ระบบนิเวศป่ าชายเลน นโยบายด้ านการฟื น้ ฟูป่าชายเลน นโยบายด้ านการให้ ความรู้ และฝึ กอบรมเพื่อให้ ตระหนักถึง คุณค่าของป่ าชายเลน และนโยบายด้ านการวิจยั ป่ าชายเลน เป็ นต้ น ภายใต้ การดําเนินการของหน่วยงานต่างๆ ได้ แก่ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ กรมป่ า ไม้ กรมประมง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รวมทังมหาวิ ้ ทยาลัยต่างๆ และองค์กรต่างประเทศจํานวน มาก - ปะการัง ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2535 กําหนดนโยบายการจัดการปะการัง ไว้ คือ 1) จัดการแนวปะการังโดยสอดคล้ องกับคุณค่าทางนิเวศวิทยาและเศรษฐกิจ เพื่อให้ เกิดความสมดุลระหว่างกิจกรรม การใช้ ประโยชน์ ต่างๆ 2) ลดปั ญหาความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง โดยการเพิ่มประสิทธิ ภาพของกระบวนการ บริ หารและการนําเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ 3) สนับสนุนการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการคุ้มครองปะการัง 4) ปรั บ ปรุ ง กฎ ระเบี ย บ และองค์ ก รเพื่ อ เป็ นกรอบในการจัด การทรั พ ยากรปะการั ง อย่า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพ และ 5)

18

กรมประมง และ FAO. 2547. รายงานการสัมมนาการจัดการกําลังผลิตของการทําการประมงทะเล. เอกสารการสัมมนาเชิง ปฏิบตั ิการเรื่ องการจัดการกําลังผลิตของการทําการประมงทะเล 11-14 พฤษภาคม 2547 โรงแรมโกลเด้ นแซนด์ส อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


16

ศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการคุ้มครองปะการัง19 - หญ้ าทะเล สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมได้ มีการดําเนินการศึกษา เพื่อวางแผน การจัดการแหล่งหญ้ าทะเลของประเทศ อย่างไรก็ตาม แผนการจัดการและแผนการปฏิบตั ิการจัดการ หญ้ าทะเลฯ ดังกล่าว ยังไม่ได้ รับการอนุมตั ิและรับรองจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ จึงยังไม่มีผลบังคับใช้ 20 นอกจากนี ้ยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวกับการบริ หารจัดการหญ้ าทะเลของประเทศไทยโดยอ้ อม คือ ไม่ได้ ระบุเฉพาะ โดยตรงว่าเป็ นนโยบายการจัดการหญ้ าทะเล แต่เป็ นนโยบายการจัดการทรัพยากรโดยรวม เช่น นโยบาย มาตรการ และแผนการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยัง่ ยืน พ.ศ.2546-2550 เป็ นต้ น - พื ้นที่ช่มุ นํ ้า ภายใต้ การดําเนินงานของโครงการ UNEP GEF Project on Reversing Environmental Degradation Trends in the South China Sea and Gulf of Thailand ได้ วางแนวนโยบายและเป้าหมายเชิง ยุทธศาสตร์ การจัดการพื ้นที่ช่มุ นํ ้า ไว้ คือ มีแผนการจัดการพื ้นที่ชมุ นํ ้าที่มีความสําคัญแบบบูรณาการโดยกระบวนการ มีส่วนร่ วม ให้ มีองค์ กรรั บผิดชอบโดยตรงและสร้ างเครื อข่ายการอนุรักษ์ พืน้ ที่ชุมนํ า้ ของชุมชน รวมไปถึงให้ มีการ ศึกษาวิจัยและจัดทําศูนย์ข้อมูลเพื่อจัดลําดับความสําคัญของพื ้นที่ชุมนํา้ บริ เวณอ่าวไทย ตามศักยภาพและความ เหมาะสมของพื ้นที่21 - กรอบแนวทางการจัดการมลพิษจากแผ่นดินที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเล มียทุ ธศาสตร์ สําคัญ คือ กําหนดให้ การจัดการมลพิษจากแผ่นดินที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลมีความสําคัญระดับชาติ และในระดับ ภูมิ ภ าค เสริ มสร้ างศัก ยภาพบุค ลากร พัฒ นาเทคโนโลยี และเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ แก่สังคม รวมทัง้ สนับสนุนการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่วน โดยให้ ทุกภาคส่วนดําเนินการแบบบูรณาการเชิงรุ กในการลดมลพิษจาก แผ่นดิน และฟื น้ ฟูทรัพยากรทางทะเล22 นอกจากนี ้ ในแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลหลายแผน หรื อหลายนโยบาย อาจปรากฏอยู่ในแผนการ บริ หารจัดการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง ไม่ได้ ระบุเฉพาะเจาะจงว่าเป็ นทรัพยากรชนิดใด ส่วนใหญ่จะเป็ นการระบุโดยรวมว่า เป็ นแผนบริ หารจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม เช่น นโยบายสิ่งแวดล้ อมในรัฐธรรมนูญ นโยบายการพัฒนาในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ แผนจัดการคุณภาพ สิง่ แวดล้ อมทังระดั ้ บประเทศและระดับจังหวัด เป็ นต้ น

19

โครงการ UNEP GEF Project. 2547. แผนปฏิบัติการจัดการฟื ้ นฟู เล่ มที่ 2 ปะการั ง เอกสารส่วนที่ 4 เล่มที่ 2/7. สถาบันวิจยั และพัฒนากลุม่ วิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล มหาวิทยาลัยรามคําแหง, กรุงเทพฯ. 20 โครงการ UNEP GEF Project. 2548. กฎหมายกับการบริ หารจัดการหญ้ าทะเล เล่ มที่ 3-2 หญ้ าทะเล เอกสารส่วนที่ 3 เล่มที่ 3-2/6. คณะสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ, หน้ า 2-16. 21 โครงการ UNEP GEF Project. 2547. รายงานสถานการณ์ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เล่ มที่ 4 พืน้ ที่ช่ ุมนํา้ . ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 22 โครงการ UNEP GEF Project. 2548. แผนปฏิบัติการจัดการฟื ้ นฟู เล่ มที่ 5 มลพิษจากแผ่ นดิน เอกสารส่วนที่ 4 เล่มที่ 5/7. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม, กรุงเทพฯ. หน้ า 7.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


17

1.4.5 นโยบายการจัดการด้ านการขนส่งและพาณิชยนาวี ยุทธศาสตร์ หนึ่งของกรมการขนส่งทางนํ ้าแลพาณิชยนาวี คือ การพัฒนาให้ มีบริ การ โครงสร้ างพื ้นฐานการ ขนส่งทางนํ า้ ในเชิงยุทธศาสตร์ ในฐานะปั จจัยผลักดันในการสร้ างความเข้ มแข็งทางเศรษฐกิจและการสร้ างความ เข้ มแข็งของพื ้นที่ เพื่อเชื่อมโยงความต้ องการขนส่งจากประเทศเพื่อนบ้ านและระบบโลจิสติกส์23 1.4.6 แผนแม่บทการจัดการพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสตั ว์ป่าและพันธุ์พืชมีการศึกษาเพื่อจัดทําแผนแม่บทการจัดการพืน้ ที่อุทยานแห่งชาติ และแผนยุทธศาสตร์ การจัดการพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติ24 โดยนอกจากนี ้ในส่วนของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาก็มี ยุทธศาสตร์ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้ านการท่องเที่ยว การพัฒนาสินค้ าและบริ การด้ านการท่องเที่ยว โดยการพัฒนาระบบบริหารจัดการ แบบบูรณาการ25 1.4.7 นโยบายการสร้ างและรักษาความมัน่ คงในการจัดหาเชื ้อเพลิงธรรมชาติ กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติในฐานะเป็ นผู้ดแู ลเรื่ องของพลังงานในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้ านการขุดเจาะ นํ า้ มันและก๊ าซธรรมชาติ มี นโยบายการสร้ างและรั กษาความมั่นคงในการจัดหาเชื อ้ เพลิงธรรมชาติ เพื่อ เพิ่มขี ด ความสามารถในการจัดหาแหล่งเชื ้อเพลิงธรรมชาติในประเทศและพื ้นที่พฒ ั นาร่ วม และส่งเสริ มการจัดหาเชื ้อเพลิง 26 ธรรมชาติในพื ้นที่อื่นๆในต่างประเทศ จะเห็นได้ ว่าทุกนโยบายมีส่วนเกี่ ยวข้ องกับการรั กษาผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลของประเทศไทย แต่ รู ปแบบหรื อลักษณะของนโยบายต่างๆ เหล่านี ้เป็ นไปในลักษณะแบ่งส่วน แบ่งเรื่ องโดยมีหน่วยงานรับผิดชอบแต่ละ เรื่ องแต่ละส่วนอย่างชัดเจน และนโยบายการบริหารจัดการในแต่ละเรื่ องนัน้ ก็ไม่ได้ พจิ ารณาจากผลประโยชน์แห่งชาติ ทางทะเลที่ได้ รับอย่างแท้ จริ ง อย่างไรก็ตามนโยบายเฉพาะเรื่ องที่มีนี ้ก็ยงั ไม่ครบถ้ วนโดยเฉพาะเรื่ องของกฎหมาย ยัง ขาดนโยบายด้ านการพัฒนากฎหมายภายในให้ สอดคล้ องกับผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลที่กฎหมายระหว่าง ประเทศกําหนดหรื อเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป ทําให้ การปฏิบตั ิเพื่อรักษาผลประโยชน์จงึ กระทําได้ ไม่เต็มที่ตามสิทธิที่ควร มี นอกจากนี ้ยังขาดนโยบายการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งในภาพรวม ทังนี ้ ้ ด้ วยปั จจัยที่กล่าวมา ทังหมดจึ ้ งมีส่วนให้ พฒ ั นาการด้ านการใช้ ทะเลในมิติต่างๆ ของประเทศไทยที่ผ่านมามีลกั ษณะไร้ ทิศทาง (ขาดการ เสริ มพลังกัน (synergy) และในบางครัง้ กลายเป็ นการขัดกัน) ไม่มีจดุ มุ่งหมายที่ชดั เจนแน่นอน และทําให้ เกิดภาวะ วิกฤติของการใช้ ที่สง่ ผลเสียย้ อนกลับมาสูค่ นไทยในหลายเรื่ องดังเช่นที่เห็นกันอยูใ่ นปั จจุบนั เช่น การที่ปริ มาณสัตว์นํ ้า ในอ่าวไทยลดจํานวนลงจนทําให้ ชาวประมงไม่สามารถจับสัตว์นํ ้าในน่านนํ ้าไทยได้ อย่างพอเพียงต้ องหาทางออกไป ทําการประมงนอกน่านนํ ้า จนบางครัง้ มีกรณีพิพาทกับประเทศเพื่อนบ้ าน เป็ นต้ น

23

กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี. 2550. แผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบตั ิการ. แผนงานและแผนดําเนินงาน. แหล่ งที่มา : http://www.md.go.th/plan/index_plan.php, 10 กันยายน 2550. 24 กรมอุทยานแห่งชาติสตั ว์ ป่าและพันธุ์พืช. 2550. แผนแม่บทการจัดการพืน้ ที่อุทยานแห่งชาติ. ส่ วนศึกษาและวิจัยอุ ทยาน แห่ งชาติ. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/NPRD/informed/informed.php, 10 กันยายน 2550. 25 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2550. ยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยว พ.ศ. 2547-2551. งานนําเสนอ PowerPoint. แหล่งที่มา: http://www.mots.go.th/strategy/stTourism47-51/chartTourism.files/frame.htm#slide0003.htm, 10 กันยายน 2550. 26 กรมเชื ้อเพลงธรรมชาติ. 2550. ยุทธศาสตร์ และภาระกิจกรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ. แผนยุทธศาสตร์ ของกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ. แหล่งที่มา: http://www.dmf.go.th/dept/strategies_activities.asp, 10 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


18

1.5 หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการรั กษาผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล เนื่องจากประเทศไทยไม่มีองค์กร/หน่วยงานกลางที่ทําหน้ าที่ดแู ลผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลในภาพรวม ทัง้ หมด ลักษณะการปฏิ บัติง านที่ ผ่า นมาจะเป็ นแบบแยกส่ว น คื อ หน่ ว ยงานใดมี ส่ว นเกี่ ย วข้ อ งกับ เรื่ อ งใดก็จ ะ รับผิดชอบดูแลทังด้ ้ านนโยบาย การจัดการ และกฎหมายที่เป็ นเฉพาะของเรื่ องนันไป ้ เช่น เรื่ องเกี่ยวกับการประมง ก็มี กรมประมงเป็ นผู้ดแู ล เรื่ องพาณิชยนาวี ก็มีกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี เป็ นผู้ดแู ล ทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ งอื่นๆ ก็มีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งเป็ นผู้ดูแล เป็ นต้ น ซึ่งก็สอดคล้ องกับแผนการจัดการต่างๆ ที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น อย่างไรก็ตาม ในปี 2540 ได้ มีการจัดตังหน่ ้ วยงานที่จะทําหน้ าที่ในการปกป้องและรักษาผลประโยชน์ชาติทาง ทะเล นัน่ คือ ศูนย์ประสานการปฏิบตั ิในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (ศรชล.) ซึง่ เป็ นหน่วยงานเฉพาะกิจ ้ ้ มีจดุ มุ่งหมายเพื่อเป็ นศูนย์กลางในการ ที่จดั ตังขึ ้ ้นตามนโยบายของรัฐบาล ขึ ้นตรงต่อสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ทังนี ประสานงานต่างๆ เกี่ยวกับกิจการทางทะเลในทุกๆ ด้ าน เพื่อให้ การปฏิบตั ิเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน ไม่เกิดความซํ ้าซ้ อน ในการปฏิบตั ิและมีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้ อมูลกันอย่างต่อเนื่องโดยมีกองทัพเรื อเป็ นศูนย์กลางในการประสานการ ปฏิบตั ิร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องทางทะเลอีก 18 หน่วยงาน แนวทางการปฏิบตั ิการภายใต้ นโยบายความมัน่ คง แห่งชาติทางทะเลของ ศรชล. จะมุ่งเน้ นไปในเชิงการประสานการปฏิบัติงานเพื่อการป้องกันและปราบปรามการ กระทําผิดกฎหมายทางทะเล การช่วยเหลือประชาชนและผู้ประสบภัยทางทะเล การคุ้มครองกิจกรรมในทะเล เช่น การประมง การขุดเจาะปิ โตรเลียม การอนุรักษ์ และฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อมทางทะเล ไปจนการส่งเสริ มการท่องเที่ยวทาง ั้ ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ้ าน ทะเลและชายฝั่ ง27 ซึ่งก็ยงั ไม่ครอบคลุมเรื่ องผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลได้ ทงหมด อย่างมาเลเซีย มีหน่วยงานที่ควบคุมดูแลเรื่ องของทะเลที่เรี ยกว่า Maritime Institute of Malaysia (MIMA) ซึ่ง หน่วยงานนี ้จะเป็ นผู้กําหนดนโยบายแห่งชาติทางทะเลของมาเลเซียอย่างชัดเจน รวมทังควบคุ ้ มดูแลกิจกรรมทังหมดที ้ ่ 28 จะเกี่ยวข้ องให้ เป็ นไปตามนโยบายแห่งชาตินนั ้ นอกจากประเทศมาเลเซี ย แล้ ว อิ น โดนี เ ซี ย ก็ มี ห น่ ว ยงานที่ ดูแ ลรั บ ผิ ด ชอบด้ า นการจัด การการใช้ ท ะเล โดยเฉพาะ เกาหลีใต้ ก็เป็ นอีกประเทศหนึ่งที่มีกระทรวง The Ministry of Maritime Affairs and Fisheries ซึง่ เป็ น หน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่ องเกี่ยวกับทะเลโดยเฉพาะ มีการกําหนดนโยบาย/ทิศทางเรื่ องการใช้ ทะเลอย่างชัดเจน29 ประเทศในภูมิ ภ าคอื่ น ก็มี ห น่ว ยงานที่ ทํ า หน้ า ที่ ใ นการบริ ห ารจัด การเรื่ อ งการใช้ ท ะเลที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ เช่ น แคนาดา มี Canadian Coast Guard ภายใต้ Department of Fisheries and Oceans30 เป็ นต้ น ซึง่ ลักษณะการ ดําเนินการ บทบาทและหน้ าที่ของหน่วยงานบริหารจัดการด้ านการใช้ ทะเลของประเทศเหล่านี ้น่าจะเป็ นแบบอย่างที่ดี ที่ประเทศไทยควรศึกษาเพื่อนํามาประยุกต์ใช้ ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั ของประเทศได้

27

ศูนย์ประสานการปฏิบตั ิการในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (ศรชล.) Thailand Maritime Enforcement Coordinating Center: THAI-MEECC, (2545). 28 Maritime Institute of Malaysia. 2550. Available Source: http://www.mima.gov.my, 10 กันยายน 2550. 29 Ministry of Maritime Affairs and Fisheries of Korea .2550. Available Source: http://www.momaf.go.kr/english/policy/ocean/P_ocean.asp, 10 กันยายน 2550. 30 Canadian Coast Guard. 2550. Overview. The CCG Fleet. Available Source: http://www.ccg-gcc.gc.ca/fleetflotte/overview_e.htm, 10 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


19

อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ารู ปแบบของหน่วยงาน/องค์กรที่จะมาควบคุมดูแลรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลจะ เป็ นอย่างไร ก็คงไม่สําคัญเท่ากับคนในประเทศไทยควรจะต้ องหันมาใส่ใจและให้ ความสําคัญกับเรื่ องผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลกันให้ มากยิ่งขึ ้น และร่ วมกันพิจารณาวางนโยบายแห่งชาติทางทะเลอย่างจริ งจังภายใต้ การบริ หาร จัดการแบบบูรณาการและยัง่ ยืน เพื่อที่ลกู หลานของเราในอนาคตจะยังคงมีทะเลไว้ ใช้ ได้ สืบไป 1.6 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ เพื่อให้ การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สงู สุด ประเทศไทยควรมี แนวทาง ดังนี ้ 1. กํ า หนดกรอบนโยบาย และยุท ธศาสตร์ ร ะดับ ชาติ เ กี่ ย วกับ ผลประโยชน์ ช าติ ท างทะเลเพื่ อ รั ก ษา ผลประโยชน์ของชาติให้ เป็ นรู ปธรรม จะโดยการกําหนดลงในรัฐธรรมนูญไทย ในหมวดแนวนโยบายพื ้นฐานแห่งรัฐ ้ ้เพื่อให้ คนไทยทุกคนรับทราบ/ รับรู้ / เข้ าใจ และตระหนักถึงหน้ าที่ที่จะต้ อง หรื อ การทํานโยบายอื่นๆ ใด ก็แล้ วแต่ ทังนี ปฏิบตั ิในฐานะที่เป็ นคนไทย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 “บุคคลมีหน้ าที่ป้องกัน ประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบตั ิตามกฎหมาย” (หมวด 4 หน้ าที่ของชนชาวไทย มาตรา 70)31 2. นโยบายการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเล หรื อกิจกรรมการใช้ ทะเลในหน่วยงานย่อยต่างๆ ตาม อํานาจหน้ าที่ที่รับผิดชอบ ต้ องมีทิศทางไปในทางเดียว หรื อสอดคล้ องกับนโยบายรวมของประเทศ ทังนี ้ ้หน่วยงานแต่ ละแห่ง ควรประสานความร่ ว มมื อ ในการปฏิ บัติ ง านซึ่ง กัน และกัน โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ในส่ว นของข้ อ มูล ซึ่ง เป็ น องค์ประกอบสําคัญที่จะส่งเสริม สนับสนุนนโยบายในภาพรวมให้ ดําเนินไปในทิศทางที่เหมาะสมและยัง่ ยืน 3. ควรจะต้ องมี การพัฒนากฎหมายภายในให้ สอดคล้ องกับผลประโยชน์ ทางทะเลที่กฎหมายระหว่า ง ประเทศกําหนดหรื อเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการบริ หารจัดการนโยบายในภาพรวมของประเทศให้ เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล32 4. จัดตังหน่ ้ วยงาน หรื อ คณะทํางาน หรื อ คณะกรรมการ ระดับชาติที่จะทําหน้ าที่ในการรวบรวมข้ อมูล เสนอแนะเรื่ องต่างๆ รวมทังนโยบายหรื ้ อยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการบริ หารจัดการการใช้ ทะเลแก่ผ้ มู ีอํานาจตัดสินใจ นอกจากนี ้ยังจะต้ องเป็ นหน่วยประสานการดําเนินการตามแผนปฏิบตั ิการต่างๆ เพื่อช่วยทําให้ นโยบายที่กําหนดไว้ สามารถปฏิบตั ิได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

31

ราชกิจจานุเบกษา, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 3, หน้ า 27. โดยโครงการ “สถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน” ได้ เสนอรายละเอียดเรื่ อง มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ทางทะเลไว้ ในบทที่ 4 32

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


21

บทที่ 2 หน่ วยงาน/องค์ กรต่ างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลไทย ประเทศไทยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลอยู่หลายหน่วยงานด้ วยกันเนื่องจากทะเลประกอบไปด้ วย ทรั พยากรและกิจกรรมที่ หลายหลาย ซึ่งแต่ละหน่วยงานก็มีความเกี่ ยวข้ องกับทรั พยากรหรื อกิจกรรมแต่ละชนิด แตกต่างกันไปตามอํานาจ หน้ าที่ความรับผิดชอบ จากการค้ นหาและรวบรวมข้ อมูลจากข้ อมูลออนไลน์ในเว็บไซต์ ั ้ ่ถกู จัดตังขึ ้ ้นตามวัตถุประสงค์ในด้ านที่ม่งุ ใช้ ทรัพยากรจากทะเลโดยตรง เช่น พบว่า หน่วยงานที่หลากหลายนีม้ ีทงที กรมประมง และหน่วยงานย่อยภายในกรมกองที่มีกิจกรรมบางกิจกรรมเกี่ยวข้ องกับการใช้ ทรัพยากรในทะเล เช่น กรม เชื ้อเพลิงธรรมชาติ กรมทรัพยากรธรณี การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็ นต้ น ต่อมาเมื่อทรัพยากรและสภาพแวดล้ อม ในท้ องทะเลไทยเริ่ มมีปัญหาในด้ านปริ มาณและคุณภาพ จึงเกิดมีหน่วยงานที่เข้ ามาดูแลด้ านการอนุรักษ์ และฟื น้ ฟู ทรัพยากร เช่น กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริ มคุณภาพสิ่งแวดล้ อม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง เป็ นต้ น และ ั้ และการอนุรักษ์ ไป บางหน่วยงานเดิมก็เริ่ มปรับแผนนโยบายจากการใช้ เพียงอย่างเดียวมาเป็ นนโยบายที่มีทงการใช้ พร้ อมกัน จนปั จจุบนั หน่วยงานส่วนใหญ่ดจู ะมีหน้ าที่ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรมากกว่าให้ ใช้ อย่างเช่นในอดีต ทังนี ้ ้ การศึกษาในบทนี ้ได้ จําแนกหน่วยงานหรื อองค์กรต่างๆ เป็ น 4 ด้ าน ได้ แก่ 1) ด้ านทรัพยากรทางทะเล 2) พาณิชยนาวี 3) การท่องเที่ยว และ 4) สิ่งแวดล้ อมทางทะเล ซึ่งเป็ นการจําแนกตามภาระงานและหน้ าที่ที่เด่นชัด ของหน่วยงานนันๆ ้ ที่เกี่ยวข้ องกับทรัพยากรหรื อกิจกรรมทางทะเล ซึ่งจะสอดคล้ องกับผังหน่วยงานที่ทางโครงการฯ ได้ พยายามทําขึ ้นเพื่อให้ เห็นภาพได้ ชดั ตามภาคผนวก ข 2.1 หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของประเทศไทย 2.1.1 ด้ านทรั พยากรทางทะเล 2.1.1.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในด้ านการบูรณาการองค์ความรู้ทางเทคนิคเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเล 1) หน่วยงานด้ านการศึกษา ประกอบด้ วยมหาวิทยาลัยที่มีหน้ าที่ศึกษา วิจัย และค้ นคว้ าเพื่อการ จัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละพัฒ นาทฤษฎี ใ หม่ ๆ อี ก ทัง้ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ให้ ร้ ู จัก คุณ ค่ า และประโยชน์ ข อง ทรั พยากรธรรมชาติทางทะเลมากขึน้ ซึ่งมหาวิทยาลัยที่มีแนวทางการพัฒนางานด้ านดังกล่าว เช่น จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั วิทยาเขตตรัง และ The Asian Institute of Technology เป็ นต้ น 2) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หน่วยงานย่อยที่มีการดําเนินงานเกี่ยวกับการบูรณาการองค์ ความรู้ ทางทะเล ได้ แก่ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) มีหน้ าที่ศึกษา ค้ นคว้ า และวิจยั เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในทะเลด้ วยการ ประยุกต์และพัฒนาการใช้ เครื่ องมือและเทคโนโลยีให้ เกิดวิทยาการใหม่ๆ อันจะนําไปสูก่ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ได้ อย่างถูกต้ องและเหมาะสม

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


22

3) กรมอุทกศาสตร์ มีหน้ าที่ในการติดตามและตรวจวัดปั จจัยทางสมุทรศาสตร์ รวมทังรวบรวมข้ ้ อมูล พื ้นท้ องทะเล กระแสนํ ้า คลื่น ฯ 2.1.1.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องด้ านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากร 1) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับทรัพยากรมีชีวิต และทรั พยากรไม่มีชีวิตทางทะเล อาทิเช่น กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรธรณี กรมเชื อ้ เพลิง ธรรมชาติ กรมควบคุมมลพิษ สํานักงานนโยบายและแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช มีบทบาทในการอนุรักษ์ ฟื น้ ฟู และบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล 2) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ แก่ กรมประมงทําหน้ าที่ในการจัดการทรัพยากรประมง ควบคุม ป้องกัน และปราบปรามการทําประมง และผลิตสัตว์นํ ้าให้ มีมาตรฐานที่ทวั่ โลกยอมรับ 3) กระทรวงอุตสาหกรรม มีกรมโรงงานอุตสาหกรรม และปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งมีหน้ าที่ เกี่ยวกับการบริ หารจัดการและดูแลธุรกิจอุตสาหกรรมด้ านวัตถุอนั ตราย ด้ านการผลิต และด้ านความปลอดภัยเพื่อให้ เป็ นไปตามกฏหมายและข้ อตกลงระหว่างประเทศ นอกจากนี ้ทําหน้ าที่สนับสนุนข้ อมูลและองค์ความรู้ เกี่ยวกับการ ผลิต สิง่ แวดล้ อมและความปลอดภัย 4) กระทรวงกลาโหม มีกองทัพเรื อซึ่งประกอบด้ วยหน่วยเฉพาะกิจและหน่วยขึ ้นตรงกับกองทัพเรื อ เช่น ศูนย์ปฏิบตั ิการกองทัพเรื อ (ศปก.ทร.) กองเรื อยุทธการ กรมฝ่ ายอํานวยการต่างๆ และหน่วยสนับสนุนต่างๆ มี หน้ าที่รักษา และคุ้มครองผลประโยชน์จากการใช้ ทรัพยากรในทะเลให้ ถกู ต้ องและเหมาะสม โดยไม่ขดั กับกฎหมาย หรื อข้ อตกลงภายในและระหว่างประเทศ ั ญาและกฎหมาย และกรมองค์การ 5) กระทรวงการต่างประเทศ มีหน่วยงานย่อย ได้ แก่ กรมสนธิสญ ระหว่างประเทศที่ทําหน้ าที่พิจารณากฎหมายระหว่างประเทศ ข้ อตกลงระหว่างประเทศหรื ออื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องเพื่อบังคับ ใช้ ปฏิบัติในการจัดการและการใช้ ทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ งให้ สอดคล้ องและเป็ นไปตามกฎระเบียบระดับ นานาชาติ 6) องค์กรเอกชน/ หน่วยงานอิสระ หรื อหน่วยงานอื่นๆ - หน่วยงานภายในประเทศ ซึง่ ส่วนใหญ่จะมีหน้ าที่ในการอนุรักษ์ หรื อสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และมีบทบาทในการเสริ มสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ รวมทังประสานงานกั ้ บหน่วยงานราชการและประชาชนในการ ทํางาน ซึ่งมีหลายหน่วยงานที่มีโครงการหรื อกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับทรัพยากรมีชีวิตและไม่มีชีวิตทางทะเล ได้ แก่ สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย โครงการแลใต้ เพื่อฟื น้ ฟูทะเลสาบสงขลา กลุม่ พัฒนาประมงพื ้นบ้ าน ศูนย์ศกึ ษา และพัฒนาอ่าวปั ตตานี สมาพันธ์ ประมงพื ้นบ้ าน องค์การสะพานปลา เครื อข่ายองค์กรด้ านประมงพื ้นบ้ านภาคใต้ ชมรมชาวประมงพื ้นบ้ าน มูลนิธิค้ มุ ครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย กลุ่มอนุรักษ์ ปัตตานี สมาคม ธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย ศูนย์อนุรักษ์ พลังงานแห่งประเทศไทย นอกจากนี ้ยังมีบริ ษัทเอกชนบางบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง กับทรัพยากรไม่มีชีวิต นัน่ ก็คือ บริษัทสํารวจ ขุดเจาะนํ ้ามันและก๊ าซธรรมชาติ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


23

- หน่วยงานระดับชาติที่มีบทบาทเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ได้ แก่ Convention on Biological Diversity, International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS), International Coral Reef Initiative (ICRI), Wetlands International - Asia Pacific (WIAP), The Global Environment Facility (GEF), Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ), International Union for The World Conservation Union (IUCN), NGO Global Network, Conservation International, The World Fish Center, International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS), Convention on Biological Diversity, โครงการเครื อข่ายประมงพื ้นบ้ านภายใต้ สมาคมเนอร์ ธไอร์ แลนด์, Malaysia-Thailand Joint Authority (MTJA), Thailand Energy and Environment Network (TEENET) และ World Trade Organization (WTO) เป็ น ต้ น 2.1.2 ด้ านการขนส่ งทางทะเล 2.1.2.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในด้ านการบูรณาการองค์ความรู้ทางเทคนิค 1) กระทรวงศึกษาธิการ ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยหลายแห่งที่ให้ ความรู้ การศึกษา ค้ นคว้ า และ วิจยั เกี่ยวกับการขนส่งทางทะเล ได้ แก่ สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยาลัยการขนส่งและโลจีสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา และ The Asian Institute of Technology 2.1.2.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องด้ านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการ 1) กระทรวงคมนาคม มีหน่วยงานย่อยที่มีสว่ นในการทํางานเกี่ยวกับการขนส่งทางนํ ้า คือ กรมขนส่ง ทางนํ ้าและพาณิชยนาวี และการท่าเรื อแห่งประเทศไทย มีหน้ าที่ดําเนินตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้า ไทย บริ หารและพัฒนาท่าเรื อให้ เป็ นโครงสร้ างพื ้นฐานเพื่อสร้ างความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ อย่างยัง่ ยืน อีกทังยั ้ งร่วมมือและประสานงานกับองค์กรทังในประเทศและต่ ้ างประเทศในกิจการท่าเรื อและกิจการที่เกี่ยวเนื่องเพื่อ พัฒนาระบบขนส่งและขนถ่ายสินค้ าให้ มีเครื อข่ายเชื่อมโยงระหว่างท่าเรื อ 2) กองบังคับการตํารวจนํ า้ มีหน้ าที่ในการรักษาความสงบเรี ยบร้ อย ป้องกัน และปราบปราม อาชญากรรมตามประมวลกฎหมายอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาทังหลายในน่ ้ านนํ ้าไทย ได้ แก่ บริ เวณท่าเรื อและ ชายฝั่ งทะเล ซึ่งเป็ นอาณาเขตของประเทศไทย รวมทังเขตเศรษฐกิ ้ จจําเพาะและทะเลหลวง และในเขตอํานาจการ รับผิดชอบอื่นๆ อีกทังยั ้ งปฏิบตั ิงานร่ วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องหรื อที่ได้ รับมอบหมาย นอกจากนีย้ งั มีหน้ าที่ ปราบปรามผู้กระทําผิดเกี่ยวกับกฎหมายศุลกากร การประมง คนเข้ าเมือง การเดินเรื อในน่านนํา้ ไทย ควบคุมการ ส่งออกและนําเข้ าสินค้ าระหว่างราชอาณาจักร รวมทังรั ้ กษาความปลอดภัยทางนํ ้า ค้ นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย ในทะเล รักษาทรัพยากรและรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล 3) องค์กรเอกชน/ หน่วยงานอิสระ หรื อหน่วยงานอื่นๆ - หน่วยงานภายในประเทศที่มีหน้ าที่รับผิดชอบเกี่ ยวกับการขนส่งทางนํ า้ ได้ แก่ บริ ษัท ไทย เดินเรื อทะเล จํากัด สมาคมเจ้ าของเรื อไทย สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศ การท่าเรื อแห่งประเทศ ไทย สภาผู้สง่ สินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย เป็ นต้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


24

- หน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น International Maritime Organization (IMO), สมาคมนําร่อง สากล (International Maritime Pilots' Association), สถาบันจัดชันเรื ้ อ (Classification Society), Partnerships in Environment Management for the Seas of East Asia, Secretariat of the Basel Convention United Nations Environment Program, The Global Maritime Distress and Safety System (GMDSS), International Labour Organization (ILO), International Association of Marine Aids to Navigation and Lighthouse Authorities (IALA) และ International Hydrographic Organization (IHO) เป็ นต้ น 2.1.3 ด้ านการท่ องเที่ยวทางทะเล 2.1.3.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในด้ านการบูรณาการองค์ความรู้ทางเทคนิค 1) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มีหน่วยงานย่อยที่มีส่วนเกี่ยวข้ องกับการท่องเที่ยว ทางทะเล คือ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง โดยมีหน้ าที่ควบคุม และกํากับดูแลการอนุญาตที่เกี่ยวข้ องกับพื ้นที่ป่าและพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติตามกฎหมาย อีกทังศึ ้ กษา วิจยั วางแผน และประสานงานด้ านการท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และบริ การสารสนเทศและถ่ายทอด เทคโนโลยีด้านการท่องเที่ยว การอนุรักษ์ และฟื น้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติมิให้ เสื่อมโทรมลง 2.1.3.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องด้ านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการ 1) กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและการกี ฬ า ก็ เ ป็ นหน่ ว ยงานหนึ่ง ที่ มี ส่ว นเกี่ ย วข้ อ งโดยตรงด้ า นการ ท่องเที่ยวทางทะเล ประกอบไปด้ วยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และสํานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว ทําหน้ าที่ สํ า รวจกํ า หนดพื น้ ที่ แ ละสถานที่ เ ป็ นแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วและทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ ย วที่ ต้ อ งสงวนไว้ ใ ห้ อ ยู่ใ นความ ควบคุมดูแล อี กทัง้ ยัง สํารวจ วางแผน และดํ า เนิ น การจัดสร้ างส่งเสริ ม อนุรักษ์ ฟื ้น ฟู บูรณะหรื อ พัฒนาสถานที่ ท่องเที่ยว ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม 2) องค์กรเอกชน/ หน่วยงานอิสระ หรื อหน่วยงานอื่นๆ - หน่วยงานภายในประเทศที่เกี่ยวกับเรื่ องการท่องเที่ยว เช่น สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวของ จังหวัดชายทะเลต่างๆ สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว เป็ นต้ น 2.1.4 ด้ านสิ่งแวดล้ อมทางทะเล 2.1.4.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในด้ านการบูรณาการองค์ความรู้ทางเทคนิค 1) กระทรวงศึกษาธิการ มีมหาวิทยาลัยที่ทําหน้ าที่ประสานงานศึกษา วิจยั และบริ การวิชาการด้ าน สิ่งแวดล้ อมทางทะเล ได้ แก่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชัย วิ ท ยาเขตตรั ง มหาวิ ท ยาลัย วลัย ลัก ษณ์ มหาวิ ท ยาลัย รามคํ า แหง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นต้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


25

2) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ประกอบด้ วยสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย และสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ทัง้ 2 หน่วยงานนี ้มีหน้ าที่ดําเนินการวิจยั พัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้ องนโยบายและแผนระดับชาติและความต้ องการของอุตสาหกรรม ้ ฒนาส่งเสริ มและ พร้ อมทังนํ ้ าผลงานสูก่ ารใช้ ประโยชน์ เพื่อสร้ างมูลค่าทางเศรษฐกิจเชิงพาณิชย์ของประเทศ อีกทังพั สนับสนุนการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้ อม คุณภาพชีวิตประชาชน และความมัน่ คงแห่งชาติ 3) กระทรวงกลาโหม โดยมีกองทัพเรื อมีประกอบด้ วยหน่วยเฉพาะกิจและหน่วยขึ ้นตรงกับกองทัพเรื อ มี ห น้ า ที่ อํ า นวยการประสานงาน แนะนํ า กํ า กับ การ และดํ า เนิ น การ รวมทัง้ การวิ จัย และพัฒ นาเกี่ ย วกับ งาน อุทกศาสตร์ และสมุทรศาสตร์ อุตนุ ิยมวิทยาทางทะเล 2.1.4.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องด้ านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการบริ หารจัดการ 1) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม มีหน่วยงานที่ทําหน้ าที่ในการกํากับ ดูแล อํานวยการ ประสานงาน และประเมินผลเกี่ยวกับการฟื ้นฟู คุ้มครอง และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมให้ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพนํ ้าทะเลและชายฝั่ งในกรณีที่คณ ุ ภาพนํ ้าประสบปั ญหาหรื อมีความเสื่อมโทรม ประกอบด้ วยหน่วยงานต่อไปนี ้ คือ กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริ มคุณภาพสิ่งแวดล้ อม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อม แล้ วยังมีกรมทรัพยากรธรณีและกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง เป็ นหน่วยงานสนับสนุนการจัดการ สิง่ แวดล้ อมทางทะเล 2) กระทรวงอุตสาหกรรม มีหน้ าที่การบริ หารจัดการและดูแลธุรกิจอุตสาหกรรมด้ านวัตถุอันตราย ด้ านการผลิต และด้ านความปลอดภัยเพื่อให้ เป็ นไปตามกฏหมายและข้ อตกลงระหว่างประเทศ นอกจากนี ้ทําหน้ าที่ สนับสนุนข้ อมูลและองค์ความรู้ เกี่ยวกับการผลิต สิ่งแวดล้ อมและความปลอดภัย อีกทังควบคุ ้ มและดูแลมาตรฐาน คุณภาพนํ ้าทิ ้งหรื อของเสียให้ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้ อม และส่งเสริ มให้ โรงงานอุตสาหกรรมมีระบบ บําบัดคุณภาพนํ ้าเสียก่อนปล่อยออกสูธ่ รรมชาติ 3) กระทรวงการต่างประเทศมีหน่วยงานย่อย ได้ แก่ กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย และกรมองค์การ ระหว่างประเทศที่ทําหน้ าที่กําหนดกฎหมายเพื่อบังคับใช้ ในการปฏิบตั ิในการจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้ อมทางทะเลและ ชายฝั่ งให้ สอดคล้ องและเป็ นไปตามข้ อบัญญัติกฎหมายหรื อข้ อตกลงระดับนานาชาติ 4) องค์กรเอกชน/ หน่วยงานอิสระ หรื อหน่วยงานอื่นๆ - หน่ ว ยงานภายในที่ ทํ า หน้ า ที่ วิ จัย ติด ตามตรวจสอบ ประสานงาน และดํ า เนิ น การจัด การ คุณ ภาพสิ่งแวดล้ อมทางทะเล รวมทัง้ ส่งเสริ มการเผยแพร่ ในการให้ ความรู้ ความเข้ าใจด้ า นการพัฒนาคุณ ภาพ สิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน หน่วยงานดังกล่าวได้ แก่ องค์การจัดการนํ ้า เสีย สมาคมวิทยาศาสตร์ ทางทะเลแห่งประเทศไทย (Marine Science Association of Thailand) สถาบันสิ่งแวดล้ อม ไทย เป็ นต้ น - หน่วยงานระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้ องกับการวิจัย ศึกษา ค้ นคว้ า พัฒนา และจัดการด้ าน สิ่งแวดล้ อมทางทะเลได้ แก่ NGO Global Network, The Global Environment Facility (GEF), Royal Netherlands

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


26

Institute for Sea Research (NIOZ), The Think Earth Foundation, United Nations Environment Programme, Partnerships in Environment Management for the Seas of East Asia (PEMSEA) เป็ นต้ น 2.2 ปั ญหาการบริหารจัดการหน่ วยงานที่เกี่ยวกับการใช้ ทะเล อย่างไรก็ตาม การที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในด้ านต่างๆ จํานวนมากนี ้ อาจจะเป็ นเครื่ องแสดงให้ เห็นว่าทะเล มีความสําคัญ แต่ก็เป็ นเรื่ องที่น่าจะพิจารณาว่า เหตุใดสถานภาพของท้ องทะเลไทยจึงยังไม่คืนสภาพความสมบูรณ์ และคนใช้ ทะเลก็ยังประสบปั ญหาต่างๆ เรื่ อยมา และจากการวิเคราะห์สภาพปั ญหาประกอบกับข้ อมูลหน้ าที่การ บริหารจัดการของหน่วยงานที่มี ทําให้ พอจะสรุปได้ ดังนี ้ 2.2.1 ประเทศไทยมีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่ดูแลและจัดการด้ านการใช้ การอนุรักษ์ ทรั พยากรและ กิจกรรมทางทะเล แต่เป็ นการดูแลแบบแยกส่วน แต่ละหน่วยงานยังไม่ค่อยประสานความร่ วมมือกันในการจัดการ ตัวอย่างเช่น การจัดการเรื่ องฐานข้ อมูล ซึ่งเป็ นมูลเหตุสําคัญที่ทําให้ ผ้ บู ริ หารในระดับสูงของประเทศไม่สามารถวาง นโยบายในภาพรวมได้ อย่างชัดเจน 2.2.2 หน่วยงานบางแหล่งขาดผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ ความชํานาญในการบริ หารจัดการเฉพาะด้ าน ทําให้ การปฎิบตั ิงานอาจไม่ตอบสนองตามวัตถุประสงค์ที่แท้ จริ งของหน่วยงานนันๆ ้ เช่น การขนส่งและพาณิชยนาวี ดูแล รับผิดชอบท่าเรื อ แต่อาจไม่มีผ้ เู ชี่ยวชาญเรื่ องร่องนํ ้า สําหรับการเดินเรื อ เป็ นต้ น 2.2.3 ขาดนโยบายทางทะเลในภาพรวม ที่จะเป็ นตัวชี ้นําให้ การวางแผน และการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน ย่อยที่เกี่ยวข้ องไม่เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน 2.3 แนวทางการแก้ ไขปั ญหา 2.3.1 จัดทํานโยบายการรักษาผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลของประเทศไทย เพื่อให้ มีแนวทางที่ชัดเจน ้ จ้ ะอยู่ในรู ปขององค์กรกลาง หรื อเป็ นนโยบาย สําหรับการปฏิบตั ิงานของเจ้ าหน้ าที่ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ระดับชาติโดยที่ไม่มีองค์กร ขึ ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมซึง่ ควรจะต้ องมีการศึกษาในรายละเอียดเพิ่มเติม 2.3.2 อย่างไรก็ตาม หน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่ยงั คงต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ต่อไป ดังนัน้ จึงจําเป็ นต้ องสร้ างกลไกการ ประสานงานระหว่างหน่วยงานในทุกภาคส่วน เช่น รัฐต่อรัฐ รัฐต่อเอกชน รัฐต่อองค์กรพัฒนาเอกชน รัฐต่อประชาชน เป็ นต้ น ทัง้ นี ้ เพื่อให้ เกิ ดความร่ วมมื อระหว่างกันทัง้ ในส่วนของทฤษฎี และการปฏิบัติ อันจะเป็ นการส่งเสริ มและ สนับสนุนซึง่ กันและกันไม่เกิดเป็ นความขัดแย้ ง การบริ หารจัดการหน่วยงานที่อยู่ภายใต้ การบังคับบัญชาของหน่วยเหนื อที่แตกต่างกันนัน้ เป็ นไปได้ ยาก ในทางปฏิบตั ิ หรื ออาจไม่สามารถทําได้ เลย ตราบใดที่ประเทศไทยยังไม่มีแนวทางของการใช้ ทะเลในภาพรวมที่ชดั เจน ดังนัน้ สิง่ สําคัญที่ควรจะต้ องผลักดันให้ เกิดขึ ้นก่อนเป็ นอันดับแรก คือ การจัดทํานโยบายในระดับชาติ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


27

บทที่ 3 สถานการณ์ ปัจจุบันของประเทศไทยกับการใช้ ทะเล: ปั ญหาและผลกระทบ วลัยพร ล้ ออัศจรรย์ โสภิต สร้ อยสอดศรี จีรวรรณ ช่วยพัฒน์ ศรัณย์ เพ็ชร์ พิรุณ สมิท ธรรมเชื ้อ ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์

การที่ประเทศไทยมีความยาวชายฝั่ ง 2,800 กิโลเมตร และมีพื ้นที่ใช้ ประโยชน์ทางทะเลถึง 350,000 ตาราง 33

กิโลเมตร ทําให้ คนไทยมีการใช้ ประโยชน์จากทะเลหลายประเภททังในระดั ้ บพื ้นบ้ านและในระดับอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเลของไทยจึงมีมลู ค่าโดยรวมไม่ตํ่ากว่า 7.4 ล้ านล้ านบาท โดยที่มลู ค่านี ้เกิดจากการ ใช้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ในรูปแบบของกิจกรรมต่างๆ ทังสิ ้ ้น ทรัพยากรทางทะเลจึงมีความสําคัญในฐานะที่ เป็ นปั จจัยพื ้นฐานของการประกอบอาชีพด้ านต่างๆ อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรทางทะเลของประเทศไทยแม้ จะมีความ หลากหลายแต่ก็มีข้อจํากัดของการใช้ เพราะทรัพยากรบางชนิดไม่สามารถสร้ างขึ ้นมาทดแทนใหม่ได้ ทนั ที แต่ต้องใช้ ระยะเวลาในการฟื น้ ฟู บางชนิดก็ใช้ แล้ วหมดไปประกอบกับกิจกรรมต่างๆ ในทะเลและชายฝั่ งที่มีจํานวนเพิ่มขึ ้นทําให้ มีการใช้ ทรัพยากรทางทะเลอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการรองรับตามธรรมชาติเสื่อมถอยลง จนเป็ นเหตุให้ เกิด ปั ญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อมทางทะเล นอกจากปั ญหาที่เกิดกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อม โดยตรงแล้ วยังจะมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการซึง่ เป็ นปั ญหาสําคัญที่จําเป็ นต้ องใช้ หลักการประสานงานระหว่าง ้ ใจของผู้เกี่ยวข้ องทุกคนในการที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่การงานของตน โดย หน่วยงานเข้ าด้ วยกัน รวมทังความสนใจและใส่ คํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ส่ว นรวมเป็ นหลัก นอกจากนี ย้ ัง จํ า เป็ นต้ อ งมี ข้ อ มูล ที่ เ ป็ นองค์ ค วามรู้ เบื อ้ งต้ น และข้ อ มูล สถานการณ์ที่เป็ นปั จจุบนั ในด้ านต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องด้ วย การศึกษาในบทนี ้จะนําเสนอสถานการณ์การใช้ ทะเลในทุกมิติเกี่ยวกับสถานการณ์ของทรัพยากรและการใช้ ในด้ านต่างๆ ผลกระทบและปั ญหาที่เกิดจากกิจกรรมการใช้ ทะเล กล่าวคือ - มิติด้านทรัพยากรธรรมชาติ ได้ แก่ การทําประมง การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรจากนํ ้าทะเล แร่ธาตุ ก๊ าซ และปิ โตรเลียม เป็ นต้ น - มิติด้านพาณิ ชยนาวี ได้ แก่ ท่าเรื อ ปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งทางนํ า้ ในประเทศไทย สภาพปั ญหาของ พาณิชยนาวีที่ประสบมาตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั เกี่ยวกับการเดินเรื อ การขนส่งของกองเรื อไทย อุตสาหกรรมซ่อมและ ต่อเรื อ และปั ญหาด้ านการจัดการระบบพาณิชยนาวี เป็ นต้ น - มิติด้านการท่องเที่ยวทางทะเล ได้ แก่ การท่องเที่ยวทางทะเลในรู ปแบบต่างๆ สถิติการท่องเที่ยว และ ปั ญหาด้ านการท่องเที่ยวที่ก่อให้ เกิดความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล เป็ นต้ น - มิติด้านสิ่งแวดล้ อม ได้ แก่ การรั่วไหลของนํา้ มัน การกัดเซาะชายฝั่ ง ปรากฎการณ์ นํา้ ทะเลเปลี่ยนสี การเปลี่ยนแปลงของระดับนํ ้าทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้ อน และภัยพิบตั ิสนึ ามิ เป็ นต้ น 3.1 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองของทรั พยากรธรรมชาติ 3.1.1 ทรั พยากรมีชีวติ 3.1.1.1 ทรัพยากรประมงและการเพาะเลี ้ยง

33

ถนอม เจริ ญลาภ. 2550. กฎหมายทะเล เขตทางทะเลของประเทศไทย. บริ ษัท สํานักพิมพ์วิญญูชน จํากัด. กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


28

สถานการณ์ และความสําคัญของการทําประมงทะเล 1) ความสําคัญของการทําประมงทะเล ประเทศไทยจัดเป็ นประเทศที่ประสบความสําเร็จในด้ านการพัฒนาการประมงจนสามารถติดอันดับหนึ่งใน สิบของโลกที่มีผลผลิตสูง และยังติดอันดับต้ นๆ ของผู้ส่งออกสินค้ าประมงมาตังแต่ ้ ปี 2535 โดยผลผลิตมวลรวมใน สาขาประมงมีมลู ค่า 98.9 พันล้ านบาท คิดเป็ น 11.87 เปอร์ เซ็นต์ ของผลผลิตมวลรวมของภาคเกษตร หรื อ 1.27 เปอร์ เซ็นต์ ของผลผลิตมวลรวมของประเทศ (ปี 2549)34 เกี่ยวข้ องกับคนไทยจํานวนมากในหลายกิจกรรมโดยเฉพาะ ในบริ เวณหรื อใกล้ เคียงกับพื ้นที่ชายฝั่ ง นับเป็ นหมู่บ้านได้ มากกว่า 2,000 หมู่บ้าน มีครัวเรื อนที่ทําประมงทะเลตาม ข้ อมูลของสํามะโนประมงทะเล ปี 2543 จํานวน 55,981 ครัวเรื อน35 และมีตลาดแรงงานรองรับซึ่งสํารวจในปี 2543 ถึง 826,657 คน โดยอยู่ในภาคของประมงทะเล 161,670 คน เป็ นผู้เพาะเลีย้ งสัตว์ นํ า้ ชายฝั่ ง 77,870 คน อยู่ใ น อุตสาหกรรมต่อเนื่องที่เกี่ยวข้ องกับการประมง 183,100 คน ที่เหลืออยู่ในภาคของผู้เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าจืด36 ผลผลิต การประมงทะเลในปี 2538-2547 ตามสถิติของกรมประมง37 อยู่ระหว่าง 2.6-2.8 ล้ านตัน ซึง่ ผลผลิตส่วนใหญ่ได้ จาก การทําประมงทะเลด้ วยเครื่ องมือทําการประมงที่มีประสิทธิภาพ เช่น อวนลอย อวนรุ น อวนลาก อวนล้ อม เบ็ดราว เป็ นต้ น ที่ประกอบอยู่กบั เรื อประมงจํานวนไม่น้อยกว่า 16,432 ลํา ในพื ้นที่ทําการประมงในอาณาเขตประเทศไทย 6 แห่ง ได้ แก่ อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยตอนใน อ่าวไทยฝั่ งตะวันตกตอนบน อ่าวไทยฝั่ งตะวันตกตอนล่าง อ่าวไทย ตอนกลาง และฝั่ งอันดามัน รวมทังการทํ ้ าประมงนอกน่านนํ ้าในประเทศเพื่อนบ้ าน และการทําประมงในทะเลหลวง ด้ วย ผลผลิตการประมงส่วนหนึง่ ได้ นํามาใช้ บริโภคเป็ นอาหารโปรตีนที่สําคัญสําหรับคนในประเทศ ซึง่ การบริ โภคสัตว์ นํ ้าในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมาอยู่ระหว่าง 25-30 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ผลผลิตอีกส่วนถูกส่งออกขายสู่ตลาดโลกนําเงินตรา เข้ าสูป่ ระเทศโดยในปี 2549 ประเทศไทยได้ ดลุ การค้ าสัตว์นํ ้าทังหมด ้ 154,151.9 ล้ านบาท38 พัฒนาการของการประมงทะเลไทยมีมาช้ านาน โดยในรายงานสถานการณ์ ท รั พยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้ อม เล่มที่ 6 ด้ านการประมง ของโครงการ UNEP39 ก็ได้ แบ่งช่วงการพัฒนาออกเป็ น 3 ระยะ ดังนี ้ ยุคก่อนปี 2503 ถือได้ ว่าเป็ นช่วงการเริ่ มต้ นพัฒนาการประมงทะเล เครื่ องมือประมงที่ใช้ ในยุคนี ้ส่วนใหญ่ จะเป็ นเครื่ องมือประมงพืน้ บ้ าน และใช้ เรื อประมงขนาดเล็กไม่มีเครื่ องยนต์ ต่อมาได้ มีการพัฒนาเครื่ องมือและ ดัดแปลงเรื อประมงให้ มีความเหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจับปลาผิวนํ ้าให้ ดียิ่งขึ ้น โดยการพัฒนาเทคโนโลยี 34

สํานักบัญชีประชาชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม. 2550. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไตรมาสที่ 4/2549. แถลงข่ าว. แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=95, 20 เมษายน 2550. 35 กรมประมง. 2548. สถิติการประมงแห่ งประเทศไทย เอกสารฉบับที่ 6/2548. ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, กรุงเทพฯ 36 กรมประมง. 2544. 75 ปี กรมประมง. กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. หน้ า 165. 37 กรมประมง. 2550. จํานวนเรื อที่จดทะเบียนฯการมีไว้ ในครอบครองซึ่งเครื่ องมือทําการประมงทัง้ หมดจําแนกตามชนิด ของเครื่ องมือทําการประมง ปี 2543 - 2547. เอกสารประกอบการจัดทําแผนแม่บทการจัดการประมงทะเล, คณะอนุกรรมการข้ อมูลเพื่อการ จัดทําแผนแม่บทการจัดการประมงทะเล, กรุงเทพฯ. 38 กรมประมง. 2550. ข้ อมูลจากกลุ่มวิเคราะห์การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ วิเคราะห์จากข้ อมูลสถิติกรมศุลกากร. ใน เอกสารประกอบการสัมมนาคณะอนุ กรรมการข้ อมูลเพื่อการจัดทําแผนแม่ บทการจัดการประมงทะเล วันที่ 21-23 กุ มภาพันธ์ 2550 ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอร์ ท จังหวัดนครนายก, กรุงเทพฯ. 39 กรมประมง. 2549. รายงานสถานการณ์ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เล่ มที่ 6 ประมง เอกสารส่ วนที่ 3 เล่ มที่ 6/6. โครงการ UNEP GEF Project on Reversing Environmental Trends in the South China Sea and Gulf of Thailand (UNEP GEF SCS), ศูนย์พฒ ั นาประมงทะเลอ่าวไทยตอนกลาง, ชุมพร. หน้ า 3-7.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


29

ต่างๆ ในช่วงนี ้ได้ รับจากประเทศญี่ปนุ่ ผลผลิตสัตว์นํ ้าในช่วงนี ้มีปริ มาณระหว่าง 150,000 – 230,000 ตันต่อปี สัตว์นํ ้า ที่จบั ได้ ส่วนใหญ่ เป็ นปลาผิวนํ ้า เช่น ปลาทู ปลาลัง ปลาหลังเขียว และปลากะตัก สําหรับใช้ บริ โภคภายในประเทศ เกือบทังหมด ้ ยุคระหว่างปี 2503 – 2523 มีการขยายตัวด้ านการประมงทะเลอย่างรวดเร็ วโดยมีปัจจัยสําคัญที่เป็ น สิ่งจูงใจประกอบด้ วยการนําเอาเทคโนโลยีและเครื่ องมือประมง เช่น อวนไนล่อนสําหรับใช้ ในการประมงพื ้นบ้ าน อวน ลากเพื่อใช้ สําหรับการประมงพาณิชย์ มาแนะนําและส่งเสริ มแก่ชาวประมง การปรับปรุ งและเปลี่ยนแปลงเรื อประมง จากเรื อไม่มีเครื่ องยนต์มาเป็ นเรื อที่ใช้ เครื่ องยนต์ การสนับสนุนทางด้ านเทคโนโลยีจากประเทศที่พฒ ั นาแล้ วและจาก องค์กรระหว่างประเทศ การลงทุน รวมทังการสนั ้ บสนุนด้ านการเงินจากประเทศอุตสาหกรรม เพื่อใช้ ในการพัฒนา โครงสร้ างพื ้นฐาน เช่น โรงงานผลิตนํ ้าแข็ง โรงงานห้ องเย็น และโรงงานแปรรู ปสินค้ าสัตว์นํ ้า การสํารวจแหล่งประมง ใหม่โดยภาครัฐ เช่น แหล่งทําประมงในทะเลจีนตอนใต้ และนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนการพัฒนาประมงนอก ชายฝั่ งหรื อประมงทะเลลึก ด้ วยปั จจัยต่างๆ เหล่านีท้ ําให้ การประมงทะเลของไทยสามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์นํ ้าจาก 150,000 ตันในปี 2503 เป็ นมากกว่า 2 ล้ านตัน ในปี 2520 จนติดอันดับหนึง่ ในสิบของประเทศที่มีปริ มาณการจับสัตว์ นํ ้าสูงของโลก แม้ ในบางปี จะมีวิกฤติการณ์นํ ้ามันเข้ ามาส่งผลประทบในบางช่วงก็ตาม ยุคหลังปี 2523 – ปั จจุบนั ผลผลิตโดยรวมจากการประมงยังคงเพิ่มขึ ้น ผลผลิตส่วนใหญ่ยงั คงมาจากการ ประมงในอ่าวไทย แต่เปอร์ เซ็นต์ของผลผลิตนี ้ลดลงอย่างต่อเนื่อง สืบเนื่องจากการพัฒนาการประมงของไทยตลอด 3 ทศวรรษที่ผ่านมา เป็ นการพัฒนาที่ขาดยุทธศาสตร์ การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ทําให้ มีการทําการประมงเกินกว่า สภาพสมดุลทางชีววิทยาในอ่าวไทย ผลผลิตสัตว์นํ ้าในอ่าวไทยมีปริ มาณการจับต่อหน่วยลงแรงประมง ลดลงอย่าง ต่อเนื่องคือลดลงจาก 293.92 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง เหลือเพียง 25 กิโลกรัมต่อชัว่ โมงการลากอวนในปั จจุบนั แม้ ในช่วง ระยะเวลานี ้มีการดําเนินการบริ หารจัดการการทําประมงโดยการใช้ มาตรการอนุรักษ์ ต่างๆ มากขึ ้น แต่ทรัพยากรก็ยงั ไม่เพียงพอต่อการทําประมงของคนไทยจึงทําให้ กองเรื อประมงของไทยต้ องเคลื่อนย้ ายไปทําการประมงในแหล่ง ประมงที่ ห่างไกลมากขึน้ เช่น ทะเลจี นตอนใต้ มหาสมุทรอินเดี ย หรื อเขตทะเลอื่ น ๆ เป็ นต้ น ต่อ เมื่ อ มีการจัดทํ า กฎหมายทะเลระหว่างประเทศขึ ้น ประเทศเพื่อนบ้ านได้ ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมล์ทะเล ซึง่ ส่งผลให้ กอง เรื อประมงไทยสูญเสียพื ้นที่ทําการประมงไปถึง 300,000 ตารางไมล์โดยประมาณ ผลผลิตการประมงในส่วนนี ้ก็ลดลง ประมาณ 10 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลผลิตในปี 252040 กองเรื อประมงไทยต้ องถูกสถานการณ์ บังคับให้ กลับมาทําการประมงเฉพาะในน่านนํา้ ไทย แต่ก็ยงั มีกองเรื อประมงจํานวนหนึ่ง ยังคงสามารถทําการประมงอยู่ใน น่านนํา้ ต่างประเทศ ภายหลังจากการเจรจากับต่างประเทศ เพื่อเข้ าไปใช้ ประโยชน์ ทรัพยากรประมงที่ยังไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ เ ต็ ม ที่ ไ ด้ นอกจากนี ย้ ัง มี ก ารพัฒ นาการทํ า ประมงในน่ า นนํ า้ สากลโดยมุ่ง การจับ ปลาทูน่ า ในบริ เ วณ มหาสมุทรอินเดีย จะเห็นได้ ว่าในปั จจุบันการทํ าประมงของไทยครอบคลุมถึงการทําประมงพื น้ บ้ าน การประมง พาณิชย์ที่มีกิจกรรมทังในน่ ้ านนํ ้าประเทศไทย น่านนํ ้าประเทศอื่นๆ และในเขตทะเลหลวง อย่างไรก็ตามการทําประมงทะเลในช่วงยุคนี ้ทําให้ ทรัพยากรสัตว์นํ ้าลดปริ มาณลง ประกอบกับพื ้นที่การทํา ประมงก็เริ่ มมีจํากัด ทําให้ บางครัง้ จึงเกิดมีข้อขัดแย้ งในการทําการประมงกับชาวประมงพื ้นบ้ าน และบางครัง้ ก็เกิดข้ อ พิพาทระหว่างประเทศขึน้ จากการลักลอบทําประมงในน่านนํ า้ ของประเทศเพื่ อนบ้ าน อันอาจส่งผลกระทบด้ า น

40

บุญเลิศ ผาสุก. 2530. การประมงทะเลของประเทศไทย. ใน รายงานสัมมนาอนาคตประมงไทย. ศูนย์พฒ ั นาการประมงแห่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ , กรุงเทพฯ. หน้ า 324-404.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


30

ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศตามมา สถานการณ์การประมงในยุคนี ้จึงเป็ นแรงผลักดันให้ ชาวประมงหันไปสนใจการ เพาะเลี ้ยงชายฝั่ งเพิ่มมากขึ ้นด้ วย ผลผลิตประมงทะเลของไทยมีการเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องซึง่ สัมพันธ์กบั ช่วงเวลาที่มีพฒ ั นาการด้ านเครื่ องมือ และเทคนิคทางด้ านการประมง กล่าวคือ การประมงจากยุคเริ่ มต้ นจนถึงปี 2503 เป็ นการประมงที่ยงั ไม่พฒ ั นา เรื อ และเครื่ องมือยังพึ่งพิงธรรมชาติเป็ นส่วนใหญ่ ต่อมาในช่วงตังแต่ ้ ปี 2503 ผลผลิตประมงทะเลไทยเพิ่มขึ ้นจากการ พัฒนาด้ านเครื่ องมือและอุปกรณ์การจับปลา เช่น ใช้ อวนลอย อวนรุ น และอวนจับหมึก ซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพในการ จับสัตว์ทะเลได้ มากขึ ้น นอกจากนี ้ยังมีการเพิ่มจํานวนเรื อประมงที่ติดอุปกรณ์ ทนั สมัย ทําให้ ปริ มาณผลผลิตการทํา ประมงเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง มาถึงช่วงปี 2523 ด้ วยศักยภาพกองเรื อประมงไทยทําให้ สามารถขยายอาณาเขตการ ประมงไปได้ ระยะไกล มีผลผลิตสัตว์นํ ้าที่มาจากทะเลนอกอาณาเขตน่านนํ ้าไทยมากขึ ้นจัดเป็ นยุคที่การประมงทะเลมี ความเฟื่ องฟูอย่างมาก จนกระทั่งมีกฎหมายทะเล ผลผลิตสัตว์นํา้ จากการทําประมงของไทยจึงค่อยชะลอตัว ดัง ปรากฏในรูปที่ 3-1

2523

2503

รูปที่ 3-1 ปริมาณและมูลค่าของการจับสัตว์นํ ้าเค็มของประเทศไทยในปี 2495-254741 จากปั จจัยต่างๆ รวมทังภาวะความผั ้ นผวนของเศรษฐกิจโลก ทําให้ ปัจจุบนั ผลผลิตประมงทะเลของไทยมี แนวโน้ มที่จะลดปริมาณลง โดยการพัฒนาในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาส่งผลกระทบถึงทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อม ทําให้ วิถีการดํารงชีวิตของชุมชนประมงในสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตามการทําการประมงก็ยงั เป็ นอาชีพที่สําคัญ ของคนไทยเพราะเป็ นแหล่งอาหารโปรตีน และเป็ นฐานการผลิตที่สําคัญในระบบเศรษฐกิจ ดังนัน้ จึงต้ องมีระบบการ บริหารจัดการทรัพยากรประมงให้ สามารถใช้ ประโยชน์สงู สุดอย่างยัง่ ยืนได้ ตอ่ ไป 41

กรมประมง. 2536-2547. สถิตปิ ระมงแห่ งประเทศไทย. ศูนย์สารสนเทศกรมประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. และ กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 39.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


31

2) ปั ญหาในปั จจุบนั ของทรัพยากรประมง การประมงชายฝั่ งหรื อประมงพื ้นบ้ าน ประมงชายฝั่ ง (Inshore Fisheries) หรื อประมงพื ้นบ้ าน (Artisanal Fisheries) ทัง้ 2 ลักษณะ คือ การ ประมงเพื่อยังชีพหรื อประมงขนาดเล็ก โดยทัว่ ไปใช้ เรื อขนาดเล็ก เช่น เรื อพื ้นบ้ าน ปั จจุบนั ส่วนใหญ่จะติดเครื่ องยนต์ เข้ าไปด้ วย เครื่ องมือจับปลาก็ใช้ แหหรื อเบ็ดแบบง่ายๆ ประมงพื ้นบ้ านเป็ นการประมงเพื่อยังชีพ หาอาหาร สร้ างรายได้ และก่อให้ เกิดการสร้ างงานในท้ องถิ่น ปริ มาณการจับสัตว์นํา้ จากการทําประมงพื ้นบ้ านคิดเป็ น 10 เปอร์ เซ็นต์ จาก ปริมาณผลผลิตสัตว์นํ ้าจากการประมงทะเลทังหมด ้ 42 การบริ หารจัดการประมงชายฝั่ งโดยภาครัฐ จากการที่ชาวประมงทะเลพื ้นบ้ านส่วนใหญ่ยงั มีฐานะความ เป็ นอยู่ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ด้อยกว่าชนกลุ่มอื่น รัฐบาลจึงมีนโยบายช่วยเหลือและพัฒนาโดยเริ่ มจากการจัดตัง้ องค์ ก ารสะพานปลาขึน้ ตามพระราชบัญ ญัติแ พปลาปี 2496 และได้ กํา หนดหน้ า ที่ ที่สํา คัญ ไว้ คื อ ส่งเสริ ม ฐานะ สวัสดิการหรื ออาชีพการประมงและบูรณะหมู่บ้านประมง โดยองค์การสะพานปลาดําเนินการจัดระบบการตลาด ทํา ถนน สร้ างสะพาน ท่าเทียบเรื อ ต่อมากรมประมงได้ เริ่ มโครงการประมงสงเคราะห์เพื่อให้ ชาวประมงกู้เงินไปลงทุน ตังแต่ ้ ปี 2503 ในปั จจุบนั กรมประมงยังคงมีโครงการเงินกู้เพื่อประกอบอาชีพเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าและการประมงทะเล ปี 2522 กรมประมงร่ วมกับองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) จัดตังโครงการพั ้ ฒนา ประมงขนาดเล็กขึน้ ที่จังหวัดพังงา ในปี 2526 คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ ให้ ทุนแก่กรม ประมงมาดําเนินโครงการประมงหมู่บ้านภาคใต้ ในเขตชนบทพื ้นที่ยากจน และโครงการพัฒนาประมงทะเลพื ้นบ้ าน ต่อมาทังสองโครงการได้ ้ รวมกันเป็ นโครงการพัฒนาประมงทะเลชายฝั่ งพื ้นบ้ าน มีกิจกรรมการจัดสิ่งอํานวยความ สะดวกขันพื ้ ้นฐาน การพัฒนาอาชีพ การจัดตังสหกรณ์ ้ การประมง การจัดการประมงชายฝั่ ง การแปรรู ปสัตว์นํ ้าและ โภชนาการ ตลอดจนฝึ กอบรมให้ ประชาชนริ มฝั่ งทะเลประกอบอาชีพประมงและอาชีพต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด43 สถานการณ์ปัญหาของการทําประมงชายฝั่ งหรื อประมงพื ้นบ้ าน สําหรับชาวประมงชายฝั่ งประสบปั ญหาเช่นเดียวกับประมงพาณิ ชย์ในเรื่ องทรัพยากรที่มีอยู่ในบริ เวณ จํากัดเสื่อมโทรม เครื่ องมือและเรื อที่ใช้ ทําการประมงก็ไม่มีประสิทธิ ภาพ เนื่องจากขาดแคลนเงินทุน ทําให้ ต้องพึ่ง แหล่งเงินทุนนอกระบบที่มีข้อผูกพันต้ องขายสัตว์นํ ้าให้ แก่พ่อค้ าเหล่านี ้ และราคาสัตว์นํ ้าจะถูกกําหนดโดยพ่อค้ าซึ่ง เป็ นราคาที่ตํ่ากว่าที่ควร นอกจากนี ้ชาวประมงพื ้นบ้ านก็อยู่ในชุมชนที่ห่างไกลความเจริ ญ ทําให้ ไม่สะดวกในการซื ้อ ปั จจัยการผลิตและการขายสัตว์นํ ้า ทําให้ ต้องซื ้อปั จจัยการผลิตในราคาสูงและขายสัตว์นํ ้าได้ ราคาตํ่า ขาดโอกาสที่จะ แสวงหาความรู้และเพิ่มรายได้ จากการประกอบอาชีพอื่น ไม่สามารถปรับปรุงความเป็ นอยู่ให้ ดีขึ ้นโดยปราศจากความ ช่วยเหลือของรัฐบาล ปั จจุบนั สังคมชายฝั่ งเกิดปั ญหาอย่างมาก มีความขัดแย้ งเกิดขึ ้นในหลายด้ าน ไม่ว่าจะเป็ นผลโดยตรงหรื อ โดยอ้ อม สิ่งที่เห็นได้ ชดั เจนที่สดุ และกําลังกระจายไปทัว่ โลกที่เด่นชัดที่สดุ คือ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝั่ ง ทะเล การแย่งพื ้นที่ทําการประมง และปั ญหาความขัดแย้ งในการใช้ เครื่ องมือประมงต่างชนิดกัน เป็ นสาเหตุหลักของ ปั ญหาสังคมประมงชายฝั่ งมากที่สดุ ในปั จจุบนั ปั ญหาต่างๆ สร้ างแรงกดดันต่อชาวประมง ทําให้ ชาวประมงมีความ

42 43

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 41, หน้ า 18. กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 36, หน้ า 80–82.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


32

พยายามที่จะใช้ เครื่ องมือที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ผิดกฎหมายมากขึ ้นในการช่วงชิงทรัพยากรที่ร่อยหรอ เช่น การใช้ อวน ตาถี่ ระเบิด ยาเบื่อ หรื อเครื่ องมือประมงที่ผิดกฎหมายอื่นๆ เพื่อทดแทนผลผลิตสัตว์นํ ้าที่ลดน้ อยลง หลายฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องโดยเฉพาะภาครัฐ พยายามเข้ ามาจัดการแต่ก็ไม่สามารถดําเนินการได้ อย่างเต็มที่ ้ ญหาดังกล่าวได้ สภาพทรัพยากรชายฝั่ งและสิ่งแวดล้ อมทางการประมง และมีประสิทธิ ภาพเพียงพอที่จะหยุดยังปั จําเป็ นต้ องเผชิญกับสภาวะการทําลายมากขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่เพียงแต่จากด้ านการประมงเท่านัน้ แต่ยงั ต้ องเผชิญ ผลจากการพัฒ นาเมื อ ง การทิ ง้ สารเคมี และสิ่ ง มี พิ ษ จากโรงงานอุต สาหกรรมที่ อ ยู่บ ริ เ วณชายฝั่ ง ทะเล รวมถึง ปรากฏการณ์จากภัยจากธรรมชาติที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ สถานการณ์ดงั กล่าวจากสภาพปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ ้น แบ่งประเด็นปั ญหาออกเป็ น 4 หัวข้ อ ซึ่งจะทําให้ มองเห็นปั ญหาได้ อย่างชัดเจนได้ แก่ (1) ลักษณะและประเภทของปั ญหาความขัดแย้ ง ในเรื่ องขนาดการทําประมงและเครื่ องมือประมงที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะความแตกต่างในด้ านการ ลงทุน เทคโนโลยีและประสิทธิภาพในการจับสัตว์นํ ้าระหว่างชาวประมงชายฝั่ งกับชาวประมงพาณิชย์ จึงก่อให้ เกิด ปั ญหาความขัดแย้ งเนื่องจากการใช้ เครื่ องมือแตกต่างกันในระหว่างชาวประมงชายฝั่ งด้ วยกันเอง ความขัดแย้ ง ระหว่างกลุ่มชาวประมงที่จับจากธรรมชาติแ ละชาวประมงเพาะเลีย้ งสัตว์ นํ า้ ในการใช้ พืน้ ที่ ทํามาหากิน บริ เ วณ เดียวกัน และความขัดแย้ งระหว่างชาวประมงกับกลุ่มคนอื่นๆ อาทิเช่น ปั ญหาระหว่างชาวประมงกับนายทุนโรงงาน อุตสาหกรรม เป็ นต้ น พัฒนาการของบริ บทและเงื่อนไขความขัดแย้ ง ในด้ านสิทธิและกรอบกฎหมาย โดยเฉพาะใน เรื่ องกรรมสิทธิ์หรื อสิทธิในการใช้ ทรัพยากรชายฝั่ งของกลุ่มคนต่างๆ ซึ่งไม่มีหลักฐานปรากฏว่าชุมชนประมงชายฝั่ งมี ระบบสิทธิการทําประมงหรื อระบบการจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ งตามธรรมเนียมประเพณี รวมถึงผลการศึกษา ขององค์กรต่างๆ ก็ไม่พบการระบุถึงธรรมเนียมปฏิบตั ิหรื อร่องรอยเกี่ยวกับระบบสิทธิและการจัดการทรัพยากรชายฝั่ ง แต่อย่างใด เห็นว่าสิทธิ ในการทําประมงตามธรรมเนี ยมของชาวประมงชายฝั่ งตกอยู่ในสถานะที่เปราะบางมาก เนื่องจากไม่มีระเบียบข้ อกฎหมายใดๆ รองรับอยู่เลย ภายใต้ สภาพการณ์ดงั กล่าว แนวคิดเรื่ องการจัดการทรัพยากร ชายฝั่ งโดยชุมชนจึงเป็ นประเด็นที่สําคัญและน่าสนใจเป็ นอย่างยิ่ง (2) บริบทและพัฒนาการของปั ญหา นโยบายรัฐและการพัฒนาประเทศเกี่ยวกับปั ญหาการใช้ ทรัพยากรชายฝั่ งหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่จะต้ อง คํานึงถึงบริ บทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในระดับกว้ าง ซึง่ ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงและขยายตัว เพิ่มขึน้ เพื่อตอบสนองความต้ องการของตลาด การแสวงหาเงินตราเข้ าประเทศ การมีระบบขนส่งและคมนาคมที่ สะดวกขึ ้น รวมถึงการพัฒนาเทคนิคการจับสัตว์นํ ้าให้ มีประสิทธิ ภาพมากขึ ้น รัฐจึงมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุน การพัฒนาการประมง โดยเฉพาะการส่งเสริ มด้ านการประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่และอุตสาหกรรมประมง เนื่องจาก เชื่อว่าการเพิ่มผลผลิตประมงอย่างรวดเร็วจะกระทําได้ ก็ด้วยการพัฒนาภาคประมงให้ ทนั สมัยอย่างเร่งด่วน อย่างไรก็ ตาม แม้ ว่าการขยายตัวอย่างรวดเร็ วของประมงพาณิชย์จะมีส่วนอย่างมากในการจับสัตว์นํ ้าจนร่ อยหรอ แต่ภายใต้ ระบบการผลิตเชิงพาณิชย์ชาวประมงขนาดเล็ก ซึ่งมีเป้าหมายและเหตุผลทางเศรษฐกิจไม่แตกต่างไปจากนักธุรกิจ ประมงภาคพาณิชย์นกั ก็มีความสามารถในการจับสัตว์นํ ้าเพิ่มขึ ้นจนถึงจุดวิกฤตได้ เช่นกัน เนื่องจากชาวประมงขนาด เล็กมีจํานวนมาก และเพิ่มจํานวนขึ ้นเรื่ อยๆ ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีที่ทนั สมัยและมีประสิทธิภาพที่สามารถหามาใช้ กนั ได้ ในราคาที่ถกู ลง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


33

(3) แนวทางการศึกษาการจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ ง โดยเฉพาะในการศึกษาชุมชนประมงทําให้ ร้ ู และเข้ าใจวิถีชีวิต วัฒนธรรม โครงสร้ างและระบบสังคม และ การเปลี่ยนแปลงของชุมชนประมง ในภาพรวมการศึกษาวิจยั ชุมชนประมงชายฝั่ งภาคใต้ ไม่เพียงชี ้ให้ เห็นถึงรู ปแบบ และแนวทางการศึกษาชุมชนชายฝั่ งที่เป็ นระบบ แต่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในชุมชนทังที ้ ่เป็ นชุมชน ไทยมุสลิมและชุมชนไทยพุทธอย่างต่อเนื่อง ในการพัฒนาและการจัดการประมงมีประโยชน์ต่อการทําความเข้ าใจ บริ บทและการเปลี่ยนแปลงชุมชนประมงชายฝั่ ง ตลอดจนปั ญหาความขัดแย้ งที่เกิดขึ ้นอย่างไม่ต้องสงสัย การขาด ความรู้ ความเข้ าใจในชุมชนประมงชายฝั่ ง ซึ่งเป็ นกลุ่มประชากรส่วนใหญ่ของภาคการประมง ได้ กลายเป็ นข้ อจํากัด สําคัญในข้ อเสนอการแก้ ความขัดแย้ งในการใช้ ทรัพยากรของชุมชน และทําให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่างประมงชายฝั่ ง และประมงพาณิ ชย์ เนื่ องจากข้ อเสนอในเรื่ องของการนํ าระบบสิทธิ ประมงชายฝั่ งมาใช้ ในประเทศไทย แม้ ว่าจะ สอดคล้ องกับแนวทางขององค์กรชาวประมงและองค์กรพัฒนาเอกชน แต่ไม่ได้ ตงอยู ั ้ ่บนพื ้นฐานของข้ อมูล ความรู้และ ประสบการณ์การทํางานของชาวบ้ าน และยังให้ บทบาทและอํานาจรัฐในการควบคุมและจัดการอยูม่ าก การพัฒนาชุมชนประมง จากรายงานและบันทึกประสบการณ์ ชี ้ให้ เห็นว่าความพยายามและวิธีการ จัดการทรัพยากรชายฝั่ งโดยชุมชนไม่ใช่เรื่ องง่าย แต่ความพยายามขององค์กรพัฒนาเอกชนในเรื่ องนี ้ได้ สร้ างเงื่อนไข และเปิ ดโอกาสให้ ชมุ ชนประมงได้ แสดงบทบาทในการจัดการทรัพยากรมากขึ ้น โดยมีเงื่อนไขต่างๆ เช่น ความจําเป็ นที่ ต้ องรักษาทรัพยากรและใช้ ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน เป็ นประเด็นที่เข้ าใจและรับรู้ กนั มากยิ่งขึ ้น ชาวประมงเข้ าใจระบบ นิเวศชายฝั่ ง ความสัมพันธ์ ระหว่างปั ญหาเศรษฐกิจและชีวิตความเป็ นอยู่ ความสามารถที่จะทํางาน การเข้ าร่ วม กิจกรรมและการเรี ยนรู้ถงึ ประโยชน์จากการรวมกลุม่ หรื อองค์กร การประสานงาน การสร้ างเครื อข่าย และการรวมพลัง กดดันของชาวประมง ศักยภาพและความสําคัญขององค์กรพัฒนาเอกชนในการสนับสนุนกระบวนการเรี ยนรู้และการ มีส่วนร่ วมของชาวบ้ าน การอนุรักษ์ และการแสวงหาทางเลือกใหม่ในการพัฒนา เครื อข่ายและองค์ การประมงที่ สนับสนุนระบบการจัดการโดยชุมชน (4) ศักยภาพของชุมชนในการจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ ง ศักยภาพและทางเลือกของการจัดการทรัพยากรชายฝั่ งโดยชุมชน ข้ อจํากัดและความล้ มเหลวในการ จัด การโดยรั ฐ ทํ า ให้ แ นวคิ ด และรู ป แบบการจัด การโดยชุม ชนได้ รั บ ความสนใจ และถูก ผลัก ดัน ให้ มี ก ารนํ า มา ประยุกต์ใช้ ในการแก้ ปัญหาทรัพยากรมากขึ ้น ประเด็นสําคัญๆ ของวิธีการจัดการทรัพยากรโดยชุมชน คือการส่งเสริ ม และผลักดันให้ ชาวบ้ านมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้าหมาย นโยบาย การวางแผน และการดําเนินงานการจัดการ ประมง เพื่อให้ เกิดการยอมรับวิธีการและพันธะที่จะปฏิบตั ิตาม ความเชื่อในศักยภาพและความสามารถของชาวบ้ าน ในการปรับปรุ ง หรื อยกระดับคุณภาพชีวิตของตัวเอง การสนับสนุนในการจัดตัง้ การให้ ความรู้ และการเรี ยนรู้ ในการ ระดมสมอง รวบรวมและใช้ ปั จ จัย ที่ มี อ ยู่เ พื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ ความจํ า เป็ น การให้ ค วามสํ า คัญ กับ ประสิทธิ ภาพและความเท่าเทียมกัน ตลอดจนการใช้ ประโยชน์ สูงสุดจากความรู้ และทักษะชาวบ้ านและชุมชนใน ท้ องถิ่นในการพัฒนาระบบการจัดการให้ สอดคล้ องกับสภาพเงื่อนไข ปั ญหาความต้ องการเฉพาะและความยืดหยุ่นใน การปรับเปลี่ยน รู ปแบบการทํางานด้ านทรัพยากรของชาวบ้ านต้ องตังอยู ้ ่บนพื ้นฐาน กระบวนการสร้ างความเข้ มแข็ง ให้ กับชุมชน สิ่งเหล่านี จ้ ะได้ มาก็ด้วยการเสริ มสร้ างศักยภาพในการคิดและการใช้ ภูมิปัญญาของชาวบ้ านในการ จัดการและแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้น โดยผ่านกระบวนการพูดคุย ถกเถียง วิเคราะห์สาเหตุและค้ นหาแนวทางแก้ ปัญหา ตัดสินใจเลือก ตลอดจนการทบทวนสรุ ปบทเรี ยนทังความสํ ้ าเร็ จและความล้ มเหลวอย่างสมํ่าเสมอ ความสําเร็ จของ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


34

การดําเนินงานในด้ านการจัดการปั ญหาสิ่งแวดล้ อม ซึง่ ขึ ้นอยู่กบั ศักยภาพและความสามารถของชาวบ้ านและองค์กร ชุมชนในการดําเนินการด้ านการสร้ างเครื อข่ายและพันธมิตรกับกลุ่มหรื อองค์กรอื่นในระดับภาค ระดับประเทศ และ ระดับนานาชาติ และการนําเสนอข้ อเรี ยกร้ อง ปั ญหา และความเดือดร้ อนของกลุม่ ให้ เป็ นที่รับรู้ของสาธารณะ การทําการประมงพาณิชย์ การทําการประมงพาณิชย์ (Commercial Fisheries) ไม่ใช่การประมงเพื่อยังชีพ ส่วนใหญ่ธุรกิจประมง แบบนี ้จะผูกพันกับกองเรื อประมงที่จบั ปลาโดยใช้ อวนลาก เบ็ดราวทะเลลึก หรื ออวนลอย โดยทัว่ ไปเจ้ าของเรื อจะเป็ น ผู้ดําเนินการเอง และปลาที่ได้ จะขายทัง้ ในท้ องถิ่นหรื อ ตลาดใน ประมงพาณิ ชย์ จึงประกอบไปด้ วยประมงนํ า้ ลึก (Deep Sea Fisheries) คือ การจับปลาในระยะห่างจากฝั่ งแต่ไม่เกินระยะ 200 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ ง และประมง สากล (Distant Water Fisheries) คือ การจับปลาในมหาสมุทรเป็ นระยะทางไกลจากท่าเรื อของประเทศนันๆ ้ 44 1. ประมงพาณิชย์ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ แหล่งทําการประมงทะเลของไทยในเขตเศรษฐกิจจําเพาะมีพื ้นที่รวมทังสิ ้ ้น 368,280 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็ นพื ้นที่ทําการประมงในอ่าวไทยประมาณ 252,000 ตารางกิโลเมตร และฝั่ งทะเลอันดามัน 116,280 ตาราง กิโลเมตร45 จากปริมาณสัตว์นํ ้าจากการประมงทะเลมีผลผลิตจากการประมงพาณิชย์คิดเป็ นร้ อยละ 90 ในช่วง 10 ปี ที่ ผ่านมา (ปี 2538-2547) สถานการณ์การประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทย (1) ทรัพยากรสัตว์นํ ้าทะเลเสื่อมโทรม สาเหตุของการเสื่อมโทรมของทรัพยากรสัตว์นํ ้าเกิดได้ ทงจาก ั้ ธรรมชาติ และจากการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ โดยการเสื่อมโทรมตามธรรมชาติ ได้ แก่ การเปลี่ยนแปลงกระแสนํา้ การพังทลายของดินตามชายฝั่ งทะเล การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของนํา้ ในทะเล และการเกิดคลื่นลมอย่างรุ นแรง สาเหตุตามธรรมชาติเหล่านี ้ส่งผลต่อแหล่งวางไข่ แหล่งที่อยู่อาศัย ขบวนการห่วงโซ่อาหาร ซึง่ ทําให้ การดํารงชีวิตของ สัตว์นํ ้าเปลี่ยนแปลงไป ส่วนสาเหตุที่เกิดจากการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ ได้ แก่ การทําประมงมากเกินไป ดังจะเห็นได้ จากการเพิ่มขึ ้นของจํานวนเรื อประมงและประสิทธิภาพของเรื อและเครื่ องมือประมงมีมากกว่าจํานวนทรัพยากรใน ธรรมชาติจะอํานวยให้ เนื่องมาจากการทําประมงทะเลให้ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจค่อนข้ างสูง จึงมีผ้ สู นใจเข้ ามา ลงทุนประกอบอาชีพนี ้เพิ่มขึ ้น นอกจากนี ้ยังมีการฝ่ าฝื นมาตรการอนุรักษ์ ทรัพยากรสัตว์นํ ้า การทําลายแหล่งที่อยู่ อาศัยของสัตว์นํ ้า และการดําเนินนโยบายที่ผิดพลาดขาดการประสานงาน (2) แหล่ ง ทํ า การประมงลดลง ระบบกฎหมายแนวใหม่ ที่ มี ก ารประกาศเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะ (Exclusive Economic Zone: EEZ) มีผลกระทบต่อบริ เวณการทําประมงของไทย จากที่เคยทําประมงอยู่ในอ่าวไทย ทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้ และอ่าวเบงกอล ภายหลังที่ประเทศเพื่อนบ้ านยอมรับแนวกฎหมายใหม่และประกาศเขต เศรษฐกิจจําเพาะของตน บริ เวณการทําประมงของไทยถูกจํากัดอยู่แค่เฉพาะในอ่าวไทย และทะเลอันดามัน ปั ญหาที่ ตามมาคือ เรื อประมงบางส่วนกลับเข้ ามาทําประมงในเขตน่านนํ ้าไทยซึง่ ทรัพยากรลดจํานวนลง ผลผลิตที่ได้ ไม่ค้ มุ กับ การลงทุน และเรื อประมงบางส่วนลักลอบจับสัตว์นํ ้าในเขตน่านนํ ้าประเทศเพื่อนบ้ าน เสี่ยงต่อการถูกจับกุม และอาจ เสียทรัพย์สนิ หรื อชีวิต และส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้ วย

44

วิฑรู ย์ ปั ญญากุล . 2547. ปลาหายไปไหน?. มูลนิธิสายใยแผ่นดิน, กรุงเทพฯ. หน้ า 18. แปลจาก Fairlie, s. 1995. Overfishing: Its Causes and Consequences. The Ecologist, 25(2/3). 45 กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 36, หน้ า 79.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


35

(3) ปั จจัยการผลิตมีราคาสูงและขาดแคลน ค่าใช้ จ่ายของการทําประมงโดยเฉพาะเรื ออวนลากคิดเป็ น ค่าใช้ จ่ายประมาณร้ อยละ 40-60 ของต้ นทุนทังหมดในการทํ ้ าประมง ซึ่งในภาวะที่ราคานํ ้ามันแพง เรื อประมงเหล่านี ้ จึงได้ รับผลกระทบ ทําให้ เรื อประมงจํานวนมากต้ องหยุดการทําประมงหรื อลดจํานวนเที่ยวที่ออกทําการประมงลง ปั ญหาที่ตามมาคือ การว่างงาน การขาดเสถี ยรภาพของรายได้ ทัง้ ยังส่งผลต่ออุตสาหกรรมเกี่ ยวเนื่ องอื่ นๆ เช่น โรงงานแปรรู ปสัตว์นํา้ และโรงนํ า้ แข็ง อี กด้ วย นอกจากนี ้ การขาดแคลนแรงงานเป็ นปั ญหาใหญ่ ของการประมง พาณิชย์ในปั จจุบนั เนื่องจากกิจการประมงต้ องใช้ แรงงานจํานวนมาก แต่ผลตอบแทนไม่มากเหมือนในอดีต ทําให้ หา ลูกเรื อยาก ยิ่งต้ องออกไปทําประมงไกลๆ มีความเสี่ยงภัย ทําให้ คนไทยไม่นิยมทํางานในเรื อประมง ลูกเรื อประมงไทย ส่วนใหญ่จะใช้ ลกู เรื อเป็ นชาวต่างด้ าว (4) ราคาสัตว์นํ ้าตกตํ่า การนําเข้ าสัตว์นํ ้าจากต่างประเทศที่มีคณ ุ ภาพดีและราคาเปรี ยบเทียบตํ่ากว่า ทําให้ ราคาสัตว์นํ ้าจากการประมงภายในประเทศสู้ไม่ได้ 2. ประมงนอกน่านนํ ้า เนื่ องจากพัฒนาการด้ านเทคโนโลยีการประมงทัง้ ในเรื่ องความรู้ และอุปกรณ์ เครื่ องมือสํารวจต่างๆ ที่ ประเทศไทยได้ รับความช่วยเหลือจากประเทศสหรัฐอเมริ กา ทําให้ สามารถบุกเบิกและสํารวจค้ นหาแหล่งทําประมง ใหม่ๆ เช่น แหลมญวน ทะเลจีนใต้ บอร์ เนียว อ่าวเมาะตะมะ และอ่าวเบงกอล ทําให้ อตุ สาหกรรมการประมงไทยมีการ ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว ผลผลิตสัตว์นํ ้าทะเลของไทยเพิ่มปริ มาณขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั ประกอบกับทรัพยากรสัตว์นํ ้าใน น่านนํ ้าไทยถูกจับเพิ่มขึ ้นจนเกินศักยภาพการผลิต ชาวประมงเริ่ มรู้ สึกว่าการจับสัตว์นํ ้าในอ่าวไทยในแต่ละเที่ยวได้ ปริ มาณสัตว์นํ ้าน้ อยลง ต้ องใช้ ระยะเวลาในการทําประมงนานขึ ้น ส่งผลให้ ต้นทุนการทําประมงของชาวประมงสูงขึ ้น แต่ผลตอบแทนลดตํ่าลง ชาวประมงประสบภาวะขาดทุน เพื่อความอยู่รอดชาวประมงส่วนหนึ่งจึงต้ องดิ ้นรนเพื่อนํา เรื อออกไปทําการประมงนอกน่านนํ ้า การประมงนอกน่านนํ ้านันมี ้ 2 ลักษณะ คือ 1) การทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ ง ส่วน ใหญ่เป็ นแหล่งประมงในประเทศเพื่อนบ้ านใกล้ เคียง และบางแหล่งเป็ นแหล่งประมงที่กองเรื อประมงไทยเคยทําการ ประมงมาก่อนที่จะมีการประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งนันๆ ้ และ 2) การทําประมงในทะเลหลวง ซึง่ เป็ น แหล่งประมงที่ไม่ได้ ขึ ้นกับรัฐชายฝั่ งใดๆ แต่การทําประมงในแหล่งนี ้จะต้ องเดินทางออกไปไกลจากชายฝั่ งมากยิ่งขึ ้น ใช้ เวลาในการทําประมงนานยิ่งขึ ้น ซึง่ สถานการณ์การประมงนอกน่านนํ ้าของทัง้ 2 ลักษณะก็มีความแตกต่างกัน ดังนี ้ สถานการณ์การประมงนอกน่านนํ ้าไทยในพื ้นที่เขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ ง เนื่องจากสถานการณ์การทําประมงในน่านนํ ้าไทยประสบกับปั ญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรประมง ทะเลมากขึ ้นเรื่ อยๆ ทําให้ เรื อประมงไทยจําเป็ นต้ องออกไปทําประมงไกลขึ ้นจนในช่วงต้ นทศวรรษที่ 70 ประเทศไทยมี ศักยภาพที่จะทําการประมงระยะไกล (Distant Water Fishing Nation) แต่ต่อมาเมื่อประเทศต่างๆ เริ่ มประกาศเขต เศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมล์ทะเล ทําให้ เกิดปั ญหากับการประมงนอกน่านนํ ้าของไทยเพราะการเข้ าไปทําประมงในเขต เศรษฐกิจของรัฐชายฝั่ งที่ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ถือเป็ นการทําการประมงโดยผิดกฎหมายของประเทศนันๆ ้ ปั จจุบนั เรื อประมงไทยมีแหล่งประมงในน่านนํ ้าต่างประเทศแบ่งออกตามภูมิภาคได้ 4 กลุ่ม ได้ แก่ กลุ่ม ภูมิภาคอาเซียน ประกอบด้ วยประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า บรู ไน กัมพูชา และเวียดนาม กลุม่ ภูมิภาคเอเชียใต้ ประกอบด้ วยประเทศอินเดียและบังกลาเทศ กลุม่ ภูมิภาคแอฟริ กาตะวันออก ประกอบด้ วยประเทศมาดากัสการ์ และ กลุ่มภูมิภาคตะวันออกกลาง ประกอบด้ วยประเทศเยเมน และโอมาน46 มีเรื อประมงไทยไปทําการประมงในน่านนํ ้า 46

กรมประมง, อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 38.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


36

ของต่างประเทศประมาณ 3,000–4,000 ลํา โดยส่วนใหญ่เป็ นเรื ออวนลากที่มีขนาดตังแต่ ้ 18 เมตรขึ ้นไป และเรื ออวน ล้ อม เรื อที่จะไปทําประมงนอกน่านนํ ้าได้ จะต้ องเป็ นเรื อที่จดอาชญาบัตรกับกรมประมงไว้ ว่าจะเข้ าไปทําประมงใน น่านนํ ้าของต่างประเทศ โดยรูปแบบของการเข้ าทําประมงในน่านนํ ้าต่างประเทศของเรื อประมงไทยมี 4 รูปแบบ คือ 1) การได้ รับสิทธิทําประมงจากรัฐบาลของประเทศที่จะเข้ าไปทําการประมง 2) การร่ วมทุน (Joint Venture) กับบริ ษัท ภายในประเทศที่จะเข้ าไปทําการประมง 3) บริ ษัทภายในของต่างประเทศเช่าเรื อประมงไทยเข้ าไปทําการประมงใน น่านนํ ้าของตน และ 4) เรื อประมงไทยซื ้อตัว๋ จากบริษัทชาวประมงในท้ องที่เพื่อเข้ าไปทําการประมงเฉพาะบริเวณ47 แนวโน้ มการทําประมงในน่านนํ ้าต่างประเทศไม่น่าจะมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ ้น เนื่องจากประเทศเจ้ าของ ทรัพยากรหลายประเทศเริ่มมีนโยบายไม่อนุญาตให้ เรื อประมงต่างชาติเข้ าไปทําการประมงในเขตน่านนํ ้าของตน หรื อ ที่อนุญาตก็ต้องอยูภ่ ายใต้ กฎระเบียบที่เคร่งครัด สถานการณ์ประมงในเขตทะเลหลวง ประเทศไทยเริ่ มออกทําการประมงในทะเลหลวงในปี 2541 บริ เวณมหาสมุทรอินเดียด้ วยเรื ออวนล้ อม ขนาดใหญ่ และปี ต่อมามีเรื อจับปลาทูน่าของประเทศไทยเพิ่มขึ ้น โดยมีทงเรื ั ้ ออวนล้ อม และเรื อเบ็ดราว ต่อมาในปี 2545 เรื อประมงดังกล่าวได้ ยตุ ิการทําประมงเนื่องจากไม่ประสบผลสําเร็จในการดําเนินการ อย่างไรก็ตาม ในปี 2548 กองเรื ออวนล้ อมจับปลาทูน่าของประเทศไทยก็ได้ เข้ าไปทําประมงในทะเลหลวงบริ เวณมหาสมุทรอินเดียอีกครัง้ และ ในปี 2549 มีเรื อประมงไทยจํานวน 12 ลํา เป็ นเรื ออวนล้ อมขนาดใหญ่จํานวน 6 ลํา และเรื อเบ็ดราว 6 ลํา48 ปั จจุบนั การทําประมงในเขตทะเลหลวงของประเทศไทยยังมีไม่มากนัก เนื่องจากข้ อจํากัดในหลายๆ ด้ าน ซึง่ แหล่งทําการประมงที่สําคัญ ได้ แก่ มหาสมุทรอินเดีย สัตว์นํ ้าเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการทําประมงทูน่าก็มี ความแตกต่างกัน โดยอวนล้ อมปลาทูน่าเน้ นการจับปลาทูน่าท้ องแถบ ทูน่าตาโต และทูน่าครี บเหลือง เพื่อป้อน โรงงานปลากระป๋ อง ในขณะที่เบ็ดราวปลาทูน่า เน้ นการจับปลาทูน่าครี บเหลือง ทูน่าครี บยาว ทูน่าครี บนํ ้าเงิน และทู น่าตาโต เพื่อนําไปใช้ บริโภคสด49 ตามสถิติของกลุ่มวิจยั และวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง ได้ รายงานไว้ ว่าปริ มาณ สัตว์นํ ้าจากการทําประมงนอกน่านนํ ้าโดยเฉพาะในเขตรัฐชายฝั่ ง ในปี 2538 มีประมาณ 9 แสนกว่าตัน คิดเป็ น 31.98 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณการจับสัตว์นํ ้ารวมในและนอกน่านนํ ้าของประเทศ และสามารถจับได้ เพิ่มมากขึ ้นทุกปี จนในปี 2547 สามารถจับสัตว์นํ ้าจากการทําประมงนอกน่านนํ ้าได้ ถึง 1.1 ล้ านตัน คิดเป็ น 43.51 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณการ จับสัตว์นํ ้ารวมในและนอกน่านนํ ้าของประเทศไทย ในขณะที่การทําประมงในน่านนํ ้าสากลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการทํา ประมงทูน่าได้ ผลผลิตปลาทูน่าประมาณปี ละ 30,000 ตัน ซึ่งจะเห็นได้ ว่าผลผลิตจากการทําประมงนอกน่านนํ ้าใน ภาพรวม มีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ ้นจนเกือบถึงครึ่ งหนึ่งของปริ มาณการจับสัตว์นํ ้ารวมในและนอกน่านนํ ้าทังหมด ้ แสดง ถึงศักยภาพการทําประมงของไทยที่มีการพัฒนาทังอุ ้ ปกรณ์ เครื่ องมือการทําประมง และเทคนิควิธีการทําประมงมา เป็ นเวลานานจนมีความเชี่ยวชาญ ซึ่งถ้ าหากกองเรื อประมงไทยสามารถขยายเขตการประมงเพิ่มขึ ้นได้ ปริ มาณการ จับสัตว์ นํา้ ก็จะเพิ่มมากขึน้ ตามไปด้ วย ในขณะที่ผลผลิตจากการประมงในน่านนํ า้ มีแนวโน้ มลดปริ มาณลง ทัง้ นี ้

47

สมิท ธรรมเชื ้อ. 2550. การประมงนอกน่ านนํา้ ไทย. (เอกสารไม่ตีพิมพ์เผยแพร่ ). กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ,

กรุงเทพฯ. 48

กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 38. สมิท ธรรมเชื ้อ. 2548. การพัฒนาการทําประมงปลาทูน่าของไทยในทะเลหลวง เอกสารวิชาการฉบับที่ 17/2548. กอง ประมงต่างประเทศ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. หน้ า 18. 49

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


37

เนื่องจากทรัพยากรสัตว์นํ ้าในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศไทยเริ่ มลดจํานวนลงนัน่ เอง โดยแนวโน้ มของการจับ สัตว์นํ ้าทังในและนอกน่ ้ านนํ ้าไทยได้ แสดงไว้ ตามรูปที่ 3-2

รูปที่ 3-2 ปริมาณการจับสัตว์นํ ้าเค็มใน-นอกน่านํ ้าไทย ประมาณการ ปี 2538-255050 ปั ญหาการทําประมงนอกน่านนํ ้าของประเทศไทย กองประมงต่างประเทศ กรมประมง51 ได้ สรุ ปปั ญหาการทําประมงนอกน่านนํ ้าของประเทศไทย ซึ่งเป็ น ปั ญหาของการทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งเป็ นส่วนใหญ่ ได้ แก่ - ความไม่เป็ นเอกภาพของผู้ประกอบการประมงไทย การออกไปทําประมงนอกน่านนํา้ กระทําใน ลักษณะต่างคนต่างไป และแย่งกันเสนอผลประโยชน์หรื อยอมรับเงื่อนไขที่ประเทศเจ้ าของทรัพยากรกําหนด โดยไม่ คํานึงว่าจะปฏิบตั ิตามได้ หรื อไม่ เพราะต่างมุ่งหวังที่จะได้ สมั ปทานในการจับสัตว์นํ ้าเท่านัน้ กองเรื อประมงไทยจึงอยู่ ในฐานะผู้ตงรั ั ้ บในการเจรจาต่อรอง - ไม่มีองค์กรใดที่มีอํานาจหน้ าที่ในการควบคุมการทําประมงของกองเรื อประมงไทย กลุม่ ชาวประมง ยังขาดการประสานงานที่ดีในการเจรจาทางการประมงร่วมกับรัฐชายฝั่ งทําให้ เรื อประมงบางกลุม่ ละเมิดข้ อตกลงที่ทํา ไว้ กบั ประเทศเจ้ าของแหล่งทําการประมง - ประเทศต่างๆ ได้ กําหนดนโยบายที่ชดั เจนว่า จะยุติการให้ สมั ปทานการทําประมง แต่จะส่งเสริ มให้ มีการทําการประมงแบบร่ วมทุน เพื่อให้ มีการพัฒนาอุตสาหกรรมประมงในประเทศของตน สัตว์นํ ้าที่จบั ได้ ต้องนําขึ ้น ท่ า ในประเทศ เพื่ อ ให้ เ กิ ด อุต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งแล้ ว จึ ง ส่ง ออกมายัง ประเทศไทย ซึ่ ง ลัก ษณะการลงทุน แบบนี ้ ผู้ประกอบการประมงของไทยส่วนใหญ่ยงั ไม่มีความพร้ อม

50

กรมประมง. 2550. ปริ มาณการจับสัตว์ นํา้ เค็มทัง้ หมดจากธรรมชาติ ฝั่ งอ่ าวไทยและฝั่ งอันดามัน จําแนกเป็ นใน-นอก น่ านนํา้ (ประมาณการปี 2548-2550). ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง, กรุงเทพฯ. และกรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 5. 51 กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 38.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


38

- มาตรฐานกองเรื อ ประมงไทยตํ่ า กว่ า ที่ ส ากลกํ า หนด ทัง้ ในส่ ว นของภาชนะบรรจุ ป ลา และ สุขลักษณะของลูกเรื อประมง นอกจากนี ้ยังขาดสิ่งอํานวยความสะดวกขันพื ้ ้นฐาน เช่น ท่าเทียบเรื อประมงนํ ้าลึก และ การบริ หารจัดการท่าเรื อประมง ซึ่งในอนาคตสิ่งเหล่านี ้จะถูกนํามาใช้ สําหรับการกีดกันทางการค้ าในตลาดโลก ทําให้ สัตว์นํ ้าที่จบั ได้ โดยเรื อประมงไทยอาจมีปัญหาในการจําหน่าย - ประเทศไทยยังขาดมาตรการที่รัดกุมและเหมาะสมในการป้ องกันไม่ให้ เกิดการลักลอบทําการ ประมงในต่างประเทศ - เรื อ ประมงไทยส่ว นหนึ่ง ยัง คงลัก ลอบทํ า การประมงในต่า งประเทศ และถูก จับ กุม นอกจากนี ้ บางส่วนยังละเมิดระเบียบ ข้ อบังคับ ตามสัญญาการทําประมง/การร่ วมทุน ทําให้ มีผลต่อความเชื่อถือต่อประเทศ เจ้ าของน่านนํ ้า/ผู้ให้ ร่วมทุน - นโยบายและเงื่อนไขในการอนุญาตให้ เรื อประมงต่างชาติไม่ได้ อยู่บนพื ้นฐานความเป็ นไปได้ ในเชิง เศรษฐกิจ - มีความเสี่ยงในการลงทุน เนื่ องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศและระหว่าง ประเทศ และเมื่อผู้ประกอบการขาดความมัน่ ใจในการลงทุน ทําให้ การพัฒนาทางด้ านเทคโนโลยี วิธีการทําประมง การพัฒนาเรื อ เครื่ องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ ประกอบการเดินเรื อและการทําประมงไม่ก้าวหน้ าเท่าที่ควร สถานการณ์ และความสําคัญของการเพาะเลี้ยงชายฝั่ ง 1) ความสําคัญของการเพาะเลีย้ ง การประมงในอดีตนับตังแต่ ้ เริ่ มมีการจัดตังกรมรั ้ กษาสัตว์นํ ้าขึ ้นในปี 2469 จนถึงช่วงก่อนที่จะมีการจัดทํา แบบพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขึ ้นในปี 2504 ส่วนใหญ่เน้ นไปในด้ านการประมงนํ ้าจืด ทังยั ้ งมีจดุ ประสงค์ที่ จะบํารุ งรักษาพันธุ์สตั ว์นํ ้า การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าในช่วงนี ้ยังไม่มีบทบาทสําคัญในทางเศรษฐกิจ ปี 2492 มีการจัดตัง้ สถานีประมงนํา้ กร่ อยขึน้ ที่ ตําบลคลองวาฬ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การพัฒนาการเพาะเลี ้ยงเริ่ มเด่นชัดขึน้ ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 และ 2 ช่วงปี 2504-2514 ได้ มีการศึกษาชีวประวัติของสัตว์นํ ้ากร่ อยหลายชนิด มีการ รวบรวมลูกพันธุ์ปลาทะเลมาทดลองเลี ้ยงและส่งเสริ มให้ เกษตรกรเลี ้ยงปลาในกระชัง ทําให้ เกษตรกรมีอาชีพและ รายได้ เพิ่มมากขึ ้น ต่อมากรมประมงได้ ทดลองศึกษา ค้ นคว้ าเทคนิค และวิธีการใหม่ๆ รวมทังสํ ้ ารวจแหล่งเพาะเลี ้ยง สัต ว์ นํ า้ ชายฝั่ ง เพื่ อ ขยายขอบเขตการเพาะเลี ย้ ง ปรั บ ปรุ ง แหล่ง นํ า้ และพัน ธุ์ สัต ว์ นํ า้ ให้ มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ อ ย่า ง เหมาะสมถาวรตลอดไป โดยเฉพาะบริ เวณชายฝั่ งแถบทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดีย ในช่วงปี 2520-2529 การ พัฒนาประมงทะเลมี ความก้ าวหน้ าจนทรั พยากรสัตว์ นํ า้ ในแหล่ง นํ า้ ธรรมชาติ ลดน้ อยลง กรมประมงจึงกํ าหนด นโยบายที่จะเพิ่มปริ มาณสัตว์นํ ้าจากการเพาะเลี ้ยงให้ มากขึ ้น ปั จจุบนั พื ้นที่บริ เวณชายฝั่ งที่คาดว่ามีศกั ยภาพในการ ประกอบการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้ามีประมาณกว่า 6 ล้ านไร่ 52 การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าในพื ้นที่ชายฝั่ งหรื อนํ ้ากร่ อยส่วนใหญ่ เป็ นการเลี ้ยงเพื่อยังชีพหรื อตามวิถีพื ้นบ้ าน ลักษณะการเลี ้ยงมีหลากหลายรูปแบบตามแนวคิดของแต่ละถิ่น เช่น ใช้ ไม้ ไผ่ปัก กันคอก ้ เลี ้ยงหอยชนิดต่างๆ จนปั จจุบนั มีการพัฒนามาใช้ การเลี ้ยงแบบหนาแน่นในบ่อดิน (Intensive Culture Technologies) จนประสบความสําเร็จมากในด้ านรายได้ ซึง่ เน้ นการผลิตปริ มาณมากเพื่อการส่งออกเป็ นหลัก ชนิดที่ มีการเลี ้ยงมากได้ แก่ กุ้งกุลาดํา กุ้งขาว หอยแครง หอยแมลงภู่ หอยนางรม และปูทะเล ส่วนการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าเค็ม อื่นๆ รวมทังสาหร่ ้ ายในประเทศไทยยังมีข้อจํากัดด้ านเทคโนโลยีการผลิต แต่ก็มีศกั ยภาพที่จะพัฒนาได้ ตอ่ ไป 52

กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 36.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


39

ปั จจุบนั การเพาะเลี ้ยงมีความสําคัญสําหรับประเทศไทยเนื่องจากเป็ นแหล่งผลิตสัตว์นํ ้าทดแทนสัตว์นํา้ ทะเลที่มีแนวโน้ มลดลง ที่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีได้ อย่างต่อเนื่องและสามารถตรวจสอบระบบการผลิตย้ อนกลับได้ ซึ่งจะทําให้ ผลผลิตสัตว์นํ ้าเป็ นสินค้ าส่งออกที่มีประสิทธิภาพเป็ นที่ยอมรับของตลาดต่างประเทศ ชนิดสัตว์นํ ้าที่เลี ้ยง สามารถเลือกได้ ตามที่ตลาดมีความต้ องการ ทําให้ ขายได้ ราคา มีส่วนช่วยสนับสนุนอุตสาหกรรมต่อเนื่ องเพราะ สามารถป้อนผลผลิตเข้ าสู่ระบบได้ อย่างต่อเนื่องและคงที่ เป็ นการสร้ างความมัน่ คงทางอาหารให้ กบั ชุมชนชายฝั่ ง และธุรกิจเกษตร อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยจํากัดที่ทําให้ การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าของไทยยังไม่พฒ ั นาเท่าที่ควรได้ แก่ ด้ าน ต้ นทุนการผลิต ด้ านปั ญหาสิ่งแวดล้ อม และด้ านเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ซึง่ ที่ผ่านมามีจํากัดอยู่เพียงบางชนิด ของสัตว์นํ ้าเช่น กุ้ง เท่านัน้ ตารางที่ 3-1 ผลผลิตและการใช้ สตั ว์นํ ้าของโลกจากการประมงโดยการจับและการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า53 ปริ มาณการผลิต นํ้าจื ด การจับ การเพาะเลี ้ยง รวมนํ้าจื ด ทะเล การจับ การเพาะเลี ้ยง รวมทะเล รวมจากการจับ รวมจากการเพาะเลี ้ยง รวมของโลก ปริ มาณการใช้ บริโภคโดยมนุษย์ อื่น ๆ ประชากรโลก (หน่วยเป็ นพันล้ าน) สัดส่วนการบริโภคสัตว์ นํ ้า (กิโลกรัม/คน/ปี )

พ.ศ. 2543

พ.ศ. 2544

พ.ศ. 2545

พ.ศ. 2546

พ.ศ. 2547

พ.ศ. 2548

8.8 21.2 30.0

8.9 22.5 31.4

8.8 23.9 32.7

9.0 25.4 34.4

9.2 27.2 36.4

9.6 28.9 38.5

86.8 14.3 101.1 95.6 35.5 131.1

84.2 15.4 99.6 93.1 37.9 131.0

84.5 16.5 101.0 93.3 40.4 133.7

81.5 17.3 98.8 90.5 42.7 133.2

85.8 18.3 104.1 95.0 45.5 140.5

84.2 18.9 103.1 93.8 47.8 141.6

96.9 34.2 6.1

99.7 31.3 6.1

100.2 33.5 6.2

102.7 30.5 6.3

105.6 34.8 6.4

107.2 34.3 6.5

16.0

16.2

16.1

16.3

16.6

16.6

หมายเหตุ หน่วยเป็ นล้ านตัน ไม่รวมผลผลิตจากพืชนํ ้า ปี 2548 เป็ นผลผลิตจากการประเมินเบื ้องต้ น 53

Food and Agriculture Organization of the United Nations. 2006. The State of World Fisheries and Aquaculture 2006. Part1: World Review of Fisheries and Aquaculture. Documents. Available Source: http://www.fao.org/docrep/009/A0699e/A0699e00.htm, September 4, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


40

2) สถานการณ์และปั ญหาในปั จจุบนั ของการเพาะเลีย้ ง ปี 2547 ประเทศไทยสามารถมีผลผลิตสัตว์นํ ้าจากการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าอยู่ในอันดับ 4 ของโลก ปริ มาณ ผลผลิตสัตว์นํา้ รวมทังสิ ้ ้น 1,172 พันตัน คิดเป็ นมูลค่า 64.5 ล้ านบาท54 (1.6 ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ (US$))55 กว่า ครึ่งหนึง่ ของผลผลิตสัตว์นํ ้ามาจากการเพาะเลี ้ยงชายฝั่ ง จํานวน 736.3 พันตัน คิดเป็ นมูลค่า 49,250.1 ล้ านบาท โดย กุ้งเป็ นสัตว์นํา้ ที่มีการเลี ้ยง และทําผลผลิตได้ มากที่สุด คิดเป็ น 49 เปอร์ เซ็นต์ จากปริ มาณสัตว์นํา้ ทังหมดที ้ ่มีการ เพาะเลี ้ยง ผลผลิตสัตว์นํ ้าที่ได้ มีการใช้ ประโยชน์ในการบริ โภคสด 25 เปอร์ เซ็นต์ ทําเป็ นสัตว์นํ ้าปรุ งแต่งเพื่อการ ส่งออก 24 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นอาหารสัตว์หรื อปลาเป็ ด 22.7 เปอร์ เซ็นต์ ที่เหลือทํากระป๋ อง หมัก ดอง ตากแห้ ง ทําเค็ม นึ่ง ย่าง รมควัน และอื่นๆ ตามลําดับ56 ใน 24 เปอร์ เซ็นต์ ของการเพาะเลีย้ ง เมื่ อไปรวมกับผลผลิตที่ จับจากธรรมชาติจึง ทํ าให้ ประเทศไทยมี ปริ มาณและมูลค่าการส่งออกสินค้ าสัตว์ นํา้ มากว่าการนําเข้ าสินค้ าสัตว์นํา้ จากต่างประเทศ มีดุลการค้ าจากการ ส่งออกสัตว์นํ ้าเพิ่มขึ ้นทุกปี (รู ปที่ 3-3) อย่างไรก็ตามส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกก็มาจากการแปรรู ปสัตว์นํา้ ที่ นําเข้ ามาด้ วยเช่นกัน

รูปที่ 3-3 ดุลการค้ าสินค้ าสัตว์นํ ้าและผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้าปี 2529-254957 54

คิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลล่าร์ สหรัฐเฉลี่ยในปี 2547 ประมาณ 40.30 บาทต่อดอลล่าร์ สหรัฐ (ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2547. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ประจําวันที่ 11 กันยายน 2547. อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ . แหล่งที่มา: http://www.bot.or.th/bothomepage/databank/FinMarkets/ExchangeRate/exchange_t.asp, 3 กันยายน 2550.) 55 FAO. 2549. World aquaculture product of fish, crustaceans, mollusks, etc. by principal producers in 2004. 56 กรมประมง. 2548. สถิตกิ ารประมงแห่ งประเทศไทยปี 2546 เอกสารฉบับที่ 6/2548. ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. หน้ า 53. 57 ปรับปรุ งจากสถิติการประมงแห่งประเทศไทยปี 2546 และข้ อมูลจากกลุ่มวิเคราะห์การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ กอง ประมงต่างประเทศ (กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 38).

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


41

พื ้นที่การเพาะเลี ้ยงชายฝั่ งตามสถิติการประมงแห่งประเทศไทยปี 2546 มี 512,620 ไร่ จํานวนครัวเรื อนที่ทํา อาชีพเพาะเลี ้ยงชายฝั่ งเพียงอย่างเดียวประมาณ 35,000 กว่าครัวเรื อน58 ผลผลิตจากการเพาะเลี ้ยงมีปริ มาณเพิ่มขึ ้น กว่า 10 เท่าในรอบ 20 ปี ที่ผา่ นมา (รูปที่ 3-4) โดยในปี 2527 มีผลผลิตสัตว์นํ ้าจากการเพาะเลี ้ยงชายฝั่ ง 61.5 พันตัน และ 20 ปี ต่อมา ในปี 2547 มีผลผลิตสัตว์นํ ้าจากการเพาะเลี ้ยงชายฝั่ งเท่ากับ 736.3 พันตัน ในขณะที่ผลผลิต ประมงโดยการจับมีปริมาณเพิ่มขึ ้นเพียง 1.4 เปอร์ เซ็นต์เท่านันในช่ ้ วงเวลาดังกล่าว

รูปที่ 3-4 ปริมาณและมูลค่าสัตว์นํ ้าจากการเพาะเลี ้ยง ปี 2522-254759 ปั ญหาของการเพาะเลี ้ยง ในระบบการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าของประเทศไทยยังพบปั ญหาในหลายส่วน ได้ แก่ ปั ญหาด้ านต้ นทุนการผลิตที่ สูง เนื่องจากระบบการเลี ้ยงผูกขาดอยูก่ บั อาหารสําเร็ จรู ปซึง่ มีราคาแพงและค่าแรงงานสูง ในบางครัง้ เกษตรกรยังขาด แหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการขยายกิจการและดําเนินธุรกิจ ปั ญหาเรื่ องโรคระบาดก็ทําให้ การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าบาง ชนิดยังไม่ประสบความสําเร็จ สําหรับพื ้นที่ที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าแต่ละชนิดก็มีอยู่จํากัด โดยเฉพาะการ เพาะเลี ้ยงตามชายฝั่ งยังทําได้ ไม่เต็มศักยภาพ นอกจากนีย้ งั มีปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมบริ เวณแหล่งเพาะเลี ้ยง โดยเฉพาะเรื่ องนํ ้าเสีย โดยแหล่งกําเนิดมลพิษอาจมาจากโรงงานอุตสาหกรรมบริ เวณใกล้ เคียง หรื อจากการปล่อยนํ ้า ทิ ้งของเรื อประมง ชุมชน ทําให้ มีการปนเปื อ้ นสารเคมีกําจัดศัตรู พืช/สารพิษ เช่น โลหะหนักมากับนํ ้า การเพาะเลี ้ยง เกินขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งนํ ้า นอกจากนี ้ในบางพื ้นที่ยงั ประสบปั ญหาปริ มาณนํ ้าในการเพาะเลี ้ยง ไม่สมํ่าเสมอ ในเขตพื ้นที่นํ ้าเค็มก็ประสบปั ญหาเรื่ องความเค็มที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าเนื่องจากนํ ้าจืด

58

กรมประมง. 2546. สถิติประมงแห่ งประเทศไทย. ศูนย์สารสนเทศกรมประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ,

กรุงเทพฯ. 59

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 58.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


42

ลงมามากเกิน ไป อี กทัง้ สภาพแวดล้ อ มที่ ไ ม่สามารถควบคุม ได้ เช่น ภัยธรรมชาติ ภัยแล้ ง ความเสื่อ มโทรมของ สภาพแวดล้ อมและทรัพยากร ที่ทําให้ พื ้นที่เพาะเลี ้ยงและผลผลิตสัตว์นํ ้าเสียหาย ปั ญ หาด้ า นการตลาด เช่น การไม่สามารถรวบรวมผลผลิต ได้ เนื่ อ งจากเกษตรกรแยกกัน ขาย ส่งผลให้ ปริ มาณผลผลิตมีไม่เพียงพอต่อการแปรรู ปเพื่อการส่งออก นอกจากนี ้ มาตรฐานสินค้ าจากประเทศผู้นําเข้ ามีมากขึ ้น ประเทศผู้ซือ้ มี ก ารตรวจสอบที่ เข้ ม งวดมากขึน้ ในเรื่ อ งของคุณ ภาพสิน ค้ า ทํ า ให้ สิน ค้ า สัตว์ นํ า้ ที่ จ ะส่ง ออกต้ อ งมี ใบรับรองปลอดโรค ในขณะที่ราคาสัตว์นํ ้ามีความผันผวนราคาสัตว์นํา้ ไม่จูงใจผู้ผลิต เกษตกรผู้ผลิตยังขาดอํานาจ ต่อรองทางการตลาด พ่อค้ าคนกลางเป็ นผู้กําหนดราคาและไม่มีการประกันราคา นอกจากนี ้ยังขาดข้ อมูลเศรษฐกิจ และการตลาดที่ทนั สมัยรวดเร็ ว รวมถึงไม่มีองค์กรที่รวบรวมและสร้ างระบบเพื่ออํานวยการต่อรองราคาและควบคุม คุณภาพตามมาตรฐานของตลาด ขาดตัวกลางเชื่อมโยงข้ อมูล ปั ญหาที่สําคัญอีกประการ คือ ปั ญหาด้ านการบริหารจัดการ เช่น การขาดความรู้ทางวิชาการที่จะใช้ ใน การบริหารจัดการฟาร์ มเพาะเลี ้ยง ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องให้ การสนับสนุนไม่คอ่ ยต่อเนื่อง เกษตรกรผู้ เพาะเลี ้ยงขาดความรู้ในการจัดการระบบแบบครบวงจร ขาดความยัง่ ยืนของอาชีพเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า ดังนันจึ ้ งต้ องมีแนวนโยบายในการจัดการแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้น เช่น การพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิต สัตว์นํ ้าในระดับพื ้นบ้ านให้ เป็ นไปตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนการวิจัยด้ านการเพาะเลี ้ยงและพัฒนา เทคโนโลยี ชี ว ภาพเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง พัน ธุ์ สัต ว์ นํ า้ เศรษฐกิ จ และเทคนิ ค การเพาะเลี ย้ งให้ เ หมาะสมต่ อ คุณ ภาพ สิ่งแวดล้ อมและสุขภาพสัตว์นํ ้า พัฒนาพันธุ์ปลาและพันธุ์ไม้ นํ ้าเพื่อการส่งออกพัฒนาให้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลาง ตลาดของภูมิภ าค ซึ่งรายละเอี ยดของประเด็น ต่างๆ เกี่ ยวกับข้ อเสนอแนะเชิงนโยบายจะกล่าวในบทที่ 5 ต่อไป อย่างไรก็ตาม การจัดการและแก้ ไขปั ญหาดังกล่าวเป็ นหน้ าที่ของกรมประมงในฐานะที่เป็ นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ ด้ านการประมงทังหมดของประเทศจึ ้ งควรมีการกําหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าให้ เกิดความยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต แนวโน้ มของการประมงและการเพาะเลี้ยงชายฝั่ งของไทย เนื่องจากตลาดโลกยังมีความต้ องการบริ โภคสัตว์นํา้ อยู่ปริ มาณมาก และประเทศไทยก็มีโอกาสขยาย ตลาดสิ น ค้ า สัตว์ นํ า้ ได้ อี ก แม้ จ ะมี ปั ญ หาเรื่ อ งการกี ด กัน ทางการค้ า ในหลายๆ รู ป แบบ แต่เ ชื่ อ แน่ว่า การพัฒ นา ศักยภาพการทําประมงทะเลในลักษณะที่ไม่ทําลายสิ่งแวดล้ อมและระบบนิเวศ และการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต อย่า งครบวงจรในระบบการเพาะเลี ย้ งสัตว์ นํ า้ รวมถึง การศึก ษาวิจัย ในทุกด้ า นจากต้ น นํ า้ ไปสู่ป ลายนํ า้ จะช่ ว ย แก้ ปัญหาจากการกีดกันเหล่านันได้ ้ ในส่วนของการทําประมงทะเล ประเทศไทยน่าจะมีการทําประมงทูน่าในน่านนํ ้าสากลหรื อทะเลหลวงเพิ่ม มากขึ ้น นอกจากนี ้ในส่วนของการทําประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศอื่น มีแนวโน้ มที่จะสร้ างความตกลง กับประเทศที่อยู่ไกลออกไปมากยิ่งขึ ้น เพื่อให้ กองเรื อประมงไทยสามารถเข้ าไปทําประมงในน่านนํ ้าเหล่านันได้ ้ อย่าง ถูกกฎหมาย อย่างไรก็ตามด้ วยข้ อบังคับหรื อการกีดกันทางการค้ าในส่วนที่ไม่ใช่การใช้ ภาษี จะเป็ นตัวกําหนดหรื อ บังคับให้ ผ้ ปู ระกอบการทําประมงทะเลของไทยต้ องพัฒนาวิธีการทําประมงในลักษณะที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมและ ระบบนิเวศมากยิ่งขึ ้น รวมถึงการเอาใจใส่ในสวัสดิภาพของแรงงานประมงในกองเรื อให้ ดีขึ ้นด้ วย และสําหรับการทํา ประมงในน่านนํ ้าไทย โดยเฉพาะในอ่าวไทยจะถูกจํากัดโดยปริ มาณทรัพยากรประมงที่ลดน้ อยลง ดังนันนโยบายของ ้ ประเทศจึงไม่พ้นการทําประมงควบคูไ่ ปกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรประมงให้ เกิดความสมดุลระหว่างกัน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


43

สําหรับการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าชายฝั่ งของประเทศไทยมีแนวโน้ มของปริ มาณผลผลิตโดยรวมที่เพิ่มขึ ้นอย่าง ต่อเนื่องทุกปี และน่าจะเป็ นผลผลิตหลักของการส่งออกสัตว์นํ ้าจากประเทศไทยไปสูต่ ลาดโลก เนื่องจากสามารถเลือก ชนิดสัตว์นํา้ ได้ ตามต้ องการ ซึ่งจะทําให้ ชนิดสัตว์นํ ้าที่เพาะเลี ้ยงมีความหลากหลาย นอกจากนี ้ระบบการเพาะเลี ้ยง เป็ นกระบวนการที่สามารถตรวจสอบได้ ในทุกขัน้ ตอน อย่างไรก็ตามประเทศไทยควรมีนโยบาย/ยุทธศาสตร์ การ เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าชนิดต่างๆ ที่ชดั เจน เพื่อจะสามารถกําหนดและควบคุมราคาของสัตว์นํ ้านันๆ ้ ได้ ตามต้ องการ และ สร้ างตราของสินค้ า (Brand Name) ให้ กบั ประเทศไทย 3.1.1.2 ทรัพยากรด้ านความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ความหลากหลายทางชีวภาพประกอบไปด้ วย 3 ระดับด้ วยกันคือ ความหลากหลายของระดับพันธุกรรม ความหลากหลายในระดับชนิด และความหลากหลายของระบบนิเวศ ซึง่ แหล่งความหลากหลายทางชีวภาพในทะเลมี ความสําคัญสูงยิ่งต่อการใช้ ประโยชน์ทงโดยตรงและโดยอ้ ั้ อม ความสําคัญของทรั พยากรด้ านความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ้ ้นประมาณ 2,815 ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ตัง้ อยู่ในบริ เวณคาบสมุทรอินเดีย มีพืน้ ที่ชายทะเลยาวทังสิ กิโลเมตร อยู่ทางฝั่ งอันดามัน 1,801 กิโลเมตร และฝั่ งอ่าวไทย 1,014 กิโลเมตร พื ้นที่ทางทะเลทังหมด ้ 350,000 ตารางกิโลเมตร60 พื ้นที่เหล่านี ้ประกอบไปด้ วยทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่างๆ เช่น ป่ าชายเลน แนวปะการัง หญ้ า ทะเล ป่ าชายหาด เป็ นต้ น ซึ่งมี คุณ ค่า ทัง้ ทางด้ านระบบนิ เวศวิทยา และด้ านเศรษฐกิ จทัง้ ในระดับท้ องถิ่ นจนถึง ระดับชาติ ประโยชน์ ทางเศรษฐกิจของความหลากหลายของพันธุกรรมและชนิดพันธุ์โดยมนุษย์นําชนิดพันธุ์มาใช้ ประโยชน์โดยตรงจากชนิดพันธุ์เพาะเลี ้ยงและชนิดพันธุ์จากธรรมชาติซงึ่ ทางเศรษฐศาสตร์ แบ่งประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ของชนิดพันธุ์ได้ 2 แบบ คือ การใช้ ในด้ านบริ การซึ่งคือการนําชนิดพันธุ์มาใช้ ประโยชน์ทางด้ านงานวิจยั การศึกษา การท่องเที่ยว และการนันทนาการ เป็ นต้ น และการใช้ เป็ นสินค้ า ได้ แก่ การนําทรัพยากรชีวภาพทางทะเลมาเป็ น เครื่ องบริ โภคและการนํามาใช้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิต ทรัพยากรชีวภาพเหล่านันได้ ้ มาจากภาคการประมงและภาค การเพาะเลี ้ยง เป็ นต้ น และประโยชน์ทางเศรษฐกิจของความหลากหลายของระบบนิเวศทางทะเลมีคณ ุ ค่าทางอ้ อมแก่ มนุษย์มีบทบาทในการคํ ้าจุนให้ การสนับสนุนทางด้ านสิ่งแวดล้ อม เป็ นหลักทางสังคมและความเป็ นอยู่ของมนุษย์ ในทางเศรษฐศาสตร์ มีทงที ั ้ ่ประเมินออกมาเป็ นจํานวนเงินได้ เช่น ใช้ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและประเมินออกมาเป็ นตัว เงินไม่ได้ เช่น เป็ นแหล่งควบคุมให้ เกิดฤดูกาลต่างๆ เป็ นแหล่งสร้ างและอนุบาลสิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบ และยังเป็ น แหล่งที่จะพบความหลากหลายทางชีวภาพแบบใหม่ๆ ประโยชน์ทางอ้ อมของระบบนิเวศที่สําคัญต่อเศรษฐกิจอีก ประการหนึ่ง ได้ แก่ เป็ นแหล่งที่อยู่อาศัย และเป็ นแหล่งรวมพันธุกรรมของตัวอย่างสัตว์นํ ้าที่มีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจ หลายชนิด เช่น ปลาทู ปูทะเล และสัตว์นํ ้าอื่นๆ ที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อนบริ เวณป่ าชายเลน กุ้ง และปลาเก๋า จะ อาศัยอยู่บริ เวณแนวหญ้ าทะเล และหญ้ าทะเลยังใช้ เป็ นอาหารของสัตว์ทะเลหลายชนิด เช่น เต่าทะเล และพะยูน นอกจากนัน้ ระบบนิเวศยังเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ซึง่ จะเป็ นการดึงเศรษฐกิจเข้ าสูท่ ้ องถิ่นให้ ชาวบ้ านใกล้ เคียงได้ มีอาชีพ ั ้ ้รัฐบาลหรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องต้ องมีการจัดการที่ดีในการดูแลรักษา ต่างๆ ในด้ านบริ การแก่นกั ท่องเที่ยว แต่ทงนี ระบบนิเวศให้ คงอยู่

60

ถนอม เจริญลาภ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 33.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


44

ระบบนิเวศทางทะเลในประเทศไทยประกอบด้ วยหลายๆ ระบบที่มีความซับซ้ อนและเชื่อมโยงระหว่างกัน ส่งผลโดยรวมให้ ระบบนิเวศทางทะเลอุดมสมบูรณ์และมีคณ ุ ค่ามหาศาลต่อสิ่งมีชีวิตซึง่ รวมถึงมนุษย์ด้วย โดยสามารถ แยกประเภทการใช้ ประโยชน์จากระบบนิเวศทางทะเลได้ ดงั นี ้ 1) ระบบนิเวศป่ าชายเลน ป่ าชายเลนของประเทศไทยขึ ้นอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 24 จังหวัด ยาวประมาณ 927 กิโลเมตร ในปี 2504 เคยมีรายงานพื ้นที่ป่าถึง 3,679 ตารางกิโลเมตร61 แต่ หลัง จากนัน้ ได้ ถูก ทํ า ลายลงด้ ว ยกิ จ กรรมหลายประเภทของมนุษ ย์ ทํ า ให้ พื น้ ที่ ป่ าชายเลนลดลงอย่ า งรวดเร็ ว โดยเฉพาะในช่วงหลังปี 2521 พื ้นที่ป่าชายเลนลดลงเนื่องมาจากการเพิ่มขึ ้นของการทํานากุ้ง จนในปี 2539 มีพื ้นที่ ป่ าชายเลนเหลืออยู่เพียง 1,676 ตารางกิโลเมตร หลังจากนันก็ ้ ได้ มีนโยบายการฟื น้ ฟูป่าชายเลน เช่น การปลูกป่ า ทดแทนและการลดการบุกรุ กทําลายป่ ามีผลทําให้ ในปี 2543 พื ้นที่ป่าชายเลนเพิ่มขึ ้น 2,528 ตารางกิโลเมตร และเพิ่ม เป็ น 2,785 ตารางกิโลเมตร ในปี 2547 โดยมีพื ้นที่เพิ่มขึ ้นมากกว่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (ปี 2545–2549) ได้ ตงเป ั ้ ้ าหมายไว้ ว่าควรมีป่าชายเลนทังประเทศประมาณ ้ 2,000 ตารางกิโลเมตร62 ดังแสดงในรูปที่ 3-5 ภาคกลาง ภาคใต้ ตะวันตก รวมพื ้นทีแต่ละปี

พื ้นที่ป่าชายเลน (ไร่ )

2,500,000 2,000,000

ภาคตะวันออก ภาคใต้ ตะวันออก 2 per. Mov. Avg. (รวมพื ้นทีแต่ละปี )

1,500,000 1,000,000 500,000 0 ปี พศ.

2504

2518

2522

2529

2532

2534

2536

2539

2543

2547

รูปที่ 3-5 พื ้นที่ป่าชายเลนในประเทศไทยตังแต่ ้ ปี 2504-2547 การสํารวจพืน้ ที่ป่าชายเลนของกรมป่ าไม้ และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งด้ วยการประยุกต์ใช้ ภาพถ่ายดาวเทียมปี 2547 พบว่าป่ าชายเลนบริ เวณชายฝั่ งทะเลอันดามันตังแต่ ้ จงั หวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูลมีพื ้นที่ป่าชายเลน 1,719 ตารางกิโลเมตร ส่วนภาคใต้ ทางฝั่ งตะวันออกด้ านอ่าวไทยในจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช สงขลา และปั ตตานีมีพื ้นที่ป่าชายเลน 716 ตารางกิโลเมตร สําหรับภาคตะวันออกจากจังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี จนสุดชายแดนที่ตราดมีพื ้นที่ป่าชายเลน 228 ตารางกิโลเมตร และบริ เวณภาค กลางตัง้ แต่จังหวัดสมุทรปราการ กรุ งเทพฯ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ มีพืน้ ที่ 61

กรมป่ าไม้ . 2527–2545. สถิตกิ ารป่ าไม้ . ศูนย์ข้อมูลกลาง สํานักสารนิเทศ กรมป่ าไม้ , กรุงเทพฯ. สํานักงานสถิติแห่งชาติ. 2550. ตารางเนื ้อที่ป่าไม้ จากการแปลภาพดาวเทียม จําแนกตามชนิดของป่ า ภูมิภาค และจังหวัดในปี 2547. ตารางสถิตจิ ากสํานักงานสถิตแิ ห่ งชาติ. แหล่งที่มา: http:// www.nso.go.th, 29 สิงหาคม 2550. 62

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


45

ป่ าชายเลนจํานวนค่อนข้ างน้ อยเพียง 93.4 ตารางกิโลเมตรเท่านัน้ โดยภาคใต้ เป็ นภูมิภาคที่มีพื ้นที่ป่าชายเลนมาก ที่สดุ ถึง 2,434 ตารางกิโลเมตร จังหวัดที่มีพื ้นที่ป่าชายเลนมากที่สดุ คือจังหวัดพังงา63 ประมาณ 417 ตารางกิโลเมตร ป่ าชายเลนของประเทศไทยนับ ว่า เป็ นป่ าชายเลนที่ มี ค วามอุด มสมบูรณ์ มากแห่ง หนึ่ง ของโลกความ หลากหลายของป่ าชายเลนสร้ างแหล่งความหลากหลาย 2 แหล่งใหญ่ๆ คือ ความหลากหลายของพันธุ์ไม้ ในป่ าชาย เลน และความหลากหลายของสัตว์ในป่ าชายเลน สําหรับความหลากหลายของพืชป่ าชายเลนพบว่าป่ าชายเลนประกอบด้ วยพืชทังที ้ ่เป็ นไม้ ยืนต้ น ไม้ อิง อาศัย (Epiphytes) เถาวัลย์และสาหร่ าย ไม้ ยืนต้ นในป่ าชายเลนจะมีลกั ษณะพิเศษที่แตกต่างจะพืชยืนต้ นทัว่ ไปคือ สามารถเจริ ญเติบโตได้ ในดินเลนและพืน้ ที่ที่มีนํา้ ทะเลท่วมถึงเป็ นประจําหรื อชั่วคราว ดังนัน้ จึงมีการปรับตัวและ เปลี่ยนแปลงลักษณะทังภายนอกและภายใน ้ ระบบรากลําต้ น ใบ ดอก และผล ให้ เหมาะสมในการมีชีวิต เช่น มีต่อม ขับเกลือ ใบมีลกั ษณะอวบนํ ้า ระบบรากที่แผ่กว้ างและโผล่พ้นผิวนํ ้า มีผลที่สามารถงอกขณะยังอยู่บนต้ น และต้ นอ่อน หรื อผลแก่สามารถลอยนํ ้าได้ เป็ นต้ น พันธุ์ไม้ ยืนต้ นและไม้ พ่มุ เท่าที่พบในปั จจุบนั ในป่ าชายเลนของประเทศไทยมีถึง 74 ชนิด อยู่ใน 53 สกุล รวมอยู่ใน 35 วงศ์ พันธุ์ไม้ เด่นคือ โกงกางใหญ่ โกงกางใบเล็ก แสมดํา แสมขาว แสมทะเล ฝาดแดง ฝาดขาว พังกาหัวสุม โปรงขาว โปรงแดง ลําพู ลําแพน ตาตุ่มทะเล โพธิ์สตั ว์ ตะบูนขาว ตะบูนดํา ไม้ พื ้นล่าง ที่พบทัว่ ไปคือ เหงือกปลาหมอ จาก ชะคราม และเป้งทะเล เป็ นต้ น ในส่วนของความหลากหลายของสัตว์ในป่ าชายเลนพบว่าสัตว์ที่เป็ นองค์ประกอบของป่ าชายเลน ได้ แก่ ปลา 72 ชนิด ที่สําคัญได้ แก่ ปลากระบอก ปลากระพง ปลานวลจันทร์ ปลากะรัง และปลาตีน กุ้งมีประมาณไม่น้อย กว่า 15 ชนิด สําหรับกุ้งที่พบเห็นทัว่ ไปในป่ าชายเลน ได้ แก่ กุ้งแชบ๊ วย กุ้งกุลาดํา กุ้งกะเปาะหรื อกุ้งกะต่อม ปูที่พบใน ป่ าชายเลนมีทงหมด ั้ 7 สกุล 64 ชนิด ที่พบมากได้ แก่ ปูแสม ปูก้ามดาบ ปูทะเลหรื อปูดํา หอยที่พบในป่ าชายเลน 23 ชนิด มีหอยกาบเดียวไม่น้อยกว่า 17 ชนิด ที่สําคัญได้ แก่ หอยดํา หอยขีน้ ก หอยขีก้ า และหอยกาบคู่ไม่น้อยกว่า 3 ชนิด ได้ แก่ หอยนางรม และหอยเยาะ เป็ นต้ น สัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนมมีไม่น้อยกว่า 39 ชนิด ที่พบทัว่ ไปได้ แก่ ค้ างคาว ลิงกัง นาก แมวป่ า สัตว์เลื ้อยคลานมีอย่างน้ อย 25 ชนิด ซึ่งรวมทังงู ้ ต่างๆ กิ ้งก่า เต่า และจระเข้ นอกจากนี ้ยังพบสัตว์ 64 ชันตํ ้ ่าและพืชจําพวกสาหร่ายอีกจํานวนมาก นกที่พบในป่ าชายเลนและนกนํ ้าในเมืองไทยมีทงนกอพยพและนกประจํ ั้ าถิ่นมากกว่า 100 ชนิด นกนํ ้าใน ระบบนิเวศป่ าชายเลนเป็ นที่อยู่อาศัยของนกนํ ้า ซึ่งในเมืองไทยมีโอกาสพบได้ ไม่ยากนัก การสํารวจจํานวนนกนํ ้าใน ประเทศไทยแบ่งตามพื ้นที่การสํารวจ 4 ส่วนคือ อ่าวไทยตอนใน พื ้นที่ช่มุ นํ ้าในภาคใต้ ชายฝั่ งทะเลด้ านอ่าวไทย และ ชายฝั่ งทะเลอันดามันสรุปได้ ดงั นี ้ 65 พื ้นที่อา่ วไทยตอนในเป็ นพื ้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรชีวภาพจึงเป็ นแหล่งอาหารและโปรตีนที่ สําคัญโดยเฉพาะสําหรับนกอพยพซึ่งต้ องใช้ พลังงานสูงในการอพยพย้ ายถิ่นระยะทางไกล ไกรรัตน์ เอี่ยมอําไพ และ คณะ (2548) สํารวจนกนํ ้าในบริ เวณนี ้พบว่ามีนกนํ ้าอาศัยอยู่ทงสิ ั ้ ้น 95 ชนิด แยกตามหลักอนุกรมวิธานได้ 3 อันดับ

63

สํานักงานสถิติแห่งชาติ. 2550. ข้ อมูลป่ าไม้ และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. ตารางสถิติจากสํานั กงานสถิติแห่ งชาติ. แหล่งที่มา: http:// www.nso.go.th, 29 สิงหาคม 2550. 64 สนิท อักษรแก้ ว. 2542. ป่ าชายเลน. คอลัมน์เกษตรวิจยั , หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ .... 65 ไกรรัตน์ เอี่ยมอําไพ, สีฟ้า ละออง, ตวงรัตน์ โพธ์เที่ยง, ศิริพร ทองอารี ย์, ไสว วังหงษา, เกรี ยงศักด์ ศรี บวั รอด, กิตติ กรี ติยตุ านนท์, และวัลยา ชนิตตาวงศ์. 2548. รายงานความก้ าวหน้ าโครงการวิจัยการศึกษาสถานภาพและการแพร่ กระจายของประชากรนกนํา้ ใน พืน้ ที่ช่ ุมนํา้ ของประเทศไทย. ผลงานวิจยั และรายงานความก้ าวหน้ างานวิจยั ประจําปี 2548. หน้ า 189-197.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


46

(Order) 16 วงศ์ (Family) และ55 สกุล (Genus) จําแนกเป็ นนกประจําถิ่น 16 ชนิด นกอพยพ 62 ชนิด นกประจําถิ่น และนกอพยพ 17 ชนิดนกนํ ้าที่ใกล้ สญ ู พันธ์ Endangered 2 ชนิดได้ แก่ นกปากช้ อนหน้ าดํา Black-Faced Spoonbill (Platalea minor) และนกทะเลขาเขียวลายจุด Nordmanns Greenshank (Tringa guttifer) นกนํ ้าที่มีแนวโน้ มใกล้ สูญพันธ์ Vulnerable 1 ชนิด ได้ แก่ นกชายเลนปากช้ อน Spoon-billed sandpiper (Eurynorhynchus pygmeus) และนกนํ ้าที่เสี่ยงต่อการสูญพันธ์และถูกคุกคาม Lower Risk -near threatened 3 ชนิด ได้ แก่ นกช้ อนหอยขาว Black-eaded lbis (Threskiornis melanocephalus) นกหัวโตมลายู Malaysian Plover (Charadrius peronii) และ นกซ่อมทะเลอกแดง Asian Dowitcher (Limnodromus semipalmatus) พื ้นที่ช่มุ นํ ้าในภาคใต้ เป็ นพื ้นที่ช่มุ นํ ้าที่อยูเ่ ข้ ามาในแผ่นดินจะพบนกนํ ้า 37 ชนิด แยกตามหลัก อนุกรมวิธานได้ 3 อันดับ (Order) 13 วงศ์ (Family) และ 34 สกุล (Genus) จําแนกเป็ นนกประจําถิ่น 14 ชนิด นก อพยพ 11 ชนิด นกประจําถิ่นและนกอพยพ 12 ชนิด พบนกนํ ้าที่มีแนวโน้ มใกล้ สญ ู พันธ์ Vulnerable 1 ชนิด ได้ แก่ นก อ้ ายงัว่ Oriental Darter (Anhinga melanogaster) พบบริเวณเขตห้ ามล่าสัตว์ป่าหนองทุง่ ทอง66 พื ้นที่ช่มุ นํ ้าชายฝั่ งทะเลอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก บริ เวณนี ้พบนกนํ ้า 31 ชนิด แยกตามหลักอนุกรมวิธานได้ 3 อันดับ (Order) 10 วงศ์ (Family) และ23 สกุล (Genus) จําแนกเป็ นนกประจําถิ่น 3 ชนิด นกอพยพ 11 ชนิด นก ประจําถิ่นและ นกอพยพ 17 ชนิด67 พื ้นที่ช่มุ นํ ้าชายฝั่ งทะเลอันดามันจะพบนกนํ ้า 32 ชนิด แยกตามหลักอนุกรมวิธานได้ 2 อันดับ (Order) 6 วงศ์ (Family) และ 20 สกุล (Genus) จําแนกเป็ นนกประจําถิ่น 7 ชนิด นกอพยพ 20 ชนิด นกประจําถิ่นและ นกอพยพ 5 ชนิด พบ นกนํ ้าที่ใกล้ สญ ู พันธ์ Endangered 1 ชนิดได้ แก่ นกทะเลขาเขียวลายจุด Nordmann.s Greenshank (Tringa guttifer) และนกนํ ้าที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ /ใกล้ ถกู คุกคาม Lower Risk - Near Threatened 68 คุณค่าทางด้ านเศรษฐกิจและสังคม การประเมินมูลค่าด้ านเศรฐกิจและสังคมของทรัพยากรป่ าชายเลนยังมีการศึกษาน้ อยและยังไม่ครอบคลุม ในหลายพื ้นที่จึงไม่สามารถบอกได้ ว่าโดยรวมทังสิ ้ ้นแล้ วทรัพยากรมีมลู ค่าเท่าไหร่ แต่จากการศึกษามูลค่าประโยชน์ ของป่ าชายเลนในจังหวัดสุราษฎร์ ธานีที่คํานวณได้ มาเป็ นราคา ณ ปี 2547 มีมลู ค่าเท่ากับ 11,775,625 บาทต่อ ตารางกิโลเมตร69 ซึง่ จากรายงานป่ าชายเลนในปี 2547 มีพื ้นที่ 2,758 ตารางกิโลเมตร ซึง่ แสดงให้ เห็นมูลค่าป่ าชาย เลนรวมสูงถึง 32,477 ล้ านบาท ในปี 2547 นอกจากนี ้ยังมีรายงานการประเมินมูลค่าบริ เวณปากแม่นํ ้า จังหวัดกระบี่ ทังในด้ ้ านการใช้ โดยตรง (เก็บใช้ ทรัพยากรโดยตรง นันทนาการ เลี ้ยงปลาทํานากุ้ง ทําการเกษตร) มีมลู ค่าเท่ากับ 456,920,124 บาทต่อปี และการใช้ โดยทางอ้ อม (การทําประมงชายฝั่ ง และทําหน้ าที่เชิงนิเวศของป่ าชายเลน) มูลค่า เท่ากับ 66,422,090 บาทต่อปี รวมทังมู ้ ลค่าจากการไม่ได้ ใช้ ปากแม่นํ ้ามีมลู ค่าเท่ากับ 9,803,520 บาทต่อปี หรื อคิด

66

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 65. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 65. 68 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 65. 69 อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, วราภรณ์ ปั ญญาวดี, อัจฉรี ชไตน์มลึ เลอร์ , ทิพวัลย์ แก้ วมีศรี , เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ปริ ญญารัตน์ เลี ้ยง เจริ ญ, พิศสม มีถม, วินยั แสงสืบ และธัญวรรณ เหมพนม. 2549. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดลําดับความสําคัญของ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม. สถาบันวิจยั เพื่อพัฒนาประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 67

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


47

เป็ นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยรวมเท่ากับ 533,145,734 บาทต่อปี 70 นอกจากนี ้การประเมินมูลค่าป่ าชายเลนเขต บางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร พบว่าการใช้ ประโยชนน์จากป่ าชายเลนมีมลู ค่าทางด้ านตลาดเท่ากับ 11.15 ล้ าน บาท71 และมูลค่าโดยสอบถามความเต็มใจที่จะจ่ายในรูปเงินบริจาคที่เป็ นตัวเงินและการบริจาคในรูปของการเสียสละ แรงงานเท่ากับ 281,930.56 บาท72 และจากการประเมินพื ้นที่ป่าชายเลนทางภาคใต้ ของประเทศไทยพบว่าเมื่อสภาพ แหล่งที่อยู่ของสัตว์นํ ้าเปลี่ยนแปลงไปในด้ านคุณค่าการใช้ เป็ นแหล่งอนุบาล แหล่งที่อยู่ และแหล่งหากินของสัตว์นํ ้า ภายใต้ สภาพเปิ ดจะเกิดผลกระทบขึน้ โดยถ้ ามีการสูญเสียพื ้นที่ป่าชายเลน 30 ตารางกิโลเมตรต่อปี แล้ วจะทําให้ สวัสดิการของสังคมลดลงประมาณ 480,000-1,6320,000 บาทต่อปี 73 ซึ่งประเทศไทยมีพื ้นที่ป่าชายเลน 2,758 ตารางกิโลเมตร แสดงว่าหากมีการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าชายเลนทังหมดคนไทยต้ ้ องสูญเสียมูลค่าทางสังคม 1,158.4-40,543.3 ล้ านบาทต่อปี 74 นอกจากนี ้ป่ าชายเลนยังมีคณ ุ ค่าทางด้ านเศรษฐกิจและสังคมในด้ านป่ าไม้ การ ประมงและการท่องเที่ยว ดังนี ้ ด้ านป่ าไม้ ป่ าชายเลนสามารถนํามาใช้ ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ กันหลายรูปแบบ เช่น ทําไม้ ฟืนและเผา เป็ นถ่าน ในแต่ละปี ไม้ ป่าชายเลนที่ตดั ออกมา เช่น ไม้ โกงกาง ไม้ ถวั่ ไม้ โปรงประมาณ 80 เปอร์ เซ็นต์ นํามาทําถ่าน โดยเฉพาะไม้ โกงกางจะทําถ่านได้ คณ ุ ภาพดีที่สดุ ต้ นไม้ ในป่ าชายเลนปลูกง่าย โตเร็ว ไม้ ป่าชายเลนนอกจากจะใช้ เผา ถ่าน ซึ่งทํารายได้ คิดเป็ นมูลค่าถึงปี ละประมาณ 560 ล้ านบาท75 และยังมีการใช้ ประโยชน์ในรู ปแบบอื่นๆ คือ เป็ นไม้ ฟื น ไม้ ทําไม้ เสาเข็ม และไม้ คํ ้ายัน ทําไม้ ก่อสร้ าง แพปลา อุปกรณ์การประมง และเฟอร์ นิเจอร์ เปลือกไม้ หลายชนิด นํามาสกัดจะได้ แทนนินใช้ ทําหมึก ทําสี ทํากาว ฟอกหนัง นอกจากนันไม้ ้ ป่าชายเลนยังนําไปใช้ ในด้ านสมุนไพรได้ อีก ด้ วย ด้ านประมง ป่ าชายเลนเป็ นแหล่งอาหารที่สําคัญของสัตว์นํ ้าหลายชนิด พวกเศษไม้ ใบไม้ และส่วนต่างๆ ของไม้ ที่ร่วงหล่นจะถูกย่อยสลายเป็ นโปรตีน สําหรับพวกหอย ปู และหนอนปล้ อง ซึง่ จะเป็ นอาหารของสัตว์ที่ใหญ่กว่า ต่อไป เป็ นที่อยู่อาศัยและที่อนุบาลสัตว์นํ ้าในระยะตัวอ่อนกุ้งและปลาที่สําคัญทางเศรษฐกิจได้ อาศัยป่ าชายเลนเป็ น แหล่งเพาะเลี ้ยงตัวอ่อน เช่น กุ้งกุลาดํา ปลากะพงขาว และปลาอื่นๆ เป็ นแหล่งอาหารสําคัญของสัตว์นํ ้า การประเมิน ในรู ปของผลผลิตการทําประมงชายฝั่ งพบว่าพืน้ ที่ป่าชายเลนในจังหวัดสุราษฎร์ ธานีจํานวน 2,500 ไร่ มูลค่าทาง เศรษฐกิจรวมมีคา่ ผันแปรตังแต่ ้ 13,139.68-13,447.42 บาท ด้ านการท่องเที่ยวเนื่องจากบริ เวณอ่าวพังงาถือว่าเป็ นพื ้นที่ป่าชายเลนขนาดใหญ่ที่ทําเงินทังธุ ้ รกิจการ ประมงพื ้นบ้ านและการท่องเที่ยวเป็ นอันดับต้ นๆ ของเมืองไทย การประเมินมูลค่าของอ่าวพังงาเมื่อสภาพของชายฝั่ ง

70

ไกรรัตน์ เอี่ยมอําไพ, สีฟ้า ละออง, ตวงรัตน์ โพธ์เที่ยง, ศิริพร ทองอารี ย์, ไสว วังหงษา, เกรี ยงศักด์ ศรี บวั รอด, กิตติ กรี ติยตุ านนท์, และวัลยา ชนิตตาวงศ์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 65. 71 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 65. 72 อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, วราภรณ์ ปั ญญาวดี, อัจฉรี ชไตน์มลึ เลอร์ , ทิพวัลย์ แก้ วมีศรี , เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ปริ ญญารัตน์ เลี ้ยง เจริ ญ, พิศสม มีถม, วินยั แสงสืบ และธัญวรรณ เหมพนม, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 69. 73 Niphon Phongsuwan. 2550. Coral reefs in Thailand. Phuket Marine Biological Center Coastal, Department of Marine and Coastal Resources, Phuket. 74 อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, วราภรณ์ ปั ญญาวดี, อัจฉรี ชไตน์มลึ เลอร์ , ทิพวัลย์ แก้ วมีศรี , เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ปริ ญญารัตน์ เลี ้ยง เจริ ญ, พิศสม มีถม, วินยั แสงสืบ และธัญวรรณ เหมพนม, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 69. 75 สนิท อักษรแก้ ว, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 64.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


48

และทรัพยากรทางทะเลดีขึ ้นจาก 35 เป็ น 65 เปอร์ เซ็นต์ มีมลู ค่าเท่ากับ 5,784 ล้ านบาท76 คุณค่าด้ านสังคมของป่ า ชายเลนเปรี ยบเสมือนอู่ข้าวอู่นํ ้าของประชาชนที่อาศัยบริ เวณป่ าชายเลนและชายฝั่ งเพราะเป็ นทังแหล่ ้ งอาหาร ที่อยู่ อาศัย ยารักษาโรค ตลอดจนเป็ นเชื ้อเพลิงให้ ราษฎรเหล่านี ้ นอกจากนันยั ้ งเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ แหล่งท่องเที่ยว และแหล่งศึกษาธรรมชาติที่สําคัญ แล้ วยังช่วยป้องกันสังคมชายฝั่ งจากภัยธรรมชาติได้ อีกด้ วย คุณค่าทางสิง่ แวดล้ อม ป่ าชายเลนเป็ นระบบนิเวศที่เชื่อมต่อระหว่างบกกับทะเลแสดงว่าป่ าชายเลนมีหน้ าที่สําคัญในการปรับ ความสมดุลย์ บริ เวณชายฝั่ ง นอกจากนีป้ ่ าชายเลนยังทําหน้ าที่เสมือนเขื่อนป้องกันคลื่นลมจากทะเล ป้องกันการ พังทลายของดินชายฝั่ ง สามารถซ่อมแซมตนเองได้ ช่วยป้องกันการกัดเซาะและการพังทลายของชายฝั่ ง และช่วยฟอก นํ ้าเสียจากแหล่งบนบกไปเป็ นนํ ้าคุณภาพดีก่อนลงสู่ชายฝั่ งทะเล และลดความรุ นแรงของลมพายุชายฝั่ งทะเล ทําให้ ไม่เกิดความเสียหายมากนักในช่วงฤดูมรสุมแก่ที่อยู่อาศัยและพื ้นที่ทํากินของชาวบ้ านที่ตงถิ ั ้ ่นฐานอยู่บริ เวณใกล้ เคียง เช่น กรณีภยั พิบตั ิคลื่นยักษ์ สนึ ามิที่ผ่านมาในเดือนธันวาคม ปี 2547 แสดงให้ เห็นถึงคุณค่าที่สําคัญของป่ าชายเลน เพราะระบบรากที่โยงใยเกาะเกี่ยวกันเหนือพื ้นดินจะช่วยในการทําหน้ าที่นี ้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพหากไม่มีป่าชายเลน ชายฝั่ งทะเลอันดามันอาจเกิดความเสียหายที่มหาศาลจากภัยคลื่นสึนามิในครัง้ นี ้ นอกจากนี ้ไม้ ป่าชายเลนทําให้ เกิด ดินเลนงอกใหม่ช่วยดูดซับแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ เก็บกักธาตุคาร์ บอนไว้ ในเนื ้อไม้ ซงึ่ ช่วยลดต้ นเหตุที่จะทําให้ อณ ุ ภูมิ โลกร้ อนขึ ้น ป่ าชายเลนยังทําหน้ าที่ดกั กรองสารปฏิกลู ช่วยกรองของเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โลหะหนัก สารมลพิษต่างๆ ขยะและคราบนํา้ มันต่างๆ ก็จะถูกกรองไว้ ในป่ าชายเลนเช่นกัน และยังเป็ นแหล่งทรัพยากรเพื่อ ้ นที่รวบรวมแหล่งความหลากหลายทางชีวภาพใน การศึกษาหาความรู้ เป็ นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิดอีกทังเป็ ระดับสูง การประเมินมูลค่าป่ าชายเลนเพื่อการอนุรักษ์ ป่าชายเลน ตําบลแหลมผักเบี ้ย อําเภอบ้ านแหลม จังหวัด เพชรบุรี มีพื ้นที่ 1,750 ไร่ มีคา่ เท่ากับ 52.85 ล้ านบาทต่อปี 77 จากผลรวมการประเมินมูลค่าระบบนิเวศป่ าชายเลนทัง้ ทางด้ านด้ านเศรษฐกิจ สังคม และคุณค่าทาง สิง่ แวดล้ อมเท่าที่ผา่ นมาพบว่ามีคา่ รวม 8,132.63-7,518.33 ล้ านบาทต่อปี 2) ระบบนิ เวศแนวปะการัง พื ้นที่แนวปะการังในประเทศไทยมีขนาด 154.17 ตารางกิโลเมตร โดยแบ่งเป็ นทางฝั่ งทะเลอันดามัน 81 ตารางกิโลเมตร และในอ่าวไทยมีพื ้นที่แนวปะการังทังหมดประมาณ ้ 73 ตารางกิโลเมตร โดยอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกมี แนวปะการังกระจายอยู่ตงแต่ ั ้ จงั หวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ถึงจังหวัดตราด มีพื ้นที่แนวปะการัง 25 ตารางกิโลเมตร ส่วนทางด้ านฝั่ งตะวันตกในจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช และปั ตตานี เป็ นพื ้นที่รวม ประมาณ 48 ตารางกิ โ ลเมตร จัง หวัดสุร าษฎร์ ธ านี มีพื น้ ที่ แ นวปะการั ง อยู่ม ากที่ สุด ในประเทศไทย 0.08 ตาราง

76

โชคชัย มณีนาค. 2544. การประเมินมูลค่ าทางนันทนาการของอุทยานแห่ งชาติแหลมสน จังหวัดระนอง และจังหวัด พังงา. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 77 สุกญ ั ญา มารศรี . 2543. การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการอนุรักษ์ ป่าชายเลน: ศึกษากรณี หมู่ท่ ี 10 บ้ านสามัคคี ตําบล บางขุนไทร อําเภอบ้ านแหลม จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


49

กิโลเมตร78 ผลการประเมินสภาพของแนวปะการังชายฝั่ งอ่าวไทยโดยทําการสํารวจเฉพาะที่ขอบนอกของแนวปะการัง คิดเป็ นระยะทางโดยประมาณ พบว่าสภาพแนวปะการังในอ่าวไทยทางฝั่ งตะวันออกและฝั่ งตะวันตกส่วนใหญ่สภาพ แนวปะการังอยู่ระหว่างสมบูรณ์ปานกลางถึงค่อนข้ างสมบูรณ์ดี ส่วนชายฝั่ งทะเลอันดามัน มีพื ้นที่ของจังหวัดต่างๆ กระจายจากทางตอนเหนือลงมาทางตอนใต้ ตงแต่ ั ้ จงั หวัดระนองลงมาจนถึงสตูล มีทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่ หลากหลาย เช่น ป่ าชายเลน แหล่งหญ้ าทะเล หาดทราย หาดหิน รวมถึงแนวปะการังมีพื ้นที่กว่า 130 แห่ง มีแนว ปะการังก่อตัวเป็ นพื ้นที่ใหญ่ที่สดุ ที่หมู่เกาะสุรินทร์ และหมู่เกาะอาดัง-ราวี ตามลําดับ แนวปะการังส่วนใหญ่อยู่ใน สภาพสมบูรณ์ปานกลางดังแสดงในรูปที่ 3-6 จังหวัดที่มีสว่ นของแนวปะการังที่มีแนวโน้ มไปทางสภาพสมบูรณ์ดีมาก ที่สดุ คือ จังหวัดสตูล และจังหวัดที่มีสว่ นของแนวปะการังที่มีแนวโน้ มไปทางเสื่อมโทรมมากที่สดุ คือ จังหวัดพังงา และ ภูเก็ต

รูปที่ 3-6 สรุปสภาพแนวปะการังในประเทศไทย79 ปั จจุบนั มีจํานวนปะการังในประเทศไทย 18 ครอบครัว 71 สกุล 388 ชนิด แต่ที่มีตวั อย่างและรู้ แน่ชดั ว่ามี จริ ง 280 ชนิด80 นอกจากปะการังแล้ วสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทางระบบนิเวศแนวปะการังให้ ความสวยงามหลายหลากสีสรร สวยงามสะดุดตาเช่น ฟองนํ ้า ดาวเปราะ ไส้ เดือนทะเล ปู กุ้ง ปะการังอ่อน กัลปั งหาบาง ดอกไม้ ทะเล ปลาการ์ ตนู ปลาสลิดหิน นอกจากนี ้ ยังมีสิ่งมีชีวิตอย่างอื่นที่ช่วยสร้ างความหลากหลายให้ กับแนวปะการัง เช่น หนอนตัวแบน หนอนริ บบิน้ และ หนอนปล้ อง และสัตว์จําพวกครั สเตเชี ยน เป็ นจํานวนมากเช่นกุ้งมังกร กุ้งมดแดง กุ้งพยาบาล รวมถึงปูชนิดต่างๆ นับร้ อยชนิด เช่น ปูใบ้ ปูม้า กังตั ้ ก๊ แตน สัตว์จําพวกหอยและหมึก เช่น กลุม่ หอยกาบเดี่ยว ได้ แก่ หอยเบี ้ย หอยเต้ าปูน หอยตาวัว และกลุ่มหอยสองกาบ ได้ แก่ หอยมือเสือ ส่วนหมึกที่พบเป็ นพวก หมึกสาย สัตว์ที่

78

อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, วราภรณ์ ปั ญญาวดี, อัจฉรี ชไตน์มลึ เลอร์ , ทิพวัลย์ แก้ วมีศรี , เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ปริ ญญารัตน์ เลี ้ยง เจริ ญ, พิศสม มีถม, วินยั แสงสืบ และธัญวรรณ เหมพนม, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 37. และ สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเล และป่ าชายเลน. 2550. สถานการณ์ ปะการั งปี 2549. แหล่งที่มา: http://www.pmbc.go.th/coral/coral.php, 12 กันยายน 2550. 79 อมรพันธุ์ กุลปราณีต. 2547. ประเมินมูลค่ าความคงอยู่ (Existence Value) ของความหลากหลายทางชีวภาพของดอน หอยหลอด จังหวัดสมุทรสาคร. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจัดลําดับความสําคัญของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมปี 2549. สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 80 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 79.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


50

เกาะติดตามพื ้นเช่น ดาวทะเล ดาวเปราะ เม่นทะเล ปลิงทะเล และดาวขนนก ส่วนที่สําคัญคือ ปลา เช่น กลุ่มปลา ผีเสื ้อ ปลาสินสมุทร ปลากะรัง ปลากะพง ปลาปั กเป้า ปลาวัว ปลานกแก้ ว ปลาขี ้ตัง ปลาสลิดหิน เป็ นต้ น ดังนันระบบ ้ นิ เ วศแนวปะการั ง ถื อ ว่า เป็ นอี ก ระบบนิ เ วศหนึ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คัญ และมี คุณ ค่า สูง ทัง้ ในด้ า นของระบบนิ เ วศ ด้ า น สิ่งแวดล้ อมและด้ านเศรษฐกิจ เนื่องจากนิเวศแนวปะการังเป็ นแหล่งทรัพยากรที่เป็ นฐานในการสริ มให้ กบั ทรัพยากร ทางทะเลอื่นๆ ที่นํามาซึ่งเม็ดเงินในด้ านต่างๆ เช่น การประมง การท่องเที่ยว เป็ นต้ น ความสําคัญของแนวปะการัง แบ่งได้ เป็ น 2 คุณค่าใหญ่ๆ คือ คุณค่าด้ านเศรษฐกิจและสังคม คุณประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของแนวปะการังในด้ านกิจกรรมประมงในแนวปะการัง เช่น การทําประมง พื ้นบ้ าน อวนจมปู ลอบหมึก เป็ นต้ น โดยในแต่ละปี ปริ มาณสัตว์นํ ้าที่จบั ได้ จากบริ เวณแนวปะการัง สามารถทํารายได้ ให้ กับผู้ประกอบอาชี พทางการประมงได้ เป็ นจํ านวนมาก นอกจากนี ค้ วามสําคัญของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการั งใน ุ ค่าในแง่ ทางด้ านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น ฟองนํ ้า เพรี ยงหัวหอม สาหร่ ายทะเล เป็ นต้ น แนวปะการังยังให้ คณ ของความสวยงามตามธรรมชาติ ที่สําคัญทําให้ เกิดกิจกรรมการท่องเที่ยวดํานํ ้าดูปะการังและสิ่งมีชีวิตใต้ ทะเล จาก ความสวยงามและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และองค์ประกอบอื่นๆ อีกมากมาย ทําให้ บริ เวณแนวปะการั ง กลายเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและดึงดูดนักท่องเที่ยวเป็ นอย่างดีทงในและต่ ั้ างประเทศ ซึง่ ก่อให้ เกิดรายได้ จํานวน มากมายในกลุม่ ธุรกิจการท่องเที่ยวผลการประเมินคุณค่าของแนวปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติพบว่าให้ มลู ค่าทาง เศรษฐกิจสูงถึง 134,030 ล้ านบาทต่อปี 81 ดังแสดงในรูปที่ 3-7 ซึง่ ข้ อมูลดังกล่าวยังไม่ได้ รวมพื ้นที่แนวปะการังที่ไม่ได้ อยูใ่ นเขตอุทยาน แต่สร้ างมูลค่ามหาศาลจากการท่องเที่ยวและการประมง เช่น เกาะสมุย เกาะภูเก็ต เกาะเต่า เป็ นต้ น แนวปะการังบริ เวณหมู่เกาะตะรุเตาเป็ นพื ้นที่แนวปะการังที่ให้ มลู ค่าสูงที่สดุ คือ 76,194 ล้ านบาทต่อปี โดยบริ เวณหมู่ เกาะช้ างให้ มลู ค่าตํ่าสุดคือ 2,688 ล้ านบาทต่อปี และด้ านของการใช้ ประโยชน์ในแนวปะการังด้ านนันทนาการ การ ท่องเที่ยว การเผื่อไว้ ใช้ ในอนาคต และความคงอยู่ของปะการังโดยมีมลู ค่าเท่ากับ 219,565 และ 96 ล้ านบาทต่อปี ตามลําดับ นอกจากนี ้ผลการประเมินการใช้ แนวปะการังเป็ นแหล่งสันทนาการที่เกาะไห จังหวัดภูเก็ตพบว่ามูลค่าใน เชิงนันทนาการของปะการังมีมลู ค่า 39 ล้ านบาทต่อปี 82จากข้ อมูลค่าที่ประเมินได้ จากระบบนิเวศแนวปะการังต่อปี จะ เห็นว่าคุณค่าของระบบนิเวศแนวปะการังมีค่าสูงมากเมื่อเทียบกับทรัพยากรทางทะเลอื่นๆ ถึงแม้ จะมีเพียงข้ อมูลการ ประเมินมูลค่าเฉพาะทางด้ านการใช้ ประโยชน์ระบบนิเวศแนวปะการังในเชิงท่องเที่ยวเท่านัน้

81

โชคชัย มณีนาค, อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 76. Mamiko Higashi. 2000. The Economic Valuation of Environmental Factors for Marine Tourism: A Case Study of the Tourism Sector in Phuket. M.S. Thesis (Environmental and Natural Resource Economics), Chulalongkorn University. 82

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


51

13 4 ,0 30

160,000

140,000

120,000

76 ,1 94

ล้านบาท/ปี

100,000

80,000

60,000

รวม

หมู่ เกาะตะรุ เตา

เกาะแหลมหญ้า-เกาะ เสม็ ด

หมู่ เกาะลั นตา

หมู่ เกาะสุ รินทร์

หมู่ เกาะสิ มิลัน

หมู่ เกาะอ่ างทอง

หาดในยาง

อุทยานแห่งชาต ิ

หมู่ เกาะช้าง

0

หมู่ เกาะพี พี

7, 20 0

6, 51 0

6, 12 3

5, 58 0

5, 04 0

2, 68 8

20,000

4, 80 0

19 ,8 95

40,000

รูปที่ 3-7 การประเมินมูลค่าการใช้ ประโยชน์ของแนวปะการังในพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติทางทะเล83 คุณค่าด้ านสิง่ แวดล้ อม ระบบนิเวศปะการังมีคณ ุ ค่าต่อระบบนิเวศชายฝั่ งเนื่องจากเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของ สัตว์ทะเล และที่กําบังหลบภัยของสัตว์ทะเลหลายชนิดจากลักษณะโครงสร้ างของแนวปะการังที่มีความซับซ้ อนทําให้ สัตว์ทะเลเข้ ามาอาศัยทังแบบถาวรและแบบชั ้ ว่ คราว กลุ่มสัตว์ที่เข้ ามาอาศัยอยู่ในแนวปะการังพบได้ ทงที ั ้ ่อยู่ในวัย อ่อนและโตเต็มวัย นอกจากนี ้แนวปะการังยังเป็ นแหล่งอาหารเนื่องจากมีสาหร่ายและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ใน แนวปะการังเป็ นจํานวนมาก ซึง่ สามารถเป็ นอาหารให้ กบั สัตว์ทะเลที่เข้ ามาหาอาหารในแนวปะการังได้ อีกด้ วย ทําให้ แนวปะการังเป็ นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายสูงอีกระบบหนึ่งในระบบนิเวศทางทะเล นอกจากนีก้ ระบวนการ สังเคราะห์แสงที่เกิดขึ ้นภายในแนวปะการัง ยังเป็ นการกระจายพลังงานไปสู่ผ้ บู ริ โภคในระดับต่างๆ ของระบบห่วงโซ่ อาหารในระบบนิเวศทางทะเล นอกจากคุณค่าของระบบนิเวศทางทะเลในแง่ของเชิงชีวภาพแล้ วยังมีคณ ุ ค่าในแง่ของกายภาพ เนื่องจาก โครงสร้ างของแนวปะการังที่มีความหลากหลายของรู ปทรงต่างๆ กันจึงเป็ นตัวช่วยลดความเร็ วของกระแสนํา้ ลด ความแรงของกระแสคลื่น และช่วยลดการฟุ้งกระจายของตะกอนในมวลนํ ้าให้ น้อยลง สามารถรักษาสภาพแวดล้ อม ป้องกันและลดการพังทลายให้ น้อยลง เนื่องมาจากโครงสร้ างของแนวปะการังที่มีความหลากหลายของรู ปทรงต่างๆ กัน ช่วยลดความรุ นแรงของการไหลของกระแสนํา้ ลดแรงปะทะของคลื่นที่กระทําต่อชายฝั่ งซึ่งช่วยลดอัตราการกัด เซาะของชายฝั่ งได้ นอกจากนี ้ปะการังยังมีคณ ุ ค่าในการทําให้ เกิดทรายกับชายหาด โดยเกิดจากการสึกกร่ อนแตกย่อย ของโครงสร้ างหินปูน โดยการกัดกร่อนจากสัตว์ทะเลบางชนิด และโดยคลื่น เป็ นต้ น

83

ปรับปรุงและดัดแปลงจาก Udonsak Seenprachawong. 2003. An Economic Analysis of Coral Reefs in the Andaman Sea of Thailand. Publication. Available Source: www.worldfishcenter.org/Pubs/coral_reef/pdf/section2-5.pdf, 4 September 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


52

ส่วนผสมที่ลงตัวของระบบนิเวศแนวปะการังนีจ้ ึงเป็ นที่อยู่ของแนวปะการังที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ สร้ าง มูลค่าเศรฐกิจในปริ มาณสูงให้ ประเทศ และช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศในระดับที่ใหญ่กว่าให้ คงอยู่อย่างสมดุล ต่อไป 3) ระบบนิ เวศชายหาด ระบบนิเวศชายหาดมี 2 ส่วนใหญ่คือส่วนของชายหาดและป่ าชายหาดซึ่งจําแนกโดยลักษณะภูมิอากาศ สภาพดิน และพันธุ์พืชที่ขึ ้นปกคลุมดิน ป่ าชนิดนี ้ปกคลุมอยู่บริ เวณชายฝั่ งทะเลที่เป็ นดินทรายหรื อหาดทรายเก่าที่ยก ตัวสูงขึ ้น และบริ เวณชายฝั่ งทะเลที่เป็ นหินกระจายอยู่ทวั่ ไปบริ เวณชายหาดของประเทศสลับกับป่ าชายเลน ที่เด่นชัด เช่นบริ เวณจังหวัดชลบุรี ระยอง ประจวบคีรีขนั ธ์ สงขลา และพังงา เป็ นต้ น ลักษณะโครงสร้ างของป่ าแปรผันไปตาม ลักษณะของดินและหิน ที่สําคัญป่ าชนิดนี ้จะต้ องได้ รับความเค็มจากทะเล คุณค่าด้ านเศรษฐกิจและสังคม ชายหาดถื อ ว่ า เป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและแหล่ ง พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจที่ สํ า คั ญ ของทั ง้ คนในท้ องถิ่ น และ นักท่องเที่ยว เนื่ องจากทัศนียภาพที่สวยงามและความสะดวกในการท่องเที่ยว ทําให้ ชายหาดและป่ าชายหาดมี ความสําคัญในด้ านการท่องเที่ยวสูง นอกจากนี ้บริ เวณป่ าชายหาดและชายหาดยังเป็ นที่อยู่ของสัตว์ทะเลหลายชนิดที่ ้ ให้ แก่ชมุ ชนสามารถนําไปแปรรู ป จําเพาะต่อสิ่งแวดล้ อมรู ปแบบนี ้ เช่น หอยหลอด และปู ซึ่งเป็ นทังอาหารและรายได้ ต่างๆ เพื่อส่งขายในบริ เวณใกล้ เคียงได้ ซึ่งเป็ นเศรษฐกิจในระดับครอบครัว การประเมินมูลค่าของป่ าชายหาดจะ ออกมาในด้ านการสันทนาการมากกว่า ดังเช่นผลประโยชน์ทางนันทนาการบริ เวณชายหาดแม่รําพึงมีมลู ค่า 217.19 ล้ านบาทต่อปี 84 และการใช้ ประโยชน์ด้านนันทนาการของอุทยานแห่งชาติแหลมสน จังหวัดระนอง และจังหวัดพังงา มี มูลค่า 6.7 ล้ านบาทต่อปี 85 คุณค่าด้ านสิง่ แวดล้ อม ป่ าชายหาดเป็ นระบบนิเวศที่อยู่ระหว่างทะเลและระบบบนบกแม้ จะมีคณ ุ สมบัติที่เป็ นกันชนได้ น้อยกว่า ระบบนิเวศป่ าชายเลนและแนวปะการังแต่ก็เป็ นตัวกันกระแสคลื ้ ่นได้ ดี และยังเป็ นตัวป้องกันไม่ให้ เกิดการกัดเซาะแนว ฝั่ ง ด้ านในของพื น้ ดิน เช่น ป่ าสนชายหาด เป็ นต้ น เป็ นตัวกลางเชื่ อมระหว่างสองระบบนิ เวศใหญ่ ทํ า ให้ มีความ หลากหลายของสังคมสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันออกไป แม้ ว่าสิ่งมีชีวิตในบริ เวณนี ้จะมีความหลากหลายน้ อยกว่าระบบ นิเวศทางทะเลอื่นๆ เนื่องจากปั จจัยด้ านกายภาพที่ไม่เหมาะต่อการดํารงชีวิตของสัตว์บางชนิดแต่ก็เป็ นระบบนิเวศที่มี ุ ค่าที่สามารถประเมินได้ เช่น ประเมินมูลค่าของความคงอยู่ (Existence Value) ของความ ความสําคัญและมีคณ หลากหลายทางชีวภาพของดอนหอยหลอดจังหวัดสมุทรสาครพบว่ามูลค่าความเต็มใจจ่ายเฉลี่ยเท่ากับ 36 บาทต่อ คนต่อปี 86 4) ระบบนิ เวศแนวหญ้าทะเลและสาหร่ ายทะเล

84

ณัชชา ว่องวัฒนานุกลู . 2547. มูลค่ าผลประโยชน์ ทางนันทนาการบริ เวณชายหาดแม่ รําพึง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 85 โชคชัย มณีนาค, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 76. 86 อมรพันธุ์ กุลปราณีต, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 79.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


53

แนวหญ้ าทะเลในประเทศไทยกระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ 24 จังหวัด มีพื ้นที่รวมทังสิ ้ ้น 150.71 ตาราง กิโลเมตร แบ่งเป็ นแหล่งหญ้ าทะเลฝั่ งอ่าวไทย กระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ 13 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฏร์ ธานี นครศรี ธรรมราช พัทลุง สงขลา ปั ตตานี และนราธิวาส ซึง่ มีพื ้นที่รวม 55.26 ตารางกิโลเมตร แหล่งหญ้ าทะเลฝั่ งอันดามัน กระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ 6 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัด ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ซึง่ มีพื ้นที่รวม 95.44 ตารางกิโลเมตร สภาพความสมบูรณ์ของแนวหญ้ าทะเล ในประเทศไทยทังหมดโดยรวมอยู ้ ใ่ นระดับสมบูรณ์ปานกลาง87 หญ้ าทะเลถือว่าเป็ นพรรณพืชที่มีคณ ุ ค่าสูงและเป็ นตัว สร้ างระบบนิเวศแนวหญ้ าทะเลที่สําคัญ หญ้ าทะเลเป็ นพืชใบเลี ้ยงเดี่ยว หญ้ าทะเลประสบความสําเร็ จในการสร้ าง กลไกปรับตัวให้ สามารถเจริ ญเติบโตได้ ดีในสิ่งแวดล้ อมชายฝั่ งทะเลนํ ้าตื ้น มีการแพร่ กระจายบริ เวณชายฝั่ งทะเลที่มี นํา้ ขึน้ นํ า้ ลง ส่วนสาหร่ ายทะเลจะพบตามพืน้ ท้ องทะเล นับตัง้ แต่ชายฝั่ งเขตนํา้ ขึน้ นํา้ ลงและระดับทะเลลึกลงไป สาหร่ายแต่ละชนิดจะอาศัยอยูเ่ ฉพาะชายฝั่ ง โขดหิน หรื อบริเวณแนวปะการัง หญ้ าทะเลในประเทศไทยมีทงหมด ั้ 7 สกุล 12 ชนิด88 ระบบนิเวศหญ้ าทะเลพบว่าเป็ นแหล่งรวมความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิตทางทะเลที่สําคัญอีกระบบหนึ่งซึ่งจากการศึกษาสัตว์หน้ าดิน และสัตว์ที่ฝังตัวอยู่ในพื ้นดิน บริ เวณแหล่งหญ้ าทะเลในน่านนํ ้าไทย ซึ่งพบอย่างน้ อย 95 ชนิด จาก 62 ครอบครัว และความหลากหลายในแนว สาหร่ายทะเลพบสัตว์นํ ้าเช่น ปลาอย่างน้ อย 67 ชนิด จาก 37 ครอบครัว เป็ นต้ น คุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรหญ้ าทะเลมีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจ และการประมงบริ เวณแนวหญ้ าทะเลซึ่งเป็ นที่อยู่อาศัยของ สัตว์ทะเล ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจหลายชนิด ทําให้ เกิดการประมงระดับพืน้ บ้ านเพื่อเป็ นอาหารและรายได้ ให้ กับ ชาวประมง มีความสําคัญสูงทังต่ ้ อการประมงในท้ องถิ่นและผู้อาศัยในเขตพื ้นที่ โดย ทรนงค์ (2546)89 ได้ ประเมิน มูลค่าความเต็มใจจ่ายเพื่อความคงอยู่ของแหล่งหญ้ าทะเล โดยพบว่ามูลค่าความเต็มใจจ่ายเฉลี่ยของชาวประมงมี มูลค่า 666.77 บาทต่อคนต่อปี มูลค่าความเต็มใจจ่ายเฉลี่ยของผู้ไม่ประกอบอาชีพประมง 655 บาทต่อคนต่อปี และ บุคคลทั่วไปในพืน้ ที่ 545.37 บาทต่อคนต่อปี ซึ่งถื อ ว่าประชาชนในพืน้ ที่บริ เวณเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ ธานี ดังกล่าวยังให้ ความสําคัญในทรัพยากรหญ้ าทะเล คุณค่าทางด้ านสิง่ แวดล้ อม หญ้ าทะเลมีความสําคัญเกี่ยวข้ องกับระบบนิเวศทางทะเล โดยส่วนใหญ่แหล่งหญ้ าทะเลที่พบในประเทศ ไทยมี ค วามสัม พัน ธ์ กับ ป่ าชายเลน มี อ ยู่ห ลายแหล่ง ที่ ห ญ้ า ทะเลขึน้ อยู่กับ แนวปะการั ง ระบบนิ เ วศหญ้ า ทะเลมี ความสําคัญในแง่ของผู้ผลิตเบื ้องต้ นในบริ เวณชายฝั่ ง เป็ นแหล่งวางไข่ แหล่งหลบภัยของสัตว์นํ ้าวัยอ่อน รวมทังเป็ ้ น แหล่งอาหารของสัตว์ทะเลนานาชนิด ได้ แก่ ปลา กุ้ง และปู รวมถึงสัตว์นํ ้าขนาดใหญ่ เช่น เต่าทะเล และพะยูน ก็เข้ า มาหากินในแหล่งหญ้ าทะเลทังฝั ้ ่ งทะเลอันดามัน และฝั่ งอ่าวไทยอีกด้ วย ปลาหลายชนิดที่เป็ นปลาที่อยู่ในแนวปะการัง

87

สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2550. ฐานข้ อมูลแหล่ งหญ้ าทะเลตามชายฝั่ งใน ประเทศไทย. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. 88 สถาบันวิจัยและพัฒนาทรั พยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2549. สรุ ปแหล่ งหญ้ าทะเลในประเทศไทย. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. 89 ทรนงค์ วิทยาเวโรจน์. 2546. การประเมินมูลค่ าการใช้ ประโยชน์ ทรั พยากรประมงและการคงอยู่ของแหล่ งหญ้ าทะเล กรณีศึกษา: เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ ธานี. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


54

บางชนิดพบในบริ เวณป่ าชายเลน แต่มาอาศัยเลี ้ยงตัวในแหล่งหญ้ าทะเล แสดงให้ เห็นถึงความความสัมพันธ์ ของ ระบบทางทะเลทังนิ ้ เวศป่ าชายเลน นิเวศแนวปะการังกับแหล่งหญ้ าทะเล โดยจะขาดแหล่งใดแหล่งหนึง่ มิได้ 5) อื น่ ๆ ความสําคัญของสิ่งมีชีวิตทางทะเลนอกจากในด้ านของระบบนิเวศแล้ วยังมีความสําคัญในด้ านของความ หลากหลายทางทางชีวภาพและพันธุกรรมซึง่ มีคณ ุ ค่าทังทางเศรษฐกิ ้ จ สังคม และสิง่ แวดล้ อมในหลายด้ านดังนี ้ (1) สัตว์ทะเลที่ใกล้ สญ ู พันธุ์ เต่าทะเล (Sea Turtle) เต่าทะเลเป็ นสัตว์เลื ้อยคลานขนาดใหญ่ที่ใกล้ จะสูญพันธุ์ โดยพบอยู่เฉพาะในทะเลเขตร้ อนและเขต อบอุ่น ในน่านนํ ้าไทยปั จจุบนั มักพบได้ ในบริ เวณอุทยานแห่งชาติและพื ้นที่อนุรักษ์ เท่านัน้ มีรายงานไว้ ทงหมด ั้ 5 ชนิด 90 คื อ เต่า ตนุ เต่ า กระ เต่า หญ้ า เต่า หัว ฆ้ อ น และเต่า มะเฟื อง เต่า ทะเลได้ ถูก ระบุเ ป็ นสัต ว์ ป่าคุ้ม ครองตาม พระราชบัญญัติ 2535 ตามอนุสญ ั ญาว่าด้ วยการค้ าระหว่างประเทศซึง่ ชนิดสัตว์ป่าและพืชป่ าที่ใกล้ สญ ู พันธุ์ (CITES) อิศเรศ (2543) ได้ ประเมินเต่าทะเลในประเทศไทยในเขตจังหวัดกรุ งเทพฯ ชลบุรี และสระแก้ ว พบว่ามูลค่าของเต่า ทะเลโดยการที่ประชาชนมีความยินดีที่จะจ่ายเพื่อการอนุรักษ์ เต่าทะเลเท่ากับ 263.13 บาทต่อคนต่อปี หรื อ 8,552 ล้ านบาทต่อปี ซึง่ มีมลู ค่าที่สงู มากและชี ้ให้ เห็นถึงความตระหนักของคนที่มีตอ่ ทรัพยากรทางทะเลที่ใกล้ สญ ู พันธุ์91 พะยูน (Dugong) พะยูนเป็ นสัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนมที่อาศัยกระจายตัวตามชายฝั่ งทะเลเขตร้ อน บริ เวณระดับค่อนข้ างตื ้น ประมาณ 1–22 เมตร จะหากินตามแนวหญ้ าทะเลที่ความลึก 1–3 เมตร และหลบหลีกศัตรูที่ระดับความลึก 2–7 เมตร ปั จจุบนั มีประชากรอยูป่ ระมาณ 200 ตัว ในฝั่ งทะเลอันดามันตังแต่ ้ จงั หวัดระนองถึงสตูล สาเหตุสว่ นใหญ่ที่พะยูนตาย เกิดจากการติดเครื่ องมือประมงโดยบังเอิญ พบว่าประชากรพะยูนในบริ เวณฝั่ งทะเลอันดามันมีประมาณ 150 ตัว พื ้นที่ของประเทศไทยที่พบพะยูนอาศัยมากที่สดุ คือ บริ เวณเกาะมุกและเกาะตะลิบง จังหวัดตรัง ซึง่ จากการสํารวจ เมื่อปี 2543 พบพะยูนอยูป่ ระมาณ 123 ตัวในจังหวัดตรัง92 จากการศึกษาสภาพการดํารงชีวิตของพะยูน พบว่าพะยูนเพศเมียมีช่วงอายุยาวนานถึง 50–55 ปี แต่ สามารถให้ ลกู ได้ เพียง 5–6 ตัว เท่านัน้ นอกจากนี ้พะยูนยังมีความสัมพันธ์กบั ระบบนิเวศชายฝั่ งทะเล โดยพึง่ พาอาศัย หญ้ าทะเลเป็ นอาหาร และพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลที่เหมาะสมและปลอดภัยเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัย หากปั จจัยทังสองได้ ้ รับ ความกระทบกระเทือนจากทางใดทางหนึ่ง ย่อมมีผลกระทบสืบเนื่องในทางลบกับการดํารงชีวิตอยู่ในสภาพธรรมชาติ ของพะยูนเพื่อการอนุรักษ์ พะยูนภายใต้ การดําเนินการในโครงการของกองอุทยานแห่งชาติและกรมป่ าไม้ ได้ กําหนด พื ้นที่บริ เวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้ าไหมเป็ นพื ้นที่ในการอนุรักษ์ พะยูน โดยการจัดให้ มีการรณรงค์ให้ ความรู้ ด้านการ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สร้ างความสัมพันธ์ และความร่ วมมือจากชาวประมงในท้ องถิ่น ประชาชนโดยทัว่ ไป และ

90

สถาบันวิ จัย และพัฒ นาทรั พ ยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2550. ชี ววิ ทยาและการอนุ รั กษ์ เต่ า ทะเลไทย. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. 91 อิศเรศ บุญเดช. 2543. การประเมินเต่ าทะเลในประเทศไทยในเขตกรุ งเทพ ชลบุรี และสระแก้ ว. วิทยานพนธ์ ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 92 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2549. สัตว์ ทะเลหายาก. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กระทรวงทรัพยากรและ สิ่งแวดล้ อม, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


55

หน่วยงานต่างๆ ในภาครัฐและเอกชนเพื่ออนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลในบริเวณที่มีพะยูนอยูอ่ ย่างจริงจัง เช่น ลดการใช้ เครื่ องมือในการจับปลาที่มีผลกระทบต่อปริ มาณหญ้ าทะเลและพะยูน ลดการทําลายนิเวศชายฝั่ งซึ่งเป็ นที่อยู่อาศัย ของพะยูน เป็ นต้ น เพื่อให้ เกิดความรู้และความหวงแหนที่จะรักษาพะยูนไว้ ให้ สามารถดํารงอยูไ่ ด้ ดีตอ่ ไป93 โลมา (Dolphin) โลมาจัดเป็ นสัตว์เลือดอุ่นที่เลี ้ยงลูกด้ วยนมอาศัยอยู่ในทะเล เป็ นสัตว์อีกประเภทหนึ่งที่หายากและมี แนวโน้ มจะสูญพันธุ์ สาเหตุที่ทําให้ จํานวนลดลงเนื่องมาจากการถูกจับโดยตรง แหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งอาหารถูก ทําลาย เนื่องจากมลพิษจากกิจกรรมของมนุษย์และการเสียชีวิตจากเครื่ องมือประมง และเนื่องจากโลมาเป็ นสัตว์ ทะเลที่ มีก ารเคลื่ อ นย้ า ยถิ่ น แหล่ง ที่ อ ยู่ก ว้ า งไกลมาก โลมาจึง เป็ นสัต ว์ นํ า้ ร่ ว มกัน ในภูมิ ภ าคที่ ป ระเทศทั่ว โลกให้ ความสําคัญและจัดให้ เป็ นสัตว์ประเภทคุ้มครองในอนุสญ ั ญาว่าด้ วยการควบคุมการค้ าระหว่างประเทศ ชนิดพันธุ์พืช ป่ าและสัตว์ป่าที่กําลังจะสูญพันธุ์ ทําให้ ปัจจุบนั ประเทศไทย (ปี 2549) พบโลมา 120 ตัว โดยพบบริ เวณอ่าวพังงา ได้ แก่ โลมาปากขวด โลมากระโดด และโลมาหัวบาตรหลังเรี ยบจํานวน 30, 10 และ 30 ตัว ตามลําดับ แล้ วยังพบที่ ุ ค่านอกจากจะเป็ นตัวควบคุมระบบนิเวศเนื่องจากเป็ นผู้บริ โภค อ่าวปะเหลียน จังหวัดตรัง จํานวน 50 ตัว94 โลมามีคณ ระดับสูงแล้ วยังมีมลู ค่าทางการท่องเที่ยวทางทะเลที่สําคัญอีกด้ วย ในอดีตที่ผ่านมามีการล่าจับโลมาและวาฬกันมาก เพื่อใช้ บริ โภคและแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ปั จจุบนั ประชากรโลมาและวาฬ กําลังประสบปั ญหาการคุกคามจาก มนุษย์ ฉลามวาฬ (Whale Shark) ฉลามวาฬเป็ นสัตว์นํ ้าทะเลที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งในปั จจุบนั ไม่สามารถคาดคะเนได้ ว่ามีจํานวนอยู่เท่าใด และโอกาสที่จะได้ พบสัตว์นี ้ก็มีน้อย จึงมีเพียงไม่กี่แหล่งที่จะได้ พบกับฉลามวาฬในท้ องทะเลของประเทศไทย อย่างไร ก็ตามแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ชนิดนี ้คือบริ เวณแนวปะการัง และด้ านนอกทะเลเปิ ด จากการที่นกั ดํานํ ้าสามารถพบ เห็นได้ ทวั่ ไป เนื่องจากปลาฉลามวาฬกินแพลงก์ตอนเป็ นอาหารทําให้ ทกุ ปี นักดํานํ ้าจะนิยมไปท่องเที่ยวในเขตหมู่เกาะ สุรินทร์ และสิมิลนั เพื่อได้ ชื่นชมฉลามวาฬนํามาซึง่ มูลค่าด้ านการท่องเที่ยว แหล่งที่พบฉลามวาฬในประเทศไทย ได้ แก่95 - หิ น ริ เ ซลิว ตัง้ อยู่ใ นทะเลอัน ดามัน ห่ า งจากชายฝั่ ง อํ า เภอคุร ะบุรี จัง หวัด พัง งา ประมาณ 42 กิโลเมตร ทางตะวันออกของหมูเ่ กาะสุรินทร์ ในระดับความลึกเฉลี่ยประมาณ 120 ฟุต - หินแดง ตังอยู ้ ่ทางฝั่ งทะเลอันดามันอยู่ทางตะวันตกของเกาะรอก ห่างจากฝั่ งอําเภอสิเกา จังหวัด ตรัง ประมาณ 62 กิโลเมตร ความลึกเฉลี่ย 200 ฟุต - หินแพ ตัง้ อยู่ในอ่าวไทยที่พิกัด 10 องศา 30ลิปดาเหนื อ 99 องศา 40 ลิปดาตะวันออกในเขต ตําบลสะพลี อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ห่างจากหาดทุง่ วัวแล่น ประมาร 17 กิโลเมตร ความลึกเฉลี่ย 80 ฟุต - กองหินด้ านนอกเกาะตาชัย ตังอยู ้ ท่ างด้ านทิศตะวันตกของเกาะตาชัย จังหวัดพังงา - กองหินคริสต์มาสพ็อยต์ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบางู จังหวัดพังงา 93

กรมป่ าไม้ . 2550. พะยูนคืออะไร. ข้ อมูลวิชาการ. แหล่งที่มา: http://www.forest.go.th/Research/Knowledge/payoon.html, 10 สิงหาคม 2550. 94 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 92. 95 นิตยสารสารคดี. มปป. ฉลามวาฬ ยักษ์ ใหญ่ ใจดี. นิตยสารสารคดี (105) : 86-104. และ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. 2550. ดํานํ ้าที่อนั ดามันใต้ (หมูเ่ กาะสิมิลนั ). กิจกรรมที่น่าสนใจ. แหล่งที่มา: http://www.tat.or.th, 10 สิงหาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


56

- กองหินแฟนตาซี ที่หมูเ่ กาะสิมิลนั จังหวัดพังงา - เกาะโลชิน จังหวัดนราธิวาส จระเข้ นํ ้าเค็ม (Saltwater Crocodile) จระเข้ นํ ้าเค็มพบได้ ยากมากที่สดุ ในประเทศไทยพบที่อทุ ยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เขต รักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเขาบรรทัด จังหวัดพัทลุง และเขตห้ ามล่าสัตว์ป่าพรุ จังหวัดนราธิวาส แต่ละแห่งพบเพียง 1-2 ตัว เท่านัน้ ตะโขงหรื อจระเข้ ปากกระทุงเหว (False Gravial) ได้ รับการคุ้มครองเป็ นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 และ อนุสญ ั ญา CITES (2) เทคโนโลยีชีวภาพจากทรัพยากรทางทะเล เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเลในปั จจุบนั สามารถแบ่งได้ เป็ น 3 กลุ่ม เทคโนโลยีชีวภาพการเพาะเลี ้ยง เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้ อม และผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล ซึ่งเข้ ามามีประโยชน์ทางเศรฐกิจทังโดยอ้ ้ อม เช่น เพื่ อ การศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม การเพาะเลี ย้ ง บํ า บั ด สิ่ ง แวดล้ อม และปั จจุ บั น ประเทศไทยได้ ส่ ง เสริ ม งานด้ าน เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเลเพื่อการผลิตทางการค้ าเพิ่มมากขึน้ เพื่อผลประโยชน์ โดยตรงจากเทคโนโลยี เช่น นํ า สาหร่ายทะเลมาสกัดให้ ได้ เอนไซม์เพื่อการค้ า นอกจากนี ้ยังนําจุลนิ ทรี ย์ ฟองนํ ้า เพรี ยงหัวหอม ปลาปั กเป้า และฉลาม มาใช้ เพื่อปรับปรุ งทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มปริ มาณ ใช้ ในด้ านการแพทย์และสาธารณสุขซึ่งกําลังขยายตัวอย่าง รวดเร็ ว นอกจากนี ้ยังนํามาเพื่อผลิตเป็ นส่วนผสมในเครื่ องสําอางได้ เช่น ทําครี มทาหน้ าป้องกันแสง อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังอยูใ่ นระดับพัฒนาผลผลิตจากทรัพยากรเหล่านี ้ และจะเพิ่มมูลค่าทางการค้ าต่อไป สถานการณ์ และปั ญหาในปั จจุบัน เนื่องจากการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลในจํานวนมาก ต่อเนื่อง และขาดการจัดการที่ดี ทําให้ ปั จจุบนั สถานการณ์และปั ญหาการใช้ ประโยชน์ของด้ านความหลากหลายของสิง่ มีชีวิตในทะเลไทยทวีความรุนแรงขึ ้น ในทุกด้ านดังนี ้ 1) ระบบนิ เวศป่ าชายเลน ป่ าชายเลนของประเทศไทยได้ ถกู ทําลายไปนับเป็ นเนื ้อที่จํานวนมาก เพื่อใช้ ที่ดินในกิจการเพาะเลี ้ยงสัตว์ นํ ้า เหมืองแร่ โรงงานอุตสาหกรรม ท่าเทียบเรื อ ถนน และชุมชน ก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศชายฝั่ งทะเล และประชาชนที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่ งทะเล ซึ่งป่ าชายเลนที่เหลือก็อยู่ในสภาพทรุ ดโทรมเป็ นส่วนใหญ่เนื่องจากการ พัฒนาที่เกิดขึ ้นในบริ เวณข้ างเคียง ในอดีตป่ าชายเลนของประเทศไทยถูกโค่นตัดฟั นไปกว่าล้ านไร่ เพื่อการพัฒนา ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทํานากุ้ง ส่งผลให้ ระบบนิเวศป่ าชายเลนต้ องเสื่อมโทรมจนใกล้ จะถึงจุดวิกฤติ ปั จจุบนั ทุกฝ่ ายทังภาครั ้ ฐ เอกชน และประชาชนทัง้ ที่เคยและไม่เคยได้ ใช้ ประโยชน์จากป่ า ได้ ร่วมกันอนุรักษ์ และคุ้มครอง ทรัพยากรป่ าชายเลน โดยได้ เริ่มดําเนินการปลูกป่ าชายเลนเพิ่มในปี 2543 ทําให้ จํานวนป่ าชายเลนในปี 2547 เพิ่มขึ ้น จากปี 2535 ถึง 952.64 ตารางกิโลเมตร อย่างไรก็ตามแม้ จํานวนป่ าชายเลนที่เพิ่มมากขึ ้นเป็ นตัวบ่งชี ้ทิศทางการอนุ รักษร์ ที่ดีขึ ้น แต่การขาดการจัดการและประสานงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องอย่างจริ งจังทําให้ ปัญหาการรุ กลํ ้าป่ า ชายเลนยังคงเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องจนบางครัง้ เกิดความขัดแย้ งกันในการใช้ พื ้นที่ป่าชายเลน เช่น ปั ญหาการรุ กพื ้นที่ เพื่อการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าและเป็ นที่อยู่อาศัย รวมถึงการถูกรบกวนเนื่องจากปั ญหาการท่องเที่ยว ทังนี ้ ม้ ิใช่เพียง กิจกรรมของมนุษย์เพียงอย่างเดียวที่เป็ นสาเหตุทําให้ ที่ป่าชายเลนลดลงหรื อมีสภาพเสื่อมโทรม ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ ้น อย่างไม่คาดหมายก็มีผลต่อการเสื่อมโทรมและสูญเสียป่ าชายเลนด้ วยเช่นกัน เช่นกรณีภยั ธรรมชาติจากคลื่นยักษ์ สึ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


57

นามิ ทําให้ ป่าชายเลนได้ รับความเสียหายไปประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร มีความเสียหายอย่างรุ นแรงประมาณ 0.8 ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นค่าเสียหายประมาณ 20 ล้ านบาท96 2) ระบบนิ เวศแนวปะการัง สถานการณ์ ของแนวปะการังเมืองไทยในปั จจุบนั มีแนวโน้ มในทางที่ลดลงแตกต่างจากแนวป่ าชายเลน เนื่องจากหลายสาเหตุที่ก่อให้ เกิดแนวปะการังเสื่อมโทรมทังที ้ ่เกิดขึ ้นเองทางตามธรรมชาติและที่สําคัญคือมนุษย์เป็ น ตัวการที่ทําให้ เกิดสภาวะเสื่อมโทรมจากกิจกรรมรบกวนและทําลายทุกรูปแบบ สภาพความเสื่อมโทรมที่สงั เกตเห็นได้ อย่างเด่นชัดตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั ในแต่ละพื ้นที่แตกต่างกัน พอที่จะสรุปได้ ดงั นี ้ การทําลายโดยธรรมชาติ เช่นกรณี พายุพัดทําลายในปี 2529, 2532 และ 2540 ผลกระทบคือการถูก ทําลายของแนวปะการังจากภัยธรรมชาติที่ป้องกันไม่ได้ และกรณี การระบาดของดาวมงกุฎหนามในช่วงปี 2527้ ปะการังฟอกขาวในปี 2529 ก็เป็ นอีกปั ญหาหนึ่งที่ก่อให้ เกิดการเสียหายของแนวปะการัง นอกจากนันปรากฏการณ์ 2534, 2538 และ 2541 โดยมีเหตุจากการที่อณ ุ หภูมินํ ้าทะเลเพิ่มสูงผิดปกติติดต่อยาวนานในช่วงฤดูแล้ ง ทําให้ แนว ปะการังในหลายพื ้นที่ได้ รับผลกระทบ แต่พบว่าปะการังที่ฟอกขาวส่วนใหญ่สามารถฟื น้ ตัวได้ แม้ แนวปะการังจะไม่ สมบรูณ์ดงั เดิม97 ส่วนการทําลายเนื่องจากกระทําของมนุษย์ที่สง่ ผลร้ ายแรงที่สดุ คือ ผลกระทบจากการทําการประมงที่ผิดวิธี จะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลในระยะยาว ได้ แก่ การระเบิดปลา ส่งผลให้ ปะการังหักพังแหลกสลายก็เป็ นการ ทําลายปะการังอย่างรุ นแรง การประมงเรื ออวนรุ นและเรื ออวนลากที่ลกั ลอบเข้ ามาทําการประมงในเขต 3 กิโลเมตร ซึ่งเป็ นแหล่งปะการังที่เพาะเลี ้ยงสัตว์นํา้ วัยอ่อนซึ่งไม่เพียงแต่เป็ นการทําลายปะการังอย่างเดียวเท่านัน้ ยังเป็ นการ ทําลายระบบนิเวศทางทะเลอีกด้ วย ในส่วนที่นํ ้าตื ้นมักเสียหายจากการที่ชาวบ้ านเดินเหยียบยํ่าและพลิกปะการังเพื่อ หาสัตว์นํา้ นอกจากนีก้ ารใช้ สารเคมีเบื่อปลา ได้ แก่ สารไซยาไนด์จะทําให้ สารเคมีที่ตกค้ างทําลายปะการังและ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ จนตายหมด ผลจากตะกอนซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์อีกอย่าง ซึ่งเห็นเด่นชัดตามแหล่งที่อยู่ใกล้ ปากแม่นํ ้าหรื อตามเกาะที่มีป่าชายเลนขนาดใหญ่ รวมทังพื ้ ้นที่ท่ีอยู่ใกล้ แผ่นดินใหญ่ที่มีการพัฒนาชายฝั่ งมากตาม จังหวัดต่างๆ ทังฝั ้ ่ งทะเลอันดามันและอ่าวไทย นอกจากนี ้กิจกรรมการทําเหมืองแร่ ในทะเลในอดีต โดยพื ้นที่ที่ได้ รับ ความเสียหายจากการขุดแร่ ในทะเลคือ บริ เวณบ้ านนํา้ เค็ม อําเภอท้ ายเหมือง จังหวัดพังงา เนื่องจากเป็ นแหล่ง สัมปทานเหมืองแร่ ในทะเล กิจกรรมการที่สําคัญและมีผลต่อความเสื่อมโทรมต่อระบบแนวปะการังจากกิจกรรมการ ท่องเที่ยว ซึง่ ส่งผลกระทบอย่างสูงและขยายวงกว้ างในปั จจุบนั ได้ แก่ การทอดสมอเรื อ การถูกนักท่องเที่ยวยืนเหยียบ ยํ่าเมื่อลงดํานํ ้า ซึง่ บริ เวณที่มีนกั ท่องเที่ยวเยี่ยมชมแนวปะการังเพิ่มมากขึ ้น แนวปะการังก็มีสภาพเสื่อมโทรมลงอย่าง เห็นได้ ชดั นอกจากนี ้ยังตามมาด้ วยของเสียที่นกั ท่องเที่ยวทิ ้งไว้ ซงึ่ มีปริมาณมากขึ ้นตามปริมาณของนักท่องเที่ยว 3) ระบบนิเวศชายหาด ระบบนิเวศชายหาดและป่ าชายหาดถือว่าอยู่ในขันวิ ้ ฤกตเพราะกําลังจะหมดไป เนื่องจากป่ าชายหาดคือ บริ เวณปกคลุมเหนือหาดทรายและฝั่ งทะเลที่สวยงามได้ ถกู ทําลายเพื่อยึดครองที่ดินในการทําธุรกิจการท่องเที่ยว มี

96

สนิท อักษรแก้ ว. 2005. ป่ าชายเลน...ป้อมปราการธรรมชาติ ชายฝั่ งทะเล “ป่ าชายเลนช่ วยต้ านภัยคลื่นสึนามิ”. วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน 30 (2): 311-315. 97 สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทะเล ชายฝั่ งทะเล และป่ าชายเลน. 2550. สาเหตุที่ก่อให้ เกิดแนวปะการังเสื่อม. สํานักงาน ปะการั ง.แหล่งที่มา: www.pmbc.go.th, 29 สิงหาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


58

เหลือให้ เห็นเป็ นสภาพที่เป็ นสมบูรณ์ อยู่น้อย อาจพบได้ ในอุทยานแห่งชาติทางทะเล การดูแลรักษามีน้อยเนื่องจาก ผลประโยชน์ในด้ านความคุ้มทุนระหว่างการทําธุรกิจกับการอนุรักษ์ ไว้ แตกต่างกัน เช่น กรณีการทําลายป่ าชายหาดที่ ยิ่งใหญ่คือ เมื่อครัง้ ที่มีการถ่ายภาพยนตร์ เรื่ อง "เดอะบีช" ที่อา่ วมาหยา เกาะพีพีเล จังหวัดกระบี่ ซึง่ มีการปรับแต่งหาด ส่งผลให้ ระบบนิเวศบริ เวณชายหาดของอ่าวมาหยาเสียไป และกรณีของการถล่มจากคลื่นยักษ์ สนึ ามิก็ถือได้ ว่าเป็ นอีก ภัยพิบตั ิหนึง่ ที่สง่ ผลต่อสถานภาพของระบบนิเวศชายหาดนอกจากนี ้ในส่วนผืนป่ าด้ านบนหาดยังเป็ นที่ให้ ผลผลิตทาง เนื ้อไม้ คอ่ นข้ างตํ่าไม่เหมือนป่ าชายเลน จึงมีประโยชน์ในทางด้ านการพักผ่อนหย่อนใจมากกว่า ดังนันควรมี ้ การศึกษา โดยเร่งด่วน เพื่อการอนุรักษ์ ระบบนิเวศนี ้ไว้ 4) ระบบนิเวศหญ้ าทะเลและสาหร่ายทะเล ปั จจุบนั หลายองค์กรให้ ความสนใจในการจัดการและการอนุรักษ์ ทรัพยากรปะการัง และป่ าชายเลนมากขึ ้น แต่ยงั ให้ ความสําคัญต่อแหล่งหญ้ าทะเลน้ อย อาจเป็ นเพราะว่าผลประโยชน์จากทรัพยากรหญ้ าทะเลยังมีชนิด จํานวน และปริ มาณน้ อยกว่าทรัพยากรที่กล่าวมาข้ างต้ น ความเสื่อมโทรมของแหล่งหญ้ าทะเลซึ่งมาจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การทําการประมง จะทําลายพื ้นที่หญ้ าทะเลมากขึ ้น เนื่องจากไม่มีระบบการจัดการที่เหมาะสม และไม่มีความ ชัดเจน ซึ่งในปั จจุบันมีแผนการอนุรักษ์ หญ้ าทะเลเกิดขึน้ โดยองค์กรเอกชน กลุ่มชาวบ้ านในพืน้ ที่ และหน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้ องได้ ร่วมมือกันเพื่อปกป้อง ดูแล รักษาและอนุรักษ์ ทรัพยากรหญ้ าทะเล จากกิจกรรมการใช้ ทะเล ต่างๆ เช่น จากเครื่ องมือประมงชนิดอวนลากและอวนรุ นที่อาจจะทําลายหญ้ าทะเลได้ โดยตรง แต่การเสื่อมโทรมของ หญ้ าทะเลบางแห่งมีสาเหตุเกิดจากตะกอนในทะเล เนื่องจากชีววิทยาของแหล่งหญ้ าทะเลจะขึ ้นอยู่ใกล้ ฝั่ง จึงยังไม่ สามารถที่จะหามาตรการเพื่อป้องกันผลกระทบจากตะกอนได้ จึงเป็ นเรื่ องที่จะต้ องทําการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเป็ น แหล่งข้ อมูลที่จะนําไปวางแผนในอนาคต 5) อื่นๆ สัตว์ทะเลที่ใกล้ สญ ู พันธุ์ สัตว์ทะเลหลายชนิด เช่น เต่าทะเล พะยูน ปลาโลมาและฉลาม รวมถึงชนิดอื่นๆ ต่างก็เป็ นสัตว์ทะเลที่หา ยากและใกล้ สญ ู พันธุ์ซงึ่ ทัว่ โลกกําลังให้ ความสําคัญและจัดให้ เป็ นสัตว์ค้ มุ ครอง โดยลงทะเบียนในอนุสญ ั ญา CITES กําลังประสบปั ญหาการคุกคามจากมนุษย์เนื่องจากถูกล่าและถูกฆ่าเพื่อเป็ นอาหาร เพราะความเชื่อ เพื่อแปรรูปเป็ น ผลิตภัณฑ์ หรื อโดยไม่ได้ ตงใจ ั ้ โดยการประมงในรู บแบบต่างๆ เนื่องจากการประมงขาดมาตรการการควบคุมที่ดีพอ แม้ ว่าปั จจุบนั หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องได้ ออกประกาศห้ ามทําการประมงอวนลากใกล้ กว่า 3 กิโลเมตร ตลอดแนวชายฝั่ ง เพื่อช่วยอนุรักษ์ ที่อยู่อาศัย แหล่งวางไข่ และแหล่งอนุบาลของสัตว์ทะเลที่หายาก แต่ภัยคุกคามที่จะส่งผลต่อสัตว์ ทะเลใกล้ สญ ู พันธุ์อีกอย่างคือ ธุรกิจการท่องเที่ยวที่มีปริ มาณสูงขึน้ จนกลายเป็ นสิ่งที่อนั ตรายต่อเต่าทะเลและสัตว์ ชนิดอื่นอย่างมาก เนื่องจากเป็ นการทําลายแหล่งอาศัย แหล่งแพร่พนั ธุ์ จากการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเกินขอบเขต รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดและระบบนิเวศ เช่น การสร้ างท่าเรื อ และทําเขื่อนกันคลื่น เป็ นต้ น เทคโนโลยีชีวภาพจากทรัพยากรทางทะเล ยุคสมัยนี ้ถือว่าเป็ นยุคของเทคโนโลยีชีวภาพเพราะถูกนําเข้ ามาใช้ อย่างหลากหลายทังเพื ้ ่อการเพาะเลี ้ยง เพื่อสิง่ แวดล้ อม การอนุรักษ์ และเพื่อขบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรม สิง่ ที่จะตามมาจากการใช้ เทคโนโลยีคือ การ ช่วงชิงด้ านสิทธิในการครอบครอง และการแข่งขันเพื่อผลประโยชน์ นอกจากนี ้ยังมีการนําสิ่งมีชีวิตทางทะเลออกนอก ประเทศซึง่ ไม่ใช้ เพื่อการค้ าขายเพียงอย่างเดียวแต่อาจเพื่อการศึกษา วิจยั และส่งเสริ มเทคโนโลยีในประเทศที่พฒ ั นา แล้ วพยายามที่ จ ะนํ า ความรู้ ความสามารถมาเป็ นข้ อต่อรองในการเข้ า ถึง แหล่ง ทรั พยากรทางชี ว ภาพ เนื่ อ งจาก

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


59

กฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญาและการสร้ างกฏเกณฑ์อื่นมากีดกัน นอกจากปั ญหาดังกล่าวแล้ ว การนําเทคโนโลยีมา ใช้ แล้ วยังไม่มีขบวนการควบคุมการผลกระทบที่จะตามมาอย่างจริ งจังทําให้ มีทงสิ ั ้ ง่ มีชีวิตตามธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตที่ สร้ างขึ ้นมาบางส่วนเข้ าสูร่ ะบบของสิง่ แวดล้ อมแม้ วา่ จะมีการศึกษาแต่ยงั ไม่สามารถบอกถึงผลกระทบระยะยาวได้ 3.1.2 ทรั พยากรไม่ มีชีวติ ้ ้เพราะทะเลมี ทะเลเป็ นแหล่งผลิตแหล่งใหญ่ที่ผลผลิตถูกนํามาใช้ ประโยชน์ในหลายด้ านอย่างต่อเนื่อง ทังนี ทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์ไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากรมีชีวิต และทรัพยากรไม่มีชีวิต ในส่วนของทรัพยากรมีชีวิตคนทัว่ ไปคง มีความคุ้นเคยกันดี และเป็ นที่ร้ ูกนั อย่างกว้ างขวางว่ามีการนํามาใช้ อย่างไม่จํากัด แต่สําหรับทรัพยากรไม่มีชีวิตในท้ อง ทะเลนัน้ ปั จจุบนั ประเทศไทยยังมีความรู้ ในเรื่ องนีน้ ้ อย จําเป็ นต้ องมีการศึกษาวิจัยกันอีกมาก ทรัพยากรไม่มีชีวิต สามารถแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท98 ได้ แก่ 1) ทรัพยากรจากนํ ้าทะเล ได้ แก่ การทําเกลือ การกลัน่ นํ ้าทะเลให้ เป็ นนํ ้าจืด และการสกัดสารเคมีจากนํ ้าทะเล 2) ทรัพยากรบริ เวณพื ้นดินท้ องทะเล ได้ แก่ กรวด ทราย แร่ ธาตุบางชนิด (ดีบุก เพชร) 3) ทรัพยากรใต้ ผิวดินพื ้นท้ องทะเล: นํ ้ามันปิ โตรเลียม ก๊ าซธรรมชาติ และ 4) ทรัพยากรในทะเลลึก: แร่ ฟอสเฟต (Phosphorite Nodules) 3.1.2.1 ทรัพยากรจากนํ ้าทะเล ได้ แก่ การทําเกลือ และการสกัดนํ ้าทะเลให้ เป็ นนํ ้าจืด ความสําคัญของทรั พยากรจากนํ้าทะเล ทะเลของประเทศไทยมีเนื ้อที่ 350,000 ตารางกิโลเมตร99 ครอบคลุมพื ้นที่ 23 จังหวัด ตามแนวชายฝั่ งที่ยาว ถึง 2,800 กิโลเมตร ทังฝั ้ ่ งอ่าวไทยและฝั่ งอันดามัน100 ประเทศไทยได้ มีการนํานํา้ ทะเลมาใช้ ประโยชน์ เช่น การทํา เกลือ โดยใช้ แสงแดดแผดเผานํ ้าทะเลจนระเหยหมด101 โดยประเทศไทยสามารถผลิตได้ ถึง 0.6-0.8 ล้ านตันต่อปี มี พื ้นที่ผลิตรวมทังสิ ้ ้น 135,578 ไร่ โดยจังหวัดสมุทรสาครเป็ นแหล่งทํานาเกลือที่ใหญ่ที่สดุ ของประเทศมีขนาดพื ้นที่ 102 ั้ โภคและอุตสาหกรรม ดังมีรายงานว่าคนไทยมีการบริ โภคเกลือ 73,509 ไร่ ซึ่งเกลือที่ผลิตได้ ถกู นําไปใช้ ทงการบริ ประมาณ 27 กิโลกรัมต่อคนต่อปี เป็ นการบริ โภคโดยการกิน (รวมอุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์) ประมาณ 7.5 กิโลกรัมต่อคนต่อปี หรื อ 28 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนอีก 19.5 กิโลกรัมต่อคนต่อปี เป็ นการบริ โภคผ่านอุตสาหกรรม103 และ เกลือยังสามารถนําไปใช้ ประโยชน์ ในทางอุตสาหกรรม เช่น โรงงานผลิตคลอรี น โรงงานผลิตโซดาไฟและโซเดียม คาร์ บอเนต เพื่อใช้ ในอุตสาหกรรมแก้ ว ใยสังเคราะห์ สบู่ ผงซักฟอก โรงงานทํากระจก กระเบื ้องเคลือบ เป็ นต้ น ซึ่งมี ปริมาณการใช้ 1.1-1.2 ล้ านตันต่อปี คิดเป็ น 60 เปอร์ เซ็นต์ของเกลือที่ผลิตได้ ภายในประเทศ

98

ศรัณย์ เพ็ชร์ พิรุณ. 2549. สมุทรกรณี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. ถนอม เจริ ญลาภ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 33. 100 ส่วนจัดการที่ดินชายฝั่ ง. 2550. ข้ อมูลพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลและพื ้นที่ชายฝั่ ง. ข้ อมูลชายทะเลและชายฝั่ งทะเล. แหล่งที่มา: http://www.dmcr.go.th/DCLM/download.php#, 29 สิงหาคม 2550. 101 ศรัณย์ เพ็ชร์ พิรุณ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 98. 102 ส่วนจัดการที่ดิน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. สรุ ปการใช้ ประโยชน์ ท่ ีดินทัง้ ประเทศระหว่ างปี 2543 และ 2547. แหล่งที่มา: http://www.dmcr.go.th/DCLM/Main/update/UsingLandNorthAowthai43and47.xls, 2 กรกฎาคม 2550. 103 สังคม ชัยปราการ. 2548. ข้ อเสนอการจัดการเกลือโปแตซในภาคอีสาน. จดหมายข่าวชุมชนคนฮักถิ่น 1(6) สิงหาคม 2548. 99

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


60

นอกจากนี น้ ํ า้ ทะเลยัง มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ ใ นด้ า นการสกัด นํ า้ ทะเลให้ เ ป็ นนํ า้ จื ด โดยประเทศไทยได้ นํ า เทคโนโลยีนี ้มาผลิตนํ ้าประปาด้ วยวิธีการรี เวิร์สออสโมซิสหรื ออาร์ โอ (RO) ในพื ้นที่เกาะที่ไม่มีแหล่งนํ ้าจืดสําหรับ อุปโภคและบริ โภคซึง่ ได้ ดําเนินการไปแล้ วในพื ้นที่อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ ธานี เกาะล้ าน และ อ. เกาะสีชงั จ. ชลบุรี โดยมีกําลังการผลิตรวมกัน 3 เกาะประมาณ 10,000-20,000 ลูกบากศ์เมตรต่อวัน104 ต้ นทุนการผลิตนํ ้าทะเล เป็ นนํ ้าจืด 40-50 บาทต่อลูกบากศ์เมตร มีราคาขายนํ ้าอยู่ที่ 44-45 บาทต่อลูกบากศ์เมตร ซึ่งคํานวณกําไรประมาณ ้ ้นที่ขาด 10เปอร์ เซ็นต์105 โดยในอนาคตจะขยายระบบไปยังในแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญของประเทศเพิ่มเติม รวมทังในพื แคลนนํ า้ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมด้ วย ซึ่งภาคอุตสาหกรรมมีการปล่อยนํา้ ทิง้ ออกมาเป็ นจํ านวนมาก นํ า้ เหล่านันสามารถใช้ ้ กรรมวิธี RO สกัดเป็ นนํ ้าบริ สทุ ธิ์ได้ เช่นเดียวกัน โดยการใช้ นํ ้าทิ ้งจากโรงงานมาสกัด และยังมีผลดี ในแง่ใช้ แรงดันในการสกัดน้ อยกว่า ทําให้ ต้นทุนการผลิตตํ่ากว่า106 สถานการณ์ และปั ญหาของทรั พยากรจากนํ้าทะเล 1) การทํานาเกลือ การใช้ ประโยชน์ที่ดินบริ เวณชายฝั่ งปี 2547107 พบจังหวัดที่มีการทํานาเกลือ ได้ แก่ ชลบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี และปั ตตานี โดยมีพื ้นที่รวมทังสิ ้ ้น 135,578 ไร่ คิดเป็ น 1.28 เปอร์ เซ็นต์ของพื ้นที่ทําการเกษตร บริ เวณชายฝั่ ง โดยจังหวัดสมุทรสาครเป็ นแหล่งทํานาเกลือที่ใหญ่ที่สดุ ของประเทศมีขนาดพื ้นที่ 73,509 ไร่ โดยช่วง ฤดูทํานาเกลือ คือ ตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม108 แต่ในจังหวัดปั ตตานีจะมีการผลิต 2 รอบในหนึ่งปี คือ ช่วงเดือนมกราคม-เมษายน และเดือนมิถนุ ายน-กันยายน109 การผลิตและใช้ เกลือภายในประเทศมีอตั ราเฉลี่ยประมาณ 1.8-2.0 ล้ านตันต่อปี ในจํานวนนี ้มีเกลือสมุทร อยู่ประมาณ 0.6-0.8 ล้ านตัน คิดเป็ นมูลค่า 555.6 ล้ านบาท นอกนันเป็ ้ นเกลือสินเธาว์จากผู้ผลิตรายย่อยในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 0.4-0.5 ล้ านตัน และเกลือจากการทําเหมืองละลายแร่เกลือหินของบริ ษัทเกลือพิมายจํากัด 0.81.0 ล้ านตัน110 โดยราคาเกลือทะเลที่เกษตรกรขายได้ เดือนพฤศจิกายน 2548 เฉลี่ยตันละ 694.50 บาท111 และสําหรับ ราคาเกลือจากกลุม่ แม่บ้านในพื ้นที่ทํานาเกลือ โดยนําเกลือมาโม่ให้ ละเอียด ผสมไอโอดีนด้ วยเครื่ องจักร และบรรจุถงุ รอจําหน่ายมีราคาขายอยูท่ ี่ 20 บาทต่อ 6 กิโลกรัม112

104

หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ. 2550. “อีสต์ วอเตอร์ ” จ่ อทุนพันล้ าน พัฒนาแหล่ งนํา้ -ผลิตประปา. ฉบับที่ 2212 (26-28 เม.ย. 2550). แหล่งที่มา: http://www.thannews.th.com/detialNews.php?id=T0621122&issue=2212, 20 มิถนุ ายน 2550. 105 ผู้จดั การรายวัน. 2548. ธุรกิจ “นํา้ ประปาทะเล” บูมเล็งขยายสู่แหล่ งท่ องเที่ยว. หนังสือพิมพ์ผ้ จู ดั การรายวัน ฉบับวันที่ 26 กันยายน 2548. แหล่งที่มา: http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=40066, 20 มิถนุ ายน 2550. 106 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 105. 107 ส่วนจัดการที่ดิน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, อ้ างแล้ วเชิงอรรคที่ 102. 108 ทีมงานไทยเอ็นจีโอ. 2550. เส้ นทางเกลือ. ข่ าวและบทความ. แหล่งที่มา: http://www.thaingo.org, 18 มิถนุ ายน 2550. 109 สันสกฤต มุนีโมไนย.2550.ทําพรื อ้ กับอ่าวปั ตตานี. บทความ. แหล่งที่มา: http://www.ldinet.org, 2 กรกฎาคม 2550. 110 ทีมงานไทยเอ็นจีโอ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 108. 111 กรมการค้ าภายใน. 2550. กลุม่ สินค้ าที่ผลิตเพื่อส่งออก. สถานการณ์ สินค้ าเกษตร. แหล่งที่มา: http://www.dit.go.th/agriculture/product/trend/trend_1248.html#c, 18 มิถนุ ายน 2550. 112 ไทยตําบล ดอท คอม. 2550. ข้ อมูลรายละเอียดสินค้ าของกลุม่ แม่บ้านวังนํ ้าวน จังหวัดสมุทรสาคร. รายละเอียดสินค้ า. แหล่งที่มา : http://www.thaitambon.com/tambon/tsmepdesc.asp?Prod=011011165738&ID=740105&SME=0110111613, 5 กรกฎาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


61

การใช้ เกลือภายในประเทศนอกจากเพื่อการบริ โภค แล้ วยังใช้ ในงานอุตสาหกรรม Chlor-Alkaline คิดเป็ น 0.5 ล้ านตันต่อปี และใช้ ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น ห้ องเย็น ฟอกย้ อม สี โซดาไฟ ฟอกหนัง ฯลฯ อีก 0.6-0.7 ล้ านตันต่อ ปี ใช้ ในการบริโภค 0.15-0.25 ล้ านตันต่อปี 113 ผลผลิตเกลือจากการประยุกต์ใช้ ความรู้ ใหม่ๆ 114 ซึ่งโดยปกตินาเกลือ 1 ไร่ ให้ ผลผลิต 7-8 ครัง้ ต่อปี โดย แต่ละครัง้ ได้ เกลือประมาณ 10 เกวียน ราคาเกวียนละ 2,000-3,000 บาท และขายดอกเกลือได้ ในราคาถังละ 45 บาท ต่อ 15 กิโลกรัม แต่ถ้านําไปทําเกลือสปา 50 กรัม ขายได้ 50 บาท หรื อเกลือจืด ปกติขายเกวียนละ 700-800 บาท แต่ ถ้ านําเอาเกลือจืด 1 กิโลกรัม ทําเป็ นแป้งเกลือจืดจะได้ แป้ง 8 ขีด แป้งเกลือจืดธรรมชาติ 50 กรัม ขายได้ 25 บาท แต่ ถ้ าผสมขมิ ้นจะขายได้ 35 บาท นอกจากการทํานาเกลือเพื่อการขายเกลือทะเลแล้ ว ชาวนาเกลือยังมีรายได้ จากการขายนํ ้าเค็ม การขายขี ้ แดดนาเกลือ โดยนํ ้าเค็มจากนาเกลือจะขายให้ เกษตรกรผู้เลี ้ยงนากุ้ง ซึ่งเป็ นที่นิยมกว่าการใช้ นํ ้าเค็มจากทะเล เนื่อง ด้ วยค่าความเค็มที่สงู มากของนํ ้านาเกลือ ทําให้ เชื ้อโรคตายโดยเฉพาะที่ค่าความเค็ม 200-250 พีพีที จึงสะอาดกว่า นํ ้าทะเล อีกทังมี ้ ต้นทุนที่ถกู กว่าโดยราคาที่ความเค็ม 100 พีพีที ราคา 600 บาท115 แต่ราคาจะแตกต่างกันไปในแต่ละ พื ้นที่เนื่องจากค่าขนส่ง อีกทังยั ้ งขึ ้นอยู่กบั ปั จจัยจากธรรมชาติ ถ้ าฝนตกบ่อย ราคานํ ้าเค็มจะสูงขึ ้น หรื อในช่วงหมด หน้ าการทํานาเกลือ และสําหรับขี ้แดดนาเกลือ116 ที่สามารถนําไปผสมดินปลูกต้ นไม้ ทําเป็ นปุ๋ยสําหรับไม้ ผลและเป็ น อาหารเสริ มเลี ้ยงสัตว์ปีก เนื่องจากมีธาตุอาหารฟอสฟอรัส (P2O5) และโปแตสเซียม (K2O) ในปริ มาณ 0.13 และ 2.0 เปอร์ เซ็นต์w/w ตามลําดับ โดยพื ้นที่ทํานาเกลือ 3,833 ไร่ มีปริมาณขี ้แดดนาเกลือเฉลี่ยไร่ละ 600-1,000 กิโลกรัม รวม ประมาณ 1,800-2,000 ตันต่อปี 117 มีราคาขายที่กิโลกรัมละ 1 บาท และหากนําไปบดก่อนจําหน่ายสามารถขายได้ กิโลกรัมละ 2-3 บาท118 ปั จจุบันอาชี พการทํานาเกลือกํ าลังจะสูญหายไป ด้ วยสาเหตุหลายประการ ได้ แ ก่ การผลิตเกลือโดย กระบวนการทางวิศวกรรมเหมืองแร่ที่เรี ยกว่า เกลือหิน หรื อเกลือบริสทุ ธิ์จํานวนมาก ในพื ้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งได้ รับความนิยมในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นเหตุให้ ราคาเกลือทะเลลดลง นอกจากนีก้ รรมวิธีการผลิตเกลือ

113

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม. 2550. เกลือ สินเธาว์ . กิจกรรมเสริ มสร้ างองค์ ความรู้ ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ . แหล่งที่มา : http://www.onep.go.th/knowledgebase/news_elec09.htm, 18 มิถนุ ายน 2550. 114 ศูนย์ ป ระสานงานวิ จัย เพื่ อท้ องถิ่ น จังหวัดสมุทรสงคราม. 2550. แม่ ก ลอง...บนวิ ถีแห่ ง ความพอเพี ยง. แหล่ง ที่ มา: http://www.sedb.org, 28 สิงหาคม 2550. 115 กองบรรณาธิการ. 2550. เกาะสถานการณ์ “มองต่ างมุม” นํา้ เค็มจากแหล่ งไหนน่ าใช้ และใครจะเป็ นหนึ่ง. ประมงธุรกิจ 2(24) ตุลาคม 2544. 116 ขี ้แดดนาเกลือ หรื อ หนังหมา เกิดขึ ้นเนื่องจากในช่วงการหยุดทํานาเกลือหรื อพักนาในช่วงฤดูฝน ประมาณเดือนพฤษภาคมถึง ตุลาคม ซึง่ ในช่วงนี ้จะมีฝนตกลงมาขังในกระทงนา ทําให้ นํ ้ากร่ อยหรื อจืด เกิดสาหร่ าย ตะไคร่ นํ ้า และจุลินทรี ย์ต่างๆ จับตัวลอยอยู่บนผิวนํ ้า และจะมีเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ ซึง่ จะหนาประมาณ 2-5 มิลลิเมตร แต่ละแผ่นกว้ างประมาณ 2-3 นิ ้ว มีสีดําอมนํ ้าตาลเมื่อแห้ งสนิท ชาวบ้ านต้ องใช้ ไม้ ขดู และกวาดเก็บขี ้แดดทิ ้งก่อนอัดดินเพื่อทํานาเกลือ 117 สรณพงษ์ บัวโรย และคณะ. 2550. การศึกษาคุณสมบัติและการใช้ ประโยชน์จากขี ้แดดนาเกลือ ตําบลบางแก้ ว อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. โครงการวิจัย. แหล่งที่มา: http://www.vijai.org/research/project_content.asp?projID=PDG45M0002, 18 มิถนุ ายน 2550. 118 ตลาดไทย. 2550. ลดต้ นทุนด้ วย ขี ้แดดนาเกลือ ทดแทนการใช้ ป๋ ยเคมี ุ . คลังความรู้ . แหล่งที่มา: http://www.talaadthai.com, 18 มิถนุ ายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


62

ทะเลมีต้นทุนที่สงู กว่า แต่เมื่อคํานึงถึงคุณค่าระหว่างเกลือทะเลกับเกลือบริ สทุ ธิ์แล้ ว ในเกลือบริ สทุ ธิ์มีเฉพาะปริ มาณ โซเดียมคลอไรด์ที่สงู มากเกินความจําเป็ นของร่ างกาย แต่ในเกลือทะเลอุดมไปด้ วยแร่ ธาตุที่จําเป็ นต่อการดํารงชีวิต ้ าเหมืองแร่โพแทซที่นําไปผลิตปุ๋ยเคมี มีผลพลอยได้ คือ ของมนุษย์ถึง 24 ชนิด ซึ่งในเกลือบริ สทุ ธิ์ไม่มี119 อีกทังการทํ เกลือในปริ มาณมหาศาล มากกว่ากําลังการผลิตของประเทศถึง 5 เท่า (ประมาณ 10 ล้ านตัน)120 ซึ่งหากคิดปริ มาณ เกลือจากเหมืองโพแทซที่อําเภอบําเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ และอําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จะมีเกลือถึง 6 ล้ าน ตัน121 คิดเป็ น 3 เท่าของความต้ องการใช้ เกลือภายในประเทศ ซึ่งบางส่วนได้ ส่งออกไปยังต่างประเทศที่ขาดแคลน เกลือ แต่ก็ไม่สามารถแก้ ไขปั ญหาเรื่ องปริ มาณเกลือล้ นตลาดได้ ซึ่งหากปล่อยให้ มีการผลิตเกลือหินและเหมืองแร่ โพแทซเพิ่มมากขึ ้นโดยไม่มีการควบคุม คาดว่าในอนาคตเกลือสมุทรคงหมดความสําคัญลงไปเรื่ อยๆ จนกระทัง่ สูญ หายไปในที่สดุ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม การทํานาเกลือในพื ้นที่ป่าชายเลน ป่ าบก หรื อบริ เวณใกล้ เคียง นํ ้าเค็มจากนาเกลือทําให้ ปริ มาณเกลือใน พื ้นที่นนสู ั ้ งขึ ้น การสกัดนํ ้าทะเลให้ เป็ นนํ ้าจืด การผลิต นํ า้ ประปาโดยทั่ว ไปจะเลื อ กผลิ ต นํ า้ จากแหล่ง นํ า้ ธรรมชาติ เนื่ อ งจากมี ต้ น ทุน ที่ ถูก และใช้ เทคโนโลยีการผลิตที่ง่าย ไม่ซบั ซ้ อน แต่สําหรับในบางพื ้นที่ที่สภาพภูมิประเทศไม่มีแหล่งนํ ้าตามธรรมชาติแต่มีผ้ คู น อาศัยอยู่มาก ทํ า ให้ ป ริ ม าณนํ า้ ไม่เพี ยงพอต่อ ความต้ อ งการใช้ จึง จํ า เป็ นต้ อ งใช้ เลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี อื่ น เพื่ อ ผลิต นํ ้าประปา และสําหรับการใช้ เทคโนโลยีการผลิตนํ ้าประปาจากนํ ้าทะเล ระบบรี เวอร์ ส ออสโมซีส (RO) ที่ใช้ แรงดันสูง ดันนํ ้าทะเลผ่านเยื่อกรองที่มีรูขนาดเล็กเพื่อกรองแร่ธาตุ เกลือ และสารตกตะกอนต่างๆ ออกจากนํ ้าทะเล ทําให้ นํ ้าจืด ออกมาและพร้ อมป้ อนเข้ า สู่ระบบจ่ า ยนํ า้ ประปา ส่ว นเกลื อ ที่ ไ ด้ นัน้ นํ า กลับ ไปทิ ง้ ในทะเล เป็ นเทคโนโลยี ห นึ่ง ที่ เหมาะสมกับพื ้นที่ที่มีสภาพเป็ นเกาะ ที่ไม่มีแหล่งนํ ้าจืดสําหรับอุปโภคและบริ โภค เพื่อช่วยแก้ ปัญหาการขาดแคลนนํ ้า โดยจําเป็ นต้ องมีการบริ หารจัดการนํ ้าร่วมระหว่างนํ ้าจืดจากธรรมชาติและนํ ้าจืดที่สกัดจากนํ ้าทะเล122 บริ ษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทิลิตี ้ส์ จํากัด (ยูยู) เป็ นผู้นําเทคโนโลยีการผลิตนํ ้าประปาจากนํ ้าทะเล โดยใช้ ระบบรี เวอร์ ส ออสโมซีส (RO) เป็ นรายแรกและรายใหญ่ที่สดุ ของประเทศไทย โดยปั จจุบนั มีกิจการการผลิตที่ อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ ธานี เกาะล้ าน และอําเภอเกาะสีชงั จังหวัดชลบุรี มีขนาดกําลังผลิตนํ ้าทะเลเป็ นนํ ้าจืดรวมกัน 3 เกาะประมาณ 10,000้ 20,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน123 มีรายละเอียดดังนี124

119

คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. 2550. การทํานาเกลือ–เพชรบุรี. วัฒนธรรม พัฒนาการทาง ประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์ และภูมปิ ั ญญา จังหวัดเพชรบุรี. แหล่งที่มา: http://www.cablephet.com/board/q_view.php?c_id=11&q_id=4967, 2 กรกฎาคม 2550. 120 ทีมงานไทยเอ็นจีโอ. 2550. เส้ นทางเกลือ. รู้มาบอกต่อ. แหล่งที่มา: http://www.thaingo.org, 6 กรกฎาคม 2550. 121 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 120. 122 บริ ษัท ล็อกซเล่ย์ จํากัด (มหาชน). 2548. ล็อกซเล่ ย์ตัง้ โรงงานผลิตนํา้ จืดจากทะเลป้องกันนํา้ แล้ งบนเกาะสมุย-เกาะช้ าง. แหล่งที่มา: http://www.loxbit.co.th/news/news_detail.php?id=55, 21 กันยายน 2550. 123 หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ, อ้ างแล้ งเชิงอรรถ 104. 124 บริ ษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทิลิตี ้ส์ จํากัด. 2547. กิจการประปาที่ผลิตจากนํา้ ทะเล. แหล่งที่มา: http://www.uu.co.th/business.asp?id=60&lang=th, 21 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


63

- กิจการประปาเกาะสีชงั ได้ เริ่ มดําเนินการมาตังแต่ ้ ปี 2543 ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นกิจการประปาที่ผลิตจากนํา ทะเลเป็ นแห่งแรกของประเทศไทย มีกําลังการผลิตอยู่ที่ 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ให้ บริ การประชาชนในเขตเทศบาล ตําบลเกาะสีชงั อ. เกาะสีชงั จ. ชลบุรี ที่มีประมาณ 1,600 ครัวเรื อน โดยเป็ นการใช้ ระบบ RO เกือบ 100เปอร์ เซ็นต์ ของปริ มาณนํ ้าประปาที่ผลิตได้ บนเกาะ125 เนื่องจากไม่มีแหล่งนํ ้าธรรมชาติเลย และในปี 2549 กิจการประปาเกาะสี ชังได้ รับการประกาศเป็ น “นํ ้าประปาดื่มได้ ” จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขด้ วย - กิจการประปาเกาะสมุย ถือได้ วา่ เป็ นกิจการที่ผลิตนํ ้าประปาจากนํ ้าทะเลเป็ นรายใหญ่ที่สดุ ของประเทศ ไทย ณ ขณะนี ้ เริ่ มดําเนินการมาตังแต่ ้ ปี 2548 โดยมีกําลังการผลิตนํ ้าประปาจากนํ ้าทะเลอยู่ที่ 2,500 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน ในระยะแรกของโครงการ และมีแผนจะเพิ่มกําลังการผลิตเป็ น 3,000 ลูกบาศก์ เมตรต่อวัน ในปี 2550 ซึ่ง นํ ้าประปาจํานวนดังกล่าวจะเข้ าไปช่วยเสริมกําลังการผลิตนํ ้าประปาจากการประปาของเกาะสมุยของการประปาส่วน ภูมิภาค เพื่อสั่งจ่ายให้ กับประชาชนและสถานประกอบการท่องเที่ยวบนเกาะสมุยอย่างต่อเนื่อง แม้ จะอยู่ในช่วง หน้ าแล้ งหรื อไม่ก็ตาม โดยมีการใช้ ระบบ RO 15 เปอร์ เซ็นต์ของปริมาณนํ ้าประปาที่ผลิตได้ บนเกาะ126 - กิ จ การประปาเกาะล้ า น บริ ษั ท ยูนิ เ วอร์ แ ซล ยูทิ ลิ ตี ส้ ์ ไ ด้ รั บ สัญ ญาจากบริ ษั ท จัด การและพัฒ นา ทรัพยากรนํ า้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรื ออีสท์ วอเตอร์ ให้ เข้ าไปบริ หารกิจการประปาของเกาะล้ าน เพื่อ รองรับการขยายตัวของการท่องเที่ยวบนเกาะล้ าน โดยบริ ษัทได้ ก่อสร้ างและติดตังระบบผลิ ้ ตนํ ้าประปาจากนํ ้าทะเล แล้ วเสร็ จในปี 2549 สามารถทําให้ ผลิตนํ ้าประปาจากนํ ้าทะเลได้ 250 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สัง่ จ่ายให้ กบั ประชาชน มากกว่า 400 ครัวเรื อน รวมถึงสามารถสัง่ จ่ายให้ กบั สถานประกอบการท่องเที่ยวบนเกาะล้ านได้ อีกด้ วย ต้ น ทุน การผลิตนํ า้ ทะเลเป็ นนํ า้ จื ด จะเป็ นต้ น ทุน ค่า ไฟและการวางระบบท่อ ประมาณ 40-50 บาทต่อ ลูกบาศก์เมตร แต่ทงนี ั ้ ้ยังขึ ้นกับสภาพพื ้นที่ สําหรับราคาขายนํ ้าทางบริ ษัทจะคํานวณกําไรประมาณ 10 เปอร์ เซ็นต์ หรื อ 44-45 บาทต่อลูกบาศก์ เมตร แต่ราคาขายอาจจะสูงขึน้ หากต้ องจ่ายนํา้ ถึงบ้ านเรื อนผู้ใช้ เพราะต้ องมีต้นทุน เพิ่ มขึน้ 127 แต่อย่างไรก็ตามอนาคตราคานํ า้ ทะเลเป็ นนํ า้ จื ดจะถูกลงเรื่ อยๆ โดยบริ ษัทเตรี ยมที่ จะลงทุนในแหล่ง ท่องเที่ยวที่สําคัญของประเทศเพิ่มเติม ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็ นไปได้ ในการทํานํ ้าทะเลเป็ นนํา้ จืดในพื ้นที่ ใหม่ 4 แห่ง ได้ แก่ เกาะพีพี จังหวัดภูเก็ต เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ ธานี เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง และเกาะช้ าง จังหวัด ตราด128 สําหรับในภาคอุตสาหกรรมทางบริ ษัทได้ จําหน่ายนํ ้าดิบให้ ในราคา 8 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนนํ ้าเพื่อการ บริ โภคเก็บที่ 5 บาทต่อลูกบาศก์เมตร129 ในภาคอุตสาหกรรมมีการปล่อยนํ ้าทิ ้งออกมาเป็ นจํานวนมาก ซึง่ นํ ้าเหล่านัน้ สามารถใช้ กรรมวิธี RO สกัดเป็ นนํา้ บริ สทุ ธิ์ ได้ เช่นเดียวกัน โดยการใช้ นํา้ ทิ ้งจากโรงงานมาสกัดยังมีผลดีในแง่ใช้ แรงดันในการสกัดน้ อยกว่าทําให้ ต้นทุนการผลิตตํ่ากว่า นํ ้าทะเลที่สบู ขึ ้นมาจากทะเล 1 ลูกบาศก์เมตร หรื อ 1,000 ลิตร เมื่อผ่านการกรองแล้ วจะได้ นํ ้าจืดประมาณ 400 ลิตร ส่วนอีก 600 ลิตร จะเป็ นนํ ้าทะเลที่มีความเข้ มข้ นของเกลือมากกว่าปกติเกือบ 2 เท่า ซึง่ จะทิ ้งลงทะเลไป130 ทังนี ้ ้ โรงงานที่ผลิตนํ ้าจืดจะต้ องปล่อยทิ ้งนํ ้าเค็มจัด (Brine) ผ่านท่อนํ ้าทิ ้งลงสูพ่ ื ้นท้ องทะเล ซึง่ จําเป็ นต้ องเรี ยนรู้อย่าง 125

ผู้จดั การรายวัน, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 105. ผู้จดั การรายวัน, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 105. 127 ผู้จดั การรายวัน, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 105. 128 หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 104. 129 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 104. 130 ผู้จดั การออนไลน์. 2548. แปลงนํ ้าทะเลเป็ นนํ ้าจืด: ทางออกวิกฤติภยั แล้ ง?. นวัตกรรม. ผู้จดั การออนไลน์ ฉบับวันที่ 29 กันยายน 2548, http://www.manager.co.th, 20 มิถนุ ายน 2550. 126

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


64

ดีเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของมวลนํ ้าเพื่อให้ เกิดการแพร่กระจายโดยทัว่ ถึงของนํ ้าทิ ้ง มิฉะนันแล้ ้ วอาจะมีผลกระทบอย่าง รุ นแรงต่อพืชและสัตว์บริ เวณโรงงานและพื ้นที่ข้างเคียงได้ ในนํา้ ทิ ้งที่เค็มจัดนี ้ (Waste Brine) หากมีการสร้ าง โรงงานผลิตเกลือในบริ เวณเดียวกับโรงงานนํ ้าจืด ก็จะช่วยให้ ประหยัดค่าใช้ จ่ายมากกว่าการผลิตเกลือจากการใช้ นํ ้า ทะเลเป็ นวัตถุดิบ131 3.1.2.2 ทรัพยากรบริ เวณพื ้นดินท้ องทะเล ได้ แก่ แร่ธาตุบางชนิด (ทรายแก้ ว ดีบกุ เพชร) ความสําคัญของทรั พยากรบริเวณพื้นดินท้ องทะเล ทรัพยากรแร่ เป็ นทรัพยากรที่มีความสําคัญ และเป็ นวัตถุดิบป้อนอุตสาหกรรมอันจะยังประโยชน์ แก่การ พัฒนาประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง และเนื่องจากอุตสาหกรรมแร่มีแนวโน้ มที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ด้ วยสาเหตุจาก หลากหลายปั จจัย อาทิเช่น ราคานํ ้ามันที่สงู ขึ ้นอย่างต่อเนื่อง การแปรปรวนของอัตราและเปลี่ยนความต้ องการแร่ ที่ เพิ่มขึ ้นจากการฟื น้ ตัวของอุตสาหกรรมในประเทศ รวมถึงอัตราดอกเบี ้ยที่มีแนวโน้ มสูงขึ ้น ทว่าการผลิตแร่ของไทยเป็ น การผลิตเพื่อตอบสนองความต้ องการใช้ ภายในประเทศเป็ นหลัก อีกทัง้ การผลิตแร่ ในประเทศโดยรวมไม่สามารถ ตอบสนองความต้ องการใช้ แร่ ภายในประเทศได้ ทงหมด ั้ จําเป็ นต้ องมีการนําเข้ าแร่ จากต่างประเทศเป็ นจํานวนมาก ทรั พยากรแร่ ในทะเลจึงเป็ นทางเลือกที่สําคัญในการขยายแหล่งการทําเหมืองแร่ ในประเทศไทย เพื่อการพัฒนา ประเทศสืบไป โดยในปี 2547 มีการผลิตแร่ ภายในประเทศมากกว่า 40 ชนิด มูลค่าการผลิตรวม 34,020.6 ล้ านบาท โดยเกือบทังหมดเป็ ้ นผลผลิตแร่บนแผ่นดิน โดยกลุม่ แร่เชื ้อเพลิงและพลังงานมีมลู ค่าการผลิตมากที่สดุ 10,029.9 ล้ าน บาท132 สําหรับความต้ องการใช้ แร่ ภายในประเทศ พบว่ามากกว่า 90 เปอร์ เซ็นต์ของมูลค่าแร่ ที่ผลิตได้ ทงหมด ั้ เป็ น การผลิตเพื่อใช้ ในประเทศในปี 2547 การใช้ แร่ มีมลู ค่ารวม 32,373.8 ล้ านบาท โดยกลุ่มแร่ เชือ้ เพลิงและพลังงานมี มูลค่าการใช้ มากที่สดุ 10,271.7 ล้ านบาท ส่วนการส่งออกและนําเข้ าแร่ และผลิตภัณฑ์จากแร่ มีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึน้ เนื่ องจากการเปิ ดการค้ าเสรี กับประเทศต่างๆ และการเร่ งส่งออกของภาครั ฐ ปี 2547 การส่งออกมีมูลค่ารวม 13,919.1 ล้ านบาท โดยกลุ่มแร่โลหะและแร่หายากมีการส่งออกสูงสุด 8,194.2 ล้ านบาท และการนําเข้ าแร่ มีมลู ค่า รวม 28,546.1 ล้ านบาท โดยกลุม่ แร่เชื ้อเพลิงและพลังงานมีการนําเข้ าสูงสุด 12,275.1 ล้ านบาท สําหรับแร่ ในทะเลลึกของประเทศไทย พบเฉพาะแร่ ฟอสเฟตในรู ปโนดูลส์ที่เป็ นฟอสฟอไรต์ ชนิดเฟอโร ฟอสเฟต (P2O5) ในบริ เวณทะเลอันดามัน ยังไม่ค้ มุ ค่าที่จะนําขึ ้นมาใช้ ประโยชน์ เนื่องจากปริ มาณที่พบบนบกมีมาก และมีคณ ุ ภาพสูงกว่า ทว่ายังขาดการสํารวจทรัพยากรแร่ ในทะเลลึกอยู่มาก ดังนันทรั ้ พยากรแร่ ในทะเลลึกจึงอาจมี ความสําคัญในการเป็ นแหล่งแร่แหล่งใหญ่อีกแหล่งหนึง่ ก็เป็ นได้ สถานการณ์ และปั ญหาของทรั พยากรบริเวณพื้นดินท้ องทะเล 1) แหล่งทรัพยากรแร่ในทะเลไทย ้ ปี 2522 โดยกรมทรัพยากร การสํารวจทรัพยากรแร่ ในทะเลอย่างเป็ นระบบของประเทศไทย เริ่ มขึ ้นตังแต่ ธรณี ได้ รับความร่วมมือจากองค์กร United Nations Development Progremme (UNDP) จัดตัง้ “โครงการสํารวจแร่ ดีบกุ และแร่ หนักนอกชายฝั่ งทะเลอันดามัน (ปี 2522-2529)” เพื่อดําเนินการสํารวจบริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดระนอง พังงา และภูเก็ต ที่ระดับนํ ้าลึกไม่เกิน 50 เมตร ครอบคลุมพื ้นที่ประมาณ 22,000 ตารางกิโลเมตร ต่อมาในปี 2530 ได้ 131 132

ศรัณย์ เพ็ชร์ พิรุณ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 98. กรมทรัพยากรธรณี. 2545. การสํารวจธรณีวทิ ยาแหล่ งแร่ ในทะเล. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 4(6): หน้ า 176.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


65

จัดตัง้ “โครงการสํารวจแร่ นอกชายฝั่ งทะเลอ่าวไทย (ปี 2530-2538)” เพื่อดําเนินการสํารวจบริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัด ระยอง จันทบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี และนครศรี ธรรมราชครอบคลุมพืน้ ที่ 20,955 ตาราง กิโลเมตร และในปี 2541 จัดตัง้ “โครงการสํารวจทรัพยากรธรณี ในทะเล (ปี 2541-2544)” โดยดําเนินการสํารวจ บริเวณนอกชายฝั่ งทังทะเลอั ้ นดามันและอ่าวไทยครอบคลุมพื ้นที่ 13,120 ตารางกิโลเมตร ปั จจุบนั กรมทรัพยากรธรณี ยังคงมีการสํารวจอยูภ่ ายใต้ ระบบงานสํารวจทรัพยากรธรณีในทะเลของเศรษฐธรณีวิทยา133 ผลการสํารวจในอ่าวไทยพบแร่ คอรันดัมบริ เวณนอกชายฝั่ งอําเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี แต่เป็ นเม็ด ขนาดเล็กประมาณ 1-3 มิลลิเมตร134 ส่วนแหล่งกรวดทรายก่อสร้ างก็ได้ มีการสํารวจพบว่าบริ เวณอ่าวระยองมีกรวด ทรายสะสมตัวปริ มาณไม่น้อยกว่า 450 ล้ านลูกบาศก์เมตร ในทะเลอันดามัน สํารวจพบพื ้นที่ที่มีแร่ดีบกุ และแร่ หนักมี ค่าใน 3 บริ เวณด้ วยกัน คือ บริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดระนองและพังงา บริ เวณรอบจังหวัดภูเก็ต และอ่าวในหมู่เกาะ อาดัง-ราวี จังหวัดสตูล และสรุ ปได้ ว่าแร่ ดีบกุ และแร่ หนักมีค่าในพื ้นที่ส่วนใหญ่มีต้นกําเนิดมาจากบนบก แล้ วถูกพัด พาลงสู่ทะเล ทําให้ เกิดแหล่งลานแร่ ยกเว้ นแหล่งดีบุกทางตะวันออกของอ่าวภูเก็ตที่พบว่าเกิดแบบปฐมภูมิ ส่วนแร่ เพชรที่พบเป็ นผลพลอยได้ จากการทําเหมืองแร่ ดีบกุ นอกชายฝั่ งอําเภอตะกัว่ ป่ า จังหวัดพังงา ในคลองพังงาและอ่าว ภูเก็ตนัน้ พบว่าเกิดแบบทุติยภูมิ สันนิษฐานว่ามีต้นกําเนิดมาจากเทือกเขาบนบกซึง่ ครอบคลุม 4 จังหวัด คือ จังหวัด ระนอง พังงา กระบี่ และสุราษฎร์ ธานี บริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดกระบี่ ได้ เจาะสํารวจพบชันถ่ ้ านหินซับบิทมู ินสั หนา ประมาณ 3 เมตร คลุมพื ้นที่ประมาณ 8 ตารางกิโลเมตร และบริ เวณทางตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากเกาะภูเก็ตประมาณ 40 กิโลเมตร คลุมพื ้นที่ประมาณ 50 กิโลเมตร ได้ เก็บตัวอย่างหินพื ้นท้ องทะเลที่ระดับนํ ้าลึกประมาณ 100-500 เมตร วิเคราะห์ทางเคมี พบตัวอย่างหินเป็ นแร่ฟอสเฟตในรูปของฟอสเฟต-โนดูลส์ ฟอสฟอไรต์สีนํ ้าตาลเข้ มถึงดํา ชนิดเฟอโร ฟอสเฟตมีปริ มาณฟอสฟอรัสเพนตอกไซด์ (P2O5) อยู่ 2.21-14.68 เปอร์ เซ็นต์ การผลิต การบริโภค และปริมาณสํารอง การผลิต การบริ โภค และปริ มาณสํารอง ซึ่งจะรายงานเฉพาะกลุ่มแร่ ที่มีการสํารวจพบแหล่งแร่ ในทะเล เท่านัน้ มีดงั ต่อไปนี ้ 2) กลุม่ แร่เชื ้อเพลิงและพลังงาน แร่ กลุ่มนี ้หมายถึงเฉพาะแร่ เชื ้อเพลิง (Mineral Fuels) ซึ่งประกอบด้ วย ถ่านหิน ลิกไนต์ แอนทราไซต์ ยูเรเนียม และทอเรี ยม โดยแร่ที่มีการผลิต คือ ลิกไนต์และแอนทราไซต์เท่านัน้ 135 โดย 95 เปอร์ เซ็นต์ของการผลิต เป็ น การผลิตเพื่อใช้ ในประเทศสําหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าและการผลิตปูนซีเมนต์เป็ นหลัก136 แร่ ยเู รเนียมพบที่อําเภอภู เวียง จังหวัดขอนแก่น อําเภอดอยเต่า อําเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ แต่มีปริ มาณน้ อย ปริ มาณรวมกันเพียง 12 ตัน ไม่ค้ มุ ค่าต่อการลงทุนในขณะนัน้ ส่วนทอเรี ยมพบอยู่ในแร่โมนาไซต์ ซึง่ เป็ นแร่ ที่เกิดร่วมอยู่กบั แหล่งแร่ดีบกุ เคยมีการ ผลิตกันในอดีตประมาณกว่า 5 แสนตัน ผลการสํารวจพบปริมาณสํารองบนบกและในทะเลอันดามันรวมกันทังสิ ้ ้น 6.5 137 หมื่นตัน แต่ทงนี ั ้ ้ยังมีศกั ยภาพที่จะพบอีกมากในบริ เวณหินแกรนิตและเพกมาไทต์

133

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 132, หน้ า 1-2. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 132, หน้ า 7. 135 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 132, หน้ า 2. 136 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 132, หน้ า 3. 137 กรมทรัพยากรธรณี. 2542. ทรั พยากรแร่ ของประเทศไทยและแนวทางการพัฒนา ตอนที่ 1. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 134

4(8): 3-4.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


66

3) กลุม่ แร่เซรามิกส์และเครื่ องแก้ ว138 แร่ กลุ่มนี ้นับว่ามีบทบาทที่สําคัญต่อเศรษฐกิจของไทยพอสมควร เนื่องจากเป็ นอุตสาหกรรมที่ใช้ วตั ถุดิบ หลักในประเทศ คือ แร่ ดิน ดินขาวบอลเคลย์ เบนทอไนต์ ดิกไคต์ เฟลด์สปาร์ และทรายแก้ ว ซึ่งประเทศไทยมีมลู ค่า การส่งออกผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ถึง 7,347 ล้ านบาท และแก้ ว 4,013 ล้ านบาท สถิติผลผลิตแร่ในกลุ่มนี ้ยังไม่ครบถ้ วน สมบูรณ์ โดยเฉพาะแร่ดิน และทรายแก้ ว เนื่องจากเป็ นตัวเลขจากแปลงประทานบัตรเท่านัน้ แต่ในความเป็ นจริ งยังมี ผลผลิต อี กส่ว นหนึ่ง ที่ ไ ม่ส ามารถเก็บ ข้ อ มูลสถิ ติไ ด้ คื อ ในส่ว นของการผลิต รายย่อ ยที่ ไ ม่มี ป ระทานบัต รในที่ ดิ น กรรมสิทธิ์ ขนาดเนื อ้ ที่ไม่กี่ไร่ และการขุดดินหรื อทรายยังไม่มีกฎหมายควบคุมอย่างทั่วถึงทุกประเภทยากแก่การ ควบคุม ในด้ านของปริ มาณสํารองของแร่ในกลุม่ นี ้ยังถือได้ ว่าประเทศไทยมีอยู่ในระดับที่อดุ มสมบูรณ์ แต่จําเป็ นต้ อง มีการวางแผนการใช้ ประโยชน์ที่ดินร่ วมกันระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้ อง เนื่องจากแหล่งแร่ ดินและทรายแก้ ว ส่วน ใหญ่อยู่ในที่ราบและชายทะเล จึงมีปัญหาเรื่ องที่ตงของชุ ั้ มชน แหล่งท่องเที่ยว ป่ าชายเลน และอื่นๆ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง นอกจากนัน้ ยังมีปัญหาหลัก คือ ผลผลิตแร่ ในกลุ่มนีท้ ี่จะใช้ เป็ นวัตถุดิบป้อนโรงงานยังมีคุณภาพไม่สงู พอและไม่ สมํ่ า เสมอ หรื อ ขาดการพัฒ นาคุณ ภาพ ทํ า ให้ ต้น ทุน ในการปรั บ คุณ ภาพสูง และบางชนิ ด จํ า เป็ นต้ อ งนํ า เข้ า จึง จําเป็ นต้ องมีการแก้ ไขโดยด่วนในขบวนการผลิต ตังแต่ ้ ขนตอนการทํ ั้ าเหมือง การพัฒนาคุณภาพ การให้ ความรู้ ความ ้ เพื่อลด เข้ าใจทางด้ านเทคนิคแก่ผ้ ปู ระกอบการ และการประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้ องทังภาคราชการและเอกชน การนําเข้ า ลดการสูญเสีย และยกระดับผลิตภัณฑ์ให้ ได้ มาตรฐานและสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ นอกจากนันยั ้ ง ต้ องเข้ าไปให้ การช่วยเหลือในด้ านการสํารวจหาแหล่งสําหรับการทําอิฐ และเครื่ องปั น้ ดินเผา พร้ อมทังการจั ้ ดการการ ใช้ ที่ดินร่วมกับการพัฒนาสาขาอื่น ข้ อมูลจากกรมทรัพยากรธรณี ทรายแก้ ว (Silica Sand) คือ ทรายบริ สทุ ธิ์ที่มีปริ มาณซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2: แร่ ควอตซ์) หรื อซิลิกามากกว่า 95 เปอร์ เซ็นต์ และมีสารอื่น เช่น เหล็กออกไซด์ อะลูมิเนียมออกไซด์ แคลเซียม ออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และสารอินทรี ย์ปะปนอยู่เล็กน้ อยในปริ มาณที่ไม่เกินกําหนดสําหรับการใช้ งานในแต่ละ ประเภทตังแต่ ้ ปี 2505-2544 กรมทรัพยากรธรณีสํารวจพบแหล่งทรายแก้ วในประเทศไทย จํานวน 38 แหล่ง อยู่ตาม ภาคต่างๆ มีปริ มาณสํารองไม่น้อยกว่า 250 ล้ านเมตริ กตัน139 อยู่ในพื ้นที่ป่าอนุรักษ์ และแหล่งท่องเที่ยว 155 ล้ าน เมตริ กตัน ที่อยู่นอกเขตพื ้นที่ป่าอนุรักษ์ และแหล่งท่องเที่ยวประมาณ 95 ล้ านเมตริ กตัน ซึ่งสามารถพัฒนาเป็ นแหล่ง แร่ได้ 140 โดยแหล่งทรายแก้ วในประเทศได้ แก่141 - ภาคใต้ เป็ นแหล่งทรายชายฝั่ งทะเลปั จจุบนั และแหล่งชายฝั่ งโบราณ ทรายแก้ วชันบนเป็ ้ นทรายแก้ ว สกปรกสีดํา มีสารอินทรี ย์ปนอยู่หนา 10-30 เซนติเมตร ชันกลางเป็ ้ นทรายแก้ วคุณภาพดี มีสีขาวถึงนํ ้าตาลอ่อนหนา 0.6-2 เมตร ชันล่ ้ างสุดเป็ นทรายสีนํ ้าตาลแก่ แหล่งทรายมี 16 แหล่ง รวมปริมาณสํารอง 140 ล้ านเมตริกตัน - ภาคตะวันออกเป็ นแหล่งทรายชายฝั่ งทะเลปั จจุบันและแหล่งทรายชายฝั่ งโบราณ ทรายแก้ วชัน้ บนสุดหนา 10-30 เซนติเมตร สีนํ ้าตาลถึงดํามีสารอินทรี ย์ปนอยู่ ชันกลางเป็ ้ นทรายแก้ วคุณภาพดี หนา 0.3-2.0 เมตร มีสีขาว เทาอมชมพู นํ ้าตาลอมเหลืองอ่อน ชันล่ ้ างเป็ นทรายแก้ วเกรดตํ่า ทรายแก้ วตามชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออกมี

138

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 105, หน้ า 5. กรมทรัพยากรธรณี .2545. ทรายแก้ ว. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 4(4): หน้ า 2. 140 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 139, หน้ า 7. 141 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 139, หน้ า 2. 139

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


67

ปริ มาตร 91 ล้ านลูกบาศก์เมตร (ประมาณ 230 ล้ านเมตริ กตัน) ปั จจุบนั แหล่งทรายมี 19 แหล่ง รวมปริ มาณสํารอง 115 ล้ านตัน - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็ นทรายบกชนิดทรายแม่นํ ้า มี 3 แหล่ง ได้ แก่ บ้ านดอนแก้ ว อ. บึงกาฬ บ้ านนาทราย และบ้ านสันทรายงาม อําเภอศรี วิไล จังหวัดหนองคาย รวมมีปริ มาณสํารอง 11.2 ล้ านเมตริกตัน แหล่งผลิตทรายแก้ วที่สําคัญ ได้ แก่ จังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด ส่วนภาคใต้ ผลิตที่จงั หวัดชุมพร แต่ ้ 7.5 ล้ าน ปริ มาณค่อนข้ างน้ อย ตังแต่ ้ ปี 2522 จนถึง 2544 แหล่งทรายแก้ วใน 4 จังหวัดดังกล่าวมีผลผลิตรวมทังหมด เมตริ กตัน โดยผลผลิตทรายแก้ วอยู่ในเกณฑ์เพิ่มสูงขึน้ ตลอดเวลา จะมีลดตํ่าลงบ้ างในช่วงเวลาสันๆ ้ ทังนี ้ ผ้ ลผลิต 142 ทรายแก้ วขึ ้นอยูก่ บั ความต้ องการใช้ ภายในประเทศเป็ นหลัก ปริมาณการส่งออกและนําเข้ า ทรายแก้ วเป็ นแร่ที่ห้ามส่งออกไปจําหน่ายยังต่างประเทศ จึงไม่มีการส่งออกใดๆ ส่วนการนําเข้ าทรายแก้ ว ในรูปของทรายและซิลกิ าและทรายควอตซ์ ซึง่ เป็ นทรายแก้ วคุณภาพสูงที่ไม่มีการผลิตในประเทศ เนื่องจากต้ นทุนและ ค่าใช้ จ่ายสูงแต่ความต้ องการใช้ มีน้อย โดยนําเข้ ามาเพื่อใช้ ในโรงงานผลิตแก้ วเจียระไนและแก้ วคริ สตัล ซึ่งต้ องการ ทรายแก้ วที่มีปริ มาณเหล็กตํ่ามาก และนําเข้ ามาเพื่อใช้ เป็ นส่วนผสมสําหรับปรับคุณภาพทรายแก้ วให้ ได้ มาตรฐานใน อุตสาหกรรมแต่ละชนิด ปริ มาณการนําเข้ าในปี 2544 มีปริ มาณการนําเข้ า 17,371 เมตริ กตัน คิดเป็ นมูลค่า 52.8 ล้ านบาท143 และมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นทุกปี โดยนําเข้ าจากประเทศสหรัฐอเมริ กา ญี่ปนุ่ ออสเตรเลีย เยอรมัน และฝรั่งเศส ส่วนการนําเข้ าจากประเทศใกล้ เคียง เช่น สาธารณรัฐกัมพูชา มาเลเซีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็ นการนําเข้ า เพื่อทดแทนการผลิตภายในประเทศที่มีปัญหาด้ านสิง่ แวดล้ อม 4) กลุม่ แร่โลหะพื ้นฐานอุตสาหกรรม แร่ในกลุม่ นี ้ประกอบด้ วย แร่ทองแดง ตะกัว่ สังกะสี อะลูมิเนียม พลวง ดีบกุ ทังสเตน แคดเมียม และอื่นๆ แร่ กลุ่มนี ้มีความสําคัญต่อการพัฒนาระบบอุตสาหกรรมและต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพาะในช่วงของการปรับ แผนการพัฒนาประเทศจากภาคการเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากแร่ กลุ่มนีเ้ ป็ นวัตถุดิบต้ นนํา้ ที่สําคัญ ที่จะ ก่อให้ เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องไปยังปลายนํ ้า นับตังแต่ ้ การทําเหมืองแร่ การแต่งแร่ การถลุงแร่ การแปรสภาพเป็ น วัตถุดิบพร้ อมป้อนโรงงานอุตสาหกรรมไปจนถึงการผลิตผลผลิตขันสุ ้ ดท้ าย ปริมาณทรัพยากรแร่ดีบกุ ในทะเลไทย ประเทศไทยนับเป็ นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางแร่ดีบกุ ประเทศหนึ่ง ดังจะเห็นได้ จากในอดีตที่เคยมี การผลิ ต แร่ นี ข้ ึน้ มาเป็ นปริ ม าณมาก โดยในช่ ว งปี 2504-2537 มี ก ารผลิ ต แร่ ดี บุก ขึน้ มาเป็ นปริ ม าณ 899,244 เมตริกตัน คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 106,644 ล้ านบาท144 และได้ จดั อันดับให้ เป็ นผู้ผลิตแร่ดีบกุ มากเป็ นอันดับที่ 1 ถึง 4 ของโลกอย่างต่อเนื่อง ในช่วงปี 2510-2527145

142

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 139, หน้ า 5. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 139, หน้ า 6. 144 กรมทรัพยากรธรณี. 2542. การสํารวจและการทําเหมืองแร่ ดีบุกในทะเลไทย. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 1(5): หน้ า 5. 145 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 144, หน้ า 6. 143

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


68

ผลการสํารวจของกรมทรัพยากรธรณี ทงทางธรณี ั้ ฟิสิกส์และเจาะสํารวจในทะเลอันดามันบริ เวณชายฝั่ ง จังหวัดระนองลงมาถึงจังหวัดสตูล สรุ ปได้ ว่าแหล่งแร่ ดีบุกในทะเลอันดามันเป็ นแหล่งแบบทุติยภูมิชนิดลานแร่ โดย ลักษณะของแหล่งลานแร่ดีบกุ ในทะเลอันดามัน จําแนกเป็ นแหล่งแร่ชนิดต่างๆ ได้ ดงั นี ้ 146 • แหล่งร่ องนํ ้าโบราณนอกชายฝั่ ง (Offshore Paled-Channel Deposit) บริ เวณร่ องนํ ้าโบราณเป็ น บริ เวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ แร่ ดีบุกมากที่สดุ แร่ ดีบุกมักพบปนกับตะกอนชนิดทรายหยาบถึงกรวด (ชาวบ้ านเรี ยก หินแก้ ว) พบเป็ นร่ องนํ ้าจากปากแม่นํ ้าลงสู่ทะเล เช่น ที่บริ เวณนอกชายฝั่ งอําเภอตะกัว่ ป่ า จังหวัดพังงา และในอ่าว ภูเก็ต ระดับความลึกนํ ้าตังแต่ ้ ชายฝั่ งลงไปถึงระดับนํ ้า 40 เมตร • แหล่งลานแร่นอกชายฝั่ ง (Offshore Placer Deposit) บริ เวณแนวชายหาดลงไปในทะเลถึงระดับ ความลึกนํ ้าทะเล 30 เมตร โดยแร่ดีบกุ และแร่พลอยมีความอุดมสมบูรณ์สงู บริ เวณใกล้ ฝั่งและลดลงเมื่อไกลออกไปใน ทะเลบริ เวณที่พบแหล่งแร่ ดีบุกและแร่ พลอย แบ่งได้ เป็ น 3 บริ เวณ คือ บริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดระนองและพังงา บริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดภูเก็ต และอ่าวในหมูเ่ กาะอาดัง-ราวี จังหวัดสตูล

รูปที่ 3-8 แผนที่แสดงแหล่งแร่ดีบกุ ในทะเลอันดามัน147

146 147

กรมทรัพยากรธรณี. 2543. แหล่ งแร่ ดบี ุกในทะเลอันดามัน. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 2(12): หน้ า 2. กรมทรัพยากรธรณี. 2542. การสํารวจและการทําเหมืองแร่ ดีบุกในทะเลไทย. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 1(5): หน้ า 6.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


69

บริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดระนองและพังงา148 พบแหล่งแร่ ดีบุกและแร่ พลอยได้ บริ เวณใกล้ ชายฝั่ ง ขนาด ของเม็ดแร่ ดีบุกมีการเรี ยงตามขนาดใหญ่ ไปเล็กจากชายฝั่ งออกไปสู่ทะเล ในบริ เวณบ้ านนํา้ เค็ม อําเภอตะกั่วป่ า จังหวัดพังงา ความสมบูรณ์ ของแร่ ดีบุกจะมีมากและแผ่กระจายลงมาทางใต้ ด้วยกระแสนํา้ ชายฝั่ ง (Long Shore ้ นกัน Current) นอกจากนี ้ในอดีตบริ เวณจังหวัดระนองเป็ นบริ เวณที่มีการทําเหมืองดีบกุ ทังบนบกและในทะเลมากเช่ โดยในทะเล เหมืองเรื อขุดทําอยู่บริ เวณปากนํ ้าระนองเท่านัน้ เนื่องจากเป็ นบริ เวณที่อยู่ใกล้ กบั พรมแดนพม่าและเป็ น บริ เวณปากแม่นํ ้า ทําให้ มีชนั ้ เลนหนาปกคลุม เป็ นเหตุให้ ผ้ ปู ระกอบการทําเหมืองดีบุกในทะเลไปทําเหมืองบริ เวณ นอกชายฝั่ งจังหวัดพังงามากกว่า ดังนันบริ ้ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดระนอง จึงเป็ นบริเวณที่พื ้นที่สว่ นใหญ่ยงั คงมีแร่ดีบกุ สะสมตัวอยูม่ าก (รูปที่ 3-8) นอกจากนี ้ ในการแต่งแร่ดีบกุ จากการทําเหมืองในทะเล เริ่ มต้ นจากการแต่งแร่บนเรื อก่อน ้ งนําไปถลุงที่โรงถลุงแร่ ดีบุก แล้ วจึงนําไปแต่งแร่ ต่อที่โรงแต่งบนบกเพื่อให้ เปอร์ เซ็นต์ของแร่ ดีบกุ สูงถึง 99.9 จากนันจึ โดยการแต่งแร่ ดีบกุ บนเรื อขุดนันจะแยกแร่ ้ ดีบกุ และแร่ พลอยได้ ออกจากทราย ซึ่งแร่ พลอยได้ จะถูกทิ ้งลงทะเลไปเป็ น ส่วนใหญ่ ซึง่ ทัว่ ไปแล้ วแร่พลอยได้ และทราย (ขี ้แร่) จะติดปนไปกับกับแร่ดีบกุ ประมาณ 30 ถึง 50 เปอร์ เซ็นต์ แร่พลอย ได้ เหล่านี ้รวมถึงแร่ โคลัมไบต์ แทนทาไลต์ และแร่ ตระกูลโคลัมเบียม-แทนทาลัม ซึ่งมีราคาสูงกว่าแร่ ดีบกุ มาก ดังนัน้ บริเวณที่ทําเหมืองแล้ วในทะเลน่าจะยังคงมีความสมบูรณ์ของแร่พลอยได้ อยูอ่ ีกมาก บริ เวณนอกชายฝั่ งจังหวัดภูเก็ต จากการสํารวจของกรมทรัพยากรธรณี พบแหล่งแร่ ดีบกุ และแร่ หนักมีค่า เพชรซึ่งเป็ นแร่ พลอยได้ จากการทําเหมืองแร่ ดีบุกในทะล โดยพื ้นที่ที่พบยกเว้ นทางตะวันออกเฉียงเหนือ บริ เวณอ่าว ภูเก็ตพบว่ามีแร่ ดีบุกสะสมตัวในบริ เวณอ่าวภูเก็ตลงมาถึงเกาะไม้ ท่อน ส่วนตอนบนของอ่าวภูเก็ตพบว่าแร่ ดีบุกมี น้ อยลง และยังพบในพื ้นที่บริเวณตอนบนระหว่างเกาะไม้ ทอ่ นและเกาะราชาใหญ่ มีปริมาณสํารอง 26,494.4 ตัน หรื อ คิดเป็ นมูลค่า 3,800 ล้ านบาท นอกจากนี ้ยังสํารวจพบร่ องนํ ้าโบราณ ซึ่งน่าจะเป็ นร่ องตะกอนติดต่อกับแหล่งแร่ ดีบกุ ในแปลงประทานบัตรขององค์การเหมืองแร่ในทะเล (อมท.) 149 บริ เวณอ่าวในหมู่เกาะอาดัง-ราวี จังหวัดสตูล จากการสํารวจทางธรณีฟิสิกส์และเจาะสํารวจของกรม ทรัพยากรธรณี พบว่าแหล่งแร่บริ เวณนี ้มีแหล่งลานแร่ที่มีต้นกําเนิดจากเกาะราวี มีค่าความสมบูรณ์ของแร่ดีบกุ สูงสุด 0.740 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในบริ เวณทางใต้ ของเกาะราวี และมีแร่ ทวั ร์ มาลีนเป็ นแร่ พลอยได้ ที่พบมากที่สดุ มี ความสมบูรณ์ สูง ถึง 13.983 กิ โ ลกรั ม ต่อ ลูก บาศก์ เ มตร แต่ยัง ไม่ส ามารถประเมิ น ปริ ม าณสํ า รองของแร่ ดี บุกได้ เนื่องจากข้ อมูลจากหลุมเจาะยังไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากหมู่เกาะอาดัง-ราวี จังหวัดสตูลถูกผนวกเข้ าใน เขตอุทยานแห่งชาติตะรุเตาในปี 2517 จึงทําให้ ไม่สามารถดําเนินการทําเหมืองได้ 150 สําหรับโครงการสํารวจแร่ นอกชายฝั่ งทะเลอ่าวไทย151 ที่ดําเนินการร่ วมกันระหว่างกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรมกับองค์การสหประชาชาติ ในระหว่างปี 2530-2539 ในพื ้นที่นอกชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก ของจังหวัดระยอง จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และพื ้นที่ภาคใต้ บริ เวณรอบเกาะสมุยและเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ ธานี และพื ้นที่นอกชายฝั่ งจังหวัดนครศรี ธรรมราช นอกจากนันยั ้ งมีการสํารวจที่ดําเนินการโดยเอกชนหลายพื ้นที่ เช่น บริ เวณนอกชายฝั่ งทะเลของอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หาดมาบตาพุด และบริ เวณรอบเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง

148

กรมทรัพยากรธรณี. 2543. แหล่ งแร่ ดบี ุกในทะเลอันดามัน. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 2(12): หน้ า 3-4. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 148, หน้ า 4-5. 150 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 148, หน้ า 6. 151 กรมทรัพยากรธรณี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 147, หน้ า 3-4. 149

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


70

นอกชายฝั่ งอําเภอท่าชนะ จังหวัดชุมพร อําเภอขนอม และอําเภอสิชล จังหวัดนครศรี ธรรมราช และบริ เวณรอบเกาะส มุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ ธานี ต่อเนื่องไปจนถึงนอกชายฝั่ งทะเลจังหวัดสงขลา ปั ตตานี และ นราธิวาส เป็ นต้ น ซึง่ ผลการสํารวจของภาคเอกชนเหล่านี ้ ไม่พบแหล่งแร่ที่ค้ มุ ค่าต่อการลงทุนในการทําเหมือง ปั ญหาที่อาจจะเกิดจากการทําเหมืองแร่ดีบกุ ในทะเลและแนวทางการบรรเทาปั ญหา ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม การฟุ้งกระจายของตะกอนที่อาจทําความเสียหายต่อแหล่งปะการัง โดยอาจจะใช้ เครื่ องควบคุมตะกอน (Diffuser) เพื่อบังคับตะกอนท้ ายรางให้ ตกลงสูพ่ ื ้นทะเลโดยตรง ผลกระทบต่อการท่องเที่ยว สภาพภูมิทศั น์บริ เวณชายฝั่ งถูกบดบัง เนื่องจากการทําเหมืองในลักษณะของเรื อสูบ แพดันเป็ นจํานวน มาก 3.1.2.3 ทรัพยากรในทะเลลึก : แร่ฟอสเฟต (Phosphorite Nodules) สถานการณ์ และปั ญหาของทรั พยากรในทะเลลึก ทะเลไทยเป็ นทะเลตื ้นบนไหล่ทวีปตอนใน (Inner Shelf) มีความลึกสูงสุดเพียง 86 เมตร ส่วนในทะเลอัน ดามันมีอาณาเขตครอบคลุมไปถึงบริ เวณลาดทวีป มีความลึกสูงสุดประมาณ 1,200 เมตร ดังนัน้ เมื่อพิจารณาถึง ลักษณะภูมิประเทศใต้ ท้องทะเลแล้ ว ในทะเลอ่าวไทยมีโอกาสที่จะพบแหล่งแร่ แบบลานแร่ เท่านัน้ ขณะที่ในทะเลอัน ดามันมีโอกาสพบทังแหล่ ้ งแร่แบบลานแร่ และแร่ฟอสเฟตบริ เวณของไหล่ทวีปและลาดตีนทวีปอีกด้ วย แต่ไม่มีโอกาส พบแหล่งแร่แมงกานีสและซัลไฟด์ ซึง่ เกิดที่ระดับความลึกนํ ้าทะเล 3,000-5,000 เมตร152 สําหรั บการสํารวจแร่ ในทะเลที่ลึกกว่า 50 เมตรลงไป ได้ เริ่ มดําเนินการในช่วงปี 2540-2542 โดยกรม ทรัพยากรธรณีร่วมกับศูนย์วิจยั ชีววิทยาและประมงทะเล จังหวัดภูเก็ต ได้ ทําการสํารวจและเก็บตัวอย่างหินพื ้นท้ อง ทะเลอันดามันที่ระดับนํา้ ลึกประมาณ 100-500 เมตร ห่างจากชายฝั่ งประมาณ 40-250 กิโลเมตร (รู ปที่ 3-9) กรม ทรัพยากรธรณีได้ ทําการวิเคราะห์ทางเคมีปรากฏว่าเป็ นแร่ฟอสเฟตในรูปโนดูลส์ ที่เป็ นฟอสฟอไรต์ชนิดเฟอโรฟอสเฟต สีนํ ้าตาลถึงสีดํา มีปริ มาณ P2O5 อยู่ 2.21-14.68 เปอร์ เซ็นต์ บริ เวณนี ้จึงเป็ นที่น่าสนใจว่าอาจจะพบแหล่งแร่ฟอสเฟต ขนาดใหญ่ได้

152

กรมทรั พ ยากรธรณี . 2550. โอกาสพบแหล่ ง ทรั พ ยากรแร่ ใ นทะเลไทย. ข้ อ มู ล ธรณี วิ ท ยาด้ า นแร่ . แหล่ ง ที่ ม า: http://www.dmr.go.th/offshore/Marine%20mineral%20deposit_in%20Thailand.htm, 22 มิถนุ ายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


71

รูปที่ 3-9 แหล่งทรัพยากรแร่ในทะเลไทย153 3.1.2.4 ทรัพยากรใต้ ผิวดินพื ้นท้ องทะเล : ปิ โตรเลียม (นํ ้ามันดิบ ก๊ าซธรรมชาติ ก๊ าซธรรมชาติเหลว) ความสําคัญของทรั พยากรใต้ ผวิ ดินพื้นท้ องทะเล ทรัพยากรปิ โตรเลียมถือเป็ นเชื ้อเพลิงหลักของประเทศ ในปั จจุบนั กว่า 70 เปอร์ เซ็นต์ของการใช้ พลังงาน ขัน้ ต้ น เป็ นการใช้ เชื อ้ เพลิงจากปิ โตรเลียม ซึ่งปิ โตรเลียมจะยังคงมีบทบาทสําคัญในอนาคตไม่น้อยกว่าอีก 10 ปี ข้ างหน้ า154 ในช่วงปี 2546 ที่ผ่านมาประเทศไทยต้ องเผชิญกับผลกระทบจากราคานํา้ มันที่ผนั ผวน เนื่องจาก สถานการณ์ความขัดแย้ งระหว่างสหรัฐอเมริ กากับอิรักได้ ทําให้ ราคานํ ้ามันดิบและราคานํ ้ามันสําเร็ จรู ปในตลาดโลก ปรับตัวสูงขึ ้น ส่งผลให้ ราคานํ ้ามันเชื ้อเพลิงในประเทศอยู่ในระดับสูงมาก รัฐบาลในขณะนัน้ จึงได้ ออกนโยบายเพื่อ บรรเทาความเดือดร้ อนของประชาชน ได้ แก่ การตรึ งราคานํ ้ามัน การตังกองทุ ้ นนํ ้ามันเชื ้อเพลิง การดําเนินโครงการ “พลังไทย ลดใช้ พลังงาน” เป็ นต้ น แม้ ขณะนี ้ปั ญหาสงครามระหว่างสหรัฐอเมริ กาและพันธมิตรกับอิรักได้ สิ ้นสุดลง แต่ ก็ยงั มีปัญหาทางการเมืองในประเทศผู้สง่ ออกนํ ้ามันและตะวันออกลาง155 ส่งผลให้ การผลิตนํ ้ามันบางพื ้นที่หยุดชะงัก หรื อลดกําลังการผลิตลง การต่อต้ านโครงการนิวเคลียร์ ของอิหร่ านและการทดลองนิวเคลียร์ ของเกาหลีเหนือ การ

153

กรมทรัพยากรธรณี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 148. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ. 2548. รายงานประจําปี 2548. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน, กรุงเทพฯ. หน้ า 8. 155 การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย. 2550. รายงานประจําปี 2549. บริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). หน้ า 20. 154

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


72

พยากรณ์อากาศเกี่ยวกับการเกิดพายุเฮอร์ ริเคนในสหรัฐอเมริ กา และคาดว่าอากาศจะหนาวในช่วงปลายปี 156 ทําให้ ราคานํา้ มันยังคงมีความผันผวนไม่สิ ้นสุดส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตต่างๆ ของประเทศไทยที่ต้องพึ่งพิงพลังงาน จากการนําเข้ าอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็ น ภาคการผลิตพลังงานไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรม ภาคการประมง ภาคการ ขนส่ง และประชาชนทัว่ ไปซึ่งรัฐบาลจําเป็ นต้ องมีการวางแผนการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีปริ มาณสํารองที่ เพียงพอ เพื่อความมัน่ คงและเสริ มสร้ างศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ ในปี 2549157 การใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์มีประมาณ 1,557,000 บาร์ เรลเทียบเท่านํ ้ามันดิบต่อวัน เพิ่มขึ ้น จากปี ก่อน 2.4 เปอร์ เซ็นต์ พลังงานดังกล่าวเป็ นนํ ้ามัน ก๊ าซธรรมชาติ ถ่านหิน และพลังนํ ้า ในอัตรา 43.4, 37.3, 16.3 ้ ดท้ ายปี 2549 ประมาณ 1,490,000 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น และ 2 เปอร์ เซ็นต์ ตามลําดับ โดยมีมลู ค่าการใช้ พลังงานขันสุ จากปี ก่อน 17 เปอร์ เซ็นต์ แยกเป็ นมูลค่าของนํ ้ามันสําเร็ จรู ป ก๊ าซธรรมชาติ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า และลิกไนต์กับ ถ่านหิน 918,000, 30,000, 133,000, 386,000 และ 20,000 ล้ านบาท ตามลําดับ ประเทศไทยมีปริ มาณการใช้ ปิโตรเลียมที่เป็ นเชื ้อเพลิงประกอบด้ วยผลิตภัณฑ์นํ ้ามันและก๊ าซธรรมชาติ รวมกันเที ยบเท่า นํ า้ มัน ดิบ 1,151.9 พันบาร์ เรลต่อ วัน ลดลงจากปี ก่อ น 0.9 เปอร์ เซ็นต์ แยกเป็ นนํ า้ มันสํ าเร็ จรู ป 701,200 บาร์ เรลต่อวัน และก๊ าซธรรมชาติเทียบเท่านํ ้ามันดิบ 450,900 บาร์ เรลต่อวัน ผลิตภัณฑ์นํ ้ามันที่ใช้ สว่ นใหญ่ เป็ นนํ า้ มัน ดี เ ซล 45.3 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ซึ่ง ลดลงจากปี ก่ อ น 6.9 เปอร์ เ ซ็น ต์ ก ารใช้ ก๊ า ซแอลพี จี ไ ด้ ข ยายตัว สูง ขึน้ 8.9 เนื่องจากรัฐบาลยังคงชดเชยราคาอยู่ ทําให้ มีการ เปอร์ เซ็นต์ คิดเป็ น 10.7เปอร์ เซ็นต์ จากผลิตภัณฑ์นํ ้ามันทังหมด ้ 158 นําไปใช้ ในภาคขนส่งมากขึ ้น ส่วนการใช้ นํ ้ามันเบนซินคิดเป็ น 15.4 เปอร์ เซ็นต์ ลดลดจากปี ก่อน 0.5 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณสํารองปิ โตรเลียมของประเทศรวมทังสิ ้ ้น 3,000 ล้ านบาร์ เรลเทียบเท่านํ ้ามันดิบ159 แบ่งเป็ นก๊ าซ ธรรมชาติ (รวม Proved, Probable และ Possible Reserves) 33.1 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟุต ก๊ าซธรรมชาติเหลวมี ปริ มาณสํารอง 720 ล้ านบาร์ เรล และนํ ้ามันดิบ 502 ล้ านบาร์ เรล160 โดยปริ มาณสํารองปิ โตรเลียมที่สําคัญที่สดุ ได้ แก่ ก๊ าซธรรมชาติ ซึง่ ประเทศไทยสามารถผลิตได้ วนั ละ 2,401 ล้ านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หรื อคิดเป็ น 68.2 เปอร์ เซ็นต์ จาก ปิ โตรเลียมทังหมด ้ 161 หากคิดจากอัตราการใช้ ปัจจุบนั ปี ละประมาณ 1 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟุต ประเทศไทยจะยังมีก๊าซ ใช้ ไปอีกกว่า 30 ปี 162 สําหรับการจัดหาปิ โตรเลียมเพื่อใช้ เป็ นเชื ้อเพลิงและวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีนนั ้ ข้ อมูลปี 2548163 ได้ จากการผลิตในประเทศและนําเข้ าจากต่างประเทศรวมปริ มาณทังสิ ้ ้น 1,610.1 พันบาร์ เรลต่อวัน เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 1.6 เปอร์ เซ็นต์ โดยพึง่ พาการนําเข้ าปิ โตรเลียมถึง 62.2 เปอร์ เซ็นต์ การส่งออกปิ โตรเลียมรวมเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 12.9 เปอร์ เซ็นต์ ที่ระดับปริ มาณ 0.21 พันบาร์ เรลต่อวัน โดยเป็ นผลจากความต้ องการใช้ นํา้ มันสําเร็ จรู ปในประเทศที่

156

กรมเชื ้อเพลิงธรมชาติ. 2550. รายงานประจําปี 2549. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ, กระทรวงพลังงาน. หน้ า 16. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156. 158 การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 155, หน้ า 20. 159 นภดล มัณฑะจิตร. 2548. บทสัมภาษณ์ เรื่ อง ปฏิบัติการเสาะหาปิ โตรเลียม รากฐานความมั่นคงทางพลังงานของ ประเทศ. Energy Plus 6 เมษายน-มิถนุ ายน 2548: หน้ า 12. 160 สราวุธ แก้ วตาทิพย์. 2548. ขุมทรั พย์ พลังงานไทย. Energy Plus 6 เมษายน-มิถนุ ายน 2548: หน้ า 2. 161 กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 2. 162 สราวุธ แก้ วตาทิพย์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 160. 163 การปิ โตรเลี่ยมแห่งประเทศไทย, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 155. 157

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


73

ขยายตัวลดลงถึง 2.0 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนการใช้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีภายในประเทศก็ขยายตัวเพิ่มขึ ้นตามการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศ สถานการณ์ และปั ญหาด้ านปิ โตรเลียมในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่ ม มี ก ารผลิ ต ปิ โตรเลี ย ม ในปี 2524 จนถึ ง สิน้ ปี 2549 มี สัม ปทานการสํ า รวจและผลิ ต ปิ โตรเลียมที่ดําเนินการทังสิ ้ ้น 38 สัมปทาน 50 แปลงสํารวจ อยู่ในอ่าวไทย 22 สัมปทาน 31 แปลงสํารวจ เป็ นพื ้นที่ 112,445 ตารางกิโลเมตร คิดเป็ น 65.46 เปอร์ เซ็นต์ ของพื ้นที่ทงหมด ั้ โดยแยกเป็ นพื ้นที่สํารวจ พื ้นที่ผลิต และพื ้นที่ สงวนในอ่าวไทย 91,416, 12,681 และ 8,348 ตารางกิโลเมตร ตามลําดับ164 ในส่วนพื ้นที่ทับซ้ อนไทย-กัมพูชา 4 สัมปทาน 9 แปลงสํารวจ เป็ นพื ้นที่ประมาณ 24,250 ตารางกิโลเมตร165 การจัดหาปิ โตรเลียมและนํ ้ามันสําเร็จรูปมาใช้ ในประเทศ ในปี 2549166 รวมกันประมาณ 1,583,600 บาร์ เรล เทียบเท่านํ ้ามันดิบต่อวัน เป็ นส่วนที่นําเข้ า 1,006,800 บาร์ เรลต่อวัน และจัดหาจากแหล่งในประเทศ 576,800 บาร์ เรลต่อวัน คิดเป็ น 36.5 เปอร์ เซ็นต์ ของการจัดหาทังหมด ้ โดยส่วนที่นําเข้ าและจัดหาจากแหล่งในประเทศ ประกอบด้ วยนํ ้ามันดิบ นํ ้ามันสําเร็ จรู ป ก๊ าซธรรมชาติ และคอนเดน เสท มีปริ มาณบาร์ เรลเทียบเท่านํ ้ามันดิบต่อวัน ดังแสดงในตารางที่ 3-2 ตารางที่ 3-2 ปริ มาณการนําเข้ าปิ โตรเลียมของประเทศ167 ประเภท นํ ้ามันดิบ นํ ้ามันสําเร็จรูป

ปริมาณนําเข้ า (บาร์ เรลเทียบเท่านํ ้ามันดิบต่อวัน) 814,000 27,800

ปริมาณจากแหล่งในประเทศ (บาร์ เรลเทียบเท่านํ ้ามันดิบต่อวัน) 124,600 -

ก๊ าซธรรมชาติ

151,300

393,400

คอนเดนเสท

13,700

58,800

สําหรับปิ โตรเลียมที่ได้ จากแหล่งในประเทศของปี 2549168 ประมาณ 576,800 บาร์ เรล เทียบเท่านํ ้ามันดิบ ต่อวัน คิดเป็ น 37.04 เปอร์ เซ็นต์ ของการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 4.68 เปอร์ เซ็นต์ แบ่งเป็ นนํ ้ามันดิบ 124,600 บาร์ เรลต่อวัน คอนเดนเสท 58,800 บาร์ เรลต่อวัน และก๊ าซธรรมชาติเทียบเท่านํ ้ามันดิบ 393,400 บาร์ เรล ต่อวัน โดยเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 12.6, 8.1 และ 1.9 เปอร์ เซ็นต์ ตามลําดับ พื ้นที่ผลิตและปริมาณการผลิตปิ โตรเลียม จากข้ อมูลปริ มาณการผลิตก๊ าซธรรมชาติ คอนเดนเสท และนํ ้ามันดิบ ของพื ้นที่ผลิตต่างๆ ของแหล่งผลิต ปิ โตรเลียมแต่ละแห่งในประเทศไทย (รู ปที่ 3-10) แสดงให้ เห็นว่าแหล่งบงกช ผลิตก๊ าซธรรมชาติได้ รวมสูงสุดต่อปี 220,968 ล้ านลูกบาศก์ฟตุ รองลงมาเป็ นก๊ าซธรรมชาติจากแหล่งเอราวัณ 101,229 ล้ านลูกบาศก์ฟตุ ซึง่ ทังสองแหล่ ้ ง

164

กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 28. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 20. 166 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 16. 167 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 16 165

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


74

เป็ นแหล่งผลิตในอ่าวไทย ส่วนนํ ้ามันดิบผลิตได้ สงู สุดในปี 2548 จากแหล่งเบญจมาศในอ่าวไทย 15,689,925 บาร์ เรล รองลงมาเป็ นนํ ้ามันดิบจากแหล่งสิริกิติ์ (บนบก) 6,422,695 บาร์ เรล169

รูปที่ 3-10 แผนที่แสดงแหล่งปิ โตรเลียมในประเทศไทย170 ศักยภาพปิ โตรเลียมในอ่ าวไทย แหล่งนํ ้ามันดิบจัสมิน171 แหล่งนํ ้ามันดิบจัสมินมีพื ้นที่ผลิต 48.64 ตารางกิโลเมตร อยู่ในแปลงสํารวจ B5/27 ทางด้ านเหนือของอ่าว ไทย ปั จจุบนั สามารถผลิตได้ ถงึ 16,000 บาร์ เรลต่อวัน คาดว่าแหล่งนํ ้ามันดิบจัสมินมีปริ มาณสํารองประมาณ 10 ล้ าน บาร์ เรล ซึ่งบริ ษัท เพิร์ล ออยล์ กําลังยื่นขอพื ้นที่ผลิตแหล่งนํา้ มันดิบบานเย็นที่มีพื ้นที่ต่อเนื่องมาตอนใต้ ของแหล่ง

168

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 16. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ. 2548. รายงานประจําปี 2548. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน, กรุงเทพฯ. หน้ า 30. 170 กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 22. 171 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 22. 169

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


75

นํ ้ามันดิบจัสมิน คาดว่าแหล่งบานเย็นมีปริ มาณสํารองนํ ้ามันดิบ 3.8 ล้ านบาร์ เรล นอกจากนี ้ พื ้นที่ใกล้ เคียงกับแหล่ง ผลิตทังสองมี ้ ความเป็ นไปได้ สงู ที่จะค้ นพบโครงสร้ างกักเก็บต่อเนื่องออกไปจากด้ านข้ าง แหล่งนํ ้ามันดิบนางนวล172 แหล่งนํ ้ามันดิบนางนวลเป็ นแหล่งเดียวในอ่าวไทยที่พบปิ โตรเลียมในชันหิ ้ น Carbonate Reservoir Rocks อายุเพอร์ เมียน ที่มีลกั ษณะเป็ นโพรงถํา้ ซึ่งแตกต่างและแก่กว่าชัน้ หินกักเก็บในแหล่งปิ โตรเลียมอื่นๆ ในอ่าวไทย แหล่งนํ ้ามันดิบนางนวลมีพื ้นที่ผลิต 4 ตารางกิโลเมตร อยู่ในอ่าวไทยแปลงสํารวจ B6/27 ห่างจากฝั่ งจังหวัดชุมพร 25 กิโลเมตร เดิมเป็ นของบริ ษัท ไทย เชลล์ ซึ่งเริ่ มผลิตนํา้ มันดิบได้ สงู ถึงประมาณ 15,000 บาร์ เรลต่อวัน ตังแต่ ้ เดือน พฤษภาคม 2530 ต่อมาแหล่งนางนวลประสบปั ญหานํ ้าซึมเข้ าหลุมผลิต ทําให้ อตั ราการผลิตลดลงและต้ องหยุดผลิต ในแหล่งนางนวลตอนใต้ ทําให้ อตั ราการผลิตเหลือเพียงประมาณ 500 บาร์ เรลต่อวัน ปั จจุบนั บริ ษัท ปตท. สผ. สยาม จํากัด เข้ ามาดําเนินการต่อจากบริ ษัท ไทย เชลล์ แล้ วสํารวจธรณีวิทยาและธรณีฟิสิกส์เพิ่มเติม และเจาะหลุมสํารวจ นางนวล-A04 พบปิ โตรเลียม มีอตั ราการไหลสูงสุดประมาณ 9,100 บาร์ เรลต่อวัน และกําลังเตรี ยมการยื่นขอพื ้นที่ ผลิตปิ โตรเลียมเพิ่มเติมต่อเนื่องระหว่างพื ้นที่ผลิตนางนวล-เอ และนางนวล-บี ปริมาณสํารองปิ โตรเลียม กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติได้ รายงานแหล่งปิ โตรเลียมที่ค้นพบแล้ วในประเทศ (รวมพืน้ ที่พัฒนาร่ วมไทย้ ้น 72 แหล่ง เป็ นแหล่งก๊ าซ 46 แหล่ง และแหล่งนํ ้ามันดิบ 26 มาเลเซีย) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549173 มีจํานวนทังสิ แหล่ง ในจํานวนนี ้เป็ นแหล่งปิ โตรเลียมในทะเล 48 แหล่ง และบนบก 24 แหล่ง รวมกันแล้ วมีปริมาณสํารอง ดังนี ้ ปริ มาณสํารองปิ โตรเลียมในทะเลรวมทัง้ ส่วนของพืน้ ที่พัฒนาร่ วมไทย-มาเลเซีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549174 ในส่วนที่เป็ นปริ มาณสํารองที่พิสจู น์แล้ ว (Proved Reserves) ของก๊ าซธรรมชาติ 11.29 ล้ านล้ านลูกบาศก์ ฟุต ก๊ าซธรรมชาติเหลว 265.23 ล้ านบาร์ เรล และนํ ้ามันดิบ 149.59 ล้ านบาร์ เรล175 ปริ มาณสํารองที่คาดว่าจะพบ (Probable Reserves) 176 ของก๊ าซธรรมชาติ 10.19 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟตุ ก๊ า ซธรรมชาติ เ หลว 291.32 ล้ า นบาร์ เ รล และนํ า้ มัน ดิ บ 104.81 ล้ า นบาร์ เ รล ส่ว นปริ ม าณสํ า รองที่ อ าจจะพบ (Possible Reserves) 177 ของก๊ าซธรรมชาติ 8.19 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟตุ ก๊ าซธรรมชาติเหลว 160.43 ล้ านบาร์ เรล และ นํ ้ามันดิบ 36.53 ล้ านบาร์ เรล

172

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 23. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 24. 174 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 25. 175 ปริ มาณสํารองที่พสิ จู น์แล้ ว (Proved Reserves, P1) คือ ปริ มาณของปิ โตรเลียมที่สามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ ณ วันที่กําหนด ใดๆ โดยมีความแน่นอนสูง ภายใต้ เงื่อนไขสภาวะเศรษฐกิจ และวิธีการผลิตในปั จจุบนั รวมถึงกฎระเบียบของรัฐ 176 ปริ มาณสํารองที่นา่ จะพบ (Probable Reserves, P2) คือ ปริ มาณสํารองที่ยงั ไม่ได้ พิสจู น์ แต่มีความเป็ นไปได้ วา่ จะสามารถผลิต ได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลธรณีวิทยาและวิศวกรรม ซึง่ ถ้ าใช้ วิธีการคํานวณแบบความน่าจะเป็ น (Probabilistic Method) จะต้ องมีความน่าจะ เป็ นไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ว่าจะได้ ผลผลิตรวมมากกว่าหรื อเท่ากับปริ มาณสํารองที่พิสจู น์แล้ ว รวมกับปริ มาณสํารองที่คาดว่าจะพบ (P50 ≥ P1 + P2) 177 ปริ มาณสํารองที่อาจจะพบ (Possible Reserves, P3) คือ ปริ มาณสํารองที่ยงั ไม่ได้ พิสจู น์ แต่มีความเป็ นไปได้ วา่ จะสามารถผลิต ได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลธรณีวิทยา และวิศวกรรม ซึง่ ถ้ าใช้ วิธีการคํานวณแบบความน่าจะเป็ น (Probabilistic Method) จะต้ องมีความน่าจะ เป็ นไม่น้อยกว่าร้ อยละ10 ว่าจะได้ ผลผลิตรวมมากกว่าหรื อเท่ากับปริ มาณสํารองพิสจู น์แล้ วรวมกับปริ มาณสํารองที่คาดว่าจะพบและรวมกับ ปริ มาณสํารองที่นา่ จะพบ (P10 ≥ P1 + P2 + P3) 173

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


76

ปริ มาณสํารองก๊ าซในทะเลที่ใช้ สําหรับการวางแผน คือ (Proved reserves + Probable Reserves หรื อ 2P) เท่ากับ 21.48 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟตุ ขณะที่ปริ มาณสํารองรวมทังสามประเภท ้ (Proved Reserves + Probable Reserves + Possible Reserves; 3P) เท่ากับ 29.67 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟตุ ปริมาณการนําเข้ า-ส่งออกปิ โตรเลียม จากรายงานประจําปี 2549 ของกรมการส่งออก178 พบว่า ปริ มาณการนําเข้ านํ ้ามันดิบอยู่ในสินค้ าที่มี มูลค่าการนําเข้ าสูงสุด 10 อันดับแรก มีมลู ค่าการนําเข้ ารวม 172,117 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ น 14.52 เปอร์ เซ็นต์ ของ มูลค่าการนําเข้ าทังหมด ้ โดยเพิ่มขึ ้น 10.37 เปอร์ เซ็นต์ จากปี 2548 ปริมาณการขายปิ โตรเลียมในปี 2549 เป็ นก๊ าซธรรมชาติจํานวน 0.810 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟตุ คอนเดนเสท 23.668 ล้ านบาร์ เรล และนํ า้ มันดิบ 45.921 ล้ านบาร์ เรล รวมมูลค่าทัง้ สิน้ 276,594.97 ล้ านบาท คิดเป็ นมูลค่า 112,794.10, 54,642.33 และ 109,158.54 ล้ านบาท ตามลําดับ179 พื้นที่พัฒนาร่ วมไทย–มาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Development Area, MTJDA) 180 พื ้นที่พฒ ั นาร่ วมไทย-มาเลเซีย (MTJDA) เป็ นบริ เวณที่ประเทศไทยและมาเลเซีย อ้ างสิทธิเขตไหล่ทวีปทับ ซ้ อนในบริเวณอ่าวไทยตอนล่างครอบคลุมพื ้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร จุดศูนย์กลางพื ้นที่พฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซียอยู่ ห่างจากชายฝั่ งจังหวัดปั ตตานี 180 กิโลเมตร จากชายฝั่ งจังหวัดสงขลาประมาณ 260 กิโลเมตร และจากเมืองโกตา บารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียประมาณ 150 กิโลเมตร รัฐบาลไทยและรัฐบาลมาเลเซียร่ วมกันจัดตังองค์ ้ กรร่ วมไทย-มาเลเซีย ให้ มีฐานะเป็ นนิติบุคคล โดยสรวม สิทธิและรับผิดชอบแทนรัฐบาลทังสอง ้ ในการสํารวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในพื ้นที่ พัฒนาร่ วมไทย-มาเลเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปิ โตรเลียม องค์กรร่ วมไทย-มาเลเซียมีอํานาจในการทําสัญญาให้ สิทธิ สํารวจและพัฒนาปิ โตรเลียมแก่บริ ษัทผู้ประกอบการได้ ภายใต้ เงื่อนไขของระบบสัญญาแบ่งปั นผลผลิต (Production Sharing Contract) โดยหลักการขององค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ทังค่ ้ าใช้ จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้ มาจากกิจกรรมการ สํารวจและผลิตปิ โตรเลียมในพื ้นที่พฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซียนัน้ รัฐบาลทังสองจะแบ่ ้ งปั นโดยเท่าเทียมกัน (50:50) ใน ปั จจุบนั พื ้นที่พฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซีย ประกอบด้ วยแปลงสํารวจ 3 แปลง (แปลง A-18, B-17 และ C-19)

178

กลุม่ งานมาตรฐานพิธีการและราคาศุลกากร. 2549. รายงานประจําปี 2549. กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง, กรุ งเทพฯ. หน้ า

179

กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 46. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 60-65.

5-6. 180

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


77

รูปที่ 3-11 แปลงสํารวจพื ้นที่ร่วมไทย-มาเลเซีย181 แปลงสํารวจในเขตพื ้นที่ทบั ซ้ อนไทย-มาเลเซียนี ้มีกลุ่มบริ ษัทผู้ประกอบการที่ได้ รับสัญญาสัมปทานในแต่ ละแปลง (รูปที่ 3-11) คือ แปลงสํารวจ A-18 บริ ษัท Hess Oil Company of Thailand (JDA) Ltd. (49.5 เปอร์ เซ็นต์) Hess Oil Company of Thailand Inc. (0.5 เปอร์ เซ็นต์) และบริ ษัท PCJDA Limited จากประเทศมาเลเซีย (50 เปอร์ เซ็นต์) ซึง่ ร่วมกันจัดตังบริ ้ ษัท Carigali-Hess Operating Company Sdn.Bhd. (Carigali-Hess) เป็ นผู้ บริ ษัททังสองได้ ้ ดําเนินงาน ซึ่งสํารวจพบก๊ าซธรรมชาติในแปลงสํารวจจํานวน 9 แหล่ง ประกอบด้ วยแหล่งก๊ าซจักรวาล แหล่งก๊ าซ สุริยา แหล่งก๊ าซบุหลัน แหล่งก๊ าซภูมี แหล่งก๊ าซภูมีตะวันออก แหล่งก๊ าซเซ็นจา แหล่งก๊ าซสมุทรา แหล่งก๊ าซสมุทรา เหนือ และแหล่งก๊ าซวีร่า แปลงสํารวจ B-17 และ B-17-01 บริ ษัท PTTEP International Limited จากประเทศไทย (50 เปอร์ เซ็นต์) กับ บริ ษัท PCJDA Limited จากประเทศมาเลเซีย (50 เปอร์ เซ็นต์) ซึง่ บริ ษัททังสองได้ ้ ร่วมกันจัดตังบริ ้ ษัท Carigali– PTTEPI Operating Company Sdn.Bhd. (CPOC) เป็ นผู้ดําเนินงาน ได้ สํารวจพบก๊ าซในแปลง B-17 จํานวน 9 แหล่ง ประกอบด้ วยแหล่งก๊ าซมูด้า แหล่งก๊ าซมูด้าใต้ แหล่งก๊ าซตาปี แหล่งก๊ าซเจ็งก้ า แหล่งก๊ าซอมฤต แหล่งก๊ าซมะลิ แหล่งก๊ าซเจ็งก้ าตะวันตก แหล่งก๊ าซเจ็งก้ าใต้ และแหล่งก๊ าซเจ็งก้ าตะวันออก ในปี 2549 แหล่งก๊ าซจักรวาล แปลง A-18 ผลิตก๊ าซในอัตราประมาณวันละ 360 ล้ านลูกบาศก์ฟุต และ คอนเดนเสทวันละ 4,550 บาร์ เรล มีปริ มาณการซื ้อขายก๊ าซจํานวน 130 พันล้ านลูกบาศก์ฟุต ผลิตคอนเดนเสทได้ 1,665,113 บาร์ เรล และซื ้อขายคอนเดนเสท 1,763,832 บาร์ เรล ปริ มาณสํารอง (Proved & Probable Reserve) ก๊ าซธรรมชาติ (ไม่รวมก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์) คอนเดน ั นาร่ วมไทย-มาเลเซีย ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2549 จํานวน 8,358 พันล้ านลูกบาศก์ฟุต 118 เสท และนํ ้ามัน ในพื ้นที่พฒ ล้ านบาร์ เรล และ 17.9 ล้ านบาร์ เรล ตามลําดับ โดยประเทศไทยเป็ นเจ้ าของครึ่ งหนึ่งของปริ มาณสํารองทังหมดใน ้ พื ้นที่พฒ ั นาร่ วมไทย-มาเลเซีย สําหรับรายได้ จากการผลิตปิ โตรเลียม กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติได้ ตรวจสอบค่าใช้ จ่าย จากการประกอบการในพืน้ ที่พัฒนาร่ วมไทย-มาเลเซีย และนําส่งเงินค่าภาคหลวงปิ โตรเลียมส่วนที่เป็ นกําไรและ

181

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 61

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


78

รายได้ อื่นๆ จากการผลิตปิ โตรเลียมแหล่งจักรวาล (แปลง A-18) ให้ รัฐบาลไทย โดยมีรายได้ จากการผลิตปิ โตรเลียมใน ปี 2549 ประมาณ 78.90 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ (2,930.87 ล้ านบาท) พื้นที่ทับซ้ อนไทย-กัมพูชา (Thai-Cambodian Joint Area)182 บันทึกความเข้ าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา (MOU) ว่า ด้ วยพื ้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้ างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้ อนกันบริเวณอ่าวไทยทางด้ านตะวันออก 25,923 ตารางกิโลเมตร ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน 2544 มีเจตนารมณ์ ว่า ให้ ทงสองฝ่ ั้ ายเร่ งรัดการเจรจาที่จะดําเนินการจัดทําความตกลง สําหรั บการพัฒนาร่ วมทรัพยากรปิ โตรเลียมในพืน้ ที่กําหนดให้ พัฒนาร่ วม และตกลงแบ่งเขตทางทะเลซึ่งสามารถ ยอมรับได้ ร่วมกันในพื ้นที่ที่กําหนดให้ แบ่งเขต โดยให้ ดําเนินการไปพร้ อมกันในลักษณะไม่แบ่งแยก ซึง่ มีคณะกรรมการ ร่วมด้ านเทคนิคไทย-กัมพูชา (Thai-Cambodian Joint Technical Committee–JTC) เป็ นผู้รับผิดชอบ (รูปที่ 3-12)

รูปที่ 3-12 แผนที่แสดงพื ้นที่ทบั ซ้ อนไทย-กัมพูชา183 คณะกรรมการดังกล่าวมีหน้ าที่รับผิดชอบในการกําหนด184 (1) เงื่ อนไขที่ตกลงร่ วมกันของสนธิ สัญญาการพัฒนาร่ วม รวมถึงพืน้ ฐานซึ่งยอมรับร่ วมกันในการ แบ่งปั นค่าใช้ จ่ายและผลประโยชน์ของการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรปิ โตรเลียมในพื ้นที่พฒ ั นาร่วม และ 182

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 66. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 65. 184 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 64. 183

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


79

(2) การแบ่งเขตทะเลอาณาเขต ไหล่ทวีป และเขตเศรษฐกิจจําเพาะระหว่างเขตที่แต่ละฝ่ ายอ้ างสิทธิ อยูใ่ นพื ้นที่ที่ต้องแบ่งเขตตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศซึง่ ใช้ บงั คับ เงื่ อ นไขที่ ตกลงร่ ว มกัน ของสนธิ สัญ ญาการพัฒ นาร่ ว ม รวมถึง พื น้ ฐานซึ่งยอมรั บ ร่ ว มกัน ในการแบ่ง ปั น ค่าใช้ จ่ายและผลประโยชน์ของการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรปิ โตรเลียมในพื ้นที่พฒ ั นาร่ วม และการแบ่งเขตทะเล อาณาเขต ไหล่ทวีป และเขตเศรษฐกิจจําเพาะระหว่างเขตที่แต่ละฝ่ ายอ้ างสิทธิ อยู่ในพืน้ ที่ที่ต้องแบ่งเขตตามหลัก กฎหมายระหว่างประเทศซึง่ ใช้ บงั คับ ในโอกาสที่ พ.ต.ท. ทักษิ ณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ของไทย เยือนราชอาณาจักรกัมพูชาอย่างเป็ น ทางการในเดือนสิงหาคม 2549 ได้ มีการประชุมหารื อระหว่างนายวิเศษ จูภิบาล (รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน) และคณะ (กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติและกระทรวงการต่างประเทศ) กับนาย สก อัน (รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี กัมพูชา) ซึ่งคณะทังสองฝ่ ้ ายเห็นชอบให้ จัดตังคณะทํ ้ างานร่ วมไทย-กัมพูชา จํานวน 3 คณะ ประกอบด้ วยคณะทํางานไทย-กัมพูชาว่าด้ วยระบอบการพัฒนาร่ วม คณะทํางานไทย-กัมพูชาว่าด้ วยการแบ่ง เขตทางทะเล และคณะผู้เชี่ยวชาญด้ านเทคนิคไทย-กัมพูชา เพื่อเร่ งรัดให้ มีการแก้ ไขปั ญหาพืน้ ที่ทบั ซ้ อนฯ ภายใต้ กรอบบันทึกความเข้ าใจฯ ในปี 2544 ดังกล่าว (รูปที่ 3-13)

รูปที่ 3-13 ผังคณะกรรมการและคณะทํางานเพื่อแก้ ไขปั ญหาพื ้นที่ทบั ซ้ อนไทย-กัมพูชา (ฝ่ ายไทย) 185 นอกจากนี ้ กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติประสานงานและประชุมหารื อร่ วมกับกระทรวงการต่างประเทศในเรื่ อง การแก้ ไขปั ญหาพืน้ ที่ทับซ้ อนฯ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงได้ วิเคราะห์ในเรื่ องการบริ หารจัดการทรัพยากรปิ โตรเลียมที่ เหมาะสมกับการพัฒนาร่ วม เพื่อเป็ นการเตรี ยมการสําหรับการพัฒนาร่ วมในพื ้นที่ทบั ซ้ อนฯ หากมีการบรรลุข้อตกลง ระหว่างรัฐบาลทังสองประเทศต่ ้ อไปในอนาคต

185

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 66.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


80

มูลค่าการใช้ ทรัพยากรไม่มีชีวิตเชิงเศรษฐกิจ: ประมาณจากมูลค่าการใช้ ตา่ งๆ ที่มีการบันทึกไว้ ปริ มาณการขายปิ โตรเลียมที่ ผลิตได้ ในทะเลในปี 2549186 เป็ นก๊ าซธรรมชาติจํานวน 0.810 ล้ านล้ าน ลูกบาศก์ฟตุ คอนเดนเสท 23.668 ล้ านบาร์ เรล และนํ ้ามันดิบ 45.921 ล้ านบาร์ เรล รวมมูลค่าทังสิ ้ ้น 276,594.97 ล้ าน บาท เป็ นมูลค่าก๊ าซธรรมชาติ 112,794.10 ล้ านบาท คอนเดนเสท 54,642.33 ล้ านบาท และนํ ้ามันดิบ 109,158.54 ล้ านบาท ปริ มาณการขายปิ โตรเลียมของประเทศไทยตังแต่ ้ ปี 2524 ถึงสิ ้นปี 2549 ประกอบด้ วย ก๊ าซธรรมชาติ จํานวน 10.190 ล้ านล้ านลูกบาศก์ฟตุ คอนเดนเสท 301.936 ล้ านบาร์ เรล ส่วนนํ ้ามันดิบที่ผ้ รู ับสัมปทานเริ่ มผลิตตังแต่ ้ ปี 2526 ถึงสิ ้นปี 2549 จํานวน 354.402 ล้ านบาร์ เรล มูลค่าปิ โตรเลียมมีจํานวนทังสิ ้ ้น 1,637,143.28 ล้ านบาท เป็ น ของก๊ าซธรรมชาติ 906,063.81 ล้ านบาท คอนเดนเสท 295,180.24 ล้ านบาท และนํ ้ามันดิบ 435,899.23 ล้ านบาท โดยรัฐได้ รับค่าภาคหลวงทังสิ ้ ้น 206,650.22 ล้ านบาท เป็ นค่าภาคหลวงจากก๊ าซธรรมชาติ 113,639.37 ล้ านบาท คอนเดนเสท 36,899.94 ล้ านบาท และจากนํ ้ามันดิบ 56,110.91 ล้ านบาท187 ค่าภาคหลวงจากการผลิตปิ โตรเลียมในทะเลในปี 2549188 มีจํานวน 35,316 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน ประมาณ 0.25 เปอร์ เซ็นต์ นอกจากนี ้ รายได้ จากภาษี เงินได้ ของผู้รับสัมปทานซึ่งต้ องจ่ายในอัตราไม่น้อยกว่า 50 เปอร์ เซ็นต์ ของ รายได้ สุทธิ จากการประกอบกิจการปิ โตรเลียม โดยบริ ษั ทที่ มีรายได้ หลังจากหักค่าใช้ จ่ายแล้ ว ซึ่งในปี 2549 รั ฐ สามารถจัดเก็บภาษาเงินได้ ปิโตรเลียมเป็ นเงิน 46,104 ล้ านบาท และผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษเป็ นเงิน 7,809 ล้ าน ั ้ ปี 2528 ถึงปี 2548 มีจํานวน 15 บริษัท เป็ นเงิน 216,431 ล้ านบาท และรัฐ บาท189 ซึง่ จากการเริ่มเก็บภาษี เงินได้ ตงแต่ ได้ รับผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ตังแต่ ้ ปี 2546-2548 รวมกันเป็ นจํานวน 10,925 ล้ านบาท 190 แนวทางการพัฒนาในอนาคต กระทรวงพลังงาน191 ได้ จดั ทํานโยบายและแผนพัฒนาพลังงานของประเทศให้ สอดคล้ องกับนโยบายด้ าน พลังงานของรัฐบาล โดยกําหนดแผนเป็ น 2 ระยะ ได้ แก่ (1) แผนระยะสัน้ คือ นโยบายเร่งด่วนเพื่อแก้ ปัญหาพลังงานของประเทศ (2) แผนระยะยาว คือ การวางรากฐานการพัฒนาพลังงานของประเทศ แผนระยะสัน้ เป็ นแผนที่จะเริ่มดําเนินการทันที ในรัฐบาลนี ้ ได้ แก่ (1) ปรั บโครงสร้ างการบริ หารกิจการพลังงานให้ เหมาะสม เพื่ อให้ การบริ หารจัดการพลังงานของ ประเทศมีประสิทธิภาพสูงสุด (2) จัดหาพลังงาน เพื่อให้ พลังงานมีความเพียงพอและมัน่ คง (3) ส่งเสริมให้ มีการใช้ พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ

186

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 46. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 46. 188 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 4. 189 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 4. 190 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 46. 191 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 156, หน้ า 9. 187

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


81

(4) ส่งเสริ มพลังงานทดแทนที่เหมาะสมกับประเทศ เพื่อกระจายชนิดเชื ้อเพลิงและลดการพึ่งพาการ นําเข้ าพลังงาน (5) กําหนดโครงสร้ างราคาพลังงานเพื่อให้ การกําหนดราคาพลังงานโปร่ งใส เป็ นธรรม และสะท้ อน ต้ นทุนที่แท้ จริง (6) กําหนดมาตรการด้ านพลังงานสะอาด เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้ อมที่เกิดจากการประกอบกิจการ พลังงานในรูปแบบต่างๆ (7) ส่งเสริมให้ ภาคเอกชนและประชาชนมีสว่ นร่วมในการกําหนดนโยบาย เพื่อความเข้ าใจและร่วมมือ กันพัฒนาพลังงานของประเทศ แผนระยะยาว เป็ นการศึกษา วิจยั เพื่อวางรากฐานการบริ หารจัดการแบบยัง่ ยืน และสอดคล้ องกันตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้ แก่ (1) จัดหาพลังงาน กําหนดมาตรการเพื่อพัฒนาและจัดหาพลังงานของประเทศ เพื่อความมัน่ คง มีใช้ อย่างเพียงพอทัว่ ถึง และลดการนําเข้ าพลังงานจากต่างประเทศ สนับสนุนการใช้ พลังงานและพลังงานทางเลือกอื่นๆ (2) พัฒนาพลังงานแบบยัง่ ยืน โดยนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ ในการพัฒนาพลังงานควบคู่ไปกับลด ผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อมจากการพัฒนาธุรกิจพลังงาน และให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการพลังงาน (3) ใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการพัฒนาโครงการที่สง่ ผลให้ การใช้ พลังงาน โดยเฉพาะ นํ ้ามัน (4) ส่งเสริมการแข่งขันในธุรกิจพลังงาน เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและความเป็ นธรรม นอกจากนัน้ เพื่ อ เป็ นการเพิ่มแรงจูง ใจให้ แ ก่บ ริ ษั ท ผู้รับ สัมปทานในการเข้ า มาลงทุน สํา รวจและผลิต ปิ โตรเลียมในประเทศ กรมเชื อ้ เพลิงธรรมชาติได้ จัดทําร่ างแก้ ไข ปรั บปรุ งพระราชบัญญัติปิโตรเลียมปี 2514 ใน ประเด็นสําคัญคือ เพิ่มมาตรการส่งเสริ มและเร่ งรัดการพัฒนาแหล่งปิ โตรเลียมขนาดเล็ก ที่สํารวจพบแต่ไม่สามารถ ผลิตได้ ในเชิงพาณิชย์และแหล่งที่มีกําลังการผลิตลดตํ่าลง กําหนดบทบัญญัติที่ชดั เจนเกี่ยวกับการรื อ้ ถอนแท่นผลิตที่ หมดอายุการใช้ งาน และปรับปรุ งขันตอนการอนุ ้ มตั ิอนุญาตการดําเนินการของผู้รับสัมปทานตามกฎหมายให้ สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ ้น ซึง่ ขณะนี ้อยูใ่ นขันตอนการตรวจแก้ ้ ไขให้ รัดกุมและเหมาะสมยิ่งขึ ้น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


82

3.2 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองด้ านพาณิชยนาวี 3.2.1 ความหมายและความสําคัญของพาณิชยนาวี พระราชบัญญัติส่งเสริ มการพาณิ ชยนาวี พ.ศ. 2521 ได้ ให้ ความหมายเกี่ ยวกับพาณิ ชยนาวี (Maritime Transport) ไว้ ในมาตราที่ 4 ดังนี ้ “การพาณิชยนาวี” หมายความว่า การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรื อ กิจการอู่เรื อและ กิจการท่าเรื อ และหมายความรวมถึงกิจการอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงหรื อเป็ นส่วนประกอบกับกิจการดังกล่าว ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “การขนส่งทางทะเล” หมายความว่า การขนส่งของหรื อคนโดยสารโดยเรื อจากประเทศไทยไปยังต่างประเทศ หรื อจากต่างประเทศมายังประเทศไทยหรื อจากที่หนึง่ ไปยังอีกที่หนึง่ นอกราชอาณาจักร และให้ หมายความรวมถึงการ ขนส่งของหรื อคนโดยสารทางทะเลชายฝั่ งในราชอาณาจักรโดยเรื อที่มีขนาดตังแต่ ้ สองร้ อยห้ าสิบตันกรอสขึ ้นไปด้ วย ้ ่ จากคําจํากัดความดังกล่าวจะเห็นได้ ว่ากิจการพาณิชยนาวีเป็ นกิจการที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมมากมายทังที เกิดขึ ้นในทะเลและบนฝั่ ง เมื่อพิจารณาปริ มาณการค้ าระหว่างประเทศ จะเห็นว่าการขนส่งทางทะเลมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการค้ า ระหว่างประเทศ กล่าวคือ กว่า 90 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณการค้ าระหว่างประเทศขนส่งโดยทางทะเล ซึ่งปริ มาณการ ขนส่งทางทะเลของไทยก็เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ในปี 2525 การขนส่งทางทะเลมีปริ มาณเพียง 36.8 ล้ านตัน ในปี 2548 เพิ่มขึ ้นเป็ น 183.5 ล้ านตัน 250,000

พันตน ั

200,000

150,000

ทางทะเล การขนส่งอืน ่

100,000

ิ้ รวมทัง้ สน

50,000

25 25 25 27 25 29 25 31 25 33 25 35 25 37 25 39 25 41 25 43 25 45 25 47

0

รูปที่ 3-14 ปริมาณการค้ าระหว่างประเทศ จําแนกตามรูปแบบการขนส่ง ปี 2525 – 2548 192

192

กระทรวงคมนาคม. 2550. สถิตกิ ารขนส่ งปี 2534, 2540. กระทรวงคมนาคม, กรุงเทพฯ. และ กระทรวงคมนาคม. 2550. การ ขนส่ งสินค้ าระหว่ างประเทศ. แหล่งที่มา : http://porta.mot.go.th, 4 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


83

หากพิจารณาจากมูลค่าการค้ าทางทะเลก็เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน ในปี 2525 การค้ าทางทะเลของ ไทยมีมลู ค่าเพียง 321,722 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นเป็ น 6,120,901 บาท ในปี 2548 ทังนี ้ ้เป็ นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรม และการส่งออกของประเทศตลอดระยะเวลากว่า 20 ปี 10,000,000 9,000,000 8,000,000

บาท

7,000,000 6,000,000

ทางทะเล

5,000,000

การขนส่งอืน ่ ิ้ รวมทัง้ สน

4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000

2548

2547

2546

2545

2544

2543

2542

2541

2540

2539

2538

2537

2536

2535

2534

2533

2532

2531

2530

2529

2528

2527

2526

2525

0

รูปที่ 3-15 มูลค่าการค้ าระหว่างประเทศ จําแนกตามรูปแบบการขนส่ง ปี 2525 – 2548193 3.2.2 สถานการณ์ การขนส่ งทางทะเลในปั จจุบัน 3.2.2.1 องค์ประกอบในการขนส่งทางทะเลในรายงานนี ้แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ 1) ท่าเรื อ แม้ ว่าในพระราชบัญญัติส่งเสริ มการพาณิชนาวี พ.ศ. 2521 ท่าเรื อจะหมายถึงเฉพาะท่าเรื อ สินเดินสมุทรซึ่งขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศ แต่ท่าเรื อประเภทอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าเรื อประมงซึง่ มีจํานวนมากใน ้ ้ท่าเรื อจะประกอบด้ วยท่าเรื อสินค้ า ชายฝั่ งทะเลไทยก็มีผลกระทบไม่น้อยต่อการใช้ ทะเลของไทย ดังนันในรายงานนี ท่าเรื อประมง และท่าเรื อโดยสาร/ท่าเรื อท่องเที่ยว 2) เรื อ ประกอบด้ วย เรื อค้ าระหว่างประเทศ หมายถึง เรื อที่ขนส่งสินค้ านําเข้ าและส่งออกของประเทศ และเรื อค้ าชายฝั่ ง หมายถึง เรื อที่ขนส่งสินค้ าในประเทศ 3) สินค้ า ประกอบด้ วยสินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อค้ าระหว่างประเทศ หรื อสินค้ านําเข้ าและสินค้ าส่งออก และ สินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง หรื อสินค้ าในประเทศ การวิเคราะห์การขนส่งทางทะเลที่ผ่านมา มักจะจําแนกพื ้นที่ในการศึกษาโดยใช้ พื ้นที่บนบกเป็ นแนวใน การศึกษา แต่เนื่องจากการศึกษาในครัง้ นี ้ใช้ แนวท้ องนํ ้าหรื อแนวชายฝั่ งเป็ นแนวในการศึกษา ทังนี ้ ้เพื่อให้ การวิเคราะห์ ทําได้ ง่ายเมื่อวิเคราะห์ร่วมกับประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับทะเล โดยแบ่งชายฝั่ งที่ศกึ ษาเป็ น 4 ส่วนดังนี ้ 1) อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก หมายถึง ทะเลในภาคตะวันออกของประเทศไทย จังหวัดที่ตงอยู ั ้ ่ในอ่าวไทยฝั่ ง ตะวันออก ประกอบด้ วย ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา 193

อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 192.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


84

2) อ่าวไทยตอนใน หมายถึง อ่าวไทยส่วนที่เป็ นปากอ่าวไทย หากพิจารณาจากแผนที่ประเทศไทยจะมี ลักษณะคล้ ายอักษร “ก” อ่าวไทยตอนในเป็ นบริ เวณที่แม่นํ ้าสายสําคัญของประเทศไทยไหลสู่ทะเล ได้ แก่ แม่นํา้ เจ้ าพระยา แม่นํ ้าท่าจีน และแม่นํ ้าแม่กลอง จังหวัดที่ตงอยู ั ้ ใ่ นอ่าวไทยตอนในจึงประกอบด้ วยจังหวัดที่แม่นํ ้าทัง้ 3 สาย ไหลออกสูท่ ะเลตามลําดับ ได้ แก่ สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม นอกจากนี ้ยังรวมถึงกรุงเทพมหานคร เนื่องจากเป็ นที่ตงของท่ ั้ าเรื อกรุงเทพซึง่ เป็ นท่าเรื อหลักของประเทศ 3) อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก หมายถึงชายทะเลในภาคตะวันตก และภาคใต้ ของประเทศ นับเป็ นชายฝั่ งที่มี ความยาวที่สดุ ประกอบด้ วยจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี และนราธิวาส 4) ชายฝั่ งอันดามัน หมายถึงชายทะเลที่ออกสู่มหาสมุทรอินเดีย ประกอบด้ วยจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


85

ตารางที่ 3-3 จํานวนท่าเรื อ–จําแนกตามชายฝั่ งทะเล จังหวัด และประเภทท่าเรื อ194 ลําดับที่

ชายฝั่ งทะเล

จังหวัด

สินค้ า

ประมง

โดยสาร

รวม

1

อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

ตราด

1

11

5

17

2

อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

จันทบุรี

0

7

0

7

3

อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

ระยอง

12

22

9

43

4

อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

ชลบุรี

17

12

2

31

5

อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

ฉะเชิงเทรา

9

5

0

14

39 11 47 3 2 63 2 1 2 16 5 8 0 0 34 2 0 3 5 1 0 11 147

57 1 1 0 10 12 7 19 14 8 24 2 1 1 76 13 20 6 8 14 16 77 222

16 0 2 5 4 11 0 0 2 4 1 3 0 0 10 1 7 13 7 6 3 37 74

112 12 50 8 16 86 9 20 18 28 30 13 1 1 120 16 27 22 20 21 19 125 443

รวมอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยตอนใน กรุงเทพฯ อ่าวไทยตอนใน สมุทรปราการ อ่าวไทยตอนใน สมุทรสงคราม อ่าวไทยตอนใน สมุทรสาคร รวมอ่าวไทยตอนใน อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก เพชรบุรี อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ประจวบคีรีขนั ธ์ อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ชุมพร อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก สุราษฎร์ ธานี อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก นครศรี ธรรมราช อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก สงขลา อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ปั ตตานี อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก นราธิวาส รวมอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อันดามัน ระนอง อันดามัน พังงา อันดามัน ภูเก็ต อันดามัน กระบี่ อันดามัน ตรัง อันดามัน สตูล รวมชายฝั่ งอันดามัน รวมทังสิ ้ ้น

6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

194

ฝ่ ายสถิติ กองวิชาการและวางแผน กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


86

ท่ าเรื อ ตลอดชายฝั่ งทะเลของไทยทัง้ อ่าวไทยและอันดามัน มีท่าเรื อสินค้ า ท่าเรื อประมง และท่าเรื อโดยสาร/ ท่าเรื อท่องเที่ยว ตังอยู ้ ่ถึง 443 ท่า195 รู ปที่ 3-16 แสดงให้ เห็นท่าเรื อที่ตงอยู ั ้ ่ในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกมีจํานวน 112 ท่า อ่าวไทยตอนใน 86 ท่า อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก 120 ท่า และทะเลอันดามัน 125 ท่า รู ปที่ 3-14 แสดงให้ เห็นว่าหาก จําแนกท่าเรื อตามประเภทการให้ บริ การจะเห็นว่าท่าเรื อเหล่านี ้ประกอบด้ วยท่าเรื อสินค้ า 147 ท่า ท่าเรื อประมง 222 ท่า และท่าเรื อโดยสาร รวม 74 ท่า

ท่าเรือไทย จําแนกตามชายฝั่ง

อ ันดาม ัน , 125, 29%

อ่าวไทยฝั่งตะว ันตก , 120, 27%

อ่าวไทยฝั่ง ตะว ันออก , 112, 25%

อ่าวไทยฝั่งตอนใน , 86, 19%

รูปที่ 3-16 ท่าเรื อไทย จําแนกตามชายฝั่ ง196 1) ท่าเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยฝั่ งตะวันออกประกอบด้ วยจังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา มีทา่ เรื อทังสิ ้ ้นรวม 112 ท่า ประกอบด้ วยท่าเรื อสินค้ า 39 ท่า ท่าเรื อประมง 57 ท่า และท่าเรื อโดยสาร 16 ท่า จังหวัดที่มีท่าเรื อตังอยู ้ ่มากที่สดุ ได้ แก่ ระยอง คือ 43 ท่า เป็ นท่าเรื อสินค้ า 12 ท่า ท่าเรื อประมง 22 ท่า และท่าเรื อโดยสาร 9 ท่า รองลงมาได้ แก่ ชลบุรี 31 ท่า โดยมากที่สดุ คือ ท่าเรื อสินค้ า 12 ท่า ท่าเรื อประมง 17 ท่า และท่าเรื อโดยสาร 2 ท่า จังหวัดตราดมีท่าเรื อ 17 ท่า ท่าเรื อสินค้ า 1 ท่า ท่าเรื อประมง 11 ท่า และท่าเรื อโดยสาร 5 ท่า จังหวัดฉะเชิงเทรามีท่าเรื อ 14 ท่า เป็ นท่าเรื อสินค้ า 9 ท่า และท่าเรื อประมง 5 ท่า และจันทบุรีมีท่าเรื อ 7 ท่า ทังหมดเป็ ้ นท่าเรื อประมง (รูปที่ 3-17) ท่าเรื อที่สําคัญในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกมี 2 ท่า ได้ แก่ ท่าเรื อแหลมฉบัง ตังอยู ้ ่ในจังหวัดชลบุรี เป็ นท่าเรื อ หลักของประเทศในด้ านตู้สินค้ าและสินค้ าเทกอง ท่าเรื อแหลมฉบังเป็ นท่าเรื อที่อยู่ในความรับผิดชอบของการท่าเรื อ

195 196

อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194. อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


87

แห่งประเทศไทย ท่าเรื อที่สําคัญอีกแห่ง คือ ท่าเรื อมาบตาพุด ในจังหวัดระยอง เป็ นท่าเรื อหลักในด้ านสินค้ าเทกอง (Bulk Cargo) ทังสิ ้ นค้ าเหลว ได้ แก่ นํ ้ามันและสารเคมี และสินค้ าเทกองแห้ ง ได้ แก่ ถ่านหิน ท่าเรือในอ่าวไทยฝั่งตะว ันออก จําแนกตามจ ังหว ัดและประเภทท่าเรือ

25

20

15

10

5

0 ตราด

จ ันทบุร ี

ระยอง ประมง

สินค้า

ชลบุร ี

ฉะเชิงเทรา

โดยสาร

รูปที่ 3-17 ท่าเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ197 2) ท่าเรื อในอ่าวไทยตอนใน อ่าวไทยตอนในประกอบด้ วยจังหวัดกรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม อ่าวไทยตอน ในมีท่าเรื อ 86 ท่า ท่าเรื อส่วนใหญ่เป็ นท่าเรื อสินค้ า จังหวัดที่ท่าเรื อตังอยู ้ ่มากที่สดุ คือ สมุทรปราการ คือ 50 ท่า เป็ น ้ ่ 16 ท่า เป็ นท่าเรื อประมง 10 ท่า ท่าเรื อสินค้ า 2 ท่า ท่าเรื อสินค้ าถึง 47 ท่า รองลงมาได้ แก่ สมุทรสาคร มีท่าเรื อตังอยู และท่าเรื อโดยสาร 4 ท่า กรุ งเทพมหานคร มีท่าเรื อตังอยู ้ ่ 12 ท่า เป็ นท่าเรื อสินค้ า 11 ท่า และสมุทรสงครามมีท่าเรื อ 8 ท่า เป็ นท่าเรื อโดยสาร 5 ท่า และท่าเรื อสินค้ า 3 ท่า (รูปที่ 3-18) ท่าเรื อในอ่าวไทยตอนในมีลกั ษณะเป็ นท่าเรื อในแม่นํ ้า ซึง่ แม่นํ ้าสายสําคัญ ได้ แก่ แม่นํ ้าเจ้ าพระยา ท่าเรื อ ้ า ที่สําคัญที่สดุ ที่ตงอยู ั ้ ่บนแม่นํ ้าเจ้ าพระยาคือ ท่าเรื อกรุงเทพ ซึง่ เป็ นท่าเรื อหลักแห่งแรกของประเทศไทย โดยตังมากว่ 50 ปี ท่าเรื อกรุ งเทพเป็ นท่าเรื ออีกแห่งที่อยู่ในความรับผิดชอบของการท่าเรื อแห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ท่าเรื อกรุงเทพ เป็ นท่า เรื อ ตู้สิน ค้ า ที่ ใ หญ่ เป็ นอัน ดับ 2 ของประเทศ นอกจากท่า เรื อ กรุ ง เทพแล้ ว ยัง มี ท่า เรื อ สาธารณะ 5 แห่ง ที่ ให้ บริ การบรรทุกขนถ่ายตู้สินค้ า ท่าเรื ออื่นๆ เป็ นท่าเรื อสินค้ าทัว่ ไปซึ่งส่วนใหญ่ให้ บริ การแก่ธุรกิจหรื อกลุ่มธุรกิจของ ตนเอง

197

อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


88

ท่าเรือในอ่าวไทยตอนใน จําแนกตามจ ังหว ัดและประเภทท่าเรือ

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กรุงเทพ ฯ

สมุทรปราการ ท่าเรือประมง

สมุทรสาคร ท่าเรือสินค้า

สมุทรสงคราม

ท่าเรือโดยสาร

รูปที่ 3-18 ท่าเรื อในอ่าวไทยตอนใน จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ198 3) ท่าเรื อในอ่าวไทยตะวันตก ชายฝั่ งในภาคตะวันตกของอ่าวไทยนับเป็ นชายฝั่ งที่ยาวที่สดุ ของประเทศ มีจงั หวัดที่ตงอยู ั ้ ่ตามแนวชายฝั่ ง ถึง 8 จังหวัด ได้ แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี และนราธิวาส มี ท่าเรื ออยู่ 120 ท่า ประกอบด้ วยท่าเรื อประมง 76 ท่า ท่าเรื อสินค้ า 34 ท่า และท่าเรื อโดยสาร 10 ท่า จังหวัดที่มีท่าเรื อมากที่สดุ คือ นครศรี ธรรมราช คือ 30 ท่า ส่วนใหญ่เป็ นท่าเรื อประมง คือ 24 ท่า ท่าเรื อ ้ ้น 28 ท่า เป็ นท่าเรื อสินค้ า 16 ท่า สินค้ า 5 ท่า และท่าเรื อโดยสาร 1 ท่า รองลงมา ได้ แก่ สุราษฎร์ ธานี มีท่าเรื อทังสิ ้ น ท่าเรื อประมง 8 ท่า และท่าเรื อท่องเที่ยว 4 ท่า อันดับ 3 ได้ แก่ ประจวบคีรีขนั ธ์ มีท่าเรื อรวม 20 ท่า เกือบทังหมดเป็ ท่าเรื อประมง คือ 19 ท่า อีก 1 ท่าเป็ นท่าเรื อสินค้ า (รูปที่ 3-19) ท่าเรื อที่สําคัญในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก คือ ท่าเรื อสงขลา ตังอยู ้ ่ในทะเลสาบสงขลา เป็ นท่าเรื อสินค้ าทัว่ ไป และสินค้ าห้ องเย็น

198

อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


89 ท่าเรือในอ่าวไทยฝั่งตะว ันออก จําแนกตากจ ังหว ัดและประเภทท่าเรือ 25

20

15

10

5

0 เพชรบุร ี

ประจวบ ฯ

ชุมพร

สุราษฎร์ ฯ

ท่าเรือประมง

นครศรีฯ

ท่าเรือสินค้า

สงขลา

ปี ตตานี

นราธิวาส

ท่าเรือโดยสาร

รูปที่ 3-19 ท่าเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ199 4) ท่าเรื อในชายฝั่ งทะเลอันดามัน จังหวัดที่ตงอยู ั ้ ่บนชายฝั่ งทะเลอันดามัน ประกอบด้ วย ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล มีท่าเรื อ ตังอยู ้ ่ตามจังหวัดต่างๆ 125 ท่า ส่วนใหญ่ เป็ นท่าเรื อประมง คือ 77 ท่า ท่าเรื อสินค้ า 11 ท่า เป็ นชายฝั่ งที่มีท่าเรื อ โดยสารตังอยู ้ ่มากที่สดุ คือ 37 ท่า จังหวัดที่มีท่าเรื อมากที่สดุ พังงา คือ 27 ท่า เป็ นท่าเรื อประมง 20 ท่า และท่าเรื อ โดยสาร 7 ท่า รองลงมาได้ แก่ ภูเก็ต มีท่าเรื อ 22 ท่า ส่วนใหญ่เป็ นท่าเรื อโดยสาร คือ 13 ท่า ท่าเรื อประมง 6 ท่า และ ท่าเรื อสินค้ า 3 ท่า (รูปที่ 3-20) ท่าเรือชายฝั่งอ ันดาม ัน จําแนกตามจ ังหว ัดและประเภท 20 18 16 14 12 10 8 6 4 2 0 ระนอง

พ ังงา

ภูเก็ ต ท่าเรือประมง

กระบี่ ท่าเรือสินค้า

ตร ัง

สตูล

ท่าเรือโดยสาร

รูปที่ 3-20 ท่าเรื อชายฝั่ งอันดามัน จําแนกตามจังหวัดและประเภทท่าเรื อ200 199 200

อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194. อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


90

ปริมาณเรื อที่ขนส่ งในทะเลของไทย การวิเคราะห์ ป ริ มาณเรื อที่ ข นส่งในทะเลไทยแบ่งตามประเภทเรื อเป็ น 2 ประเภท คื อ เรื อ ค้ าระหว่า ง ประเทศและเรื อค้ าชายฝั่ ง โดยอาศัยข้ อมูลจากรายงานการสํารวจสถิติการขนส่งทางนํ ้าบริ เวณเมืองท่าชายทะเล งาน ด่านศุลกากร ตังแต่ ้ ปี 2540–2546 ซึง่ รวบรวมปริ มาณเรื อที่เข้ า–ออกด่านศุลกากรในจังหวัดชายทะเล 18 จังหวัด และ ด่านศุลกากร 22 ด่าน ดังตารางที่ 3-4 ตารางที่ 3-4 รายชื่อเมืองท่าชายทะเลและด่านศุลกากร จําแนกตามชายฝั่ งทะเล201 ลําดับที่ 1 2 3 4 5 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

ชายฝั่ งทะเล

ด่านศุลกากร

อําเภอ

จังหวัด

อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยตอนใน อ่าวไทยตอนใน อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อันดามัน อันดามัน อันดามัน อันดามัน อันดามัน อันดามัน อันดามัน อันดามัน

คลองใหญ่ มาบตาพุด แหลมฉบัง สมุทรสาคร แม่กลอง บ้ านแหลม เกาะหลัก ชุมพร บ้ านดอน เกาะสมุย นครศรี ธรรมราช สิชล สงขลา ปั ตตานี ตากใบ ระนอง กระบุรี พังงา ภูเก็ต กระบี่ กันตัง สตูล ปากบารา

คลองใหญ่ เมือง ศรี ราชา เมือง เมือง บ้ านแหลม เมือง เมือง เมือง เกาะสมุย เมือง สิชล สิงหนคร เมือง ตากใบ เมือง กระบุรี เมือง เมือง เมือง กันตัง เมือง ปากบารา

ตราด ระยอง ชลบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี นราธิวาส ระนอง ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล สตูล

201

อ้ างแล้ งเชิงอรรถที่ 194. และ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี. 2540-2546. รายงานการสํารวจสถิตกิ ารขนส่ งสินค้ า ทางนํา้ บริ เวณเมืองท่ าชายทะเลปี 2540-2546. ฝ่ ายสถิติ กองวิชาการและวางแผน กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


91

1) ภาพรวมกองเรื อพาณิ ชย์ทีข่ นส่งสิ นค้าในทะเลไทย จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในชายฝั่ งทะเลของไทยเปลี่ยนแปลงไม่มากนักกล่าวคือ โดยเฉลี่ยปี ละ 9 หมื่นลํา ต่อปี เป็ นเรื อค้ าระหว่างประเทศประมาณปี ละ 6 หมื่นลํา คิดเป็ น 67 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณเรื อทังหมดที ้ ่ขนส่งสินค้ า ในน่านนํ ้าไทย และเรื อค้ าชายฝั่ งประมาณปี ละ 3 หมื่นลํา คิดเป็ น 33 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณเรื อทังหมด ้ (ตารางที่ 3-5) ตารางที่ 3-5 ปริ มาณเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของประเทศไทยในปี 2540–2546202 หน่วย : ลํา ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

เรื อค้ าระหว่างประเทศ 53,703 56,474 56,809 65,318 59,833 64,282 61,406

เรื อค้ าชายฝั่ ง 21,600 27,317 31,694 32,007 28,666 33,145 35,022

รวม 75,303 83,791 88,503 97,325 88,499 97,427 96,428

ตารางที่ 3-6 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของประเทศไทย ปี 2540–2546203 ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

เรื อค้ าระหว่างประเทศ 109,765,939.62 106,473,472.42 133,460,412.50 150,508,347.62 159,020,832.67 177,674,716.47 136,871,232.10

เรื อค้ าชายฝั่ ง 13,406,761.86 10,362,070.55 19,656,692.67 16,296,327.84 17,994,253.51 17,772,075.65 22,489,861.64

หน่วย : N.R.T รวม 123,172,701.48 116,835,542.97 153,117,105.17 166,804,675.46 177,015,086.18 195,446,792.12 159,361,093.74

ระวางบรรทุกรวมของเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของประเทศไทยโดยเฉลี่ยปี ละ 159 ล้ าน N.R.T. เป็ นเรื อค้ า ระหว่างประเทศปี ละ 136 ล้ าน N.R.T. คิดเป็ นร้ อยละ 89 ของระวางเรื อทังหมดมี ้ ข้อสังเกตว่าในระหว่างปี 2540– 2545 ระวางบรรทุกของเรื อค้ าต่างประเทศเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ 109,765,939 ล้ าน N.R.T. ในปี 2540

202 203

กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


92

เพิ่มขึ ้นเป็ น 177,674,716 ล้ าน N.R.T. ในปี 2545 แต่ในปี 2546 กลับลดลงเหลือ 136,871,232 ล้ าน N.R.T. สําหรับ เรื อค้ าชายฝั่ งระหว่างปี 2540–2546 ระวางบรรทุกมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก กล่าวคือ เรื อค้ าชายฝั่ งเฉลี่ยปี ละ 17 ล้ าน N.R.T. คิดเป็ นร้ อยละ 11 ของปริ มาณเรื อทังหมด ้ (รายละเอียดดังตารางที่ 3-6) เมื่อพิจารณาปริ มาณเรื อตาม ชายฝั่ งทะเลพบว่าอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกเป็ นบริเวณที่มีเรื อเข้ า–ออกมากที่สดุ ปริมาณเรือทีข ่ นส่งสินค้าในทะเลไทย ปี 2540 - 2546 จําแนกตามชายฝั่งทะเล

120,000 100,000 อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก

80,000

อ่าวไทยตอนใน

ลํา

อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก

60,000

อันดามัน

40,000

รวม

20,000 2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

รูปที่ 3-21 ปริมาณเรื อที่ขนส่งสินค้ าในทะเลไทย ปี 2540–2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล204 จํานวนเรือค้าระหว่างประเทศทีข ่ นส่งในทะเลไทย ปี 2540 -2546 จําแนกตามชายฝั่งทะเล 80,000 70,000 60,000 50,000 ลํา 40,000 30,000 20,000 10,000 2540 อ่าวไทยฝั่งตะว ันออก

2541

2542

อ่าวไทยตอนใน

2543

2544

อ่าวไทยฝั่งตะว ันตก

2545 อ ันดาม ัน

2546 รวม

รูปที่ 3-22 ปริมาณเรื อค้ าระหว่างประเทศที่ขนส่งสินค้ าในทะเลของไทย ปี 2540–2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล205 2) ปริ มาณเรื อพาณิ ชย์ทีข่ นส่งสิ นค้าชายฝั่ งทะเลไทย 204

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201 และ กระทรวงคมนาคม. 2550. ข้ อมูลท่าเทียบเรื อ. บริ การสถิตคิ มนาคม. แหล่งที่มา : http://www.news.mot.go.th, 15 สิงหาคม 2550. 205 กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 169. และ กระทรวงคมนาคม, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 204.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


93

(1) ปริมาณเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยฝั่ งตะวันออกแม้ จะประกอบด้ วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดตราด ระยอง จันทบุรี ชลบุรี และฉะเชิงเทรา มีดา่ นศุลกากรเพียง 3 ด่าน คือ ด่านศุลกากรคลองใหญ่ ด่านศุลกากรมาบตาพุด จังหวัดระยอง และด่านศุลกากรแหลมฉบัง จังดวัดชลบุรี แต่ชายฝั่ งทะเลบริ เวณนี ้นับเป็ นบริ เวณที่มีปริ มาณเรื อผ่านเข้ า–ออกเพื่อ ขนส่ง สิน ค้ า ทัง้ ที่ เ ป็ นเรื อ ค้ า ระหว่า งประเทศและเรื อ ค้ า ชายฝั่ ง มากที่ สุด โดยเฉลี่ ย ปี ละ 42,000 ลํ า คิ ด เป็ น 47 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณเรื อที่ขนส่งในทะเลไทย และเป็ นบริ เวณที่ระวางบรรทุกของเรื อสูงที่สดุ คือ โดยเฉลี่ยปี ละ 127 ล้ าน N.R.T. ต่อปี คิดเป็ นร้ อยละ 81 ของปริมาณเรื อทังหมด ้ สะท้ อนให้ เห็นว่าเรื อที่เข้ า–ออกในชายฝั่ งทะเลด้ านนี ้ส่วน ใหญ่เป็ นเรื อขนาดใหญ่กว่าชายฝั่ งทะเลด้ านอื่น จังหวัดที่มีปริ มาณเรื อผ่านเข้ าออกในบริ เวณนีม้ ากที่สุด คือ จังหวัดระยอง รองลงมาได้ แก่ จังหวัด ชลบุรี ทังนี ้ ้เป็ นเพราะบริเวณนี ้เป็ นที่ตงของท่ ั้ าเรื อหลักของประเทศ ได้ แก่ ท่าเรื อมาบตาพุด และท่าเรื อแหลมฉบัง โดย ้ ่ขนส่งสินค้ าใน ระยองมีเรื อผ่านเข้ า–ออก โดยเฉลี่ยปี ละ 24,140 ลํา คิดเป็ น 58 เปอร์ เซ็นต์ของจํานวนเรื อทังหมดที ทะเลของประเทศ และจังหวัดชลบุรีมีเรื อผ่านเข้ า–ออก โดยเฉลี่ยปี ละ 13,304 ลํา คิดเป็ น 58 เปอร์ เซ็นต์ของจํานวน เรื อทังหมดที ้ ่ขนส่งสินค้ าในทะเลของประเทศ (2) ปริมาณเรื อในอ่าวไทยตอนใน อ่าวไทยตอนในประกอบด้ วยจังหวัดกรุ งเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ปริ มาณ เรื อที่ขนส่งสินค้ าในบริ เวณอ่าวไทยตอนในมีน้อยมาก กล่าวคือโดยเฉลี่ยปี ละ 6,516 ลํา206 ระวางเรื อรวมโดยเฉลี่ยปี ละ 2.35 ล้ าน N.R.T อย่างไรก็ตามอ่าวไทยตอนในเป็ นที่ตงของ ั้ ท่าเรื อกรุ งเทพ ซึ่งเป็ นท่าเรื อหลักของประเทศ และ ท่าเรื ออีก 50 แห่ง ซึง่ ทังหมดตั ้ งอยู ้ ่ในแม่นํ ้าเจ้ าพระยา ในรายงานการสํารวจสถิติการขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริ เวณเมือง ท่าชายทะเล ปี 2540-2546 ไม่มีการรวบรวมข้ อมูลของกรุ งทพ ฯ และสมุทรปราการ สําหรับจังหวัดกรุ งเทพฯ หรื อ ท่าเรื อกรุ งเทพ เฉพาะจํานวนเรื อที่ผ่านเข้ า–ออกอาศัยข้ อมูลของกระทรวงคมนาคม สําหรับระวางเรื อไม่มีข้อมูลของ ท่าเรื อกรุ งเทพ ทังนี ้ ้เนื่องจากระวางบรรทุกของเรื อของท่าเรื อกรุ งเทพใช้ หน่วยเป็ น G.R.T. (Gross Registered Tonnage) จึงไม่สามารถรวมกับข้ อมูลที่กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีจัดทําไว้ ในปี 2540–2542 เรื อค้ า ต่างประเทศที่ขนส่งผ่านท่าเรื อกรุ งเทพมีระวางรวมปี ละ 21.5 ล้ าน G.R.T. ในปี 2543 มีระวางรวม 23 ล้ าน G.R.T. ในปี 2544 เพิ่มขึ ้นเป็ น 26 ล้ าน G.R.T. ปี 2545 เพิ่มขึ ้นเป็ น 27 ล้ าน G.R.T. แต่ในปี 2546 ลดลงเล็กน้ อยเหลือ 26.6 ล้ าน G.R.T.207 ส่วนจังหวัดสมุทรปราการไม่มีแหล่งใดเก็บรวบรวมข้ อมูลเรื อค้ าต่างประเทศ สําหรับเรื อค้ าชายฝั่ งไม่มี การเก็บรวมรวมข้ อมูลของทังกรุ ้ งเทพและสมุทรปราการ (3) ปริมาณเรื อในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก อ่าวไทยฝั่ งตะวันตกนับเป็ นชายฝั่ งที่ยาวที่สดุ ของประเทศ เป็ นที่ตงของจั ั้ งหวัดชายทะเลถึง 8 จังหวัด ได้ แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี และนราธิวาส และด่านศุลกากร 10 ด่าน ปริมาณเรื อที่ขนส่งสินค้ าในบริ เวณนี ้โดยเฉลี่ยปี ละ 20,000 ลํา เป็ นเรื อค้ าระหว่างประเทศ เฉลี่ยปี ละ 13,000 ลํา เรื อค้ าชายฝั่ ง 6,500 ลํา ระวางเฉลี่ยปี ละ 18 ล้ าน N.R.T. เป็ นเรื อค้ าระหว่างประเทศโดยเฉลี่ยปี ละ 14 ล้ าน N.R.T. และเรื อค้ าชายฝั่ งโดยเฉลี่ยปี ละ 3.4 ล้ าน N.R.T. 206 207

ไม่มีข้อมูลของจังหวัดสมุทรปราการ กระทรวงคมนาคม, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 204.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


94

จังหวัดที่มีจํานวนเรื อเข้ า–ออกมากที่สดุ คือ นราธิวาส โดยเฉลี่ย 8,255 ลําต่อปี คิดเป็ นร้ อยละ 42 ของ จํานวนเรื อทังหมด ้ แต่ส่วนใหญ่เป็ นเรื อขนาดเล็ก โดยพิจารณาจากระวางเรื อเฉลี่ยรวมต่อปี เพียง 402,180 N.R.T. หรื อ 2 เปอร์ เซ็นต์ของระวางเรื อทังหมด ้ และเรื อทังหมดที ้ ่ขนส่งสินค้ าในจังหวัดนราธิวาสเป็ นเรื อค้ าระหว่างประเทศ ส่วนจังหวัดที่มีจํานวนเรื อเข้ า–ออกรองลงมา คือ จังหวัดสงขลา คือโดยเฉลี่ยปี ละ 5,000 ลํา นอกจากนีเ้ รื อที่ขนส่ง ้ ่ซึ่ง สินค้ ายังมีระวางรวมมากที่สดุ คือโดยเฉลี่ยปี ละ 8.8 ล้ าน N.R.T. ทังนี ้ ้เพราะจังหวัดสงขลามีท่าเรื อสงขลาตังอยู เป็ นท่าเรื อระหว่างประเทศที่ใหญ่ ที่สุดในบริ เวณตอนล่างของอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก จังหวัดที่มีจํานวนเรื อผ่านเข้ า– ออกเป็ นอันดับ 3 และ 4 คือ สุราษฎร์ ธานีและประจวบคีรีขนั ธ์ ซึง่ ทังสองจั ้ งหวัดอยูใ่ นอ่าวไทยฝั่ งตะวันตกตอนบน โดย เฉลี่ยมีเรื อผ่านเข้ าออกปี ละ 3,000 ลํา และ 960 ลํา ตามลําดับ เมื่อพิจาณาระวางรวมของเรื อจาก ท่าเรื อทังสองแห่ ้ งมี ระวางรวมเฉลี่ยปี ละ 2.9 ล้ าน N.R.T. (4) ปริมาณเรื อในชายฝั่ งอันดามัน ชายฝั่ งอันดามันประกอบด้ วยจังหวัด ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล มีด่านศุลกากรรวม 8 ด่าน นับเป็ นชายฝั่ งที่มีการขนส่งทางทะเลน้ อยที่สดุ กล่าวคือ มีเรื อผ่านเข้ า–ออกเพื่อขนส่งสินค้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 9,000 ลํา ระวางรวมเฉลี่ยปี ละ 8.6 ล้ าน N.R.T. จังหวัดที่เรื อผ่านเข้ าออกมากที่สดุ คือ ระนอง โดยเฉลี่ยมีเรื อสินค้ าผ่านเข้ า– ออก ปี ละ 14,846 ลํา เป็ นจังหวัดที่มีเรื อผ่านเข้ า–ออก เป็ นอันดับ 3 รองจาก ระยอง และชลบุรี อย่างไรก็ตามเมื่อ พิจารณาจากระวางรวมของเรื อที่ขนส่งสินค้ าในจังหวัดระนองส่วนใหญ่เป็ นเรื อขนาดเล็กกล่าวคือมีระวางรวมโดย เฉลี่ยเพียงปี ละ 667,974 N.R.T. จังหวัดที่มีเรื อผ่านเข้ า–ออก รองลงมาได้ แก่ ตรัง โดยเฉลี่ยปี ละ 2,800 ลํา ระวาง รวมเฉลี่ยสูงกว่าจังหวัดระนอง คือ ปี ละ 835,748 N.R.T. หากพิจารณาจากระวางรวมของเรื อ จังหวัดภูเก็ตมีระวางเรื อรวมสูงที่สดุ คือ โดยเฉลี่ยปี ละ 5.1 ล้ าน N.R.T. ทังนี ้ ้เป็ นเพราะจังหวัดภูเก็ตเป็ นที่ตงของท่ ั้ าเรื อภูเก็ตซึ่งเป็ นท่าเรื อระหว่างประเทศซึ่งใหญที่สดุ ในชายฝั่ งนี ้ที่ น่าสนใจคือ จังหวัดกระบี่ซึ่งมีเรื อผ่านเข้ า–ออกโดยเฉลี่ยเพียงปี ละ 900 ลํา แต่ระวางรวมเฉลี่ยกลับสูงถึง 1.4 ล้ าน N.R.T ตารางที่ 3-7 จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก ปี 2540–2546208 หน่วย : ลํา ลําดับที่ 1

ด่านศุลกากร คลองใหญ่

จังหวัด ตราด

2540 3,425

2541 4,611

2542 3,858

2543 3,718

2544 5,022

2545 5,822

2546 3,606

2

แหลมฉบัง

ชลบุรี

6,812

13,000

14,440

14,839

13,836

15,400

14,801

3

มาบตาพุด

ระยอง

16,725

20,550

23,138

23,545

22,481

29,761

32,783

รวม 26,962.00 38,161.00 41,436.00 42,102.00 41,339.00 50,983.00

208

กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, อ้ างแล้ วเชิงอรรที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน

51,190.00


95

ตารางที่ 3-8 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก ปี 2540–2546209 หน่วย : N.R.T. ลําดับ ด่าน ที่ ศุลกากร 1 คลองใหญ่ 2 แหลมฉบัง 3 มาบตาพุด

จังหวัด

2540

2541

2542

2543

2544

ตราด 237,444 323,710 530,221 732,893 1,128,827 ชลบุรี 28,417,832 23,329,480 35,408,050 38,058,568 38,922,668 ระยอง 71,514,923 70,451,332 88,458,408 94,315,275 110,307,591 รวม 100,170,199 94,104,522 124,396,679 133,106,736 150,359,086

2545

2546

1,534,950 1,054,413 39,362,402 34,770,949 120,296,824 91,878,010 161,194,176 127,703,372

ตารางที่ 3-9 จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตอนใน ปี 2540-2546210 หน่วย : ลํา ลําดับที่ 1 2 3 4

ด่านศุลกากร ท่าเรื อกรุงเทพ สุมทรสาคร มหาชัย แม่กลอง

จังหวัด กรุงเทพ ฯ สุมทรสาคร สุมทรสาคร สุมทรสงคราม รวม

2540 2,415 4,013 6,428

2541 2,275 2,577 4,852

2542 2,175 2,584 \1,764 \6,523

2543 2,276 3,201 1,235 6,712

2544 2,470 2,597 1,510 6,577

2545 2,519 2,938 1,529 \6,986

2546 2,379 3,489 1,460 7,328

ตารางที่ 3-10 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตอนใน ปี 2540-2546211 หน่วย : N.R.T. ลําดับ ที่ 1 2 3

ด่าน ศุลกากร สุมทรสาคร มหาชัย แม่กลอง

จังหวัด

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

สุมทรสาคร สุมทรสาคร สุมทรสงคราม รวม

1,908,975 1,908,975

1,755,436 1,755,436

1,286,883 903,369 2,190,251

1,665,569 606,103 2,271,672

1,623,408 853,401 2,476,808

1,852,443 907,147 2,759,590

2,293,698 756,695 3,050,392

209

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลสมุทรปราการ (อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.) 211 หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลสมุทรปราการ (อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.) 210

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


96

ตารางที่ 3-11 จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ปี 2540-2546212 หน่วย : ลํา ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ด่านศุลกากร

จังหวัด

บ้ านแหลม เพชรบุรี เกาะหลัก ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร ชุมพร บ้ านดอน สุราษฎร์ ธานี เกาะสมุย สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช นครศรี ธรรมราช สิชล นครศรี ธรรมราช สงขลา สงขลา ปั ตตานี ปั ตตานี ตากใบ นราธิวาส รวมอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

256 565 274 2,992 107 479 1,034 4,556 10 9,017 19,290

19 844 203 3,050 152 748 938 5,286 637 7,842 19,719

134 892 240 2,466 116 622 932 4,866 91 8,137 18,496

95 963 190 2,987 213 626 928 5,346 555 7,815 19,718

19 844 203 3,050 152 748 938 5,286 637 7,842 19,719

169 1,343 209 3,123 201 978 902 5,822 505 9,680 22,932

1,264 232 3,404 127 806 994 4,308 670 7,455 19,260

ตารางที่ 3-12 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ปี 2540-2546213 หน่วย : N.R.T. ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ด่านศุลกากร บ้ านแหลม เกาะหลัก ชุมพร บ้ านดอน เกาะสมุย นครศรี ธรรมราช สิชล สงขลา ปั ตตานี ตากใบ

จังหวัด เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี นราธิวาส รวมอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก

212 213

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

192,497 2,709,892 127,531 2,571,428 493,511 230,190 2,062,043 5,662,737 2,553 263,831 14,316,215

230,555 1,592,239 263,176 3,063,071 335,494 787,736 1,680,967 8,083,694 2,995 291,415 16,331,342

74,904 3,024,813 150,932 2,365,588 548,201 639,708 992,912 9,104,436 12,610 647,344 17,561,449

118,303 3,087,854 127,720 2,953,499 1,874,440 578,966 1,191,163 10,818,851 69,416 459,749 21,279,959

68,105 2,385,550 35,695 2,910,847 1,619,819 634,672 1,040,998 8,198,332 47,190 247,308 17,188,516

135,459 3,926,778 134,050 2,895,562 1,615,537 669,964 1,093,091 10,087,712 75,967 488,858 21,122,977

3,380,274 140,530 3,404,532 649,908 570,950 1,019,234 9,924,200 95,123 416,756 19,601,508

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


97

ตารางที่ 3-13 จํานวนเรื อที่ขนส่งสินค้ าในชายฝั่ งอันดามัน ปี 2540-2546214 หน่วย : ลํา ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

ด่านศุลกากร ระนอง กระบุรี พังงา ภูเก็ต กระบี่ กันตัง สตูล ปากบารา

จังหวัด ระนอง ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล สตูล รวมอันดามัน

2540 16,630 86 6 2,158 706 653 4,809 50 25,098

2541 12,904 3 2,861 1,240 5,213 1,113 23,334

2542 16,405 42 4 2,744 541 810 3,677 24,223

2543 22,284 1 2,455 779 1,232 4,318 31,069

2544 12,904 3 2,861 1,240 5,213 1,113 23,334

2545 9,394 2,792 1,160 5,274 425 19,045

2546 13,401 2,466 718 1,246 3,198 21,029

ตารางที่ 3-14 ระวางเรื อที่ขนส่งสินค้ าในในชายฝั่ งอันดามัน ปี 2540–2546215 หน่วย : N.R.T. ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8

ด่าน จังหวัด ศุลกากร ระนอง ระนอง กระบุรี ระนอง พังงา พังงา ภูเก็ต ภูเก็ต กระบี่ กระบี่ กันตัง ตรัง สตูล สตูล ปากบารา สตูล รวมอันดามัน

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

554,749 6,574 1,134 3,902,622 1,234,896 756,039 321,299 14,166 6,791,478

931,630 4,810 426 5,054,563 738,679 774,991 227,784 8,600 7,741,481

604,100 3,150 10,872 6,014,417 1,276,529 892,794 166,863 8,968,725

876,796 3,732 5,888,871 2,058,807 1,141,191 176,910 10,146,307

307,923 4,565 4,195,088 1,610,112 648,815 124,173 6,890,676

578,418 6,330,469 1,402,148 248,538 1,810,477 10,370,049

815,974 5,088,339 1,540,340 1,387,866 173,303 9,005,822

ปริมาณสินค้ าที่ขนส่ งในทะเลของไทย สินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทยประกอบด้ วยสินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อค้ าระหว่างประเทศ หรื อสินค้ านําเข้ าและ สินค้ าส่งออก และสินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง หรื อสินค้ าในประเทศ เช่นเดียวกับปริ มาณเรื อ ข้ อมูลปริ มาณสินค้ า ้ ที่นํามาวิเคราะห์นํามาจากรายงานการสํารวจสถิติการขนส่งทางนํ ้าบริ เวณเมืองท่าชายทะเล งานด่านศุลกากร ตังแต่ ปี 2540–2546 ซึง่ รวบรวมโดยกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี

214 215

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


98

1) ภาพรวมปริ มาณสิ นค้าทีข่ นส่งในทะเลของไทย ชายฝั่ งทะเลที่ปริ มาณการขนส่งสูงที่สดุ คือ อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก มีปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งคิดเป็ น 74 เปอร์ เซ็นต์ของปริมาณสินค้ าทังหมด ้ รองลงมาได้ แก่ อ่าวไทยตอนใน คิดเป็ น 12 เปอร์ เซ็นต์อนั ดับ 3 ได้ แก่ อ่าวไทยฝั่ ง ตะวันตก คิดเป็ น 11 เปอร์ เซ็นต์และชายฝั่ งทะเลที่มีปริ มาณการขนส่งตํ่าที่สดุ คือ อันดามันมีปริ มาณสินค้ าที่ขนส่ง เพียง 3 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ าทังหมด ้ (รูปที่ 3-23) ั วนปริมาณสินค้าทีข สดส่ ่ นส่งทะเลไทย จําแนกตามชายฝั่งทะเล

อ่าวไทยฝั่งตะว ันตก , 11%

อ ันดาม ัน, 3%

อ่าวไทยตอนใน, 12%

อ่าวไทยฝั่ง ตะว ันออก, 74%

รูปที่ 3-23 สัดส่วนปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทย จําแนกตามชายฝั่ งทะเล216 ปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเฉลี่ย217 ปี ละ 122 ล้ านตัน เป็ นสินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศโดย เฉลี่ยปี ละ 96 ล้ านตัน คิดเป็ น 82 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ าทางทะเลทังหมด ้ สินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าชายฝั่ งโดย เฉลี่ยปี ละ 22 ล้ านตัน คิดเป็ น 18 เปอร์ เซ็นต์ของปริมาณสินค้ าที่ขนส่งทางทะเลทังหมด ้ โดยในปี 2540 ปริ มาณสินค้ า ที่ขนส่งโดยเรื อค้ าต่างประเทศรวม 84 ล้ านตัน ในปี 2541 ลดลงเล็กน้ อย คือ 80 ล้ านตัน และระหว่างปี 2542 ปริ มาณ การขนส่งเพิ่มขึน้ ทุกปี ได้ แ ก่ 96 ล้ านตัน และตัง้ แต่ปี 2543 ปริ มาณขนส่ง ก็มากกว่า 100 ล้ า นตันมาโดยตลอด กล่าวคือในปี 2543 มีปริ มาณ 102 ล้ านตัน ในปี 2544 มีปริ มาณ 108 ล้ านตัน ในปี 2545 มีปริ มาณ 116 ล้ านตัน และ 2546 มีปริ มาณ 119 ล้ านตัน มีข้อสังเกตว่าสินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อต่างประเทศขาเข้ ามีปริ มาณมากกว่าสินค้ าขา ออก ที่กล่าวมาข้ างต้ นอาจกล่าวได้ วา่ การขนส่งสินค้ าของเรื อค้ าต่างประเทศนันมี ้ แนวโน้ มเติบโตสูงขึ ้นทุกปี

216

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. และ กระทรวงคมนาคม. 2550. ปริ มาณสินค้ าผ่านท่าเรื อกรุ งเทพ. บริ การสถิติคมนาคม. แหล่งที่มา : http://www.news.mot.go.th, 15 สิงหาคม 2550. 217

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


99

ตารางที่ 3-15 ปริมาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทย ปี 2540–2546218 หน่วย : ตัน ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

สินค้ าขนโดยเรื อค้ าต่างปรเะทศ สินค้ าขนโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ขาเข้ า ขาออก รวม ขาเข้ า ขาออก รวม 57,673,118 25,976,822 83,649,940 6,885,385 4,925,073 11,810,458 53,645,098 26,561,658 80,206,756 4,413,368 8,258,274 12,671,642 60,711,565 35,827,632 96,539,197 7,860,421 18,639,614 26,500,035 62,585,567 39,989,785 102,575,352 8,279,882 15,874,098 24,153,980 63,603,294 44,284,917 107,888,211 7,591,386 14,525,455 22,116,841 74,973,803 41,332,438 116,306,241 9,379,542 18,818,733 28,198,275 78,651,280 40,228,806 118,880,086 9,709,169 17,513,048 27,222,217 หมายเหตุ : สินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ไม่มีข้อมูลท่าเรื อกรุงเทพ

รวมทังสิ ้ ้น 95,460,397 92,878,398 123,039,232 126,729,332 130,005,053 144,504,516 146,102,304

ปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อค้ าชายฝั่ งมีปริ มาณน้ อยกว่าเรื อค้ าต่างประเทศประมาณ 3 เท่า โดยเฉลี่ยปี ละ 21.8 ล้ านตัน โดยมีปริมาณการขนส่งสินค้ าขาเข้ าน้ อยกว่าขาออก กล่าวคือ ขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 7.7 ล้ านตัน และ ขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 14 ล้ านตัน ปริมาณของการขนส่งสินค้ าโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ไม่มีการเติบโตที่แน่นอน เช่น ปี 2540 – 2541 ปริ มาณการขนส่งสินค้ าเพิ่มขึ ้น คือ 11 และ 12 ล้ านตัน ตามลําดับ ในปี 2542 เพิ่มขึ ้นเป็ น 26.5 ล้ านตัน ซึง่ เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนหน้ านี ้กว่าเท่าตัว แต่อย่างไรก็ตามใน 2 ปี ถัด คือ ปี 2543 และ 2544 ปริ มาณการขนส่งลดลงเหลือ 24 และ 22 ล้ านตัน ตามลําดับ และกลับเพิ่มขึ ้นอีกครัง้ ใน ปี 2545 เป็ น 28 ล้ านตัน และลดลงเหลือ 27 ล้ านตัน ในปี ถัด ดังตารางที่ 3-15 2) ภาพรวมประเภทสิ นค้าหลักทีข่ นส่งในทะเลไทย สินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยทังโดยเรื ้ อค้ าต่างประเทศและเรื อค้ าชายฝั่ ง มี 2 ประเภท คือ นํา้ มัน และ สินค้ าทัว่ ไป (สินค้ าเบ็ดเตล็ด) นอกจากนีเ้ ป็ นสินค้ าอื่นๆ ได้ แก่ สิ่งมีชีวิต ข้ าว ข้ าวโพด มันสําปะหลัง ยางพารา ไม้ นํ ้าตาล โลหะภัณฑ์ ปุ๋ย วัสดุก่อสร้ าง เหล็ก เป็ นต้ น

218

กรมขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


100

ั ่วนสน ิ ค้าหลักทีขนส ่งในทะเลไทยโดยเรือค้าต่างประเทศ สดส ่

อืน ่ ๆ 10% นํ ้ ามัน 45%

ิ ค้าทัวไป สน ่ 45%

รูปที่ 3-24 สินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าต่างประเทศ ปี 2540–2546219 สินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยในระหว่างปี 2540–2546 โดยเรื อค้ าต่างประเทศ มีปริ มาณรวมโดยเฉลี่ยปี ละ 100 ล้ านตัน รูปที่ 3-24 แสดงให้ เห็นสัดส่วนสินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าต่างประเทศ ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี ้ อันดับ 1 คือ นํ ้ามัน มีปริ มาณขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 39 ล้ านตัน คิดเป็ น 45 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ าที่ ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าต่างประเทศ โดยเป็ นสินค้ าขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 32 ล้ านตัน และขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 28 ล้ านตัน อันดับ 2 คือ สินค้ าทั่วไป มีปริ มาณขนส่งโดยเฉลี่ยเท่ากับนํา้ มัน กล่าวคือปี ละ 39 ล้ านตัน คิดเป็ น 45 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าต่างประเทศ เป็ นสินค้ าขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 20 ล้ านตัน และขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 18 ล้ านตัน อันดับ 3 คือ สินค้ าอื่นๆ มีปริ มาณขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 22 ล้ านตัน คิดเป็ น 10 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณ สินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าต่างประเทศ เป็ นสินค้ าขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 11 ล้ านตัน และขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 9 ล้ านตัน รูปที่ 3-25 แสดงให้ เห็นสัดส่วนสินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าชายฝั่ งระหว่างปี 2540–2546 ซึง่ มี ปริ มาณรวมโดยเฉลี่ยปี ละ 21 ล้ านตัน เช่นเดียวกับการขนส่งโดยเรื อค้ าต่างประเทศ สินค้ าที่มีปริ มาณขนส่งโดยเรื อค้ า ชายฝั่ งสูงที่สดุ คือ นํ ้ามัน รองลงมาได้ แก่ สินค้ าอื่นๆ และอันดับ 3 ได้ แก่ สินค้ าทัว่ ไป โดยมีรายละเอียดดังนี ้

219

คํานวณจากรายงานการสํารวจสถิตกิ ารขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริ เวณเมืองท่าชายทะเล ปี 2540-2546 (อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


101

ั ส่วนสน ิ ค้าหลักทีข สด ่ นส่งโดยเรือค้าชายฝั่ง ปี 2540 - 2546

ิ ค้าทัว สน ่ ไป 5%

อืน ่ ๆ 7%

นํ ้ามัน 88%

รูปที่ 3-25 สินค้ าหลักที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ปี 2540–2546220 อันดับ 1 คือ นํ ้ามัน มีปริ มาณขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 19 ล้ านตัน คิดเป็ น 88 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ าที่ ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง โดยเป็ นสินค้ าขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 6.7 ล้ านตัน และขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 12.5 ล้ านตัน อันดับ 2 คือ สินค้ าอื่นๆ มีปริมาณขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 1.6 ล้ านตัน คิดเป็ น 7 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ า ที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง เป็ นสินค้ าขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 0.7 ล้ านตัน และขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 0.9 ล้ าน ตัน อันดับ 3 คือ สินค้ าทัว่ ไป มีปริ มาณขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 1 ล้ านตัน คิดเป็ น 5 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสินค้ า ที่ขนส่งในทะเลไทยโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง เป็ นสินค้ าขาเข้ าโดยเฉลี่ยปี ละ 0.3 ล้ านตัน และขาออกโดยเฉลี่ยปี ละ 0.7 ล้ าน ตัน 3) ปริ มาณสิ นค้าที ข่ นส่งชายฝั่ งทะเลไทย (1) ปริมาณสินค้ าในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยฝั่ งตะวันออกประกอบด้ วยจังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี จังหวัดที่มีปริ มาณการขนส่ง มากที่สดุ คือ จังหวัดชลบุรี รองลงมาได้ แก่ ระยอง และอันดับ 3 ได้ แก่ ตราด อ่าวไทยฝั่ งตะวันออกเป็ นบริ เวณที่มี ปริ มาณสิน ค้ า สูงที่ สุด คื อ โดยเฉลี่ยมีป ริ มาณสินค้ าที่ ขนส่งในทะเลปี ละ 87 ล้ านตัน คิดเป็ น 74 เปอร์ เซ็นต์ ของ ปริมาณสินค้ าที่ขนส่งทางทะเลทังหมด ้ รูปที่ 3-26 แสดงให้ เห็นว่าปริมาณการขนส่งในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกมีแนวโน้ ม เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง สินค้ าที่มีการขนส่งทางอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก เรี ยงลําดับมากไปน้ อย คือ นํ ้ามัน สินค้ าทัว่ ไป แร่ ปุ๋ย ซีเมนต์ และสัตว์นํ ้าทะเลสด ซึง่ เป็ นการขนส่งผ่านด่านศุลกากรใน 3 จังหวัดข้ างต้ น คือ ชลบุรี ระยอง และตราด

220

คํานวณจากรายงานการสํารวจสถิตกิ ารขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริ เวณเมืองท่าชายทะเล ปี 2540-2546 (อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


102

ิ ค้าทางทะเลของไทย ปี 2540 - 2546 จํ าแนกตามชายฝั่งทะเล ปริมาณสน 160,000,000 140,000,000 120,000,000

อ่าวไทยฝั่งตะวันออก

ตัน

100,000,000

อ่าวไทยตอนใน

80,000,000

อ่าวไทยฝั่งตะวันตก

60,000,000

อันดามัน รวม

40,000,000 20,000,000 2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

รูปที่ 3-26 ปริ มาณสินค้ าที่ขนส่งในทะเลไทย ปี 2540–2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล221 ปริ มาณสินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศโดยเฉลี่ยปี ละ 73 ล้ านต้ น หรื อ 73 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณ สินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศ รู ปที่ 3-27 จะเห็นได้ ว่าปริ มาณการขนส่งเพิ่มขึน้ มาโดยตลอด ในช่วงปี 2540 มี ปริ มาณขนส่ง 57 ล้ านต้ น ในปี 2541 เพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยเป็ น 58 ล้ านตัน ปี 2542 ปริ มาณขนส่งเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนหน้ านี ้ ถึง 72 ล้ านต้ น หรื อคิดเป็ น 42 เปอร์ เซ็นต์ และเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่ องในปี 2543 เพิ่มขึน้ เป็ น 72 ล้ านต้ น ปี 2544 เพิ่มขึ ้นเป็ น 73 ล้ านต้ น ปี 2545 เพิ่มขึ ้นเป็ น 83 ล้ านต้ น และปี 2546 เพิ่มขึ ้นเป็ น 87 ล้ านต้ น ิ ค้าทีขนโดยเรื ปริมาณสน ่ อค้าต่างประเทศ จํ าแนกตามชายฝั่งทะเล ปี 2540 - 2546 140,000,000 120,000,000

ตัน

100,000,000 80,000,000 60,000,000 40,000,000 20,000,000 2540 อ่าวไทยฝั่งตะวันออก

2541

2542

อ่าวไทยตอนใน

2543

2544

อ่าวไทยฝั่งตะวันตก

2545 อันดามัน

2546 รวม

รูปที่ 3-27 ปริ มาณสินค้ าขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศ ปี 2540–2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล222

221 222

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


103

ปริ มาณสินค้ าที่ขนโดยเรื อชายฝั่ งในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกสูงที่สดุ เช่นเดียวกับปริ มาณสินค้ าที่ขนโดย เรื อ ค้ าต่างประเทศ คื อโดยฉลี่ยปี ละ 14 ล้ านตัน ปริ มาณสินค้ า ที่ข นโดยเรื อค้ าชายฝั่ งมีการเปลี่ยนแปลงไม่คงที่ (รู ปที่ 3-28) ในปี 2540–2541 ปริ มาณขนส่งเพียง 5 และ 6 ล้ านตัน ตามลําดับ ในปี ต่อมา คือ ปี 2542 เพิ่มขึน้ ประมาณ 4 เท่าตัว เป็ น 20 ล้ านตัน และกลับลดลงอีก 2 ปี ถัดมา เหลือเพียง 17 และ 15 ล้ านตัน ตามลําดับ และ ปริ มาณการขนส่งเพิ่มและลดลงอีกครัง้ ในปี 2545–2546 คือ 20 และ 18 ล้ านตัน ตามลําดับ สินค้ าที่มีการขนส่งโดย เรื อค้ าชายฝั่ งมากที่สดุ ในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก คือ นํ ้ามัน สินค้ าทัว่ ไป และปุ๋ย ซึง่ ส่วนใหญ่ขนส่งผ่านด่านศุลกากรใน จังหวัดชลบุรี และระยอง ิ ค้าทีขนโดยเรื ปริมาณสน ่ อค้าชายฝั่ง ปี 2540 - 2546 จํ าแนกตามชายฝั่งทะเล 30,000,000 25,000,000

ตัน

20,000,000 15,000,000 10,000,000 5,000,000 2540 อ่าวไทยฝั่งตะวันออก

2541

2542

อ่าวไทยตอนใน

2543

2544

อ่าวไทยฝั่งตะวันตก

2545 อันดามัน

2546 รวม

รูปที่ 3-28 ปริมาณสินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง ปี 2540–2546 จําแนกตามชายฝั่ งทะเล223 (2) ปริ มาณสินค้ าในอ่าวไทยตอนใน แม้ ว่าอ่าวไทยตอนในจะประกอบด้ วยจังหวัดกรุ งเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม แต่ในรายงานการสํารวจการขนส่งสินค้ าทางนํ า้ บริ เวณเมืองท่าชายทะเล ปี 2540–2546 เก็บข้ อมูลเฉพาะด่า น ศุลกากรแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม และด่านศุลกากรสมุทรสาครและท่าเรื อกรุ งแทพเท่านัน้ โดยมีปริ มาณการ ขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 14 .5 ล้ านตัน คิดเป็ น 12 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณการขนส่งทังหมด ้ จากรู ปที่ 26 แสดงให้ เห็นว่า ในปี 2540–2544 มีปริ มาณขนส่งค่อนข้ างคงที่ คือ 15–16 ล้ านต้ น แต่ในปี 2545–2546 เพิ่มขึ ้นเป็ น 17 และ 18 ล้ าน ตัน ตามลําดับ ส่วนใหญ่เป็ นสินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศซึ่งมีปริ มาณค่อนข้ างคงที่ คือ 13–14.9 ล้ านตัน และ เกือบทังหมดขนส่ ้ งผ่านท่าเรื อกรุ งเทพซึ่งเป็ นท่าเรื อระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สดุ ในอ่าวไทยตอนใน สําหรับการขนส่ง สินค้ าโดยเรื อค้ าชายฝั่ งในช่วงปี 2540–2546 ผ่านจังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรสาคร ปริ มาณการขนส่งอยู่ที่ 2–3 ล้ านตันต่อปี โดยสินค้ าที่มีการขนส่งทางอ่าวไทยตอนในอย่างต่อเนื่อง คือ นํ ้ามันและสินค้ าทัว่ ไป ซึ่งเป็ นการขนส่ง ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม

223

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 201.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


104

(3) ปริมาณสินค้ าในอ่าวไทยตะวันตก ชายฝั่ งในภาคตะวันตกของอ่าวไทยนับเป็ นชายฝั่ งที่ยาวที่สดุ ของประเทศ มีจังหวัดที่ตงอยู ั ้ ่ตามแนว ชายฝั่ ง ถึง 8 จังหวัด ได้ แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธ รรมราช สงขลา ปั ตตานี และ นราธิวาส และประกอบด้ วยด่านศุลกากร ดังนี ้ บ้ านแหลม (จังหวัดเพชรบุรี) ด่านเกาะหลัก (จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ) ด่านชุมพร ด่านบ้ านดอน และเกาะสมุย(จังหวัดสุราษฎร์ ธานี) ด่านศุลกากรสิชลและด่านนครศรี ธรรมราช (จังหวัด นครศรี ธรรมราช) ด่านสงขลา ด่านปั ตตานี และด่านตากใบ (จังหวัดนราธิวาส) อ่าวไทยฝั่ งตะวันตกมีปริ มาณการขนส่งโดยเฉลี่ยปี ละ 13 ล้ านตัน หรื อร้ อยละ 11 ของปริ มาณการ ขนส่งทางทะเลทังหมด ้ ซึ่งใกล้ เคียงกับอ่าวไทยตอนใน ในปี 2540–2546 ปริ มาณสินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าต่างประเทศ ค่อนข้ างผันผวน กล่าวคือ ในปี 2540 ปริ มาณสินค้ าอยู่ที่ 8 ล้ านตัน และในปี 2541 ลดลงเป็ น 6.8 ล้ านตัน ปี 2542 กลับเพิ่มขึ ้นเป็ น 8 ล้ านตัน และในปี 2543 เพิ่มขึ ้นเป็ น 11.8 ล้ านต้ น ปี 2544 ลดลงเล็กน้ อยเป็ น 11.6 ล้ านตัน ในปี 2545 เพิ่มขึ ้นเป็ น 14 ล้ านตัน และกลับลดลงเหลือ 11.9 ล้ านตันในปี ต่อมา สินค้ าที่มีการขนส่งโดยเรื อค้ าระหว่าง ประเทศอย่างต่อเนื่อง คือ สัตว์นํ ้าทะเลสด สินค้ าทัว่ ไป ยางและเหล็ก ส่วนใหญ่ขนส่งผ่านท่าเรื อสงขลา ซึง่ เป็ นท่าเรื อ ระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สดุ ในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตกตอนล่าง นอกจากนี ้สินค้ าที่มีการขนส่งรองลงมาได้ แก่ แร่ ซึ่งส่วน ใหญ่ขนส่งผ่านจังหวัดสุราษฎร์ ธานี และนครศรี ธรรมราช สําหรับสินค้ าที่ขนโดยเรื อค้ าชายฝั่ ง มีปริ มาณโดยเฉลี่ยปี ละ 4.5 ล้ านตัน ในปี 2540 มีปริ มาณ 4.4 ล้ านตัน ในปี 2541 ลดลงเล็กน้ อยเหลือ 3.8 ล้ านตัน ในปี 2542–2544 ปริ มาณค่อนข้ างคงที่ แต่ก็เพิ่มขึ ้นอย่าง ต่อเนื่อง คือ 4.2, 4.3 และ 4.5 ล้ านตัน ตามลําดับ ในปี 2545 เพิ่มขึ ้น 4.8 ล้ านตัน และในปี 2546 เพิ่มขึ ้นเป็ น 5 ล้ าน ตัน สินค้ าที่มีการขนส่งโดยเรื อค้ าชายฝั่ งในอ่าวไทยฝั่ งตะวันตกอย่างต่อเนื่อง ที่สําคัญ คือ นํ ้ามัน มีการขนส่งในทุก จังหวัด เหล็ก ขนส่งผ่านจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทัง้ นีเ้ พราะในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีท่าเรื อบางสะพาน ซึ่งเป็ น ท่าเรื อของกลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก คือ สหวิริยา นอกจากนี ้ยังมี ปุ๋ย ข้ าวโพด และสินค้ าทัว่ ไป จังหวัดสงขลา และสุ ราษฎร์ ธานี (4) ปริมาณสินค้ าในชายฝั่ งทะเลอันดามัน จัง หวัด ที่ ตัง้ อยู่บ นชายฝั่ ง ทะเลอัน ดามัน ประกอบด้ ว ย ระนอง พัง งา ภูเ ก็ ต กระบี่ ตรั ง และสตูล ประกอบด้ วยด่านศุลกากร ด่านกระบุรี224 (จังหวัดระนอง) ด่านระนอง ด่านพังงา ด่านภูเก็ต ด่านกระบี่ ด่านกันตัง (จังหวัดตรัง) ด่านตรัง ด่านสตูลและด่านปากบารา225 (จังหวัดสตูล) ชายฝั่ งอันดามันเป็ นบริ เวณที่มีการขนส่งทางทะเลน้ อยที่สดุ คือ โดยเฉลี่ยปี ละ 3.3 ล้ านตัน หรื อ 3 เปอร์ เซ็นต์ของปริมาณการขนส่งทางทะเลทังหมด ้ ในปี 2540 มีปริมาณ 3.3 ล้ านตัน และลดลงเหลือ 2.2 ล้ านตัน ในปี 2541 และในปี 2542 มีปริ มาณ 2.8 ล้ านตัน และในปี 2543–2544 เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง เป็ น 4 ล้ านตัน 5.3 ล้ านตัน และในปี 2545–2546 ลดลงเล็กน้ อยเป็ น 4.9 และ 4.8 ล้ านตัน ตามลําดับ ในปี 2540–2546 สินค้ าที่ขนส่งโดยเรื อค้ าต่างประเทศ มีปริ มาณดังนี ้ 3, 2, 2.6, 3.9, 5.2, 4.7 และ 4.6 ล้ านตัน ตามลําดับ สินค้ าที่มีการขนส่งทางชายฝั่ งทะเลอันดามันคือ ซีเมนต์และแร่ โดยส่วนใหญ่ผ่านจังหวัดตรัง และจังหวัดกระบี่ สินค้ าประเภทยาง ขนส่งผ่าน จังหวัดตรัง และภูเก็ต สินค้ าพื ้นฐานเช่นนํ ้ามันและสินค้ าทัว่ ไปมีการ ขนส่งอย่างต่อเนื่องแทบทุกจังหวัดในบริเวณนี ้ 224 225

ด่านกระบุรีในสถิตกิ ารขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริ เวณเมืองท่าชายฝั่ งทะเล 2540-2543 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 224.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


105

ชายฝั่ งอันดามันการขนส่งโดยเรื อค้ าชายฝั่ งน้ อยมาก กล่าวคือ โดยเฉลี่ยปี ละเพียง 0.18 ล้ านตัน ทังนี ้ ้ เป็ นเพราะบริ เวณหันหน้ าไปสู่มหาสมุทรอินเดีย ในขณะที่จังหวัดส่วนใหญ่ ของประเทศไทยอยู่ในฝั่ งอ่าวไทย และ ชายฝั่ งไม่ยาวมากนักการขนส่งทางเรื อจึงไม่มีนยั สําคัญ สินค้ าที่สําคัญ คือ นํา้ มัน และส่วนใหญ่ขนส่งผ่านจังหวัด ภูเก็ต 3.2.3

ปั ญหาในปั จจุบันของพาณิชยนาวีไทย

1) ปั ญหาด้านท่าเรื อ ในชายฝั่ งทะเลไทยทัง้ อ้ านอ่าวไทยและอันดามัน มีท่าเรื อถึง 443 ท่า ประกอบด้ วยท่าเรื อสินค้ าทัง้ ระหว่างประเทศและชายฝั่ ง ท่าเรื อประมง และท่าเรื อโดยสาร ท่าเรื อเหล่านี ม้ ีทัง้ ท่าเรื อของรั ฐและท่าเรื อเอกชน อย่างไรก็ตามหน่วยงานที่เป็ นเจ้ าของท่าเรื อส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ เรื่ องการบริ หารและจัดการท่าเรื อ เช่น กรมธนรักษ์ การนิคมอุตสาหกรรม และที่สําคัญที่สดุ ขาดหน่วยงานกลางที่ทําหน้ าที่ในการจัดการ ดูแล กําหนดนโยบาย วางแผน และควบคุมท่าเรื อทังหมดในภาพรวม ้ แม้ ว่าจะมีการท่าเรื อแห่งประเทศไทย แต่ก็ดแู ลรับผิดชอบเฉพาะท่าเรื อที่เป็ น เจ้ าของเพียงไม่กี่แห่งเท่านัน้ ได้ แก่ ท่าเรื อกรุ งเทพ ท่าเรื อแหลมฉบัง ท่าเรื อเชี ยงแสน ท่าเรื อเชียงของ และท่าเรื อ ระนอง226 ทังหมดที ้ ่กล่าวมาส่งผลดังนี ้ (1) ขาดนโยบายเกี่ยวกับการกําหนดขอบเขต (Zoning) จัดให้ สร้ างท่าเรื อ ทําให้ ท่าเรื อตัง้ กระจัด กระจายทัว่ ชายฝั่ งทะเลไทยทังอ่ ้ าวไทยและอันดามัน ท่าเรื อเหล่านี ้ส่วนมากดําเนินการอย่างไม่มีระบบและยังส่งผลให้ มีการกระจายของมลพิษทางทะเลอีกด้ วย (2) บริเวณอ่าวจอดเรื อที่ใช้ บรรทุกขนถ่ายสินค้ าขาดการดูแล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อ่าวจอดเรื อบริ เวณ เกาะสีชงั ซึ่งเป็ นบริ เวณที่มีการบรรทุกและขนถ่ายสินค้ าเป็ นจํานวนมาก ส่วนใหญ่เป็ นสินค้ าที่ก่อให้ เกิดมลภาวะสูง เช่น แป้งมันสําปะหลัง ถ่านหิน นํ ้ามัน เป็ นตัน้ (3) ขาดสิ่งอํานวยความสะดวกพื ้นฐานทางบกโดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงข่ายการคมนาคมที่เชื่อมต่อ พื ้นที่แนวหลังกับท่าเรื อเอกชน (4) ขาดความสะดวกพื ้นฐานทางทะเลโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้ านการเดินเรื อ ได้ แก่227 • ขาดการกํ าหนดเส้ นทางเดินเรื อหลักจากเส้ นทางเดินเรื อหลักของโลก เข้ าท่าเรื อสําคัญ ๆ ของ ประเทศไทย • ขาดแผนที่เดินเรื อที่มีข้อมูลตรงกับความเป็ นจริง ทังนี ้ ้เพราะ - หลังจากที่สร้ างท่าเรื อเสร็ จแล้ ว ไม่มีการจัดทําแผนที่เดินเรื อเพื่อเข้ าท่าเรื อ ทํ าให้ เรื อไม่ สามารถเข้ าท่าได้ - ท่าเรื อต่าง ๆ ต่างดูแลขุดลอกร่ องนํ ้าทางเข้ าท่าเรื อกันเอง และไม่มีการส่งข้ อมูลความลึกนํ ้า ให้ แก้ ไขแผนที่เดินเรื อ

226 227

การท่าเรื อแห่งประเทศไทย. 2550. ท่ าเรื อในความรั บผิดชอบ. แหล่งที่มา : http://www.port.co.th, 6 กันยายน 2550. นาวาเอก ปรี ชา สมสุขเจริ ญ. 2550. ผู้อํานวยการกองวิทยาการ กรมอุทกศาสตร์ , 6 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


106

- เมื่อท่าเรื อขยายเพิ่มหรื อเปลี่ยนแปลงท่าเรื อรวมทังสิ ้ ่งอํานวยความสะดวกต่าง ๆ บริ เวณ ท่าเรื อ เช่น ทุ่นปากร่ อง ทุ่นกํากับร่ องนํา้ ทางเข้ าท่าเรื อ ไม่มีการแจ้ งหรื อส่งข้ อมูลให้ เพื่อแก้ แผนที่เดินเรื อหรื อออก ประกาศชาวเรื อ - ความรู้ ความเข้ าใจเรื่ องค่าพิกดั และมูลฐานทางราบ (Geodetic Datum or Horizontal Datum) ที่ใช้ กํากับค่าพิกดั ของหน่วยที่รับผิดชอบ ได้ แก่ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี และกรมอุทกศาสตร์ ไม่ตรงกัน ทําให้ ค่าพิกดั ของ ทุ่นและสิ่งต่างๆ ที่ท่าเรื อต่างๆ ที่แสดงบนแผนที่เดินเรื อหรื อออกประกาศชาวเรื อ ยังมีความ คลาดเคลื่อนสูง ซึง่ อาจทําให้ หน่วยราชการที่เกี่ยวข้ องถูกฟ้องร้ องเรี ยกค่าเสียหายทางแพ่งได้ • ขาดสถานีอ้างอิง DGPS228 ตามชายฝั่ ง เพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัยให้ กบั เรื อ เดินทะเลที่เดินทางเข้ า–ออก น่านนํ ้าไทย 2) ปั ญหาด้านกองเรื อ (1) กองเรื อไทยมีสดั ส่วนในการขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศโดยเฉลี่ยเพียงร้ อยละ 2.8 ในขณะที่กอง เรื อต่างประเทศมีสดั ส่วนในการขนส่งสินค้ าโดยเฉลี่ยถึง 97.2 เปอร์ เซ็นต์ ในขณะที่ปริ มาณการค้ าทางทะเลของไทย เพิ่มสูงขึ ้น กองเรื อไทยกลับมีสดั ส่วนในการขนส่งสินค้ าน้ อยลง ทังนี ้ ้เพราะในรอบ 20 ปี ที่ผ่านมากองเรื อไทยไม่ได้ มี ขนาดและจํานวนเพิ่มขึ ้น 120,000,000 100,000,000 80,000,000

DWT

เรือไทย เรือต่างชาติ

60,000,000

รวม

40,000,000 20,000,000 2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

รูปที่ 3-29 กองเรื อเดินสมุทรที่ขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศของไทย จําแนกตามประเภทกองเรื อ229

228

Differential Global Positioning System (DGPS) is an enhancement to Global Positioning System that uses a network of fixed ground based reference stations to broadcast the difference between the positions indicated by the satellite systems and the known fixed positions. These stations broadcast the difference between the measured satellite pseudoranges and actual (internally computed) pseudoranges, and receiver stations may correct their pseudoranges by the same amount. 229 คณะกรรมการส่งเสริ มการพาณิชยนาวี. 2537-2544. สารสนเทศพาณิชยนาวี ปี 2537–2544. สํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริ มการพาณิชยนาวี กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


107

(2) เจ้ าของเรื อไทยมีส่วนแบ่งในค่าขนส่งน้ อยมาก ทังนี ้ เ้ พราะผู้นําเข้ าและส่งออกของไทยนิยมซื ้อ 230 สินค้ าด้ วยเงื่อนไข CIF และขายสินค้ าด้ วยเงื่อนไข FOB ทําให้ ผ้ ขู ายและผู้ซื ้อในต่างประเทศเป็ นผู้เลือกผู้ขนส่งและ ทําประกันภัยทางทะเล ซึง่ ส่วนใหญ่เลือกผู้ประกอบการในประเทศของตน (3) ปั ญหาด้ านอู่เรื อ กล่าวคืออุตสาหกรรมต่อเรื อและซ่อมเรื อแม้ จะถูกกําหนดให้ เป็ นส่วนหนึ่งของ กิจการพาณิชยนาวี แต่ก็มีลกั ษณะที่แตกต่างจากกิจการพาณิชยนาวีอื่นๆ กล่าวคือ ในขณะที่การขนส่งทางทะเล หรื อ ท่าเรื อเป็ นกิจกรรมให้ บริการ การต่อเรื อและซ่อมเรื อเป็ นกิจกรรมด้ านการผลิต อุตสาหกรรมต่อเรื อและซ่อมเรื อมีมลู ค่า น้ อยมาก คิดเป็ น 0.048 เปอร์ เซ็นต์ของ GDPภาคอุตสาหกรรม231 เท่านัน้ อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมนี เ้ ป็ นการ สนับสนุนกองเรื อไทย ก่อให้ เกิดการจ้ างงาน และเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมอื่นๆ มากมาย นอกจากนี ้ยังเป็ นกิจกรรมที่ มีการลงทุนสูง ผลตอบแทนตํ่า และระยะเวลาคืนทุนนาน ประกอบกับมีตลาดแข่งขันสูงในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และ ต้ องได้ รับการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐบาลด้ านเงินทุนและการแข่งขันทางตลาด แต่ในทางกลับกัน อุตสาหกรรมต่อ เรื อของไทยได้ รับการส่งเสริ มจากภาครัฐบาลน้ อยมาก ทําให้ มีขีดความสามารถในการต่อเรื อขนาดเล็กกว่า 500 ตัน กรอส มีจํากัด และไม่สามารถแข่งกับตลาดโลกได้ ตารางที่ 3-16 รายได้ อตุ สาหกรรมต่อเรื อ/ซ่อมเรื อเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการค้ าทางทะเลปี 2545 – 2549 232 ปี 2545 2546 2547 2548

มูลค่าการค้ าทางทะเล (1) 3,686,461 4,192,588 5,117,800 6,120,901

รายได้ อตู สาหกรรมต่อเรื อ/ซ่อมเรือ (2) 2,935 4,024 4,533 5,767

หน่วย : ล้ านบาท สัดส่วน 0.080% 0.096% 0.089% 0.094%

230

ในปี 1936 สภาหอการค้ านานาชาติ (International Chamber of Commerce/ICC) ได้ จดั ทํา “หลักปฏิบตั ิสําหรับตีความ ข้ อตกลงทางการค้ า” หรื อ INCOTERM ขึ ้น เพื่อเป็ นข้ อตกลงมาตรฐานเพื่อใช้ ในการซื ้อขายระหว่างประเทศ INCOTERM แต่ละข้ อจะระบุหน้ าที่ การรับภาระค่าใช้ จา่ ย และความเสี่ยงภัยในกรณีสินค้ าเสียหาย/สูญหายของผู้ซื ้อและผู้ขายไว้ อย่างชัดเจน INCOTERM ประกอบด้ วยข้ อตกลง 13 ข้ อ FOB และ CIF นับเป็ น INCOTERM ที่มีผ้ นู ิยมใช้ กนั มาที่สดุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศโลกที่ 3 ซึง่ มีสาระโดยสังเขปดังนี ้ • FOB (Free on Board) ภายใต้ ข้อตกลงนี ้ผู้ขายจะส่งมอบสินค้ า ณ ท่าเรื อที่ระบุไว้ ในสัญญาซื ้อขาย และภาระความ เสี่ยงในการที่สินค้ าสูญหาย/เสียหายจะโอนจากผู้ขายไปเป็ นของผู้ซื ้อ เมื่อสินค้ าได้ ผา่ นกราบเรื อ ณ ท่าเรื อที่ทําการบรรทุกสินค้ าลงเรื อ • CIF (Cost Insurance and Freight) “ผู้ขายจะต้ องจัดหาพาหนะ ชําระค่าระวางในการขนส่งสินค้ าไปยังปลายทาง ทํา ประกันภัยทางทะเลเพื่อคุ้มครองความเสี่ยงในกรณีที่สินค้ าเสียหาย/สูญหายระหว่างการขนส่งให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ โดยผู้ขายเป็ นผู้ทําสัญญากับ บริ ษัทประกันภัย และเป็ นผู้ชําระค่าเบี ้ยประกันภัย ขาย และภาระความเสี่ยงในการที่สินค้ าสูญหาย/เสียหายจะโอนจากผู้ขายไปเป็ น ของผู้ซื ้อ เมื่อสินค้ าได้ ผา่ นกราบเรื อ ณ ท่าเรื อที่ทําการบรรทุกสินค้ าลงเรื อ 231 สํานักงานสถิติ. มปป. รายงานสํารวจอุตสาหกรรมการผลิตปี 2546 ทั่วราชอาณาจักร. สํานักงานคณะกรรมการสถิติ แห่งชาติกรุงเทพฯ. 232 Transport Statistics 1991,1997. และ การขนส่งสิ นค้าระหว่างประเทศ. [สายตรง].กระทรงคมนาคม. แหล่งทีม่ า : http://porta.mot.go.th [4 กันยายน 2550] และ ข้อมูลโรงงานแบ่งตามประเภทอุตสาหกรรม. [สายตรง]. กรมโรงงานอุตสาหกรรม แหล่งทีม่ า : www.diw.go.th. ตรวจค้นข้อมูลงบการเงิ น. [สายตรง]. กรมพัฒนาธุรกิ จการค้า แหล่งทีม่ า : http://www.dbd.go.th. [19 - 26 กันยนยน 2550].และสมาคมต่อเรื อและซ่อมเรื อไทย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


108

3.2.4

แนวโน้ มการขนส่ งทางทะเลในอนาคต

ปั จจัยที่มีผลต่อแนวโน้ มการขนส่งทางทะเลของประเทศไทยอาจแบ่งออกได้ เป็ น 2 ระดับ คือ 1) ระดับประเทศ (1) ปริ มาณการนําเข้ าและส่งออกของประเทศมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้เป็ นผลจากการ ส่งเสริ มอุตสาหกรรมและการส่งออกซึ่งต่อเนื่องมากว่า 40 ปี ซึ่งส่งผลให้ มลู ค่าและปริ มาณการขนส่งทางทะเลของ ไทยจะเพิ่มสูงขึ ้นเช่นกัน (2) จากการวิเคราะห์ปริ มาณเรื อและสินค้ าที่ผ่านเข้ า–ออกทะเลไทย อ่าวไทยฝั่ งตะวันออกมีปริ มาณ เรื อและสินค้ าสูงที่สดุ คิดเป็ นเกือบ 60 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณเรื อทังหมด ้ และมีแนวโน้ มสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้ เนื่ องจากชายฝั่ งทะเลด้ านนีไ้ ด้ รับการพัฒนาให้ เป็ นเขตอุตสาหกรรมที่ใหญที่สุดของประเทศตามโครงการพัฒนา ั้ คมอุตสาหกรรมและเป็ นที่ตงของท่ ั้ าเรื อหลักของประเทศ 2 ชายฝั่ งตะวันออก จังหวัดชลบุรีและระยองเป็ นที่ตงของนิ แห่ง คือ ท่าเรื อแหลมฉบัง และท่าเรื อมาบตาพุด นอกจากนี ้อ่าวจอดเรื อศรี ราชายังเป็ นอ่าวจอดเรื อที่มีการบรรทุกขน ถ่ายสินค้ ากลางนํ ้าที่ใหญ่ที่สดุ ของประเทศ (3) อ่าวไทยตอนในซึ่งเป็ นที่ตงของท่ ั้ เรื อกรุ งเทพซึ่งเป็ นท่าเรื อหลักแห่งแรกของประเทศ และท่าเรื อ อีกถึง 74 แห่ง คงจะลดความสําคัญลง ทังนี ้ ้เนื่องจากตังแต่ ้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 4 เป็ นต้ น มารัฐมีนโยบายในกระจายการพัฒนาเมืองในภาคต่างๆ เพื่อช่วยยับยังการขยายตั ้ วของกรุงเทพมหานคร233 มีผลทํา ให้ เกิดโครงการพัฒนาชายฝั่ งตะวันออกและการก่อสร้ างท่าเรื อใหม่ 2 แห่งดังได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น

233

อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 232, หน้ า 259–261.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


109

รูปที่ 3-30 โครงข่ายคมนาคมที่เชื่อมต่ออนุภมู ิภาคลุม่ แม่นํ ้าโขง234 2) ระดับภูมิภาค เศรษฐกิจของภูมิภาคคงเติบโตขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทัง้ นี เ้ ป็ นผลมาจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคม ภายใต้ โครงการทางหลวงเอเชีย (Asian Highways) และตามโครงการอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ ้าโขง (The Greater Mekong Sub-region/GMS) ซึง่ เกือบจะเสร็จสิ ้นสมบูรณ์แล้ ว ถนนสายกรุงเทพฯ–คุนหมิง ซึง่ เชื่อมต่อเมืองหลวงของ ไทยและนครเอกของมณฑลคุนหมิง ระยะทางทังสิ ้ ้น 1,896 กิโลเมตร คงเหลือเพืยงช่วงที่ผ่านประเทศลาวระยะทาง เพียง 244 กิโลเมตร235 สะพานข้ ามแม่นํ ้าโขงแห่งที่สองที่จงั หวัดมุกดาหารซึง่ เชื่อมต่อถนนหมายเลข 9 ของลาวที่แขวง สุวรรณเขตและต่อไปจนถึงท่าเรื อดานังตอนกลางของประเทศเวียดนามได้ ก่อสร้ างแล้ วเสร็ จ (รู ปที่ 3-30) โครงข่าย คมนาคมที่เชื่อมต่อประเทศไทยและอนุภมู ิภาคผสมกับความได้ เปรี ยบที่ไทยอยู่ในระบบการค้ าเสรี มาโดยตลอดอาจ 234

สถาบันการขนส่ง. 2549. รายงานฉบับสุดท้ ายโครงการศึกษาเพื่อกําหนดยุทธศาสตร์ เชิงรุ กในการเปิ ดเสรี การค้ าบริ การ สาขาการขนส่ งทางถนน. สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. หน้ า 117. 235 อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 234, หน้ า 115.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


110

ส่งผลให้ ท่าเรื อแหลมฉบังของไทยกลายเป็ นประตูการค้ าของ GMS ในขณะเดียวกันโครงข่ายคมนาคมทําให้ ทงอนุ ั้ ภูมิภาคตกอยูภ่ ายใต้ บรรยากาศของการแข่งขันซึง่ อาจส่งผลให้ ท่าเรื อไทยต้ องสูญเสียปริ มาณการขนส่งให้ กบั ประเทศ เพื่อนบ้ านโดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าเรื อมาเลเซีย และเวียดนามซึง่ มีทําเลที่ตงทางทะเลซึ ั้ ง่ ได้ เปรี ยบประเทศไทย 3.2.5

บทสรุ ป

ตลอด 45 ปี แห่งการพัฒนาประเทศได้ มีการกําหนดนโยบายและมาตรการในการส่งเสริ มกิจการพาณิช นาวี ซึง่ มาตราการส่วนใหญ่เน้ นไปที่การพัฒนากองเรื อ ท่าเรื อ อูเ่ รื อ และกําลังคน ซึง่ เป็ นองค์ประกอบที่สําคัญที่สดุ ใน กิจการพาณิชยนาวี แต่กิจการพาณิชนาวีไทยไม่ได้ เจริ ญรุ ดหน้ าไปได้ กลับตกอยู่ในสภาพอ่อนแอและไม่สามารถ พึ่งพิงตนเองได้ ทังนี ้ ้เกิดจากการไม่ตระหนักถึงความสําคัญของกิจการพาณิชยนาวีที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ จึง ละเลยต่อการดําเนินให้ มาตรการส่งเสริ มสัมฤทธิ ผล ในขณะเดียวกันก็ขาดความรู้ ความเข้ าใจจึงไม่สามารถ ดําเนินการให้ เป็ นผล หรื อได้ ดําเนินการแต่ไม่ครบถ้ วนซึง่ ส่งผลให้ มาตรการส่งเสริมทังหมดล้ ้ มเหลว ปั ญหาที่เกิดขึน้ ในกิจการพาณิชยนาวี มีลกั ษณะเหมือนงูกินหาง หรื อวัวพันหลัก สะท้ อนให้ เห็นว่า กิจการพาณิชยนาวีเป็ นกิจการที่ประกอบด้ วยกิจกรรมที่หลากหลายและซับซ้ อน และเปลี่ยนแปลงเร็ว และไม่หยุดยัง้ อีกทัง้ ยังเป็ นกิจการที่มีการแข่งขันสูง ตลาดการขนส่งทางทะเล ท่าเรื อ หรื ออู่เรื อ เป็ นตลาดที่แข่งขันโดยสมบูรณ์ ดังนันบทบาทของรั ้ ฐในการพัฒนากิจการพาณิชยนาวีจึงไม่ใช่การควบคุม หรื อผูกขาด หรื อโอบอุ้ม แต่เป็ นนโยบายที่ ชัดเจน มาตรการสนับสนุนต่อเนื่อง ยาวนาน และสําคัญที่สดุ ต้ องครบทังวงจร ้ จึงจะสามารถสนับสนุนผู้ประกอบการ ให้ แข็งแกร่ งสามารถต่อสู้และแข่งขันในโลกยุคเปิ ดเสรี ได้ ทัง้ หมดนี ต้ ้ องอาศัยการบูรณาการจากหลายฝ่ าย และ จําเป็ นต้ องมีหน่วยงานกลางที่มีความเข้ าใจในธรรมชาติของธุรกิจพาณิชยนาวี เพื่อทําหน้ าที่ประสานกับหน่วยงาน ต่างๆ เกี่ยวข้ องในการกําหนดนโยบายการพัฒนา

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


111

3.3 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองของการท่ องเที่ยวและนันทนาการ 3.3.1 ความหมายและความสําคัญของการท่ องเที่ยวทางทะเล 3.3.1.1 ทรั พยากรการท่ องเที่ยวชายฝั่ งทะเลของประเทศไทย การท่องเที่ยวทางธรรมชาติเป็ นกิจกรรมนันทนาการของมนุษย์ ที่นําเอาความได้ เปรี ยบของลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ ในแต่ละพื ้นที่มาเป็ นเครื่ องมือเพื่อหาผลประโยชน์ และตอบสนองความต้ องการของนักท่องเที่ยว ความ ได้ เปรี ยบทางภูมิศาสตร์ ดงั ที่กล่าวมานันหมายถึ ้ ง ภูเขา นํ ้าตก นํ ้าพุร้อน เกาะ หาดทราย ชายทะเล และทรัพยากรใต้ ทะเล เป็ นต้ น สําหรับประเทศไทยมีลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ ซึง่ เป็ นชายฝั่ งทะเลยาวประมาณ 2,815 กิโลเมตร มีฝั่งทะเล 2 ฝั่ ง คือ ชายฝั่ งทะเลอ่าวไทย และชายฝั่ งทะเลอันดามัน ฝั่ งอ่าวไทยตังอยู ้ ใ่ นทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก และฝั่ งทะเล อันดามัน ในมหาสมุทรอินเดีย ฝั่ งอ่าวไทยแบ่งเป็ น 2 ด้ านคือ อ่าวไทยด้ านตะวันออก ได้ แก่ บริ เวณฝั่ งทะเลตังแต่ ้ จดุ กึง่ กลางระหว่างปากแม่นํ ้านํ ้าท่าจีนกับแม่นํ ้าเจ้ าพระยาไปทางตะวันออกวกไปจนจรดเขตแดนประเทศกัมพูชา บริ เวณ บ้ านหาดเล็ก จังหวัดตราด รวมความยาวประมาณ 544 กิโลเมตร และอ่าวไทยด้ านตะวันตก เริ่ มจากจุดกึ่งกลาง ระหว่างปากแม่นํ ้าท่าจีนกับแม่นํ ้าเจ้ าพระยาไปทางตะวันตก ยาวลงไปทางใต้ จรดเขตแดนประเทศมาเลเซียที่ปาก แม่นํ ้าสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ระยะทางยาวประมาณ 1,334 กิโลเมตร ส่วนฝั่ งทะเลอันดามัน นับตังแต่ ้ ปากนํ ้า กระบุรี จังหวัดระนอง เชื่อมต่อกับเขตแดนของประเทศสหภาพพม่าเรื่ อยลงไปทางใต้ จนถึงเขตแดนของประเทศ มาเลเซียที่จงั หวัดสตูล ซึง่ ตังอยู ้ ใ่ นช่องแคบมะละกา ระยะทางยาว 937 กิโลเมตร ตามหลักของวิทยาศาสตร์ ทางทะเลได้ แบ่งทะเลไทยตามลักษณะภูมิประเทศออกเป็ น 5 ส่วน 3 ส่วนอยู่ใน ทะเลอ่าวไทย ได้ แก่ อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก อ่าวไทยตอนใน และอ่าวไทยฝั่ งตะวันตก โดยมี 2 ส่วนอยู่ในทะเลอันดามัน ได้ แก่ อันดามันเหนื อ และอันดามันใต้ พื น้ ที่ บริ เวณชายฝั่ งเหล่านี อ้ ุดมไปด้ วยทรั พยากรธรรมชาติจึงถูกนํ ามาใช้ ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศมาในด้ านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้ านการท่องเที่ยวทางทะเลซึง่ สร้ างรายได้ เข้ า ประเทศเป็ นจํานวนมาก 3.3.1.2 รู ปแบบกิจกรรมการท่ องเที่ยวทางทะเล 1) กิ จกรรมดํานํ้า เป็ นกิจกรรมที่ให้ ความเพลิดเพลินกับการชมธรรมชาติที่มีอยู่ใต้ ท้องทะเลที่นกั ท่องเที่ยวสามารถเข้ าไปชม ความงามได้ อย่างใกล้ ชิด เช่น ปะการัง ดอกไม้ ทะเล ปลาชนิดต่างๆ หรื อจะเป็ นการดํานํ ้าไปชมเรื อจม กิจกรรมดํานํ ้า มีอยูห่ ลายแห่งในประเทศไทย ทังทางฝั ้ ่ งอันดามันและอ่าวไทย เช่นที่เกาะสีชงั เกาะล้ าน จังหวัดชลบุรี หมู่เกาะสุรินทร์ เกาะสิมิลนั จังหวัดพังงา เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ ธานี เป็ นต้ น นอกจากนี ้กิจกรรมดํานํ ้าเพื่อการอื่นที่จดั โดยกลุม่ หรื อ ชมรมนักดํานํ ้าที่มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมได้ ดํานํ ้าลงไปเพื่อเก็บขยะใต้ ทะเล หรื อทําปะการังเทียมเพื่อเป็ น ที่อยูข่ องปลา เช่น ที่บริเวณชายหาดพัทยา กิจกรรมดํานํ ้ามีการแบ่งออกเป็ น (1) กิจกรรมดํานํ ้าตื ้น หรื อดํานํา้ ผิว เป็ นการดํานํ ้าโดยไม่ต้องใช้ เครื่ องช่วยหายใจ มีเพียงหน้ ากาก (Snorkel) ที่ช่วยในการหายใจ และสามารถดํานํ ้าได้ ในบริเวณที่มีความลึกไม่เกิน 2 เมตร (2) กิ จ กรรมดํ า นํ า้ ลึ ก หรื อ ประดานํ า้ ต่ า งจากการดํ า นํ า้ ตื น้ ตรงที่ ต้ องใช้ เครื่ อ งช่ ว ยหายใจ นักท่องเที่ยวสามารถจะดําได้ ที่ความลึกกว่า 2 เมตร โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


112

2) กิ จกรรมการเดิ นใต้ทะเล (Sea–Walker) การเดินใต้ ทะเล คือ การลงไปสัมผัสกับธรรมชาติและศึกษาชีวิตใต้ ทะเล เช่น ปะการัง ปลาชนิดต่างๆ โดย ที่นกั ท่องเที่ยวสามารถลงไปเดินคล้ ายกับเดินอยู่บนบก ซึง่ จะใช้ การหายใจจากเครื่ องปั๊ มอากาศที่อยู่บนเรื อส่งอากาศ มาตามสายเข้ าไปยังครอบแก้ วที่สวมศีรษะอยู่ สําหรับสถานที่ให้ บริ การแก่นกั ท่องเที่ยวเท่าที่พบคือ เกาะล้ าน จังหวัด ชลบุรี และที่เกาะเฮ จังหวัดภูเก็ต ในขณะนี ้ได้ มีการกําหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจ นําเที่ยวแบบ Walker และดํานํ ้าในจังหวัดภูเก็ต เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวและเป็ นการสร้ างมาตรฐาน 3) กิ จกรรมพักผ่อนชายหาด การนันทนาการ เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อ การพัก ผ่ อ นแบบสงบ การอาบแดด การพัก ผ่ อ นรั บ ประทานอาหารและเพื่ อ ความ สนุกสนาน เล่นนํ ้าว่ายนํ ้า และเล่นกีฬาชายหาดจึงช่วยให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ออกกําลังกาย กิจกรรมเพื่อการนันทนาการ สามารถทํากิจกรรมได้ ตามชายทะเลเกือบทุกแห่ง โดยนิยมกันมากบริ เวณที่มีหาดทรายละเอียด นํ ้าทะเลสงบ หรื อมี คลื่นเล็กน้ อย 4) การชมหมู่บา้ นชาวประมงและชาวเล เป็ นการเข้ าไปชมและสัมผัส เพื่อได้ เรี ยนรู้ ถึงการดํารงชีวิตและประเพณีอื่นๆ ที่แตกต่างกันออกไปจากที่ เคยพบเห็นอยู่เป็ นประจํา เช่น ชาวเลมอแกน ที่อทุ ยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา มีประเพณี วัฒนธรรมที่ เป็ นของตัวเอง นอกจากนันอาจเป็ ้ นการได้ ศึกษาถึงศิลปะของเรื อแบบต่างๆ เช่น เรื อกอและของชาวประมงที่หาดปะ นาเระ ที่มีการวาดลวดลายและตกแต่งเรื ออย่างสวยงาม 5) กิ จกรรมการแล่นเรื อ (1) เรื อ แคนู เป็ นการแล่ น เรื อ เพื่ อ ชมธรรมชาติ ต ามชายฝั่ ง ทะเล ทัง้ หน้ า ผา โขดหิ น รวมไปถึ ง ภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีอยู่ตามผนังถํา้ ที่เรื อแคนูสามารถจะพายลอดเข้ าไปได้ เช่น เขาเขียน จังหวัดพังงา เป็ นต้ น หรื อล่องเรื อไปตามป่ าโกงกางเพื่อดูนกชนิดต่างๆ นอกจากนันยั ้ งได้ สมั ผัสถึงวิถีชีวิตของชาวประมงที่สามารถ พบเห็นอยู่ทวั่ ไปตามชายฝั่ ง การแล่นเรื อแคนูนี ้นอกจากได้ ความเพลิดเพลินกับการชมธรรมชาติแล้ ว นักท่องเที่ยวยัง ได้ ใช้ ความสามารถในการบังคับเรื อ และได้ ออกกําลังกายอีกด้ วย (2) เรื อคายัก เป็ นกิจกรรมการแล่นเรื อที่มีลกั ษณะคล้ ายกับการแล่นเรื อแคนู แต่แตกต่างกันตรงที่ ลักษณะของเรื อ คือ เรื อคายักมีรูปร่ างเพรี ยว ส่วนเรื อแคนูรูปร่ างจะอ้ วนสันกว่ ้ า สามารถนัง่ ได้ 1 หรื อ 2 คน แล้ วแต่ ความยาวของเรื อ ใช้ การพายไม่ต้องอาศัยเครื่ องยนต์ จึงทําให้ ไม่เกิดเสียงดังจึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะใช้ พายล่องไปตาม สายนํา้ เพื่อชมความงามของทัศนียภาพ รวมทัง้ ศึกษาระบบนิเวศโดยทั่วไปทัง้ บนผิวนํา้ และในบริ เวณป่ าชายเลน เนื่องจากที่เรื อมีขนาดเล็กจึงสามารถพายล่องเข้ าไปในบริ เวณป่ าโกงกาง หรื อลอดถํ ้าได้ อีกด้ วย กิจกรรมการพายเรื อ คายักนี เ้ ป็ นที่ นิยมกัน มากที่ จังหวัดกระบี่ ซึ่ง มี การจัดการท่องเที่ ยวชมธรรมชาติบ ริ เวณอ่าวพระนาง โดยที่มีเรื อ ให้ บริการแก่นกั ท่องเที่ยวด้ วย (3) เรื อยอร์ ช เป็ นการแล่นเรื อที่สามารถแล่นออกไปชมธรรมชาติของท้ องทะเลและความงามของ เกาะต่างๆ ที่อยูไ่ กลจากชายฝั่ งออกไปมากๆ ได้ อย่างสะดวกสบาย (4) เรื อสําราญ เป็ นลักษณะของเรื อท่องเที่ยวที่มีความพร้ อมในสิ่งอํานวยความสะดวก กิจกรรมการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศจะมีได้ ในกรณีการแวะท่องเที่ยวเสริมในโปรแกรม หรื อการให้ ความรู้ในระหว่างการเดินเรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


113

6) การศึกษาธรรมชาติ ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ เป็ นกิจกรรมท่องเที่ยวที่สนับสนุนให้ นกั ท่องเที่ยวนอกจากจะได้ รับความเพลิดเพลินจากการได้ มาเที่ยวใน พื ้นที่ธรรมชาติ เช่น การศึกษาพืชชนิดต่างๆ รวมทังสั ้ ตว์ที่อาศัยอยู่ในบริ เวณของเส้ นทางการศึกษาธรรมชาติที่แต่ละ พื ้นที่ได้ มีการจัดเป็ นโปรแกรมไว้ สําหรับนักท่องเที่ยว โดยมีผ้ นู ําทางและอธิบาย หรื อโดยการจัดทําป้ายสื่อความหมาย อธิ บายให้ นกั ท่องเที่ยวเข้ าใจมากขึ ้น และจะมีความแตกต่างกันไปตามพื ้นที่ที่แตกต่างกัน เช่น ชายหาด ป่ าโกงกาง เป็ นต้ น กิจกรรมการศึกษาธรรมชาตินี ้มีการจัดทัว่ ไปตามอุทยานแห่งชาติทกุ แห่ง เช่น อุทยานแห่งชาติหาดเจ้ าไหม จังหวัดตรัง อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสิมิลนั จังหวัดพังงา 7) การดูนก เป็ นกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวจะได้ รับความรู้ ด้านการศึกษาธรรมชาติของนก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรม ประเภทนี ้ยังช่วยฝึ กให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ร้ ูจกั การสังเกต จดบันทึกลักษณะของนก อุปนิสยั นกบางชนิดจะมีการอพยพมา จากที่อื่น เพราะฉะนันจึ ้ งต้ องมีการศึกษาข้ อมูลมาก่อนเป็ นอย่างดีจึงจะเพลิดเพลินยิ่งขึ ้น การดูนกทําให้ นกั ท่องเที่ยว ้ นกลุ่มหรื อ เกิดจิตสํานึกของการอนุรักษ์ ธรรมชาติ ปั จจุบนั มีผ้ สู นใจในกิจกรรมดูนกเป็ นจํานวนมาก จึงมีการจัดตังเป็ ชมรมดูนกขึ ้นหลายกลุม่ เช่น สมาคมอนุรักษ์ นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย เป็ นต้ น สําหรับสถานที่ดนู กมีอยู่หลาย แห่งตามป่ าโกงกางหรื อตามเกาะต่างๆ เช่น เกาะลันตาน้ อย จังหวัดกระบี่ หรื อหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา เขตห้ าม ล่าสัตว์ป่า เกาะลิบง จังหวัดตรัง 8) การขี ่จกั รยานภูเขา เป็ นกิจกรรมที่ต้องอาศัยจักรยานภูเขา (Mountain Bike) ในการขี่ท่องเที่ยวไปตามชายหาดหรื อในพื ้นที่ บริ เวณที่ขรุ ขระ เหมาะสําหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการจะเที่ยวชมธรรมชาติในแบบของการผจญภัย นอกจากจะให้ ความสะดวกสบายและความตื่นเต้ นแล้ ว ยังเป็ นการออกกําลังกายไปในตัว และนักท่องเที่ยวก็ได้ รับอากาศที่บริ สทุ ธิ์ จากธรรมชาติ ปั จจุบนั นี ้มีการให้ บริการจักรยานแก่นกั ท่องเที่ยวตามเกาะหรื อชายหาด เพื่อให้ นกั ท่องเที่ยวได้ มีโอกาส เที่ยวชมรอบเกาะหรื อชายหาดได้ สะดวกขึ ้น เช่น จังหวัดภูเก็ต และที่เกาะช้ าง จังหวัดตราด ซึ่งได้ รับความสนใจจาก นักท่องเที่ยวทังชาวไทยและชาวต่ ้ างชาติเป็ นจํานวนมาก 9) การปี น/ไต่เขา เป็ นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้ องการของผู้ที่ชอบความท้ าทายในความยากลําบากที่ธรรมชาติได้ สร้ างไว้ พื ้นที่ตามชายทะเลของประเทศไทยมีภูมิประเทศที่มีลกั ษณะเป็ นหน้ าผาสูงชัน้ ที่สามารถพบเห็นได้ หลายแห่ง โดย เฉพาะที่อ่าวพระนาง จังหวัดกระบี่ เป็ นที่ที่มีนกั ท่องเที่ยวนิยมมาปี นเป็ นจํานวนมาก มีกิจกรรมการปี นและไต่เขาเป็ น กิจกรรมที่ต้องการความปลอดภัยสูง อุปกรณ์ที่ใช้ ปีนเขานี ้ต้ องมีมาตรฐาน นอกจากได้ ออกกําลังกายแล้ วยังเป็ นการ ได้ สมั ผัสกับความงามของสภาพภูมิประเทศที่มีลกั ษณะแตกต่างกันไปตามพื ้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย มีชมรมสําหรับ การปี นเขา เช่น ชมรมพระนางปี นหน้ าผา หรื อถ้ าเป็ นในรูปขององค์กรก็คือ สมาพันธ์ปีนหน้ าผาแห่งประเทศไทย 10) กิ จกรรมตัง้ แคมป์ เป็ นกิจกรรมที่นกั ท่องเที่ยวได้ สามารถอยู่กบั ธรรมชาติและสัมผัสธรรมชาติอย่างใกล้ ชิดเป็ นการแสวงหา ความสงบที่ไม่สามารถหาได้ ในเมือง รู ปแบบของกิจกรรมที่นกั ท่องเที่ยวจะสามารถปฏิบตั ินนั ้ ในเวลากลางวัน และ เวลากลางคืนจะมีความแตกต่างกันไปหลายรู ปแบบ เช่น กลางวันอาจดูชีวิตของพืชและสัตว์ ส่วนตอนกลางคืน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


114

อาจจะดูดาว เป็ นต้ น สําหรับสถานที่เพื่อการตังแค้ ้ มป์มีอยู่มากมายหลายแห่ง ทังชายฝั ้ ่ งทะเลและเกาะต่างๆ รวมทัง้ อุทยานแห่งชาติทกุ แห่งได้ มีการจัดสถานที่ไว้ เพื่อให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ใช้ ตงแค้ ั ้ มป์ด้ วย 11) เดิ นป่ า เป็ นกิจกรรมที่ให้ นกั ท่องเที่ยวได้ สมั ผัสกับธรรมชาติอย่างใกล้ ชิด โดยการนําตัวเองไปสู่ธรรมชาติด้วยการ เดินเท้ าตามเส้ นทางที่ตดั เข้ าไปในป่ าที่มีจดุ สวยงามดึงดูดความสนใจ นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้ ใกล้ ชิดกับธรรมชาติ แล้ ว ยังมีโอกาสได้ เรี ยนรู้สรรพสิ่งต่างๆ โดยการสังเกตจากสิ่งที่พบเห็นทังสองข้ ้ างทาง กิจกรรมเดินป่ ายังแบ่งเป็ นสอง ลักษณะคือ การเดินป่ าที่ค่อนข้ างผจญภัย มีจดุ มุ่งหมายสร้ างความตื่นเต้ นเร้ าใจให้ แก่นกั ท่องเที่ยว ซึ่งต้ องมีการปี น ้ ภูมิประเทศไม่สงู ชันมาก ให้ นกั ท่องเที่ยว ป่ ายหรื อเดินขึ ้นลงเขาที่สงู ชัน และเดินป่ าตามเส้ นทางเฉพาะระยะทางสันๆ ได้ เรี ยนรู้ และซาบซึ ้งกับความงามของธรรมชาติ สถานที่เพื่อการเดินป่ ามีหลายแห่ง เช่น ที่อุทยานแห่งชาติตะรุ เตา เป็ นต้ น 12) กิ จกรรมศึกษาท้องฟ้าและดาราศาสตร์ เป็ นกิจกรรมที่นกั ท่องเที่ยวได้ มีโอกาสในการศึกษาเรี ยนรู้เกี่ยวกับเรื่ องท้ องฟ้า และดาราศาสตร์ ชนิดของ ดาว และกลุ่มดาว รู ปร่ าง ตําแหน่ง และวงโคจร ตลอดจนประวัติและตํานานพื ้นบ้ านต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ดังนันบริ ้ เวณ ชายหาดจึงเป็ นที่ที่เหมาะในการจัดกิจกรรมนีม้ าก เพราะเป็ นบริ เวณที่โล่งไม่มีสิ่งกีดขวางทัศนียภาพ ชนิดของกลุ่ม ดาวก็จะมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละเดือน นักท่องเที่ยวจะต้ องมีการศึกษาข้ อมูลของดวงดาวมาเป็ นอย่างดี หรื อ อาจจะมีวิทยากรที่คอยให้ ความรู้และคําแนะนําก็ได้ 13) การชมทิ วทัศน์ เป็ นการสัมผัสและได้ ไปชมความงามของธรรมชาติ ที่เป็ นภูมิทศั น์บริ เวณชายหาด หน้ าผา โขดหิน หรื อป่ า ชายเลน นอกจากนี ้ยังมีการชมความงามของดวงอาทิตย์ขึ ้นและตก ซึง่ มีอยู่หลายแห่ง เช่น ที่แหลมพรหมเทพ จังหวัด ภูเก็ต เป็ นต้ น 14) การเล่นวิ นด์เซิ ร์ฟและการแล่นใบ วินด์เซิร์ฟ หรื อกระดานโต้ คลื่นมีใบเป็ นกิจกรรมที่ให้ ความสนุกสนานตื่นเต้ น ต้ องอาศัยความสามารถ และ ความชํานาญเฉพาะเพื่อที่จะโต้ คลื่น นักท่องเที่ยวจะต้ องรู้จงั หวะของคลื่น เป็ นอย่างดีและต้ องเข้ าใจถึงลักษณะของ ลม ในการเล่นวินด์เซิร์ฟนี ้อุปกรณ์ที่สําคัญก็คือ กระดาน ซึ่งต้ องมีความเหมาะสมกับตัวผู้เล่นเอง สถานที่ที่ใช้ ในการ เล่นควรเป็ นสถานที่ที่มีความเร็ วของลมสูงพอสมควร รวมทัง้ ความสูงของคลื่นที่ต้องมีขนาดความสูงที่พอเหมาะ สําหรับแหล่งที่มีนกั ท่องเที่ยวทังชาวไทยและชาวต่ ้ างชาติไปเล่นวินด์เซิร์ฟเป็ นจํานวนมาก ได้ แก่ ชายหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี และชายหาดจังหวัดภูเก็ต เกาะกระดาน จังหวัดตรัง เป็ นต้ น 15) การตกปลา เป็ นกิจกรรมที่ท้าทายความสามารถของนักท่องเที่ยวอย่างหนึ่ง นักท่องเที่ยวจะต้ องทราบว่าสถานที่ใดมี ปลามาก หรื อมีชนิดที่ตนต้ องการ ซึ่งอาจจะทราบจากการให้ ชาวบ้ านในพืน้ ที่เป็ นผู้นําทางไปชี ห้ มายการตกปลา นอกจากเพื่อความเพลิดเพลินและเพื่อออกกําลังกายแล้ ว ยังถือว่าเป็ นการที่เราได้ ไปศึกษาชีวิตของปลาว่ามีการ ดํารงชีวิต และพฤติกรรมอย่างไร กิจกรรมชนิดนี ้มีการจัดแข่งขันกันอยู่เสมอตามฤดูกาล มีกฎระเบียบเป็ นกีฬาเรี ยกว่า

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


115

Game Fish เช่น การแข่งขันตกปลานานาชาติในรายการ Phuket International Sportfishing Classic เมื่อต้ นเดือน พฤศจิกายน 2539 16) ชมภาพเขี ยนก่อนประวัติศาสตร์ ภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์ เป็ นภาพเขียนที่ปรากฏอยู่ตามถํ ้า หรื อหน้ าผาต่างๆ อาจจะเขียนขึ ้นโดยผู้ที่ เคยอาศัยอยู่ที่นนั ้ หรื อผู้ที่เดินทางมาจากที่อื่นแล้ วมาแวะพัก เช่น ภาพเขียนที่ถํ ้าไวกิ ้งจังหวัดกระบี่ ภาพเขียนเหล่านี ้ จะบอกถึงเรื่ องราวกิจกรรม รวมทังวิ ้ ถีชีวิตความเป็ นอยู่ของชนกลุ่มนัน้ เมื่อเราได้ เข้ าไปชมไปศึกษาจะทําให้ ได้ ทราบ ถึงวิถีชีวิตของชุมชนมนุษย์โบราณ 17) กิ จกรรมปล่อยเต่าทะเล เนื่องจากปั จจุบนั นีเ้ ต่าทะเลมีจํานวนน้ อยมาก ตามชายหาดต่างๆ มักจะมีเต่าขึ ้นมาวางไข่ เพื่อเป็ นการ อนุรักษ์ เต่าทะเลเอาไว้ จึงมีการประกาศพื ้นที่ที่มีเต่าทะเลวางไข่ให้ เป็ นพื ้นที่ที่ห้ามเข้ าไปรบกวน เพื่อให้ การฟั กออก จากไข่ของเต่ามีประสิทธิ ภาพดีขึน้ เจ้ าหน้ าที่ประมงจะนําไข่เต่าไปฟั กให้ เป็ นตัว แล้ วนําไปเลี ้ยงในบ่ออนุบาลให้ มี ขนาดแข็งแรง จากนันจึ ้ งจัดให้ มีการปล่อยเต่าเพื่อคืนสูท่ ้ องทะเล ซึง่ มีการจัดงานดังกล่าวอยู่หลายแห่ง เช่น ที่หาดไน ยาง จังหวัดภูเก็ต 18) กิ จกรรมถ่ายรู ปธรรมชาติ บันทึกเทปวีดีโอ เทปเสียงธรรมชาติ กิจกรรมการถ่ายรูปและการบันทึกเทปวีดีโอ มีทงถ่ ั ้ ายรูปและบันทึกเทปวิวทิวทัศน์ ธรรมชาติ สถานที่ต่างๆ ้ เป็ นการ ที่สวยงาม ซึ่งทําให้ เกิดความประทับใจแก่นกั ท่องเที่ยว เพื่อที่จะได้ นํากลับมาชมใหม่อีกครัง้ นอกจากนันก็ ถ่ายรูปและบันทึกเทปเพื่อประโยชน์แก่การศึกษารายละเอียดของธรรมชาติ เช่น พืชและนกที่หายาก หรื อรอยเท้ าสัตว์ ป่ า เป็ นต้ นไป ซึ่งจะทําให้ ได้ เข้ าใจถึงธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต และรายละเอียดทางวิชาการต่างๆ ที่ต้องการทราบ เพื่อ ประโยชน์ในการศึกษาต่อไป ส่วนการบันทึกเสียงธรรมชาติก็เป็ นในลักษณะเดียวกัน ซึ่งเสียงที่นิยมบันทึกมักจะเป็ น เสียงของนํ ้าตก นํ ้าไหล เสียงนก แมลง และสัตว์ป่าต่างๆ 3.3.2 สถิตกิ ารท่ องเที่ยวและผลประโยชน์ ด้านการท่ องเที่ยวทางทะเล 3.3.2.1 สถิตนิ ักท่ องเที่ยว ้ กท่องเที่ยวที่เดินทางมา ในแต่ละปี ประเทศไทยสามารถรองรับจํานวนนักท่องเที่ยวได้ เป็ นจํานวนมาก ทังนั จากต่า งประเทศ และนัก ท่อ งเที่ ย วชาวไทยเอง เกิ ด เป็ นรายได้ เ ข้ า สู่ป ระเทศ และก่อ เกิ ด การหมุน เวี ย นเงิ น ตรา ภายในประเทศเป็ นจํานวนมาก การท่องเที่ยวทางทะเลเป็ นกิจกรรมที่ทํารายได้ เข้ าสู่ประเทศเป็ นจํานวนมหาศาล เนื่องจากความสวยงามของทะเลไทยเป็ นที่ยอมรับไปทัว่ โลก ถึงแม้ ว่าการสํารวจข้ อมูลสถิติของผู้ที่มาท่องเที่ยวทาง ทะเลอย่างชัดเจนนัน้ ไม่สามารถทําได้ จริ งในทางปฏิบัติ แต่จากการอาศัยข้ อมูลของผู้เยี่ยมเยือนที่เดินทางมายัง จังหวัดที่ติดทะเลก็สามารถนําข้ อมูลดังกล่าวมาใช้ เป็ นเป็ นแนวทางในการประมาณจํานวนของนักท่องเที่ยวที่เดินทาง มาท่องเที่ยวทางทะเลได้ ในระดับหนึง่ จากข้ อมูลของผู้เยี่ยมเยือนที่เดินทางมายังจังหวัดที่ติดทะเลสามารถแบ่งกลุ่มจังหวัดที่ติดทะเลออกเป็ น จังหวัดที่อยู่ติดทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออก (ตารางที่ 3-16) และจังหวัดที่อยู่ติดทะเลทางภาคใต้ (ตารางที่ 3-17) ซึง่ ในบางจังหวัดอาจมีเฉพาะข้ อมูลในส่วนของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่สําคัญเท่านัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


116

ตารางที่ 3-17 จํานวนผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดที่ติดทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออก จังหวัด ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549

จันทบุรี 420,431 417,390 446,970 413,484 423,459 453,488 488,438 528,842 660,750 951,583

ฉะเชิงเทรา

ตราด

1,196,523 1,273,880 1,493,128 1,672,583

ประจวบคีรีขนั ธ์ (หัวหิน)

246,658 281,909 283,432

เพชรบุรี (ชะอํา)

1,312,585 1,494,197 1,680,975 1,704,160 1,718,442 1,784,298 1,906,117 2,004,603 2,274,026 2,315,081

2,313,424 2,698,510 2,876,251 2,964,924 3,061,990 3,220,686 3,233,079 3,307,988 3,392,574

ระยอง 1,966,230 2,092,272 2,172,223 2,323,964 2,478,375 2,414,498 2,532,831 2,715,377 3,097,511 3,346,871

ตารางที่ 3-18 จํานวนผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดที่ติดทะเลในภาคใต้ จังหวัด ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549

กระบี่ 701,443 1,003,742 1,096,952 1,236,229 1,356,960 1,458,771 1,623,217 1,796,591 1,027,045 1,732,951

ชุมพร

ตรัง

463,275 425,218 451,687 457,543 465,348 473,200 482,715

322,246 352,871 437,637 448,767 445,411 490,303 567,224 736,172 618,681 726,373

นครศรี ธรร มราช 950,601 980,681 791,405 793,568 812,301 847,073 1,135,633 1,219,813 1,233,396 1,367,206

ปั ตตานี

276,107 290,660 312,872 271,312 170,475 160,320

พังงา

1,702,929 1,875,404 2,002,747 2,328,190 2,334,609 2,894,654 821,263 1,021,448

พัทลุง

336,661 320,439 362,713 413,530 400,106 448,000

ภูเก็ต

ระนอง

2,401,631 2,660,420 3,083,208 3,459,573 3,789,660 3,990,702 4,050,077 4,793,252 2,510,276

276,854 277,524 327,549 345,480 340,705 376,846

สตูล

403,303 422,242 443,345 486,315 582,057 659,198

3.3.2.2 รายได้ จากการท่ องเที่ยว การเดินทางเข้ ามาท่องเที่ยวยังจังหวัดที่ติดทะเลของนักท่องเที่ยว ส่งผลให้ จงั หวัดมีรายได้ จากการใช้ จ่าย ของนักท่อ งเที่ ยว เช่น ค่า เดิน ทาง ค่า ที่ พัก ค่า อาหาร เป็ นต้ น ทํ า ให้ ป ระชาชนในพื น้ ที่ และผู้ป ระกอบการธุ รกิ จ ท่องเที่ยว มีอาชีพ และมีรายได้ ที่มนั่ คง แต่การเก็บข้ อมูลที่แท้ จริ งของรายได้ ที่มาจากการท่องเที่ยวทางทะเลนัน้ ไม่

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


117

สามารถทําได้ เช่นเดียวกับข้ อมูลของจํานวนนักท่องเที่ยว ดังนันรายได้ ้ ที่เกิดจากการท่องเที่ยวทางทะเลนัน้ จึงต้ อง นํามาจากข้ อมูลรายได้ ของจังหวัดที่ติดทะเลเช่นกัน จากข้ อมูลสถิติที่มีการรวบรวมรายได้ จากการท่องเที่ยวในปี 2546 ในระดับจังหวัดที่อยู่ติดทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออก (ตารางที่ 3-19) พบว่ามีรายได้ รวมทังสิ ้ ้น 24,302.15 ล้ านบาท และเพิ่มเป็ น 58,930.39 ล้ านบาท ในปี 2547 (ตารางที่ 3-20) ถึงแม้ ว่า ข้ อมูลในปี 2546 และ 2547 จะมีรายละเอียดของจังหวัดไม่ตรงกัน แต่จากข้ อมูล ดังกล่าวก็สามารถแสดงให้ เห็นแนวโน้ มว่า มีรายได้ จากการท่องเที่ยวในจังหวัดที่ติดทะเลในภาคกลาง และภาค ตะวันออกที่เพิ่มขึ ้น ตารางที่ 3-19 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออกปี 2546 จังหวัด จันทบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี (ชะอํา) ประจวบคีรีขนั ธ์ (หัวหิน) รวม

รายได้ รวม (ล้ านบาท) 901.73 7,869.43 687.70 7,213.46 7,629.83 24,302.15

ตารางที่ 3-20 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออกปี 2547 จังหวัด

รายได้ รวม (ล้ านบาท) 998.46

จันทบุรี ชลบุรี บางแสน พัทยา เพชรบุรี (ชะอํา) ประจวบคีรีขนั ธ์ (หัวหิน) รวม

1,643.63 40,194.25 7,624.49 8,469.56 58,930.39

ในส่วนของภาคใต้ จงั หวัดที่ติดทะเลสามารถสร้ างรายได้ จากการท่องเที่ยวในระดับจังหวัดเข้ าสูป่ ระเทศเป็ น จํานวนมาก เห็นได้ จากข้ อมูลในปี 2546 (ตารางที่ 3-21) การท่องเที่ยวก่อให้ เกิดรายได้ ทงสิ ั ้ ้น 116,770.91 ล้ านบาท และเพิ่มเป็ น 138,459.91 ล้ านบาท ในปี 2547 (ตารางที่ 3-22) และถึงแม้ ว่าข้ อมูลในปี 2546 และ 2547 จะมี รายละเอียดของจังหวัดไม่ตรงกัน แต่ก็แสดงให้ เห็นแนวโน้ มว่าประเทศมีรายได้ ที่เพิ่มขึ ้นเช่นกัน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


118

ตารางที่ 3-21 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคใต้ ปี 2546 จังหวัด

รายได้ รวม (ล้ านบาท)

สุราษฎร์ ธานี อําเภอเมือง เกาะสมุย นครศรี ธรรมราช ปั ตตานี ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล รวม

2,490.18 9,954.50 2,413.92 460.73 996.44 6,398.98 73,263.7 17,465.98 2,427.16 899.32 116,770.91

ตารางที่ 3-22 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคใต้ ปี 2547 จังหวัด

รายได้ รวม (ล้ านบาท) 1,338.25

ชุมพร สุราษฎร์ ธานี อําเภอเมือง เกาะสมุย นครศรี ธรรมราช พัทลุง ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล รวม

2,517.59 11,314.59 2,922.10 413.19 989.15 9,773.86 85,670.63 19,325.37 3,216.48 978.70 138,459.91

ในปี 2546 และ 2547 ประเทศไทยมีรายได้ จากการท่องเที่ยวในจังหวัดที่ติดทะเลเป็ นจํานวนมาก จากข้ อมูล ที่มีอยู่พบว่าในปี 2546 มีรายได้ รวมทังสิ ้ ้น 141,073.06 ล้ านบาท แบ่งออกเป็ นรายได้ ที่มาจากภาคกลาง และภาค ตะวันออกเท่ากับ 24,302.15 ล้ านบาท และจากภาคใต้ เท่ากับ 116,770.91 ล้ านบาท โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


119

ในปี 2547 ประเทศไทยมีรายได้ จากการท่องเที่ยวในจังหวัดที่ติดทะเลเพิ่มขึ ้นเป็ น 197,390.3 ล้ านบาท แบ่ง ออกเป็ นรายได้ ที่ มาจากภาคกลาง และภาคตะวันออกเท่า กับ 58,930.39 ล้ านบาท และจากภาคใต้ เท่า กับ 138,459.91 ล้ านบาท จากข้ อมูลดังกล่าวนี ้แสดงให้ เห็นว่ารายได้ ส่วนใหญ่เกิดจากภาคใต้ เนื่องจากทรัพยากรด้ านการท่องเที่ยว ทางทะเลมีมากกว่า แต่ในช่วงปลายปี 2547 ได้ เกิดเหตุการณ์ภยั พิบตั ิคลื่นสึนามิขึ ้นในจังหวัดที่ติดทะเลทางภาคใต้ ฝั่ง ทะเลอันดามัน ทําให้ มีผ้ เู สียชีวิต และสูญหายเป็ นจํานวนมาก เหตุการณ์ดงั กล่าวส่งผลให้ รายได้ จากการท่องเที่ยวใน จังหวัดที่ประสบภัยพิบตั ิลดลงอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดภูเก็ต ซึง่ เคยมีรายได้ จากการท่องเที่ยวในปี 2547 ถึง 85,670.63 ล้ านบาท กลับลดลงเหลือ 21,537.36 ล้ านบาท ในปี 2548 ซึ่งเป็ นการสูญเสียรายได้ เข้ าสูป่ ระเทศเป็ น จํานวนมหาศาล การลดลงของรายได้ ยงั มีผลต่อเนื่องมายังปี 2549 ข้ อมูลรายได้ ของจังหวัดที่ติดทะเลในปี 2549 (ตารางที่ 3-23 และ 3-24) แสดงให้ เห็นว่ารายได้ จากการท่องเที่ยวลดลงอย่างมาก โดยเฉพาะในภาคใต้ ตารางที่ 3-23 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคกลาง และภาคตะวันออกปี 2549 จังหวัด ตราด จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ (หัวหิน) ระยอง สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร รวม

รายได้ รวม (ล้ านบาท) 4,804.64 1,691.65 1,265.18 55,305.05 6,604.68 8,533.09 678.27 314.55 280.54 79,477.65

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


120

ตารางที่ 3-24 รายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลในภาคใต้ ปี 2549 จังหวัด ชุมพร กระบี่ ตรัง นครศรี ธรรมราช ปั ตตานี พังงา พัทลุง สตูล สุราษฎร์ ธานี (รวมอําเภอเมือง เกาะส มุย เกาะเต่า และเกาะพะงัน) รวม

รายได้ รวม (ล้ านบาท) 1,271.77 16,055.41 2,534.90 3,236.83 196.38 3,340.17 452.38 1,517.09 18,651.42 47,256.35

จะเห็นได้ ว่าในปี 2549 ประเทศไทยมีรายได้ จากการท่องเที่ยวในจังหวัดที่ติดทะเลลดลงเป็ น 126,734 ล้ าน บาท แบ่งออกเป็ นรายได้ ที่มาจากภาคกลาง และภาคตะวันออกเท่ากับ 79,477.65 ล้ านบาท และภาคใต้ เท่ากับ 47,256.35 ล้ านบาท จากข้ อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ ว่า รายได้ จากการท่องเที่ยวในจังหวัดที่ติดทะเลในภาคกลาง และ ภาคตะวันออกในปี 2549 ไม่ได้ ลดลง จากปี 2546 และ 2547 แต่ในภาคใต้ รายได้ จากการท่องเที่ยวในจังหวัดที่ติด ทะเลโดยรวมลดลงอย่างมาก ในช่วงไตรมาสแรกผลกระทบจากสึนามิทําให้ สถานการณ์ การท่องเที่ยวของไทยชะลอตัวลงอย่างรุ นแรง (-10 เปอร์ เซ็นต์) เนื่องจากนักท่องเที่ยวทัว่ โลกตกอยู่ในภาวะตกตะลึงกับความเสียหายที่ไม่คาดคิดมาก่อน รวมถึง ต่างเฝ้ารอดูสถานการณ์ความปลอดภัยและผลกระทบที่จะเกิดขึ ้นตามมา (Wait and See) อย่างไรก็ตามในไตรมาสที่ สอง สถานการณ์ เริ่ มฟื น้ ตัวมาเป็ นลําดับ โดยมีการชะลอตัวน้ อยลง (-1 เปอร์ เซ็นต์) และปรั บตัวมาอยู่ในแนวบวก ในช่วงครึ่งปี หลัง โดยเติบโตขึ ้น 2 เปอร์ เซ็นต์ ในไตรมาสที่สามและ 4 เปอร์ เซ็นต์ ในไตรมาสสุดท้ าย เมื่อเปรี ยบเทียบ ้ ้นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ที่นิยมการท่องเที่ยวทางทะเลได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กับช่วงเวลาเดียวกันของปี ที่ผ่านมา ทังนี หันมาเที่ยวทะเลแถบอ่าวไทยในจังหวัดทางเลือกอื่น นอกเหนือจากแถบอันดามัน คือ จังหวัดตราด หัวหิน และสมุย ทดแทน โดยแหล่งท่องเที่ยวดังกล่าวมีอตั ราการเข้ าพักในปี นี ้สูงที่สดุ ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา ประกอบกับในช่วงปลายปี ได้ มีการจัดงานรํ าลึก ครบรอบหนึ่งปี สึนามิ ซึ่งสร้ างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศไทยไปทัว่ โลก และแสดงให้ เห็นสภาพ การฟื น้ ตัวกลับมาสูส่ ภาพปกติของแหล่งท่องเที่ยวที่ได้ รับผลกระทบ ถึงแม้ วา่ การเก็บข้ อมูลรายได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลโดยตรงจะไม่สามารถทําได้ แต่จากข้ อมูลดังกล่าวก็ สามารถทําให้ เห็นแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของรายได้ ที่ลดลงอย่างชัดเจนจากเหตุการณ์ ภยั พิบตั ิทางทะเลดังกล่าว ดังนันหากมี ้ การศึกษาเก็บข้ อมูลที่ได้ จากการท่องเที่ยวทางทะเลให้ มีรายละเอียดที่ชดั เจนมากกว่าที่ผ่านมาจะช่วยให้ การพัฒนาและกําหนดทิศทางในการท่องเที่ยวสามารถทําได้ ดียิ่งขึ ้น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


121

ถึงแม้ ว่าความเสียหายจากเหตุการณ์สนึ ามิจะบรรเทาเบาบางลง และค่อยๆ เลือนหายไปจากความทรงจํา ของคนไทย แต่เหตุการณ์ดงั กล่าวก็เป็ นตัวอย่างที่ดีที่ทําให้ ประชาชน และผู้ประกอบการมีความตื่นตัวและหันมาใส่ใจ ในด้ านความปลอดภัยจากการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ ้น ทําให้ แนวโน้ มด้ านการท่องเที่ยวในอนาคตน่าจะเติบโตขึ ้นเรื่ อยๆ เนื่องมาจากความร่วมมือร่วมใจกันของคนในประเทศ 3.3.3 ปั ญหาด้ านการท่ องเที่ยวทางทะเล การใช้ เทคโนโลยี การพัฒนาเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมโดยไม่ถูกต้ อง ประกอบกับการเพิ่มจํ านวน ประชากรอย่างรวดเร็ว มีผลทําลายดุลยภาพของสิ่งแวดล้ อม ก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติ ปั ญหาที่ ประสบอยู่ในปั จจุบนั คือ การเปลี่ยนแปลงไปอย่างยากที่จะหวนกลับคืนมาของสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติที่สมดุล และสวยงาม ระบบนิเวศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นป่ าบก ป่ าชายเลน ป่ าชายหาด แหล่งหญ้ าทะเล หรื อแนวปะการังกําลัง เสื่อมสลายไปเป็ นอันมาก พื ้นที่ป่าชายเลนถูกทําลายและแปรเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ระบบนิเวศถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและสัตว์ในทะเล สถานการณ์ด้านการประมงของประเทศอยู่ในภาวะเสื่อมลงทุก ขณะ ปริมาณสัตว์นํ ้าลดจํานวนลง สัตว์นํ ้าหลายชนิดที่หายาก เช่น พะยูนและเต่าทะเล กําลังอยู่ในภาวะใกล้ สญ ู พันธุ์ แนวทางการอนุรักษ์ ทรัพยากรชายฝั่ งและทะเล ในหลายทศวรรษที่ผา่ นมา ภาครัฐได้ นํามาตรการทางกฎหมายซึง่ มีผล บังคับโดยตรงในการคุ้มครองพื ้นที่ เช่น การประกาศเป็ นเขตอนุรักษ์ คือ อุทยานแห่งชาติ เขตห้ ามล่าสัตว์ป่า เขตสงวน พันธุ์พืชและพันธุ์สตั ว์ และการออกกฎหมายควบคุมการค้ าขาย ครอบครองทรัพยากรเหล่านัน้ แต่หากจะประเมินผล ความสําเร็จของการใช้ มาตรการทางกฎหมายแล้ ว คงจะบอกได้ ว่าประสบความสําเร็ จได้ เพียงส่วนหนึ่งที่เป็ นส่วนน้ อย เท่านัน้ แต่มาตรการที่สําคัญที่สดุ ในการที่จะกระทําการใดๆ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อมนัน้ คือ การร่ วมมือร่ วมใจของคนในชาติ ในอันที่ช่วยปกป้องหรื อพิทกั ษ์ ทรัพยากรเหล่านี ้ให้ คงอยู่และสร้ างประโยชน์แก่ ลูกหลานในอนาคต ทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลถูกใช้ ประโยชน์เพื่อกิจกรรมของมนุษย์มาช้ านานทังทางตรงและทางอ้ ้ อม ทําให้ ทรัพยากรเหล่านัน้ เกิดความเสียหายเสื่อมโทรม เนื่องมาจากการใช้ ประโยชน์จนเกินขีดความสามารถในการ ฟื น้ ฟู หรื อบําบัดตัวเองของระบบนิเวศนันๆ ้ ในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมา โลกเราสูญเสียป่ าชายเลนที่มีอยู่ไป 35 เปอร์ เซ็นต์ และแนวปะการัง 27 เปอร์ เซ็นต์236 ซึง่ หากมีการแบ่งกลุม่ ปั ญหาที่มาของความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ ้นของแหล่งท่องเที่ยว ทางทะเล สามารถแบ่งออกได้ ป็น 2 กลุม่ หลักๆ (ภาพที่ 27) ได้ แก่ 1) กลุม่ ปั ญหาเกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ของชุมชน 2) กลุม่ ปั ญหาที่เกี่ยวข้ องกับการท่องเที่ยว ้ าใจที่มาและสาเหตุของปั ญหาที่เกิดขึ ้นจึงเป็ น ปั ญหาที่เกิดขึ ้นดังกล่าวมีที่มาจากหลายสาเหตุ ดังนันการเข้ สิ่งสําคัญที่สามารถช่วยให้ เกิดการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลได้ อย่างมีประสิทธิภาพอย่าง ยัง่ ยืนต่อไป

236

สุทธิ พงษ์ พงษ์ วร. มปป. Bio-Aticles. แหล่งที่มา: http://www.ipst.ac.th/biology/Bio-Articles/monthly-mag.html, 11 กรกฎาคม 2549.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


122

รูปที่ 3-31 การแบ่งกลุม่ ปั ญหาที่มาของความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ ้นของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล237

237

ศักดิ์อนันต์ ปลาทองและคณะทํางานย่อยเพื่อรวบรวมและจัดทํารายงานด้ านการท่องเที่ยวทางทะเล ภายใต้ โครงการ สถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน 237

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


123

3.3.3.1 รายละเอียดของปั ญหาที่ก่อให้ เกิดความเสื่อมโทรมของแหล่ งท่ องเที่ยวทางทะเล 1) กลุ่มปั ญหาเกี ่ยวกับการใช้ประโยชน์ของชุมชน พื ้นที่ชายฝั่ งทะเลของประเทศโดยส่วนใหญ่จดั เป็ นพื ้นที่ที่มีศกั ยภาพ มีความหลากหลายของลักษณะภูมิ ประเทศ จึงมีทงั ้ ความสวยงาม และเป็ นแหล่งทรั พยากรที่อุดมสมบูรณ์ ดังนัน้ จึงปรากฏการตัง้ ถิ่นฐานชุมชนเป็ น จํ า นวนมากในเขตชายฝั่ ง ทะเลตัง้ แต่ใ นอดี ต และมี ก ารใช้ ป ระโยชน์ จ ากพื น้ ที่ ช ายฝั่ ง ทะเลที่ ห ลากหลาย (Multi Purposed)238 การใช้ ประโยชน์ของชุมชนส่งผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล ก่อให้ เกิดปั ญหาความเสื่อมโทรมของ แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลโดยมีสาเหตุที่มาของปั ญหาคือ (1) ความเสื่อมโทรม และการลดลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ช่มุ นํ ้า ทรั พ ยากรธรรมชาติ ไ ม่ว่ า จะเป็ นทรั พ ยากรป่ าไม้ แผ่น ดิ น แม่นํ า้ อากาศ หรื อ ทะเล ย่ อ มมี ค วาม เกี่ยวเนื่องกัน ไม่วา่ การทําลายระบบนิเวศใดก็จะส่งผลถึงระบบนิเวศอื่นๆ ได้ ทงสิ ั ้ ้น การทําลายทรัพยากรของมนุษย์จึง เป็ นตัวการสําคัญที่ทําให้ เกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทังหมด ้ โดยส่งผลกระทบถึงกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หาก ขาดความเข้ าใจในเรื่ องดังกล่าว กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์จะเป็ นตัวการสําคัญที่ทําลายธรรมชาติอย่างถาวร ตัวอย่างการทําลายทรัพยากรธรรมชาติที่เห็นได้ ชดั เจน และส่งผลกระทบเกี่ยวเนื่องให้ เกิดความเสื่อม โทรมของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ได้ แก่ (1.1) การแผ้ วถางป่ า สําหรับการประกอบอาชีพ และที่อยู่อาศัย กิจกรรมของมนุษย์ในพื ้นที่ต้นนํ ้าลํา ธาร (Upstream) ซึง่ เป็ นพื ้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง การทําเกษตรกรรมอย่างเข้ มข้ นบนที่สงู และที่ลาด ชัน การตัดไม้ ทําลายป่ า การเกิดไฟป่ า การทําไร่เลื่อนลอย ฯลฯ ส่งผลให้ เกิดการพังทลายของหน้ าดินจากที่สงู ทําให้ เกิดปั ญหาตะกอนทราย และการพังทลายของดิน ไหลลงสูแ่ หล่งนํ ้าลําธาร ผลการสํารวจพบว่ามีการสูญเสียหน้ าดิน ถึง 8,000 ล้ านตันต่อปี ทําให้ มีปริ มาณตะกอนในแม่นํา้ สายสําคัญเพิ่มมากขึน้ 239 ปริ มาณตะกอนที่มากเกินไปจะ ส่งผลกระทบที่ชดั เจนต่อระบบนิเวศชายฝั่ ง ซึง่ เป็ นแหล่งที่ตะกอนมาบรรจบกับนํ ้าทะเล ตะกอนจํานวนมากจะทับถม ลงบริ เวณดังกล่าว สิ่งมีชีวิตทังพื ้ ช และสัตว์ที่อาศัยอยู่บริ เวณดังกล่าวย่อมได้ รับผลกระทบที่รุนแรง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งระบบนิเวศที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น ระบบนิเวศของแนวปะการัง ปริ มาณตะกอนทําให้ ส าหร่ า ยซู แ ซนเทลลี่ ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ อัตราการสะสมหินปูนจึงลดลง นอกจากนี ้ปะการังที่ถกู ทับถมอยู่ภายใต้ ตะกอนต้ องใช้ พลังงานส่วนหนึ่งในการเพิ่มการสร้ างเมื อกออกมาจับ ยึดตะกอนที่ ชัน้ ผิวและกํ า จัดตะกอนออกไป จึง ทํ า ให้ ก าร เจริ ญเติบโตลดลงหรื อไม่สามารถเจริ ญเติบโตได้ ในกรณีที่ตะกอนตกทับถมมากจนเกินความสามารถของปะการังใน การกําจัดออก จะทําให้ ปะการังไม่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ นอกจากนี ้พื ้นท้ องทะเลที่ปกคลุมด้ วยตะกอนขนาดเล็กยัง เป็ นอุปสรรคในการลงเกาะและเจริ ญเติบโตของตัวอ่อนปะการัง ซึง่ จะมีผลต่อเนื่องไปถึงการฟื น้ ตัวของแนวปะการังอีก ด้ วย240 นอกจากนัน้ การตัดไม้ ทําลายป่ ายังทําให้ เกิดภาวะโลกร้ อน ซึ่งจะมีผลต่อการประมงและสัตว์นํ ้า เนื่องจาก

ปริ ทศั น์ เจริญสิทธิ์. ม.ป.ป. ปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งทะเลและแนวทางการฟื ้ นฟูแนวชายฝั่ ง. สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. 239 บริ ษัทสื่อเกษตรจํากัด. มปป. สภาพปั ญหาและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม. ลุ่มนํา้ ปิ ง. แหล่งที่มา : http://www.agmassmedia.com/ping_river/data_page_03.htm, 11 กรกฎาคม 2549. 240 นลินี ทองแถม, ไพทูล แพนชัยภูมิ และสมหญิง พ่วงประสาน. 2546. การฟื ้ นฟูแนวปะการั งในทะเลอันดามันของประเทศ ไทย. เอกสารเผยแพร่ ลําดับที่ 1. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. 238

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


124

สภาพความเป็ นกรดของนํา้ ในมหาสมุทรที่สงู ขึ ้น การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของนํ ้าในมหาสมุทรส่งผลต่อปะการังซึ่ง เป็ นแหล่ ง อาหาร รวมทัง้ ส่ ง ผลต่ อ การสร้ างเปลื อ ก และโครงสร้ างของสัต ว์ ท ะเล 241 นอกจากนัน้ ยัง อาจเกิ ด ปรากฏการณ์ ปะการังฟอกขาวขึ ้นทังในอ่ ้ าวไทยและทะเลอันดามัน242 กล่าวว่านักวิทยาศาสตร์ ที่ศึกษาแนวปะการัง ของประเทศออสเตรเลียแสดงให้ เห็นว่าในแนวปะการังจะมีก๊าซในกลุม่ ไดเมทิลซัลไฟล์ (Dimethyl sulphide - DMS) อยู่เต็มไปหมด เมื่อ DMS ถูกปล่อยขึ ้นสูช่ นบรรยากาศ ั้ เจ้ าสารตัวนี ้จะช่วยในการทําให้ เกิดเมฆ ซึง่ เมฆที่เกิดขึ ้นมานี ้ จะมีผลอย่างมากต่ออุณหภูมิของนํ ้าในแนวปะการัง ในอากาศ DMS จะถูกเปลี่ยนให้ อยู่ในรู ปของละอองอากาศ (Aerosol) ซึ่งจะไปช่วยในการรวมตัวกับไอนํ ้าทําให้ เกิดเมฆได้ ง่ายขึ ้น นอกจากนี ้สารประกอบซัลเฟอร์ ชนิดนี ้ยังถูก สร้ างขึ ้นเป็ นจํานวนมากจากสาหร่ ายในทะเล สารชนิดนี ้เองที่ทําให้ นํ ้าทะเลมีกลิ่นแบบเฉพาะตัวแบบที่เราได้ กลิ่นกัน อยู่ และแต่ก่อนนี ้เรารู้กนั มาแล้ วว่าสาหร่ ายทะเลมีสว่ นสําคัญอย่างมากในการควบคุมบรรยากาศของโลก แต่ไม่มีใคร เคยคิดมาก่อนเลยว่าแนวปะการังจะทําหน้ าที่แบบเดียวกันนี ้ด้ วย จากที่กล่าวมาทังหมดจะเห็ ้ นได้ ว่าระบบนิเวศทุก ระบบมีความสัมพันธ์กนั อย่างมาก ดังนันการตั ้ ดไม้ ทําลายป่ าก็สง่ ผลถึงสิ่งแวดล้ อมที่อยู่ในทะเลได้ อย่างคาดไม่ถึง ซึง่ การแผ้ วถางป่ า สําหรับการประกอบอาชีพและที่อยูอ่ าศัยนี ้มีสาเหตุและที่มาของปั ญหาเกิดจากสาเหตุดงั นี ้ - ประชาชนไม่ใส่ใจในกติกาของการอนุรักษ์ ทรัพยากรในพื ้นที่และขาดการดูแลร่ วมกันโดยภาครัฐ เอกชน และชุมชน ทําให้ การบุกรุ กเพื่อเข้ าไปตัดไม้ ทําลายป่ า และบุกรุ กพื ้นที่ชุ่มนํ ้าเป็ นไปอย่างรุ นแรง เนื่องจาก ทรัพยากรธรรมชาติโดยส่วนใหญ่เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ เวลานาน ดังนันประชาชนจึ ้ งไม่สามารถสังเกตผลกระทบ ที่เกิดขึ ้นจากการทําลายทรัพยากรเหล่านันได้ ้ อย่างชัดเจน จึงทําให้ ไม่มีความตระหนักที่จะช่วยกันดูแล และอนุรักษ์ ้ รักษ์ โดยการห้ าม หรื อจํากัดการ ทรัพยากรนัน้ โดยธรรมชาติมนุษย์สว่ นใหญ่ต้องการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ ดังนันการอนุ ใช้ ทรัพยากรนันๆ ้ จึงทําให้ ชุมชน หรื อประชากรในพื ้นที่ดงั กล่าวเกิดความไม่พอใจ และไม่อยากใส่ใจในการอนุรักษ์ นอกจากนันรั ้ ฐบาลเองก็ละเลยในการให้ ความรู้ที่ถกู ต้ องแก่ชมุ ชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าไม้ และพื ้นที่ช่มุ นํ ้า เอกชนผู้ประกอบการในพื ้นที่เองก็ไม่มีความเอาใจใส่และให้ ความสําคัญต่อการอนุรักษ์ เพราะมุ่งแต่พฒ ั นาเพื่อให้ เกิด ผลประโยชน์แก่ธุรกิจอย่างเดียวจนเกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างฟุ่ มเฟื อย เช่นการบุกรุ กพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ช่มุ นํ ้าเพื่อ ทําการปลูกสร้ างโรงแรม รี สอร์ ท หรื อเพื่อการทําเกษตรกรรม เช่น การทํานากุ้งเป็ นต้ น ดังนันเมื ้ ่อแต่ละภาคส่วนไม่ สามารถสร้ างความรับผิดชอบร่วมกันเกี่ยวกับการอนุรักษ์ จึงทําให้ การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นเรื่ องที่ถกู ละเลย จะหันมาให้ ความสําคัญก็ต่อเมื่อทรัพยากรถูกทําลายหมดไปจนไม่สามารถแก้ ไขได้ ทนั ซึ่งการที่ประชาชนไม่ใส่ใจใน กติกาของการอนุรักษ์ ทรัพยากรในพื ้นที่เนื่องมาจากสาเหตุดงั นี ้ - ประชาชนขาดความสนใจ และขาดการมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และมีทศั นคติ เชิงลบต่อการประกาศเขตอนุรักษ์ ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์ เป็ นเรื่ องที่ต้องปลูกฝั งให้ เกิดขึ ้นภายในชุมชน เนื่องจาก ชุมชนเป็ นผู้ที่ได้ รับผลกระทบโดยตรงจากการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ การขาดความรู้ ความเข้ าใจในการ อนุรักษ์ ทําให้ ชุมชนเกิดทัศนคติที่ไม่ถกู ต้ องจึงมองการอนุรักษ์ ทรัพยากรเป็ นเรื่ องที่ไม่มีความจําเป็ น มีความยุ่งยาก และทําให้ เกิดความเข้ มงวดต่อการใช้ ทรัพยากร ประชาชนจึงเข้ าใจว่าการมีเขตอนุรักษ์ ทําให้ เกิดการจํากัดเขตพื ้นที่ที่ สามารถใช้ ประโยชน์ได้ ของชุมชน แต่หากชุมชนเกิดความเข้ าใจว่าเขตอนุรักษ์ นี่แหละที่เป็ นหัวใจสําคัญให้ เกิดแหล่ง 241

ชมพูนชุ ช่วงโชติ. 2550. ใน รายงานการฝึ กอบรม Climate Change: Mitigation and Adaptation Norrkoping, Sweden Part I: March 5 – March 30, 2007. 242 ยุวศรี ต่ายคํา. ม.ป.ป. Bio-articles. ภาวะโลกร้ อน (Global Warming). แหล่งที่มา: http://www.ipst.ac.th/biology/BioArticles/monthly-mag.html, 11 กรกฎาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


125

ทรัพยากรให้ ชุมชนได้ ใช้ อย่างยัง่ ยืน ประชาชนก็จะหันมาช่วยกันอนุรักษ์ ทรัพยากรดังกล่าวมากยิ่งขึน้ นอกจากนัน้ ประชาชนในพื ้นที่ที่เป็ นแหล่งให้ เกิดผลกระทบ เช่นชุมชนที่อยู่ต้นนํ ้า อาจไม่สามารถรับรู้ได้ ถึงความเสียหายที่เกิดจาก ้ มชนแต่ละ การตัดไม้ ทําลายป่ า เพราะผลกระทบอาจเกิดขึ ้นในบริ เวณที่ห่างไกลออกไปในพื ้นที่ปลายนํ ้า ดังนันหากชุ ชุ ม ชนสามารถร่ ว มมื อ กั น เพื่ อ แลกเปลี่ ย นข้ อมู ล ข่ า วสาร และความรู้ แก่ กั น และกั น จะทํ า ให้ การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทกุ ๆ ส่วนเกิดผลสําเร็จได้ ดียิ่งขึ ้น (1.2) เจ้ าหน้ าที่ดแู ลไม่ทวั่ ถึง การทํางานของเจ้ าหน้ าที่รัฐที่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ า ไม้ พื ้นที่ชุ่มนํา้ หรื อทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ไม่สามารถทําให้ ประชาชน หรื อชุมชนนัน้ ๆ ตระหนักถึงการดูแล และ ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูภ่ ายในชุมชน เนื่องจากเจ้ าหน้ าที่รัฐมีจํานวนน้ อย และไม่สามารถทําความเข้ าใจกับ ชุมชนให้ ตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษ์ ป่าไม้ หรื อพื ้นที่ช่มุ นํ ้าได้ จึงมีผลทําให้ เกิดผลกระทบต่างๆ ดังนี ้ - ประชาชนขาดความสนใจและขาดการมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และมีทศั นคติ เนื่ อ งจากขาดความรู้ ความเข้ า ใจต่ อ ผลดี ที่ เ กิ ด ขึ น้ จากการอนุรั ก ษ์ เชิ ง ลบต่ อ การประกาศเขตอนุรั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนของตนเอง โดยเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐจะต้ องสามารถเผยแพร่ ความรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ทรั พยากรป่ าไม้ พื น้ ที่ ชุ่มนํ า้ และประโยชน์ ที่เกิดขึน้ ให้ แก่ชุมชนในพื น้ ที่ โดยทํ าให้ ชุมชนตระหนักว่าการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนเองมีความสําคัญยิ่ง นอกจากนันเจ้ ้ าหน้ าที่รัฐเองต้ องคอยประสานงานช่วยเหลือ ให้ ความรู้ในด้ านการอนุรักษ์ ระหว่างชุมชนต่อชุมชน เพื่อให้ เกิดความต่อเนื่องในการอนุรักษ์ ให้ ชมุ ชนได้ พึ่งพากันเอง เมื่อชุมชนแต่ละชุมชนมีความรู้ ความเข้ าใจต่อความสําคัญของการอนุรักษ์ ชุมชนเองก็จะเป็ นองค์กรหลักที่จะดูแล รักษาทรัพยากรในพื ้นที่ของชุมชนนันๆ ้ อย่างเข้ มแข็งต่อไป - ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ มีงบประมาณไม่เพียงพอ การทํางานของเจ้ าหน้ าที่เกี่ยวกับ การทํ า งานอนุรั ก ษ์ เ ป็ นไปด้ ว ยความยากลํ า บาก แต่ ก ลับ ได้ ค่ า ตอบแทนเพี ย งน้ อ ยนิ ด ดัง นัน้ บุค คลที่ มี ค วามรู้ ความสามารถจึงไม่ค่อยสนใจทํางานด้ านการอนุรักษ์ จึงเป็ นผลต่อเนื่องให้ การทํางานที่ผ่านมายังมีประสิทธิภาพไม่ เพียงพอ - ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถอย่างเพียงพอต่อการบริ หารจัดการในพื ้นที่ นอกจาก เจ้ าหน้ าที่ของรัฐแล้ ว ชุมชนเองก็จําเป็ นต้ องมีบคุ ลากรที่มีความรู้ความสามารถในการที่จะนําชุมชนให้ มีความเข้ มแข็ง ในการอนุรักษ์ หากชุมชนมีผ้ นู ําหรื อสมาชิกที่มีความรู้ ความเข้ าใจในการอนุรักษ์ ก็จะสามารถทําให้ ชุมชนนัน้ เป็ น ชุมชนที่สามารถอนุรักษ์ ไว้ ซงึ่ ทรัพยากรป่ าไม้ และพื ้นที่ช่มุ นํ ้าอย่างได้ ผลยิ่งขึ ้น - กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการบริ หารจัดการพื ้นที่ทางทะเลและชายฝั่ ง ั ้ แต่การ กฎระเบียบเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ของชุมชนแต่ละชุมชนก็จะแตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของพื ้นที่นนๆ บังคับใช้ กฎระเบียบดังกล่าวส่วนใหญ่ยงั ไม่มีข้อบังคับที่แน่นอน โดยส่วนใหญ่จะเป็ นการลงโทษโดยชุมชน แต่ถ้าวัน ้ ฐต้ องเข้ าไปช่วยเหลือ ใดการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนอ่อนแอลง การกระทําผิดก็จะกลับมาอีกครัง้ ดังนันรั ชุมชนในการควบคุมดูแลการกระทําซึง่ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนนันๆ ้ โดยจัดให้ มีการ วางมาตรการการดูแล และการลงโทษที่ชดั เจน ตัวอย่างเช่นการเข้ าไปบุกรุ กป่ าชายเลนเพื่อการเลี ้ยงกุ้งกุลาดําของ ้ จึงจําเป็ นที่รัฐต้ องเข้ าไปจับกุม และดําเนินการ นายทุนต่างๆ ชุมชนเองไม่สามารถเข้ าไปจัดการกับนายทุนเหล่านันได้ กับผู้กระทําผิดอย่างเข้ มงวด เพื่อให้ ชมุ ชนเล็งเห็นว่ารัฐมีความเอาใจใส่ในการแก้ ไขปั ญหานี ้อย่างจริ งจัง ทําให้ ชมุ ชน เองมีกําลังใจ และมีความรู้สกึ หวงแหนต่อทรัพยากรในชุมชนยิ่งขึ ้น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


126

ในภาพรวมแล้ วกล่าวได้ วา่ กิจกรรมทังหลายที ้ ่มนุษย์กระทํา แม้ แต่บนบกย่อมส่งผลกระทบต่อทะเลได้ ในที่สดุ ซึง่ จากกิจกรรมที่มากมายและเข้ มข้ นขึ ้นตามการพัฒนานันส่ ้ อถึงแนวโน้ มความวิกฤตของทะเล 243 (2) การทําประมง ผลผลิตทางการประมงทะเลของไทยเป็ นทังอาหารแก่ ้ ผ้ คู นภายในประเทศ และยังเป็ นสินค้ าที่ทํารายได้ เข้ าประเทศจํานวนไม่น้อย ดังเช่นในปี 2538 ผลผลิตจากการประมงนํ ้าเค็มมีทงสิ ั ้ ้น 3,184,900 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 86,018.5 ล้ านบาท และมูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงของไทยนันสู ้ งติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกมาเป็ นเวลาหลายปี ในปั จจุบนั ส่วนใหญ่แล้ วผลผลิตการประมงนํ ้าเค็มจะมาจากการจับตามธรรมชาติจากทะเล ยกเว้ นกุ้งนํ ้าเค็ม ซึ่งกว่า 70 เปอร์ เซ็นต์มาจากการเพาะเลี ้ยง การขยายตัวอย่างขนานใหญ่และรวดเร็วของธุรกิจ การประมงและการเพาะเลี ้ยง ชายฝั่ ง แม้ จะสร้ างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างมาก ทว่าก็ส่งผลให้ ทรัพยากรทางทะเลร่ อยหรอลงอย่างรวดเร็ ว และสร้ างผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมอย่างรุ นแรงเช่นกัน และในสภาพที่ทรัพยากรมีเหลือจํากัดนี่เอง ความขัดแย้ ง ระหว่างกลุ่มชาวประมงประเภทต่างๆ ก็เข้ มข้ นขึน้ 244 การทําประมงซึ่งก่อให้ เกิดปั ญหาความเสื่อมโทรมของแหล่ง ท่องเที่ยวทางทะเลสามารถจําแนกออกเป็ น (2.1) การลักลอบทําการประมงพาณิชย์ เช่น ลอบ เรื อปั่ นไฟ ระเบิดปลา อวนลาก อวนรุ น ส่วนใหญ่ การทําประมงพาณิ ชย์เป็ นการประกอบการของนายทุน ซึ่งมุ่งหวังต้ องการแต่เพียงผลกําไร โดยไม่สนใจต่อความ เสียหายที่เกิดขึน้ ในระยะยาว ถึงแม้ ว่าการลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าวจะส่งผลดีต่อด้ านเศรษฐกิจของประเทศ รวมทังการจ้ ้ างงานทําให้ เกิดรายได้ แก่ชมุ ชน แต่ผลกระทบที่เกิดขึ ้นกับทรัพยากรที่ถกู ทําลายไม่สามารถประเมินเป็ น มูลค่าได้ และเป็ นผลกระทบที่ เกิดขึน้ ระยะยาว การพัฒนาอย่างรวดเร็ วทัง้ ในด้ านจํานวน และประสิทธิ ภาพของ เครื่ องมือจับสัตว์นํ ้า ส่งผลให้ เกิดการทําประมงเกินศักยภาพการผลิตของทะเลมาตังแต่ ้ ปี 2516 ปริ มาณสัตว์นํ ้าที่เคย จับได้ ในปี 2504 คือ 298 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง ครัน้ ปี 2540 คงเหลือเพียงประมาณ 39 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง245 นอกจากนัน้ ปริ มาณสัตว์หน้ าดินที่จบั ได้ ในอ่าวไทย 1,317,371 เมตริ กตัน เมื่อปี 2536 ส่วนใหญ่เป็ นปลาเป็ ดซึ่งมีคณ ุ ค่าทาง เศรษฐกิจตํ่า คิดเป็ น 40 เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณสัตว์นํ ้าที่จบั ได้ 246 จากข้ อมูลดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าการทําประมงของ ไทยมีมากเกินกําลังผลิตของธรรมชาติ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อปริ มาณสัตว์นํา้ และทรัพยากรทางทะเลอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทําประมงที่ผิดกฎหมาย หากมองถึงสาเหตุและที่มาของปั ญหาการลักลอบทําการประมง พาณิชย์โดยวิธีที่ผิดกฎหมายพบว่าเกิดจาก - ประชาชนไม่ใส่ใจในกติกาของการอนุรักษ์ ทรัพยากรในพื ้นที่และขาดการดูแลร่ วมกันโดยภาครัฐ เอกชน และชุมชน ค่าครองชีพที่สงู ขึ ้นในปั จจุบนั รวมทังค่ ้ านํ ้ามันเชื ้อเพลิงที่สงู ขึ ้น ส่งผลให้ ผ้ ปู ระกอบการเรื อประมง และชาวประมงพื ้นบ้ านจําเป็ นต้ องเพิ่มอัตราการจับสัตว์นํ ้าให้ มากขึ ้น ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อจํานวนทรัพยากรสัตว์นํ ้า ้ วยงานของ โดยตรง และส่งผลถึงแหล่งพันธุ์ของสัตว์นํ ้าในระยะยาว เช่นมีการจับสัตว์นํ ้าในฤดูวางไข่ นอกจากนันหน่ ภาครัฐจะต้ องเอาใจใส่และเข้ าใจถึงสภาวะการประกอบการของชาวประมง เช่นต้ องมีการเข้ าไปช่วยเหลือในด้ าน 243

สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2542. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2540-2541. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้ า พี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ. 244 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 243. 245 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 243. 246 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม. ม.ป.ป. ทรัพยากรพลังงาน. รายงานสถานการณ์ คุณภาพ สิ่งแวดล้ อมปี 2540. แหล่งที่มา: http://www.onep.go.th/soe/t_soe40_4.asp, 14 สิงหาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


127

ราคานํ ้ามันเชื ้อเพลิง รัฐต้ องมีการศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดจากการทําประมงที่เกินกําลังผลิตของธรรมชาติ และต้ อง ให้ ความรู้ แก่ชาวประมงและผู้ประกอบการประมงถึงผลกระทบที่เกิดขึ ้น เพื่อให้ ทกุ ฝ่ ายมีความสํานึกร่ วมกันต่อการ อนุรักษ์ ทรัพยากร ซึง่ ปั ญหาที่ประชาชนไม่ใส่ใจในกติกาของการอนุรักษ์ ทรัพยากรสืบเนื่องมาจาก - ประชาชนขาดความสนใจ และขาดการมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และมีทศั นคติ เชิงลบต่อการประกาศเขตอนุรักษ์ เนื่องจากสัตว์นํ ้าในทะเลเป็ นทรัพยากรที่ไม่มีเจ้ าของ ประชาชนทุกคนมีสิทธิในการ บริ โภค เนื่องจากทรัพยากรประมงนัน้ อยู่ภายใต้ ระบบที่เรี ยกว่า การจัดการแบบเข้ าถึงโดยเสรี (Open Access) โดยเฉพาะในเขตที่หา่ งจากฝั่ งไป 3 กิโลเมตร247 ทําให้ ประชาชนส่วนใหญ่คํานึงถึงรายได้ ของตัวเองมากกว่าผลกระทบ ที่เกิดขึ ้นต่อส่วนรวม และมองปั ญหาปั จจุบนั มากกว่าปั ญหาที่จะเกิดในอนาคต ก่อให้ เกิดการใช้ ทรัพยากรจนเกิน ความสามารถของการผลิตทางธรรมชาติ ทําให้ ทรัพยากรประมงเสื่อมโทรมไปเป็ นอันมาก - เจ้ าหน้ าที่ดแู ลไม่ทวั่ ถึง การปล่อยปละละเลยการจับกุมและการเข้ มงวดกวดขัน ในการดูแลการ กระทําอันผิดกฎหมายของผู้ประกอบการประมงพาณิชย์ ของเจ้ าหน้ าที่ด้วยเหตุผลใดก็ตาม ส่งผลให้ การกระทําผิด ดังกล่าวมีเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ทรัพยากรประมงที่ถกู ทําลายก็ไม่มีโอกาสที่จะฟื น้ ฟูตวั เอง ปั ญหาดังกล่าวนี ้เกิดจาก สาเหตุตา่ งๆ ดังนี ้ - ประชาชนขาดความสนใจ และขาดการมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และมีทศั นคติ เชิงลบต่อการประกาศเขตอนุรักษ์ ประชาชนส่วนใหญ่ คํานึงถึงรายได้ ของตัวเองมากกว่าผลกระทบที่เกิดขึน้ ต่อ ส่วนรวม รัฐต้ องเข้ าไปส่งเสริ ม และช่วยเหลือทังด้ ้ านความรู้ และด้ านอาชีพเพื่อรองรับต่อสภาพเศรษฐกิจในปั จจุบนั ทําให้ ผ้ ปู ระกอบการสามารถนําความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาธุรกิจของตัวเองเช่นการเพิ่มมูลค่าของสินค้ าโดยการแปรรู ป การ จัดตังระบบสหกรณ์ ้ เพื่อจําหน่ายสินค้ าโดยไม่ต้องผ่านพ่อค้ าคนกลาง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี ้จะส่งผลให้ ผ้ ปู ระกอบการ ประมงพาณิชย์ ลดกําลังการจับสัตว์นํ ้า หรื อละเว้ นการทําประมงที่ผิดกฎหมายได้ ในระดับหนึง่ - ขาดประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการ มีงบประมาณไม่เพียงพอ เนื่องจากงบประมาณที่นํามาใช้ ในการดูแลรักษาทรัพยากรเป็ นตัวเลขค่าใช้ จ่ายที่สงู แต่สง่ ให้ เห็นผลที่เกิดขึ ้นช้ า ทําให้ รัฐไม่ค่อยส่งเสริ มงบประมาณ ดังกล่าวเท่าที่ควร โดยเฉพาะการออกปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ทางทะเลเพื่อจับกุมผู้ที่กระทําความผิด ต้ องใช้ เรื อ ้ อตรวจ ตรวจการที่มีสมรรถนะที่ดี มีความรวดเร็ ว แต่เรื อประเภทดังกล่าวมีค่าใช้ จ่ายและค่าดูแลรักษาที่สงู ดังนันเรื การส่ ว นใหญ่ จึ ง ไม่ ค่ อ ยมี ก ารนํ า ออกมาใช้ อย่ า งจริ ง จัง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ช่ อ งว่ า งในการกระทํ า ผิ ด กฎหมายของ ผู้ประกอบการประมง และชาวประมงท้ องถิ่นโดยปราศจากความเกรงกลัวต่อเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ นอกจากนันยั ้ งมีความ ขัดแย้ งด้ านการใช้ พื ้นที่ระหว่างหน่วยงานราชการด้ วยกัน เนื่องด้ วยวัตถุประสงค์ในการบริ หารต่างกัน เช่น ระหว่าง เป้ าหมายการอนุรั กษ์ และการเพิ่ ม ผลผลิต หรื อ ระหว่า งกิ จ กรรมส่ง เสริ ม การอนุรั กษ์ และกิ จ กรรมส่ง เสริ ม การ ท่องเที่ยวเป็ นต้ น ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมชายฝั่ งอันเกิดจากกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การตัดไม้ ทําลายป่ า นํ ้าเสีย จากชุมชนและอุตสาหกรรม คราบนํ ้ามันจากองเรื อพาณิชย์ และการทํานากุ้ง ทําให้ ต้องมีระบบจัดการแตกต่างจากที่ มีอยู่ ไม่สามารถบริหารแบบแยกส่วนกันทําได้ 248 - ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถอย่างเพียงพอต่อการบริ หารจัดการในพื ้นที่ในแต่ละ พื น้ ที่ ที่ เ ป็ นแหล่ ง ทรั พ ยากรยัง ขาดบุค ลากรที่ มี ค วามรู้ ความสามารถในพื น้ ที่ นัน้ ๆ ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว บุ ค ลากรที่ มี

247 248

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 246. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 246.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


128

ความสามารถของภาครัฐ หรื อภาคเอกชนจะทํางานอยู่ในส่วนกลางมากกว่า ดังนันความเข้ ้ าใจในสภาพแท้ จริ งของ ปั ญหาย่อมไม่ชัดเจน ดังนัน้ หากในพืน้ ที่ที่เป็ นแหล่งทรั พยากรมีบุคลากรที่ มีความรู้ ความสามารถในการจัดการ ทรั พยากรในพื น้ ที่ จะส่งผลให้ การดูแลรั กษา และการจัดการทรั พยากรให้ มีประสิท ธิ ภ าพอย่างยั่ง ยื นได้ ง่ ายกว่า นอกจากนัน้ ทรั พยากรสัตว์ นํา้ ในทะเลหลายชนิดมีการเคลื่อนที่ อพยพย้ ายถิ่ นเป็ นบริ เวณกว้ าง ทําให้ ไม่สามารถ ้ แต่หากมีความร่ วมมือกันของบุคลากรของพื ้นที่แต่ละพื ้นที่ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของประชากรสัตว์นํ ้าชนิดนันได้ ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงประชากรของสัตว์นํ ้าดังกล่าวก็จะทําให้ การวางมาตรการการใช้ ประโยชน์จากสัตว์นํ ้า นันๆ ้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น - กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการบริ หารจัดการพื ้นที่ทางทะเลและชายฝั่ ง นอกจากกฎระเบียบ และข้ อบังคับใช้ ทรัพยากรจะมีข้อบกพร่ องแล้ ว การละเลยการบังคับใช้ ก็เป็ นสาเหตุสําคัญที่ทํา ให้ กฎระเบียบดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ดังนันรั ้ ฐจะต้ องให้ มีการบังคับใช้ อย่างจริ งจังและเข้ มงวดต่อไป โดย ไม่มีการเลือกปฏิบตั ิ ถึงแม้ จะเป็ นที่ทราบกันว่าการเข้ าปฏิบตั ิหน้ าที่เพื่อควบคุมกฎระเบียบของการดูแลทรัพยากรทาง ทะเลนัน้ มีความยากลําบาก แต่ก็มีความจําเป็ นอย่างยิ่งเนื่องจากจะทําให้ ผ้ ทู ี่ลกั ลอบกระทําการอันผิดกฎหมายมี ความเกรงกลัวต่อการลงโทษที่เกิดขึ ้น (2.2) การประมงเพื่อยังชีพของชุมชนเกินกําลังผลิตของธรรมชาติ ถึงแม้ ว่าการประมงเพื่อยังชีพของ ชุมชนเอง จะส่งผลกระทบที่น้อยกว่าการประมงเชิงพาณิชย์ แต่การทําประมงเพื่อยังชีพของชุมชนเองก็ส่งผลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลได้ รุนแรงเช่นกัน โดยมีสาเหตุที่มาของปั ญหาดังนี ้ - ขาดเกณฑ์ที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพดังเดิ ้ มของชุมชน การทําการประมง หรื อการประกอบ อาชีพของชุมชนที่อาศัยอยูใ่ นบริเวณที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปจากเดิม จากที่เคยใช้ เครื่ องมือประมงพื ้นบ้ านก็เปลี่ยนมาใช้ เครื่ องประมงที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น ทําให้ ได้ ผลผลิตมากขึ ้น แต่ศกั ยภาพ การผลิตของธรรมชาติเท่าเดิม หรื ออาจลดน้ อยลงกว่าเดิม นอกจากนันในบางชุ ้ มชนยังได้ มีการเสริ มอาชีพโดยมีการ เพาะเลี ย้ งสัต ว์ นํ า้ มากยิ่ ง ขึ น้ ซึ่ง ผลกระทบที่ เ กิ ด จากการเพาะเลี ย้ งสัต ว์ นํ า้ ก่ อ ให้ เ กิ ด ภาวะมลพิ ษ กับ แหล่ง นํ า้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าแบบหนาแน่น เช่น การเลี ้ยงกุ้งทะเล และการเลี ้ยงปลาในกระชัง เป็ นต้ น นอกจากนันความต้ ้ องการของชุมชน หรื อผู้ที่ประกอบอาชีพทําการประมงก็มีการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน เช่นแต่เดิมมีการทําประมงเพื่อยังชีพ หรื อเพื่อนํามาประกอบอาหารสําหรับบริ โภคภายในครัวเรื อน แต่ในปั จจุบนั การ ทําประมงของชุมชนกลับเน้ นความสําคัญไปในด้ านเศรษฐกิจเป็ นหลัก ชนิดของสัตว์นํ ้าที่ทําการประมงก็เปลี่ยนไป สัตว์นํ ้าบางชนิดซึ่งแต่เดิมอาจไม่เป็ นที่ต้องการของตลาด แต่ปัจจุบนั ก็สามารถนํามาขายได้ เกือบทุกชนิด โดยเฉพาะ อย่างยิ่งตลาดปลาสวยงามทะเลที่นบั วันยิ่งเติบโตขึ ้นเรื่ อยๆ รู ปแบบการทําประมง และความต้ องการที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน ไม่มีความสัมพันธ์กนั กับการวาง ั ้ จึงทําให้ เกิดปั ญหาความเสื่อมโทรมลงของทรัพยากร ซึง่ สาเหตุของปั ญหาเกิดจาก แผนการใช้ ทรัพยากรในพื ้นที่นนๆ สาเหตุดงั นี ้ - กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการบริ หารจัดการพื ้นที่ทางทะเลและชายฝั่ ง เจ้ าหน้ าที่ของรัฐมองปั ญหาการทําประมงเพื่อยังชีพของชุมชนเกินกําลังผลิตของธรรมชาติเป็ นเรื่ องเล็กน้ อย เพราะคิด ว่าการกระทําการประมงเพื่อยังชีพของชุมชนไม่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากร แต่หากมีการพิจารณาถึงลักษณะของการ ทําประมงดังกล่าวว่าเป็ นการประมงที่ผิดกฎหมายหรื อไม่นัน้ เจ้ าหน้ าที่รัฐก็ต้องเข้ มงวดในการจับกุมด้ วยเช่นกัน เพราะรัฐต้ องไม่ลืมว่าชุมชนในพื ้นที่สามารถเข้ าถึงทรัพยากรได้ ง่ายกว่า ดังนันการทํ ้ าลายย่อมเกิดขึ ้นได้ ง่าย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


129

- ขาดประสิทธิ ภาพในการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน ทรัพยากร ทางทะเลหลายอย่างมีจํานวนมากมาย จนทําให้ มนุษย์เกิดความคิดว่า สามารถใช้ ได้ อย่างไม่มีวนั หมด ซึ่งความคิด ดัง กล่ า วเป็ นความคิ ด ที่ ผิ ด อย่ า งรุ น แรง เพราะทรั พ ยากรใดก็ ต ามที่ ม นุษ ย์ นํ า มาใช้ ย่ อ มสามารถหมดไป หรื อ เสื่อมสภาพได้ หากการใช้ ทรัพยากรอย่างไม่มีการวางแผน เพราะกําลังในการผลิตทรัพยากรของธรรมชาติเองมีจํากัด แต่หากการใช้ ทรัพยากรไม่เกินกําลังผลิต และฟื น้ ฟูของธรรมชาติแล้ ว มนุษย์ก็จะสามารถใช้ ทรัพยากรนัน้ ได้ อย่าง ยัง่ ยืน เช่นการจับสัตว์นํ ้าก็ต้องจับให้ สามารถเหลือจํานวนประชากรของสัตว์นํ ้าเพื่อเป็ นแหล่งพันธุ์ได้ ตอ่ ไป - ขาดองค์ความรู้ที่มีความจําเป็ นต่อการบริ หารจัดการพื ้นที่ ในท้ องที่แต่ละแห่งมีความจําเป็ นอย่าง ยิ่งที่จะต้ องมีผ้ ทู ี่มีความรู้ ความสามารถ และความเข้ าใจต่อการใช้ ทรัพยากรอย่างถูกต้ อง เพื่อจะได้ นําพาให้ ชุมชน สามารถใช้ และรักษาทรัพยากรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อความยัง่ ยืนต่อไป เช่นการมีแกนนํากลุ่มอนุรักษ์ สตั ว์นํ ้า ทะเลที่ใกล้ สญ ู พันธุ์ ดังตัวอย่างกรณี ของพะยูนพบว่า เมื่อมีการอนุรักษ์ พะยูน ก็ต้องมีการอนุรักษ์ หญ้ าทะเลซึ่งเป็ น อาหารของพะยูน เมื่อมีการอนุรักษ์ หญ้ าทะเลก็ทําให้ เกิดแหล่งสืบพันธุ์วางไข่ของสัตว์นํา้ อีกหลายชนิด ทัง้ ยังเป็ น แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์นํ ้าเป็ นระบบนิเวศที่คอยดักตะกอน เป็ นต้ น จะเห็นได้ ว่าองค์ความรู้ ที่จําเป็ นก่อให้ เกิด คุณประโยชน์ตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลอย่างต่อเนื่อง 2) กลุ่มปั ญหาทีเ่ กี ่ยวข้องกับการท่องเทีย่ ว ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2540 มีมติอนุมตั ิการจัดงานปี ท่องเที่ยวไทยในปี 25412542 (Amazing Thailand 1998-1999) เพื่อรณรงค์ให้ มีการเดินทางมาเยือนประเทศไทยอีกครัง้ หนึ่ง หลังจากที่เคย ประสบความสําเร็จมาแล้ วในการจัดงาน Visit Thailand Year ในปี 2530 โดยกําหนดเป้าหมายไว้ ว่าภายใน 2 ปี ของ การจัดงานปี ท่องเที่ยวไทย จะมีนกั ท่องเที่ยวระหว่างประเทศเดินทางเข้ ามาอย่างน้ อย 17 ล้ านคน หรื อเพิ่มขึ ้น 7-7.5 เปอร์ เซ็นต์สามารถนํารายได้ เข้ าสูป่ ระเทศไม่ตํ่ากว่า 600,000 ล้ านบาท249 จากผลการจัดงานดังกล่าวทําให้ ในปี 2543 อัตราการท่องเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลจํานวน 24 แห่งของประเทศ ซึ่งมีพื ้นที่ประมาณ 6,400 ตาราง กิโลเมตร ปรากฏว่ามีถึงปี ละประมาณ 12 ล้ านคน แบ่งเป็ นคนไทยประมาณ 9 ล้ านคน นักท่องเที่ยวต่างชาติ 3 ล้ าน คน ทําให้ มีการพิจารณาว่าจํานวนนักท่องเที่ยวต่อพื ้นที่ในปั จจุบนั เป็ นอัตราที่พอเหมาะหรื อไม่250 การท่องเที่ยวทางทะเลสร้ างรายได้ เข้ าประเทศอย่างมหาศาล ก่อให้ เกิดอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องอย่าง มากมาย ทังก่ ้ อให้ เกิดอาชีพแก่ประชาชนในพื ้นที่เป็ นจํานวนมาก แต่การใช้ ทรัพยากรโดยปราศจากการวางแผนการใช้ อย่างยัง่ ยืน ย่อมทําให้ ทรัพยากรมีการเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ในบางพื ้นที่ซงึ่ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่จึงมีความ จําเป็ นอย่างยิ่งที่หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนผู้ประกอบการ รวมทังชุ ้ มชนที่อยูใ่ นพื ้นที่จําต้ องมีการประชุมร่วมกันเพื่อ กําหนดแผน และรู ปแบบการใช้ ทรัพยากรอย่างชัดเจน เพื่อให้ สามารถใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรได้ อย่างเต็มที่ และ ยัง่ ยืน เมื่อมีการเข้ าไปใช้ ประโยชน์เพื่อการท่องเที่ยวของมนุษย์จากทรัพยากรทางทะเลย่อมก่อให้ เกิดผลกระทบที่ เกิดขึ ้นตามมาอย่างมากมาย ซึง่ สามารถแบ่งออกเป็ นหัวข้ อต่างๆ ได้ ดงั นี ้ (1) มลพิษทางนํ ้า ได้ แก่นํ ้าทิ ้ง และคราบนํ ้ามันจากเรื อ และนํ ้าทิ ้งจากกิจกรรมบนเกาะ 249

สุกรานต์ โรจนไพรวงค์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 243. สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2544. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2542-2543. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้ า พี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพ ฯ. 250

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


130

การท่องเที่ยวทางทะเลย่อมส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นํ ้าทะเล ซึง่ เป็ นทรัพยากรหลักที่สําคัญที่สดุ สําหรับสิง่ มีชีวิตที่อาศัยอยูใ่ นทะเล ต้ องได้ รับผลกระทบจากปั ญหาความเสื่อมโทรม ของคุณภาพนํ ้าที่รุนแรงขึ ้นในปั จจุบนั ซึ่งนอกเหนือจากกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์บนแผ่นดินซึ่งก่อให้ เกิดของเสีย ต่างๆ จะถูกชะล้ างและไหลลงมาตามแม่นํ ้าลําคลองลงสูท่ ้ องทะเลแล้ ว สาเหตุความเสื่อมโทรมของคุณภาพนํ ้าที่เกิด จากการท่องเที่ยวทางทะเลก็เป็ นสาเหตุที่สําคัญอย่างมากเช่นกัน ที่มาของปั ญหาดังกล่าวได้ แก่ (1.1) เรื อนักท่องเที่ยวขาดถังเก็บของเสียจากห้ องส้ วม เป็ นผลเสียที่เกิดขึ ้นอย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดย ส่วนใหญ่ผ้ ปู ระกอบการไม่เข้ าใจถึงผลกระทบที่เกิดขึ ้น นอกจากนี ้ ภาครัฐยังขาดกฎระเบียบในการควบคุมนํ ้าทิ ้งจาก ส้ วม แต่เดิมเรื อที่นํามาใช้ ในการท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็ นเรื อที่ดดั แปลงมาจากเรื อประมง ซึง่ มักจะไม่มีห้องนํ ้าห้ องส้ วม ที่ถกู สุขลักษณะ การขับถ่ายส่วนใหญ่จะปล่อยโดยตรงลงสู่ท้องทะเล แต่ในสภาพการณ์ ปัจจุบนั ทรัพยากรสัตว์นํ ้ามี ปริมาณลดลงเป็ นอย่างมาก ทําให้ ผ้ ปู ระกอบการบางรายหันมาทําธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว หรื อกรณีที่ในบางฤดูไม่ สามารถทําการประมงได้ จึงนําเรื อมาให้ บริ การแก่นกั ท่องเที่ยวเพื่อเป็ นรายได้ เสริ ม เมื่อนําเรื อดังกล่าวมาใช้ สําหรับ การท่องเที่ยวก็ไม่ได้ มีการดัดแปลงสภาพของเรื อให้ เหมาะสมกับการท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลโดยเฉพาะ แหล่งดํานํ ้าตื ้น เมื่อเรื อดังกล่าวเข้ าไปจอดแล้ วมีผ้ โู ดยสารบนเรื อใช้ ห้องนํ ้าห้ องส้ วม ของเสียดังกล่าวก็จะถูกปล่อยลงสู่ ภายนอกเรื อทันที โดยไม่มีระบบการเก็บ และการจัดการของเสียดังกล่าว ทําให้ แหล่งท่องเที่ยวนันเกิ ้ ดมีสิ่งปฏิกลู ทํา ให้ สญ ู เสียบรรยากาศในการท่องเที่ยวได้ (1.2) เรื อเก่าปล่อยนํ ้าปนคราบนํ ้ามันออกจากท้ องเรื อมาก เรื อเก่าๆ ที่มีสภาพในการใช้ งานมาอย่าง หนัก การดูแลรั กษาก็เป็ นเรื่ องสําคัญ แต่ผ้ ูประกอบการเรื อโดยสารท่องเที่ยวบางรายถื อโอกาสลดต้ นทุนในการ ซ่อมแซมเรื อ ทําให้ เรื อไม่มีความเหมาะสมเพียงพอที่จะนํามาประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว มีปัญหาการรั่วซึมของ นํ ้ามันภายในเรื อ นํ ้ามันดังกล่าวจะถูกสูบทิ ้งลงสู่ทะเลโดยปนมากับนํ ้าหล่อเลี ้ยงเครื่ องเรื อที่สบู ทิ ้งออกมาตลอดเวลา ทําให้ คราบนํ ้ามันภายในเรื อถูกปล่อยออกมาด้ วย ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในบริ เวณนัน้ เนื่องจากนํ ้ามันบนผิวนํ ้าไป ขัดขวางการถ่ายเทก๊ าซออกซิเจนระหว่างอากาศและนํ า้ ทะเล251 หากเรื อที่นํามาใช้ มีการดูแลรั กษามิให้ มีปัญหา ดังกล่าว จะช่วยลดปั ญหาการปนเปื อ้ นของคราบนํ ้ามันบริ เวณผิวนํ ้าได้ นํา้ ทิ ้งเหล่านีล้ ้ วนปนเปื ้อนนํา้ มันก่อให้ เกิด ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อมในทะเล ทําให้ สตั ว์นํ ้าขาดออกซิเจนและรากต้ นไม้ ในป่ าชายเลนไม่สามารถหายใจได้ จึงเป็ น ้ การทําลายระบบนิเวศป่ าชายเลน ส่วนคราบนํ ้ามันจะเคลือบขนของสัตว์และถูกดูดซึมเข้ าไปในร่ างกาย ยับยังการ สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต โดยเฉพาะไข่นกจะไม่สามารถฟั กออกเป็ นตัวได้ นอกจากนี ้คราบนํ ้ามันยังปิ ดกันแสงสว่ ้ างที่สอ่ งลงมาสูพ่ ื ้นท้ องนํ ้ามีผลต่อขบวนการสังเคราะห์แสงของ พืชนํ ้า นํ ้ามันที่ความเข้ มข้ นสูงอาจทําให้ สตั ว์นํ ้าตายได้ (ความเข้ มข้ น 1-3 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็ นเวลานานกว่า 96 ชัว่ โมง) นํ ้ามันที่มีความหนาแน่นสูงเมื่อจมลงสู่พื ้นท้ องทะเลมีผลต่อสัตว์หน้ าดิน ผลกระทบที่กล่าวมานี ้จะทําให้ สุนทรี ยภาพและความงามของแหล่งท่องเที่ยวหมดไป252 นอกจากคราบนํา้ มันจากท้ องเรื อแล้ ว สารเคมีที่ใช้ ในการ

251

นิภาวรรณ บุศราวิช. 2548. คุณภาพนํา้ ทะเลชายฝั่ ง ใน การประเมินมูลค่ าทรั พยากรทางทะเล ชายฝั่ งทะเล และป่ าชาย เลน. รายงานสรุปผลการประชุมกลุม่ ย่อยทางวิชาการ ครัง้ ที่ 11 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 ณ ห้ องประชุม ชัน้ 2 อาคารแสดงพันธุ์สตั ว์นํ ้า จังหวัดภูเก็ต. 252 กรมควบคุมมลพิษ. 2550. เกร็ดความรู้ มลพิษทางทะเล. แหล่งที่มา : http://www.pcd.go.th/Info_serv/water_marine.html#s2, 3 กันยายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


131

บํารุ งรักษาเรื อก็เป็ นส่วนที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ได้ เช่นการใช้ สีกนั เพรี ยง นํ ้ายาทําความสะอาดภายในเรื อ ฯลฯ253 สาเหตุหนึ่งที่สําคัญ คือ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการควบคุมการปล่อย ของเสียจากเรื อ เนื่องจากข้ อกํ าหนดของกฎหมายอาจไม่มีการประกาศที่ชัดเจน ทําให้ ผ้ ูประกอบการละเลยที่จะ ปรับปรุงแก้ ไขข้ อบกพร่องดังกล่าว (1.3) กระบวนการทางธรรมชาติไม่สามารถบําบัดได้ ทนั ปกติธรรมชาติจะมีการฟื น้ ฟู หรื อบําบัดตัวเอง เมื่อเกิดความเสียหายอยูแ่ ล้ ว แต่กระบวนการดังกล่าวต้ องใช้ เวลานาน และปริ มาณความเสียหายที่เกิดขึ ้นต้ องไม่มาก จนเกินไป แต่กิจกรรมการท่องเที่ยวส่งผลให้ เกิดของเสีย และขยะปริ มาณมากเกินขีดความสามารถของธรรมชาติ ตัวอย่างเช่นการระบายนํ ้าทิ ้งจากกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ ้นตามสถานที่ท่องเที่ยวทางทะเลนัน้ ปริ มาณนํ ้าเสียที่ ถูก รวบรวมมาปล่อ ย ณ จุด ปล่ อ ยนํ า้ เสี ย นัน้ มี ป ริ ม าณมากเกิ น ทํ า ให้ บ ริ เ วณดัง กล่ า วเกิ ด ผลกระทบจากกา ร เปลี่ ย นแปลงได้ 254 สาเหตุของปั ญหานีเ้ กิดจากการมีนักท่องเที่ยวมากเกินขี ดความสามารถในการรองรั บของ ธรรมชาติ เมื่อมีนกั ท่องเที่ยวมากการใช้ ทรัพยากรก็มากขึ ้น กิจกรรมทุกอย่างมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม ซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็ นผลกระทบด้ านลบ เช่นนํ ้าทิ ้ง ขยะ ฯลฯ ความเสื่อมโทรมก็มากขึ ้นตาม ดังนันการฟื ้ น้ ฟู หรื อบําบัดตัวเองของ ธรรมชาติจงึ ไม่เพียงพอ (2) ขยะในแนวปะการัง หาดทราย และผิวหน้ านํ ้าทะเล การท่องเที่ยวเป็ นสาเหตุให้ เกิดการนําพาขยะจํานวนมากมาสู่แหล่งท่องเที่ยวนัน้ จนส่งผลกระทบให้ เกิดปั ญหาด้ านสิง่ แวดล้ อมต่อพื ้นที่ดงั กล่าว ้ าบัดโดยธรรมชาติเอง และการ (2.1) มีปริ มาณขยะมากเกินความสามารถในการจัดการ ทังจากการบํ จัดการโดยมนุษย์ ซึ่งมนุษย์เองเป็ นผู้นําขยะมาสู่แหล่งท่องเที่ยว ดังนันมนุ ้ ษย์จึงต้ องเป็ นผู้รับผิดชอบต่อการจัดการ ขยะที่เกิดขึ ้น แต่ปัญหาที่ไม่สามารถจัดการกับปั ญหาดังกล่าวได้ มีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดระบบการจัดการขยะที่ มีประสิทธิภาพ ตามสถานที่ทอ่ งเที่ยวทางทะเล โดยเฉพาะตามเกาะต่างๆ เมื่อมีการเปิ ดรับนักท่องเที่ยว ก็จะทําให้ เกิด ปริ มาณขยะที่มากับนักท่องเที่ยวมากขึ ้น แต่การจัดการกับขยะที่เกิดขึ ้นมีต้นทุนสูง เช่นการขนขยะมาทําลายบนฝั่ ง หรื อการทําลายขยะบนเกาะโดยตรง ทําให้ การจัดการไม่สอดคล้ องกับปริ มาณขยะที่เกิดขึน้ จนทําให้ ปริ มาณขยะ จํานวนมากไม่สามารถกําจัดได้ ทนั จนก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม ตัวอย่างเช่นที่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ ซึ่ง พบว่ามีปริ มาณนํ ้าเสียถึงวันละประมาณ 1,300 ลูกบาศก์เมตร และมีขยะถึงวันละ 8-10 ตัน แต่ระบบบําบัดนํ ้าเสีย และเตาเผาขยะบนเกาะกลับอยู่ในสภาพที่ใช้ งานไม่ได้ เพราะต้ องใช้ ต้นทุนสูงถึงประมาณวันละ 20,000 บาท ในการ เดินเครื่ อง ทังนี ้ ้ที่ผา่ นมาองค์การบริ หารส่วนตําบล (อบต.) จึงว่าจ้ างเอกชนดําเนินการขนขยะจากเกาะพีพีเข้ ามากลบ ในที่ฝังกลบของเทศบาลเมืองกระบี่ ในอัตราค่าจ้ างเดือนละ 50,000 บาท โดยต้ องจ่ายค่าที่อีก 500,000 บาท แต่ก็ถกู กว่าการเผาขยะที่เกาะพีพีถงึ 12 เท่า255 (3) ตะกอนทับถม และลดปริ มาณแสงบนแนวปะการัง และหญ้ าทะเล 253

สุรพล สุดารา. 2544. กิจกรรมการท่ องเที่ยวที่มีผลกระทบต่ อทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ ง. ใน การสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ ณ ห้ องประชุมสารนิเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 25 กันยายน 2544. 254 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 253. 255 สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2546. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2544-2545. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้ า พี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


132

การท่องเที่ยวก่อให้ เกิดตะกอนได้ อย่างไร เป็ นคําถามที่ประชาชนบางคนยังเกิดความไม่เข้ าใจ แต่หาก พิจารณาความเกี่ยวเนื่องกันแล้ วจะพบว่า การท่องเที่ยวนํามาสู่การพัฒนาต่างๆ โดยเฉพาะสิ่งก่อสร้ างหลากหลาย รูปแบบตามแนวชายฝั่ ง จึงทําให้ เกิดผลกระทบตามมา ได้ แก่ (3.1) การกัดเซาะหน้ าดิน จากการเปิ ดหน้ าดินบนเกาะเพื่อการก่อสร้ างและพัฒนาต่างๆ การพัฒนา ด้ านการท่องเที่ยวทางทะเลที่เติบโตขึ ้นอย่างรวดเร็ วในปั จจุบนั ทําให้ ธุรกิจโรงแรม รี สอร์ ท และสถานที่พกั เจริ ญขึน้ มากเช่นกัน การบุกรุกพื ้นที่ของนายทุน เพื่อสร้ างสถานที่พกั ดังกล่าวจึงเกิดขึ ้นเป็ นจํานวนมากในทุกๆ แหล่งท่องเที่ยว ทางทะเล ในจํานวนนี ้มีอยู่เพียงส่วนน้ อยเท่านันที ้ ่คํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ ้นต่อระบบนิเวศ ความต้ องการสัมผัส ใกล้ ชิดธรรมชาติของบรรดานักท่องเที่ยวต่างๆ กลับนําหายนะอันใหญ่หลวงต่อพื ้นที่ทางทะเล การสร้ างโรงแรม หรื อรี สอร์ ท เพื่ อ ยื่ น ออกไป หรื อ ตัง้ อยู่ ณ บริ เ วณชายหาดเป็ นการกระทํ า ที่ ผิด กฎหมาย ตัว อย่า งเช่น ชายหาดหัว หิ น ผู้ประกอบการโรงแรมริ มชายทะเลหลายแห่งได้ ถมที่ริมทะเลออกไป เพื่อขยายพื ้นที่ของโรงแรม ดังเช่นกรณีของการ พบแท่งปูนสี่เหลี่ยมขนาดความกว้ าง 1 เมตร วางเรี ยงรายเป็ นแนวโผล่อยู่หน้ าหาดหัวหินเพื่อเป็ นการดักทรายให้ อยู่ บริ เวณหน้ าหาดของตนเอง ซึ่งการกระทําเช่นนี ม้ ี ผลเสียหายต่อการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่ ง256 นอกจากนัน้ การ ปรับปรุงภูมิทศั น์ของสิ่งปลูกสร้ างต่างๆ อาจทําให้ มีพื ้นที่โล่งมากขึ ้น ทําให้ เกิดการชะหน้ าดินมากขึ ้นในช่วงที่มีฝนตก หรื อนํ ้าท่วม257 จากข้ อมูลการกัดเซาะชายฝั่ งของประเทศไทย258 พบมีการกัดเซาะชายฝั่ งทะเลในทุกจังหวัดมากบ้ าง น้ อยบ้ างตามแต่เหตุและปั จจัยต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้ างต้ น โดยพบแนวชายฝั่ งทะเลที่ถกู กัดเซาะมากถึง 155 แห่ง มี ระยะทางรวมประมาณ 600 กิโลเมตร หรื อ 21.3 เปอร์ เซ็นต์ของความยาวชายฝั่ งทะเลทังประเทศ ้ โดยแบ่งเป็ นฝั่ งอ่าว ไทย 112 แห่ง ระยะทางประมาณ 490 กิโลเมตร และฝั่ งทะเลอันดามัน 43 แห่ง ระยะทางประมาณ 110 กิโลเมตร สาเหตุของปั ญหาการกัดเซาะหน้ าดิน จากการเปิ ดหน้ าดินบนเกาะเพื่อการก่อสร้ างและพัฒนาต่างๆ เกิดจาก - ขาดการบริ หารจัดการพื ้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ในบาง พื ้นที่มีความจําเป็ นอย่างยิ่งที่รัฐต้ องห้ ามไม่ให้ มีการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรในพื ้นที่นนั ้ เช่นพื ้นที่ต้นนํา้ พื ้นที่ป่า ชายเลน แหล่งหญ้ าทะเล และแนวปะการัง เป็ นต้ น เนื่องจากพื ้นที่ดงั กล่าวอาจเป็ นแหล่งกําเนิดของทรัพยากรบาง ชนิด ดังนัน้ พื ้นที่เหล่านี ้จําเป็ นต้ องได้ รับการวางแผน และควบคุมอย่างดี การทําลายพื ้นที่ดงั กล่าวจะส่งผลกระทบ อย่างต่อเนื่องถึงพื ้นที่อื่นๆ อย่างรุ นแรง แต่ในปั จจุบนั พบว่ากลับมีสิ่งปลูกสร้ างเกิดขึ ้นในบริ เวณดังกล่าวได้ ทังที ้ ่เป็ น ของเอกชน และของรัฐบาลเอง ดังนันรั ้ ฐบาลต้ องทบทวนการใช้ พื ้นที่ทรัพยากรธรรมชาติให้ มากยิ่งขึ ้น - นโยบายภาครัฐมุ่งเน้ นการสิ่งเสริ มการพัฒนาที่ไม่ยงั่ ยืน การพัฒนาที่เร็วเกินไปอาจนํามาซึง่ ความ สูญ เสี ยที่ รุน แรงของสิ่ง แวดล้ อ ม พื น้ ที่บ างพื น้ ที่ เป็ นแหล่งทรั พ ยากรที่ เปราะบาง การเข้ าไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นพื น้ ที่ ดังกล่าวนันต้ ้ องทําอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยต้ องมีการศึกษาอย่างละเอียด เพราะระบบนิเวศที่ถกู ทําลายแล้ ว จะทํา ให้ กลับมามีสภาพสมบูรณ์เหมือนเดิมเป็ นเรื่ องที่ยากมาก ต้ องใช้ เวลา และค่าใช้ จ่ายที่สงู มาก ดังนันการวางแผนการ ้ พัฒนาด้ านต่างๆ ที่อาจส่งให้ เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ ง และการท่องเที่ยวจะต้ องมีการศึกษาอย่างละเอียด และจริงจังก่อนที่จะเริ่มการพัฒนา 256

สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2544. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2542-2543. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้ า พี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพ ฯ. 257 สุรพล สุดารา, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 253. 258 ปริ ทศั น์ เจริญสิทธิ์. ม.ป.ป. ปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งทะเลและแนวทางการฟื ้ นฟูแนวชายฝั่ ง. สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


133

(3.2) การกัดเซาะชายฝั่ งจากการสร้ างท่าเรื อ ขุดลอกร่ องนํ ้า และการก่อสร้ างริ มทะเล เสถียรภาพ ชายฝั่ งทะเลปกติจะอยู่ภายใต้ กระบวนการที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในสภาวะสมดุลแบบพลวัตร (Dynamic Equilibrium) หากมีการรบกวนเกิดขึ ้น กระบวนการชายฝั่ งจะมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อหาสมดุลใหม่อย่าง รวดเร็วและรุนแรง โดยจะเป็ นได้ ในรูปของการกัดเซาะชายฝั่ ง ดังนันการก่ ้ อสร้ างโครงสร้ างชายฝั่ งใดๆ เท่ากับเป็ นการ รบกวนสมดุลดังกล่าว จําเป็ นต้ องมีการสํารวจและศึกษาพิจารณาให้ รอบคอบก่อนดําเนินการ259 ท่าเรื อซึ่งนําความ เจริ ญมาสู่พื ้นที่ริมชายฝั่ งทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามเกาะต่างๆ การสร้ างสิ่งก่อสร้ างเหล่านี ้ ล้ วนแต่ก็ให้ เกิดการ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศแทบทังสิ ้ ้น ขึ ้นอยู่ว่าจะมากหรื อน้ อยเท่านัน้ การเปลี่ยนแปลงอาจเกิดผลกระทบในแง่ลบ ต่อพืน้ ที่บางบริ เวณ และอาจส่งผลในแง่บวกต่อพื ้นที่บางบริ เวณเช่นกัน ตัวอย่างเช่นบริ เวณที่เคยมีตะกอนทับถม หนาแน่น ก็อาจจะลดน้ อยลงไป ส่วนบริ เวณที่ไม่เคยมีการทับถมของตะกอนก็อาจมีปริ มาณตะกอนเกิดขึ ้นจนทําให้ ระบบนิเวศแหล่งดังกล่าวเสียหายได้ ดังนัน้ การก่อสร้ างสิ่งปลูกสร้ างทางทะเลนัน้ ต้ องมีการศึกษาผลกระทบที่จะ เกิดขึ ้นอย่างละเอียดก่อนตัดสินใจ การก่อสร้ างริ มทะเลของไทยซึ่งเป็ นโครงการก่อสร้ างขนาดใหญ่ เช่นโครงการถมทะเล ตัวอย่างของ โครงการถมทะเลที่ส่งผลกระทบต่อชายฝั่ งอย่างเห็นได้ ชดั คือ โครงการถมทะเลโครงการแรกของประเทศไทยที่มีการ ดํ า เนิ นการเสร็ จไปแล้ วก็คือการถมทะเลจํ า นวน 1,000 ไร่ เพื่ อ รองรั บการขยายตัวของอุตสาหกรรมในนิ คม อุตสาหกรรมมาบตะพุด โครงการนี ้ได้ ก่อให้ เกิดผลกระทบติดตามมา ที่สําคัญที่สดุ ได้ แก่ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง โครงการนี ้เป็ นการถมทะเล 510 ไร่ สําหรับโรงกลัน่ นํ ้ามันเชลล์ วงเงินค่าก่อสร้ าง 749 ล้ านบาท แม้ ไม่ผ่านการอนุญาต จากกรมเจ้ า ท่า ทัง้ นี โ้ ดยการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.) ไม่ไ ด้ ส่ง อี ไ อเอให้ ห น่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง พิ จ ารณาตรวจสอบ และแต่ล ะหน่ ว ยงานเพี ย งแต่อ นุมัติ ใ นหลัก การ แต่ก ารก่ อ สร้ างก็ แ ล้ ว เสร็ จ ไปได้ เ มื่ อ เดื อ น กุมภาพันธ์ 2535 โดยอาศัยมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพียงในปี ต่อมาปั ญหาก็เริ่ มปรากฏ โดยกระแสนํ ้าได้ เปลี่ยนทิศ ้ ้ อมตํารวจ ทางการไหล ส่งผลให้ ชายฝั่ งบริ เวณหาดทรายทอง และหาดแสงจันทร์ จังหวัดระยองได้ พงั ทลายลง ทังป และบ้ านพักของชาวบ้ านได้ รับความเสียหาย ขณะที่ชาวประมงได้ รับผลกระทบด้ านอาชีพ เพราะการออกเรื อหาปลา ลําบากร่ องนํ ้าตื ้นเขิน ยามเข้ าและออกจากฝั่ งต้ องรอเวลานํ ้าขึ ้นเท่านัน้ ปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งที่เกิดตามมานี ้ผิด จากการคาดการณ์ ตามอีไอเอ ที่ศึกษาโดยดูการถมทะเลของประเทศเพื่อนบ้ าน เช่น สิงคโปร์ และญี่ปนเป็ ุ่ นต้ นแบบ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญชี ้ว่าเนื่องจาก ระบบทะเลที่ไม่เหมือนกัน โดยของไทยเป็ นทะเลปิ ด การไหลเวียนของนํ ้าจึงผิดปกติได้ ง่าย สถานการณ์ ปัญหารุ นแรงขึ ้นเรื่ อย ถนนถึงกับถูกตัดขาดกว่าครึ่ งเส้ นทาง มีรายงานว่า หาดทรายทอง และหาด แสงจันทร์ ที่เคยเป็ นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดถูกกัดเซาะเป็ นระยะทางกว่า 30 กิโลเมตร และมีผ้ เู ดือดร้ อนจํานวน มาก260 เมื่ อ พิ จารณาถึง รากของปั ญ หาการกัด เซาะชายฝั่ ง จากการก่อ สร้ างริ ม ทะเลแล้ ว จะพบว่า ปั ญ หา ดังกล่าวเป็ นผลมาจาก - ขาดการบริ หารจัดการพื ้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน การ ก่อสร้ างเพื่ออํานวยความสะดวกแก่นกั ท่องเที่ยวเป็ นสิง่ ที่เกิดขึ ้นอย่างแน่นอน แต่ในบางพื ้นที่การก่อสร้ างที่จะนํามาซึง่ ความเสียหายต่อทรัพยากรจึงเป็ นเรื่ องที่ไม่ควรกระทํา ผู้บริ หารจัดการการท่องเที่ยวควรมีความเข้ าใจถึงความจําเป็ น

259 260

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 258. สุกรานต์ โรจนไพรวงค์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 256.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


134

ในการคงไว้ ของสภาพพื ้นที่เดิมโดยไม่มีการพัฒนาเพื่อให้ แหล่งท่องเที่ยวนันคงความสวยงามและคงอยู ้ ่ต่อไป รัฐควรมี การให้ ความรู้แก่นกั ท่องเที่ยวในการตระหนักถึงความจําเป็ นในการอนุรักษ์ ไว้ ซงึ่ สภาพแวดล้ อมดังเดิ ้ มของระบบนิเวศ ในบางพื น้ ที่ โดยการเข้ า ถึงความสวยงามของธรรมชาติอาจยากลํา บาก แต่ก็สามารถจะคงไว้ ซึ่งความสมบูรณ์ สวยงามของทรัพยากรนันได้ ้ ตอ่ ไป - นโยบายภาครัฐมุ่งเน้ นการส่งเสริ มการพัฒนาที่ไม่ยงั่ ยืน การสร้ างสิ่งปลูกสร้ างเพื่อส่งเสริ มการ พัฒนาอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวของภาครัฐ อาจขาดการศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ ้นอย่างละเอียด เพราะต้ องการ เร่ งพัฒนาด้ านการท่องเที่ยวมากเกินไป ดังนันการวางแผนการพั ้ ฒนาด้ านต่างๆ ที่อาจส่งให้ เกิดผลกระทบต่อระบบ นิเวศชายฝั่ ง และการท่องเที่ยวจะต้ องมีการศึกษาอย่างละเอียด และจริ งจังก่อนที่จะเริ่ มการพัฒนา นอกจากด้ านการ ท่องเที่ยวแล้ ว การก่อสร้ างหรื อการพัฒนาเพื่อส่งเสริ มด้ านอุตสาหกรรมก็เป็ นต้ นเหตุที่ทําลายสิ่งแวดล้ อมอย่างมาก เช่นกัน ตัวอย่างเช่น โครงการถมทะเลระยะที่ 2 ของนิคมอุตสาหกรรมมาบตะพุด ซึ่งถูกคัดค้ านอย่างมาก และมี ปั ญหาความขัดแย้ งระหว่างหน่วยงานราชการด้ วยกัน ทังนี ้ ้เพราะเป็ นการดําเนินการในลักษณะลัดขันตอน ้ และผิด กฎระเบี ยบของบางหน่วยงาน แต่อาศัยว่าได้ รับการอนุมัติจากรั ฐบาลและมีความจํ าเป็ นเร่ งด่วนของการพัฒนา เศรษฐกิจเป็ นข้ ออ้ าง จึงเดินหน้ าไปได้ การถมทะเลระยะที่ 2 จะต่อเนื่องกับระยะที่ 3 ลักษณะโครงการประกอบด้ วย การขุดร่ องนํ ้าให้ ลกึ 12.5 เมตร แล้ วนําวัสดุที่ขดุ ลอกไปถมทะเลบริ เวณด้ านตะวันออกของท่าเรื อระยะที่ 1 เพื่อให้ เกิด พื น้ ที่ใ ช้ สอยสําหรั บ อุตสาหกรรมที่ เพิ่มขึน้ รวมทัง้ การก่อสร้ างท่า เที ยบเรื อ เพื่ อ รองรั บ อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี และ อุตสาหกรรมโปรแตซ ฯลฯ ตัวเลขจํานวนพื ้นที่ถมทะเลค่อนข้ างสับสน แต่อย่างไรก็ดี สิ่งหนึ่งที่รายงานตรงกันคือ ใน การถมทะเลที่มาบตะพุดนี ้ ถึงที่สดุ แล้ วจะผนวกรวมเอาเกาะสะเก็ดที่อยู่กลางทะเลเข้ าเป็ นผืนดินเดียวกับชายฝั่ ง จาก การศึกษาของนักวิจัยในศูนย์ พัฒนาประมงอ่าวไทยฝั่ งทะเลตะวันออกเรื่ องผลกระทบของการถมทะเล พบว่าจะ ทําลายปะการังใต้ ทะเลซึง่ เป็ นปะการังชันกลางจํ ้ านวนมาก โดยเฉพาะด้ านทิศตะวันออกของเกาะสะเก็ดนันมี ้ กองหิน ขนาดใหญ่ และปะการังเขากวางล้ อมที่สวยงามมาก รวมทัง้ ปะการังดอกเห็ด และสัตว์นํ ้าจํานวนมาก สําหรับเกาะ สะเก็ดที่มีเนื ้อที่ประมาณ 7 ไร่ นันเป็ ้ นแหล่งท่องเที่ยงที่มีชื่อเสียง ซึ่งบรรดานักท่องเที่ยวต่างประเทศมักไปดํานํ ้าดู ้ ฐบาลต้ องมีความจริ งจังในการควบคุมดูแลปั ญหา และผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนา ปะการัง261 เพราะฉะนันรั ในด้ านต่างๆ ต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลอย่างละเอียดรอบคอบ โดยยึดเอาหลักการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์จาก ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน มากกว่าการทําเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง (4) การแล่นเรื อ การจอดเรื อ การขุดร่องนํ ้าบริเวณแนวปะการังและหญ้ าทะเล เป็ นตัวการที่ทําลายสิง่ แวดล้ อมอย่างรุนแรงโดยเฉพาะการขุดร่องนํ ้าในแนวปะการังและหญ้ าทะเล ซึง่ เป็ นการทําลายภูมิประเทศที่มีอยู่เดิม ทําให้ พื ้นทะเลข้ างเคียงมีโอกาสเลื่อนไหล ซึ่งอาจก่อผลสืบเนื่องทําให้ พื ้นทะเล ้ ดร่องนํ ้าบริ เวณแนวปะการังและหญ้ าทะเล ทําให้ นํ ้า ใกล้ ฝั่งเกิดที่ว่าง ทําให้ ฝั่งพังทลายโดยตรง262 นอกจากนันการขุ ในบริ เวณดังกล่าวขุ่นมีปริ มาณตะกอนสูง ไม่เหมาะสมต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแนวปะการัง และ หญ้ าทะเล สาเหตุดังกล่าวเกิดจากการส่งเสริ มกิจกรรมการท่องเที่ยวในพืน้ ที่เปราะบาง โดยไม่มีการศึกษาผลได้ ผลเสียก่อนที่จะส่งเสริมกิจกรรม เนื่องจากความเหมาะสมของกิจกรรมการท่องเที่ยวแต่ละประเภทต้ องขึ ้นอยู่กบั ความ เหมาะสมของสภาพทรัพยากรในพื ้นที่นนๆ ั ้ หากมีการใช้ ประโยชน์เพื่อการท่องเที่ยวจากทรัพยากรที่ไม่เหมาะสมจะ

261 262

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 256. สุรพล สุดารา, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 253.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


135

เป็ นสาเหตุให้ เกิดผลเสียหาย และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรอย่างถาวร สาเหตุของปั ญหาการส่งเสริ มกิจกรรม การท่องเที่ยวในพื ้นที่เปราะบางเนื่องมาจาก (4.1) ขาดการบริ หารจัดการพื ้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน การ เข้ าไปใช้ ประโยชน์จากการท่องเที่ยว หรื อการมีกิจกรรมการท่องเที่ยวบางประเภท ต้ องมีการศึกษาถึงความเหมาะสม ของกิจกรรมต่อพื ้นที่นัน้ ๆ ด้ วย เช่นบริ เวณที่มีการกัดเซาะ หรื อการพังทลายของชายฝั่ ง ก็ควรส่งเสริ มกิจกรรมการ ท่องเที่ยวที่ไม่ใช้ ความเร็ว เช่นการพายเรื อแคนู หรื อเรื อคายัค เป็ นต้ น กิจกรรม หรื อรูปแบบของการท่องเที่ยวในพื ้นที่ ต่างๆ อาจไม่สามารถเลียนแบบมาจากพื ้นที่อื่นๆ ได้ ดังนันชุ ้ มชนในพื ้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องต้ องมีการศึกษา ผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรมการท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ ด้ วย เพื่อนํามาปรับใช้ อย่างได้ ผลกับชุมชนของตัวเอง (4.2) นโยบายภาครัฐมุ่งเน้ นการสิ่งเสริ มการพัฒนาที่ไม่ยงั่ ยืน เมื่อไม่มีการศึกษาความเหมาะสมของ กิจกรรมการท่องเที่ยวของแต่ละพืน้ ที่ จึงทําให้ กิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึน้ ไม่ประสบความสําเร็ จ ดังนัน้ หากมี การศึกษาหากิจกรรมที่เหมาะสมที่สดุ ของพื ้นที่นนๆ ั ้ มาเป็ นสิง่ ดึงดูดนักท่องเที่ยว ก็จะทําให้ กิจกรรมนันเป็ ้ นที่นิยมของ นักท่องเที่ยวต่อไป โดยไม่จําเป็ นต้ องเลียนแบบมาจากพื ้นที่อื่นๆ ดังนันรั ้ ฐเองต้ องเข้ าไปมีสว่ นร่วมในการแนะนําชุมชน ถึงศักยภาพของชุมชนเองต่อการท่องเที่ยว เพื่อชุมชนจะได้ มีความคิดสร้ างสรรค์ในการกําหนดรู ปแบบ หรื อกิจกรรม การท่องเที่ยวที่ไม่ทําลายสิง่ แวดล้ อม นอกจากส่งเสริ มในด้ านความรู้ แก่ชมุ ชนแล้ ว รัฐเองต้ องเข้ าไปจัดการกับปั ญหาในด้ านการบริ การความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยวและสถานที่ท่องเที่ยวร่ วมกับชุมชนด้ วย เช่นการเข้ าไปวางทุ่นจอดเรื อในแนวปะการั ง ให้ ครอบคลุมในทุกพื ้นที่ ทังที ้ ่เป็ นแนวปะการังนํ ้าตื ้น และปะการังนํ ้าลึก เพื่อลดการทําลายทรัพยากรปะการังที่เกิดจาก การทิ ้งสมอเรื อ เป็ นต้ น (5) การเหยียบยํ่าของนักท่องเที่ยว และการรบกวนวงจรชีวิตสัตว์ การท่อ งเที่ ย วทางทะเลควรมี ก ารให้ ค วามรู้ แก่ นัก ท่อ งเที่ ย วเกี่ ย วกับ การปฏิ บัติ ตัว อย่า งเหมาะสม ไม่ ก่อให้ เกิดการทําลายหรื อการรบกวนวงจรชีวิตของสัตว์ในบริ เวณนัน้ ๆ ตัวอย่างเช่นการให้ อาหารปลาในทะเล การ หยอกล้ อกับสัตว์ เช่น วาฬ ปลากระเบน เป็ นต้ น แต่ปัญหาการทําลายทรัพยากรที่เกิดขึ ้นจากนักท่องเที่ยวทังที ้ ่เกิด จากความตังใจและไม่ ้ ตงใจย่ ั ้ อมเกิดขึ ้นได้ เนื่องจาก (5.1) ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื ้นที่เปราะบาง พื ้นที่ทางทะเลในหลายๆ พื ้นที่อาจเป็ นบริ เวณที่ ไม่เหมาะสมที่จะจัดกิจกรรมด้ านการท่องเที่ยว แต่ควรจะเก็บไว้ เป็ นพื ้นที่อนุรักษ์ เนื่องจากบริ เวณดังกล่าวอาจเป็ น ระบบนิเวศที่เปราะบาง เช่น เป็ นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหายาก เป็ นแหล่งผสมพันธุ์ วางไข่ และแหล่งอนุบาลสัตว์นํ ้า วัยอ่อน หรื อเป็ นพื ้นที่ที่รอการฟื น้ ตัวอยู่ ซึ่งในระยะดังกล่าวควรที่จะงดใช้ ประโยชน์ในพื ้นที่นนั ้ เพราะหากยังมีการใช้ ประโยชน์อย่างต่อเนื่องอาจทําให้ พื ้นที่ดงั กล่าวถูกทําลายอย่างถาวร รากของปั ญหานี ้ได้ แก่ - ขาดการบริ หารจัดการพื ้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ขาด การศึกษาความเหมาะสมในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวในพืน้ ที่แต่ละบริ เวณ ในหลายกรณี กลับปรากฏว่า แม้ ได้ มี การศึกษาการจําแนกพื ้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการท่องเที่ยว และพื ้นที่อนุรักษ์ ที่ควรได้ รับการปกป้องไว้ แล้ วก็ตาม แต่ก็ ยังไม่มีการควบคุมให้ เป็ นไปตามที่กําหนดไว้ เพราะฉะนันการจั ้ ดกิจกรรมให้ เหมาะสมจึงมีความจําเป็ นอย่างยิ่ง - นโยบายภาครัฐมุ่งเน้ นการสิ่งเสริ มการพัฒนาที่ไม่ยงั่ ยืน รัฐไม่มีการควบคุมอย่างจริ งจัง ต่อการ ใช้ ประโยชน์ในพื ้นที่ดงั กล่าว กรณีตวั อย่างกิจกรรมเดินใต้ ทะเล หรื อซีวอล์กเกอร์ (Sea Walker) เริ่ มเข้ ามามีบริ การใน ไทยราวปี 2537-2538 ที่เกาะเฮ จ.ภูเก็ต โดยได้ รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวอย่างมาก เพราะสามารถทําให้ คนที่ โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


136

ว่ายนํ ้าไม่เป็ นเดินลงไปชมปะการังและความสวยงามใต้ ท้องทะเลได้ ในช่วงแรกๆ นันยั ้ งไม่มีหน่วยงานของภาครัฐเข้ า ไปตรวจสอบดูแลการดําเนินการดังกล่าว แต่ต่อมาสถาบันวิจัยชีววิทยาและประมงทะเล รวมทังสํ ้ านักงานประมง จังหวัดภูเก็ต ได้ ออกมาระบุว่า กิจกรรมซีวอล์กเกอร์ ส่งผลกระทบต่อปะการัง ทังฝุ่ ้ นทรายจากการเดิน และยังมีการ ย้ ายปะการังออกจากพื ้นที่ดําเนินการ เพื่อให้ มีพื ้นที่ว่างสําหรับนักท่องเที่ยงเดินด้ วย การอนุญาตให้ ซีวอล์กเกอร์ ยัง ดําเนินการได้ อยูใ่ นปั จจุบนั ท่ามกลางการไม่สามารถสร้ างความเชื่อมัน่ ในการรักษาสภาพแวดล้ อมของแหล่งท่องเที่ยว สะท้ อนให้ เห็นถึงความโอนอ่อนของมาตรฐานการควบคุมกิจกรรมการท่องเที่ยวได้ อย่างดี ดังนัน้ จึงไม่แน่นอนว่า อาจจะมีกิจกรรมใหม่ๆ ที่เข้ ามาเป็ นประเด็นถกเถียงกันอีกในอนาคต263 (5.2) นักท่องเที่ยวปฏิบตั ิตนไม่เหมาะสมในการท่องเที่ยวในแต่ละบริ เวณ เป็ นปั ญหาที่พบเห็นได้ ชัดเจนตามแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ก่อให้ เกิดความเสียหาย และน่ารํ าคาญต่อนักท่องเที่ยวคนอื่นๆ กรณี ตวั อย่างเช่น เกาะช้ า ง จัง หวัด ตราด 264 การท่ อ งเที่ ย วตามหมู่เ กาะและการดํ า นํ า้ ดูป ะการั ง นับ เป็ นวิ ก ฤตของเกาะช้ า ง สื บ เนื่ อ งมาจากผู้ป ระกอบการต้ อ งการสร้ างความสะดวกสบาย นักท่อ งเที่ ยวต้ องการความสะดวกสบาย บางครั ง้ นัก ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ม่ เ คยไปเที่ ย วทะเล ว่ า ยนํ า้ ไม่ เ ป็ น แต่ ต้ อ งการไปดํ า นํ า้ ดูป ะการั ง กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วของ ผู้ประกอบการคือ การขับเรื อและเข้ าไปจอดเรื อให้ ถึงชายหาด การจอดเรื อจึงส่งผลเสียต่อแนวปะการังนํา้ ตื ้นอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ นักท่องเที่ยวที่ดีควรใส่ใจต่อแหล่งท่องเที่ยวที่ตนเองจะไป โดยการศึกษาพื ้นที่ และเข้ าใจถึงสิ่งที่ควร ปฏิบตั ิ ได้ แก่การรู้จกั ชนิดปะการัง การไม่หยิบจับ หรื อเหยียบปะการัง กิจกรรมที่ไม่ควรปฏิบตั ิ การขับถ่ายลงในทะเล โดยตรง การทิ ้งเศษอาหาร ขยะ ขวดเหล้ า ขวดเบียร์ บุหรี่ ถุงพลาสติก ลงสู่เกาะ ชายหาด หรื อทะเล การปฏิเสธกลุ่ม ้ การนําข้ อมูลที่เป็ น ผู้ประกอบการที่ละเมิด หรื อไม่ใส่ใจต่อทรัพยากรธรรมชาติ ด้ วยการไม่ส่งเสริ มธุรกิจของกลุม่ นันๆ การกระทําผิดกฎหมายแจ้ งเจ้ าหน้ าที่ผ้ รู ับผิดชอบ การบอกต่อในเรื่ องการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ หรื อการใช้ การ ลงโทษทางสัง คม รวมทัง้ การมีส่วนร่ วมในการเก็บขยะในทะเลหรื อไม่ละเลยต่อปั ญหาที่ พบเห็น ซึ่งสาเหตุที่ นักท่องเที่ยวปฏิบตั ิตนไม่เหมาะสมในการท่องเที่ยวในแต่ละบริเวณมีรากของปั ญหามาจาก - ขาดการบริ หารจัดการพื ้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน เมื่อ รู ปแบบของกิจกรรมการท่องเที่ยวไม่มีความเหมาะสม ทํ าให้ นักท่องเที่ยวซึ่งส่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความเข้ าใจใน รูปแบบและการปฏิบตั ิตนเพื่อการท่องเที่ยวของพื ้นที่แต่ละพื ้นที่อยู่แล้ ว กระทําในสิ่งที่ผิด และก่อให้ เกิดความเสียหาย ต่อทรัพยากรโดยรู้ เท่าไม่ถึงการณ์ ได้ ง่ายยิ่งขึน้ ดังนัน้ การจัดทําสื่อ เช่น ป้ายอธิ บายต่างๆ เพื่อให้ เกิดความรู้ ความ เข้ าใจและการปฏิบตั ิตนที่ถกู ต้ องในสถานที่ทอ่ งเที่ยวนันๆ ้ ต้ องมีอย่างเพียงพอ - นโยบายภาครั ฐมุ่งเน้ นการส่งเสริ มการพัฒนาที่ ไม่ยั่งยื น เพื่อการสร้ างงาน สร้ างรายได้ ของ ประชากรในพื ้นที่ที่มีการท่องเที่ยว ทําให้ รัฐปล่อยปละละเลย การดูแล และควบคุมผู้กระทําความผิดที่สง่ ผลเสียหาย ต่อทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล ซึ่งการไม่เอาใจใส่ และการที่ไม่มีมาตรการที่เข้ มงวดนัน้ ส่งผลให้ นกั ท่องเที่ยว และ ผู้ประกอบการซึ่งให้ บริ การต่อนักท่องเที่ยวกระทําในสิ่งที่เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรได้ ง่าย ตัวอย่างเช่นเมื่อมี ปริ มาณนักท่องเที่ยวจํานวนมาก ซึ่งนักท่องเที่ยวแต่ละคนล้ วนแล้ วแต่นําขยะเข้ าไปสู่แหล่งท่องเที่ยวโดยไม่มีความ 263

สุกรานต์ โรจนไพรวงค์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 256. เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์, แสงเทียน อัจจิมางกูร, บุณฑริ กา ทองดอนพุม่ , พฤหัส จันทร์ นวล, ภัททิรา เกษมศิริ, นิสา เพิ่มศิริ วาณิชย์, จริ ยา กันกําเนิด และณัฐพงศ์ ล้ ออัศจรรย์. 2548. โอกาสหรื ออวสานของหมู่เกาะช้ าง. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 264

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


137

รั บผิดชอบต่อขยะดัง กล่า ว เพราะต้ องการความสะดวกสบาย และมีความมักง่ายทิง้ ขยะเกลื่อนกลาด จนทํ าให้ ปริมาณขยะในแหล่งท่องเที่ยวมีปริมาณที่มากจนส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อมในบริเวณนัน้ - นักท่องเที่ยวและประชาชนทัว่ ไปขาดทักษะ และความรู้ ความตระหนัก ในการอนุรักษ์ และการใช้ ทรั พยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รั ฐควรกําหนดให้ มีเจ้ าหน้ าที่ หรื อสื่อต่างๆ ที่ สามารถทําให้ นักท่องเที่ยวมีทักษะ ความรู้ และความตระหนักในการท่องเที่ยว โดยอยู่บนพื ้นฐานของการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากร อย่างยัง่ ยืน การรณรงค์ให้ ทิ ้งขยะอย่างเป็ นที่เป็ นทาง การลดการนําขยะเข้ ามายังแหล่งท่องเที่ยวโดยไม่จําเป็ น การไม่ รบกวนชีวิตสัตว์และสิ่งแวดล้ อมในบริ เวณสถานที่ท่องเที่ยว การไม่สนับสนุนสินค้ าที่ทํามาจากทรัพยากรสิ่งแวดล้ อม อันมีผลให้ เกิดการทําลายธรรมชาติ เป็ นต้ น (6) การจับปลาและสัตว์นํ ้าจากแนวปะการังและแหล่งหญ้ าทะเล เป็ นการทําลายทรัพยากรอย่างรุนแรง และเห็นผลกระทบได้ ชดั เจน เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ซึง่ นอกจากทัศนียภาพที่สวยงามแล้ ว ปริ มาณสัตว์นํ ้าที่ชกุ ชุมก็เป็ นปั จจัยหลักในการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ เข้ ามาเที่ยว ในแหล่งดังกล่าว แต่ปัจจุบนั สัตว์นํา้ ในแนวปะการังลดลงอย่างมาก เนื่องจากปั ญหาที่เกิดจากการเสื่อมโทรมของ แหล่งที่อยูอ่ าศัย ปั ญหามลพิษในแหล่งนํ ้า ฯลฯ สาเหตุที่ทําให้ มีการบริ โภคสัตว์นํ ้าจากแนวปะการังมาก ได้ แก่ (6.1) ความต้ องการของผู้บริ โภค (กินและการเลี ้ยงในตู้) ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ นถึงการทําการ ประมงที่มีรูปแบบ และความต้ องการที่เปลี่ยนแปลงไป แต่เดิมปลาในแนวปะการังไม่เป็ นที่นิยมบริ โภคมากนัก ยกเว้ น ปลาเศรษฐกิจบางชนิด เช่นปลากะรังชนิดต่างๆ แต่ปัจจุบนั เนื่องจากปั ญหาการลดน้ อยลงของสัตว์นํ ้าในพื ้นที่ ทําให้ ผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมหันมาบริ โภคสัตว์นํ ้าในแนวปะการัง และแหล่งหญ้ าทะเลมากขึ ้น แต่สตั ว์นํ ้าในแนวปะการัง และแหล่งหญ้ าทะเลบางชนิดมีปริ มาณน้ อย ประกอบกับมีความสามารถในการเจริ ญพันธุ์ตํ่า ซึง่ หากสัตว์นํ ้าดังกล่าว ถูกจับมาใช้ ในการบริ โภค โอกาสที่สตั ว์นํ ้าดังกล่าวจะสูญพันธุ์ หรื อหายไปจากท้ องทะเลไทยก็สามารถเกิดขึ ้นได้ ง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทําประมงที่ผิดกฎหมาย ดังกรณีตวั อย่างที่เป็ นข่าวในหน้ าหนังสือพิมพ์ เกี่ยวกับการลักลอบ วางระเบิดปลาในแนวปะการัง ซึ่งทําให้ ภูเขาหินปะการัง ขนาดใหญ่ที่มีแนวปะการังสวยงามมีระบบนิเวศที่อุดม สมบูรณ์ใต้ ทะเลบริ เวณเกาะแดง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พังทลายลงอย่างราบคาบ เพียงเพื่อ ต้ องการจับปลาบางชนิด แต่เป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวง265 นอกจากนันสั ้ ตว์ทะเลอีกหลายชนิดก็ กําลังถูกคุกคามอย่างรุ นแรงเพื่อความต้ องการของผู้บริ โภค ตัวอย่างเช่น ปูจักจั่น ซึ่งกลุ่มชาวประมงบ้ านทับละมุ จังหวัดพังงา เล่าถึงประวัติเจ้ าปูโบราณนี ้ว่านานมาแล้ ว ชัว่ ลูกชัว่ หลาน ชาวประมงมักเรี ยกชื่อกันตามแหล่งที่พบว่า ปู โบราณ ปูกบ ปูสิมิลนั ปูจกั จัน่ หรื อ จักจัน่ ยักษ์ เพราะพบมากบริ เวณ "ดอนจักจัน่ " ตอนใต้ ของหมู่เกาะสิมิลนั และมี ทัว่ ไปตามหมู่เกาะสุรินทร์ และเกาะราชา ในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปูจกั จัน่ นี ้จัดว่าเป็ นสัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่ ทางฝั่ งทะเลอันดามัน แต่ผลจากการระดมเรื อประมงออกจับปูจกั จั่นเพื่อส่งขายต่างประเทศ เพราะรายได้ ที่งดงาม มาก ผลปรากฏว่า ตังแต่ ้ ปี 2540 ถึงปั จจุบนั มีการจับปูจกั จัน่ นี ้ไปแล้ วไม่ตํ่ากว่า 100,000 กิโลกรัม จนน่าวิตกว่าจะมี ผลกระทบต่อทรัพยากรชนิดนี ้ในอนาคต นอกจากปูจกั จัน่ แล้ ว สัตว์นํ ้าชนิดแปลกๆ ก็ถกู จับขึ ้นมาบริ โภคเป็ นจํานวน มาก เช่น หอยชักตีน (แหล่งหญ้ าทะเล) หอยกระต่าย (หอยสองฝาในแนวปะการัง) ปูหิน สัตว์นํ ้า ในบางพื ้นที่ถึงกับมี การค้ นหาเมนูสตั ว์นํ ้าแปลกๆ ในท้ องถิ่น เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว

265

สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ . มปป. ฐานข้ อมูลการวิจัยการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. แหล่งที่มา: http://www.thaiedresearch.org/result/result.php?id=7166, 19 กรกฎาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


138

สัตว์ทะเลหายากเช่นพะยูน ซึ่งพบมากในบริ เวณจังหวัดตรัง โดยอาศัยอยู่ในเขตหญ้ าทะเล และตาม ร่ องนํ ้าเวลานํ ้าลง มักอยู่ร่วมกันเป็ นครอบครัว พะยูนมักถูกล่าเนื่องจากความต้ องการนําเขี ้ยวพะยูนไปทําเครื่ องราง ตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ และทําเป็ นเครื่ องประดับ โดยราคาซื ้อขายเขี ้ยวพะยูนที่โตเต็มที่จะอยู่ที่ชิ ้นละประมาณ 30,000 บาท และสัตว์ที่น่าเป็ นห่วงอีกชนิดหนึ่งคือ หอยมือเสือ ซึ่งเป็ นสัตว์ค้ มุ ครองที่หายากที่เจริ ญเติบโตช้ ามาก โดยในอดีตมีจํานวนมาก แต่เนื่องจากถูกจับไปบริ โภคทําให้ จํานวนลดลงอย่างรวดเร็ ว ทังนี ้ ก้ ารดําเนินการในการ อนุรักษ์ ที่ผ่านมานันทํ ้ าโดยการเพาะเลี ้ยงและอนุบาลเพื่อนําไปปล่อยสู่ทะเล อย่างไรก็ตามหอยมือเสืออาจเป็ นสัตว์ เลี ้ยงเศรษฐกิจได้ แต่อาจไม่ค้ มุ ค่าเนื่องจากการเจริ ญเติบโตช้ า คือใช้ เวลาถึง 5 ปี เพื่อให้ ได้ หอยมือเสือขนาด 20 เซนติเมตร266 สัตว์นํ ้าสวยงามประเภทอื่นๆ ก็ถกู คุกคามจากผู้บริโภคเช่นกัน เนื่องจากปั จจุบนั การพัฒนารูปแบบการ เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้ามีความก้ าวหน้ าเพิ่มขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั จนทําให้ ในปั จจุบนั สัตว์นํ ้าทะเลหลายชนิดสามารถนํามา เลี ้ยงเพื่อความสวยงามตามบ้ านเรื อนมากยิ่งขึ ้น แต่อนั ที่จริ งแล้ วผู้ที่สามารถเลี ้ยงได้ ต้องเป็ นผู้ที่มีความรู้ ความเข้ าใจ ในชีววิทยาของสัตว์นํ ้านันๆ ้ เป็ นอย่างดี แต่โดยส่วนใหญ่แล้ วกลับไม่เป็ นเช่นนัน้ ผู้ที่มีกําลังทรัพย์กลับเป็ นผู้ที่คิดว่า สามารถเลี ้ยงปลาทะเลเพื่อความสวยงามได้ เนื่องมาจากอุปกรณ์ เทคโนโลยี และสารเคมีต่างๆ ที่ทนั สมัย เป็ นตัวช่วย ให้ สามารถเลี ้ยงสัตว์นํ ้าทะเลได้ นานขึ ้นเท่านัน้ แต่ไม่สามารถทําให้ เลี ้ยงได้ ยาวนานอย่างสมบูรณ์ตามความต้ องการ ของสัตว์นํ ้าได้ ดังนันสั ้ ตว์นํ ้าทะเลในธรรมชาติจึงถูกจับเพื่อส่งเข้ าสูต่ ลาดปลาสวยงามเป็ นจํานวนมาก ทําให้ ปริ มาณ สัตว์นํ ้าในแนวปะการังลดลงอย่างมาก (7) สรุปปั ญหาความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล จากการวิเคราะห์ลูกโซ่ปัญหา จะพบว่าสาเหตุของปั ญหาความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยวทาง ทะเล มีรากฐานของปั ญหาที่สําคัญได้ แก่ (7.1) ประชาชนขาดความสนใจ และขาดการมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และมี ทัศนคติเชิงลบต่อการประกาศเขตอนุรักษ์ (7.2) ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ มีงบประมาณไม่เพียงพอ (7.3) ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถอย่างเพียงพอต่อการบริหารจัดการพื ้นที่ (7.4) กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการบริหารจัดการพื ้นที่ทางทะเลและ ชายฝั่ ง (7.5) ขาดประสิทธิภาพในการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน (7.6) ขาดองค์ความรู้ที่มีความจําเป็ นต่อการบริหารจัดการพื ้นที่ (7.7) นักท่องเที่ยวและประชาชนทัว่ ไปขาดทักษะ และความรู้ความตระหนักในการอนุรักษ์ และการ ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน

266

กาญจนา อดุลยานุโกศล. 2548. สัตว์ ทะเลหายาก. ใน การประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่ งทะเล และป่ าชายเลน รายงานสรุปผลการประชุมกลุม่ ย่อยทางวิชาการ ครัง้ ที่ 11 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 ณ ห้ องประชุม ชัน้ 2 อาคารแสดงพันธุ์สตั ว์นํ ้า จังหวัด ภูเก็ต.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


139

3.4 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองด้ านสิ่งแวดล้ อม โลกของเราประกอบด้ วยบรรยากาศ มหาสมุทร และแผ่นดิน ซึ่งเป็ นแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี ้ เนื่องจากทะเลหรื อมหาสมุทรเป็ นแหล่งที่มีความสําคัญทังสิ ้ ้น เพราะสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดที่ดํารงชีวิตเกี่ยวข้ องกับ ทะเลไม่ว่าจะดํารงอยู่ด้วยการได้ รับการระเหยหยดนํ ้าที่มาจากทะเล หรื ออาศัยอยู่ในทะเล หรื อหาเลี ้ยงชีพจากทะเล นอกจากนี ้ทะเลยังเป็ นแหล่งทรัพยากรที่มีความสําคัญต่อระบบนิเวศที่มีความสําคัญที่เจือจุนให้ สิ่งมีชีวิตดํารงอยู่ได้ จนเป็ นระบบหรื อห่วงโซ่อาหารที่อดุ มสมบูรณ์ ทะเลมีอาณาเขตกว้ างใหญ่ แม้ จะมีการติดต่อหรื อ เชื่ อ มต่อ กันทั่วโลก แต่สิ่ง มีชีวิตในแต่ละแห่งก็มีการ ดํารงชีวิตในสภาวะแวดล้ อมที่แตกต่างกันออกไปตามกระแสนํ ้า คลื่น ลม ความเค็ม อุณหภูมิ สารอาหาร และระบบ นิเวศ เป็ นต้ น เนื่ องจากทะเลเป็ นแหล่งรวมของทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย ทําให้ มนุษย์ ผ้ ูมีมันสมองมีการ ั นาการสูงขึ ้นการพัฒนาทางด้ านสังคม พัฒนาการใช้ ทะเลในลักษณะที่หลากหลายด้ วยเช่นกัน เมื่อโลกของเรามีวิวฒ และเศรษฐกิจก็พฒ ั นาเพิ่มขึน้ ด้ วยเช่นกัน ทังนี ้ ก้ ็เพื่อให้ เกิดความเพียงพอต่อความต้ องการของมนุษย์ ทําให้ การใช้ ทะเลมีความหลากหลายและการพัฒนาเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ ้น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้ อมทางทะเลเสื่อมโทรม ลงจนถึงปั จจุบนั ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเลประมาณ 350,000 ตารางกิโลเมตร267 ทําให้ มีพื ้นที่การใช้ อย่างกว้ างขวาง ตังแต่ ้ บริ เวณชายฝั่ งจนถึงเขตเศรษฐกิจจําเพาะ นอกจากนี ้ยังมีการออกไปใช้ บริ เวณน่านนํ ้าสากลอีกด้ วย อีกทังแนว ้ ชายฝั่ ง 2,800 กิโลเมตรของไทย ประกอบด้ วยชายฝั่ งอ่าวไทยและอันดามันคิดเป็ น 67 และ 33 เปอร์ เซ็นต์ของความ ยาวชายฝั่ งทังหมด ้ ที่มีกิจกรรมทางทะเลและชายฝั่ งอย่างหนาแน่น อย่างไรก็ตาม กิจกรรมการใช้ ทะเลต่างๆ ที่เกิดขึ ้น จะปล่อยมลภาวะสูส่ ิ่งแวดล้ อมทางทะเลทังทางตรงและทางอ้ ้ อมในระดับที่มากหรื อน้ อยขึ ้นอยู่กบั ประเภทและขนาด ของกิจกรรมนัน้ ซึ่งจะเป็ นปั ญหาสิ่งแวดล้ อมในระดับชาติหรื อระดับประเทศ ได้ แก่ ปั ญหาการรั่วไหลของนํ ้ามัน การ กัดเซาะชายฝั่ ง ปรากฎการณ์นํ ้าทะเลเปลี่ยนสี การเปลี่ยนแปลงของระดับนํ ้าทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้ อน เป็ นต้ น ปั ญหาเหล่านี ้จะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมทางทะเล กล่าวคือทําให้ สิ่งแวดล้ อมทางทะเล เสื่อมโทรมลง ได้ แก่ เกิดมลภาวะหรื อมลพิษในทะเล คุณภาพนํ ้าเสื่อมโทรมลง ความงดงามของทัศนียภาพของทะเล ู พันธุ์และสัตว์ส ลดน้ อยลง เป็ นต้ น และยังก่อให้ เกิดการสูญสิ ้นของทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิต เช่น สิ่งมีชีวิตใกล้ สญ วงนไว้ เพื่อความยัง่ ยืนในอนาคต ได้ แก่ พะยูน ฉลาม หอยเมือเสือ เป็ นต้ น ประเทศไทยแม้ จะเป็ นประเทศกําลังพัฒนาแต่ก็ให้ ความสําคัญต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเล ดังนัน้ เพื่อให้ เกิด ความสมดุลของสิ่งแวดล้ อมในปั จจุบนั และอนาคต จึงควรมีการจัดการ มีแนวทางในการป้องกัน แก้ ไข และปฏิบตั ิกบั ปั ญ หาต่ า งๆ ให้ เ กิ ด ผลกระทบที่ จ ะตามมาน้ อ ยที่ สุด อย่ า งไรก็ ต าม เพื่ อ เกิ ด ความยั่ง ยื น ของสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลจึงมีหลายหน่วยงาน ทังภาครั ้ ฐ เอกชน NGO และประชาชนที่ตระหนักถึงความสําคัญ จึงทําให้ เกิดข้ อเสนอแนะแนวทางการจัดการ มาตรการ นโยบาย และแผนพัฒนาฟื ้นฟูสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและ ทรัพยากรธรรมชาติให้ คงอยูช่ วั่ ลูกชัว่ หลาน

267

ถนอม เจิญลาภ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 33.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


140

3.4.1 ความหมายและความสําคัญของสิง่ แวดล้ อมทางทะเล 3.4.1.1 ความหมาย ตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 4 บัญญัติไว้ ว่า268 “สิ่งแวดล้ อม” หมายความว่า สิ่งต่างๆ ที่มีลกั ษณะทางกายภาพและชีวภาพ ที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งเกิดขึน้ โดย ธรรมชาติและสิง่ ที่มนุษย์ได้ ทําขึ ้น ดังนันจึ ้ งกล่าวได้ วา่ “สิง่ แวดล้ อม” หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในโลกและนอกโลก ไม่ว่าจะเป็ นมนุษย์ สัตว์ พืช ดิน นํ ้า อากาศ แสงแดด ทังที ้ ่เป็ นรูปธรรมคือ สิง่ ที่สมั ผัสได้ และนามธรรมคือ สิง่ ที่สมั ผัสไม่ได้ ก็ล้วนต่างก็เกี่ยวข้ อง ในความหมายของสิง่ แวดล้ อมทังสิ ้ ้น ้ ่เกิดขึน้ เองโดย แต่ “สิ่งแวดล้ อมทางทะเล” หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่มีลกั ษณะทางกายภาพและชีวภาพ ทังที ธรรมชาติ เช่น สัตว์ พืช และทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตในทะเล ตลอดจนสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์ได้ ทําขึ ้นและ ใช้ ในทะเลด้ วย เช่น เรื อ แท่นขุดเจาะนํ ้ามัน เกาะเทียม รวมทังสิ ้ ง่ ก่อสร้ างทุกชนิดในทะเล269 ดังนัน้ “สิ่งแวดล้ อมทางทะเล” จึงหมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้ างขึ ้น ทังรู้ ปธรรมและนามธรรมในบริเวณน่านนํ ้าภายในของประเทศนัน้ 3.4.1.2 ความสําคัญ ในขณะที่คนในประเทศไทยทัว่ ไปใช้ ประโยชน์จากทะเลด้ วยการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ แต่อาจจะ ้ มองข้ ามสิ่งแวดล้ อมทางทะเลที่มีความสําคัญและมีบทบาทต่อทรัพยากรและผู้ใช้ ประโยชน์จากทะเลทังทางตรงและ ทางอ้ อม แต่ถึงกระนัน้ นักวิทยาศาสตร์ แขนงต่างๆ นักสังคม นักเศรษฐศาสตร์ ตลอดจนนักวิชาการด้ านต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับงานสิ่งแวดล้ อมได้ ศึกษา ค้ นพบ และเผยแพร่ ผลงานสิ่งแวดล้ อมทางทะเลของไทยไว้ มากมาย โดยได้ ค้น พบว่าแท้ จริงแล้ วสิง่ แวดล้ อมทางทะลมีคณ ุ ค่าและมีบทบาทต่อสิง่ มีชีวิตมากมาย สิง่ แวดล้ อมทางทะเลมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ ระบบนิเวศ และความเป็ นอยู่ของสิ่งมีชีวิตใน ้ งมีความสําคัญทาง ทะเลที่ประกอบไปด้ วยระบบต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์ และเกื ้อกูลประโยชน์ซึ่งกันและกัน อีกทังยั เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์ ของชาติไทยด้ วย 3.4.2 สถานการณ์สงิ่ แวดล้ อมทางทะเลในปั จจุบนั ประเทศไทยมีแนวชายฝั่ งทะเลและพื ้นที่ทางทะเลที่มีศกั ยภาพการผลิตทางชีวภาพสูงและมีสภาวะแวดล้ อม ชายฝั่ งที่มีความสําคัญ โดยมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Dynamic Process) เพราะได้ รับอิทธิพลของคลื่น ลม กระแสนํ ้าขึ ้นลงที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล และยังได้ รับอิทธิพลจากนํ ้าจืดที่ไหลมาจากต้ นนํ ้า ทําให้ บริ เวณ 268

กรมควบคุมมลพิษ. 2550. พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535. กฎหมายและมาตรา ต่ างๆ. แหล่งที่มา: http://www.aqnis.pcd.go.th/standard/low_index.htm, 25 พฤษภาคม 2550. 269 ยศพล ศุภวิจิตรกุล. 2547. วิชากฎหมายทะเลเบือ้ งต้ น (Introduction to Law of the Sea). เอกสารประกอบการเรี ยนการ สอนภาค 1/2547. วิทยาลัยการพาณิชยนาวี มหาวิทยาลัยบูรพา. แหล่งที่มา: http://bmc.buu.ac.th/Module/bba_maritime/901421/article01.ppt, 4 มิถนุ ายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


141

ดังกล่าวมีปริ มาณสารอาหารอุดมสมบูรณ์ต่อสัตว์ที่อาศัยในทะเลและชายฝั่ ง อีกทังเป็ ้ นแหล่งประกอบอาชีพที่สําคัญ ของมนุษย์ ดังนันชายฝั ้ ่ งทะเลจึงเป็ นมิติที่สลับซับซ้ อนและมีความเปราะบางของระบบนิเวศจึงง่ายต่อการเสื่อมโทรม และการสูญเสียของสิ่งแวดล้ อ ม นอกจากนี พ้ ื น้ ที่ชายฝั่ ง ยังเป็ นฐานเศรษฐกิ จในการผลิตสิน ค้ าและบริ การต่างๆ มากมาย เช่น แหล่งที่ตงโรงงานอุ ั้ ตสาหกรรม แหล่งชุมชน แหล่งท่องเที่ยว แหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า และแหล่งประมง ชายฝั่ ง แต่ขณะเดียวกันการพัฒนากิจกรรมต่างๆ ในบริ เวณพืน้ ที่ชายฝั่ งที่มากเกินไปจะก่อให้ เกิดปั ญหาด้ าน สิง่ แวดล้ อมและมลพิษบริ เวณชายฝั่ งทะเลของฝั่ งอ่าวไทยและอันดามัน กิจกรรมต่างๆ บนบกและในทะเลที่เกิดขึ ้นมากมายของประเทศไทย ทําให้ เกิดการแพร่กระจายของมลพิษสู่ แม่นํ ้า ชายฝั่ ง และทะเลเป็ นบริเวณกว้ าง โดยมลพิษดังกล่าวจะไปปะปนหรื อละลายในนํ ้า สะสมหรื อรวมตัวอยู่กบั ดิน ตะกอนพื ้นท้ องทะเลและเนื ้อเยื่อของสิง่ มีชีวิตที่ได้ รับมลพิษเข้ าไป แต่ในปั จจุบนั สถานการณ์มลพิษทางทะเลได้ สง่ ผล กระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้ อมทางทะเลมากขึ ้น ซึง่ พิจารณาได้ จากรายงานสถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้ อมชายฝั่ ง และทะเลของกรมควบคุมมลพิษปี 2548-2549270 กล่าวพอสรุปดังนี ้ 3.4.2.1 อ่าวไทย 1) อ่าวไทยตอนใน บริ เ วณอ่า วไทยตอนในมี พื น้ ที่ ครอบคลุมจัง หวัดฉะเชิ งเทรา กรุ ง เทพฯ สมุท รปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และเพชรบุรี มีคณ ุ ภาพนํ ้าในบริ เวณนี ้พบว่าอยู่ในสภาพเสื่อมโทรมมาก โดยเฉพาะบริ เวณปากแม่นํ ้าบาง ปะกง แม่กลอง ท่าจีน และแม่นํ ้าเจ้ าพระยา ซึง่ จะพบปั ญหากลุม่ แบคทีเรี ยค่อนข้ างสูงและปริ มาณออกซิเจนที่ละลาย นํา้ อยู่ในระดับที่ตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพนํา้ ทะเลและชายฝั่ ง ส่วนปริ มาณรวมของโพลิไซคลิกอะโรมาติก ไฮโดรคาร์ บอน (PAHs)271 ที่ตรวจพบในนํ ้าทะเลส่วนใหญ่ยงั คงมีค่าตํ่ากว่าขีดจํากัดการตรวจวัด (Detection Limite) ซึง่ มีคา่ ระหว่าง 0.01-0.5 ไมโครกรัมต่อลิตร ส่วนดินตะกอน272 ในบริเวณอ่าวไทยตอนใน กรมควบคุมมลพิษรายงานว่ากองทัพเรื อเคยมีการสํารวจเมื่อ ปี 2541-2542273 พบว่ามีปริ มาณโลหะหนักบางชนิดที่มีค่าเกินมาตรฐานแต่ยงั ไม่มีความเป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิตใดๆ ใน ทะเล โลหะดังกล่าวคือ ปรอทและตะกัว่ ตรวจพบในบริ เวณปากแม่นํ ้าท่าจีน ปากแม่นํ ้าแม่กลอง และปากแม่นํ ้าบาง ปะกง ส่วนโลหะหนักพวกทองแดงและโครเมียมพบในบริ เวณปากแม่นํา้ เจ้ าพระยา แล้ วยังพบโลหะหนักที่มีค่าเกิน มาตรฐานที่อาจจะมีความเป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล คือ สังกะสีและตะกั่ว ซึ่งพบในบริ เวณปากแม่นํา้ ท่าจีนและ ปากนํ ้าเจ้ าพระยา ตามลําดับ 270

กรมควบคุมมลพิษ. 2549. รายงานสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทย 2549. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยกรและ สิ่งแวดล้ อม, กรุงเทพฯ. 271 Polycyclic Aromatic Hydrocarbons (PAHs) เป็ นกลุ่มของสารเคมีที่มีมากกว่า 100 ชนิด เกิดจากปฏิกริ ยาการเผาไหม้ ของ ไขมันในอาหาร หรื อสารอินทรี ย์ มักพบในเขม่า ควัน ถ่านหิน ยาอบไม้ เพื่อฆ่าเชื ้อ ยางราดถนน ควันรถ ควันจากการเผาไม้ และควันบุหรี่ สาร PAHs สามารถจับกับอนุภาคของฝุ่ นละอองและแพร่กระจายสู่ ดิน นํ ้า และอากาศได้ รวมถึงสามารถทําปฏิกริ ยากับไนเตรทในอาหาร ทําให้ เกิด เป็ นสารพิษต่อสิ่งมีชีวิตได้ 272 เนื่องจากประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานโลหะหนักในดินตะกอนจึงได้ นําค่าที่ได้ ไปเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพดินตะกอน ของต่างประเทศได้ แก่ ประเทศสหรัฐอเมริ กา ฮ่องกง ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ 273 กรมควบคุมมลพิษ. 2546. ทะเลไทย...วันนี.้ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมตรวจสอบชื่อ กระทรวง, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


142

อย่างไรก็ตาม บริ เวณอ่าวไทยตอนในมีปากแม่นํ ้าที่สําคัญ 4 สาย ที่สําคัญไหลมาตอนเหนือและตอนกลาง ของประเทศ จึงเป็ นแหล่งรองรับนํ ้าจืดที่มีของเสียและสารพิษปะปนมาจากต้ นนํ ้า กล่าวได้ ว่าบริ เวณนี ้เป็ นจุดวิกฤต เกี่ ยวกับ คุณ ภาพสิ่งแวดล้ อ ม โดยเฉพาะบริ เวณที่ จะต้ องมี การควบคุมและดูแลเป็ นพิเศษคือ บริ เวณปากแม่นํา้ เจ้ า พระยา ปากคลอง 12 ธัน วา หน้ า โรงงานฟอกย้ อ ม กม.35 จัง หวัด สมุท รปราการ ปากแม่นํ า้ ท่า จี น จัง หวัด สมุทรสาคร และปากแม่นํ ้าแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม เพราะโดยตลอดเส้ นทางนํ ้าจะมีกิจกรรมต่างๆ ตลอดสอง ฝั่ งลํานํ ้า เช่น แหล่งชุมชน ตัวเมือง อุตสาหกรรม ท่าเทียบเรื อสินค้ า พื ้นที่เกษตรกรรม และพื ้นที่เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า เป็ น ต้ น ถ้ าของเสียและสารพิษนี ้จะไหลลงสูแ่ ม่นํ ้าก็จะเป็ นมลพิษต่อนํ ้าทะเลและดินตะกอนด้ วย274 2) อ่าวไทยฝั่ งตะวันออก ในบริ เวณอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกของไทยครอบคลุมพื ้นที่ 4 จังหวัด คือ จังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง และ ชลบุรี บริ เวณนี ้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลซึ่งเป็ นที่นิยม เนื่องจากมีชายหาดและเกาะต่างๆ ที่มีทศั นียภาพสวยงาม นอกจากนีย้ งั มีแหล่งนิคมอุตสาหกรรมที่สําคัญ เช่น นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง นิคมอุตสาหกรรม แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และมีท่าเทียบเรื อขนส่งสินค้ าและคลังนํ ้ามันขนาดใหญ่ รวมทังยั ้ งมีแหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า ชายฝั่ งอีกมากมายซึง่ มีวิธีการเลี ้ยงที่แตกต่างกันออกไป ทําให้ สว่ นคุณภาพนํ ้าเสื่อมโทรม ซึง่ จะพบในบริ เวณที่มีแหล่ง ุ ภาพนํ ้าอยู่ในเกณฑ์ดีนนพบในบริ ั้ เวณสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชายหาดและแนว กิจกรรมหนาแน่น แต่มีบางบริ เวณที่คณ ปะการังสมบูณ์ ส่วนคุณภาพดินตะกอนชายฝั่ งบริ เวณนี ้มีปริ มาณโลหะหนักบางชนิดที่มีค่าเกินมาตรฐานแต่ยงั ไม่มีความ เป็ นพิษต่อสิง่ มีชีวิต คือ ทองแดง สารหนู และตะกัว่ ซึง่ ตรวจพบบริ เวณอ่าวชลบุรี จังหวัดชลบุรี ปากแม่นํ ้าเวฬุ จังหวัด จันทบุรี และบริ เวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง นอกจากนี ้ยังพบปริ มาณสังกะสีและตะกัว่ ที่มีค่าเกิน มาตรฐานที่อาจจะมีความเป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลโดยจะพบในบริ เวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และแหลม ฉบัง จังหวัดระยอง ในบริ เวณนีย้ ังตรวจพบโลหะหนักจําพวกแคดเมี่ยม และปรอทในเนือ้ เยื่อของสัตว์ทะเล ได้ แก่ หอยแมลงภู่ และปู รวมทังสาร ้ PAHs ได้ ในช่วงฤดูฝน อย่างไรก็ตาม บริ เวณอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกนี ้ก็เป็ นจุดวิกฤตที่เกิดความเสื่อมโทรมของคุณภาพนํ ้าชายฝั่ ง ได้ บอ่ ย เนื่องจากกิจกรรมในบริเวณนี ้ค่อนข้ างรุนแรงและหนาแน่น จึงเป็ นพื ้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางทะเลได้ ง่าย ซึง่ บริเวณที่เป็ นพื ้นที่เสี่ยง ได้ แก่ บริเวณอ่าวชลบุรี จังหวัดชลบุรี และมาตาพุด จังหวัดระยอง 3) อ่าวไทยฝั่ งตะวันตก ้ จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ บริ เวณอ่าวไทยฝั่ งตะวันตกครอบคลุมชายฝั่ ง 7 จังหวัด เริ่ มตังแต่ ธานี นครศรี ธรรมราช พัทลุง สงขลา นราธิวาส และปั ตตานี คุณภาพนํ ้าบริ เวณนี ้อยู่ในเกณฑ์ดี แต่มีอยู่บางบริ เวณที่มี ความเสื่อมโทรมโดยเฉพาะบริ เวณปากแม่นํ ้าที่มีแหล่งที่ตงชุ ั ้ มชนและมีแหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าชายฝั่ งที่เลี ้ยงกันอย่าง หนาแน่น ยังพบคราบนํ ้ามันในบริ เวณที่เป็ นแหล่งจอดเรื อประมง นอกจากนี ้ ยังพบว่าบริ เวณแหล่งเลี ้ยงหอย ณ ปาก คลองบ้ านบางตะบูน บ้ านแหลม อ่าวบ้ านดอน มีปริ มาณแบคทีเรี ยชนิด Vibrio parahaemolyticus275 สูง โดยเฉพาะ 274

กรมควบคุมมลพิษ. 2548. สรุ ปสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยปี 2548. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม, กรุงเทพฯ. 275 เชื ้อ Vibrio parahaemolyticus เป็ นแบคทีเรี ย รูปแท่ง อาศัยอยูใ่ นนํ ้าทะเลและนํ ้ากร่อย สามารถพบได้ ในตัวกุ้ง หอย ปลา และปู หลายชนิด ก่อโรคอาหารเป็ นพิษหรื อทางเดินอาหารอักเสบ (ศรี วรรณา หัทยานานนท์. 2550. ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับโรคติดต่อเชื ้อและพาหะนํา

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


143

อย่างยิ่งบริ เวณอ่าวบ้ านดอน ซึ่งเป็ นแหล่งเลี ้ยงหอยนางรมทําให้ มีปริ มาณแบคทีเรี ยชนิดนี ้สูงถึง 300 CFU ต่อ มิลลิลติ ร276 จึงอาจมีความเสี่ยงที่จะทําให้ ผ้ บู ริโภคหอยนางรมสดเกิดโรคอาหารเป็ นพิษได้ ดินตะกอนบริเวณนี ้พบปรอทที่เกินมาตรฐานแต่ยงั ไม่มีความเป็ นพิษต่อสิง่ มีชีวิตซึง่ พบในบริ เวณหาดสมิหลา จังหวัดสงขลา นอกจากนี ้ยังพบสารหนูบริ เวณปากแม่นํ ้าปั ตตานี และยังพบค่าตะกัว่ เกินมาตรฐานที่อาจจะมีความ เป็ นพิษต่อสิง่ มีชีวิตในบริเวณคลองกระแดะ จังหวัดสุราษฎร์ ธานีด้วย 3.4.2.2 ชายฝั่ งอันดามัน ในบริ เวณชายฝั่ งทะเลอันดามันครอบคลุมพื ้นที่ 6 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และ สตูล พื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญ เป็ นที่นิยมของนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติ ทําให้ มีการพัฒนา กิจกรรมบริ เวณชายฝั่ งขึ ้นเพื่อรองรับปริ มาณนักท่องเที่ยว เช่น ร้ านอาหาร โรงแรมหรื อรี สอร์ ท ท่าเทียบเรื อ นอกจากนี ้ ยังเป็ นแหล่งที่ตงถิ ั ้ ่นฐานของชุมชน ท่าเทียบเรื อสินค้ า ท่าเรื อประมง แพปลา แหล่งประมงทะเล แหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์ นํ ้า โรงงานอุตสาหกรรม และพื ้นที่เกษตรกรรม เป็ นต้ น กิจกรรมต่างๆ เหล่านี ้ส่งผลให้ คณ ุ ภาพนํ ้าชายฝั่ งเสื่อมโทรม ั้ แต่ถึงกระนัน้ คุณภาพนํ ้าส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมากคือ บริ เวณที่มีกิจกรรมชายฝั่ งน้ อย และเป็ นบริ เวณที่ตงของ อุทยานแห่งชาติทางทะเล ส่วนดินตะกอน พบปริ มาณตะกัว่ และปรอทบริ เวณหาดชาญดําริ ปากนํ ้าระนอง โดยมีค่าเกินมาตรฐานซึ่ง อาจจะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล ส่วนบริ เวณหาดบ้ านปากบารา จังหวัดสตูล พบสารหนูและปรอทเกินค่า มาตรฐานที่อาจจะมีความเป็ นพิษต่อสิง่ มีชีวิตในทะเลได้ 3.4.3 ปั ญหาและมูลค่าที่สญ ู เสียด้ านสิง่ แวดล้ อมทางทะเล สาเหตุของปั ญหาด้ านสิ่งแวดล้ อมบริ เวณชายฝั่ งส่วนใหญ่จะเกิดจากแหล่งกําเนิดมลพิษที่มาจากกิจกรรม บริ เวณชายฝั่ งและจากแผ่นดิน ที่สามารถและไม่สามารถระบุแหล่งที่ก่อให้ เกิดมลพิษได้ อย่างไรก็ตามมลพิษต่างๆ ที่ เกิดขึ ้นมักก่อให้ เกิดปั ญหาต่างๆ ทังในระยะสั ้ นและในระยะยาวได้ ้ อย่างต่อเนื่อง โดยแบ่งปั ญหาสิ่งแวดล้ อมทะเลและ ชายฝั่ ง ได้ ดงั นี ้ 3.4.3.1 ปั ญหาการรั่วไหลของนํ ้ามัน (Oil spill) 277 1) สาเหตุของปั ญหา การรั่วไหลของนํ ้ามันในบริ เวณชายฝั่ งและทะเลของไทยมีสาเหตุเกิดมาจากเหตุการณ์ ต่างๆ หลายกรณี ได้ แก่ เกิดจากอุบตั ิเหตุการโดนกันของเรื อขนส่งนํ ้ามันและเรื อสินค้ า เช่น กรณีเรื อโดนกัน การอับปางของเรื อ เป็ นต้ น โรค. สาระน่ ารู้ เกี่ยวกับเชือ้ Vibrio parahaemolyticus. แหล่งที่มา : http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=890, 5 กันยายน 2550.) 276 CFU คือ Colony forming Unit เป็ นหน่วยนับจํานวนแบคที่เรี ยภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ ซึง่ ผลจากการนับจะได้ CFU ต่อ มิลลิลิตร 277 “การรั่วไหลของนํ ้ามัน” เกิดจากอุบตั ิเหตุทางเรื อ เช่น เรื อโดนกัน การอับปางของเรื อ และกิจกรรมการเดินเรื อ ได้ แก่ การถ่าย นํ ้ามันเครื่ อง การระบายนํ ้าในท้ องเรื อ การขนถ่ายนํ ้ามัน การขุดเจาะก๊ าซธรรมชาติและนํ ้ามันในทะเล (กรมควบคุมมลพิษ. 2550. เกร็ ดความรู้ มลพิษในทะเล. ส่วนแหล่งนํ ้าทะเล กรมควบคุมมลพิษ. แหล่งที่มา: http://www.pcd.go.th/info_serv/water_marine.html, 4 มิถนุ ายน 2550.)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


144

การถ่ายนํ า้ มันระหว่างเรื อกับท่าเทียบเรื อ หรื อเรื อกับเรื อ การแอบทิง้ นํ า้ ที่ปนนํ า้ มันในท้ องเรื อ หรื อแอบถ่าย นํ ้ามันเครื่ องลงสู่ทะเล การขุดเจาะนํ ้ามันหรื อขุดสํารวจปิ โตรเลียมในทะเล เกิดจากการรั่วไหลของปิ โตรเลียมโดย ธรรมชาติ เกิดจากการลักลอบขนถ่ายนํ ้ามันในทะเล เกิดจากการทิ ้งนํ ้ามันจากแหล่งชุมชน เป็ นต้ น 2) สถานการณ์ การรัว่ ไหลของนํ้ามัน ้ ปี 2516-2545 กรมควบคุมมลพิษ (2550)278 รายงานว่าการรั่วไหลของนํ ้ามันลงสูท่ ะเลไทยที่เกิดขึ ้นตังแต่ พบว่ามีการรั่วไหลของนํ ้ามันสูท่ ะเลและชายฝั่ งถึง 92 ครัง้ โดยการรั่วไหลครัง้ ใหญ่ที่สดุ เกิดขึ ้น 4 ครัง้ ได้ แก่ การรั่วไหล ของนํ ้ามันดิบ 3 ครัง้ เกิดจากการรั่วไหลระหว่างการขนถ่ายนํ ้ามันดิบจากเรื อและท่อส่งถ่ายนํ ้ามันสู่เรื อบรรทุกนํ ้ามัน และอีก 1 ครัง้ เป็ นการรั่วไหลของนํ ้ามันดีเซลเกิดจากการชนกันของเรื อบรรทุกนํ ้ามัน ซึง่ การรั่วไหลแต่ละครัง้ มีปริ มาณ นํ ้ามันลงสูท่ ะเลมากกว่า 1 หมื่นลิตร อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การรั่วไหลของนํ ้ามันในช่วงเวลาดังกล่าวมีสาเหตุมา จากการลักลอบทิ ้งนํ ้ามันเป็ นส่วนใหญ่ ยังมีสาเหตุมาจากอุบตั ิเหตุเรื อชนกันและอุบตั ิเหตุเพลิงไหม้ ความผิดพลาด ระหว่างการปฏิบตั ิงานของเจ้ าหน้ าที่ เช่น การรั่วไหลขณะสูบถ่ายและการซ่อมแซมถังนํ ้ามันโดยขาดความระมัดระวัง นอกจากนี ้ยังเกิดจากการชํารุ ด เสียหายของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ถังเก็บนํ ้ามันเสื่อมสภาพ ท่อขนถ่ายรั่ว และวาล์วปิ ด เปิ ดชํารุด เป็ นต้ น ในช่วงปี 9 ปี ที่ผา่ นมา (2540-2549) ประเทศไทยมีความถี่ในการเกิดการรั่วไหลของนํ ้ามันบ่อยครัง้ ซึง่ ในปี 2542 เกิดการรั่วไหลของนํ ้ามันถึง 18 ครัง้ ในบริเวณแม่นํ ้าเจ้ าพระยา จังหวัดสมุทรปราการ ได้ แก่ ท่าเรื อบริ ษัท ไทยเซ นทรัลเคมี จํากัดและท่าแพขนานยนต์ ส่วนจังหวัดชลบุรีเกิดขึ ้นที่เกาะจวง ท่าเรื อศรี ราชาฮาเบอร์ อ่าวอุดมและจุดจอด เรื อทิศเหนือเกาะสีชงั จังหวัดระยองเกิดขึ ้นที่ท่าเทียบเรื อบริ ษัทอุตสาหกรรมปิ โตรเคมิคลั ไทย จํากัดที่หาดดวงเดือนหาดทรายแก้ ว และเกิดขึ ้นที่อ่าวฉลองจังหวัดภูเก็ต279 แต่ถึงกระนัน้ ในช่วงปี ดังกล่าวมีความถี่ของนํ ้ามันรั่วจะเกิดขึ ้น ในบริเวณแม่นํ ้าเจ้ าพระยาบ่อยครัง้ ที่สดุ เนื่องจากบริ เวณนี ้มีกิจกรรมที่เป็ นท่าเทียบเรื อ ที่ตงโรงงานอุ ั้ ตสาหกรรมหนักเบา และเป็ นแหล่งชุมชนที่อาศัยกันอย่างหนาแน่น จึงทําให้ บริ เวณดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงต่อการรั่วไหลของนํ ้ามันใน ทุกๆ ปี 3) ผลกระทบต่อสิ่ งมี ชีวิตและสภาพแวดล้อม (1) สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อาศัยในบริ เวณชายฝั่ งบางชนิดมีความเปราะบางและง่ายต่อการถูกทําลาย ซึ่ง ผลกระทบในระยะสันคื ้ อ เมื่อทะเลและชายฝั่ งได้ รับผลกระทบจากคราบนํ ้ามันที่เคลือบบนผิวนํ ้าจะไปขัดขวางการ ถ่ายเทก๊ าซออกซิเจนระหว่างนํ ้าและอากาศทําให้ สตั ว์นํ ้าขาดออกซิเจน แล้ วคราบนํ ้ามันจะไปปิ ดกันแสงสว่ ้ างที่สอ่ งลง มาสูพ่ ื ้นท้ องนํ ้ามีผลต่อขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชนํ ้า นอกจากนี ้นํ ้ามันที่ความเข้ มข้ นสูงอาจทําให้ สตั ว์นํ ้าตายได้ (ความเข้ มข้ น 1-3 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็ นเวลานานกว่า 96 ชัว่ โมง) นํ ้ามันที่มีความหนาแน่นสูงเมื่อจมลงสูพ่ ื ้นท้ องทะเล ก็จะมีผลต่อสัตว์หน้ าดินด้ วย ส่วนผลกระทบในระยะยาว คือ คราบนํ ้ามันจะถูกดูดซึมเข้ าไปในร่างกายมีผลยับยังการ ้ สืบพันธุ์และการเจริ ญเติบโตของสัตว์ นํา้ โดยเฉพาะไข่ของนกจะไม่สามารถฟั กออกมาเป็ นตัวได้ อย่า งไรก็ตาม ผลกระทบจากการรั่วไหลของนํ ้ามันต่อสิง่ มีชีวิตอย่างมาก ดังนี ้

278

กรมควบคุมมลพิษ. 2550. สถิ ติการเกิ ดนํ า้ มันรั่ วไหลสู่แหล่งนํา้ ธรรมชาติปี 2516-2548. ประชาสัมพันธ์ . แหล่งที่ มา: http://www.marinepcd.org/, 2 กรกฎาคม 2550. 279 อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 278.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


145

- ทรัพยากรป่ าชายเลน เป็ นระบบนิเวศที่มีความสําคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ได้ ผลกระทบจากการ รั่วไหลของนํ ้ามันจากการที่นํ ้ามันไปปกคลุมรากต้ นไม้ ทําให้ การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดน้ อยลงซึง่ จะทําให้ ป่าชายเลน เสื่อมโทรมลง ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ ป่าชายเลนลดลง - ปะการัง จะได้ รับผลกระทบจากคราบนํ ้ามันโดยจะไปเกาะกับตัวปะการัง (Zooxanthellae) ทําให้ การแลกเปลี่ยนอาหารและก๊ าซน้ อยลงจนปะการังตายในที่สดุ - หญ้ าทะเลก็ได้ รับผลกระทบจากคราบนํ ้ามันเช่นกัน โดยช่วงเวลานํ ้าลงคราบนํ ้ามันจะไปเกาะและ เคลือบตามผิวใบทําให้ การแลกเปลี่ยนก๊ าซออกซิเจนที่ละลายนํ ้าน้ อยลง ก็ทําให้ หญ้ าทะเลบริ เวณนันมี ้ ความเสื่อม โทรมลง - สัตว์หน้ าดิน ได้ รับผลกระทบจากจากคราบนํ ้ามันโดยคราบนํ ้ามันจะไปเกาะหรื อสอดแทรกระหว่าง อนุภาคของทรายและโคลน ทําให้ สญ ู เสียลักษณะทางกายภาพของทรายและโคลน นอกจากนี ้ คราบนํ ้ามันที่เคลือบ อยู่บริ เวณผิวของพื ้นทรายและโคลนจะไปขัดขวางการไหลเวียนของก๊ าซออกซิเจนระหว่างอากาศกับพื ้นที่ทรายและ โคลน ทําให้ สตั ว์หน้ าดินขาดออกซิเจนในการหายใจจนตายในที่สดุ - นกที่อาศัยในระบบนิเวศก็ได้ รับผลกระทบจากการรั่วไหลของนํ ้ามันเช่นกัน โดยปกติแล้ วนกทะเล จะหากินบริ เวณผิวหน้ าทะเลและหาดทราย จึงมีความเสี่ยงที่นกเหล่านี ้จะสัมผัสกับคราบนํ ้ามันโดยตรง คราบนํ ้ามัน จะไปเคลือบขนของนกทําให้ นกตายในที่สดุ - สัตว์นํา้ อื่นๆ เช่น สัตว์นํา้ จากการเพาะเลี ้ยงชายฝั่ ง และสัตว์นํา้ ที่ว่ายนํา้ อย่างอิสระในทะเล จะ ได้ รับผลกระทบโดยตรงจากคราบนํ ้ามันที่รั่วไหลในทะเล คราบนํ ้ามันเหล่านี ้จะไปอุดตันในช่องเหงือกของสัตว์นํ ้า ทํา ให้ การไหลเวียนเลือดผิดปกติ และจะไปปะปนกับแพลงก์ ตอนพืชและสัตว์ ที่ล่องลอยอยู่ในกระแสนํา้ เมื่อสัตว์นํา้ บริ โภคเข้ าไปอาจตายได้ เนื่องจากอาหารเป็ นพิษ อย่างไรก็ตาม สารพิษต่างๆ ที่อยู่ในนํ ้ามันจะไปตกค้ างในเนื ้อเยื่อ ของสัตว์นํ ้าโดยจะถูกถ่ายทอดทางห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) และจะส่งผลกระทบต่อผู้บริ โภคขันสู ้ งสุด (Top Consumer) (2) คราบนํ า้ มัน ยัง ส่ ง ผลให้ สภาพแวดล้ อ มของชายฝั่ ง และทะเลเสื่ อ มโทรม โดยเป็ นมลพิ ษ ที่ แพร่กระจายและสะสมในสภาพแวดล้ อมที่ตา่ งๆ เช่น สะสมในดินตะกอนบริเวณพื ้นท้ องทะเล ละลายและยึดเกาะเป็ น แผ่นฟิ ล์มบางๆ เคลือบอยู่บนผิวนํ ้าทะเล ทําให้ อตั ราการแลกเปลี่ยนก๊ าซระหว่างนํ ้าและอากาศน้ อยลง คุณภาพนํ ้าใน บริเวณนันจะเสื ้ ่อมโทรมลงในที่สดุ 4) มูลค่าที ส่ ูญเสียด้านสิ่ งแวดล้อมทางทะเลจากการรัว่ ไหลของนํ้ามัน มลพิษจากการรั่วไหลของนํ ้ามันมีค่าใช้ จ่ายในการกําจัด ฟื น้ ฟู และป้องกันสูงมาก จึงนับเป็ นการสูญเสีย ผลประโยชน์ของชาติทงทางตรงและทางอ้ ั้ อม อย่างไรก็ตาม กรมควบคุมมลพิษเป็ นหน่วยงานหลักด้ านสิ่งแวดล้ อมที่มี การศึกษาและกําหนดมาตรฐานสิ่งต่างๆ รวมถึงการประเมินมูลค่าความเสียหายของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติใน ประเทศไทย โดยการประเมิน เป็ นมูลค่า เพื่ อ นํ า แนวคิ ดที่ ว่า ‘ผู้ก่อ ให้ เกิ ดมลพิษ รั บ ผิด ชอบต่อ ความเสีย หายของ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ถูก ทํ า ลาย’ และนํ า ไปใช้ ใ นการคิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ยในการฟื ้น ฟู แ ละจัด ลํ า ดับ ความสํ า คัญ ของ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อใช้ ในการวางแผนป้องกันจากกรณีนํ ้ามันรั่วไหลในทะเลด้ วย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


146

อย่างไรก็ตาม กรมควบคุมมลพิษ280 ได้ มีการศึกษาและประเมินมูลค่าสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรทางทะเล ที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่ได้ รับผลกระทบจากการรั่วไหลของนํ ้ามันในบริ เวณอ่าวไทย (ตารางที่ 3-25) ซึ่งมูลค่าที่ต้อง สูญเสียไปเนื่องจากได้ รับผลกระทบจากคราบนํ ้ามัน ได้ แก่ ป่ าชายเลนประมาณ 183,600 บาทต่อไร่ ส่วนปะการังและ หญ้ าทะเลประมาณ 4,700 และ 9,600 บาทต่อตารางเมตร ตามลําดับ และสัตว์นํา้ อื่นๆ ในทางการประมงจะคิด มูลค่าการสูญเสียซึง่ คํานวณจากปริมาณสัตว์นํ ้าที่จบั ได้ กบั ราคาปั จจุบนั ที่จบั สัตว์นํ ้าชนิดนันๆ ้ ตารางที่ 3-25 สรุปมูลค่าสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ที่จะได้ รับผลกระทบจากกรณี นํ ้ามันรั่วไหล เฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนในและอ่าวไทยฝั่ งตะวันออก รายละเอียด 1. ทรัพยากรป่ าชายเลน 2. ทรัพยากรปะการัง 2.1 มูลค่าการฟื น้ ฟูทรัพยากร ปะการัง 2.2 มูลค่าความเสียหายของ ทรัพยากรปะการัง 3. ทรัพยากรหญ้ าทะเล 4. ทรัพยากรชายหาด 4.1 มูลค่าการฟื น้ ฟูหาดทราย 4.2 มูลค่าการฟื น้ ฟูหาดโคลน 5. นกในระบบนิเวศทางทะเล 5.2 มูลค่าการฟื น้ ฟูและรักษา 5.2 มูลค่าการทดแทน 6 การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าชายฝั่ ง 6.1 การเพาะเลี ้ยงหอยแมลงภู่ 6.2 การเพาะเลี ้ยงหอยนางรม 6.3 การเพาะเลี ้ยงหอยแครง 6.4 การเลี ้ยงปลาในกระชัง 6.5 การเพาะเลี ้ยงกุ้งกุลาดํา 6.6 การเพาะเลี ้ยงกุ้งขาว 7. การประมงพื ้นบ้ านใกล้ ฝั่ง 7.1 อวนปู 7.2 ลอบปู 7.3 ลอบหมึก 7.4 อวนปลา

มูลค่ า 183,568

หน่ วย บาท/ไร่

หมายเหตุ ไม่ร่วมความเสียหายของทรัพยากรสัตว์นํ ้า

2,316

บาท/ตารางเมตร/ปี

4,633

บาท/ตารางเมตร/ปี

ไม่รวมค่าเสียหายของทรัพยากรสัตว์นํ ้า และการติดตามตรวจสอบและซ่อมแซม ไม่รวมค่าเสียหายของทรัพยากรสัตว์นํ ้า

9,639

บาท/ตารางเมตร/ปี

ไม่รวมค่าเสียหายของทรัพยากรสัตว์นํ ้า

1,542,000 6,822,000

บาท/ทราย 2,000ลบ.เมตร/ปี บาท/โคลน 2,000ลบ.เมตร/ปี

ไม่รวมค่าเสียหายของทรัพยากรสัตว์นํ ้า ไม่รวมค่าเสียหายของทรัพยากรสัตว์นํ ้า

78,456,000 30,133,700

บาท/นก100ตัว/ปี บาท/นก100ตัว/ปี

8.3 3.6-3.7 17.5 165-170 180-205 112.5-115

บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม

75-135 80-120 85-130 40-55

บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม

280

กรมควบคุมมลพิษ. 2546. สรุ ปมูลค่ าสิ่งแวดล้ อมและทรั พยากรธรรมชาติท่ มี ีชีวิตและไม่ มีชีวิตที่จะได้ รับผลกระทบจาก กรณี นํ า้ มั น รั่ วไหล เฉพาะบริ เ วณอ่ า วไทยตอนในและอ่ า วไทยฝั่ งตะวั น ออก. ส่ ว นแหล่ ง นํ า้ ทะเลกรมควบคุม มลพิ ษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


147

นอกจากนี ้ ยังมีทรัพยากรบางประเภทที่ได้ รับผลกระทบจากคราบนํ ้ามันแล้ วจะต้ องทําการฟื น้ ฟูให้ กลับสู่ สภาพสมดุล ได้ แก่ ปะการังประมาณ 2,300 บาทต่อตารางเมตร หาดทรายและหาดโคลนประมาณ 1,542,000 และ 6,822,000 บาทต่อสองพันลูกบาศก์เมตร และนกทะเลประมาณ 78,456,000 บาทตัวต่อนกหนึง่ ร้ อยตัว 3.4.3.2 ปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง (Coastal Erosion) การกัดเซาะชายฝั่ ง เป็ นปั ญหาที่ทําให้ ที่ดินหรื อแผ่นดินบริ เวณชายฝั่ งทะเลถูกนํา้ ทะเลหรื อคลื่นกัดเซาะ ทําลายลงอย่างช้ าๆ จากอดีตจนถึงปั จจุบนั ทําให้ ที่ดินบริ เวณชายฝั่ งสูญหายไปเป็ นจํานวนมาก ทําให้ เกิดการสูญเสีย ที่ดินเพื่อกิจกรรมชายฝั่ งประเภทต่างๆ ต่อเนื่องมายาวนาน แต่ถึงกระนัน้ การกัดเซาะชายฝั่ งเป็ นประเด็นที่คนไทยทุก คนในยุค ปี 2550 ได้ ให้ ความสนใจในสาเหตุ วิธีการแก้ ไขปั ญหา และแนวทางในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง ซึง่ มี รายละเอียดดังนี ้ 1) สาเหตุของปั ญหา สาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่ งในประเทศไทยแบ่งเป็ น 2 ประเภท ดังนี ้ (1) สาเหตุตามธรรมชาติที่ก่อให้ เกิดการกัดเซาะชายฝั่ งเป็ นประเด็นที่สําคัญอย่างมากที่นกั จัดการ จะต้ องให้ ความสนใจ เนื่องจากแนวชายฝั่ งของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ โดยได้ รับอิทธิ พลจาก คลื่น ลมพายุ กระแสนํ ้า และระดับนํ ้าขึ ้น-ลง เป็ นขบวนการหนึ่งที่ทําให้ เกิดการกัดเซาะและการพัดพาของตะกอนลง ในทะเล และก่อให้ เกิดเป็ นพื ้นที่ชายฝั่ งลักษณะต่างๆ ซึ่งทางคณะกรรมการวิชาการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง และลํานํ ้าได้ ชี ้แจงสาเหตุการกัดเซาะชายฝั่ ง281 ดังนี ้ - คลื่นจะมีอิทธิพลต่อชายฝั่ งทังบริ ้ เวณอ่าวไทยและอันดามันของไทย โดยเฉพาะบริ เวณที่มีลกั ษณะ โล่งไม่มีพืชพรรณปกคลุม ขนาดของคลื่นของทังสองชายฝั ้ ่ งขึ ้นอยู่กบั ขนาดของลมพายุที่พดั ผ่านประเทศไทยในแต่ละ ฤดูกาล เช่น ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่มีกําลังแรง ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อชายฝั่ งอ่าวไทย ส่วนลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ จะมีอิทธิพลต่อการกัดเซาะชายฝั่ งบริเวณอันดามัน - กระแสนํ ้าและระดับนํ ้าขึ ้น-ลงมีอิทธิพลต่อการกัดเซาะชายฝั่ ง โดยเฉพาะกระแสนํ ้าขึ ้นลงแบบชนิด นํ ้าเดี่ยวจะมีการไหลแรงกว่าชนิดนํา้ คู่ นอกจากนีค้ ่าความแตกต่างของระดับนํ ้าขึน้ ลงก็มีผลต่อการกัดเซาะ โดย บริ เวณอ่าวไทยและอันดามันจะมีคา่ ความแตกต่างระหว่างนํ ้าขึ ้นและลงไม่เท่ากัน จึงทําให้ การกัดเซาะชายฝั่ งและการ สะสมของตะกอนของทังสองฝั ้ ่ งไม่เหมือนกันด้ วย - ลมมรสุมที่พดั ผ่านชายฝั่ งทะเลทัง้ สองจะแตกต่างกันในบริ เวณอ่าวไทยจะได้ รับอิทธิ พลจากลม มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์และลมตะวันตกเฉียงใต้ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ส่วน ฝั่ งอันดามันจะได้ รับลมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายนจะทําให้ ฝนตกชุกและมีคลื่นลมแรง บริ เ วณชายฝั่ งทะเล อัน จะก่อ ให้ เกิ ดการเปลี่ย นแปลงของแนวชายฝั่ ง ได้ โดยเฉพาะชายฝั่ งอ่า วไทยที่ มีลัก ษณะ กายภาพที่เปิ ดโล่ง กล่าวคือไม่มีเกาะแก่งป่ าชายเลนหรื อโขดหินกันคลื่นลม จึงได้ รับผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ ง มากว่าชายฝั่ งอันดามัน

281

คณะกรรมการวิชาการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งและลํานํ ้า. มปป. ร่ าง ยุทธศาสตร์ การจัดการป้องกันการกัดเซาะ ชายฝั่ ง (เอกสารไม่ ได้ ตีพมิ พ์ เผยแพร่ ). กรมทรัพยากรธรณี, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


148

- การเพิ่มขึ ้นของระดับนํ ้าทะล มีสาเหตุสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ทําให้ การ ขยายตัว ของนํ า้ ในมหาสมุท รและการละลายของนํ า้ แข็ ง ประกอบกับ การเคลื่ อ นไหวของเปลื อ กโลกทํ า ให้ แ อ่ง มหาสมุทรซึง่ เป็ นเหมือนภาชนะรับนํ ้ามีรูปร่างเปลี่ยนไป282 จากงานวิจยั ของเครื อข่ายงานวิเคราะห์วิจยั และฝึ กอบรม การเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ได้ ศึกษาและสํารวจการเพิ่มขึน้ ของระดับนํา้ ทะเล ประเทศไทย พบว่า ปั จจุบนั นี ้ระดับนํ ้าทะเลในอ่าวไทยเพิ่มขึ ้น 1.2 มิลลิเมตรต่อปี ในขณะที่ฝั่งอันดามันเพิ่มขึ ้น 8-12 มิลลิเมตรต่อปี ซึ่งมีผลอย่างมาต่อการกัดเซาะชายฝั่ ง283 หากนํ า้ ทะเลมี แนวโน้ มสูง ขึน้ อี กด้ วยปรากฏการณ์ ทาง ธรรมชาติในอนาคตกระบวนการกัดเซาะก็จะทวีความรุนแรงขึ ้นด้ วย ซึง่ พื ้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการกัดเซาะคือ พื ้นที่ที่ เป็ นที่ราบ เช่น ป่ าชายเลน และหาดโคลน (2) สาเหตุจากมนุษย์ที่ก่อให้ เกิดการกัดเซาะชายฝั่ งประกอบด้ วย - การพัฒนาพื ้นที่ชายฝั่ งเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ทําให้ กิจกรรมชายฝั่ งขยายตัวสูงขึ ้น เช่น การขยายตัว ของชุมชน การพัฒนาสาธารณูปโภค การก่อสร้ างที่ อยู่อาศัย ได้ แก่ คอนโดมิเนี ยม บังกะโล บ้ านพักตากอากาศ ตลอดจนการพัฒนาและการขยายตัวด้ านโครงสร้ างพื ้นฐาน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินบริ เวณชายฝั่ ง ทะเลในรู ปแบบต่างๆ เหล่านี ้มีผลกระทบต่อการสูญเสียสมดุลทางธรรมชาติของสิ่งแวดล้ อมชายฝั่ งทะเล นอกจากนี ้ การใช้ ประโยชน์ที่ดินที่ผิดประเภท หรื อไม่สอดคล้ องกับสมรรถนะที่ดิน เช่น การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่าชายเลนไปเป็ น พื ้นที่การเพาะเลี ้ยงกุ้ง ทําให้ ไม่มีแนวป่ าชายเลนช่วยป้องกันคลื่นลมตามธรรมชาติ ทําให้ บริ เวณนันง่ ้ ายต่อการถูกกัด เซาะได้ มากขึ ้น - การพัฒนาในพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลขนาดใหญ เช่น การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมอาจจะต้ องมีการถม ทะเลและสร้ างสิ่งก่อสร้ างขนาดใหญ่ในทะเล ซึ่งจะกีดขวางกระบวนการเคลื่อนตัวของมวลทรายชายฝั่ งทะเล ทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพพื ้นที่ชายฝั่ งทะเล และเกิดปั ญหาแผ่นดินทรุด ซึง่ มักทําให้ เกิดการกัดเซาะพื ้นที่ชายฝั่ งทะเล บริเวณดังกล่าวมากขึ ้น รวมทังการก่ ้ อสร้ างถนนและทางรถไฟขนานกับแนวชายฝั่ งทะเล เป็ นสาเหตุที่ทําให้ ตะกอนบน บกไม่สามารถเคลื่อนตัวสูช่ ายหาดได้ ตามธรรมชาติ - การสร้ างกําแพงกันคลื่น (Seawall) เขื่อนดักตะกอน (Groin) เขื่อนหินทิ ้ง (Revetment) และแนว หินทิ ้ง (Riprap) ในบริ เวณหนึ่งก่อให้ เกิดผลกระทบต่อพื ้นที่ใกล้ เคียงได้ เช่น อาจเกิดการกัดเซาะพื ้นที่ชายฝั่ งบริ เวณ ้ อสร้ าง ท้ ายนํ ้า เนื่องจากตะกอนที่เคยพัดมาสะสมถูกดักและตกตะกอนอยู่ที่เขื่อนดักตะกอน นอกจากนันการก่ ถาวรวัตถุเพื่อการป้องกันชายฝั่ งยังทําให้ ความลาดชันของชายหาดสูงขึ ้น จึงเป็ นการเร่งให้ เกิดการกัดเซาะชายฝั่ งมาก ขึ ้น 2) สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่ ง การกัดเซาะชายฝั่ งเป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นมาตังแต่ ้ อดีต และมีความรุนแรงมากขึ ้น อีกทังเป็ ้ นประเด็นที่ นักวิชาการให้ ความสนใจศึกษาและติดตามสถานการณ์ในปั จจุบนั ซึ่งเกิดขึ ้นทังในชายฝั ้ ่ งอ่าวไทยและชายฝั่ งอันดา มัน ซึง่ จะอธิบายดังต่อไปนี ้

282

สิน สินสกุล และคณะ. 2545. รายงานวิชาการ การเปลี่ยนแปลงพืน้ ที่ชายฝั่ งทะเลด้ านอ่ าวไทย. กองธรณีวิทยา กรม ทรัพยากรธรณีม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม. 283 อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. หนังสือพิมพ์มติชน. 2549. “โลกร้ อน” นํา้ ทะเลอันดามันสูงผิดปกติ นักวิทย์ ส่งสัญญาณเตือน ระวังภัยพิบัต.ิ มติชน (19 กรกฎาคม 2549).

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


149

(1) ชายฝั่ งอ่าวไทย การกัดเซาะชายฝั่ งทะเลด้ านอ่าวไทยเกิดขึน้ ในทุกจังหวัดแบ่งตามประเภทความรุ นแรงของการกัด เซาะ284 ดังนี ้ - พื ้นที่กดั เซาะรุ นแรง คือ พื ้นที่ที่มีการกัดเซาะในอัตราเฉลี่ยมากกว่า 5 เมตรต่อปี พบว่าเกิดขึ ้นใน 12 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดจันทบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุ งเทพมหานคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ สุ ราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี และนราธิวาส ระยะทางรวม 180.9 กิโลเมตร หรื อประมาณร้ อยละ 9 ของแนวชายฝั่ งทะเลอ่าวไทย - พื ้นที่กดั เซาะปานกลาง คือ พื ้นที่ที่มีการกัดเซาะในอัตราเฉลี่ย 1–5 เมตรต่อปี พบว่าเกิดขึ ้นใน 14 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดตราด จันทบุรี ชลบุรี ระยอง สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช สงขลา ปั ตตานี และนราธิวาส ระยะทางรวม 305 กิโลเมตร หรื อประมาณร้ อยละ 16 ของแนว ชายฝั่ งทะเลอ่าวไทย อย่างไรก็ตามพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลบริ เวณอ่าวไทยตอนบนตังแต่ ้ ปากแม่นํ ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา จนถึงปากแม่นํ ้าท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร เป็ นพื ้นที่ที่มีความอ่อนไหวและมีการกัดเซาะขันรุ ้ นแรงมากที่สดุ (2) ชายฝั่ งอันดามัน การกัดเซาะชายฝั่ งทะเลด้ านอันดามันเกิดขึ ้นน้ อยกว่าชายฝั่ งทะเลด้ านอ่าวไทย พื ้นที่ที่มีการกัดเซาะ รุ นแรงในอัตราเฉลี่ยมากกว่า 5 เมตรต่อปี เกิดขึ ้นใน 5 จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ระยะทางรวม 91 กิโลเมตร หรื อประมาณร้ อยละ 9 ของแนวชายฝั่ งทะเลอันดามัน การกัดเซาะชายฝั่ งทะเลอันดามันนี ้ จะเกิดขึ ้นในบริเวณพื ้นที่หาดทรายมากกว่าพื ้นที่ราบ อย่างไรก็ตาม การกัดเซาะชายฝั่ งเป็ นปั ญหาที่วิกฤติ มีความรุนแรงเพิ่มขึ ้นจนเป็ นประเด็นที่ได้ รับความ สนใจจากนักวิชาการและนักจัดการหลายฝ่ าย แต่สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่ งที่เห็นได้ ชดั ในปี 2550 นี ้คือ บริ เวณ ชุมชนบ้ านขุนสมุทรจีน ตําบลแหลมฟ้าผ่า อําเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ที่ประสบปั ญหาการกัดเซาะ ถึงขันรุ ้ นแรงมาเป็ นเวลายาวนาน และชาวบ้ านได้ รับความเดือดร้ อนหลายครัวเรื อนจนต้ องมีการอพยพหนีนํ ้ามาแล้ ว ในรอบ 20 ปี ที่ผ่านมา การกัดเซาะบริ เวณนีเ้ ฉลี่ยประมาณ 25 เมตรต่อปี หรื อภายใน 28 ปี ชายฝั่ งถูกกัดเซาะไป ประมาณ 700 เมตร ซึง่ ในช่วงปี 2510-2548 พื ้นที่บริเวณนี ้ถูกกัดเซาะไปทังสิ ้ ้นประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร285 ส่งผล กระทบต่อการประกอบอาชีพของชาวประมง เพราะทําให้ ปริ มาณการจับสัตว์ได้ ลดลง จึงไม่ค้ มุ กับการลงทุนออกไป จับสัตว์นํ ้า286 นอกจากนี ้ โบสถ์ของวัดขุนสมุทรทราวาส จังหวัดสมุทรปราการถูกนํ ้าทะเลท่วมไปแล้ วลึกประมาณ 1 เมตร ซึ่งเดิมทีวดั แห่งนี ้มีพื ้นที่ประมาณ 112,000 ตารางเมตร (ปี 2510) แต่ถกู กัดเซาะจนเหลือ 8,000 ตารางเมตร (ในปี 2549) เท่านัน้ หากไม่มีมาตรการหรื อการจัดการการกัดเซาะชายฝั่ งอย่างจริ งจังอีก 20 ปี ข้ างหน้ าบริ เวณนี ้จะ ถูกนํ า้ ทะเลกัดเซาะเพิ่มขึน้ อีกประมาณ 2,000 ตารางเมตร อย่างไรก็ตาม พื น้ ที่ บริ เวณนี ก้ ็ไ ด้ รับความสนใจจาก นักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเอกชนในการที่จะช่วยแก้ ไขปั ญหาและป้องกันปั ญหา อีกทังยั ้ งเร่งสนับสนุน งานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการกัดเซาะชายฝั่ งเชิงบูรณาการมากขึ ้น โดยมีสาขาร่ วมวิจัยต่างๆ เช่น อุตุนิยมวิทยา อุทก

284

คณะกรรมการวิชาการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งและลํานํ ้า, อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 247. อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 284. 286 หนังสือพิมพ์มติชน. 2550. ตะลึง "ทะเลปากนํา้ " กัดเซาะดินวัด พระใช้ โอ่ งต่ างถนนออกบิณฑบาต. มติชน (17 พฤษภาคม 2549). 285

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


150

วิทยา นิเวศวิทยาชายฝั่ ง ธรณีพิบตั ิภยั เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมชายฝั่ งและสังคม รวมถึงภูมิสถาปั ตย์ และกฎหมาย ที่ดิน นอกจากนันยั ้ งมีนกั วิจยั ท้ องถิ่นซึ่งเป็ นชุมชนในพื ้นที่เข้ าร่ วมเก็บข้ อมูลบางส่วนเพื่อสร้ างกระบวนการเรี ยนรู้ ไป ด้ วย287 3) ผลกระทบต่อสิ่ งมี ชีวิตและสิ่ งแวดล้อม (1) การกัดเซาะชายฝั่ งทะเลเกิดขึ ้นจากกิจกรรมชายฝั่ งของมนุษย์ ผลกระทบจึงเกิดขึ ้นกับกิจกรรม เหล่านัน้ ย้ อนมากลับอีกครัง้ โดยนํา้ ทะเลจะไปกัดเซาะกิจกรรมต่างๆ บริ เวณชายฝั่ ง เช่น กิจกรรมการพัฒนาและ ก่อสร้ างที่ลว่ งลํ ้าลงไปในทะเล ทําให้ เกิดการสูญเสียพื ้นที่ทํากินและความเสียหายต่อพื ้นที่ใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ ้ ด (2) การกัดเซาะชายฝั่ งทําให้ ทรัพยากรธรรมชาติชายฝั่ งทะเลเสื่อมโทรมลง ทังจากกระบวนการกั เซาะชายฝั่ งทะเลเองและการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์พื ้นที่ของมนุษย์ เป็ นปั จจัยที่เร่งให้ เกิดกระบวนการกัดเซาะ ชายฝั่ งทะเลที่รุนแรงขึน้ คณะกรรมการวิชาการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งและลํานํา้ อ้ างถึงรายงานของกรม ประมงที่ทําการสํารวจปะการังในปี 2542 พบว่าปะการังทังสองฝั ้ ่ งทะเลที่พบมีแนวโน้ มเสื่อมโทรมลง โดยเฉพาะ ชายฝั่ งทะเลอันดามันมีแนวปะการังอยู่ในสภาพเสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก ถึงร้ อยละ 48.8 ขณะที่ชายฝั่ งทะเลด้ าน อ่าวไทยปะการังอยูใ่ นสภาพเสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก 23 เปอร์ เซ็นต์สว่ นทรัพยากรหญ้ าทะเลในปี 2540 พบแหล่ง หญ้ าทะเลใน 97 พื ้นที่ของทะเลไทยใน 19 จังหวัด พบว่ามีแนวโน้ มเสื่อมโทรมลง 4) มูลค่าที ส่ ูญเสียด้านสิ่ งแวดล้อมทางทะเลจากการกัดเซาะชายฝั่ งทะเล จากผลการศึกษาวิจยั ที่ผ่านมา พบว่า หากไม่มีการดําเนินงานแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะพื ้นที่ชายฝั่ งอย่าง จริ งจัง ภายใน 25 ปี ข้ างหน้ า ที่ดินติดชายทะเลถึงแนวกันชนห่างจากฝั่ งประมาณ 500 เมตร ในพื ้นที่ 10 ตําบลทัว่ ประเทศ จํานวน 91 ตารางกิโลเมตร จะถูกนํ ้าทะเลกัดเซาะทําลาย คิดเป็ นมูลค่าความเสียหายถึง 4,657 ล้ านบาท288 3.4.3.3 ปั ญหาปรากฎการณ์นํ ้าทะเลเปลี่ยนสี (Eutrophication) “ปรากฎการณ์ นํา้ ทะเลเปลี่ยนสี” หรื อ “Eutrophication” หรื อภาษาชาวบ้ านเรี ยกว่า “ขี ป้ ลาวาฬ” คือ ปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากแพลงก์ตอนพืช (Plytoplankton) มีการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ว (Bloom) จนทําให้ นํ ้าทะเลบริ เวณนันเปลี ้ ่ยนสีไปจากนํ ้าทะเลปกติ สีที่เปลี่ยนไปจะเป็ นสีของแพลงก์ตอนพืช เช่น สีเขียว สีนํ ้าตาล สีแดง หรื อที่เรี ยกว่า Red tide นํ ้าทะเลจะมีแพลงก์ตอนจํานวนมากแขวนลอยเป็ นตะกอนสีต่างๆ เป็ นหย่อมๆ หรื อแถบยาว ตามแนวทิศทางของคลื่น ลมตามฤดูกาลและบางครัง้ จะมีกลิน่ เหม็น289

287

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . 2550. นักวิชาการไทย: วิจยั แก้ ไขการกัดเซาะชายฝั่ งหาดโคลน สําเร็ จเป็ นครัง้ แรก. ข่ าว สาระน่ ารู้. แหล่งที่มา: http://www.trf.or.th/News/Content.asp?Art_ID=811#_ftn2, 2 กรกฎาคม 2550. 288 สุรพล กฤษณามระ นิรันดร์ ชัยมณี และ ธนวัฒน์ จารุ พงษ์ สกุล. 2549. โครงการศึกษาหาสาเหตุการกัดเซาะชายฝั่ งทะเล และแนวทางการแก้ ไขป้องกันชายฝั่ งทะเลที่ได้ รับผลกระทบบริ เวณพืน้ ที่ล่ ุมนํา้ ปากพนัง จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. 289 สํานักงานสิ่งแวดล้ อมภาคที่ 11. 2550. เรื่ องสถานการณ์สงิ่ แวดล้ อม. มลพิษทางนํา้ . แหล่งที่มา: http://www.reo11.net, 22 มิถนุ ายน 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


151

1) สาเหตุของปั ญหา ปรากฎการณ์ นํา้ ทะเลเปลี่ยนสีมีสาเหตุมาจากสารอาหารในแหล่งนํ า้ มี ความอุดมสมบูณ์ไ ปด้ วยธาตุ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสที่ถกู ปล่อยปะปนกับนํ ้าทิ ้งมาจากกิจกรรมต่างๆ บนบก เช่น การเกษตร อุตสาหกรรม การ ซักล้ าง นํ ้าทิ ้งจากชุมชน เป็ นต้ น ประกอบกับปั จจัยของสิ่งแวดล้ อมเช่น แสง อุณหภูมิ และความเค็มของนํ ้าทะเลใน บริ เวณนัน้ มีความเหมาะสมต่อแพลงก์ ตอนพืช จึงเจริ ญเติบโตได้ ดีและเพิ่มจํานวนอย่างรวดเร็ ว ในบริ เวณที่เกิด แพลงก์ตอน Bloom นันเราจะเห็ ้ นนํ ้าทะเลเป็ นสีตา่ งๆ ตามชนิดของแพลงก์ตอน 2) สถานการณ์ปรากฎการณ์นํ้าทะเลเปลีย่ นสี ประเทศไทยมีรายงานว่าพบปรากฏการณ์ นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีครัง้ แรกเมื่อ พ.ศ. 2495 แต่มีผ้ สู นใจเรื่ องนี ้ น้ อยมาก จนกระทังปี ้ พ.ศ. 2526 มีรายงานความเป็ นพิษเนื่องจากแพลงก์ตอนพืชที่เป็ นสาเหตุของปรากฏการณ์นี ้ จึง ทําให้ มีผ้ สู นใจและทําการศึกษากันมากขึ ้น จากรายงานปรากฏการณ์ นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีในประเทศ ได้ ระบุชนิดของแพลงก์ตอนพืชที่เป็ นสาเหตุของ ปรากฎการณ์ เริ่ มมีรายงานในปี 2500-2544 พบว่ามีปรากฏการณ์ นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีเกิดขึ ้น 90 ครัง้ พบในบริ เวณ ชายฝั่ งของอ่าวไทยของประเทศไทยโดยเฉพาะบริ เวณปากแม่นํา้ จากสถิติพบว่าจังหวัดชลบุรีเป็ นจังหวัดที่เกิด ปรากฏการณ์นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีบ่อยที่สดุ และเกิดขึ ้นต่อเนื่องโดยเกิด 9 ครัง้ ในรอบ 44 ปี ที่ผ่านมา เพราะว่าบริ เวณนี ้ เป็ นแหล่งของกิจกรรมทางชายฝั่ งและทะเลมากมาย อีกทัง้ กิจกรรมที่เกิดจากแผ่นดินค่อนข้ างหนาแน่นจึงทําให้ สารอาหารในมวลนํ า้ มี ค วามอุด มสมบูณ์ รองลงมาเป็ นบริ เ วณอ่า วไทยตอนในบริ เ วณจัง หวัด สมุท รสาครและ สมุทรปราการเนื่องจากบริ เวณนี ้มีภมู ิประเทศเป็ นอ่าวกึ่งปิ ดจึงมีการถ่ายเทและหมุนเวียนของนํ ้าน้ อย ประกอบกับใน บริเวณนี ้เป็ นศูนย์รวมของแม่นํ ้าสายสําคัญ 4 สาย ได้ แก่ แม่นํ ้าแม่กลอง ท่าจีน เจ้ าพระยา และบางปะกง ส่วนบริ เวณ ชายฝั่ งอื่นๆ ของไทยจะพบปรากฏการณ์นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีน้อยกว่าบริเวณอื่นที่กล่าวมา290 แพลงก์ตอนที่เป็ นสาเหตุให้ เกิดปรากฏการนํ ้าทะเลเปลี่ยนสีนนแบ่ ั ้ งออกเป็ น 3 กลุม่ ได้ แก่ 1) สาหร่ ายสี เขียวแกมนํ ้าเงิน 2) ไดโนแฟลกเจลเลต 3) ไดอะตอม โดยชนิดของแพลงก์ตอนในกลุม่ ไดโนแฟลกเจลเลตที่เป็ นสาเหตุ ให้ เกิดการเปลี่ยนสีของนํ ้าทะเลมากสุดถึง 50 ครัง้ จากทังหมด ้ 90 ครัง้ คือ Noctiluca scintillans รองลงมาเป็ น Trichodesmium erythraeum จํานวน 16 ครัง้ Ceratium furca และ Chaetoceros sp. ประมาณ 9 ครัง้ Mesidinium rubrum และ Skeletonema costatum จํานวน 2 ครัง้ และ Cochlodinium spp. จํานวน 1 ครัง้ แต่พบ แพลงก์ตอนพืชชนิด Chaetoceros sp. ที่สร้ างสารพิษให้ เกิดอาการท้ องร่วง 1 ครัง้ เท่านัน้ อย่างไรก็ตาม นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีครัง้ สําคัญเกิดขึ ้นในอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกและตะวันตกในปี 2526 เกิด ขึ ้นอยูน่ านตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคมถึงมิถนุ ายน โดยช่วงเดือนแรกนํ ้าทะเลเป็ นสีเขียวปนเหลือง เนื่องจากสาหร่ายรวมตัว ลอยอยู่ที่ผิวนํ ้าซึ่งถูกลมและกระแสนํ ้าพัดพาไปเป็ นแถบยาวหลายกิโลเมตรเข้ าสู่ชายฝั่ งต่อเนื่องถึงเดือนมิถนุ ายนนํ ้า จะกลายเป็ นสีนํ ้าตาลแดงตลอดชายฝั่ งยาวประมาณ 27 กิโลเมตรและถูกคลื่นซัดขึ ้นบนหาดทรายเป็ นฟองสีนํ ้าตาล แดงและส่งกลิ่นเน่าเหม็น แล้ วส่งผลกระทบต่อฟาร์ มเลี ้ยงหอยแมลงภู่และการเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าชายฝั่ งในบริ เวณนัน้ และบริ เวณข้ างเคียง291 290

กรมควบคุมมลพิษและสถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ ้า. 2546. การตรวจเฝ้าระวังปรากฏการณ์ นาํ ้ ทะเลเปลี่ยนสีในประเทศ ไทย. กรมควบคุมมลพิษร่วมกับสถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 291 สํานักงานสิ่งแวดล้ อมภาคที่ 11, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 289.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


152

ปรากฏการณ์ นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีในอ่าวไทยเกิดขึ ้นได้ ทกุ ฤดูกาลเมื่อพิจารณาความถี่ของการเกิดตังแต่ ้ ปี 2500–2544 พบว่ามีแนวโน้ มเกิดในฤดูฝนถึง 51 ครัง้ (เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม) ส่วนในฤดูแล้ งเกิดขึ ้น 46 ครัง้ (เดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม) แล้ วจะพบบ่อยที่สดุ ในเดือนสิงหาคมถึง 13 ครัง้ 3) ผลกระทบต่อสิ่ งมี ชีวิตและสิ่ งแวดล้อม ผลกระทบที่เกิดจากปรากฏการณ์นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล และผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเล (1) ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลและมนุษย์ การเพิ่มขึ ้นของปริ มาณแพลงก์ตอนพืชมีผลให้ เกิดการ ใช้ ออกซิเจนในนํ ้าทะเลมากขึ ้น จนกระทัง่ ปริ มาณออกซิเจนที่ละลายในนํ ้าทะเลลดลงส่งผลให้ แพลงก์ตอนพืชเหล่านี ้ ตายลงพร้ อมๆ กัน ปรากฏการณ์นี ้ ทําให้ สตั ว์นํ ้าที่อาศัยอยูบ่ ริเวณนี ้ตายเนื่องจากขาดออกซิเจน หรื ออาจได้ รับพิษของ แพลงก์ ตอนพืชโดยตรง อีกทัง้ แพลงก์ ตอนพืชอาจเข้ าไปอุดตันเหงือกทําให้ กระบวนการแลกเปลี่ยนหายใจติดขัด นอกจากนี ้ยังเป็ นอันตรายต่อมนุษย์ผ้ บู ริ โภคอาหาร โดยเฉพาะในพวกหอย 2 ฝา ซึง่ พิษนันอาจจะไม่ ้ เป็ นอันตรายต่อ หอย แต่หอยจะมีการสะสมสารพิษไว้ เมื่อคนกินหอยเหล่านันเข้ ้ าไปจะแสดงอาการซึง่ พิษบางชนิดทําให้ เสียชีวิตได้ 292 (2) ผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเล การเพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ วของแพลงก์ตอนพืชมีผลต่อการเพิ่ม ปริมาณสารอินทรี ย์ หรื อปริ มาณสารอาหารแก่มวลนํ ้าและพื ้นท้ องทะเล เมื่อเวลาผ่านไปจะเกิดการเน่าเสียของนํ ้าและ พื ้นผิวทะเลมีปริมาณออกซิเจนตํ่า ปริ มาณไฮโดรเจนซัลไฟด์ในดินตะกอนสูง ทําให้ สภาวะแวดล้ อมในทะเลเสื่อมโทรม ลง สัตว์นํ ้าที่อาศัยบริ เวณหน้ าดินและเคลื่อนที่ได้ ช้าไม่สามารถทนอยู่ได้ จนตายลงในที่สดุ นอกจากนี ้ยังมีการอพยพ ย้ ายถิ่นของปลาเพื่อหาแหล่งที่มีสภาพแวดล้ อมที่ดีกว่า อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์นํ ้าทะเลเปลี่ยนสีส่งผลต่อความ สมดุลของระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ งแล้ ว ยังส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงการประกอบอาชีพของมนุษย์ โดยเฉพาะ บริเวณที่เป็ นแหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าในกระชัง หรื อเลี ้ยงหอยซึง่ มีขอบเขตการเคลื่อนที่ค่อนข้ างจํากัด จึงทําให้ ผลผลิต สัตว์นํ ้าไม่ผลตามความต้ องการ 3.4.3.4 ปั ญหาการเปลี่ยนแปลงของระดับนํ ้าทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้ อน ปั จ จุบัน นี โ้ ลกของเรามี แ นวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงของภูมิอ ากาศ 293 ไปอย่า งรวดเร็ ว และรุ น แรงมากขึน้ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกที่กําลังเพิ่มสูงขึ ้นเร็ วกว่าที่คาดคิด จากการศึกษาของ Reamruk C. (2006)294 พบว่า การเพิ่มขึ ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยทัง่ โลกประมาณพบว่าอยู่ในช่วง 0.6+0.2°C โดยในเขตศูนย์สตู รของ ทวีปเอเซีย อุณหภูมิจะเพิ่มขึ ้นอยู่ในช่วง 0.4-0.7°C โดยจะเพิ่มในอัตราสองเท่าของอุณหภูมิเฉลี่ยทัว่ โลกที่อยู่ในช่วง 292

ทะเลไทย. 2550. ภัยแอบแฝงในแม่ นาํ ้ เวฬุ. แหล่งที่มา: http://www.talaythai.com/Education/43620434/43620434.php3, 22 มิถนุ ายน 2550. 293 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศอันเป็ นผลจากกิจกรรมของ มนุษย์ที่เปลี่ยนองค์ประกอบของบรรยากาศโลกโดยตรงหรื อโดยอ้ อมและที่เพิ่มเติมจากความแปรปรวนของสภาวะอากาศตามธรรมชาติที่ สังเกตได้ ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน ได้ แก่ อุณหภูมิ ความชื ้น ปริ มาณนํ ้าฝน ฤดูกาล ซึง่ เป็ นปั จจัยสําคัญในการดํารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตที่จะต้ อง ปรั บตัวให้ เข้ ากับสภาพภูมิอากาศในบริ เวณที่สิ่งมีชีวิตนัน้ อาศัยอยู่ (ศูนย์ ประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. 2550. Claimate Change. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. แหล่งที่มา : http://www.onep.go.th/CDM/cmc.html, 2 กรกฎาคม 2550.) 294 Reamruk, C. 2006. “IPCC Matel Simulations of Future Climate Change in Southeast Asia” (Unpublished). M. Sc. Thesis in Meteorology, San Jose State University, USA.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


153

2.6-4.7°C (รู ปที่ 3-28) แสดงให้ เห็นว่าอุณหภูมิโลกมีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นอย่างรวดเร็ วตังแต่ ้ ปี 2513-2543 อย่างไรก็ ตาม จากการทํานายด้ วยแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ ได้ แสดงแนวโน้ มภูมิอากาศบริ เวณภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉี่ยงใต้ พบว่า อีก 92 ปี ข้ างหน้ า (ปี 2642) อุณหภูมิอากาศจะมีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นอีก ปริ มาณนํ ้าฝนจะเพิ่มขึ ้น 125240 มิลลิเมตรต่อปี และระดับนํ ้าทะเลจะเพิ่มขึ ้นด้ วยเช่นเดียวกันโดยคาดว่าจะอยู่ในช่วง 0.35-1.95 เมตร ตราบใดที่ ปั จจุบนั นี ้มนุษย์ในโลกยังไม่มีมาตรการในการจัดการและควบคุมสาเหตุที่ก่อให้ เกิดภาวะโลกร้ อน

รูปที่ 3-32 อุณหภูมิโลกเฉลี่ยรายปี 2423-2548 (125 ปี ) 1) สาเหตุของปั ญหา การเพิ่มขึ ้นของระดับนํ ้าทะเลยังไม่มีข้อสรุ ปที่แน่ชดั ในปั จจุบนั ว่าที่เพิ่มขึ ้นเป็ นผลมาจากปริ มาณนํ ้าทะเล ขยายตัวเนื่องจากอุณหภูมิอากาศที่เพิ่มสูงขึน้ หรื อการที่มวลนํา้ ของนํา้ ทะเลเพิ่มขึน้ จากการละลายของนํา้ แข็งใน กรี นแลนด์และทวีปแอนตาร์ กติก อย่างไรก็ตาม สภาวะโลกร้ อนเกิดขึ ้นมาจากการเผาผลาญพลังงาน และเชื ้อเพลิงต่างๆ อีกทังการพั ้ ฒนา ด้ านอุตสาหกรรมจากอดีตที่ผ่านมาก่อให้ เกิดปรากฏการณ์เรื อนกระจกและภาวะโลกร้ อนขึ ้นได้ มลภาวะจากกิจกรรม ที่กล่าวมาจะไปขวางกันแสงอิ ้ นฟราเรดที่โลกสะท้ อนกลับสู่บรรยากาศ ทําให้ พลังงานที่ปล่อยออกมาถูกเก็บกักไว้ ใน ชันบรรยากาศ ้ เรี ยกว่า "ปรากฏการณ์เรื อนกระจก" (Greenhouse Effect) เนื่องจากเป็ นปรากฏการณ์ที่มีลกั ษณะ คล้ ายคลึงกับสภาพที่เกิดขึ ้นภายในเรื อนกระจกที่ใช้ สําหรับปลูกพืช โดยแสงแดดสามารถส่องผ่านให้ ความอบอุ่น ภายในเรื อนกระจกได้ แต่กระจกสามารถสะท้ อนไม่ให้ ความร้ อนออกไปจากเรื อนกระจกได้ ทําให้ อณ ุ หภูมิบนโลกเพิ่ม สูงขึ ้น ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสลม การปกคลุมของเมฆ อุณหภูมิของสภาพอากาศ ซึ่งการเปลี่ยนแปลง บางอย่างส่งผลกระทบต่อการเพิ่มขึ ้นของนํ ้าทะเลได้ 295

295

ศูนย์ประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. 2550. Claimate Change. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. แหล่งที่มา: http://www.onep.go.th/CDM/cmc.html, 2 กรกฎาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


154

2) สถานการณ์การเพิ่มขึ้นของระดับนํ้าทะล การศึกษาข้ อมูลการเปลี่ยนแปลงระดับนํา้ ทะเลในน่านํ ้าไทย แหล่งข้ อมูลที่สามารถจะใช้ มีอยู่ด้วยกัน 2 แหล่ง คือ ข้ อมูลสถานีวดั ระดับนํ ้า (Tide Gauge Station) โดยอ้ างอิงกับความสูงอยู่กบั ระดับนํ ้าทะเลปานกลาง ท้ องถิ่น (Local Mean Sea Level) และข้ อมูลจากดาวเทียมวัดความสูง (Altimetry Satellite) โดยอ้ างอิงความสูงอยู่ กับความสูง Terrestrial Ellipsoid ซึ่งจากการรวบรวมรายงานผลการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับนํ ้าใน น่านนํ ้าไทยที่ผ่านมาในส่วนของ Altimetry เป็ นการศึกษาทังโลก ้ ยังไม่มีตวั เลขที่ชดั เจนสําหรับอ่าวไทยและทะเลอัน ดามัน และยังไม่มีการติดตามการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งของสถานีวัดระดับนํา้ หลายแห่งในประเทศไทย ดังนัน้ หาก พิจ ารณาอัต ราการเปลี่ ย นแปลงระดับ นํ า้ ทะเลที่ คํ า นวณจากสถานี เ หล่า นี ้ จึง เป็ นผลรวมของการเปลี่ย นแปลง ระดับนํ ้าทะเลจริงกับอัตราการทรุดตัวหรื อการขยับตัวสูงขึ ้นของแผ่นดิน หากใช้ สถานีวดั ระดับนํ ้าที่มีการตรวจสอบค่า ระดับโดยใช้ วิธีการทําระดับจากหมุดระดับ เนื่องจากหมุดระดับนันอยู ้ ่ใกล้ กบั สถานีวดั ระดับนํ ้า ซึง่ ให้ ความถูกต้ องไม่ เพียงพอ และเกิดความคลาดเคลื่อน เมื่อพิจารณาข้ อมูลจาก Altimetry จะไม่มีปัญหาเรื่ องการทรุดตัวของแผ่นดิน แต่ ้ 200 เมตรลงไป มีปัญหาเกี่ยวกับค่าแก้ นํ ้าขึ ้น-นํ ้าลง เนื่องจาก Tide Model เหมาะสําหรับบริ เวณที่นํ ้าลึกตังแต่ ในขณะที่อ่าวไทยลึกสุดเพียงประมาณ 80 เมตร และจากการศึกษาทัว่ โลก ส่วนใหญ่แล้ วจะไม่รวมพื ้นที่นํ ้าตื ้น หาก ต้ อ งการทราบการเพิ่ม ขึน้ ของระดับ นํ า้ ทะเลปานกลางท้ อ งถิ่ น ในบริ เ วณอ่า วไทยและทะเลอัน ดามัน ต้ อ งใช้ ทัง้ Altimetry Data และ Tide Gauge Data ร่วมกัน เนื่องจากต้ องการแก้ ปัญหาการแก้ ค่านํ ้าขึ ้น-นํ ้าลง จากข้ อมูล Altimetry จากการใช้ แบบจําลองสําหรับนํ ้าลึก และสัมพันธ์กบั การตรวจสอบกับข้ อมูล Tide Gauge ที่อาจมีการทรุด ตัว ก็จะสามารถหาอัตราการเพิ่มของระดับนํ ้าทะเลที่เชื่อถือได้ วา่ ทังสองแหล่ ้ งข้ อมูลมีความสอดคล้ องกัน296 จากแนวคิดการศึกษาแนวโน้ มการเพิ่มขึ ้นของระดับนํ ้าในน่านนํ ้าไทย โดยใช้ ข้อมูลสถานีวดั ระดับนํ ้าเกาะ หลักสําหรับฝั่ งอ่าวไทย และสถานีวดั ระดับนํ ้าเกาะตะเภาน้ อยในฝั่ งทะเลอันดามัน รวมทังข้ ้ อมูลจากดาวเทียม Topex ซึ่งจากแหล่งข้ อมูลดังกล่าว อัตราการเพิ่มระดับนํา้ ทะเลในอ่าวไทยบริ เวณเกาะหลักช่วงปี 2536-2545 อยู่ที่ 1.3 มิลลิเมตรต่อปี หรื อประมาณครึ่งหนึ่งของ Global Average ส่วนการเพิ่มขึ ้นระดับนํ ้าทะเลในทะเลอันดามันบริ เวณ เกาะตะเภาน้ อย อยู่ที่ประมาณ 7.2-8.7 มิลลิเมตรต่อปี หรื อประมาณ 4 เท่าของ Global Average อิทธิ และสมมาตร์ (2550) อ้ างถึง Yanaki and Nakaki (1994) ได้ ศกึ ษาการเพิ่มขึ ้นลงของระดับนํ ้าพบว่าอัตราการเพิ่มระดับนํ ้าทะเลที่ คํานวณได้ จากสถานีเกาะหลักอยู่ที่ 0.8 มิลลิเมตรต่อปี และที่เกาะตะเภาน้ อย 2.3 มิลลิเมตรต่อปี ในช่วงเวลา การศึกษา ปี 1950-1990 (2503-2533) 297 อย่างไรก็ตาม ที่ผา่ นมาอาจกล่าวได้ วา่ ระดับนํ ้าทะเลมีแนวโน้ มจะสูงมากขึ ้นในอนาคต โดยในประเทศไทย มีพื ้นที่เสี่ยง นันก็ ้ คือ จังหวัดที่อยู่บริ เวณชายฝั่ งอันดามันและอ่าวไทยฝั่ งตะวันออกในรัศมี 100 กิโลเมตร จะมีความ เสี่ยงจากระดับนํา้ ทะเลสูงขึน้ จากการที่ลมมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ แรงขึน้ และจะพัดเอานํา้ ทะเลมากองอยู่บริ เวณ ชายฝั่ งมากขึ ้น ทําให้ ระดับนํ ้าทะเลบริ เวณอ่าวไทยเพิ่มขึ ้น 1-2 มิลลิเมตรต่อปี ในขณะที่ฝั่งอันดามันมีปริ มาณระดับ นํ ้าสูง 50 เซนติเมตร ซึง่ จะก่อให้ เกิดผลกระทบต่างๆ ต่อชายฝั่ งทะเลมากมายซึง่ จากกล่าวในข้ อต่อไป298

296

อิทธิ ตริ สิริสดั ยางศ์ และสมมาตร์ เนียมนิล. 2550. แน้ วโน้ มระดับนํา้ ในน่ านนํา้ ไทยจากข้ อมูลสถานีวัดระดับนํา้ และ Satellite Altimetry. ในการบรรยายทางวิชาการ ณ กรมอุทกศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 297 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 296. 298 สิริพร แก่นสียา. 2550. “ภาวะโลกร้ อน” มหันตภัยใกล้ ตัว?. สิ่งแวดล้ อม 11(1) มกราคม–มีนาคม 2550.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


155

3) ผลกระทบต่อสิ่ งมี ชีวิตและสิ่ งแวดล้อม (1) ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ชายฝั่ ง ได้ แก่ การกัดเซาะชายฝั่ ง และการลดลงของ พื ้นที่ป่าชายเลน แต่ผลกระทบที่เป็ นประเด็นที่สําคัญก็คือ การกัดเซาะชายฝั่ งที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ ้นในปั จจุบนั นี ้ทังใน ้ บริ เ วณชายฝั่ ง อ่า วไทยและอัน ดามัน สํ า หรั บ บริ เ วณที่ มี ก ารกัด เซาะอย่ า งรุ น แรง ได้ แ ก่ จัง หวัด จัน ทบุรี ระยอง ฉะเชิ ง เทรา สมุท รปราการ กรุ ง เทพฯ เพชรบุรี ประจวบคี รีขัน ธ์ สุราษฎร์ ธ านี นครศรี ธ รรมราช สงขลา ปั ต ตานี นราธิวาส ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล หากนํ ้าทะเลเพิ่มขึ ้น 50 เซานติเมตร อาจจะมีการกัดเซาะเพิ่มเป็ น 2 เท่า โดยเฉพาะพื ้นที่ที่เป็ นที่ราบ ได้ แก่ ป่ าชายเลน และหาดโคลนทังหลาย ้ ในทางตรงกันข้ ามที่เป็ นพื ้นที่หาดหินหรื อพื ้นที่ ลาดชันมากๆ จะมีความเสี่ยงต่อการกัดเซาะน้ อยกว่า299 การเพิ่มขึ ้นของระดับนํ ้าทะเลในปั จจุบนั จะเข้ าท่วมบริ เวณที่ลมุ่ นํ ้าเค็มและป่ าชายเลนจึงทําให้ เกิดนํ ้า ทัว่ ขังในบริเวณนี ้ ซึง่ ระดับนํ ้าที่สงู ขึ ้นจะทําให้ ต้นไม้ ในป่ าชายเลนตาย และทําให้ ความหลากหลายและความหนาแน่น ของพันธุ์ไม้ ลดลงไปด้ วย จึงสูญเสียสภาพทางนิเวศน์และกลายเป็ นแหล่งเสื่อมโทรม ในปั จจุบนั นี ้บริ เวณที่ต้องให้ ความสนใจและแก้ ไขปั ญหาความเสื่อมโทรมของป่ าชายเลนอย่างเร่งด่วน ได้ แก่ ป่ าชายเลนของจังหวัดสมุทรสงคราม เพชรบุรี สุราษฏร์ ธานี นครศรี ธรรมราช ระนอง พังงา ภูเก็ต จันทบุรี และตราด (2) ผลระทบต่อความหลากหลายของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ เนื่องจาก ระดับนํ ้าทะเลที่เพิ่มขึ ้นประกอบกันอุณหภูมิโลกมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ ้นและลดลงอย่างมาก ส่งผลให้ วฎั จักรของนํ ้า มีการเปลี่ยนแปลง ลักษณะการไหลของนํา้ ปริ มาณนํา้ ใต้ ดินก็เปลี่ยนแปลงเช่นกัน อันจะส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อ คุณภาพนํ ้า ปริ มาณธาตุอาหารในนํ ้า และปริ มาณตะกอนที่ไหลลงสู่ชายฝั่ งและทะเลเพิ่มขึ ้น สร้ างความเสื่อมโทรม ให้ กบั สิง่ แวดล้ อมและระบบนิเวศน์ที่สําคัญต่อสิง่ มีชีวิต ระดับ นํ า้ ที่ เพิ่ มขึน้ ทํ า ให้ สิ่ง มี ชีวิต ที่ อ าศัยบริ เ วณชายฝั่ ง และทะเลมี ก ารปรั บ ตัว ต่อ ระบบนิ เ วศหรื อ ลักษณะทางกายภาพที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อการเติบโต สืบพันธุ์ หาอาหาร และอยู่รอดต่อไป สัตว์บางชนิดไม่สามารถ ปรับตัวต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมได้ ก็จะตายหรื อสูญพันธุ์ ทําให้ ความหลากหลายทางชีวภาพบริ เวณชายฝั่ งและทะเล ้ ่อในบริ เวณที่ระดับนํ ้า ลดลง อย่างไรก็ตาม การที่ระดับนํ ้าทะเลเพิ่มขึ ้นจะทําให้ การขึ ้นลงของนํ ้ามากขึ ้นด้ วย ดังนันเมื ลดตํ่าลง พื ้นที่ชายฝั่ งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อการย้ ายถิ่นที่อยู่ของสัตว์นํ ้า และการลดลง หรื อเสื่อมโทรมของพืชจําพวกหญ้ าทะเล สาหร่ าย และปะการัง เกิดความเสื่อมถอยด้ านการผลิตชีวมวล หรื อแม้ แต่ การสูญพันธุ์ของปลา และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่ต้องพึง่ พิงลักษณะเฉพาะทางนิเวศริมฝั่ ง300 (3) ส่งผลต่อการประกอบอาชีพของคนในชุมชน การเพิ่มขึ ้นของนํ ้าทะเลทําให้ การเคลื่อนตัวของนํ ้าเค็มสู่แผ่นดิน หรื อเคลื่อนสูแ่ ม่นํ ้ามากขึ ้น ก่อให้ เกิด การเปลี่ยนแปลงของนํ ้าจืดและการใช้ นํ ้าในแม่นํ ้า ลําคลองเพื่อการเกษตร ส่งผลต่อความเสียหายต่อพื ้นที่เกษตรกรรม เช่น สวน ไร่ นาข้ าว นาเกลือ และพื ้นที่เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้าจืดและกร่ อยของเกษตรกร เกิดความเสียหายและสูญเสีย รายได้ จากการผลิต นอกจากนี ้ ยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพนํ ้าและขาดแคลนนํ ้าจืดที่ชุมชนชายฝั่ งแม่นํ ้าจะนํามาใช้ ประโยชน์เพื่อการอุปโภคและบริโภค

299 300

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 298. ศูนย์ประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 295.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


156

3.4.3.5 ปั ญหาภัยสึนามิ301 1) สาเหตุของปั ญหา คลื่นสึนามิเกิดจากการกระทบกระเทือนที่ทําให้ นํ ้าปริมาณมากเกิดการเคลื่อนตัว เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดิน ถล่ม หรื ออุกาบาตพุง่ ชน เมื่อแผ่นดินใต้ ทะเลเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างกระทันหัน เนื่องจากแผ่นดินไหว จะมี การขยับตัวของแผ่นเปลือกโลกหรื อลอยเลื่อนที่เชื่อมต่อกัน ทําให้ นํ ้าทะเลเกิดการเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้ เข้ าจุด สมดุลและจะก่อให้ เกิดคลื่นสึนามิ 2) สถานการณ์ของภัยสึนามิ วันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้ เกิดแผ่นดินไหวซึ่งเกิดจากการเคลื่อนตัวของคลื่นยักษ์ สนึ ามิ (Tsunami ) เป็ น ผลมาจากแผ่นดินไหวซึง่ เกิดจากการเคลื่อนตัวของ Indian และ Asean Tectonic Plates โดยมีศนู ย์กลางการเกิดอยู่ ที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีความรุ นแรงในระดับ 9 ริ กเตอร์ ได้ สร้ างความเสียหายให้ กบั ชายฝั่ งในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ สําหรั บประเทศไทยมี 6 จังหวัดชายฝั่ งอันดามันที่ได้ รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิ ได้ แก่ จังหวัดระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และสตูล โดยได้ รับผลกระทบรุ นแรงจนเกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของ ประชากร และก่อให้ เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศนํ ้าจืดและนํ ้าค็มด้ วย 3) ผลกระทบต่อทรัพยากรมี สิ่งมี ชีวิต (1) ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ส่วนจัดการที่ ดินชายฝั่ ง (2548) 302 รายงานว่า ภัยพิบัติสึนามิสร้ างความเสียหายให้ กับทรั พ ยากร สิง่ มีชีวิตในทะเล เช่น แนวปะการัง หญ้ าทะเล สัตว์ทะเลใกล้ สญ ู พันธุ์ และป่ าชายเลน (รูปที่ 3-33) ดังนี ้ - แนวปะการัง 15 เปอร์ เซ็นต์ หรื อ 11.8 ตารางกิโลเมตร แหล่งที่ได้ รับความเสียหายส่วนมากจะอยู่ ในพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติทางทะเล ได้ แก่ เกาะค้ างคาว เกาะกํานุ้ย จังหวัดระนอง หมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ หมู่เกาะ สุรินทร์ และหมูเ่ กาะสิมิลนั จังหวัดพังงา - พื ้นที่หญ้ าทะเลเสียหาย 7.5 เปอร์ เซ็นต์ หรื อ 5.5 ตารางกิโลเมตร พื ้นที่ที่ได้ รับความเสียหายมาก สุดคือบริ เวณทุ่งนางดํา จังหวัดพังงา รองลงมาบริ เวณเกาะพระทอง ด้ านเหนือ และบริ เวณบางเบน จังหวัดระนอง (คิดเป็ น 80, 50 และ 30 เปอร์ เซ็นต์ ตามลําดับ) (รูปที่ 3-34) - สัตว์ทะเลใกล้ สญ ู พันธุ์ที่ได้ รับผลกระทบมี 2 ชนิด ได้ แก่ เต่าทะเล โลมา และพะยูน โดยจะได้ รับ ผลกระทบจากคลื่นโดยตรงสร้ างความเสียหายให้ สตั ว์ทะเลตายและบาดเจ็บ (รูปที่ 3-35) - พื ้นที่ป่าชายเลนมีการสูญเ สีย 45 เปอร์ เซ็นต์ หรื อ 820 ตารางกิโลเมตร พื ้นที่ที่เสียหายมากที่สดุ คือ บริเวณคลองมุดง จังหวัดภูเก็ต ส่วนบริเวณอื่นๆ มีความเสียหายบางส่วน

301

คลื่นสึนามิ (「津波」 Tsunami – คลื่นที่ทา่ เรื อ หรื อ คลื่นชายฝั่ ง) คือ คลื่นหรื อกลุม่ คลื่นที่มีจดุ กําเนิดอยูใ่ นเขตทะเลลึก ซึง่ มักปรากฏหลังแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดินไหวใต้ ทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม แผ่นดินทรุด หรื ออุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงในทะเล คลื่นสึ นามิสามารถเข้ าทําลายพื ้นที่ชายฝั่ ง ทําให้ เกิดการสูญเสียทังชี ้ วิตและทรัพย์สินได้ 302 ส่วนจัดการที่ดินชายฝั่ ง. 2548. รายงานสรุ ป ผลกระทบจากเหตุธรณีพบิ ัติ (TSUNAMI) ต่ อทรั พยากรชายฝั่ งทะเลใน พืน้ ที่จังหวัดชายฝั่ งทะเลอันดามัน. สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


157

รูปที่ 3-33 เปอร์ เซ็นต์ความเสียหายของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งจากภัยพิบตั ิสนึ ามิ (2) ผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้ อม หลังจากเกิดภัยพิบตั ิภยั สึนามิ กรมควบคุมมลพิษ303 รายงานว่าคุณภาพนํ ้าและคุณภาพดินตลอดแนว ชายฝั่ งทะเลอันดามัน 6 จังหวัดมีค่าคุณภาพนํ ้าส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพนํ ้าชายฝั่ งทะเล โดยยังอยู่ใน เกณฑ์ดีมากและสามารถนําไปใช้ ประโยชน์เพื่อการอุปโภคได้ อย่างปลอดภัย ยกเว้ นบริ เวณแหลมสัก จังหวัดกระบี่ ปากเม็ง จังหวัดตรัง และปากบารา จังหวัดสตูลมีปริมาณตะกอนแขวนลอยสูงกว่าระดับปกติ304 นอกจากนี ้ความเค็มที่มาจากนํ ้าทะเล โดยคลื่นจะพัดพานํ ้าทะเลเข้ ามาในแผ่นดิน ทําให้ ความเค็มใน ดินเพิ่มขึ ้น มีผลกระทบต่อพื ้นที่เกษตรกรรมและแหล่งนํ ้าจืดในบริเวณพื ้นที่ชายฝั่ งและบริเวณใกล้ เคียง

303

กรมควบคุมมลพิษ. 2548. สถานการณ์ คุณภาพสิ่งแวดล้ อมทางทะเลหลังเกิด Tsunami. สํานักจัดการคุณภาพนํ ้า กรม ควบคุมมลพิษ, กรุงเทพฯ. 304 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. ประเมินสถานะคุณภาพนํา้ ชายฝั่ งทะเลอันดามันหลังเหตุการณ์ สึนามิ. กลุม่ สมุทรศาสตร์ และสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, ภูเก็ต.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


158

รูปที่ 3-34 แหล่งหญ้ าทะเลที่ได้ รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิ305

305

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. รายงานผลกระทบของคลื่นยักษ์ (Tsunami) ต่ อสัตว์ ในกลุ่มสัตว์ ทะเลหายาก. กลุม่ สัตว์ทะเลหายาก กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, ภูเก็ต.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


159

รูปที่ 3-35 สัตว์ทะเลใกล้ สญ ู พันธุ์ (เต่าทะเล โลมา และพะยูน) ที่ได้ รับผลกระทบจากภัยพิบตั ิสนึ ามิ306 (3) ผลกระทบต่อลักษณะทางกายภาพของชายฝั่ ง - การเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่ ง โดยส่วนใหญ่แล้ วคลื่นจะพัดพาตะกอนทรายมาทับถมบนพื ้นที่ ชายฝั่ ง และเกิดการกัดเซาะชายฝั่ งเข้ ามาด้ านใน รวมทังมี ้ การเปลี่ยนแปลงร่ องนํ ้า สันดอนใต้ นํ ้า และสันดอนทราย บริ เวณแนวชายฝั่ ง ปรากฎการณ์ที่เกิดขึ ้นทําให้ ชายฝั่ งได้ รับผลกระทบจากการทับถมของดินตะกอนและซากปะการัง 306

อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 305.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


160

อีกทังได้ ้ รับการสูญเสียแนวชายฝั่ งเดิม โดยมีความกว้ างของชายหาดสูญเสียไปเป็ นระยะทางตังแต่ ้ 10-50 เมตร และ มีการกัดเซาะลึกเข้ าไปในชายฝั่ งประมาณ 0.5-2 เมตร307 โดยกัดเซาะจนโค่นต้ นไม้ ชายหาด เช่น สนทะเล มะพร้ าว จนรากลอย และพบว่าทรายที่ถกู กัดเซาะหายไปประมาณ 80-100 เซนติเมตร - การเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ ที่ดิน เนื่ องจากบางพืน้ ที่ได้ รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิ ก่อให้ เกิดความเสียหายของกิจกรรมและสิ่งก่อสร้ างบริ เวณชายหาดมีการเปลี่ยนแปลง ได้ แก่ ท่าเทียบเรื อประมง ท่า เทียบเรื อท่องเที่ยว ร้ านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม สะพาน พื ้นที่ชมุ ชน แหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า สถานที่ราชการ เป็ นต้ น อีกทังเกิ ้ ดการเปลี่ยนแปลงของร่องนํ ้าและคลองธรรมชาติ เช่น ทําให้ ร่องนํ ้าเปิ ดกว้ างขึ ้นจนมีผลทําให้ กระแสนํ ้ารุนแรง มากขึ ้น จนส่งผลกระทบต่อการเดินเรื อของชายประมงด้ วย เกิดการเปลี่ยนแปลงความลาดชันเพิ่มขึ ้น 4) มูลค่าที ส่ ูญเสียด้านภัยสึนามิ ภัยพิบตั ิจากสึนามิได้ สง่ ผลกระทบรุ นแรงต่อธุรกิจการการท่องเที่ยวมาที่สดุ โดยคิดเป็ น 70 เปอร์ เซ็นต์ของ หรื อเป็ นมูลค่าประมาณ 30,000 ล้ านบาท รองลงมาเป็ นด้ านการประกันภัยที่ต้องจ่ายจากการ ความสูญเสียทังหมด ้ สูญเสียทรัพย์สิน 23 เปอร์ เซ็นต์ หรื อประมาณ 10,000 ล้ านบาท ด้ านการประมง การเพาะเลี ้ยง และเครื่ องมือทํา ้ ้า ประมง 4 เปอร์ เซ็นต์ หรื อเป็ นมูลค่า 1,757.5 ล้ านบาท ด้ านสาธารณประโยชน์ (เช่น ท่อระบายนํ ้า เขื่อน ฝายกันนํ ระบบประปา และไฟฟ้า) คิ ดเป็ น 2 เปอร์ เซ็น ต์ หรื อ 734 ล้ า นบาท และท่ า เที ยบเรื อ สะพานและถนนคิ ดเป็ น 1 เปอร์ เซ็นต์ หรื อ 326.7 ล้ านบาท (รูปที่ 3-36)

รูปที่ 3-36 มูลค่าที่สญ ู เสียในด้ านต่างๆ จากภัยพิบตั ิสนึ ามิใน 6 จังหวัดชายฝั่ งอันดามัน308 3.4.4 ปั ญหาการจัดการสิง่ แวดล้ อม ปั ญหาด้ านสิ่งแวดล้ อมชายฝั่ งและทะเลยังมีสาเหตุมาจากการบริ หารงานและการจัดการของผู้มีสว่ นร่วมใน การรับผิดชอบของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน อีกทังยั ้ งมีสาเหตุมาจากการจัดการ กฎหมาย นโยบาย และแผนพัฒนาประเทศ ซึง่ สามารถสรุปได้ ดงั นี ้

308

ปรับปรุงจาก จังหวัดภูเก็ต. มปป. ธรณีพบิ ัตภิ ัยสึนามิ ภูเก็ต ธันวาคม 25470. จังหวัดภูเก็ต.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


161

3.4.4.1 ปั ญหาการจัดการ กฎหมาย นโยบาย และแผนพัฒนาประเทศ เช่น การขาดนโยบายและแผนการ ดําเนินงานที่ชดั เจนในเรื่ องพื ้นที่ที่รับผิดชอบ รวมทังเนื ้ ้อหาสาระของกฎหมายไม่ครอบคลุมถึงมาตรการและวิธีการ ต่างๆ ที่กฎหมายนันจะนํ ้ ามาบังคับใช้ อีกทังบทลงโทษไม่ ้ ความเหมาะสมและไม่สอดคล้ องกับสถานการณ์และสังคม ในปั จจุบนั 3.4.4.2 ปั ญหาหน่วยงานและบุคลากรที่มีหน้ าที่ปฏิบตั ิ ดูแล และรับผิดชอบด้ านสิ่งแวดล้ อม เช่น ความไม่ ชัดเจนและซํ ้าซ้ อนของหน่วยงานในระดับนโยบายและระดับปฎิบตั ิในเรื่ องหน้ าที่ และความรับผิดชอบเกี่ยวกับด้ าน สิ่งแวดล้ อมทางทะเลในทุกด้ าน บุคคลากรในระดับปฎิบตั ิการไม่มีความรู้ เพียงพอ หรื อ มีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคล บ่อยทําให้ ไม่มีความต่อเนื่องในการปฎิบัติงาน รวมถึงบุคคลในระดับปฎิบตั ิงานที่มีความรู้ และประสบการณ์ เมื่อ ทํางานได้ ระยะหนึ่งก็จะถูกดึงตัวไปทํางานด้ านบริ หารและขาดการส่งต่องานทําให้ เกิดความไม่ต่อเนื่อง ขาดการ ประสานงานขององค์กรหรื อหน่วยงานของรัฐบาล ทําให้ เกิดความขัดแย้ งและความซํ ้าซ้ อนกันของกฎหมาย นโยบาย และแผนในการจัดการสิ่งแวดล้ อมทางทะเล อันจะนําไปสู่การขาดการยอมรับในการนําไปปฏิบตั ิให้ สมั ฤทธิ์ผล และ ขาดการมีสว่ นร่วมขององค์กรเอกชนและภาคประชาชนในการวางแผนการจัดการด้ านสิง่ แวดล้ อม 3.4.4.3 ปั ญ หาข้ อ มูล ด้ า นสิ่ง แวดล้ อ ม ได้ แ ก่ การขาดการรวบรวมข้ อ มูล ที่ มี อ ยู่ม าก แต่ ก ระจายตาม หน่วยงาน และอาจไม่สามารถตอบคําถามในแต่ละปั ญหาที่เกิดขึ ้นได้ จําเป็ นต้ องมีการทบทวนในเรื่ องการตรวจวัด ต่างๆ ว่าตอบสนองต่อการปฎิบตั ิงานของหน่วยงานแล้ ว และยังตอบสนองต่อปั ญหาด้ านสิ่งแวดล้ อมทางทะเลหรื อไม่ ประเด็นที่ข้อมูลที่มีอยูย่ งั ไม่สามารถตอบได้ 3.5 บทสรุ ป ้ สถานการณ์ การใช้ ทะเลของของประเทศไทยในปั จจุบนั อาจจะเรี ยกได้ ว่ามีปัญหาอยู่ในทุกมิติ เริ่ มตังแต่ ปั ญหาในมิติของทรัพยากร โดยที่ตวั ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝั่ งมีข้อจํากัดในลักษณะที่บางอย่างอาจ เติบโตหรื อเพิ่มจํานวนขึ ้นมาแทนที่ได้ คือ ทรัพยากรคืนรูป (Renewable Resources) แต่บางอย่างเมื่อใช้ หมดแล้ วก็ หมดไป คือ ทรัพยากรไม่คืนรู ป (Non-Renewable Resources) ทําให้ ทรัพยากรที่สามารถใช้ ประโยชน์ ได้ มีอยู่ใน จํานวนจํากัด ยิ่งเมื่อเกิดกรณี การใช้ แบบมือใครยาวสาวได้ สาวเอาและจํานวนผู้ใช้ ที่เพิ่มมากขึ ้น จึงทําให้ ทรัพยากร ทางทะเลที่เคยมีอยู่มากได้ ลดลงทังปริ ้ มาณและคุณภาพ เกิดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้ อมดังที่เห็นกันอยู่ใน ปั จจุบนั ชนิดของทรัพยากรที่เห็นได้ ชดั ในกรณีทรัพยากรมีชีวิต ได้ แก่ ทรัพยากรประมง ส่วนทรัพยากรไม่มีชีวิต ได้ แก่ แร่ดีบกุ เป็ นต้ น ในมิติของกิจกรรมการใช้ ทะเล เช่น การขนส่งและพาณิ ชยนาวี จากการที่ประเทศไทยไม่มีนโยบายการ ส่งเสริ มด้ านพาณิชยนาวีที่ชดั เจน ทําให้ กองเรื อไทยไม่มีความเข้ มแข็ง ธุรกิจพาณิชยนาวีในปั จจุบนั ส่วนใหญ่เป็ นของ ต่างชาติ ทําให้ ผลประโยชน์จากการใช้ บริ การทางทะเล (การขนส่งทางทะเล) ของประเทศไทยตกอยู่ในมือของคนไทย เพียงไม่กี่เปอร์ เซ็นต์เท่านัน้ 309 เช่นเดียวกับในกรณี ของการขุดเจาะก๊ าซธรรมชาติและนํา้ มันในอ่าวไทย ซึ่งก็ต้องใช้

309

สาริ น สกุลรัตนะ. 2542. SEAPOL. รายละเอียดการสัมมนา เรื่ อง บทบาทของทะเลในการฝ่ าวิกฤตเศรษฐกิจไทย 12 พฤษภาคม 2542 กรุงเทพมหานคร หัวข้ อเรื่ อง “ศักยภาพของพาณิชยนาวีตอ่ เศรษฐกิจไทย”.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


162

เทคโนโลยีขนสู ั ้ งที่เรายังไม่สามารถจัดการได้ เองจึงต้ องพึ่งพาเทคโนโลยีและผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศจํานวนไม่ น้ อย จึงเป็ นเหตุให้ มลู ค่าผลประโยชน์ในส่วนนี ้จึงอาจไม่ได้ อยูใ่ นมือของคนไทยอย่างแท้ จริง ส่วนกิจกรรมการท่องเที่ยวทางทะเล ซึง่ เป็ นกิจกรรมสําคัญที่ถือว่าเป็ นหน้ าเป็ นตาให้ กบั คนไทย เพราะทําให้ ประเทศไทยเป็ นที่ร้ ูจกั ไปทัว่ โลกในเรื่ องที่เป็ นประเทศที่มีหาดทรายชายทะเลสวยงาม หากแต่การใช้ อย่างไม่จํากัดและ ไม่ร้ ู ขอบเขตที่เหมาะที่ควรก็ทําให้ ทรัพยากรทางสุนทรี ยภาพ310 นี ้เกิดการเสื่อมโทรม เสียหาย ไม่เป็ นจุดดึงดูดความ สนใจได้ อีก และท้ ายที่สดุ ผลประโยชน์ในส่วนนี ้ก็จะลดหายไป นอกจากนี ้การใช้ พื ้นที่ชายฝั่ งทะเลอย่างไม่เหมาะสม เช่น การสร้ างท่าเรื อ การตังโรงงานอุ ้ ตสาหกรรมต่างๆ เป็ นต้ น นอกจากจะทําลายทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งโดยตรงแล้ ว ยังก่อให้ เกิดมลพิษ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบ นิเวศและสภาพแวดล้ อมทางทะเลอย่างมาก อีกทังยั ้ งเป็ นสาเหตุของปั ญหาอื่นๆ ตามมาเป็ นลูกโซ่ เช่น ปั ญหาการกัด เซาะชายฝั่ ง ปั ญหาการลดจํานวนสัตว์นํ ้าเนื่องจากแหล่งอนุบาลถูกทําลาย เป็ นต้ น นอกจากผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมซึ่งนับเป็ นปั ญหาใหญ่ที่ทวั่ โลกให้ ความสําคัญแล้ ว ในทางสังคมก็ได้ รับ ผลกระทบด้ วยเช่นกัน เพราะความขัดแย้ งจากการที่ต้องแย่งกันใช้ ทรัพยากร เช่น ความขัดแย้ งระหว่างประมงพื ้นบ้ าน กับประมงพาณิชย์ ทําให้ สงั คมในระดับชุมชนเกิดการแตกแยก นอกจากนี ้เพื่อที่จะหาทรัพยากรมาใช้ ได้ อย่างเพียงพอ เราจึงต้ องแสวงหาแหล่งทรัพยากรใหม่ๆ ซึ่งหากเป็ นไปในทางที่ไม่ถูกวิธี เช่น การลักลอบใช้ อย่างไม่ถูกต้ องตาม ข้ อ บัง คับ ของประเทศอื่ น ๆ ก็ จ ะทํ า ให้ เ กิ ด การจับ กุม คุม ขัง กลายเป็ นกรณี พิ พ าทระหว่ า งประเทศที่ ก ระทบถึ ง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ นอกจากนี ้การขาดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลในภาพรวม และ ภาครัฐขาดวิสยั ทัศน์ในการบริหารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลร่วมกัน ทําให้ ไม่สามารถสร้ างความร่วมมือในการ บริ ห ารจัด การแบบองค์ ร วมได้ ทัง้ ในส่ว นของนโยบายและองค์ กร หรื อ หน่ว ยงานที่ มี ห น้ า ที่ ใ นการบริ ห ารจัดการ ตัวอย่างเช่น กรณีการจดทะเบียนเรื อประมงและเครื่ องมือทําการประมงที่มีหน่วยงานรับผิดชอบคนละหน่วยงาน หรื อ กรณีการสร้ างท่าเรื อกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าชายเลน เป็ นต้ น ทําให้ การอนุรักษ์ และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเกิด ความไม่สอดคล้ องกัน การขาดองค์ความรู้ ที่มีความจําเป็ นต่อการบริ หารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเล เช่น วิทยาศาสตร์ ทาง ทะเล การประมงนอกน่านนํ ้า กิจการทางทะเล การขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี รวมทังการที ้ ่ประชาชนซึง่ เป็ นผู้ที่อยู่ ในพืน้ ที่ซึ่งเป็ นผู้มีสิทธิ ใช้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอย่างเต็มที่เข้ ามามีส่วนร่ วมน้ อยในการวางแผน หรื อการ จัดการทรัพยากร ก็เป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ การบริ หารจัดการเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่ผ่านมาไม่ ประสบผลสําเร็จเท่าที่ควร จากสถานการณ์ปัญหาในมิติต่างๆ ดังที่ได้ กล่าวไปแล้ วข้ างต้ นเป็ นวิกฤติที่น่าจะต้ องหาหนทางปรับเปลี่ยน ให้ กลายเป็ นโอกาสเพื่อที่ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของประเทศไทยจะยังคงมีให้ ใช้ ได้ อย่างสมดุล พอเพียงและ ยัง่ ยืน

310

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุนทรี ยภาพ หมายถึง ความงามในธรรมชาติหรื องานศิลปะ ที่แต่ละบุคคล สามารถเข้ าใจและรู้สกึ ได้ , ความเข้ าใจและรู้สกึ ของแต่ละบุคคลที่มีตอ่ ความงามในธรรมชาติหรื องานศิลปะ.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


163

บทที่ 4 มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ ทางทะเล 311

รักไทย เทพปั ญญา ชื่นสุมน รัตนจันทร์ และคณะ , 312

พวงทอง อ่อนอุระ

313

โกมล จิรชัยสุทธกุล

อรชา ธนากร

314

315

และสุนนั ทา เจริ ญปั ญญายิ่ง

4.1 ประเทศไทยกับการใช้ ทะเลในมุมมองทางด้ านกฎหมาย ประเทศไทยมีรูปแบบการใช้ ทะเลที่หลากหลายได้ แก่ การอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อมทางทะเลเพื่อความ มัน่ คงในอนาคต หรื อเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทะเลในด้ านต่างๆ เช่น การทําการประมง การเพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า ชายฝั่ ง การขนส่งทางนํ า้ การท่องเที่ยว การอุตสาหกรรมในทะเล แต่ถ้าคนไทยยังใช้ ประโยชน์ จากทะเลอย่างไม่ ระมัดระวังก็อาจทําให้ เกิดการสูญเสียผลประโยชน์อนั มีค่าไปอย่างไม่อาจเรี ยกคืนกลับมาได้ และอาจจะส่งผลกระทบ ต่ อ ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางด้ า นเศรษฐกิ จ และสัง คมของประเทศ ดัง นัน้ เพื่ อ เป็ นการแก้ ไ ขปั ญ หาและรั ก ษา ผลประโยชน์ของชาติให้ ยงั่ ยืนต่อไปในอนาคต ควรจะต้ องมีการบริ หารจัดการที่เป็ นระบบ โดยมีเครื่ องมือที่ทนั สมัย และเหมาะสมมาเป็ นกลไกในการดําเนินการ ซึ่งเครื่ องมือหนึ่งที่สําคัญสําหรับขับเคลื่อนการบริ หารจัดการให้ เป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ แก่ กฏหมาย สําหรับบทบัญญัติทางกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของประเทศไทยก็มี ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย อยู่หลายฉบับ หากแต่กฎหมายเหล่านี ้ส่วนใหญ่ยงั ไม่สอดคล้ องกับบทบัญญัติของอนุสญ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ซึง่ ถือว่าเป็ นกฎหมายแม่บททางทะเลของโลก การศึ ก ษาในบทนี จ้ ึ ง ได้ นํ า เสนอถึ ง กฎหมายภายในของประเทศไทยที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การใช้ ท ะเลทัง้ หมด ข้ อบกพร่ องของตัวกฎหมายและปั ญหาในการบังคับใช้ ภายใต้ สถานการณ์ ปัจจุบนั รวมไปถึงความไม่สอดคล้ องกับ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 แต่ไม่ได้ ศึกษาถึงความสอดคล้ องหรื อไม่สอดคล้ องกับ อนุสญ ั ญาฉบับอื่นๆ ทังนี ้ ้เนื่องจากระยะเวลาในการศึกษามีจํากัด นอกจากนี ้จะได้ กล่าวถึงความเป็ นมา และหลักการ สําคัญของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้ องอื่นๆ บางฉบับด้ วย 4.1.1 กฎหมายภายในประเทศ การศึกษากฎหมายภายในแบ่งขอบเขตการศึกษาออกเป็ น 3 ส่วน โดยในส่ว นแรกจะเป็ นการรวบรวม กฎหมายและกฎข้ อบังคับต่างๆ (Compilation) ที่ประเทศไทยใช้ บงั คับเฉพาะบทบัญญัติที่เกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล 311

เจ้ า หน้ า ที่ สํ า นัก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าในฐานะที ม วิ จัย ย่อ ยเรื่ อ งกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การใช้ ท ะเล ภายใต้ โ ครงการ สถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน 312 หัวหน้ ากลุม่ กฎหมายระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง ในฐานะทีมวิจยั ด้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเล ของโครงการฯ 313 ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในฐานะทีมวิจยั ด้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเล ของโครงการฯ 314 นิติกร 7 กองพัฒนางานกฎหมายระหว่างประเทศ กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ ในฐานะทีมวิจยั ด้ าน กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของโครงการฯ 315 นักวิจยั 7 สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในฐานะทีมวิจยั ด้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของโครงการฯ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


164

ของไทยในปั จจุบัน ในส่วนที่สองจะเป็ นการศึกษากฎหมายภายในถึงปั ญหาในทางปฏิบัติในส่วนที่เกี่ ยวข้ องกับ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และในส่วนที่สามจะเป็ นการศึกษาข้ อบกพร่ องอันเป็ น ปั ญ หาทางกฎหมายของระบบกฎหมายภายในเพื่ อ แสดงให้ เ ห็น ว่ า มี ก ฎหมายส่ว นใดสอดคล้ อ งกับ อนุสัญ ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรื อไม่ ประการใด ซึง่ การศึกษากฎหมายภายในทัง้ 3 ส่วน ดังกล่าว มีดงั นี ้ 4.1.1.1 การรวบรวมกฎหมาย กฎข้ อบังคับต่างๆ ที่ประเทศไทยใช้ บงั คับที่เกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลไทย ในปั จจุบนั จากการศึกษาตรวจสอบกฎหมายภายในของประเทศไทยทังหมดจะพบกฎหมายที ้ ่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมการ ใช้ ทะเลอยู่ทัง้ สิน้ 53 ฉบับ โดยแบ่งออกเป็ นกฎหมายที่เกี่ ยวข้ องในแต่ละด้ าน คือ กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อม กฎหมายเกี่ยวกับการพาณิชยนาวี กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรมีชีวิต กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรที่ไม่มีชีวิต กฎหมาย เกี่ยวกับสิทธิ ในเขตต่อเนื่อง กฎหมายเกี่ยวกับความมัน่ คงหรื อความสงบเรี ยบร้ อยทางทะเล และกฎหมายเกี่ยวกับ กิจกรรมทางทะเลอื่นๆ ซึง่ รายละเอียดของกฎหมายแต่ละฉบับได้ อธิบายใน ภาคผนวก ค 1) กฎหมายเกี่ยวกับสิง่ แวดล้ อม 1.1) พระราชบัญญัติอทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (กําหนดอุทยานแห่งชาติทางทะเลหรื อชายฝั่ งทะเลได้ ) 1.2) พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 (กําหนดให้ ป่าชายเลนฯ เป็ นป่ าสงวน) 1.3 )พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2522 (กําหนดให้ เขตชายฝั่ งทะเลเป็ นเขตรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม ได้ ) 1.4) พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2521 (การนิคมฯ มีอํานาจในการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมโดยการตราเป็ นพระราชกฤษฎีกาซึง่ รวมถึงที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินบริเวณชายฝั่ ง) 1.5) พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (กําหนดเขตห้ ามก่อสร้ างอาคารบริเวณชายฝั่ งได้ ) 1.6) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (ห้ ามทิ ้งสิ่งปฏิกลู หรื อมูลฝอยในที่หรื อทางสาธารณะ ซึ่ง รวมถึงทะเลโดยให้ อํานาจท้ องถิ่นออกข้ อกําหนด ซึง่ มีปัญหา ๒ ประการสําคัญคือ โทษต่างๆ สูงสุดคือจําคุกไม่เกินหก เดือนหรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท และทะเลอาจอยูน่ อกเขตท้ องถิ่น) 1.7) พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของบ้ านเมือง พ.ศ. 2535 (ห้ ามทิ ้ง สิง่ ปฏิกลู ลงในทางนํ ้าซึง่ รวมถึงทะเล) 1.8) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (กําหนดท้ องที่ห้ามตังโรงงานได้ ้ ซึง่ รวมถึงชายทะเล) 1.9) พระราชบัญญัติส่ง เสริ มและรั กษาคุณ ภาพสิ่ง แวดล้ อ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 (กํ าหนด มาตรฐาน คุณภาพนํ ้าทะเลชายฝั่ ง กําหนดเขตพื ้นที่ค้ มุ ครองสิ่งแวดล้ อมได้ กําหนดโครงการที่ต้องจัดทํา EIA การควบคุมมลพิษจาก แหล่งกําเนิด การระบายนํ ้าทิ ้งหรื อการปล่อยทิ ้งของเสีย) 1.10) พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 (ดินมีความหมายรวมถึงทรายด้ วย) 1.11) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้ วยการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน พ.ศ. 2538 1.12) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้ วยนโยบายและการฟื น้ ฟูทะเลไทย พ.ศ. 2539 1.13) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2543

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


165

2) กฎหมายเกี่ยวกับการพาณิชยนาวี 2.1) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ า้ ไทย พระพุทธศักราช 2456 (กํ าหนดหลักเกณฑ์ เพื่ อความ ปลอดภัยในการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยและอาณาเขตต่อเนื่อง) 2.2) พระราชบัญญัติเรื อไทย พุทธศักราช 2481 (การจดทะเบียนเป็ นเรื อไทย) 2.3) พระราชบัญญัติการท่าเรื อแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 (การท่าเรื อฯ มีอํานาจในการสร้ างท่าเรื อ โดย ใช้ อํานาจรัฐมนตรี ในการเวนคืนที่ดินซึง่ รวมถึงที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินบริเวณชายฝั่ ง) 2.4) พระราชบัญญัติป้องกันเรื อโดนกัน พ.ศ. 2522 (ป้องกันเรื อเกิดอุบตั ิเหตุอนั นํามาซึง่ ความเสียหายต่อ สิง่ แวดล้ อมได้ ) 2.5) พระราชบัญญัติป้องกันการกระทําบางอย่างในการขนส่งสินค้ าขาออกทางเรื อ พ.ศ. 2511 2.6) พระราชบัญญัติสง่ เสริมการพาณิชยนาวี พ.ศ. 2521 (ควบคุมกิจการพาณิชยนาวี) 2.7) พระราชบัญญัติว่าด้ วยการเวนคืนอสังหาริ มทรัพย์ พ.ศ. 2530 (การท่าเรื อฯ ใช้ อํานาจเวนคืนฯ ตาม กฎหมายฉบับนี ้) 2.8) พระราชบัญญัติการกักเรื อ พ.ศ. 2534 (เพื่อใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องต่อเรื อที่ถกู กัก) 2.9) พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 2.10) พระราชบัญญัติการจํานองเรื อและบุริมสิทธิทางทะเล พ.ศ. 2537 (จํานองเรื อและบุริมสิทธิทางทะเล รวมถึงสิทธิเรี ยกร้ องในมูลละเมิดที่เกิดจากการดําเนินงานของเรื อ) 2.11) พระราชบัญญัติสภาผู้ส่งสินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2537 (องค์กรที่มีหน้ าที่ส่งเสริ มและ สนับสนุนการขนส่งสินค้ าทางเรื อ) 2.12) พระราชบัญญัติการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปจากภยันตรายในการเดินเรื อ พ.ศ. 2542 (ความ เสี ยหายรวมถึง ความเสียหายจากมลภาวะเฉพาะค่าใช้ จ่า ยที่ ตามหลักปฏิ บัติเกี่ ย วกับการพาณิ ชยนาวี ระหว่า ง ประเทศซึง่ เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปให้ นํามาเฉลี่ยได้ ) 2.13) พระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 (รวมถึงการขนส่งทางนํ ้า) 2.14) พระราชบัญญัติความรับผิดทางแพ่งและค่าเสียหายจากเรื อโดนกัน พ.ศ. 2548 2.15) ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 58 3) กฎหมายเกี่ยวกับทรั พยากรที่มีชีวติ 3.1) พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยสิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พุทธศักราช 2482 3.2) พระราชบัญญัติการประมง พุทธศักราช 2490 3.3) พระราชบัญญัติจดั ระเบียบกิจการแพปลา พ.ศ. 2496 (ควบคุมการขายสัตว์นํ ้าที่สะพานปลา) 3.4) พระราชบัญญัติพนั ธุ์พืช พ.ศ. 2518 3.5) พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 (รวมถึงสัตว์นํ ้าด้ วย) 3.6) พระราชบัญ ญั ติค้ ุม ครองพัน ธุ์ พื ช พ.ศ. 2542 (พื ช รวมถึง สาหร่ า ย รั บ จดทะเบี ย นคุ้ม ครองพื ช ที่ ปรับปรุงพันธุ์และพันธุ์พืชพื ้นเมืองเฉพาะถิ่น) 4) กฎหมายเกี่ยวกับทรั พยากรที่ไม่ มีชีวติ 4.1) พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 (รวมถึงเขตเหมืองแร่ในทะเล) 4.2) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 (ควบคุมกิจการปิ โตรเลียมซึง่ อาจอยูใ่ นเขตไหล่ทวีป) โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


166

4.3) พระราชบัญญัติภาษี เงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 4.4) พระราชบัญ ญั ติ ก ารปิ โตรเลี ย มแห่ ง ประเทศไทย พ.ศ. 2521 (ปตท.มี อํ า นาจสํ า รวจและผลิ ต ปิ โตรเลียม รวมทังจั ้ ดหา ขนส่ง แก้ ไขมลภาวะจากปิ โตรเลียมในกิจกรรม ปตท.ซึง่ อาจสํารวจฯ ในเขตไหล่ทวีปได้ ) 4.5) พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล พ.ศ. 2530 5) กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในเขตต่ อเนื่อง 5.1) พระราชบัญญัติศลุ กากร พุทธศักราช 2469 (ป้องกันการเลี่ยงภาษี ศลุ กากรในเขตต่อเนื่อง) 5.2) พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 (ควบคุมโรคในเขตต่อเนื่อง) 5.3) พระราชบัญญัติคนเข้ าเมือง พ.ศ. 2522 (ป้องกันการเข้ าเมืองในเขตต่อเนื่อง) 5.4 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 (ควบคุมโรคในเขตต่อเนื่อง) 5.5 ประมวลรัษฎากร (ป้องกันการเลี่ยงภาษี รัษฎากรในเขตต่อเนื่อง) 6) กฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงหรื อความสงบเรี ยบร้ อยทางทะเล 6.1) พระราชบัญญัติให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําผิดบางอย่างทางทะเล พ.ศ. 2490 6.2) พระราชบัญญัติเพิ่มอํานาจตํารวจในการป้องกันและปราบปรามการกระทําผิดทางนํ ้า พุทธศักราช 2496 (ควบคุมการกระทําผิดในเรื อหรื ออากาศยานทางนํ ้า) 6.3) พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัด พ.ศ. 2534 7) กฎหมายเกี่ยวกับกิจกรรมทางทะเลอื่นๆ 7.1) พระราชบัญญัติกําหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ. 2502 7.2) พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 7.3) พระราชบัญญัติการทํางานของคนต่างด้ าว พ.ศ. 2521 (ห้ ามคนต่างด้ าวทําการประมงยกเว้ นที่ต้องให้ ความเชี่ยวชาญหรื องานกรรมการในเรื อประมง) 7.4) พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขันตอนการกระจายอํ ้ านาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น พ.ศ. 2542 7.5) ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ลั ก ษณะ 5 ละเมิ ด (กรณี ก่ อ ให้ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ สภาพแวดล้ อมทางทะเล) 7.6) ประมวลกฎหมายอาญา (ความผิดที่ถือว่า กระทําในราชอาญาจักรตามมาตรา 4 (เรื อไทย) มาตรา 5(ผลเกิดขึ ้น ในราชอาณาจักร) มาตรา 6 (ผู้สนับสนุนหรื อผู้ใช้ อยู่นอกราชอาณาจักร แต่ตวั การกระทําผิดในราชอาณาจักร) มาตรา 7 (ความผิดที่แม้ กระทํานอกราชอาณาจักรก็จะต้ องรับโทษในราชอาณาจักร) มาตรา 8 (ผู้กระทําผิดเป็ นคนไทยหรื อ รัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผู้เสียหาย สําหรับความผิดที่กําหนดในมาตรานี ้) มาตรา 9 (เจ้ าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทํา ผิด)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


167

4.1.1.2 ปั ญหาของการบังคับใช้ กฎหมายในทางปฏิบตั ิ ในกรณี นีจ้ ะเป็ นการศึกษาปั ญหาโดยวิเคราะห์จากบทบัญญัติของกฎหมายเป็ นหลักถึงการใช้ อํานาจหน้ าที่ตาม กฎหมายของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจ ซึง่ อาจมีความซํ ้าซ้ อนกัน ในเขตพื ้นที่หรื อซํ ้าซ้ อนกันในการกํากับดูแลกิจกรรมทาง ั ญา ทะเลหรื อทรัพยากรธรรมชาติชนิดเดียวกันโดยเน้ นกิจกรรมทางทะเลหรื อทรัพยากรธรรมชาติในเขตพืน้ ที่ตามที่อนุสญ สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กําหนดไว้ ซึง่ อาจแบ่งการศึกษาตามกิจกรรมทางทะเลหรื อทรัพยากรธรรมชาติ ในเขตพื ้นที่ได้ ดงั นี ้ 1) พืน้ ทีช่ ายฝั่ งทะเลและน่านนํ้าภายใน พื ้นที่ชายฝั่ งทะเลและน่านนํ ้าภายใน (น่านนํ ้าที่อยู่ภายในด้ านแผ่นดินของเส้ นฐานของทะเลอาณาเขตตามที่กําหนด ในอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982) ของรัฐชายฝั่ งนัน้ ในทางกฎหมายรัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิปไตย อย่างเต็มที่เหนือพื ้นที่ดงั กล่าว อย่างไรก็ตาม หากเรื อต่างชาติแวะจอด ณ ชายฝั่ งหรื อน่านนํ ้าภายใน ตามกฎหมายระหว่าง ประเทศถือว่ารัฐเจ้ าของธงของเรื อเท่านันที ้ ่มีเขตอํานาจทางกฎหมายไม่ว่าทางแพ่งหรื ออาญาเหนือเรื อดังกล่าว เว้ นแต่นายเรื อ หรื อรัฐเจ้ าของธงร้ องขอให้ รัฐชายฝั่ งเข้ าไปดําเนินการในเรื่ องใดๆ ตามที่ร้องขอหรื อเรื อนันได้ ้ กระทําความผิดที่ก่อให้ เกิดความ เสียหายแก่รัฐชายฝั่ งหรื อต่อบุคคลที่มีสัญชาติของรั ฐชายฝั่ ง ไม่ว่าในทางแพ่งหรื ออาญาก็ตาม รั ฐชายฝั่ งหรื อบุคคลที่มี สัญชาติของรัฐชายฝั่ งก็จะมีอํานาจดําเนินคดีกบั เรื อนันได้ ้ ้ จะกระทําผิดข้ อกําหนดท้ องถิ่นที่ออก ดังเช่นกรณีที่เรื อต่างชาติทิ ้งสิ่งปฏิกลู ยังชายฝั่ งหรื อน่านนํ ้าภายใน เรื อนันก็ ตามมาตรา 20 (1) แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และมีความผิดตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติรักษา ความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของบ้ านเมือง พ.ศ. 2535 อีกด้ วย อย่างไรก็ตาม กฎหมายทังสองฉบั ้ บดังกล่าวมี เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นเป็ นผู้บงั คับใช้ จึงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับอํานาจในการดําเนินคดีในความผิดดังกล่าว แต่เนื่องจากการกระทํา ดังกล่าวนอกจากจะเป็ นความผิดตามกฎหมายทังสองฉบั ้ บข้ างต้ นแล้ ว ยังเป็ นความผิดตามมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติ การเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 และอาจมีความผิดตามมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติการประมง พุทธศักราช 2490 อีกด้ วย ซึ่งเจ้ าท่าของกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีเป็ นผู้มีอํานาจดําเนินคดีความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการ เดินเรื อในน่านนํ ้าไทย และพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของกรมประมงเป็ นผู้มีอํานาจดําเนินคดีความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการประมง นอกจากนี ้ เจ้ าหน้ าที่ตํารวจของกองบังคับการตํารวจนํ ้า กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง สํานักงานตํารวจแห่งชาติยงั มี อํานาจดําเนินคดีความผิดใดๆ ที่เกิดจากเรื อได้ ตามพระราชบัญญัติเพิ่มอํานาจตํารวจในการป้องกันและปราบปรามการกระทํา ผิดทางนํ ้า พุทธศักราช 2496 และเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อ ก็มีอํานาจดําเนินคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการประมงได้ ด้ วยตามพระราชบัญญัติให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําผิดบางอย่างทางทะเล พ.ศ. 2490 จะเห็นได้ ว่าการ กระทําความผิดกรรมเดียวของเรื อเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบทและเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจตามกฎหมายก็มีหลาย หน่วยงาน กรณีเช่นนี ้ โดยหลักกฎหมายถือว่าเรื อที่กระทําผิดต้ องถูกดําเนินคดีโดยใช้ กฎหมายที่มีโทษหนักที่สดุ 316 แต่ปัญหาก็คือ หากเจ้ าพนักงานท้ องถิ่นเป็ นผู้พบการกระทําความผิดดังกล่าวและดําเนินคดีไปตามกฎหมายที่ตน รับผิดชอบ คือ กฎหมายว่าด้ วยการสาธารณสุขหรื อกฎหมายว่าด้ วยการรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบ

316

หลักกฎหมายอาญาตามมาตรา 90 แห่งประมวลกฎหมายอาญา บัญญัติว่า เมื่อการกระทําใด อันเป็ นกรรมเดียวเป็ นความผิด ต่อกฎหมายหลายบท ให้ ใช้ กฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สดุ ลงโทษแก่ผ้ กู ระทําความผิด

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


168

เรี ยบร้ อยของบ้ านเมือง แล้ วแต่ว่ากฎหมายใดจะมีโทษหนักกว่า317 คดีอาญาก็ยงั ไม่ระงับไป เนื่องจากความผิดตาม พระราชบัญญัติการประมง พุทธศักราช 2490 จะมีโทษหนักที่สดุ คือจําคุกตังแต่ ้ หกเดือนถึงห้ าปี และปรับตังแต่ ้ หนึ่ง หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท ดังนัน้ หากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของกรมประมงหรื อเจ้ าหน้ าที่ตํารวจของกองบังคับการ ตํารวจนํ ้าหรื อเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมาพบเข้ าอีกก็จะสามารถดําเนินคดีได้ อีก หรื อหากไม่มาพบก็จะทําให้ เรื อที่กระทํา ผิดได้ รับโทษที่ไม่เหมาะสม หรื อหากเป็ นกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ตํารวจเป็ นผู้พบการกระทําความผิดเป็ นรายแรกก็จะทําให้ เป็ นช่องทางแก่เจ้ าหน้ าที่ที่ไม่สจุ ริ ตกระทําการทุจริ ตเรี ยกประโยชน์จากเรื อที่กระทําผิด เพื่อจะดําเนินคดีในสถานเบา แทน ซึ่งเหตุการณ์ เช่นนี ้ได้ เคยเกิดขึ ้นจริ งมาแล้ ว แต่เป็ นกรณีการทํางานเป็ นกรรมกรในเรื อประมงไทยของคนต่างด้ าว สัญชาติพม่า ซึ่งกฎหมายว่าด้ วยการทํางานของคนต่างด้ าวผ่อนผันให้ ทํางานบนเรื อประมงไทยได้ แต่กฎหมายว่าด้ วย สิท ธิ ก ารประมงในเขตการประมงไทยบัญ ญัติ ห้ า มไว้ ซึ่ง เจ้ า หน้ า ที่ ไ ด้ ใ ช้ ก ฎหมายนี เ้ ป็ นเครื่ อ งมื อ ในการเรี ยกรั บ ประโยชน์จากเจ้ าของเรื อประมงผู้กระทําผิด โดยหากผู้กระทําผิดยอมให้ ประโยชน์ก็จะถูกปล่อยตัวโดยถือว่าไม่ได้ ทํา ผิดกฎหมายว่าด้ วยการทํางานของคนต่างด้ าว แต่หากไม่ยินยอมให้ ประโยชน์ก็จะถูกดําเนินคดีตามกฎหมายว่าด้ วย สิทธิการประมงในเขตการประมงไทยซึง่ กําหนดโทษสําหรับเจ้ าของเรื อไว้ ค่อนข้ างหนักคือจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับ ้ าทังปรั ้ บ จนเป็ นเหตุให้ ต้องมีการตราพระราชบัญญัติว่าด้ วยสิทธิการประมงในเขตการประมง ไม่เกินสองพันบาท หรื อทังจํ ไทย (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2539 เพื่อแก้ ไขให้ ผ่อนผันแก่คนต่างด้ าวสามารถทํางานเป็ นกรรมกรในเรื อประมงไทยได้ ปั ญหา ดังกล่าวจึงหมดไป แต่สําหรับปั ญหาความผิดเกี่ยวกับการทิ ้งสิ่งปฏิกลู นัน้ ในปั จจุบนั ยังไม่เกิดปั ญหาเหมือนกรณีคน ต่างด้ าวทํางานบนเรื อประมงไทย ซึ่งสันนิษฐานว่าเนื่องจากภาระการพิสจู น์ว่าเป็ นความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการ ประมงนัน้ เจ้ าหน้ าที่จะต้ องสามารถพิสจู น์ได้ ว่า สิ่งปฏิกลู ที่ทิ ้งลงในทะเลชายฝั่ งหรื อน่านนํ ้าภายในทําให้ เกิดมลพิษ แก่สตั ว์นํ ้า ดังนัน้ การที่เจ้ าหน้ าที่จะดําเนินคดีแก่เรื อในฐานความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการประมงจึงไม่อาจกระทํา ได้ โดยง่าย ส่วนโทษสําหรับความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยมีโทษไม่สงู นักคือจําคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทซึ่งอาจเท่ากับโทษตามกฎหมายที่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นรับผิดชอบอยู่และทําให้ คดีอาญาเป็ นอันระงับ เจ้ าหน้ าที่คนอื่นๆ ไม่สามารถดําเนินคดีซํ ้าในความผิดที่เรื อได้ กระทําอีกได้ อย่างไรก็ดี ตัวอย่างดังกล่าวเป็ นเพียงตัวอย่างในฐานความผิดเพียงหนึ่งกรณีเท่านัน้ ซึง่ กฎหมายภายในยังมี กรณี ความผิดในฐานความผิดอื่น ๆ อี กมาก เช่น หากพื น้ ที่ ชายฝั่ ง ที่ทิ ง้ สิ่งปฏิ กูลอยู่ใ นเขตอุทยานแห่งชาติก็จ ะมี ความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยอุทยานแห่งชาติเพิ่มขึ ้นอีก 1 กระทง และมีเจ้ าหน้ าที่ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชเข้ ามาเกี่ยวข้ องอีก 1 หน่วยงาน แต่เนื่องจากความผิดดังกล่าวมีโทษเบาคือปรับไม่เกินห้ าร้ อยบาท จึงอาจ ไม่เกิดปั ญหาการทุจริ ตคอรัปชัน่ ของเจ้ าหน้ าที่แต่จากตัวอย่างดังกล่าวก็อาจแสดงให้ เห็นได้ วา่ การบังคับใช้ กฎหมาย ภายในของไทยเกี่ยวกับทะเลนัน้ มีปัญหาในทางปฏิบัติ ทังความซํ ้ ้าซ้ อนของการกํากับดูแลกิจกรรมทางทะเลหรื อ ทรัพยากรธรรมชาติชนิดเดียวกันของหลายหน่วยงานโดยไม่มีการประสานงานกัน ขึ ้นอยู่กบั ว่าเจ้ าหน้ าที่ผ้ ใู ดจะเป็ น ผู้ตรวจตราพบการกระทําความผิดก่อน และอาจเป็ นปั ญหาในการใช้ อํานาจของเจ้ าหน้ าที่ตามกฎหมายซํ ้าซ้ อนกันใน ท้ องที่เดียวกันหรื อในเรื่ องหรื อกรณีความผิดเดียวกันได้ หากเจ้ าหน้ าที่ไม่มีความรู้ ด้านกฎหมายอย่างพอเพียง ก็อาจ ดําเนินคดีซํ ้าในความผิดที่เจ้ าหน้ าที่อื่นได้ ดําเนินคดีมาแล้ วโดยอาจทําการเปรี ยบเทียบปรับผู้กระทําความผิดซํ ้าซ้ อน

317

กฎหมายว่าด้ วยการรักษาความสะอาดฯ มีโทษปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาทสําหรับความผิดตามมาตรา 33 ส่วนกฎหมายว่าด้ วย การสาธารณสุขนันขึ ้ ้นอยูก่ บั ข้ อกําหนดขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ซึง่ แต่ละองค์กรจะมีโทษไม่เท่ากัน กรณีข้อบัญญัติของกรุ งเทพมหานคร จะมีโทษหนักที่สดุ คือ จําคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท ส่วนข้ อบัญญัติขององค์กรบริ หารส่วนตําบลจะมีโทษเบาที่สดุ คือปรับ ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


169

หลายครัง้ อันเป็ นผลให้ ประเทศไทยบังคับใช้ กฎหมายแก่เรื อต่างชาติขดั กับหลักกฎหมายของนานาอารยประเทศที่จะ ไม่ดําเนินคดีความผิดกรรมเดียวซํ ้าซ้ อนกัน แต่ควรจะต้ องใช้ กฎหมายที่มีโทษหนักที่สดุ บังคับแก่ผ้ กู ระทําความผิด เพียงครัง้ เดียว นอกเหนื อ จากปั ญ หาการใช้ อํ า นาจของเจ้ า หน้ า ที่ ใ นการดํ า เนิ น คดี อ าญาตามกฎหมายต่า งๆ ที่ แ ต่ล ะ หน่วยงานรับผิดชอบแล้ ว อาจมีปัญหาเกี่ยวกับการกระทําของเรื อต่างชาติที่ทําให้ เกิดความเสียหายต่อรัฐชายฝั่ ง ในทางแพ่งอีกด้ วย ดังเช่นกรณีเรื อต่างชาติทิ ้งสิ่งปฏิกลู ในน่านนํ ้าภายในหรื อชายฝั่ งทะเล หากทําให้ นํ ้าทะเลบริ เวณ นัน้ เน่าเสียหรื อเกิดมลพิษต่อทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตไม่ว่าพืชหรื อสัตว์ทะเลหรื อระบบนิเวศในบริ เวณนัน้ จะมี ปั ญหาว่ า ผู้ ใดเป็ นผู้ เสี ย หายที่ จ ะมี สิ ท ธิ ฟ้ องร้ องต่ อ ศาลให้ เรื อ ต่ า งชาติ ดํ า เนิ น การกํ า จั ด มลพิ ษ หรื อ ฟื ้ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติหรื อระบบนิเวศให้ กลับคืนมาดังเดิม เนื่องจากในระบบกฎหมายของไทยนอกจากจะไม่มีความ ชัดเจนว่ารัฐบาลไทยเป็ นผู้เสียหายที่มีอํานาจฟ้องแล้ ว ยังปรากฏด้ วยว่าส่วนราชการต่างๆ ในส่วนกลางที่มีฐานะเป็ น กรมขึ ้นไปหรื อราชการส่วนภูมิภาคอันได้ แก่จงั หวัดกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นแต่ละแห่งล้ วนมีฐานะทางกฎหมาย เป็ นนิติบคุ คลที่อาจเป็ นผู้เสียหายและมีอํานาจฟ้องได้ ทงสิ ั ้ ้น เรื่ องนี ้จึงมีปัญหาว่ารัฐบาลหรื อหน่วยงานใดจะเป็ น ผู้มี อํานาจฟ้อง ซึ่งในกรณีที่หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งได้ ดําเนินการกําจัดมลพิษหรื อฟื น้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติหรื อระบบนิเวศอัน เนื่ องจากผู้กระทํา (เรื อต่างประเทศ) ไม่ดําเนินการใดๆ แม้ จะมีการร้ องขอแล้ ว หน่วยงานแห่งนัน้ ก็อาจจะฟ้องเรี ยก ค่าใช้ จ่ายที่ได้ ดําเนินการไปก่อนแล้ วเพื่อมิให้ ปัญหาดังกล่าวทวีความรุ นแรงยิ่งขึ ้นหากไม่รีบดําเนินการแก้ ไข ซึ่งกรณีดงั กล่าว เป็ นเพียงตัวอย่างที่ยกขึ ้นมาเท่านันซึ ้ ่งในทางปฏิบตั ิจริ งๆ คงเป็ นปั ญหาดังที่กล่าวแล้ วว่า หน่วยงานใดจะสมควรเป็ นผู้มี ้ าเนินการแก้ ไขความเสียหายที่ตนก่อขึ ้นหรื อเข้ าดําเนินการ อํานาจฟ้องเรื อต่างชาติหรื อกระทําการใดๆ เพื่อให้ เรื อนันดํ แก้ ไขเสียก่อนในกรณี ที่จําเป็ นต้ องรี บดําเนินการแก้ ไข และปั ญหานี ร้ ัฐบาลคงจะรับทราบอยู่แล้ ว จึงได้ มีการออก ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้ องในเรื่ องนี ้ถึง 3 ฉบับ คือ (1) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการป้องกัน และขจัดมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน พ.ศ. 2538 (2) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยนโยบายและการฟื น้ ฟูทะเล ไทย พ.ศ. 2539 และ (3) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ พ.ศ. 2543 โดยระเบียบฉบับแรกเป็ นการบูรณาการหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องเพื่อให้ มีศูนย์ดําเนินงานในเรื่ องการ ป้องกันและขจัดมลพิษจากนํ ้ามันอย่างเป็ นระบบ แต่ก็มิได้ กล่าวถึงในเรื่ องการฟ้องร้ องดําเนินคดีผ้ กู ่อมลพิษ โดยอาจ เห็นว่าเป็ นเรื่ องที่หน่วยงานที่ได้ ออกค่าใช้ จ่ายไปจะเป็ นผู้ดําเนินการดังกล่าวเอง ส่วนระเบียบฉบับที่สองมีลกั ษณะ เช่นเดียวกับฉบับแรก แต่มีเนื อ้ หาครอบคลุมในเรื่ องของสิ่งแวดล้ อมมากว่าฉบับแรกที่ม่งุ เฉพาะมลพิษจากนํ า้ มัน สําหรับระเบียบฉบับที่สามก็เช่นเดียวกันแต่มีวตั ถุประสงค์ที่จะอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างไรก็ตาม ระเบียบทังสองฉบั ้ บหลังมุ่งที่จะดําเนินงานให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์มากกว่าการแก้ ไขปั ญหาในทาง คดี ห รื อ อํ า นาจฟ้ อง เนื่ อ งจากระเบี ยบทัง้ สามฉบับ มี ส ถานะเป็ นเพี ย งกฎที่ อ อกโดยฝ่ ายบริ ห ารและใช้ บัง คับ กับ หน่วยงานภายในฝ่ ายบริ หาร จึงไม่สามารถเขียนให้ อํานาจฝ่ ายบริ หารในเรื่ องที่จะกระทบสิทธิเสรี ภาพของบุคคลอื่นที่ อยู่น อกเหนื อ จากการบัง คับ ใช้ ข องระเบี ย บได้ ดัง นัน้ ปั ญ หาในเรื่ อ งเขตอํ า นาจฟ้ องทางแพ่ง ก็จะเป็ นปั ญ หาแก่ หน่วยงานที่จะต้ องดําเนินการต่อไป ซึ่งหากมีผ้ กู ่อมลพิษรายใดสู้คดีจนถึงชัน้ ศาลให้ ถึงที่สดุ ถึงเวลานัน้ ก็จะมีแนว บรรทัดฐานจากคําพิพากษาของศาลวางไว้ ให้ ถือปฏิบตั ิต่อไป ระเบียบทังสามฉบั ้ บจึงเป็ นเพียงกรณีตวั อย่างของการ แก้ ไขปั ญหาในการประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐด้ วยกันเอง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


170

นอกจากปั ญหาในทางปฏิบตั ิที่เกิดจากการบังคับใช้ กฎหมายของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ในแต่ละหน่วยงาน ไม่ว่าความ ซํ า้ ซ้ อนในการกํ ากับดูแลกิ จกรรมทางทะเลหรื อทรั พยากรธรรมชาติ ชนิ ดเดี ยวกันหรื อในเขตพื น้ ที่ เดี ยวกัน แต่ ขาดการ ประสานงานกันดังที่กล่าวแล้ ว ในบางกรณีเป็ นปั ญหาในทางปฏิบตั ทิ ี่มิได้ เกิดจากการบังคับใช้ กฎหมายหรื อเกิดจากการบังคับ ใช้ กฎหมายอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ปั ญหาของการบุกรุ กที่ดินชายฝั่ งทะเลอันเป็ นที่ของป่ าสงวนหรื ออุทยานแห่งชาติทาง ทะเลหรื อที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน อันก่อให้ เกิดปั ญหาป่ าชายเลนหรื ออุทยานแห่งชาติทางทะเลเสื่อมโทรมหรื อลดน้ อยลง และส่งผลให้ เกิดปั ญหาการกัดเซาะพื ้นที่ชายฝั่ งทะเล และระบบนิเวศของชายฝั่ งทะเลต้ องสูญเสียไป ไม่ว่าหาดทราย ปะการัง หรื อพืชชายฝั่ งหรื อพืชทะเลบางชนิด เช่น ป่ าไม้ โกงกางหรื อหญ้ าทะเล เป็ นต้ น ปั ญหาต่างๆ เหล่านี ้จึงไม่ใช่การแก้ ไขปั ญหาด้ วย การตรากฎหมายขึ ้นใหม่ แต่ต้องแก้ ไขด้ วยการบังคับใช้ กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่ากฎหมายว่าด้ วยป่ าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้ วยอุทยานแห่งชาติ หรื อกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ เพื่อมิให้ มีการบุกรุก ที่ดินบริ เวณชายฝั่ งทะเล นอกจากปั ญหาการบุกรุกที่ดินของประชาชนแล้ ว ในส่วนของการประกอบกิจการหรื อการก่อสร้ างที่อยู่ อาศัยริ มชายฝั่ งทะเลก็จะต้ องมีมาตรการบังคับใช้ กฎหมายอย่างเข้ มงวด ไม่ว่าการกําหนดเขตห้ ามก่อสร้ างอาคารบริ เวณ ชายฝั่ งทะเลตามกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมอาคาร การกําหนดให้ เขตชายฝั่ งทะเลเป็ นเขตอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมตามกฎหมายว่า ด้ วยการผังเมืองหรื อกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม การห้ ามสร้ างโรงงานบริ เวณชายฝั่ งทะเลตาม กฎหมายว่าด้ วยโรงงาน (ซึ่งที่ผ่านมาพนักงานเจ้ าหน้ าที่มักอนุญาตให้ สร้ างโรงงานก่อน แล้ วจึงทําประชาพิจารณ์ รับฟั ง ความเห็นในภายหลัง ดังเช่น โรงงานไฟฟ้าที่บ่อนอกหรื อหินกรูด แต่ก็ได้ รับการคัดค้ านจากชุมชนทําให้ ไม่สามารถก่อสร้ างได้ ) การ ห้ ามขุดทรายชายฝั่ งทะเลตามกฎหมายว่าด้ วยการขุดดินหรื อถมดิน ตลอดจนการห้ ามจัดตังนิ ้ คมอุตสาหกรรมติดชายฝั่ งทะเล จนเกินสมควรหรื อการสร้ างท่าเรื อบริเวณชายฝั่ งที่สง่ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้ อมชายฝั่ งจนเกินสมควร รวมทังการเฝ ้ ้ าระวังมิให้ นักท่องเที่ยวทิ ้งขยะมูลฝอยบริ เวณชายหาดซึ่งมีความผิดตามกฎหมายหลายฉบับดังที่กล่าวแล้ วและการกําหนดการ ระบายนํ ้าเสียจากอาคารหรื อโรงงานลงสูท่ ะเลด้ วย สําหรั บปั ญหาบางประการเกี่ยวกับการบังคับใช้ กฎหมายเกี่ยวกับการประมง เช่น ปั ญหาผลประโยชน์ ที่ ขัดกันระหว่างชาวประมงพื ้นบ้ านริ มฝั่ งทะเลกับผู้ประกอบการประมงในเชิงพาณิชย์ซึ่งใช้ วิธีการทําประมงโดยไม่ได้ คํานึงถึงปริ มาณสัตว์นํ ้าที่ควรมีในระดับที่สร้ างผลผลิตได้ อย่างยัง่ ยืน ทําให้ ปริ มาณสัตว์นํ ้าลดลงและกระทบต่อการทํา ประมงของชาวประมงพืน้ บ้ านซึ่งมีขีดความสามารถที่จํากัดในการทําประมงเฉพาะบริ เวณริ มฝั่ งทะเลนัน้ ในทาง กฎหมายแล้ ว กฎหมายว่า ด้ ว ยการประมงได้ บัญญัติมาตรการที่อาจนํ ามาใช้ แ ก้ ไขปั ญ หานี ไ้ ด้ เช่น กํ าหนดห้ า ม เครื่ องมือทําการประมงชนิดที่สร้ างความเสียหายให้ แก่ปริ มาณสัตว์นํ ้าหรื อระบบนิเวศของสัตว์นํ ้า ไม่ว่าเครื่ องมืออวน ลากหรื ออวนรุ น หรื ออาจกําหนดจํานวนหรื อปริ มาณสัตว์นํ ้าที่อนุญาตให้ ผ้ ปู ระกอบการประมงเชิงพาณิชย์จบั ได้ แต่ มาตรการดังกล่าวจะต้ องมีการเฝ้าระวัง ตรวจตรา และจับกุมอย่างเคร่ งครัดและมีประสิทธิภาพซึ่งเป็ นปั ญหาในทาง ปฏิบตั ิที่มีพนักงานเจ้ าหน้ าที่ไม่เพียงพอจะกระทําเช่นนันได้ ้ ในบางกรณีแม้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่พบการกระทําผิด แต่ ผู้ประกอบการที่มีเรื อประมงที่มีสมรรถนะสูงก็อาจหลบหนีได้ หรื อมิฉะนันหากจะถู ้ กจับกุมได้ ผ้ ปู ระกอบการจะใช้ วิธี ทําลายหลักฐานเสียทําให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ไม่มีพยานหลักฐานในการดําเนินคดีและอาจถูกฟ้องกลับฐานกลัน่ แกล้ ง ้ ญหาการประพฤติมิชอบของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ที่ปล่อยให้ มีการกระทํา หรื อปฏิบตั ิหน้ าที่โดยมิชอบอีกด้ วย รวมทังปั ความผิ ด โดยเรี ย กหรื อ รั บ ประโยชน์ ต อบแทน ปั ญ หาในทางปฏิ บัติ เ หล่า นี จ้ ึ ง จํ า เป็ นจะต้ อ งใช้ ค วามร่ ว มมื อ ของ ชาวประมงที่ทําประมงอย่างถูกต้ องหรื อชาวประมงพื ้นบ้ านเพื่อเป็ นพยานในการดําเนินคดีความผิดของพนักงานงาน เจ้ าหน้ าที่ซงึ่ ประพฤติมิชอบหรื อผู้ประกอบการที่ทําการประมงโดยผิดกฎหมาย หรื ออาจต้ องพึง่ พาเทคโนโลยีสมัยใหม่

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


171

ในการบันทึกภาพการทําประมงที่ ผิดกฎหมายเข้ ามาช่วย ซึ่งจะเป็ นภาระด้ านงบประมาณของรั ฐและเป็ นภาระแก่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ในการระวังรักษาอุปกรณ์มิให้ เสียหายหรื อสูญหาย นอกจากปั ญ หาดัง กล่า วแล้ ว ปั ญ หาอื่ น ๆ ที่ มิไ ด้ เกิ ด จากการบัง คับ ใช้ ก ฎหมายก็ มี เช่น ปั ญ หาจากภัย ธรรมชาติตวั อย่าง ได้ แก่ คลื่นสึนามิที่อาจทําลายระบบนิเวศชายฝั่ ง หรื อการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกริ มฝั่ งทะเลซึ่ง อาจทําลายสภาพแวดล้ อมชายฝั่ ง ตลอดจนกระแสนํ ้าที่อาจเปลี่ยนทิศทางทําให้ สภาพชายฝั่ งถูกกัดเซาะหรื อเปลี่ยน สภาพไป เป็ นต้ น หรื อปั ญหาของการเจริ ญเติบโตในทางเศรษฐกิจ ทําให้ มีนกั ท่องเที่ยวเข้ ามาเที่ยวเป็ นจํานวนมาก และทําให้ การดูแลสภาพแวดล้ อมให้ คงอยู่ตามธรรมชาติเป็ นไปโดยยาก หรื อทําให้ ต้องมีสิ่งก่อสร้ างรองรับ ไม่ว่า ท่าเรื อประมง ท่าเรื อเดินทะเล หรื อนิคมอุตสาหกรรมหรื อโรงงานผลิตก๊ าซจากอ่าวไทย สิ่งเหล่านี ้นับว่าเป็ นปั ญหาและ อุปสรรคในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติให้ ยงั่ ยืนที่ยากต่อการแก้ ไขเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากการพัฒนาประเทศไปสู่ ความเจริ ญทางด้ านวัตถุนัน้ ย่อมสวนทางกับการรักษาหรื ออนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมให้ คงอยู่ตามธรรมชาติ การพัฒนา ประเทศจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะต้ องคํ า นึงถึงการพัฒนาอย่างยั่ง ยืนสอดคล้ องกับความเป็ นไปของธรรมชาติและ สิง่ แวดล้ อม 2) ทะเลอาณาเขต อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดไว้ ใน Article 2 ให้ รัฐชายฝั่ งมีอํานาจ อธิ ปไตยในทะเลอาณาเขต (น่านนํา้ ภายในบริ เวณไม่เกิน 12 ไมล์ทะเลจากเส้ นฐาน) ซึ่งรวมถึงห้ วงอากาศเหนือทะเล อาณาเขต พื ้นดินท้ องทะเลกับใต้ พื ้นดินท้ องทะเลของทะเลอาณาเขต โดยรัฐชายฝั่ งมีสทิ ธิและข้ อจํากัดสิทธิ ดังนี ้ 2.1) สิทธิกาํ หนดกฎเกณฑ์ การเดินเรื อในทะเลอาณาเขต ในเรื่ องนี ้มีกฎหมายที่สําคัญและเป็ นกฎหมายหลักในการกําหนดกฎเกณฑ์การเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยซึ่ง ั ญัติให้ รัฐมนตรี ว่าการ รวมถึงทะเลอาณาเขตด้ วยคือ พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ได้ บญ กระทรวงคมนาคมมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดแนวแม่นํ ้าลําคลองหรื อทะเลอาณาเขตแห่งใดเป็ นเขตท่าเรื อและ เขตจอดเรื อ รวมทังกํ ้ าหนดทางเดินเรื อทัว่ ไปและทางเดินเรื อในเขตท่าเรื อ ยกเว้ นทางเดินเรื อในเขตท่าเรื อกรุ งเทพฯ ั ญัติให้ เรื อที่เดินด้ วยเครื่ องจักกล (เรื อกําปั่ น) ตาม (เว้ นแต่กรณีจําเป็ นและเป็ นการเฉพาะคราว) นอกจากนี ้ ยังได้ บญ ประเภทที่เจ้ าท่ากําหนด เมื่อเข้ ามาในน่านนํ ้าไทยต้ องแจ้ งต่อเจ้ าท่า ชักธงสําหรับเรื อนันขึ ้ ้นไว้ ให้ ปรากฏ และติดตัง้ และเปิ ดใช้ โคมไฟในเวลากลางคืน หากเข้ ามาในเขตท่าเรื อหรื อออกจากเขตท่าเรื อ นายเรื อต้ องรายงานต่อเจ้ าท่า ภายใน 24 ชัว่ โมงนับแต่เรื อเข้ ามาและก่อนออกไป สําหรับเรื อเดินทะเลระหว่างประเทศจะต้ องแจ้ งกําหนดออกเรื อ จากเขตท่าเรื อไม่น้อยกว่า 6 ชัว่ โมงเพื่อให้ เจ้ าท่าตรวจเรื อและใบสําคัญประจําเรื อ นอกจากกฎเกณฑ์ข้างต้ นแล้ ว กฎหมายดังกล่าวได้ กําหนดกฎเกณฑ์ที่เป็ นรายละเอียดอีกมากไม่ว่าการ กําหนดทําเลทอดจอดเรื อ ทางเดินเรื อในลําแม่นํ ้า ห้ ามจับสัตว์นํ ้าในลักษณะที่กระทบต่อการเดินเรื อเฉพาะในท่าเรื อ ้ อบังคับเบ็ดเตล็ด เช่น การผูกเรื อกับฝั่ ง การเข้ าเทียบหรื อ กรุงเทพ ส่วนท่าเรื ออื่นถ้ าได้ รับอนุญาตก็กระทําได้ รวมทังข้ จอดยังท่า ห้ ามปลูกสร้ างอาคารหรื อสิ่งอื่นใดล่วงลํ ้าเข้ าไปในนํ า้ อันเป็ นทางสัญจร หรื อทะเลในน่านนํ า้ ไทยหรื อบน ชายหาด เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากเจ้ าท่า และห้ ามเท ทิ ้ง หรื อทําด้ วยประการใดๆ ให้ หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิ่งของหรื อสิ่งปฏิกลู ใดๆ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าท่า แต่กรณีทิ ้งหรื อทําด้ วยประการใดๆ ให้ นํ ้ามัน หรื อเคมีภณ ั ฑ์ ลงในนํา้ ทะเลภายในน่านนํ า้ ไทย อันอาจเป็ นเหตุให้ เกิดเป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้ อม หรื อเป็ นอันตรายต่อการ เดินเรื อนันเป็ ้ นข้ อห้ ามที่ไม่มีข้อยกเว้ น เป็ นต้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


172

นอกจากกฎเกณฑ์การเดินเรื อแล้ ว กฎหมายดังกล่าวยังได้ กําหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับตัวเรื อและบุคลากร บนเรื อด้ วย เช่น ใบอนุญาตใช้ เรื อ โดยเรื อต้ องระบุชื่อเรื อและวัตถุประสงค์การใช้ เรื อและเรื อต้ องอยู่ในสภาพที่สะอาด ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย เรื อเดินทะเลต้ องมีใบสําคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ยกเว้ นเรื อ บางประเภท และเรื อทุกลําต้ องมีใบสําคัญรับรองแนวนํ ้าบรรทุก ยกเว้ นเรื อบางประเภท รวมตลอดถึงใบสําคัญรับรอง การตรวจเรื อเพื่อการอนุญาตให้ ใช้ เรื อ เพื่อจดทะเบียนเรื อไทยหรื อเพื่อการอื่น และใบอนุญาตสําหรับผู้ควบคุมเรื อหรื อ ประกาศนียบัตรสําหรับนายเรื อ ต้ นหน สรั่ง ไต้ ก๋ง นายท้ าย คนถือท้ าย ต้ นกล หรื อคนใช้ เครื่ องอีกด้ วย นอกจากนัน้ ยังให้ อํานาจเจ้ าท่า เจ้ าพนักงานกองตระเวน หรื อเจ้ าพนักงานกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีขึ ้นตรวจบนเรื อได้ ทุกลําอีกด้ วย รวมทังกํ ้ าหนดให้ ของใดที่เรื อบรรทุกเป็ นสิ่งของที่อาจทําให้ เกิดอันตรายได้ ซงึ่ ต้ องหีบห่อ จัดเก็บ จัดแยก หรื อทําเครื่ องหมายหรื อขนถ่ายสิง่ ของดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในกฎกระทรวง ส่วนการทอดสมอหรื อเกาสมอ ้ ่งก่อสร้ างที่ทอดใต้ นํ ้า ก็มีกฎเกณฑ์กําหนดห้ ามทําใกล้ หรื อข้ ามสายโทรเลข โทรศัพท์ สายไฟฟ้าหรื อสายอื่นใด รวมทังสิ หรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทย นอกจากกฎเกณฑ์การเดินเรื อและตัวเรื อกับบุคลากรแล้ ว ยังมีข้อกําหนดเพื่อป้องกันโรคภยันตราย โดย กําหนดให้ เรื อที่มาจากท่าที่มีโรคติดต่อต้ องจอดอยู่ยงั สถานที่ที่กําหนดจนกว่าเจ้ าพนักงานแพทย์จะอนุญาตปล่อยไป ได้ ประการสุดท้ ายกฎหมายนี ้ได้ กําหนดข้ อบังคับสําหรับกรณีมีเหตุเรื อโดนกันไว้ อีกด้ วย จากกฎเกณฑ์ที่พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ได้ บญ ั ญัติไว้ นนแสดง ั้ ั ญัติครอบคลุมเกือบทุกเรื่ อง แม้ แต่เรื่ องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อม การสาธารณสุข ความ ให้ เห็นว่ากฎหมายดังกล่าวได้ บญ ปลอดภัย การจับสัตว์นํา้ รวมตลอดถึงกรณี เรื อโดนกันอีกด้ วย จึงเป็ นข้ อสังเกตประการหนึ่งว่าหากมีกฎหมายอื่น ้ ทุกฉบับ ซึง่ จะ บัญญัติในเรื่ องเดียวกันไว้ ผ้ อู ยูใ่ นบังคับของกฎหมายจะทําอย่างไรหรื อจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายนันๆ ได้ วิเคราะห์ในเรื่ องนี ้ต่อไป กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการเดินเรื อในทะเลอาณาเขตยังมีอีกหลายฉบับ ดังนี ้ (1) พระราชบัญญัติการท่าเรื อแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 กฎหมายฉบับนี ้กําหนดองค์กรขึ ้นเรี ยกว่า “การท่าเรื อแห่งประเทศไทย” ซึ่งรับผิดชอบท่าเรื อกรุ งเทพฯและท่าเรื ออื่นที่การท่าเรื อฯ เป็ นเจ้ าของ โดยการท่าเรื อฯ มี อํานาจกํ าหนดหลักเกณฑ์ ว่าด้ วยความปลอดภัย การใช้ ท่าเรื อ และบริ การต่างๆ ของกิ จการท่า เรื อ รวมทัง้ กํ า หนด ค่าบริ การหรื อค่าภาระต่างๆ ภายในอาณาบริเวณท่าเรื อด้ วย ดัง ที่ ไ ด้ ก ล่า วแล้ ว ว่ า พระราชบัญ ญัติ ก ารเดิ น เรื อ ในน่ า นนํ า้ ไทย พุท ธศัก ราช 2456 ให้ อํ า นาจออก กฎกระทรวงกํ าหนดการเดินเรื อในท่าเรื อต่างๆ ได้ ยกเว้ นท่าเรื อกรุ งเทพฯ ซึ่งมีข้อยกเว้ นว่าถ้ าจําเป็ นและเป็ นการ เฉพาะคราวก็สามารถกําหนดในท่าเรื อกรุงเทพฯ ได้ ด้วย กฎเกณฑ์การเดินเรื อของ 2 หน่วยงาน คือกระทรวงคมนาคม (โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคมเป็ นผู้ออกกฎกระทรวงและมีกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีเป็ นหน่วย ปฏิบตั ิ) กับการท่าเรื อแห่งประเทศไทย จึงนํามาบังคับใช้ กบั เรื อที่เข้ ามายังท่าเรื อของการท่าเรื อฯ ก่อให้ เกิดกฎเกณฑ์ที่ ซํ ้าซ้ อนของ 2 หน่วยงาน ซึง่ หากทัง้ 2 หน่วยงานมีการประสานงานในการออกกฎเกณฑ์ให้ เป็ นไปทิศทางเดียวกันแล้ ว ก็จะไม่เกิดปั ญหาในการปฏิบตั ิตามแต่อย่างใด เว้ นแต่กรณีไม่มีการประสานงานกันและมีกฎเกณฑ์บางประการที่อาจ ขัดหรื อแย้ งกันก็จะก่อให้ เกิดภาระแก่เรื อผู้ปฏิบตั ิที่อาจทําถูกต้ องตามกฎเกณฑ์ของหน่วยงานหนึ่ง แต่อาจไปขัดกับ กฎเกณฑ์ของอีกหน่วยงานหนึง่ ได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาโทษสําหรับกรณีไม่ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ของการท่าเรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


173

ฯ แล้ ว โทษดังกล่าวกําหนดไว้ เฉพาะโทษปรับไม่เกินสองพันบาท318 และให้ อํานาจพนักงานสอบสวนเปรี ยบเทียบได้ อีกด้ วย โทษจึงตํ่ามากจนถือได้ ว่ากรณีนี ้เป็ นปั ญหาเพียงเล็กน้ อยเท่านัน้ และเมื่อเกิดปั ญหาก็สามารถแก้ ไขด้ วยการ ประสานงานกันให้ กฎเกณฑ์เป็ นไปในทิศทางเดียวกันได้ โดยไม่ยาก เพราะเป็ นการแก้ ไขกฎหมายระดับอนุบญ ั ญัติ และเขตพื ้นที่ที่ซํ ้าซ้ อนก็มีอยูน่ ้ อยเฉพาะเขตพื ้นที่ของการท่าเรื อฯ ซึง่ อยูใ่ นท่าเรื อเท่านัน้ (2) พระราชบัญญัติเรื อไทย พุทธศักราช 2481 กฎหมายฉบับนี ้มีสาระสําคัญหลักคือการจดทะเบียน เป็ นเรื อไทย ซึ่งจะมีสิทธิ ทําการค้ าในน่านนํ า้ ไทยที่อยู่ภ ายใต้ อธิ ปไตยของไทย อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับนี ไ้ ด้ กล่าวถึงในเรื่ องอื่นๆ ด้ วย เช่น การจํานองและบุริมสิทธิของเรื อไทย เขตอํานาจทางอาญากรณีมีการกระทําผิดอาญา บนเรื อไทย หรื ออํานาจการกักและยึดเรื อของเจ้ าพนักงาน319 กรณีเรื อทําการค้ าหรื อกระทําการใด อันเป็ นการกระทํา ผิดตามกฎหมายนี ้หรื อความผิดอื่นที่มีโทษจําคุกตังแต่ ้ สิบปี ขึ ้นไป ดังนัน้ กรณีที่กฎหมายนี ้กําหนดให้ มีเจ้ าพนักงาน มาจากหลายหน่วยงาน หากแต่ละหน่วยงานไม่ได้ ประสานงานกันก็อาจทําให้ เกิดปั ญหาการปฏิบตั ิในการกักหรื อยึด เรื อที่แตกต่างกันได้ เช่น วิธีการขึน้ ตรวจเรื อก่อนทําการกักหรื อยึด หรื อการกําหนดสถานที่กกั หรื อยึด ตลอดจนการ ควบคุมดูแลรักษาตลอดเวลาที่กกั หรื อยึด เป็ นต้ น (3) พระราชบัญญัติส่งเสริ มการพาณิ ชยนาวี พ.ศ. 2521 กฎหมายฉบับนี ม้ ีสาระสําคัญหลักในการ ควบคุมกิจการขนส่งทางทะเลจากประเทศไทยไปยังต่างประเทศ หรื อจากต่างประเทศมายังประเทศไทยด้ วยระบบใบ ทะเบียนประกอบกิจการดังกล่าว รวมทังควบคุ ้ มกิจการอู่เรื อที่ให้ บริ การต่อ ซ่อม หรื อซ่อมบํารุ งเรื อที่มีขนาดตังแต่ ้ หกสิบ ้ ่เป็ นมาตรการจูงใจ ตันกรอสขึ ้นไป นอกจากนี ้ ยังกําหนดมาตรการส่งเสริ มการใช้ เรื อไทยในกิจการขนส่งทางทะเล ทังที ด้ วยการยกเว้ นหรื อลดหย่อนภาษี เงินได้ หรื อหักค่าระวางหรื อค่าใช้ จ่ายอย่างอื่ นไม่เกิ น ร้ อยละห้ าสิบ หรื อที่เป็ น มาตรการบังคับ ดังนัน้ บทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี ้จึงไม่มีปัญหาในทางปฏิบตั ิกบั กิจการเดินเรื อตามกฎหมายอื่น (4) พระราชบัญ ญั ติ ป้ องกัน เรื อ โดนกัน พ.ศ. 2522 กฎหมายฉบับ นี ไ้ ด้ ใ ห้ อํ า นาจรั ฐ มนตรี อ อก กฎกระทรวงกําหนดในเรื่ องดังต่อไปนี ้ เพื่อใช้ บงั คับแก่เรื อไทยและเรื อต่างประเทศที่อยูใ่ นน่านนํ ้าไทย และเรื อไทยที่อยู่ ในทะเลหลวง - การถือท้ ายและการเดินเรื อ - โคมไฟและทุน่ เครื่ องหมาย - สัญญาณเสียงและสัญญาณแสง - ข้ อยกเว้ นในการป้องกันเรื อโดนกัน - ที่ติดตังและรายละเอี ้ ยดทางเทคนิคของโคมไฟและทุน่ เครื่ องหมาย - สัญญาณที่ต้องเพิ่มขึ ้นสําหรับเรื อประมงขณะทําการประมงใกล้ กนั - รายละเอียดทางเทคนิคของเครื่ องทําสัญญาณเสียง - สัญญาณอับจน

318

สําหรั บโทษตามพระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 มี ทัง้ โทษทางอาญาคือปรับตังแต่ ้ ห้าร้ อย บาทถึงห้ าพันบาท และโทษทางปกครองคือเจ้ าท่ามีอํานาจยึดประกาศนียบัตรควบคุมเรื อได้ ไม่เกินหกเดือน โทษจึงหนักกว่าโทษตามกฎหมาย ของการท่าเรื อฯ 319 เจ้ า พนัก งานที่ มีอํา นาจกัก และยึด เรื อ ได้ แ ก่ พนัก งานฝ่ ายปกครองหรื อ ตรวจชัน้ ผู้ใหญ่ ต ามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา เจ้ าท่าหรื อผู้รักษาการแทน นายทหารชันสั ้ ญญาบัตรผู้ทําหน้ าที่ผ้ บู งั คับบัญชาป้อม ผู้การเรื อ หรื อผู้บงั คับการกองทหารแห่งราช นาวี เจ้ าพนักงานศุลกากรตังแต่ ้ หวั หน้ ากองขึ ้นไป หรื อเจ้ าพนักงานซึง่ รัฐมนตรี แต่งตังเพื ้ ่อการนี ้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


174

โดยได้ บญ ั ญัติต่อไปด้ วยว่าให้ ถือว่ากฎกระทรวงดังกล่าวเป็ นกฎข้ อบังคับสําหรับป้องกันเหตุเรื อโดนกัน ตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย และหากผู้ใดฝ่ าฝื นก็จะต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับที่บญ ั ญัติไว้ สําหรับ เรื อในกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยอีกด้ วย ดังนัน้ จากบทบัญญัติดงั กล่าวทําให้ หลักเกณฑ์การเดินเรื อ ตามกฎหมายฉบับนี ้เป็ นกฎเกณฑ์การเดินเรื อตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยด้ วย ทําให้ ปัญหาในทาง ปฏิบตั ิที่อาจเกิดจากกฎหมายไม่สอดคล้ องกันจึงหมดไป 2.2) เขตอํานาจทางอาญาของรั ฐชายฝั่ งบนเรื อต่ างชาติในทะเลอาณาเขต ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ วางหลักทัว่ ไปว่ารัฐชายฝั่ งไม่สามารถ ใช้ อํานาจดังกล่าวได้ แต่มีข้อยกเว้ นบางประการ คือ - ถ้ าผลแห่งการกระทําผิดอาญาขยายไปถึงรัฐชายฝั่ ง - ถ้ าความผิดเป็ นประเภทที่รบกวนต่อสันติภาพหรื อความสงบเรี ยบร้ อยอันดี - ถ้ านายเรื อ ตัวแทนทางทูตหรื อกงสุลของรัฐเจ้ าของธงร้ องขอ - ถ้ าจําเป็ นสําหรับการปราบปรามการค้ ายาเสพติด - ถ้ าเป็ นขันตอนต่ ้ อเนื่อง เช่น การจับกุมหรื อการสอบสวนในเขตน่านนํ ้าภายใน หากเรื อออกจาก น่านนํ ้าภายในผ่านทะเลอาณาเขต รัฐชายฝั่ งมีสิทธิกระทําได้ แต่ต้องคํานึงถึงประโยชน์ของการ เดินเรื อด้ วย ในเรื่ องนี ้มีกฎหมายของไทยหลายฉบับที่เกี่ยวข้ อง ดังนี ้ (1) ประมวลกฎหมายอาญา โดยเฉพาะมาตรา 5 ที่บญ ั ญัติว่า ความผิดใดที่การกระทําแม้ แต่ส่วนหนึ่ง ส่วนใดได้ กระทําในราชอาณาจักรก็ดี ผลแห่งการกระทําเกิดในราชอาณาจักรโดยผู้กระทําประสงค์ให้ ผลนันเกิ ้ ดใน ้ ดในราชอาณาจักรหรื อย่อมจะเล็งเห็นได้ ว่าผล ราชอาณาจักร หรื อโดยลักษณะแห่งการกระทําผลที่เกิดขึ ้นนันควรเกิ นันจะเกิ ้ ดในราชอาณาจักรก็ดี ให้ ถือว่าความผิดนันได้ ้ กระทําในราชอาณาจักร และวรรคสองของมาตรานี ้ได้ บญ ั ญัติ ต่อไปอีกว่า ในกรณีการตระเตรี ยมการหรื อพยายามกระทําการใดซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด แม้ การกระทํานัน้ จะได้ กระทํานอกราชอาณาจักร ถ้ าหากการกระทํ านัน้ จะได้ กระทําตลอดไปจนถึงชัน้ ความผิดสําเร็ จ ผลจะเกิ ดขึน้ ใน ราชอาณาจักร ให้ ถือว่า การตระเตรี ยมการหรื อพยายามกระทําความผิดนัน้ ได้ กระทําในราชอาณาจักร บทบัญญัติ ดังกล่าวเป็ นการสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาสหประชาชาติที่กล่าวไว้ ข้างต้ น อย่างไรก็ตาม แม้ ประมวลกฎหมายอาญาให้ อํานาจรัฐดําเนินคดีอาญาแก่ผ้ กู ระทําผิดบนเรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขตได้ ถ้ าผลแห่งการกระทําผิดนันเกิ ้ ดขึ ้นใน ราชอาณาจักร แต่ประมวลกฎหมายอาญาก็มีข้อจํากัดอยูบ่ างประการ โดยเฉพาะถ้ าเป็ นความผิดอาญาอันยอมความ ได้ ห รื อ ความผิ ดต่อ ส่ว นตัว ไม่ใ ช่ ค วามผิ ด อาญาแผ่น ดิ น ก็ จ ะต้ อ งมี ผ้ ูเ สีย หายกล่า วโทษร้ องทุกข์ เ สี ย ก่ อ นจึง จะ ดําเนินการสืบสวนและสอบสวนดําเนินคดีกบั ผู้กระทําผิดได้ และเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาจะจํากัดอยู่ เฉพาะพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจ320 ที่มีอํานาจสืบสวน ส่วนอํานาจสอบสวนเป็ นของพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อ

320

พนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจนันตามประมวลกฎหมายวิ ้ ธีพิจารณาความอาญาให้ มีอํานาจทําการสืบสวนคดีอาญาและได้ ให้ ความหมายไว้ โดยให้ หมายความถึง เจ้ าพนักงานซึง่ กฎหมายให้ มีอํานาจและหน้ าที่รักษาความสอบเรี ยบร้ อยของประชาชน ให้ รวมทังพั ้ ศดี เจ้ าพนักงานกรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมเจ้ าท่า (ปั จจุบนั คือกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี) พนักงานตรวจคนเข้ าเมือง และเจ้ า พนักงานอื่นๆ ในเมื่อทําการอันเกี่ยวกับการจับกุมปราบปรามผู้กระทําผิดกฎหมายซึง่ ตนมีหน้ าที่ต้องจับกุมหรื อปราบปราม

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


175

ตํารวจชันผู ้ ้ ใหญ่321 ดังนัน้ หากการกระทําความผิดเกิดขึ ้นบนเรื อต่างชาติและเข้ าเงื่อนไขตามมาตรา ๕ แห่งประมวล กฎหมายอาญาก็อาจมีปัญหาว่าพนักงานสอบสวน ซึ่งโดยปกติประจําการอยู่บนฝั่ งจะสอบสวนผู้กระทําผิดอย่างไร เว้ นแต่ว่าพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตรวจจะมีเรื อเพื่อขึ ้นตรวจตราและจับกุมผู้กระทําผิดมายังสถานที่ประจําการของ พนักงานสอบสวนได้ นอกจากนี ้ หากฐานความผิดที่กระทํานัน้ อยู่ในเขตอํานาจของเจ้ าพนักงานตามกฎหมายอื่น ด้ วยก็จะมีปัญหาในเรื่ องขอบเขตอํานาจในการดําเนินคดีความผิดนัน้ ว่าเป็ นของเจ้ าพนักงานผู้ใด และปั ญหาอีก ประการก็คือ หากนําผู้ต้องหาซึง่ กระทําความผิดบนเรื อในทะเลอาณาเขตมาได้ ถ้ าไม่ได้ มีการแบ่งเขตความรับผิดชอบ ระหว่างพนักงานสอบสวนภายในทะเลอาณาเขตไว้ ดังเช่นที่มีการกําหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนในซึ่งถือเป็ น น่านนํ ้าภายในของประเทศไทยก็จะต้ องนําส่งอัยการสูงสุดหรื อพนักงานสอบสวนที่อยั การสูงสุดมอบหมายอันเป็ น ขันตอนที ้ ่ก่อให้ เกิดความยุง่ ยากในทางปฏิบตั ิพอสมควร (2) พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัด พ.ศ. 2534 กฎหมายฉบับนี ไ้ ด้ ให้ อํานาจทหารเรื อเป็ นพนักงานสอบสวนมีอํานาจขึน้ ตรวจตราบนเรื อที่สงสัยว่ากระทําการอันเป็ นโจรสลัด รวมทังมี ้ อํานาจจับกุมและควบคุมเรื อหรื ออากาศยานต้ องสงสัยนันได้ ้ อีกด้ วย ในกรณีนี ้อาจมีปัญหาเฉพาะความซํ ้าซ้ อนของ ตัวบทบัญญัติของกฎหมาย เพราะการกระทําอันเป็ นโจรสลัดก็คือความผิดฐานชิงทรัพย์หรื อปล้ นทรัพย์ตามประมวล กฎหมายอาญา แต่กระทําในทะเลเท่านัน้ ซึ่งพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายอาญาอัน ได้ แก่ พนักงานฝ่ าย ปกครองหรื อนายตํารวจชันผู ้ ้ ใหญ่ซงึ่ มียศตังแต่ ้ ร้อยตรวจตรี ขึ ้นไป ก็มีอํานาจสอบสวนความผิดนี ้เช่นเดียวกัน อย่างไร ก็ตาม ปั ญหานี ้อาจไม่เป็ นปั ญหาในทางปฏิบตั ิ เนื่องจากผู้กระทําความผิดอยู่ในทะเล หากจับกุมในทะเลนอกทะเล อาณาเขตแล้ ว กรณี ดั ง กล่ า วก็ จ ะอยู่ น อกเขตอํ า นาจของพนั ก งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัด พ.ศ. 2534 ก็จะอุดช่องว่างของประมวลกฎหมาย อาญา โดยให้ อํานาจทหารเรื อควบคุมเรื อที่ต้องสงสัยแม้ จะอยู่ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศใดหรื อทะเลหลวง ได้ ส่วนกรณีที่เรื อต้ องสงสัยเข้ ามาจอดแวะในทะเลอาณาเขตของไทยหรื อยังบริ เวณชายฝั่ งก็อยู่ที่การตรวจตราว่า เจ้ า พนักงานผู้ใดเป็ นผู้ตรวจพบหรื อได้ รับแจ้ งจากผู้เสียหายก็จะเป็ นผู้มีอํานาจควบคุมและดําเนินคดีในเขตท้ องที่ของตน หรื อตามที่อยั การสูงสุดมอบหมายดังที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว กรณีไม่ปรากฏแน่ชดั ว่าอยู่ในเขตท้ องที่รับผิดชอบของ ใคร แต่ห ากเจ้ า หน้ า ที่ ท หารเรื อ เป็ นผู้ต รวจพบแล้ ว พระราชบัญ ญัติฉ บับ นี ก้ ็จ ะให้ อํ า นาจทหารเรื อ ควบคุม และ ดําเนินคดีได้ ดงั ที่ได้ กล่าวแล้ วแม้ จะอยูใ่ นทะเลอาณาเขตหรื อบริเวณชายฝั่ งก็ตาม (3) พระราชบัญญัติให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําผิดบางอย่างทางทะเล พ.ศ. 2490 กฎหมายฉบับนี ้ให้ อํานาจทหารเรื อเป็ นพนักงานสอบสวนในความผิดทางทะเลดังนี ้ - การนําข้ าวหรื อสินค้ าต้ องห้ ามรวมถึงแร่ เข้ ามาหรื อออกไปนอกราชอาณาจักรทางทะเลโดยไม่ได้ รับ อนุญาต - การกระทําผิดตามกฎหมายว่าด้ วยคนเข้ าเมืองทางทะเล - การกระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดทางทะเล - การกระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการประมงในทะเล

321

พนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจชันผู ้ ้ ใหญ่นนตามประมวลกฎหมายวิ ั้ ธีพิจารณาความอาญาให้ มีอํานาจสอบสวนความผิด อาญาในเขตอํานาจของตนและได้ ให้ ความหมายไว้ ให้ หมายความถึงเจ้ าพนักงานกระทรวงมหาดไทยตังแต่ ้ ปลัดอําเภอผู้เป็ นหัวหน้ ากิ่งอําเภอ จนถึงปลัดกระทรวงมหาดไทยและข้ าราชการตํารวจตังแต่ ้ หวั หน้ ากิ่งสถานีตํารวจจนถึงผู้บญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


176

กฎหมายฉบับนี ้จึงมีลกั ษณะของสภาพปั ญหาเช่นเดียวกับกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันและปราบปราม การกระทําอันเป็ นโจรสลัด ต่างกันแต่เฉพาะฐานความผิดเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม เมื่อฐานความผิดกว้ างขึ ้นจึงมีหน่วยงานที่ เข้ ามาเกี่ ยวข้ องมากขึน้ ได้ แก่ กองบังคับการตํ ารวจตรวจคนเข้ า เมื อ งซึ่ง สัง กัดสํา นัก งานตํ า รวจแห่ง ชาติ พนักงาน เจ้ าหน้ าที่ตามกฎหมายว่าด้ วยการสํารวจและห้ ามกักกันข้ าวซึง่ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ ตามกฎหมายว่าด้ วยการส่งออกไปนอกและนําเข้ ามาในราชอาณาจักรซึง่ สินค้ าหรื อกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมเครื่ อง อุปโภคบริ โภคและของอื่นๆ ในภาวะคับขันซึง่ สังกัดกระทรวงพาณิชย์ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพ ติดซึง่ สังกัดกระรวงยุติธรรม กระทรวงสาธารณสุข หรื อสํานักงานตํารวจแห่งชาติ แล้ วแต่กรณี พนักงานเจ้ าหน้ าที่ตาม กฎหมายว่าด้ วยแร่ ซึ่งสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม กับพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับการประมงซึ่งสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (4) พระราชบัญญัติเพิ่มอํานาจตํารวจในการป้องกันและปราบปรามการกระทําผิดทางนํ ้า พุทธศักราช 2496 กฎหมายฉบับนี ้ให้ อํานาจแก่ตํารวจในกองบังคับการตรวจนํ ้ามีอํานาจควบคุมเรื อที่กระทําความผิดหรื อเกิดการ กระทํ าความผิ ดขึ น้ บนเรื อ หรื อยานพาหนะอื่ นใด อันเป็ นการให้ อํ านาจสื บสวนในความผิ ด ทั่ว ไปทางนํ า้ แก่ ตํ า รวจ เช่นเดียวกับอํานาจสืบสวนของตํารวจในความผิดอาญาทัว่ ๆ ไปบนบก 2.3) เขตอํานาจทางแพ่ งของรั ฐชายฝั่ งบนเรื อต่ างชาติในทะเลอาณาเขต ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 รั ฐชายฝั่ งจะมีเขตอํานาจนี ต้ ่อเมื่อเรื อ ต่างชาติได้ ก่อหนี ้หรื อความรับผิดขึ ้นในระหว่างผ่านน่านนํ ้าทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง ดังนัน้ หากเรื อต่างชาติก่อให้ เกิ ดมลพิษทางทะเลในทะเลอาณาเขตของไทย รั ฐบาลไทยย่อ มมี เขต อํานาจทางแพ่งเหนือเรื อต่างชาติที่จะเรี ยกร้ องค่าเสียหายจากการกระทําดังกล่าวได้ กรณีดงั กล่าวเป็ นเพียงตัวอย่าง ความรับผิดทางแพ่งกรณีหนึ่ง ซึง่ เมื่อพิจารณาจากระบบกฎหมายภายในของไทย กรณีดงั กล่าวรัฐบาลไทยอาจเรี ยก ค่าเสียหายได้ จากมูลละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ซึ่งกรณี นีอ้ าจมีปัญหาว่ารั ฐบาลไทยจะเป็ น ผู้เสียหายและมีอํานาจฟ้องได้ หรื อไม่ ซึ่งปั ญหานี อ้ าจต้ องรอให้ มีคําพิพากษาของศาลวางแนวบรรทัดฐานต่อไป อย่างไรก็ตาม ยังมีกรณี ความรั บผิดทางแพ่งกรณี อื่นๆ อีก เช่น ความรั บผิดจากเรื อโดนกัน หรื อความรั บผิดจาก บุริมสิทธิทางทะเล322 เป็ นต้ น ซึง่ ความรับผิดจากเรื อโดนกันจะเป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันเรื อโดนกัน กฎหมายว่า ด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย กฎหมายว่าด้ วยความรับผิดทางแพ่งและค่าเสียหายจากเรื อโดนกัน ส่วนความรับผิด จากบุริมสิทธิทางทะเลจะเป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยการจํานองเรื อและบุริมสิทธิทางทะเลและกฎหมายว่าด้ วยการ กักเรื อ อย่างไรก็ดี รัฐบาลไทยได้ มีความพยายามในการตรากฎหมายเพื่อป้องกันปั ญหามลพิษในทะเล โดยได้ เสนอร่ างพระราชบัญญัติเรื อไทย ( ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... เพิ่มมาตรา 53/1 กําหนดห้ ามผู้ควบคุมเรื อหรื อเจ้ าของเรื อไทย ปล่อยทิ ้งหรื อทําให้ สารที่เป็ นอันตรายหรื อสิ่งใดๆ ที่มีสารที่เป็ นอันตรายปนอยู่จากเรื อลงสูท่ ะเลไม่ว่าบริ เวณใดๆ และ ต้ องรับผิดชอบการรั่ว การกําจัด การหกการซึม การสูบ การแพร่กระจาย หรื อการเทสารที่เป็ นอันตรายหรื อสิ่งใดๆ ที่มี สารที่เป็ นอันตรายปนอยู่อีกด้ วย ซึ่งผู้กระทําผิดฝ่ าฝื นมาตรานี ้มีโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท 322

บุริมสิทธิทางทะเลรวมถึงสิทธิเรี ยกร้ องในมูลละเมิดที่เกิดจากการดําเนินงานของเรื อด้ วย ดังนัน้ รัฐบาลไทยในฐานะผู้เสียหายจึง อาจใช้ อํานาจบุริมสิทธิทางทะเลที่จะกักเรื อและใช้ สิทธิเรี ยกร้ องเหนือเรื อต่างชาติที่กระทําให้ เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลซึง่ ถูกกัก ไว้ ได้ แต่อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติรัฐบาลไทยยังไม่เคยดําเนินการดังกล่าว เนื่องจากการพิสูจน์ หรื อกล่าวหาว่าเรื อใดก่อมลพิษนัน้ มักไม่มี หลักฐาน หรื อกรณีที่ปรากฏแน่ชดั ก็มกั เป็ นกรณีที่เรื อเกิดอุบตั ิเหตุหรื อเป็ นเหตุสดุ วิสยั ที่ไม่เข้ าลักษณะละเมิด

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


177

หรื อทัง้ จําทัง้ ปรั บ และต้ องชดใช้ ค่าเสียหาย รวมทัง้ ค่าใช้ จ่ายในการกําจัดหรื อแก้ ไขสารที่เป็ นอันตราย ตลอดจน ค่าใช้ จ่ายในการฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อมให้ กลับคืนสภาพเดิม (คณะรัฐมนตรี มีมติให้ เสนอร่ างฉบับนี ้ต่อสภานิติบญ ั ญัติ แห่งชาติตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ด่วนที่สดุ ที่ นร 0503/2644 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2550 ) นอกจากนั น้ รั ฐ บาลไทยยัง ได้ เสนอร่ า งพระราชบัญ ญั ติ ก ารช่ ว ยเหลื อ กู้ ภั ย ทางทะเล พ.ศ. .... (คณะรัฐมนตรี มีมติให้ เสนอร่ างฉบับนี ้ต่อสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ด่วนที่สดุ ที่ นร 0503/2645 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2550) เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์การช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเลให้ มีความชัดเจน เช่น หน้ าที่ในการช่วยเหลือกู้ภยั สิทธิของผู้ช่วยเหลือ รวมทังสิ ้ ทธิเรี ยกร้ องค่าตอบแทน (บุริมสิทธิทางทะเล) เป็ นต้ น อนึ่ง มีข้อที่น่าสังเกตประการหนึ่งเกี่ยวกับสิทธิของรัฐชายฝั่ งเหนือเรื อต่างชาติก็คือ กรณีเรื อต่างชาติใช้ พลังนิวเคลียร์ หรื อบรรทุกนิวเคลียร์ หรื อวัตถุอันตรายหรื อเป็ นพิษเข้ ามาในทะเลอาณาเขตของไทยนัน้ ไทยยังไม่มี กฎหมายที่ควบคุมเรื อต่างชาติดงั กล่าวให้ เป็ นไปตามมาตรการป้องกันพิเศษตามกฎหมายระหว่างประเทศ จะมีก็แต่ กฎหมายว่าด้ วยวัตถุอนั ตรายหรื อกฎหมายว่าด้ วยพลังงานปรมาณูเพื่อสันติซงึ่ บัญญัติโดยมุ่งประสงค์จะควบคุมวัตถุ อันตรายหรื อพลังงานนิวเคลียร์ บนพื ้นดินในราชอาณาจักรมากกว่าในท้ องทะเลโดยเฉพาะในทะเลอาณาเขต ซึ่งตาม กฎหมายระหว่างประเทศถือว่าโดยหลักทัว่ ไปรัฐเจ้ าของธงมีอํานาจอธิปไตยรวมถึงเขตอํานาจทางกฎหมายเหนือเรื อ นัน้ และเป็ นเหตุให้ เรื อนันไม่ ้ ต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยวัตถุอนั ตรายหรื อกฎหมายว่าด้ วยพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แต่อย่างใด 3) เขตต่อเนือ่ ง อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กําหนดไว้ ใน Article 33 ให้ อํานาจรัฐชายฝั่ งใช้ การควบคุมที่จําเป็ นในเขตต่อเนื่อง (น่านนํ ้าในบริเวณถัดจากทะเลอาณาเขตซึง่ ไม่เกิน 24 ไมล์ทะเลจากเส้ นฐาน) เพื่อ ป้องกันหรื อลงโทษการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการศุลกากร รัษฎากร การเข้ าเมือง และการสาธารณสุข ภายในอาณาเขตหรื อทะเลอาณาเขตของตน เพื่อพิจารณาระบบกฎหมายภายในของไทยแล้ ว ปรากฏว่า ไทยมีกฎหมายควบคุมเพื่อป้องกันหรื อลงโทษ การฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับการศุลกากรไว้ อย่างชัดเจนให้ มีอํานาจทางศุลกากรในเขตต่อเนื่อง เช่น อํานาจของพนักงาน ศุลกากรในการสอบถามนายเรื อเกี่ยวกับเรื อ คนประจําเรื อ คนโดยสารการเดินทาง ลักษณะของสินค้ าในเรื อ และสิ่งที่นํามา ในเรื อซึง่ จอด เข้ ามา หรื อหยุดลอยลําในเขตต่อเนื่อง รวมทังห้ ้ ามขนถ่ายสิ่งของในเขตดังกล่าวและการค้ น จับกุม และ ดําเนินคดีกรณีมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการลักลอบหนีศลุ กากรในเขตต่อเนื่อง และเมื่อจับผู้ต้องหาส่งให้ พนักงานสอบ สอนท้ องที่ใด พนักงานสอบสวนท้ องที่นนั ้ มีอํานาจสอบสวนในระหว่างรอคําสัง่ แต่งตังพนั ้ กงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ จากอัยการสูงสุดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอีกด้ วย สําหรับการควบคุมเพื่อป้องกันและลงโทษการฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับรัษฎากร การเข้ าเมือง และการสาธารณสุข นัน้ แม้ ไทยจะมีกฎหมายควบคุมในเรื่ องดังกล่าวไว้ ครบถ้ วน แต่ปรากฏว่าไม่มีกฎหมายใดบัญญัติให้ อํานาจในเขต ต่อเนื่องไว้ อย่างชัดเจนดังเช่นกฎหมายว่าด้ วยศุลกากร โดยกฎหมายว่าด้ วยคนเข้ าเมือง กฎหมายว่าด้ วยโรคติดต่อ หรื อโรคระบาดสัตว์323 หรื อกฎหมายว่าด้ วยภาษี รัษฎากร) จะควบคุมยังจุดผ่านเข้ าออกจากราชอาณาจักร เช่น ท่าเรื อ ด่านเข้ าเมือง หรื อท่าอากาศยาน เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม ไทยมีกฎหมายที่ให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําผิด 323

ไทยไม่มีกฎหมายว่าด้ วยการสาธารณสุขในเขตต่อเนื่องโดยตรง แต่มีกฎหมายที่ควบคุมด้ านการสาธารณสุขหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 หรื อพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ซึง่ กฎหมาย ฉบับหลังเป็ นการควบคุมการสาธารณาสุขโดยทัว่ ๆ ไป ไม่ได้ เน้ นที่โรคติดต่ออย่างสองฉบับแรก

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


178

บางอย่างในทะเลซึ่งรวมถึงความผิดตามกฎหมายคนเข้ าเมืองด้ วย หรื อมีกฎหมายว่าด้ วยการเพิ่มอํานาจตํารวจใน การป้องกันและปราบปรามการกระทําผิดทางนํ ้าซึง่ ตํารวจนํ ้าจะมีอํานาจควบคุมดูแลความผิดทุกประเภท แต่อํานาจ ดังกล่าวกฎหมายไม่ได้ บัญญัติไว้ ชัดเจนให้ มีอํานาจนอกทะเลอาณาเขต ดังนัน้ อาจกล่าวได้ ว่าไทยไม่มีกฎหมาย ควบคุมการฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับรัษฎากร การเข้ าเมือง และการสาธารณสุขในเขตต่อเนื่อง ซึง่ จะเป็ นปั ญหาในทาง ปฏิบตั ิที่ทําให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ไม่ว่าจากหน่วยงานใดไม่มีอํานาจควบคุมดูแลหากมีการกระทําผิดตามกฎหมาย ดังกล่าวในเขตต่อเนื่องได้ 4) เขตไหล่ทวี ป อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยเหนือไหล่ ทวีป (โดยทัว่ ไปได้ แก่พื ้นดินท้ องทะเลและใต้ พื ้นดินท้ องทะเลซึ่งอยู่ถดั จากทะเลอาณาเขตออกไปจนถึงริ มนอกของ ขอบทวีป หรื อถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้ นฐาน) เพื่อความมุ่งประสงค์ในการสํารวจไหล่ทวีปและแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติของไหล่ทวีปและสิทธิในการขุดเจาะไหล่ทวีปไม่วา่ เพื่อประโยชน์ใดๆ ก็ตาม รวมทังสิ ้ ทธิในการสร้ างเกาะ เทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ างใดๆ ดังนัน้ หากรัฐชายฝั่ งไม่ใช้ สิทธิดงั กล่าว รัฐอื่นย่อมดําเนินกิจกรรมตามสิทธิของรัฐชายฝั่ ง ไม่ได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากรัฐชายฝั่ ง ทังนี ้ ้ ทรัพยากรธรรมชาติหมายถึงแร่ และทรัพยากรไม่มีชีวิตอื่นๆ ของพื ้นดิน ท้ องทะเลและใต้ พื ้นดินท้ องทะเล รวมทังสิ ้ ่งมีชีวิตเฉพาะชนิดพันธุ์ที่อยู่กับที่ (หมายถึงสิ่งมีชีวิตซึ่งในระยะที่อาจเก็บ เกี่ยวได้ นนไม่ ั ้ เคลื่อนที่หรื อเคลื่อนไหวไปมาบนพื ้นดินท้ องทะเลหรื อใต้ พื ้นดินท้ องทะเล เว้ นแต่การเคลื่อนที่หรื อเคลื่อนไหว เพื่อการติดอยูก่ บั ที่อย่างสมํ่าเสมอ) อย่างไรก็ตาม รัฐอื่นมีสทิ ธิในการวางสายเคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเลบนไหล่ทวีปได้ ตามเงื่อนไขที่รัฐชายฝั่ งกําหนดสําหรับสายเคเบิลหรื อทางท่อที่รัฐชายฝั่ งสร้ างหรื อใช้ เกี่ยวกับการสํารวจไหล่ทวีปหรื อ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรบนไหล่ทวีปหรื อเพื่อการดําเนินงานของเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ างใดๆ ของรัฐ ชายฝั่ งหรื อที่อยูภ่ ายใต้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ ง เมื่อพิจารณาระบบกฎหมายภายในของไทยแล้ วปรากฏว่า ไทยมีกฎหมายคุ้มครองสิทธิ ในการสํารวจไหล่ ทวีปและแสวงหาประโยชน์ จากทรั พยากรธรรมชาติที่ไม่มีชี วิตในเขตไหล่ทวีปไว้ อย่างชัดเจนเฉพาะ “ปิ โตรเลียม” โดย พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 จะกําหนดในเรื่ องการให้ สมั ปทานแก่บริ ษัทเอกชนในการสํารวจหรื อผลิตปิ โตรเลียม รวมทังกํ ้ าหนดหลักเกณฑ์การสํารวจหรื อผลิต เช่น ผู้รับสัมปทานต้ องยื่นแผนการผลิตและเริ่ มผลิตตามแผนภายใน 4 ปี นับ แต่อธิบดีกรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติเห็นชอบ หรื อเมื่อสิ ้นระยะเวลาสํารวจในแปลงสํารวจแปลงใด หากผู้รับสัมปทานไม่ ้ ้นสุดลง สามารถแสดงได้ ว่าพบหลุมปิ โตรเลียมที่มีสมรรถนะเชิงพาณิชย์ตามเกณฑ์ที่กําหนดก็จะถือว่าสัมปทานนันสิ เป็ นต้ น นอกจากนี ้ กฎหมายยัง กํ าหนดให้ ผ้ ูรับ สัมปทานที่ พบโบราณวัตถุ ซากดึกดํ าบรรพ์ หรื อแร่ ที่มีคุณค่าทาง เศรษฐกิ จ ต้ อ งแจ้ ง ให้ อ ธิ บ ดี ท ราบ รวมทัง้ ผู้รับ สัม ปทานในทะเลต้ อ งไม่ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่อ การเดิ น เรื อ การ เดินอากาศ การอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิต หรื อการวิจัยวิทยาศาสตร์ หรื อกีดขวางต่อการวางสายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํา้ หรื อทําความเสียหายต่อสายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํ ้า หรื อก่อให้ เกิดความโสโครกด้ วยนํ ้ามัน โคลน หรื อสิ่งอื่นใดด้ วย หาก ผู้รับสัมปทานฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ ในสัญญาสัมปทานหรื อตามกฎหมายและก่อให้ เกิดความ เสียหายแก่ประชาชน หรื อทําให้ หน่วยงานของรัฐต้ องกระทําการปั ดป้องความเสียหายนัน้ ผู้รับสัมปทานต้ องชดใช้ ค่า สินไหมทดแทนเพื่อการดังกล่าวด้ วย ส่วนพระราชบัญญัติว่าด้ วยความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล พ.ศ. 2530 ได้ กําหนดอย่างชัดเจนว่าสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล หมายถึง สิ่งติดตังในเขตเศรษฐกิ ้ จจําเพาะหรื อ ไหล่ท วี ป ของราชอาณาจัก รไทยเพื่ อ วัต ถุป ระสงค์ ใ นการผลิต หรื อ อํ า นวยประโยชน์ ใ นการผลิ ต ปิ โตรเลี ย ม และ หมายความรวมถึงเรื อ แท่นลอย หรื อโครงสร้ างอื่นใดที่เป็ นส่วนหนึ่งของการผลิตหรื ออํานวยประโยชน์ในการผลิต

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


179

ดัง กล่า วด้ ว ย และกฎหมายฉบับ นี ไ้ ด้ ใ ห้ อํ า นาจรั ฐ มนตรี กํ า หนดเขตที่ ตัง้ หรื อ เขตปลอดภัย ของสถานที ่ ผ ลิต ปิ โตรเลี ย มในทะเล และกํา หนดเขตท่อ โดยถื อ ว่า สถานที่ ผ ลิต และเขตปลอดภัยอยู่ในราชอาณาจักรไทย ดังนัน้ ได้ ให้ การกระทําผิดในเขตดังกล่าวจึงถือว่ากระทําในราชอาณาจักรและใครจะเป็ นพนักงานสอบสวนนันกฎหมายก็ ้ อํานาจรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็ นผู้กําหนด ส่วนเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อให้ เป็ นพนักงานสืบสวน รวมทังเป็ ้ น พนักงานสอบสวนความผิดบางประเภท เช่น ความผิดเกี่ยวกับการปกครองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 136 ถึง มาตรา 146 เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ยังมีอํานาจตรวจค้ น สัง่ เรื อหรื ออากาศยานที่ต้องสงสัยไปยังสถานที่ที่กําหนด ควบคุม เรื อหรื ออากาศยาน และการไล่ติดตามเรื อต้ องสงสัยตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด ในส่วนของทรัพยากรที่ไม่มีชีวิตอื่นๆ นัน้ ระบบกฎหมายภายในของไทยไม่ได้ บญ ั ญัติไว้ ชดั เจนในการสํารวจ หรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรนัน้ ได้ ในเขตไหล่ทวีป เช่นเดียวกับปิ โตรเลียม โดยมีพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 เป็ นกฎหมายที่สําคัญซึ่งกําหนดให้ การสํารวจแร่ ต้องขออาชญาบัตรจากเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจําท้ องที่ (ซึ่ง หมายถึ งทรั พยากรธรณี อํ าเภอหรื อทรั พยากรธรณี จังหวัด แล้ ว แต่ ก รณี จัง หวัด ใดไม่ มี ก็ ห มายถึ ง ผู้ซึ่ง อธิ บ ดี ก รม อุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ แต่งตัง้ ) และการขุดแร่ (ทําเหมือง) ต้ องขอประทานบัตรจากเจ้ าพนักงาน อุตสาหกรรมแร่ ประจํ าท้ องที่เช่นเดียวกัน โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมมีอํานาจออกหลักเกณฑ์การ สํารวจและการทําเหมืองแร่ (รวมถึงเหมืองแร่ ในทะเล) กําหนดห้ ามมิให้ ผ้ ถู ือประทานบัตรปิ ดกัน้ ทําลาย หรื อทําให้ เสื่อมประโยชน์ซงึ่ ทางนํ ้าสาธารณะ (เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตก่อน) รวมทังเจ้ ้ าพนักงานฯ มีอํานาจสัง่ ห้ ามผู้ถือประทาน บัตรกระทําการที่จะเป็ นอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช หรื อทรัพย์สินใดๆ หรื อสัง่ ให้ แก้ ไขหรื อป้องกันอันตรายหรื อหยุด การทําเหมืองก็ได้ สําหรับทรัพยากรที่มีชีวิตชนิดพันธุ์ที่อยู่กบั ที่นนั ้ ในทางกฎหมายแล้ วไทยมีพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ที่กําหนดหลักเกณฑ์ที่สามารถให้ ความคุ้มครองสิทธิในการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรดังกล่าวได้ เนื่องจาก กฎหมายนี ้มีเขตอํานาจทังในน่ ้ านนํ ้าไทยและน่านนํ ้าอื่นใดที่ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิจะใช้ ต่อไปในการทําการประมงซึง่ ปรากฏโดยทัว่ ไปว่าน่านนํ ้านัน้ มีขอบเขตตามธรรมเนียมประเพณีหรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งตามกฎหมาย ระหว่างประเทศแล้ วถือว่าเขตไหล่ทวีปนันเป็ ้ นเขตทางทะเลที่รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยดังที่กล่าวไว้ ข้างต้ น ดังนัน้ ไทย จึง มี ก ฎหมายควบคุม และคุ้มครองสิท ธิ การประมงในทรั พยากรดังกล่า ว ซึ่งตามกฎหมายว่า ด้ วยการประมงนัน้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรื อผู้ว่าราชการจังหวัด โดยอนุมตั ิรัฐมนตรี ฯ มีอํานาจประกาศกําหนดมิ ให้ ทําการประมงสัตว์นํ ้าชนิดหนึ่งชนิดใดได้ หรื ออาจกําหนดในพระราชกฤษฎีกาห้ ามผู้ใดครอบครองเว้ นแต่จะได้ รับ อนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ก็ได้ ในส่วนของการควบคุมการวางสายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลบนไหล่ทวีปของไทยนัน้ ไทยมีกฎหมายว่าด้ วย ปิ โตรเลียมที่ให้ อํานาจรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงานกําหนดเขตปลอดภัยและเครื่ องหมายในบริ เวณที่มีสิ่งติดตัง้ และกลอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสํารวจ และผลิตปิ โตรเลียม นอกจากนี ้ รัฐมนตรี ยงั มีอํานาจตามกฎหมายว่าด้ วยความผิด เกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิ โตรเลียม ที่จะกําหนดเขตท่อ รวมทัง้ อุปกรณ์ ของท่อที่ใช้ ในกระบวนการผลิตปิ โตรเลียมซึ่ง เชื่ อ มโยงระหว่างสถานที่ ผลิตในทะเลที่ อยู่นอกเขตปลอดภัย จึง ถื อได้ ว่าในส่วนของท่อใต้ นํ า้ นัน้ ไทยมี กฎหมาย ควบคุมดูแลอยู่แล้ วจึงไม่มีปัญหาในทางปฏิบตั ิเฉพาะในส่วนที่อยู่ในเขตไหล่ทวีป ส่วนการวางสายเคเบิลบนไหล่ทวีป นัน้ ไทยยังไม่มีกฎหมายภายในที่ควบคุมเรื่ องดังกล่าวไว้ อย่างชัดเจน คงมีแต่พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และพระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2498 ซึง่ กฎหมายทังสองฉบั ้ บ นี ไ้ ม่มีบ ทบัญ ญัติใ ดกล่า วถึง การกํ า หนดหลัก เกณฑ์ ก ารวางสายเคเบิล ใต้ ท ะเล (แม้ เ ป็ นทะเลในอาณาเขตหรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


180

ราชอาณาจัก รของไทยก็ต าม) โดยกฎหมายว่า ด้ ว ยวิท ยุกระจายเสี ย งและวิท ยุโ ทรทัศน์ มุ่ง เน้ น ที่ ก ารอนุญ าตให้ ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงหรื อกิจการวิทยุโทรทัศน์ โดยมิได้ กล่าวถึงอํานาจในการวางเสาบนพื ้นดินเพื่อพาด สายหรื อวางท่อเพื่อประโยชน์ในการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงหรื อวิทยุโทรทัศน์แต่อย่างใด เนื่องจากกิจการนี ้ โดยสภาพตามความเป็ นจริ งจะออกอากาศโดยการแพร่ทางคลื่นแฮรตเซียน มิได้ แพร่ทางสายหรื อท่อแต่อย่างใด ส่วน กฎหมายว่าด้ วยการประกอบกิจการโทรคมนาคมได้ กําหนดให้ กิจการโทรคมนาคมไม่ว่าในกิจการของรัฐหรื อกิจการที่ ได้ รับอนุญาตจากรั ฐที่มีโครงข่ายโทรคมนาคมต้ องยินยอมให้ ผ้ ูประกอบการรายอื่นเข้ าใช้ โครงข่ายได้ นอกจากนี ้ กฎหมายว่าด้ วยการประกอบกิจการโทรคมนาคมกําหนดให้ ผ้ รู ับอนุญาต (ผู้ประกอบการ) ที่ประสงค์จะต้ องปั กหรื อตัง้ เสา หรื อเดินสาย วางท่อ หรื อติดตังอุ ้ ปกรณ์ ใดก็สามารถเสนอคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติให้ ความ เห็นชอบเพื่อดําเนินการดังกล่าวได้ และหากต้ องดําเนินการในที่ดินของบุคคลใดและผู้ประกอบการไม่อาจตกลงค่าใช้ ประโยชน์ กับเจ้ าของที่ดินได้ ผู้ประกอบการก็อาจร้ องขอต่อคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติเพื่อแจ้ งให้ เจ้ าของหรื อ ผู้ครอบครองที่ดินยินยอมให้ ใช้ ที่ดินนันได้ ้ โดยเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองอาจแจ้ งเหตุที่ไม่สมควรใช้ ที่ดิน ของตนต่อ คณะกรรมการฯ ทัง้ นี ้ คํ า วินิ จฉัย ของคณะกรรมการฯ ที่ จ ะให้ ใ ช้ ที่ ดิ น นัน้ หรื อ ไม่ถื อ เป็ นที่ สุด และหาก คณะกรรมการฯ วินิจฉัยให้ ใช้ ที่ดินนันได้ ้ ผู้ประกอบการต้ องจ่ายค่าตอบแทนแก่เจ้ าของที่ดินตามที่คณะกรรมการฯ กําหนดด้ วย อย่างไรก็ตาม นอกจากกฎหมายดังกล่าวแล้ วกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย (มาตรา 209) กํ า หนดให้ เจ้ าท่ า จัด ให้ มี เ ครื่ อ งหมายแสดงไว้ ณ ที่ ซึ่ ง สายท่ อ หรื อ สิ่ ง ก่ อ สร้ างที่ ท อดลงนํ า้ เช่ น สายโทรเลข สายโทรศัพท์ หรื อสายอื่นใดและห้ ามมิให้ เรื อลําใดทอดสมอหรื อเกาสมอภายในระยะห่างตามที่กําหนด ณ ที่ซงึ่ มีสาย ้ ่ (ซึ่งกฎหมายนี ้มิได้ กําหนดชัดเจนว่าจะสามารถกําหนดในเขตไหล่ทวีปได้ หรื อไม่) กรณีจึง ท่อหรื อสิ่งก่อสร้ างนันอยู อาจมีปัญหาในทางปฏิบตั ิหากมีผ้ กู ระทําผิดในทะเลอาณาเขตต่อกฎหมายเกี่ยวกับปิ โตรเลียมและกฎหมายว่าด้ วยการ เดินเรื อในน่านนํ ้าไทย โดยการกระทําดังกล่าวถือเป็ นการกระทํากรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายสองบท สําหรับอัตราโทษ ตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยนันมาตรา ้ 210 บัญญัติให้ ผ้ กู ระทําผิดต้ องระวางโทษปรับ ตังแต่ ้ สาม ร้ อยบาทถึงสามพันบาท ถ้ าการกระทําดังกล่าวเป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหายแก่สายท่อหรื อสิ่งก่อสร้ างที่ทอดใต้ นํา้ ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับตังแต่ ้ หนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ และต้ องชดใช้ ค่าเสียหายอี กด้ วย ทัง้ นี ้ เจ้ าท่ามี อํานาจกักเรื อที่เกี่ ยวข้ องไว้ ได้ จนกว่าจะมีประกันมาวางสําหรับเงินค่าปรั บหรื อ ค่าเสียหายตามที่เจ้ าท่ากํ าหนด ส่วนอัตราโทษตามกฎหมายว่าด้ วยความผิดเกี่ ยวกับสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมนัน้ ้ บ มาตรา 25 บัญญัติให้ ผ้ กู ระทําผิดต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั และถ้ าเป็ นเหตุให้ ทอ่ หรื ออุปกรณ์เสียหาย ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสิบปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งล้ านบาท หรื อทังจํ ้ าทัง้ ปรับ จะเห็นได้ ว่าโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับปิ โตรเลียมนันสู ้ งกว่าโทษตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย อย่างไรก็ตาม เขตท่อตามกฎหมายเกี่ยวกับปิ โตรเลียมจะต้ องมีประกาศรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงานกําหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษาก่อน จากกรณี ทางท่อของปิ โตรเลียมได้ แสดงให้ เห็นว่า ถ้ ารัฐมนตรี ว่าการกระทรวง พลัง งานประกาศกํ า หนดเขตท่ อ แล้ ว เจ้ า ท่า ก็ ไ ม่มี ความจํ าเป็ นต้ องจัดให้ มี เครื่ องหมายแสดง ณ ที่ ซึ่งสายท่อหรื อ สิ่งก่อสร้ างที่ทอดลงนํ ้าไว้ อีก คงมีความจําเป็ นเฉพาะกรณีที่รัฐมนตรี ยงั ไม่มีประกาศกําหนดเขตท่อหรื อเป็ นกรณีสายท่อ หรื อสิ่งก่อสร้ างที่ทอดลงนํา้ อื่นที่มิใช่ทางท่อปิ โตรเลียม เช่น สายโทรศัพท์ เป็ นต้ น ซึ่งหากมีการประสานงานกันระหว่าง หน่ วยงานทัง้ สอง ปั ญ หาในทางปฏิ บัติ ว่า หน่ ว ยงานใดจะดูแ ลรั บ ผิ ด ชอบทางท่ อ นัน้ ก็ จ ะหมดไป แต่ อ ย่ า งไรก็ ดี นอกเหนือจากกฎหมายทังสองฉบั ้ บ ยังมีกฎหมายว่าด้ วยการประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งมาตรา 72 บัญญัติให้ ผู้กระทําผิดทําให้ เสียหายต่อระบบโทรคมนาคม ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรื อทัง้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


181

จําทังปรั ้ บ ดังนัน้ ถ้ าเป็ นสาย ท่อ หรื ออุปกรณ์ใดของโครงข่ายโทรคมนาคม กรณีมีผ้ กู ระทําผิดก็จะต้ องถูกดําเนินคดี ตามกฎหมายว่าด้ วยการประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งมีโทษสูงกว่าคดีอาญาจึงจะเป็ นที่ยตุ ิ (แม้ จะเป็ นความผิดตาม กฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยด้ วยก็ตาม) เนื่องจากอัตราโทษตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย ตํ่ากว่า) สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งที่กฎหมายภายในของไทยได้ มิได้ มีบทบัญญัติรองรับไว้ ก็คือ สิทธิการใช้ หรื อสร้ าง เกาะเทียม สิ่งติดตังหรื ้ อสิ่งก่อสร้ างทํานองเดียวกันรวมถึงสิทธิในการอนุญาตหรื อวางข้ อกําหนดหลักเกณฑ์แก่รัฐอื่น ในการใช้ หรื อสร้ างเกาะเทียมหรื อสิ่งก่อสร้ างอื่นในเขตไหล่ทวีปของไทย นอกเหนือจากกฎหมายเกี่ยวกับปิ โตรเลียม ดังที่ได้ กล่าวแล้ ว ดังนัน้ หากมีรัฐอื่นสร้ างเกาะเทียมหรื อขออนุญาตสร้ างเกาะเทียมเพื่อการสํารวจหรื อแสวงประโยชน์ อื่นที่ไม่ใช่ปิโตรเลียมแล้ วปั ญหาในทางปฏิบตั ิของไทยก็จะเกิดขึ ้นทันที เนื่องจากไทยไม่มีกฎหมายที่ใช้ บงั คับในเรื่ อง ดังกล่าว 5) เขตเศรษฐกิ จจํ าเพาะ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กํ าหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิ อธิ ปไตยเพื่อ ความมุ่งประสงค์ ในการสํารวจและแสวงประโยชน์ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะมีชีวิต หรื อไม่ในท้ องทะเล พื ้นดินท้ องทะเล และใต้ ผิวดินท้ องทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (ไม่เกิน 200 ไมล์ทะเลจากเส้ น ฐาน) รวมทังมี ้ สิทธิอธิปไตยในกิจกรรมอื่นๆ ในทางเศรษฐกิจด้ วย เช่น การผลิตพลังงาน เป็ นต้ น รวมตลอดถึงสิทธิใน การสร้ างและใช้ เกาะเทียมหรื อ สิ่งติดตังอื ้ ่น การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล และการคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้ อม ทางทะเล จากสิทธิของรัฐชายฝั่ งตามอนุสญ ั ญาดังกล่าว จะเห็นได้ ว่า ปั ญหาของไทยในการบริ หารจัดการทรัพยากร หรื อสิทธิต่างๆ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะนันมี ้ ลกั ษณะคล้ ายกับเขตไหล่ทวีป กล่าวคือ ไทยมีกฎหมายใช้ บงั คับเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตเฉพาะปิ โตรเลียมเท่านัน้ ส่วนทรัพยากร ที่มีชีวิตไทยมีกฎหมายว่าด้ วยการประมงและ กฎหมายว่าด้ วยสิทธิการประมงในเขตการประมงไทยบังคับใช้ ซึ่งบัญญัติชดั เจนถึงน่านนํ ้าในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ และรวมถึงน่านนํา้ อื่นใดที่ไทยมีสิทธิ จะใช้ อีกด้ วยแต่ไทยไม่มีกฎหมายที่บญ ั ญัติชัดเจนในการจัดการคุ้มครองและ รั กษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ รวมถึงการวิจัยวิทยาศาสตร์ การสร้ างหรื อใช้ เกาะเทียมหรื อ สิง่ ก่อสร้ างอื่นหรื อแม้ แต่กิจกรรมอื่นๆ ในทางเศรษฐกิจในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ดังนัน้ ปั ญหาในทางปฏิบตั ิของไทยในเขตเศรษฐกิจจําเพาะที่สําคัญจึงไม่ใช่ปัญหาการบังคับใช้ กฎหมาย แต่เป็ นปั ญหาการไม่มีกฎหมายบังคับใช้ ในหลายๆ เรื่ องดังกล่าวข้ างต้ น ฉะนัน้ เมื่อมีกรณีใดที่ไม่มีกฎหมายบังคับใช้ ในกรณีนนเกิ ั ้ ดขึ ้น ก็จะเป็ นปั ญหาต่อการแก้ ไขเยียวยาเป็ นอย่างมาก เช่น หากมีเรื อต่างชาตินําขยะอุตสาหกรรมหรื อ กากสารที่อาจเป็ นอันตรายอย่างกัมมันตภาพรังสีมาทิ ้งในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทย ไทยก็จะต้ องเยียวยาแก้ ไข ปั ญหานันเองและไม่ ้ อาจดําเนินคดีหรื อเรี ยกค่าเสียหายจากการกระทําของเรื อต่างชาตินนได้ ั ้ แม้ ว่าไทยจะประกาศ กําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะแล้ ว ก็ตาม (ไทยมิได้ เป็ นภาคีอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 แต่ระบบเขตเศรษฐกิจจําเพาะตามอนุสญ ั ญาดังกล่าวได้ กลายเป็ นกฎหมายจารี ตประเพณีระหว่างประเทศแล้ ว ไทย จึงสามารถประกาศกําหนดเขตดังกล่าวได้ ) เนื่องจากไทยมีระบบกฎหมายแบบ Dualism กล่าวคือ แม้ ไทยจะเข้ าเป็ น ภาคีสนธิสญ ั ญาใดหรื อใช้ กฎหมายจารี ตประเพณีระหว่างประเทศใดก็ตาม สนธิสญ ั ญาหรื อจารี ตประเพณีนนก็ ั ้ มิได้ ั ญาหรื อ นํามาใช้ บงั คับเป็ นกฎหมายภายในของไทยโดยอัตโนมัติ แต่ไทยจะต้ องตรากฎหมายภายในขึ ้นรองรับสนธิสญ จารี ตประเพณีดงั กล่าว ดังเช่น กรณีเรื อต่างชาติของออสเตรเลียซึ่งเข้ ามาพบวัตถุโบราณในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


182

ไทย ในขณะนันไทยไม่ ้ มีกฎหมายคุ้มครองวัตถุโบราณในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ จึงไม่สามารถปกป้องวัตถุโบราณด้ วย กฎหมายได้ (แต่เรื อต่างชาติก็ยตุ ิการขุดค้ นวัตถุโบราณและส่งมอบคืนวัตถุโบราณบางส่วนที่ขุดค้ นขึ ้นมาแล้ วให้ แก่ ไทยเพื่อ มิให้ เกิดปั ญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ของสองประเทศ ซึ่งวิธีการเช่นนีไ้ ทยก็เคยเรี ยกร้ องทับหลังนารายณ์ บรรทมสินธุ์คืนจากพิพิธภัณฑ์ในประเทศสหรัฐอเมริกามาแล้ ว) จากกรณีเรื อต่างชาติออสเตรเลียดังกล่าวเป็ นผลให้ ใน ปี พ.ศ. 2535 ไทยได้ ตรากฎหมายแก้ ไขพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ พ.ศ. 2504 ในมาตรา 24 ให้ ครอบคลุมถึงโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุที่ถกู ทอดทิ ้งไว้ ในบริ เวณเขตเศรษฐกิจ จําเพาะให้ ตกเป็ นของแผ่นดิน ผู้เก็บได้ ต้องส่งมอบแก่พนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจแล้ วจะ มีสิทธิได้ รับรางวัลไม่เกินหนึ่งในสามแห่งค่าของสิ่งนัน้ กล่าวโดยสรุปแล้ ว ถือว่าในปั จจุบนั ประเทศไทยมีความจําเป็ น อย่างยิ่ง ที่จะต้ องมีการตรากฎหมายเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิอธิปไตยที่ไทยพึงมีในเขตเศรษฐกิจจําเพาะก่อนที่จะมี ปั ญหาดังกรณีเรื อต่างชาติออสเตรเลีย ซึ่งหากเกิดขึ ้นอีกประเทศไทยอาจไม่สามารถแก้ ไขปั ญหาได้ อนั จะนําความ สูญเสียประโยชน์ที่ไทยควรได้ รับหรื อก่อให้ เกิดความเสียหายที่ไทยไม่อาจเรี ยกร้ องจากใครได้ ในภายหลัง ในส่วนที่มีกฎหมายบังคับใช้ นัน้ ก็ยงั คงมีปัญหาการบังคับใช้ ของเจ้ าหน้ าที่ที่อาจใช้ อํานาจซํ ้าซ้ อนกันใน กิจกรรมเดียวกัน โดยเฉพาะในด้ านการจัดการทรัพยากรที่มีชีวิต (การประมง) ซึง่ มีพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของกรมประมง มีอํานาจตรวจตราการกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับการประมงในขณะเดียวกันเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อก็มีอํานาจดังกล่าว ด้ วย ในด้ านทรัพยากรที่ไม่มีชีวิตอันได้ แก่ปิโตรเลียมนัน้ เนื่องจากกฎหมายเกี่ยวกับปิ โตรเลียมกําหนดให้ เขตปลอดภัย และสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลนันถื ้ อว่าอยู่ในราชอาณาจักรและกําหนดให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจสืบสวน ภายในเขตดังกล่าวได้ ด้วย กรณีจงึ อาจเกิดความซํ ้าซ้ อนในการปฏิบตั ิหน้ าที่กบั พนักงานเจ้ าหน้ าที่ของกระทรวงพลังงาน (กรม เชื ้อเพลิงธรรมชาติ) ได้ เช่นเดียวกัน 6) ทะเลหลวง อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กําหนดให้ รัฐมีเสรี ภาพ ในทะเลหลวงอันได้ แก่ เสรี ภาพในการเดินเรื อ การบิน การวางสายเคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเล การสร้ างเกาะเทียมหรื อสิ่งก่อสร้ างอื่นตามที่มี กฎหมายระหว่างประเทศให้ สิท ธิ ก ระทํ าได้ การทํ า การประมงภายใต้ ข้อ กํ าหนดเพื่ อการอนุรักษ์ และการจัด การ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง และการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลภายใต้ ข้อกําหนดเกี่ยวกับการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล จากระบบกฎหมายภายในของไทยนัน้ ไทยมีกฎหมายที่ให้ อํานาจในการทําการประมงไว้ อย่างชัดเจนในเขต น่านนํา้ ที่ไทยมีสิทธิ จะใช้ ซ่ึงรวมถึงในทะเลหลวงด้ วย อย่างไรก็ตาม ในเรื่ องอื่นๆ แม้ จะไม่มีกฎหมายแต่ก็อาจไม่มี ปั ญหาในทางปฏิบัติ เช่น การบินผ่านทะเลหลวง เนื่ องจากไทย มีกฎหมายควบคุมการบิน (พระราชบัญญัติการ เดินอากาศ พ.ศ. 2497) โดยผู้ที่จะประกอบกิจการเกี่ยวกับการบินต้ องได้ รับอนุญาต ซึ่งกิจการดังกล่าวรวมถึงการใช้ อากาศยานและสนามบิ น ด้ ว ย ดัง นัน้ เมื่ ออากาศยานสามารถบินจากไทยได้ แล้ วก็ ย่อมบิ นผ่านทะเลหลวงได้ โดยไม่ จําเป็ นต้ องมีกฎหมายรองรับ ส่วนการบินผ่านน่านนํ ้าที่มีเจ้ าของหรื อรัฐอื่นๆ ก็คงเป็ นเรื่ องของการทําความตกลงในการ อนุญาตให้ บินผ่านเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม อนุสญ ั ญาสหประชาชาติฯ ได้ กําหนดให้ รัฐทุกรัฐต้ องร่วมมือกันในกิจกรรมบางอย่างอัน ได้ แก่ การกําหนดให้ เรื อมีธงประจําเรื อเพียงชาติเดียว โดยรัฐที่เป็ นเจ้ าของธงนันต้ ้ องมีความสัมพันธ์ หรื อมีการควบคุมทาง ทะเบียนกับเรื อที่ชักธงของตนได้ และจะถื อว่าเรื อที่ชักธงมากกว่าหนึ่งชาติเป็ นเรื อที่ไร้ สัญชาติ รั ฐเจ้ าของธงต้ องมี มาตรการต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพต่อเรื อที่ชกั ธงของตน เช่น ต้ องจัดอุปกรณ์ประจําเรื อที่เหมาะสมปลอดภัย สามารถ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


183

ไต่สวนกรณีเกิดอุบตั ิภยั หรื อก่อให้ เกิดความเสียหายแก่รัฐอื่นหรื อแก่สภาพแวดล้ อมได้ เป็ นต้ น ทุกรัฐต้ องร่ วมมือกันให้ ความช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเลแก่ผ้ ตู กอยู่ในอันตรายหรื อมีเหตุเรื อโดนกัน และมีการจัดตังหน่ ้ วยงานที่มีประสิทธิภาพ ในการค้ นหาและช่วยชีวิตผู้ตกอยู่ในอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพ ห้ ามการขนส่งทาส ร่ วมกันปราบปรามโจรสลัด ยาเสพ ติด และการออกอากาศในทะเลหลวงโดยไม่ได้ รับอนุญาต รวมทังร่้ วมมือกันอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิต เช่น การกําหนด ปริ มาณที่อนุญาตให้ จบั ได้ หรื อมีมาตรการฟื น้ ฟูชนิดพันธ์ ที่อนุญาตให้ จบั ให้ อยู่ในระดับที่มีผลผลิตอย่างยัง่ ยืน การ คุ้มครองสิ่งแวดล้ อมทางทะเล และร่ วมมือกันแบ่งปั นทรัพยากรที่ ถือว่าเป็ นมรดกร่วมกันของมนุษย์อย่างเที่ยงธรรม การ ศึกษาวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลต้ องเป็ นไปเพื่อสันติ และให้ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้ ได้ รับประโยชน์อย่างเท่า เทียม หากพิจารณาจากกฎหมายของไทยแล้ ว ไทยนันมี ้ กฎหมายว่าด้ วยเรื อไทยที่ควบคุมทางทะเบียนแก่เรื อไทย ้ ดตังหน่ ้ วยงาน กรณีจงึ เป็ นไปตามที่อนุสญ ั ญาสหประชาชาติฯ กําหนดไว้ สําหรับการช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเลนันอาจจั ขึ ้นประสานการช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเลได้ อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั ก็ได้ มีการจัดตังศู ้ นย์ทําหน้ าที่ทํานองดังกล่าวใน กองทัพ เรื อ ซึ่ง ปั ญ หาที่ สํา คัญ อยู่ที่ ค่า ใช้ จ่ า ยในการดํ า เนิ น งาน หรื อ การช่ ว ยเหลื อ ที่ ต้อ งมี ค่ า ใช้ จ่ า ยหรื อ กรณี ที่ ก่อให้ เกิดผลกระทบเข้ ามาในเขตน่านนํ ้าไทย ไม่วา่ จะเป็ นมลภาวะหรื อสภาพแวดล้ อมใดๆ กรณีนี ้ก็อาจมีความจําเป็ น จะต้ องมีกฎมายกําหนดให้ เรี ยกร้ องค่าใช้ จ่ายหรื อค่าเสียหายจากกรณี ดังกล่าวได้ (ซึ่งปั จจุบันรัฐบาลได้ เสนอร่ าง พระราชบัญญัติการช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเล พ.ศ. .... ดังที่กล่าวแล้ ว) ในส่วนของการปราบปรามโจรสลัดและ ยาเสพ ติดนัน้ ไทยมีกฎมายว่าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัดบังคับใช้ ให้ อํานาจแก่เจ้ าหน้ าที่ ทหารเรื ออยู่แล้ ว และมีกฎหมายว่าด้ วยการให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําผิดบางอย่างทางทะเลซึ่งรวมถึง ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด (แต่อาจมีปัญหาที่เขตอํานาจอาจไปไม่ถงึ นอกทะเลอาณาเขต) ดังนัน้ ปั ญหาในทางปฏิบตั ิของไทยเกี่ยวกับการดําเนินการกิจกรรมต่างๆ ในทะเลหลวงนัน้ ที่สําคัญจึงเป็ นปั ญหา การเรี ยกค่าใช้ จ่ายหรื อค่าเสียหายจากการช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเล มลภาวะหรื อ การทําลายสภาพแวดล้ อมทางทะเล รวมถึงปั ญหาที่เกิดกับทรัพยากรประมงที่ไทยมีสิทธิแสวงประโยชน์หรื อที่ส่งผลกระทบเข้ ามาในเขตน่านนํ ้าไทยที่ไทยมี สิทธิการประมง นอกจากนัน้ ยังมีปัญหาที่ขาดกฎหมาย ที่ผลบังคับใช้ ในทะเลหลวงอย่างชัดเจนในเรื่ องดังต่อไปนี ้ คือ (1) มาตรการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตในทะเลหลวง (2) มาตรการคุ้มครองสิง่ แวดล้ อมในทะเลหลวง (3) การห้ ามขนส่งทาส และมาตรการป้องกันการกระทําผิดตามหลักกฎหมายทัว่ ไปในหลายประการ เช่น การปราบปรามยาเสพติด การออกอากาศโดยไม่ได้ รับอนุญาต เป็ นต้ น (4) มาตรการกรณีเรื อโดนกันในทะเลหลวง และการให้ ความช่วยเหลือกู้ภยั (5) มาตรการในการศึกษาวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในทะเลหลวง ซึ่งรวมถึงการศึกษาวิจยั เทคโนโลยี ใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจอื่นๆ และการวางสายเคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเล มาตรการต่างๆ ข้ างต้ นรวมถึงการบัญญัติให้ อํานาจในการตรวจตรา ค้ น จับกุม และ ยึดสิ่งของที่กระทําผิด ตลอดจนการดําเนินคดีผ้ กู ระทําผิดด้ วย ซึง่ มาตรการต่างๆ ที่กล่าวมานัน้ เป็ นมาตรการเพื่อประโยชน์ของประเทศไทย เท่านัน้ หากประเทศไทยประสงค์จะเป็ นภาคีอนุสญ ั ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้ วยแล้ ว จะต้ องมีกฎหมายอื่นๆ มารองรับอีกหลายประการ เช่น รองรับองค์กรระหว่างประเทศตามอนุสญ ั ญานี ้ ไม่ว่าองค์กรระงับข้ อพิพาท หรื อองค์กรบริ หารทรัพยากรในพื ้นดิน และใต้ พื ้นดินท้ องทะเลในทะเลหลวง เป็ นต้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


184

4.1.1.3 ข้ อบกพร่ องของกฎหมายภายในแต่ละฉบับเพื่อให้ สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1928 ในการศึ กษาจุดบกพร่ องของกฎหมายหรื อกฎข้ อบังคับของประเทศไทย เพื่ อส่ง เสริ ม ความสอดคล้ อ งกับ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 นัน้ คณะวิจยั จะทําการศึกษาโดยแบ่งเป็ นเรื่ องต่างๆ ตาม อนุสัญ ญาสหประชาชาติว่า ด้ ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และจะทํ า การศึก ษาว่า ในแต่ล ะเรื่ อ งดัง กล่า วนัน้ มี กฎหมายภายในของไทยที่มีความบกพร่ องหรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งคือปั ญหาทางกฎหมายที่ไม่สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญา ประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ในเรื่ องนันๆ ้ หรื อไม่ 1) ข้อบกพร่ องของกฎหมายภายในทีเ่ กี ย่ วข้องกับทะเลอาณาเขต ในส่วนของทะเลอาณาเขตนันมี ้ หลักที่สําคัญตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ แก่เรื่ องสิทธิการผ่านโดยสุจริ ต ซึ่งหมายความถึงรัฐชายฝั่ งจะต้ องยอมให้ เรื อต่างด้ าวแล่นผ่านทะเลส่วนนันได้ ้ เพื่อ ประโยชน์ในการเดินเรื อ การขนส่ง การติดต่อสื่อสาร และการค้ าระหว่างประเทศ เนื่องจากว่าแม้ รัฐชายฝั่ งจะมี อธิ ปไตยเหนือทะเลอาณาเขตแต่อย่างไรก็ตามอธิ ปไตยดังกล่าวก็ไม่ใช่ว่ารัฐชายฝั่ งจะใช้ อํานาจอธิ ปไตยได้ อย่าง สมบูรณ์ดงั เช่นที่ใช้ เหนืออาณาเขตที่เป็ นพื ้นดินของรัฐตน เพราะท้ องทะเลเป็ นเส้ นทางที่สําคัญในการใช้ ติดต่อ หรื อทํา การ ค้ าขายในทางระหว่างประเทศและเป็ นที่ยอมรับหลักเรื่ องเสรี ภาพแห่งทะเล ที่ให้ ทกุ ประเทศมีเสรี ภาพโดยสมบูรณ์ ในการเดินเรื อในทะเลหลวงซึ่งไม่ถือว่าเป็ นของประเทศใดได้ โดยปราศจากการขัดขวางโดยรัฐหนึ่งรัฐใด ด้ วยเหตุผล ตามที่ได้ กล่าวมาแล้ ว การใช้ อธิปไตยของรัฐเหนือทะเลอาณาเขตนี ้รัฐชายฝั่ งจึงต้ องคํานึงถึงหลักเสรี ภาพแห่งทะเล ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย ด้ วย เมื่อหลักการผ่านโดยสุจริ ตโดยเรื อต่างชาติเป็ นหลักการที่สําคัญตามอนุสญ ทะเลในเรื่ องของทะเลอาณาเขต ดังนัน้ ในการพิจารณาข้ อบกพร่ องของกฎหมายภายส่วนนี ้ จึงจะทําการศึกษา กฎหมายภายในว่ามีข้อบกพร่ องที่ไม่เป็ นไปตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลในเรื่ องของการผ่าน โดยสุจริตในทะเลอาณาเขตหรื อไม่ 1.1) กฎหมายภายในกับการดําเนินกิจกรรมในทะเลอาณาเขตที่ไม่ ถือว่ าเป็ นการใช้ สิทธิผ่าน โดยสุจริตของเรื อต่ างชาติ การผ่านนัน้ จะเป็ นการผ่านโดยสุจริ ตได้ ก็ต่อเมื่อเป็ นการผ่านที่ไม่ทําให้ เกิดการเสื่อมเสียต่อสันติภาพ ความเรี ยบร้ อย หรื อความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ ง และอนุสญ ั ญาฯ Article 19 2. ก็ได้ กําหนดว่ากิจกรรมใดบ้ างของเรื อที่ ทําการผ่านที่ถือว่าเป็ นการเสื่อมเสียต่อสันติภาพ ความสงบเรี ยบร้ อย หรื อความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ ง ซึง่ อาจจําแนกได้ เป็ นสองประการใหญ่324 คือ ประการแรก การกระทําที่มีลกั ษณะเป็ นการคุกคามต่อความมัน่ คงของชาติ ซึง่ ได้ แก่ - การคุกคาม หรื อการใช้ กําลังใดๆ ต่ออํานาจอธิ ปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน หรื อ เอกราชทาง การเมืองของรั ฐชายฝั่ ง หรื อโดยลักษณะอื่นใดที่เป็ นการฝ่ าฝื นหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ระบุไว้ ในกฎบัตร สหประชาชาติ - การซ้ อม หรื อการฝึ กใดๆ ด้ วยอาวุธชนิดใดๆ 324

ประเสริ ฐชัย ทัฬหิกรณ์. 2500. การบังคับใช้ กฎหมายอาญาในทะเลอาณาเขต : ศึกษากรณีการกระทําความผิดอาญา เหนือเรื อเอกชนต่ างชาติขณะผ่ านโดยสุจริ ต. วิทยานิพนธ์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้ า 66.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


185

- การกระทําการใดๆ ที่ม่งุ ประสงค์ในการรวบรวมข้ อสนเทศที่เป็ นการเสื่อมเสียต่อการป้องกันหรื อ ความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ ง - การกระทําการโฆษณาชวนเชื่อใดที่ม่งุ ประสงค์ให้ กระทบต่อการป้องกัน หรื อความมัน่ คงของรัฐ ชายฝั่ ง - การส่งขึ ้นสูอ่ ากาศ การลงสูพ่ ื ้น หรื อการนําขึ ้นมาบนเรื อซึง่ อากาศยานใดๆ - การปล่อยขึ ้นสูอ่ ากาศ การลงสูพ่ ื ้นหรื อการนําขึ ้นมาบนเรื อซึง่ กลอุปกรณ์ทางทหารใดๆ ประการที่สอง การกระทําอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับการผ่าน ซึง่ ได้ แก่ - การขนลง หรื อ การขนขึน้ จากเรื อ ซึ่ง โภคภัณ ฑ์ เงิ นตรา หรื อ บุค คลใดๆ ที่ ขัดต่อ กฎหมายและ ข้ อบังคับทางศุลกากร รัษฎากร การเข้ าเมือง หรื อการสุขาภิบาลของรัฐชายฝั่ ง ั ญานี ้ - การกระทําใดๆ โดยเจตนาที่ก่อให้ เกิดภาวะมลพิษอย่างร้ ายแรงอันเป็ นการขัดต่ออนุสญ - กิจกรรมประมงใดๆ - การดําเนินกิจกรรมวิจยั หรื อสํารวจ - การกระทําใดๆ ที่ม่งุ ประสงค์เพื่อแทรกแซงระบบการสื่อสารใดๆ หรื อสิ่งอํานวยความสะดวกหรื อ สิง่ ติดตังอื ้ ่นใดของรัฐชายฝั่ ง ั ญาสหประชาชาติว่า ซึง่ หากมีการดําเนินกิจกรรมดังกล่าวภายในทะเลอาณาเขต Article 25 ของอนุสญ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งอาจดําเนินขันตอนที ้ ่จําเป็ นในทะเลอาณาเขตเพื่อป้องกันการ ผ่านที่ไม่สุจริ ตนัน้ ๆ ได้ ดังนัน้ ในส่วนนี จ้ ึงมีความจํ าเป็ นที่จะต้ องพิจารณากฎหมายภายในของประเทศไทยว่ามี กฎหมายใดบ้ างที่กําหนดมาตรการเพื่อควบคุมหรื อดําเนินการกับเรื อที่ประกอบกิจกรรมที่มีลกั ษณะเป็ นการผ่านโดย ไม่สจุ ริ ตตาม Article 19 2. ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ไว้ หรื อไม่ โดยแยกพิจารณา เป็ นจากการดําเนินกิจกรรมที่ไม่ถือว่าเป็ นการผ่านโดยสุจริตสองลักษณะตามที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ น (1) กฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องกับการผ่านที่มีลกั ษณะเป็ นการคุกคามต่อความมัน่ คงของชาติ ในส่วน นี ้จะมีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ (1.1) ประมวลกฎหมายอาญา โดยหมวดที่สามแห่งประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 119 ถึงมาตรา 129) ได้ กําหนดเรื่ องความผิด ต่ อ ความมั่น คงของรั ฐ ภายนอกราชอาณาจัก รเอาไว้ ประกอบด้ ว ยฐานความผิ ด ต่ า งๆ ได้ แ ก่ กระทํ า การให้ ราชอาณาจักรหรื อส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรตกอยู่ใต้ อํานาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ หรื อเพื่อให้ เอกราชของรัฐ สูญเสียไป (มาตรา 119) คบคิดกับบุคคลเพื่อประโยชน์ของรัฐต่างประเทศเพื่อที่จะก่อให้ เกิดการรบต่อรัฐหรื อในทาง อื่นที่เป็ นปรปั กษ์ ต่อรัฐ (มาตรา 120) คนไทยกระทําการรบต่อประเทศหรื อร่ วมเป็ นข้ าศึกต่อประเทศ (มาตรา 121) อุปการะแก่การดําเนินการรบหรื อการตระเตรี ยมการรบของข้ าศึก (มาตรา 122) ฐานความผิดเกี่ยวกับความลับของ ประเทศ (มาตรา 123 ถึงมาตรา 124) ความผิดในการปลอมเอกสารที่เป็ นส่วนได้ เสียของรัฐ (มาตรา 125) ไม่ปฏิบตั ิ ตามภารกิจที่ได้ รับมอบหมายจากรัฐบาล (มาตรา 126) กระทําการใดๆ เพื่อให้ เกิดเหตุร้ายจากภายนอก (มาตรา 127) ซึ่งหากมีการกระทําที่มีลกั ษณะเข้ าองค์ประกอบตามฐานความผิดที่ได้ กล่าวมาแล้ วก็ย่อมที่จะถูก ลงโทษในประเทศไทยได้ เนื่ องจากมาตรา 4 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ได้ กําหนดไว้ ว่า ผู้ใดกระทําความผิดใน ราชอาณาจักร ต้ องรับโทษตามกฎหมาย ซึง่ ความหมายของคําว่า “ราชอาณาจักร” ตามมาตรานี ้ หมายความรวมถึง ทะเลอาณาเขตของประเทศไทยด้ วย อย่างไรก็ตาม ขอบเขตตามมาตรานี ้ ยังไม่ครอบคลุมไปถึงกิจกรรมทุกลักษณะที่

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


186

กําหนดไว้ ในอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลในเรื่ องที่ถือว่าเป็ นการผ่านโดยไม่สจุ ริ ต เช่น การนําขึ ้นมา บนเรื อซึ่งอากาศยานใดๆ เป็ นต้ น และหากการดําเนินกิจกรรมตามที่กําหนดไว้ ในอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ไม่มีลกั ษณะที่เข้ าองค์ประกอบความผิดตามฐานความผิดในหมวดสามแห่งประมวล กฎหมายอาญาตามที่ได้ กล่าวไปแล้ วข้ างต้ น ประเทศไทยก็ไม่สามารถที่จะลงโทษผู้ดําเนินกิจกรรมดังกล่าวในทะเล อาณาเขตได้ เพราะการกระทําใดจะเป็ นความผิดทางอาญาหรื อไม่ การกระทํานันจะต้ ้ องครบองค์ประกอบความผิด ตามกฎหมายอาญาและในการตีความกฎหมายอาญานันมี ้ หลักที่สําคัญอยู่ว่าจะต้ องตีความอย่างเคร่ งครัด เนื่องจาก กฎหมายอาญาเป็ นกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิและเสรี ภาพของบุคคล (1.2) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2546 เป็ นกฎหมายที่ กํ า หนดเกี่ ย วกั บ หลั ก เกณฑ์ ใ นการเดิ น เรื อ ในน่ า นนํ า้ ภายในของไทย แต่ พระราชบัญญัติฉบับนี ้ก็ไม่ได้ กําหนดกรณีที่มีการดําเนินกิจกรรมตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ตามที่ได้ กล่าวไปแล้ วข้ างต้ นว่าให้ สามารถขับไล่ออกไปจากน่านนํ ้าของไทยได้ ดังนัน้ ในส่วนนี ้จึงเป็ นข้ อบกพร่องของ กฎหมายภายในอยู่ที่ไม่มีการกําหนดในเรื่ องนี ้เอาไว้ อย่างชัดเจนและอาจมีปัญหาในการใช้ อํานาจของเจ้ าหน้ าที่กรณี ที่จะดําเนินการเพื่อป้องกันเรื อที่ดําเนินกิจกรรมเหล่านี ้ออกไปจากทะเลอาณาเขตของไทยได้ (2) กฎหมายภายในในส่วนของการกระทําอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับการผ่าน - การขนโภคภัณฑ์ เงินตรา หรื อบุคคล ลงเรื อหรื อขึ ้นจากเรื อ ที่เป็ นการขัดต่อกฎหมายและข้ อบังคับ ต่างๆ ทางศุลกากร การคลัง การเข้ าเมือง หรื อการสุขาภิบาลของรัฐชายฝั่ งมีกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ อง ดังนี ้ (2.1) พระราชบัญญัติศลุ กากร พระพุทธศักราช 2467 กฎหมายฉบับนี ้เกี่ยวข้ องกับการจัดเก็บภาษี ศลุ กากรในการนําเข้ ามาซึง่ สินค้ าภายในประเทศ และส่ง สินค้ าออกไปนอกประเทศ การกําหนดการนําสินค้ าเข้ าหรื อส่งออก อํานาจหน้ าที่ของพนักงานศุลกากร พิธีการศุลกากร ตลอดจนความผิดและโทษในการฝ่ าฝื น โดยสินค้ าที่มีข้อห้ าม หรื อข้ อบังคับเพื่อควบคุมการนําเข้ าหรื อส่งออก (2.2) พระราชบัญญัติคนเข้ าเมือง พ.ศ. 2522 เป็ นกฎหมายที่กําหนดควบคุมการเข้ ามาในราชอาณาจักรของคนต่างด้ าว ไม่ว่าการเข้ ามานันจะเป็ ้ น การเข้ ามาในราชอาณาจักรเป็ นการชัว่ คราว หรื อเข้ ามามีถิ่นที่อยู่ถาวร อย่างไรก็ตามโดยตัวพระราชบัญญัติฉบับนี ้ เองไม่ได้ กําหนดอํานาจหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ในการดําเนินการปราบปรามการกระทําละเมิดตามกฎหมายฉบับที่ใช้ เป็ น การเฉพาะแต่ตามพระราชบัญญัติให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการทําความผิดบางอย่างทางทะเล พระพุทธศักราช 2490 ก็ได้ กําหนดให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจในปราบปรามคนต่างด้ าวที่เข้ ามา หรื อการนําคนต่างด้ าวเข้ ามาใน ราชอาณาจักร โดยเฉพาะทางทะเล หรื อทางลํานํ ้า ซึง่ ติดต่อกับต่างประเทศหรื อทางลํานํ ้าซึง่ ออกทะเลได้ 325 (2.3) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย ตามหมวด 5 ของพระราชบัญญัติฉบับนี ้ ได้ กําหนดข้ อบังคับสําหรับการป้องกันโรคติดต่อจากเรื อที่ เข้ ามาในทะเลอาณาเขตของประเทศไทย ยกตัวอย่างเช่น ตามมาตรา 220326 แห่งพระราชบัญญัตินี ้ ได้ กําหนดให้ หาก 325

ประเสริ ฐชัย ทัฬหิกรณ์, อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 324, หน้ า 69. มาตรา 220 ถ้ าเรื อกําปั่ นลําใดที่เข้ ามาถึงน่านนํ ้าไทย มีคนเป็ นไข้ กาฬโรค ไข้ อหิวาตกโรค ไข้ ทรพิษ ไข้ จบั หรื อโรคร้ ายอย่างหนึง่ อย่างใด ที่ติดกันได้ มาในเรื อก็ดี หรื อเป็ นมาแล้ วภายในสิบสี่ วัน ก่อนวันที่เรื อมาถึงก็ดี นายเรื อหรื อผู้ที่บงั คับการในเรื อลํานันต้ ้ องชักธงสําหรับ บอกว่ามีโรคร้ ายขึ ้นไว้ และต้ องทอดสมอจอดเรื ออยูท่ ี่สถานีป้องกันโรคภยันตราย จนกว่าเจ้ าพนักงานแพทย์ จะอนุญาตปล่อยให้ ไปจึงไปได้ ถ้ า เป็ นเรื อที่จอดอยูแ่ ล้ วในน่านนํ ้าไทย นายเรื อหรื อผู้ บังคับการในเรื อลํานัน้ ต้ องชักธงสําหรับบอกว่ามีโรคร้ ายขึ ้นทันที และต้ องถอยเรื อไปจอดอยู่ ยังตําบลที่เจ้ า พนักงานแพทย์เห็นสมควร 326

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


187

เรื อกําปั่ นที่เข้ ามาในทะเลอาณาเขตและปรากฏว่ามีผ้ ปู ่ วยเป็ นโรคตามที่กําหนดไว้ ในมาตรานี ้ เรื อลําดังกล่าวก็จะต้ อง ทําการชักธงเพื่อแสดงให้ เห็นว่ามีผ้ ปู ่ วยเป็ นโรคตามที่กฎหมายกําหนดไว้ และเรื อนันก็ ้ จะต้ องทอดสมอจอดอยู่ที่สถานี ป้องกันโรคภยันตราย - การกระทํ า โดยเจตนาและก่ อ ให้ เ กิ ด ภาวะมลพิ ษ อย่ า งร้ ายแรงอัน เป็ นการขัด ต่ อ อนุสัญ ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1932 (2.4) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 พระราชบัญญัตินี ้ได้ กําหนดให้ ในการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยนันห้ ้ ามห้ ามไม่ให้ มีการเทหรื อทิ ้งหรื อทํา ประการใดๆ ให้ หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิ่งของหรื อสิ่งปฏิกลู ใดๆ ลงในทะเลภายในน่านนํ ้าไทย อันจะเป็ น เหตุให้ เกิดการตืน้ เขิน ตกตะกอนหรื อสกปรก ตามมาตรา 119327 ห้ ามมิให้ มีการเทหรื อทิง้ หรื อทําประการใดๆ ให้ นํ ้ามันหรื อเคมีภณ ั ฑ์ลงในทะเลภายในน่านนํ ้าไทยอันจะส่งผลให้ เป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรื อต่อสิ่งแวดล้ อม ตามมาตรา 119 ทวิ328 และยังห้ ามมิให้ ทิ ้งนํ ้ามันปิ โตรเลียม หรื อนํ ้ามันที่ปนกับนํ ้ารั่วไหลลงในนํ ้าตามมาตรา 204329 ซึง่ หากผู้ใดฝ่ า ฝื นบทบัญญัติดงั กล่าวก็จะได้ รับโทษตามกฎหมาย ในส่วนนี ้จึงมีกฎหมายภายในที่ทําการควบคุมอยูแ่ ล้ ว - การทํากิจกรรมการประมง (2.5) พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยสิทธิการประมงในเขตประมงไทย พระพุทธศักราช 2482 กฎหมายฉบับนี ้ เป็ นกฎหมายเกี่ยวกับการอนุญาตให้ ทําการประมงในเขตการประมงไทย บุคคลหรื อ ห้ างหุ้นส่วน หรื อบริ ษัทจํากัด จะต้ องขออนุญาตในการทําการประมงจึงจะสามารถทําการประมงในเขตการประมง ไทยได้ โดยมุ่ง ที่ จ ะคุ้ม ครองและสงวนสิท ธิ์ ใ นการทํ า ประมงไทยไว้ ใ ห้ กับ คนไทยเท่า นัน้ ตามกฎหมายฉบับ นี ไ้ ด้ กําหนดให้ เขตการประมงไทย หมายถึง เขตน่านนํ ้าไทย หรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึง่ ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิที่จะใช้ ต่อไป ในการจับสัตว์นํ ้า โดยที่น่านนํ ้าเหล่านันปรากฏโดยทั ้ ว่ ไปว่าขอบเขตกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียมประเพณี หรื อ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรื อตามสนธิสญ ั ญา หรื อด้ วยประการใดๆ ทังนี ้ ้ ตามมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัตินี330 ้ และหากพิจารณาตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติฉบับนี ซ้ ึ่งได้ กําหนดห้ ามมิให้ ออกใบอนุญาตสําหรั บทําการ ประมงให้ แก่บคุ คลต่างด้ วย หรื อนิติบคุ คลต่างด้ าว จึงเป็ นการสงวนสิทธิในการทําการประมงในเขตการประมงไทยไว้ 327

มาตรา 119 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท ทิ ้ง หรื อทําด้ วยประการใดๆ ให้ หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิ่งของหรื อสิ่งปฏิกลู ใดๆ ยกเว้ น นํ ้ามันและเคมีภณ ั ฑ์ลงในแม่นํ ้า ลําคลอง บึง อ่างเก็บนํ ้า หรื อทะเลสาบ อันเป็ นทางสัญจรของประชาชนหรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน หรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทย อันจะเป็ นเหตุให้ เกิดการตื ้นเขิน ตกตะกอนหรื อสกปรก เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากเจ้ าท่า ผู้ใดฝ่ าฝื นต้ องระวาง โทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ และต้ องชดใช้ เงินค่าใช้ จา่ ยที่ต้องเสียในการขจัดสิ่งเหล่านันด้ ้ วย 328 มาตรา 119 ทวิ ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท ทิ ้ง หรื อทําด้ วยประการใดๆ ให้ นํ ้ามันและเคมีภณ ั ฑ์หรื อสิ่งใดๆ ลงในแม่นํ ้า ลําคลอง บึง อ่าง เก็บนํ ้า หรื อทะเลสาบอันเป็ นทางสัญจรของประชาชนหรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน หรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทยอันอาจจะเป็ นเหตุให้ เกิด เป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรื อต่อสิ่งแวดล้ อมหรื อเป็ นอันตรายต่อการเดินเรื อในแม่นํ ้า ลําคลอง บึง อ่างเก็บนํ ้า หรื อทะเลสาบดังกล่าว ผู้ใดฝ่ าฝื นต้ อง ระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ และต้ องชดใช้ เงินค่าใช้ จา่ ยที่ต้องเสียไปในการแก้ ไขสิ่งเป็ นพิษหรื อ ชดใช้ คา่ เสียหายเหล่านันด้ ้ วย 329 มาตรา 204 ผู้ใดเท ทิ ้ง หรื อปล่อยให้ นํ ้ามันปิ โตรเลียมหรื อนํ ้ามันที่ปนกับนํ ้ารั่วไหลด้ วยประการใดๆ ลงในเขตท่า แม่นํ ้า ลํา คลอง ทะเลสาบ หรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทย ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับตังแต่ ้ สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ 330 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ “เขตการประมงไทย” หมายความถึงเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึ่งประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิ ที่จะใช้ ต่อไปในการจับสัตว์นํ ้า โดยที่ น่านนํา้ เหล่านัน้ ปรากฏโดยทัว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรื อตาม สนธิสญ ั ญา หรื อด้ วยประการใดๆ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


188

ให้ แก่บคุ คล หรื อนิติบคุ คลที่มีสญ ั ชาติไทยเท่านัน้ นอกจากนี ้ยังห้ ามมิให้ เรื อประมงที่มีสญ ั ชาติต่างประเทศ หรื อเรื อที่ เป็ นของคนต่างด้ าว หรื อของนิติบุคคลที่มีสญ ั ชาติต่างประเทศ หรื อเรื อที่มีสญ ั ชาติไทยที่มีคนประจําเรื อเป็ นคนต่าง ด้ าวรวมอยู่ด้วย ทําการประมงในเขตการประมงไทยด้ วย และในการประมงในเขตการประมงไทยนัน้ ผู้ทําการประมง จะต้ องมีใบอนุญาตที่ได้ รับสําหรับทําการประมงประจําไปกับเรื อด้ วย ในขณะทําการประมง ดังนัน้ จึงสามารถนํา พระราชบัญญัติฉบับนี ้มาเพื่อดําเนินการป้องกันการทํากิจกรรมประมงในขณะที่เรื อต่างชาติเข้ ามาในทะเลอาณาเขต ได้ - การดําเนินกิจกรรมวิจยั หรื อสํารวจ หากพิจารณาจากการดําเนินกิจกรรมในข้ อนี ้จะเห็นได้ ว่ามีลกั ษณะเป็ นการดําเนินการที่มีขอบเขต กว้ างขวางมากซึ่งอาจเป็ นการดําเนินการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล หรื อเป็ นการสํารวจทางอุทกศาสตร์ ก็ได้ แต่ใน ส่วนนี ้ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวข้ องโดยแจ้ งชัด ซึง่ กฎหมายที่ได้ กล่าวถึงเรื่ องการวิจยั สํารวจทาง วิทยาศาสตร์ ในทางทะเล หากจะมีกฎหมายที่ใกล้ เคียงก็มีเพียงแต่พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 เท่านัน้ ซึ่ง พระราชบัญญัติฉบับนีก้ ็ได้ กําหนดให้ การประกอบกิจการปิ โตรเลียมจะต้ องไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิ ในการวิจัย วิทยาศาสตร์ ทางทะเลเท่านัน้ (มาตรา 74) กฎหมายฉบับนีจ้ ึงไม่ใช่กฎหมายที่กําหนดควบคุมในเรื่ องของการวิจัย วิทยาศาสตร์ ทางทะเลหรื อการสํารวจทางอุทกศาสตร์ ตามที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น จึงไม่ครอบคลุมถึงการดําเนินการ กรณีที่มีการดําเนินกิจกรรมวิจยั หรื อสํารวจโดยเรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขตของประเทศไทย แต่หากว่าการดําเนิน กิจกรรมวิจยั หรื อสํารวจโดยเรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขตของประเทศไทยไปกระทบในเรื่ องของความสงบเรี ยบร้ อย หรื อความมั่นคงของประเทศแล้ ว เช่น การหาข้ อมูลเบื อ้ งต้ นเพื่อจะทําการรุ กรานอธิ ปไตยของประเทศ เป็ นต้ น ก็ จะต้ องพิจารณาตามประมวลกฎหมายอาญาว่าเข้ าลักษณะของฐานความผิดในหมวดที่สามตามที่ได้ กล่าวถึงแล้ ว หรื อไม่ อย่างไรก็ตามใน การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในทะเลอาณาเขตนันอาจกระทํ ้ าได้ ด้วยความยินยอมอย่าง ชัดเจนของรัฐชายฝั่ งและภายใต้ เงื่อนไขที่รัฐชายฝั่ งกําหนดเท่านัน้ ทังนี ้ ้ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย 331 ทะเล ค.ศ. 1982 Article 245 - การกระทําใดๆ ที่มงุ่ ประสงค์เพื่อแทรกแซงระบบการสื่อสารใดๆ ในเรื่ องนีม้ ีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องได้ แก่พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 โดยมาตรา 73332 แห่งพระราชบัญญัติฉบับนีไ้ ด้ กําหนดเอาไว้ ว่าผู้ใดทําให้ เสียหาย ทําลาย ทําให้ เสื่อมค่า ทําให้ ไร้ ประโยชน์ซึ่งเครื่ องหมาย ทุ่นหรื อสิ่งอื่นใดที่กําหนดไว้ เพื่อการคุ้มครองระบบโทรคมนาคมจะต้ องรับโทษ และมาตรา 74333 แห่งพระราชบัญญัตินีไ้ ด้ กําหนดให้ หากผู้ใดกระทําด้ วยประการใด ๆ เพื่อดักรับไว้ ใช้ ประโยชน์ หรื อเปิ ดเผย ข้ อความข่าวสาร หรื อข้ อมูลอื่นใดที่มีการสื่อสารทางโทรคมนาคมโดยไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ต้ องระวางโทษจําคุกไม่ ้ าทังปรั ้ บ อย่างไรก็ตาม ก็ยงั มีข้อพิจารณาว่าการแทรกแซงระบบการ เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรื อทังจํ สื่อสารใดๆ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 นัน้ อาจมีความหมายที่กว้ างกว่ากรณี ตามที่สองมาตราข้ างต้ นได้ กําหนดเอาไว้ 331

ประเสริ ฐชัย ทัฬหิกรณ์, อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 324, หน้ า 73. มาตรา 73 ผู้ใดทําให้ เสียหาย ทําลาย ทําให้ เสื่อมค่า ทําให้ ไร้ ประโยชน์ซงึ่ เครื่ องหมาย ทุน่ หรื อสิ่งอื่นใดที่กําหนดไว้ เพื่อการ คุ้มครองระบบโทรคมนาคมตามมาตรการที่คณะกรรมการประกาศกําหนดตามมาตรา 44 วรรคสอง ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับ ไม่เกินสี่แสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ 333 มาตรา 74 ผู้ใดกระทําด้ วยประการใดๆ เพื่อดักรับไว้ ใช้ ประโยชน์ หรื อเปิ ดเผยข้ อความข่าวสาร หรื อข้ อมูลอื่นใดที่มีการสื่อสาร ทางโทรคมนาคมโดยไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ 332

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


189

จากการพิจารณากฎหมายภายในสําหรับเรื่ องการผ่านของเรื อต่างด้ าวที่ไม่ถือว่าเป็ นการผ่านโดย สุจริ ตแล้ วจะเห็นได้ ว่ากฎหมายภายในยังมีข้อบกพร่ องอยู่บางประการที่ไม่ครอบคลุมทุกกรณี ตามที่กําหนดไว้ ใน อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ยกตัวอย่างเช่น การดําเนินการเกี่ยวกับเงินตรา หรื อการ ดําเนินกิจกรรมวิจัยหรื อสํารวจในทะเลอาณาเขต เป็ นต้ น แต่อย่างไรก็ตาม ลักษณะตามที่กําหนดในอนุสัญญา สําหรั บเรื่ องการผ่านทีไม่สุจริ ตเป็ นการบัญญัติข้อกฎหมายให้ มีลักษณะเป็ นการตีความทางข้ อกฎหมายได้ อย่าง กว้ างขวางเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ รัฐชายฝั่ งใช้ ดลุ ยพินิจ ในการบัญญัติกฎหมายหรื อข้ อกําหนดต่างๆ อันเป็ นการห้ าม เรื อที่ผ่านในทะเลอาณาเขตมิให้ กระทําการดังกล่าวเท่านัน้ ซึง่ หากไม่มีกฎหมายภายในออกมาอนุวตั ิการณ์ให้ เป็ นไป ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเลในเรื่ องนี ้ก็สง่ ผลเพียงทําให้ รัฐสูญเสียประโยชน์ที่จะดําเนินการเพื่อ ป้องกันเรื อต่างชาติที่ผ่านเข้ ามาในน่านนํา้ โดยไม่สจุ ริ ตตามที่อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ 334 1.2) กฎหมายภายในกับเขตอํานาจทางแพ่ งของรั ฐชายฝั่ งเหนือเรื อต่ างชาติ เนื่องจากตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลกําหนดให้ รัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่ดําเนินการที่ เป็ นการขัดขวางเรื อต่างชาติที่ใช้ สิทธิการผ่านโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขตของตน เพื่อดําเนินคดีทางแพ่งต่อบุคคลบน เรื อต่างชาติ และรัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่บงั คับหรื อจับกุมเรื อเพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาในทางแพ่ง เว้ นเสียแต่ว่าหนี ้ หรื อความรับผิดซึ่งเรื อต่างชาติเป็ นผู้ก่อให้ เกิดขึ ้นในขณะที่แล่นผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง แต่หากเป็ นกรณีที่ เรื อได้ กระทําการฝ่ าฝื นกฎหมายของรัฐชายฝั่ งและได้ ออกจากน่านนํ า้ ภายในและแล่นผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐ ชายฝั่ งรัฐชายฝั่ งสามารถบังคับหรื อจับกุมเรื อต่างชาติเพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาทางแพ่งได้ ทังนี ้ ้ ตาม Article 28 แห่งอนสัญญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ดังนัน้ ในส่วนนี ้จึงต้ องทําการศึกษากฎหมายภายในว่า มีบทบัญญัติกฎหมายใดที่กําหนดให้ มีการขัดขวางเรื อต่างชาติที่ใช้ สิทธิการผ่านโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขตของตน เพื่อ ดํา เนิน คดี แพ่ง โดยไม่เป็ นไปตามข้ อ ยกเว้ น ที่กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งสามารถบัง คับหรื อ จับ กุมเรื อได้ หรื อไม่ ซึ่ง กฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องนี ้ก็ได้ แก่พระราชบัญญัติการกักเรื อ พ.ศ. 2834 พระราชบัญญัติฉบับนี ม้ ีขึน้ เนื่องจากเรื อเดินทะเลที่ให้ บริ การขนส่งทางทะเลระหว่างประเทศไทยกับ ต่างประเทศประมาณกว่าร้ อยละ 90 เป็ นเรื อต่างชาติ ซึ่งเจ้ าของเรื อและผู้ดําเนินงานของเรื อเหล่านี ส้ ่วนมากไม่มี ภูมิลําเนาอยู่ในราชอาณาจักร เมื่ อเกิ ดกรณี ที่เจ้ าของเรื อ หรื อ ผู้ดํา เนิ นงานต้ อ งรั บ ผิดทางแพ่ง ต่อ บุคคลซึ่งอยู่ใ น ราชอาณาจักรบุคคลดังกล่าวก็ไม่สามารถดําเนินการให้ เจ้ าของเรื อหรื อผู้ดําเนินงานชําระหนี ้หรื อชดใช้ ค่าเสียหาย ให้ แก่ตนได้ เนื่องจากเจ้ าของเรื อหรื อผู้ดําเนินงานไม่มีทรัพย์สินอยู่ในราชอาณาจักร ซึ่งหากนําคดีขึ ้นสู่ศาลก็ไม่เกิด ประโยชน์แก่เจ้ าหนี ้ จึงจําเป็ นต้ องมีกฎหมายกําหนดให้ อํานาจศาลสามารถสัง่ กักเรื อที่เป็ นของลูกหนี ้ หรื อลูกหนี ้เป็ นผู้ ครอบครองเพื่ อ ให้ เ พี ย งพอที่ จ ะเป็ นประกัน การชํ า ระหนี อ้ ัน มี มูล มาจากสิ ท ธิ เ รี ย กร้ องเกี่ ย วกับ เรื อ นัน้ ได้ โดย พระราชบัญญัติฉบับนี ้กําหนดมาตรการต่างๆให้ เจ้ าหนี ้เหนือสิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับเรื อ ทําคําร้ องยื่นขอต่อศาลเพื่อให้ กักเรื อนันๆ ้ ไว้ ซึง่ สิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับเรื อตามนิยามของพระราชบัญญัติฉบับนี ้ยกตัวอย่างเช่น สิทธิเรี ยกร้ องอันเกิด จากความเสียหายแก่ชีวิต ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินของบุคคลใดๆ ที่มีเหตุมาจากเรื อหรื อการดําเนินงานของเรื อ การ ช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล สัญญาเกี่ยวกับการใช้ เช่า เช่าซื ้อ หรื อยืมเรื อ การให้ บริ การบรรทุก หรื อสัญญาอื่นทํานอง เดียวกัน สัญญาเกี่ยวกับการรับขนของทางทะเล ที่มีการออกใบตราส่ง เป็ นต้ น และในกรณีที่ศาลมีคําสัง่ อนุญาตให้ กักเรื อแล้ ว พนักงานเจ้ าหน้ าที่ก็จะมีอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในเรื่ องของการบังคับให้ 334

ประเสริ ฐชัย ทัฬหิกรณ์, อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 324, หน้ า 73

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


190

เป็ นไปตามคําพิพากษาหรื อคําสัง่ และให้ มีอํานาจสัง่ ให้ นายเรื อ ผู้ควบคุมเรื อ คนประจําเรื อ และบุคคลอื่นซึง่ เกี่ยวข้ อง กระทํ า การหรื อ งดเว้ น กระทํ า การอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดเพื่ อ ให้ บ รรลุผ ลตามหมายกัก เรื อ ซึ่ ง อํ า นาจดัง กล่า วมี ทั่ว ราชอาณาจักร จึงรวมถึงในทะเลอาณาเขตของไทยด้ วย เมื่ อ พิ จ ารณาหลัก เกณฑ์ ต ามที่ ไ ด้ กํ า หนดเอาไว้ ใ นกฎหมายฉบับ นี ้ ประกอบกับ Article 28 ของ อนุสญ ั ญาฯ จะเห็นได้ วา่ อนุสญ ั ญาฯ กําหนดให้ สามารถบังคับจับกุมเรื อต่างชาติเพื่อบังคับหนี ้ทางแพ่งได้ ก็ต่อเมื่อการ ก่อหนีน้ นเกิ ั ้ ดขึน้ ในขณะที่เรื อแล่นผ่านทะเลอาณาเขต แต่พระราชบัญญัติฉบับนีไ้ ม่ได้ จํากัดการกักเรื อไว้ เฉพาะแต่ กรณีที่หนี ้เกิดขึ ้นในราชอาณาจักรเท่านัน้ ดังนัน้ หากหนี ้เกี่ยวกับเรื อที่เกิดขึ ้นได้ เกิดขึ ้นนอกราชอาณาจักร เจ้ าหนี ้ก็ สามารถใช้ สิทธิ ในการร้ องขอต่อศาลเพื่อให้ ทําการกักเรื อต่างชาตินัน้ ได้ และพนักงานเจ้ าหน้ าที่ก็มีอํานาจในการ ดําเนินการเพื่อกักเรื อได้ ภายในราชอาณาจักรซึ่งก็จะหมายรวมถึงภายในทะเลอาณาเขตด้ วย และหากมีการ ดําเนินการเช่นว่าก็จะเป็ นการขัดแย้ งต่อ Article 28 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ตามที่ได้ กล่าวมาแล้ ว 2) ข้อบกพร่ องของกฎหมายภายในทีเ่ กี ย่ วข้องกับเขตต่อเนือ่ ง 2.1) กฎหมายภายในกับมาตรการควบคุมในเขตต่ อเนื่องเพื่อป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและนํา ตัวผู้กระทําความผิดในราชอาณาจักรมาลงโทษ เมื่อพิจารณาจากอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล Article 33 ได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งอาจ ใช้ การควบคุมที่จําเป็ นเพื่อป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการศุลกากร รัษฎากร การเข้ าเมือง หรื อ การสุขาภิบาล อันจะเกิดขึ ้นภายในอาณาเขตหรื อทะเลอาณาเขตของตน และยังสามารถลงโทษการฝ่ าฝื นกฎหมาย ดังกล่า วซึ่ง ได้ ก ระทํ า ภายในอาณาเขตหรื อ ทะเลอาณาเขตของรั ฐชายฝั่ ง โดยรั ฐชายฝั่ งกรณี นี ้ มี อํ า นาจที่ จ ะใช้ มาตรการต่างๆ ตามแต่ที่จําเป็ นเพื่อที่จะป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการศุลกากร รัษฎากร การ เข้ าเมือง หรื อการสุขาภิบาลได้ ดังนัน้ ในส่วนนี ้จึงต้ องทําการพิจารณากฎหมายว่าด้ วยเรื่ องดังกล่าวทังสี ้ ่เรื่ องว่ามีการ กําหนดเกี่ยวกับการควบคุมเพื่อป้องกันการกระทําความผิดหรื อลงโทษผู้กระทําความผิดในราชอาณาจักรเกี่ยวกับ เรื่ องดังกล่าวในเขตต่อเนื่องหรื อไม่ โดยจะแยกพิจารณาเป็ นเรื่ องๆ ไป ดังนี ้ (1) ในด้ านศุลกากร มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ พระราชบัญญัติศลุ กากร พระพุทธศักราช 2467 กําหนดเอาไว้ ในหมวด 4 ทวิ เรื่ องอํานาจศุลกากรในเขตต่อเนื่อง ซึ่งได้ กําหนดทังเรื ้ ่ องของการควบคุมเพื่อป้องกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับ ศุลกากรในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่อง และการลงโทษผู้กระทําความผิดเกี่ยวกับศุลกากรในราชอาณาจักรในเขต ต่อเนื่อง ดังนี ้ ในเรื่ องการควบคุมเพื่อป้องกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับศุลกากรในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่องนัน้ ในหมวดนี ้ก็ได้ กําหนดให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจหลายประการ ยกตัวอย่างเช่น สามารถทําการถามคําถามแก่เรื อ ที่เข้ ามาหรื อหยุดลอยรํ าหรื อจอดเรื อในเขตต่อเนื่องได้ และยังสามารถมีคําสัง่ ให้ เรื อปฏิบตั ิอย่างใดตามที่เห็นสมควร ได้ ซึ่งหากนายเรื อไม่ตอบคําถามหรื อไม่ปฏิบตั ิตามก็จะมีความผิดคือระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท (มาตรา 37 ทวิ) กําหนดห้ ามมิให้ เรื อที่อยูใ่ นเขตต่อเนื่องขนถ่ายสิง่ ใดๆ โดยไม่มีเหตุอนั สมควรหรื อไม่ได้ รับจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ตาม มาตรามาตรา 37 ตรี แห่ ง พระราชบัญ ญัติฉ บับ นี ้ และสํา หรั บ การลงโทษผู้กระทํ า ความผิด เกี่ ยวกับ ศุลกากรใน ราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่อง ซึง่ กฎหมายได้ กําหนดให้ อํานาจพนักงานศุลกากร ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการ ลักลอบหรื อจะลักลอบหนีศุลกากรหรื อมีการกระทําความผิดเกี่ยวกับศุลกากรในเขตต่อเนื่อง พนักงานศุลกากรมี

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


191

อํานาจสัง่ หรื อบังคับให้ นายเรื อหยุดหรื อนําเรื อไปยังที่แห่งหนึ่งแห่งใด เพื่อการตรวจค้ นจับกุมหรื อดําเนินคดีได้ ตาม มาตรา 37 เบญจ แห่งพระราชบัญญัตินี ้ (2) ในด้ านรัษฎากร ในเรื่ องที่มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ประมวลรัษฎากร ประมวลรัษฎากรได้ นิยามคําว่า “ประเทศไทย” หรื อ “ราชอาณาจักร”เอาไว้ หมายความรวมถึงเขตไหล่ ทวีปที่เป็ นสิทธิของประเทศไทยตามกฎหมายระหว่างประเทศที่ยอมรับนับถือกันโดยทัว่ ไป และตามความตกลงกับ ต่างประเทศด้ วย ดังนัน้ จึงมีปัญหาต้ องพิจารณาว่าเขตไหล่ทวีปนันครอบคลุ ้ มทะเลในส่วนที่เป็ นเขตต่อเนื่องหรื อไม่ ั ญาฯ Article 76 ประกอบด้ วยพื ้นดินท้ องทะเลและใต้ พื ้นดินท้ องทะเลซึ่ง เขตไหล่ทวีปนัน้ ตามอนุสญ ขยายเลยทะเลอาณาเขตออกไปจนถึงริ มนอกของขอบทวีปหรื อถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้ นฐาน ดังนัน้ ไหล่ทวีป จึงไม่รวมพื ้นนํ ้าที่เป็ นทะเลเหนือพื ้นท้ องทะเลหรื อไม่รวมถึงเขตต่อเนื่องนัน่ เอง สําหรับการลงโทษผู้กระทําความผิดเกี่ยวกับรัษฎากรนัน้ ในมาตรา 3 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากรก็ได้ กําหนดว่ากรณีที่มีเหตุอนั ควรเชื่อว่ามีการเลี่ยงภาษี อากร อธิบดีกรมสรรพากรก็มีอํานาจที่จะเข้ าไปหรื อออกคําสัง่ เป็ น หนังสือให้ เจ้ าพนักงานสรรพากรเข้ าไปในสถานที่หรื อยานพาหนะเพื่อทําการตรวจค้ น ยึด หรื ออายัดบัญชี เอกสาร หรื อ หลัก ฐานอื่ น ที่ เ กี่ ย วกับ หรื อ สัน นิ ษ ฐานว่ า เกี่ ย วกับ ภาษี อ ากรที่ จ ะต้ อ งเสี ย ได้ ทั่ว ราชอาณาจัก ร เมื่ อ คํ า ว่ า ราชอาณาจักรตามความหมายของประมวลรัษฎากรไม่รวมถึงเขตต่อเนื่องแล้ ว ดังนัน้ มาตรานี ้จึงให้ อํานาจเจ้ าหน้ าที่ ในการตรวจค้ น ยึดหรื ออายัดสิ่งที่เกี่ยวข้ องเกี่ยวกับการกระทําความผิดในเรื่ องภาษี อากรได้ เฉพาะในทะเลอาณาเขต และไหล่ทวีปซึ่งในส่วนของไหล่ทวีปกฎหมายคงมุ่งจะดําเนินการแก่ผ้ หู ลีกเลี่ยงภาษี รัษฎากรจากทรัพยากรที่แสวง ประโยชน์ ได้ จากเขตไหล่ทวีปเท่านัน้ การดําเนินการในเขตต่อเนื่ องเพื่อนํ าผู้กระทํ าความผิดเกี่ยวกับรั ษฎากรใน ราชอาณาจักรมาลงโทษนันหากตี ้ ความอย่างเคร่งครัดตามหลักกฎหมายอาญาแล้ ว จึงไม่สามารถกระทําได้ (3) ในด้ านการเข้ าเมือง พระราชบัญญัติคนเข้ าเมือง พ.ศ. 2522 กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเดินทางเข้ ามาและออกไปจาก ราชอาณาจักร เช่น กําหนดให้ การเข้ ามาหรื อออกไปนอกราชอาณาจักรจะต้ องเข้ ามาทางช่องทาง ท้ องที่ และเวลาที่ กําหนด (มาตรา 11) ห้ ามคนต่างด้ าวที่มีลกั ษณะต่างๆ เข้ ามาในราชอาณาจักร เช่น คนต่างด้ าวที่ไม่มีหนังสือเดินทาง เคยได้ รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาของศาลไทย หรื อคําสัง่ ที่ชอบด้ วยกฎหมายหรื อคําพิพากษาของศาลต่างประเทศ หรื อเป็ นผู้วิกลจริ ตหรื อมีโรคอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (มาตรา 12) ในการเดินทางเข้ ามาหรื อ ออกไปนอกราชอาณาจักรจะต้ องยื่นรายการตามแบบที่กําหนด และต้ องผ่านการตรวจอนุญาตของเจ้ าหน้ าที่ของด่าน ตรวจคนเข้ าเมืองประจําเส้ นทางนัน้ (มาตรา 18) เป็ นต้ น ซึง่ ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการรับคนโดยสารเข้ ามา ในหรื อออกไปนอกราชอาณาจักรโดยที่พาหนะนัน้ ไม่ใช่ของราชการของรัฐบาลไทยหรื อรัฐบาลต่างประเทศที่ได้ รับ อนุญาตจากรัฐบาลไทย พนักงานเจ้ าหน้ าที่ก็มีอํานาจในการตรวจพาหนะดังกล่าวได้ (มาตรา 14) เมื่อพิจารณาจาก พระราชบัญญัติคนเข้ าเมืองฯ ตามที่ได้ กล่าวแล้ วข้ างต้ น ก็ไม่ได้ ให้ อํานาจพนักงานเจ้ าหน้ าที่ในการทําการควบคุมการ กระทํ าความผิดเกี่ ยวกับการเข้ าเมืองในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่ อง และยังไม่มีอํ านาจการลงโทษการกระทํ า ความผิดเกี่ยวกับการเข้ าเมืองในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่องด้ วย ดังนัน้ แม้ จะพบว่ามีการกระทําความผิดเกี่ยวกับ การเข้ าเมืองและเจ้ าหน้ าที่ได้ ข้อมูลมาว่าผู้กระทําความผิดนันอยู ้ ่ในเขตต่อเนื่องของทะเลอาณาเขต ก็ไม่สามารถที่จะ อาศั ย กฎหมายฉบั บ นี แ้ ต่ เ พี ย งลํ า พั ง เพื่ อ ดํ า เนิ น การจั บ กุ ม ผู้ กระทํ า ความผิ ด มาลงโทษได้ นอกจากนี ้ แม้ พระราชบัญญัติให้ อํานาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําความผิดบางอย่างทางทะเล พ.ศ. 2490 ได้ กําหนดไว้ ในมาตรา 4 ว่าหากปรากฏว่ามีการกระทําความผิดหรื อเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการกระทําเกี่ยวกับการที่คนต่างด้ าวเข้ ามาหรื อนํา

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


192

คนต่างด้ าวเข้ ามาหรื อออกไปนอกราชอาณาจักรโดยทางทะเล ซึ่งผิดต่อกฎหมายว่าด้ วยคนเข้ าเมือง ก็ให้ อํานาจ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจในการสืบสวนและสอบสวน ตรวจค้ น บังคับผู้ควบคุมเรื อและคนประจําเรื อให้ รือ้ หรื อขน สิ่งของในเรื อเพื่อการตรวจค้ น จับเรื อและบังคับผู้ควบคุมเรื อและคนประจําเรื อให้ พ่วงเรื อ หรื อให้ ทําการอื่นเพื่อให้ เรื อ นัน้ ไปยังที่ซึ่งสะดวกแก่การตรวจค้ น การสอบสวน หรื อการดําเนินคดี ยึดเรื อที่จับไว้ จนกว่าจะมีคําสัง่ ไม่ฟ้อง หรื อ จนกว่าศาลจะมีคําสัง่ เป็ นอย่างอื่นในกรณีที่ฟ้องผู้ต้องหา หรื อจับและควบคุมผู้ต้องหาว่ากระทําความผิดไว้ โดยไม่เกิน เจ็ดวัน แต่ในพระราชบัญญัติดงั กล่าวก็หาได้ กําหนดให้ ทหารเรื อมีขอบเขตในการใช้ อํานาจครอบคลุมไปถึงในเขต ต่อเนื่องจากทะเลอาณาเขตด้ วย ดังนัน้ ในการใช้ อํานาจของทหารเรื อเพื่อทําการป้องกันหรื อดําเนินการเพื่อนําตัว ผู้กระทําความผิดในเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับการเข้ าเมืองที่ได้ กระทําหรื อจะกระทําในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่องจาก ทะเลอาณาเขตจึงไม่สามารถที่จะกระทําได้ และในส่วนนี ้จึงเป็ นช่องว่างของกฎหมายภายในอยู่ (4) ในด้ านการสุขาภิบาล มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ (4.1) พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์ก็เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อ โดยกําหนด มาตรการต่างๆ ไว้ ยกตัวอย่างเช่น ให้ อํานาจเจ้ าพนักงานสาธารณสุข มีอํานาจในการดําเนินการต่างๆ ออกคําสัง่ หรื อ ้ หลาย กักกันหรื อคุมไว้ สงั เกตซึ่งคนหรื อสัตว์ซึ่ง ออกประกาศ เช่น ห้ ามกระทําการใดๆ อันจะทําให้ โรคติดต่อนันแพร่ เป็ นหรื อมีเหตุสงสัยว่าเป็ นผู้สมั ผัสโรคหรื อพาหะ ในกรณีที่มีเหตุสงสัยว่าอาจจะเกิดโรคติดต่อร้ ายแรงในบ้ าน โรงเรื อน สถานที่ พาหนะใดๆ (มาตรา 8) หรื อ การประกาศห้ ามบุคคลใดๆ เข้ าไปในเขตที่ถกู ประกาศให้ เป็ นเขตที่มีโรคติดต่อ (มาตรา 10) เป็ นต้ น ประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ ยวกับพระราชบัญญัตินีก้ ็คือ ขอบเขตแห่งการควบคุมและป้องกันการ ระบาดของโรคติดต่อตามพระราชบัญญัตินี ้นันจะครอบคลุ ้ มถึงเขตต่อเนื่องจากทะเลอาณาเขตด้ วยหรื อไม่ ซึ่งหาก ขอบเขตของพระราชบัญ ญั ติ นี ไ้ ม่ ค รอบคลุม ถึ ง เขตต่ อ เนื่ อ งจากทะเลอาณาเขต มาตรการต่ า งๆ ที่ กํ า หนดใน พระราชบัญ ญัติฉบับนี ก้ ็ไ ม่สามารถที่ จะนํ ามาใช้ เพื่อดํ าเนินการป้องกันการกระทําความผิดหรื อลงโทษผู้กระทํ า ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่องได้ มาตรการที่กฎหมายฉบับนี ้กําหนดไว้ ที่เกี่ยวข้ องกับการดําเนินการเพื่อป้องกันการกระทําความผิด หรื อลงโทษผู้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินีใ้ นส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทะเลนัน้ ได้ แก่มาตรา 8 ตามที่ ได้ กล่าว มาแล้ วข้ างต้ น เนื่องจากคําว่า “พาหนะ” ตามพระราชบัญญัติฉบับนี ้มีความหมายถึง ยานหรื อสิ่งของที่ใช้ ขนคน สัตว์ สิ่งของ เข้ ามาทางนํ า้ ซึ่งนํ า้ ดังกล่าวนัน้ อาจหมายความรวมถึงทะเลก็ได้ และอีกมาตราหนึ่งนัน้ ก็คือ หรื อในการ ควบคุมตรวจสอบเกี่ยวกับโรคติดต่อที่จะมาจากต่างประเทศนัน้ กฎหมายฉบับนี ้ก็ได้ กําหนดให้ ช่องทางและด่านตรวจ คนเข้ าเมืองตามกฎหมายว่าด้ วยคนเข้ าเมืองเป็ นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ และในกรณีที่มีเหตุอนั สมควร เจ้ าพนักงานสาธารณสุขประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจในการใช้ มาตรการต่างๆ เพื่อควบคุม โรคติดต่อนันได้ ้ เช่น เข้ าไปในพาหนะและตรวจผู้เดินทาง สิ่งของหรื อสัตว์ที่มากับพาหนะ ตรวจตราและควบคุมให้ เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะแก้ ไขการสุขาภิบาลของพาหนะให้ ถูกสุขลักษณะ รวมทังกํ ้ าจัดสิ่งอันอาจเป็ น อันตรายต่อสุขภาพในพาหนะ ในการนี ้ให้ เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะอํานวยความสะดวกแก่เจ้ าพนักงาน สาธารณสุขประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ หรื อห้ ามผู้ใดนําพาหนะอื่นใดเข้ าเทียบพาหนะที่เดินทางเข้ า มาในราชอาณาจักรซึ่งยังไม่ได้ รับการตรวจจากเจ้ าพนักงานสาธารณสุข และห้ ามผู้ใดเข้ าไปในหรื อออกจากพาหนะ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


193

นัน้ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าพนักงานสาธารณสุขประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เป็ นต้ น (มาตรา 13) หรื อกรณีที่มีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ ้นในท้ องที่หรื อเมืองท่าใดในต่างประเทศ รัฐมนตรี หรื อผู้ที่รัฐมนตรี มอบหมาย ก็มีอํานาจในการประกาศให้ เมืองท่าหรื อท้ องที่ดงั กล่าวเป็ นเขตติดโรคได้ และเจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะ ที่ ม าจากเมื อ งท่า หรื อ ท้ อ งที่ ดัง กล่า วก็ จ ะถูก ตรวจสอบควบคุม โดยเจ้ า พนัก งานสาธารณสุข ประจํ า ด่า นควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศ โดยเจ้ าพนักงานดังกล่าวอาจดําเนินการ หรื อออกคําสัง่ ให้ ดําเนินการต่างๆ เช่น ให้ ทําการ กําจัดความติดโรคเพื่อป้องกันการแพร่ หลายของโรค หรื อจัดให้ พาหนะนันจอดอยู ้ ่ในสถานที่ที่กําหนดไว้ จนกระทัง่ เจ้ า พนัก งานสาธารณสุข จะอนุญ าต เป็ นต้ น (มาตรา 14) แต่ก ารใช้ อํ า นาจตามสองมาตรานี ก้ ็ ถูก จํ า กัด โดยตัว บท บทบัญ ญัติ ข องมาตราทัง้ สองนี เ้ องกล่า วคื อ ต้ อ งเป็ นกรณี ที่ มี ก ารตรวจพบหรื อ มี เ หตุสงสัย ว่า จะมี โ รคติ ดต่อ ซึ่ง เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุขเป็ นผู้ตรวจพบในด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศซึ่งได้ แก่ช่องทางและด่านตรวจคนเข้ า เมืองตามกฎหมายว่าด้ วยการตรวจคนเข้ าเมืองนัน่ เอง มาตรการในการควบคุมตามสองมาตรานี ้จึงถูกจํากัดอยู่ใน ขอบเขตดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว นอกจากนี ้ สําหรับการควบคุมตามมาตรา 8 จากขอบเขตของพระราชบัญญัติฉบับนี ้แล้ ว พบว่าพระราชบัญญัติฉบับนี ้หาได้ กําหนดขอบเขตของการใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี ้เอาไว้ เป็ นการเฉพาะ และก็ไม่ได้ มี การนิยาม “ราชอาณาจักร” เอาไว้ ให้ ครอบคลุมไปจนถึงทะเลที่อยู่ภายในขอบเขตของประเทศไทยตามกฎหมาย ระหว่างประเทศเหมือนกฎหมายบางฉบับ เช่น พระราชบัญญัติการประมงฯ ดังนัน้ การควบคุมตามมาตรา 8 จึงถูก จํากัดขอบเขตอยูเ่ พียงในราชอาณาจักร ซึง่ ไม่รวมไปถึงเขตต่อเนื่องด้ วย (4.2) พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 กฎหมายฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อป้องกันและควบคุมโรคระบาดในสัตว์ ในการพิจารณาความผิด ตามพระราชบัญญัติฉบับนี ้ที่เกี่ยวข้ องกับเขตต่อเนื่องจากทะเลอาณาเขตจะเน้ นไปถึงการนําเข้ าและส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรซึง่ สัตว์และซากสัตว์ที่อาจจะเป็ นพาหะหรื อเป็ นโรคระบาด ซึง่ การควบคุมตามพระราชบัญญัตินี ้จะรวม ไปถึงการควบคุมการนําเข้ าและนําออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งสัตว์หรื อซากสัตว์ต่างๆ ดังจะเห็นได้ จาก มาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัตินี ้ให้ อํานาจรัฐมนตรี ในการประกาศในราชกิจจานุเบกษาในเรื่ องการกําหนดท่าเข้ าสําหรับนําสัตว์ หรื อซากสัตว์เข้ ามาในราชอาณาจักรและท่าออกสําหรับนําสัตว์หรื อซากสัตว์ออกไปนอกราชอาณาจักร ห้ ามการ ั ้ มี นําเข้ าหรื อนําผ่านสัตว์หรื อซากสัตว์มาในราชอาณาจักรในกรณีที่ท้องที่อนั เป็ นแหล่งที่มาของสัตว์หรื อซากสัตว์นนๆ หรื อสงสัยว่าจะมีโรคระบาด และวางระเบียบเกี่ยวการยึด ทําลายหรื อส่งสัตว์หรื อซากสัตว์กลับโดยไม่ต้องชดใช้ ค่า ทดแทนในกรณีที่มีการนําเข้ าหรื อนําผ่านสัตว์หรื อซากสัตว์เข้ ามาโดยฝ่ าฝื นพระราชบัญญัติฉบับนี ้หรื อนําเข้ าหรื อนํา ผ่านโดยถูกต้ องแต่ทว่าต่อมาสัตว์นนเป็ ั ้ นโรคระบาดหรื อ สัตว์และซากสัตว์นนเป็ ั ้ นพาหนะของโรคระบาด ในมาตรา 31 ก็ได้ กําหนดห้ ามไม่ให้ บคุ คลใดนําเข้ า นําออก หรื อนําผ่านซากสัตว์หรื อสัตว์มาในราชอาณาจักรเว้ นเสียแต่จะได้ รับ ใบอนุญาตจากอธิ บดีหรื อผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย โดยในการนี อ้ ธิ บดีก็อาจจะกําหนดเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรไว้ ใน ใบอนุญาตดังกล่าวก็ได้ ในการนําเข้ า นําออกหรื อนําผ่านสัตว์หรื อซากสัตว์มาในราชอาณาจักรก็จะต้ องปฏิบตั ิตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ ในกฎกระทรวงว่าด้ วยการนําเข้ า นําออก หรื อนําผ่านราชอาณาจักรซึ่งสัตว์หรื อซากสัตว์ พ.ศ. 2544 ด้ วย ตามมาตรา 32 และยังให้ อธิบดีมีอํานาจในการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับการกําหนดด่านกัก สัตว์และสถานีขนส่งสัตว์ การทําลายสัตว์ที่เป็ นโรคระบาด หรื อทําลายสัตว์หรื อซากสัตว์ที่เป็ นพาหะของโรคระบาด และ วางระเบี ย บการตรวจโรคและทํ า ลายเชื อ้ โรคจากสัต ว์ ห รื อ ซากสัต ว์ ที่ มีการนํ าเข้ า นํ าออก หรื อนํ าผ่ านมายัง ราชอาณาจักร หรื อเคลื่อนย้ ายภายในราชอาณาจักร ทังนี ้ ้ตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัตินี ้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


194

เมื่อพิจารณาจากการควบคุมเกี่ยวกับการส่งออกและนําเข้ าซึ่งสัตว์และซากสัตว์ตามที่ได้ กล่าวถึง ข้ างต้ นแล้ วจะเห็นได้ ว่าขอบเขตในเรื่ องนี ก้ ็ถูกจํ ากัดอยู่เพียงในราชอาณาจักรเท่านัน้ เนื่ องจากในการตรวจสอบ เกี่ยวกับการส่งออกและนําเข้ าซึง่ สัตว์และซากสัตว์ก็จะต้ องกระทําโดยผ่านทางท่าเข้ าและท่าออกเท่านัน้ ซึง่ ในกรณีที่ มีการลักลอบทําการค้ าสัตว์ หรื อซากสัตว์ ในเขตต่อเนื่ อง หรื อว่ามีการนํ าเข้ าหรื อส่งออกสัตว์ หรื อซากสัตว์ โดยไม่ ถูกต้ องตามพระราชบัญญัตินี ้และต่อมาผู้กระทําความผิดได้ หลบหนีออกไปในเขตต่อเนื่อง หรื อกรณีที่มีการพยายาม นําสัตว์หรื อซากสัตว์เข้ ามาในราชอาณาจักรในเขตต่อเนื่อง พระราชบัญญัตินี ้ก็ไม่สามารถที่จะเข้ าไปควบคุมดูแลได้ 2.2) กฎหมายภายในกับอํานาจในการคุ้มครองวัตถุโบราณ หรื อวัตถุทางประวัตศิ าสตร์ ตาม Article 303 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีหน้ าที่ในการ คุ้มครองวัตถุที่ลกั ษณะทางโบราณคดี และทางประวัติศาสตร์ ที่พบในทะเล โดยรัฐชายฝั่ งอาจทําการควบคุมการค้ า วัตถุดงั กล่าว ซึ่งหากมีการเคลื่อนย้ ายวัตถุเหล่านี ้ออกจากพื ้นดินท้ องทะเลในเขตต่อเนื่องโดยไม่ได้ รับความยินยอม ั ญาสหประชาชาติได้ กําหนดหน้ าที่ของรัฐ จากรัฐชายฝั่ งจะมีผลเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมายของรัฐชายฝั่ งนัน้ ซึง่ เมื่ออนุสญ ชายฝั่ งเอาไว้ เช่นนี ้แล้ ว จึงจําเป็ นต้ องพิจารณาว่ากฎหมายภายในของประเทศไทยที่เกี่ยวกับการควบคุมวัตถุโบราณ หรื อวัตถุทางประวัติศาสตร์ ได้ กําหนดเรื่ องเหล่านี ้เอาไว้ หรื อไม่ และขอบเขตของกฎหมายเหล่านี ้จะครอบคลุมไปถึง เขตต่อเนื่องจากทะเลอาณาเขตหรื อไม่ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ องในเรื่ อ งนี ไ้ ด้ แก่ พ ระราชบั ญ ญั ติ โ บราณสถาน โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 โดยพระราชบัญญัตินีไ้ ด้ กําหนดเอาไว้ ว่า โบราณวัตถุที่อยู่ในเขตเศรษฐกิจ จํ า เพาะซึ่ ง ไม่ ป รากฏว่ า มี ผ้ ูใ ดเป็ นเจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ใ ห้ เ ป็ นทรั พ ย์ สิ น ของรั ฐ ไทย ทัง้ นี ้ ตามมาตรา 24 335 แห่ ง พระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งเมื่อพระราชบัญญัติฉบับนีไ้ ด้ กําหนดไว้ เช่นนีแ้ ล้ ว โบราณวัตถุที่อยู่ในเขตต่อเนื่องของ ประเทศไทยซึ่งอยู่ภายใต้ ขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะจึงตกเป็ นทรัพย์สินของรัฐไทยด้ วย และเมื่อหากมีการ ั ้ จะมีความผิดตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน อย่างไรก็ ค้ นพบทรัพย์ดงั กล่าวและนําเป็ นของตนเองผู้นนก็ ตาม ในการป้ องกัน และปราบปรามการแสวงหาประโยชน์ จ ากโบราณวัตถุที่ อ ยู่ใ นเขตเศรษฐกิ จจํ า เพาะซึ่ง เป็ น กรรมสิทธิ์ของประเทศไทยนันไม่ ้ สามารถกระทําได้ เนื่องจากเขตเศรษฐกิจจําเพาะนันอยู ้ ่นอกอาณาเขตของประเทศ ไทยแล้ ว และไม่มีกฎหมายฉบับใดที่ให้ อํานาจเจ้ าหน้ าที่ในการปราบปรามการกระทําเช่นว่าในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ได้ ประกอบกับฐานความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ไม่เข้ าฐานความผิดที่แม้ ผ้ กู ระทําความผิดจะเป็ นคนต่างด้ าวและ ได้ กระทําความผิดลงนอกราชอาณาจักรแต่ก็สามารถลงโทษในราชอาณาจักรได้ หากว่าผู้เสียหายได้ แก่รัฐบาลไทย หรื อคนไทย ตามที่กําหนดไว้ ในมาตรา 8336 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ในส่วนนี ้จึงยังคงเป็ นช่องว่างของกฎหมาย ภายในอยู่ ในส่วนนี ้ในอดีตจึงก่อให้ เกิดกรณีปัญหาที่เรื อต่างชาติเข้ ามาทําการค้ นหาโบราณวัตถุที่อยู่ในเขตต่อเนื่อง 335

มาตรา 24 โบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุที่ซ่อนหรื อฝั งหรื อทอดทิ ้งไว้ ในราชอาณาจักรหรื อในบริ เวณเขตเศรษฐกิจจําเพาะโดย พฤติการณ์ ซึ่งไม่มีผ้ ใู ดสามารถอ้ างว่าเป็ นเจ้ าของได้ ไม่ว่าที่ที่ซ่อนหรื อฝั งหรื อทอดทิ ้งจะอยู่ในกรรมสิทธิ์ หรื อความครอบครองของบุคคลใด หรื อไม่ ให้ ตกเป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิน ผู้เก็บได้ ต้องส่งมอบแก่พนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อพนักงานฝ่ ายปกครอง หรื อตํารวจ ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา แล้ วมีสิทธิจะได้ รับรางวัลไม่เกินหนึง่ ในสามแห่งค่าของทรัพย์สินนัน้ ฯลฯ ฯลฯ 336 มาตรา 8 ผู้ใดกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และ ฯลฯ ฯลฯ (ข) ผู้กระทําความผิดนันเป็ ้ นคนต่างด้ าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผู้เสียหาย และผู้เสียหายได้ ร้องขอให้ ลงโทษ ถ้ าความผิดนันเป็ ้ นความผิดดังระบุไว้ ตอ่ ไปนี ้ จะต้ องรับโทษภายในราชอาณาจักร คือ ฯลฯ ฯลฯ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


195

จากทะเลอาณาเขตของไทย ยกตัวอย่างเช่น กรณี เรื อออสเตรเลียนไทด์ ที่เข้ ามาในเขตต่อเนื่องของไทยและทําการ สํารวจซากเรื อสําเภาที่จมอยู่นอกทะเลอาณาเขตเพื่อค้ นหาโบราณวัตถุจากเรื อสําเภาลําดังกล่าว ซึ่งก่อให้ เกิดความ เสียหายต่อประเทศไทยเป็ นอย่างมาก แต่ทว่าประเทศไทยไม่สามารถดําเนินการทางกฎหมายกับเรื อออสเตรเลียนไทด์ ได้ เนื่องพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ไม่ได้ ให้ อํานาจ เจ้ าหน้ าที่ในการเข้ าไปดําเนินการกรณีที่มีการยักยอกโบราณวัตถุที่อยูใ่ นเขตต่อเนื่อง และหากเรื อดังกล่าวไม่เข้ ามาใน อาณาเขตของประเทศไทยก็จะไม่สามารถดําเนินการใดๆ ได้ 3) ข้อบกพร่ องของกฎหมาย ในส่วนทีเ่ กี ย่ วข้องกับเขตเศรษฐกิ จจํ าเพาะ 3.1) ในส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับทรั พยากรในทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในเรื่ องนี ม้ ี กฎหมายภายในที่เกี่ ยวข้ องได้ แก่พระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช 2490 ซึ่งมี หลักการที่สําคัญคือกําหนดการอนุญาตให้ ทําประมงในที่จบั สัตว์นํ ้า และควบคุมการทําประมงให้ ต้องเป็ นไปตามที่ หลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่น การกําหนดขนาดของตาและระยะช่องเครื่ องมือสําหรับการทําประมง กําหนด ขนาด ชนิด จํานวน และส่วนประกอบของเครื่ องมือทําประมงที่อนุญาตให้ ใช้ ในที่จบั สัตว์นํ ้า หรื อ กําหนดฤดูปลาที่มีไข่ และวางไข่เลีย้ งลูก กํ าหนดเครื่ องมือที่ให้ ใช้ และกํ าหนดวิธีการทําประมงในที่จับสัตว์ นํา้ ใดๆ ในฤดูดังกล่าว หรื อ กําหนดชนิด ขนาด และจํานวนอย่างสูงของสัตว์นํ ้าที่อนุญาตให้ ทําประอง นอกจากนี ้ยังสามารถกําหนดห้ ามไม่ให้ ทํา ้ ้ตามมาตรา 32337 แห่งพระราชบัญญัติดงั กล่าว ซึ่งขอบเขต การประมงสัตว์นํ ้าชนิดหนึ่งชนิดโดยเด็ดขาด เป็ นต้ น ทังนี ของพระราชบัญญัติฉบับนี ้นัน้ ครอบคลุมไปจนถึงเขตเศรษฐกิจจําเพาะด้ วยเนื่องจากนิยามของ “ที่จบั สัตว์นํ ้า” ตาม พระราชบัญญัตินี ้หมายความรวมถึงทะเลภายในน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึง่ ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิที่จะใช้ ต่อไปในการทําการประมง โดยที่น่านนํ ้าเหล่านัน้ ปรากฏโดยทัว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียม ประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อตามสนธิสญ ั ญาหรื อด้ วยประการใดตามที่ได้ เคยกล่าวถึงแล้ ว เมื่อ พิจารณาจากกฎหมายดังกล่าวแล้ วจะเห็นได้ ว่ากฎหมายฉบับนี ้ครอบคลุมถึงเนื ้อหาที่จําเป็ นต้ องอนุวตั ิการให้ เป็ นไป ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทรัพยากรในทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ แล้ ว เนื่องจากในเรื่ องดังกล่าวนันอนุ ้ สญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีหน้ าที่ในการ กําหนดทรัพยากรมีชีวิตที่จะอนุญาตให้ จบั ได้ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของตน ตาม Article 61 1. และยังกําหนดหน้ าที่ของรัฐ ถิ่นกําเนิดของมวลสัตว์นํ ้าที่ว่ายจากทะเลขึ ้นมาในแม่นํ ้าระหว่างฤดูวางไข่ ให้ ประกันการอนุรักษ์ สตั ว์นํ ้าดังกล่าวโดย กําหนดมาตรการข้ อบังคับที่เหมาะสมสําหรั บการทําประมงในน่านนํ า้ ทัง้ ปวงจากขอบนอกสุดของเขตเศรษฐกิจ

337

มาตรา 32 รัฐมนตรี หรื อข้ าหลวงประจําจังหวัดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี เฉพาะภายในเขตท้ องที่ของตน มีอํานาจประกาศกําหนดได้

ดังต่อไปนี ้ (1) กําหนดขนาดตาและระยะช่องเครื่ องมือทําการประมงทุกชนิด กําหนดขนาด ชนิด จํานวนและส่วนประกอบของเครื่ องมือทําการประมง ที่อนุญาตให้ ใช้ ในที่จบั สัตว์นํ ้า (2) กําหนดมิให้ ใช้ เครื่ องมือทําการประมงอย่างหนึง่ อย่างใดในที่จบั สัตว์นํ ้าโดยเด็ดขาด (3) กําหนดระยะที่ตงเครื ั ้ ่ องมือประจําที่ให้ หา่ งกันเพียงใด (4) กําหนดวิธีใช้ เครื่ องมือทําการประมงต่างๆ (5) กําหนดฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่เลี ้ยงลูก กําหนดเครื่ องมือที่ให้ ใช้ และกําหนดวิธีทําการประมงในที่จบั สัตว์นํ ้าใดๆ ในฤดูดงั กล่าว (6) กําหนดชนิด ขนาด และจํานวนอย่างสูงของสัตว์นํ ้าที่อนุญาตให้ ทําการประมง (7) กําหนดมิให้ ทําการประมงสัตว์นํ ้าชนิดหนึง่ ชนิดใดโดยเด็ดขาด

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


196

จําเพาะของตนเข้ ามายังแผ่นดิน ตาม Article 66 2. ซึง่ ตามมาตรา 32 ของพระราชบัญญัติการประมงฯ ได้ กําหนดให้ รัฐมนตรี มีอํานาจในการประกาศเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์ในเรื่ องดังกล่าวเอาไว้ แล้ ว อย่ า งไรก็ ต าม มี ข้ อ น่ า พิ จ ารณาเกี่ ย วกับ หน้ า ที่ ข องรั ฐ ชายฝั่ ง บางประการตาม Article 62 2. ของ อนุ สัญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยกฎหมายทะเล เนื่ อ งจากในข้ อดัง กล่ า ว ได้ กํ า หนดให้ ก รณี ที่ รั ฐ ชายฝั่ ง ไม่ มี ความสามารถที่จะเก็บเกี่ยวทรัพยากรมีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะตามปริ มาณที่อนุญาตให้ จับได้ ทงหมด ั้ ให้ รัฐ ชายฝั่ ง ให้ รั ฐ อื่ น สามารถทํ า การจั บ ทรั พ ยากรมี ชี วิ ต ในเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะในส่ ว นที่ เ หลื อ ได้ แต่ ท ว่ า ตาม พระราชบัญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ ก ารประมงในเขตการประมงไทย พระพุท ธศัก ราช 2482 ซึ่ง กฎหมายนี ม้ ี ข อบเขต ครอบคลุมถึงเขตเศรษฐกิจจําเพาะด้ วยเนื่องจากนิยามของ “เขตการประมงไทย” นัน้ ได้ หมายความรวมถึงเขตน่านนํ ้า ไทยหรื อน่านนํา้ อื่นใด ซึ่งประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิ ที่จะใช้ ต่อไปในการจับสัตว์นํา้ โดยที่น่านนํา้ เหล่านัน้ ปรากฏ โดยทั่วไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อตาม สนธิสญ ั ญา ทังนี ้ ้ ตามมาตรา 4338 แห่งพระราชบัญญัติดงั กล่าว ซึ่งพระราชบัญญัตินี ้มีหลักการที่กําหนดให้ เจ้ าหน้ าที่ มิให้ ออกใบอนุญาตสําหรับการทําการประมงให้ แก่คนต่างด้ าว ห้ างหุ้นส่วนสามัญใดๆ เว้ นแต่ห้ นุ ส่วนของห้ างหุ้นส่วน สามัญดังกล่าวทังหมดจะมี ้ สญ ั ชาติไทย ห้ างหุ้นส่วนจํากัดใดๆ เว้ นเสียแต่ห้ ุนส่วนประเภทรับผิดชอบโดยไม่จํากัด จํานวนของห้ างหุ้นส่วนจํากัดนันๆ ้ มีสญ ั ชาติไทย และทุนของห้ างหุ้นส่วนนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละเจ็ดสิบต้ องเป็ นของ ั ชาติไทย บุคคลธรรมซึ่งมีสญ ั ชาติไทย และบริ ษัทจํากัดใดๆ เว้ นเสียแต่ว่ากรรมการของบริ ษัทดังกล่าวส่วนมากมีสญ และทุนของบริ ษัทไม่น้อยกว่าร้ อยละเจ็ดสิบจะต้ องเป็ นของบุคคลธรรมดาซึง่ มีสญ ั ชาติไทย และบริ ษัทนันๆ ้ จะต้ องไม่ มีข้อบังคับอนุญาตให้ ออกหุ้นชนิดผู้ถือด้ วย จากหลักการดังกล่าวอาจทําให้ มองได้ ว่าการทําประมงในเขตการประมง ของประเทศไทยนัน้ ไม่ อ นุญ าตให้ ต่ า งด้ า วเข้ า มาดํ า เนิ น การ 339 ทัง้ นี ้ อาจเนื่ อ งจากเหตุผ ลทางเศรษฐกิ จ และ ผลประโยชน์ของประเทศ แต่อย่างไรก็ตามพระราชบัญญัติฉบับนี ้ก็หาได้ ขดั หรื อแย้ งกับ Article 62 2. ของอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลแต่ประการใด เนื่ องจากในส่วนการกํ าหนดให้ รัฐอื่นเข้ ามาทําประมงในเขต เศรษฐกิจจําเพาะได้ นนั ้ ก็ขึ ้นอยู่กบั นโยบายของประเทศและยังต้ องพิจารณาเกี่ยวกับจํานวนของทรัพยากรมีชีวิตที่จะ จับได้ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ซึ่งก็ขึ ้นอยู่กบั นโยบายของประเทศอีกเช่นเดียวกัน ดังนัน้ การที่พระราชบัญญัติฉบับนี ้ กําหนดเกี่ยวกับการห้ ามไม่ให้ บคุ คลหรื อนิติบคุ คลต่างด้ าวทําการประมงในเขตการประมงไทยจึงไม่มีความขัดแย้ งกับ อนุสญ ั ญาฉบับนี ้ 338

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ “เขตการประมงไทย” หมายความถึงเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึง่ ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิที่จะใช้ ต่อไปในการจับสัตว์นํ ้า โดยที่น่านนํ ้าเหล่านันปรากฏโดยทั ้ ว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อตาม สนธิสญ ั ญา หรื อด้ วยประการใดๆ 339 มาตรา 5 ห้ ามมิให้ ออกใบอนุญาตสําหรับทําการประมงให้ แก่ (ก) คนต่างด้ าวคนใดคนหนึง่ หรื อ (ข) ห้ างหุ้นส่วนสามัญใดๆ เว้ นแต่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนทังหมดมี ้ สญ ั ชาติไทย หรื อ (ค) ห้ างหุ้นส่วนจํากัดใดๆ เว้ นแต่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนทังหมดซึ ้ ง่ ต้ องรับผิดชอบร่วมกันโดยไม่จํากัดจํานวน มีสญ ั ชาติไทยและทุน ของห้ างหุ้นส่วนนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละเจ็ดสิบต้ องเป็ นของบุคคลธรรมดาซึง่ มีสญ ั ชาติไทย หรื อ (ง) บริ ษัทจํากัดใดๆ เว้ นแต่กรรมการส่วนมากมีสญ ั ชาติไทย และทุนของบริ ษัทนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละเจ็ดสิบต้ องเป็ นของ บุคคลธรรมดา ซึง่ มีสญ ั ชาติไทย และบริษัทนันต้ ้ องไม่มีข้อบังคับอนุญาตให้ ออกหุ้นผู้ถือ ห้ างหุ้นส่วนหรื อบริ ษัทที่มีสิทธิได้ รับอนุญาตดังกล่าวนันต้ ้ องจดทะเบียนตามกฎหมายไทย มีสํานักงานใหญ่ของห้ างหุ้นส่วน หรื อบริ ษัทตังอยู ้ ใ่ นราชอาณาจักรไทยด้ วย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


197

3.2) ข้ อกําหนดเกี่ยวกับบทกําหนดโทษสําหรั บผู้กระทําความผิดในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ Article 73 3. ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลได้ กําหนดให้ บทกําหนดโทษของรัฐ ชายฝั่ งสําหรับการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะต้ องไม่รวมถึงโทษจําคุก ถ้ ามิได้ มีการตกลงระหว่างรัฐที่เกี่ยวข้ องไว้ เป็ นอย่างอื่น หรื อการลงโทษทางร่ างกายในรู ปอื่นใด ซึ่งเมื่อพิจารณาจาก กฎหมายภายในแล้ ว หากมีการทําการประมงโดยต่างด้ าวในเขตการประมงไทยซึ่งเป็ นการฝ่ าฝื นพระราชบัญญัติว่า ด้ วยสิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พระพุทธศักราช 2482 แล้ ว ก็จะต้ องรับโทษตามมาตรา 11340 ซึง่ ได้ กําหนด ระวางโทษปรับไว้ ไม่เกินหนึ่งล้ านบาท หากพิจารณาจากพระราชบัญญัตินีแ้ ล้ วก็จะเห็นได้ ว่าไม่มีการกําหนดโทษ จําคุกไว้ จึงทําให้ ดเู สมือนว่าจะเป็ นไปตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล แต่อย่างไรก็ตาม หากมีการ ทํ า การประมงในเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะของไทยโดยลัก ษณะที่ เ ป็ นการฝ่ าฝื นข้ อ กํ า หนดของรั ฐ มนตรี ที่ กํ า หนด หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการทําประมงในพื ้นที่จบั สัตว์นํ ้าตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช ้ ห้า 2490 ก็จะต้ องรับโทษตามมาตรา 65341 แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน โดยมาตราดังกล่าวได้ กําหนดโทษปรับตังแต่ พันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรื อจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อทัง้ ปรับทัง้ จํา ซึ่งการบังคับใช้ กฎหมายอาญากรณี ที่เป็ นการ กระทํากรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบทนัน้ จะต้ องลงโทษบทหนักที่สดุ แก่ผ้ กู ระทําความผิดซึ่งตามหลักกฎหมาย อาญาแล้ ว โทษจําคุกนันถื ้ อว่าเป็ นโทษที่มีความร้ ายแรงกว่าโทษปรับ ไม่วา่ โทษปรับนันจะมี ้ มลู ค่าสูงเพียงใดก็ตาม ดัง้ นัน้ จะเห็นได้ ว่า หากกรณีที่ต้องลงโทษเรื อต่างด้ าวที่ทําการประมงเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติการ ประมง พระพุทธศักราช 2490 จะส่งผลให้ ต้องบังคับใช้ โทษจําคุก ซึง่ จะเป็ นการขัดแย้ งกับอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่า ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ซึง่ กําหนดห้ ามมิให้ การทําความผิดเกี่ยวกับการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะจะต้ อง ไม่มีการลงโทษด้ วยการจําคุก หรื อลงโทษต่อเนื ้อตัวร่ างกายอื่นใด ดังนัน้ จึงต้ องทําการแก้ ไขบทกําหนดโทษที่มีการ ประมงอันเป็ นการฝ่ าฝื นข้ อกําหนดของรัฐมนตรี ตามมาตรา 32 โดยไม่ให้ นําโทษจําคุกมาใช้ กบั การกระทําความผิด ตามมาตรานี ้ นอกจากนี ้ Article 73 2. แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ยังได้ กําหนดให้ เรื อที่ถกู จับกุมและลูกเรื อในเขตเศรษฐกิจจําเพาะทันทีที่ได้ มีการวางหลักประกันตามสมควรหรื อให้ หลักประกันอื่นๆ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาจากกฎหมายภายในที่เกี่ ยวข้ องแล้ ว ไม่ว่าจะเป็ นพระราชบัญญัติการประมง พระ พุทธศักราช 2490 หรื อพระราชบัญญัติว่าด้ วยสิทธิ ในการประมงในเขตประมงไทย พระพุทธศักราช 2482 ก็ไม่ได้ กําหนดหลักการเกี่ยวกับการปล่อยตัวผู้กระทําความผิดในเขตเศรษฐกิจจําเพาะกรณีที่มีการวางประกันอันสมควรไว้ ดังนัน้ เมื่อเกิดมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติดงั กล่าวขึ ้น แม้ จะมีการวางประกันให้ กบั พนักงานเจ้ าหน้ าที่ก็ ตาม แต่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ก็ไม่มีอํานาจที่จะปล่อยตัวผู้กระทําความผิดดังกล่าวไว้ ได้ จึงเห็นได้ ว่าในส่วนนี ้กฎหมาย

340

มาตรา 11 ถ้ า มี ก ารใช้ เ รื อ ทํ า การประมงหรื อ พยายามทํ า การประมงในเขตการประมงไทยโดยฝ่ าฝื นบทบัญญัติแ ห่ง พระราชบัญญัตินี ้ เจ้ าของเรื อซึง่ อยู่ในเรื อขณะที่มีการฝ่ าฝื น หรื อผู้ควบคุมเรื อในกรณีที่เจ้ าของเรื อไม่อยู่ในเรื อ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง ล้ านบาท ถ้ าไม่มีตวั เจ้ าของเรื อหรื อผู้ควบคุมเรื อ หรื อไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็ นเจ้ าของเรื อหรื อผู้ควบคุมเรื อ ให้ ถือว่าคนประจําเรื อทุกคนซึง่ อยู่ใน เรื อขณะที่มีการฝ่ าฝื น มีความผิดต้ องระวางโทษตามที่กําหนดไว้ ในวรรคหนึ่ง เว้ นแต่จะพิสจู น์ได้ วา่ ตนมิได้ มีส่วนรู้ เห็นหรื อยินยอมด้ วยในการ กระทํานัน้ 341 มาตรา 65 บุคคลใดฝ่ าฝื นประกาศของรัฐมนตรี หรื อผู้ว่าราชการจังหวัด ซึง่ ประกาศตามความในมาตรา 32 ต้ องระวางโทษ ปรับตังแต่ ้ ห้าพันบาทถึงหนึง่ หมื่นบาท หรื อจําคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อทังปรั ้ บทังจํ ้ า

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


198

ภายในของประเทศไทยยังมีความไม่สอดคล้ องกับ Article 73 2. แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 3.3) ในส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่ อสร้ างในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ เนื่องจากอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล Article 60 1. ได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิแต่เพียงผู้ เดียวในการก่อสร้ างและอนุญาตและออกข้ อบังคับการก่อสร้ าง การปฏิบตั ิงานและการใช้ ซงึ่ เกาะเทียม สิ่งติดตังและ ้ สิ่งก่อสร้ างอื่นๆ ซึ่งในเรื่ องนี ้มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ พระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช 2490 ซึ่งตาม มาตรา 17342 แห่งพระราชบัญญัติดงั กล่าวก็ได้ กําหนดให้ การปลูกสร้ างสิ่งใดๆ ในที่จบั สัตว์นํ ้าซึง่ หมายความรวมถึงใน เขตเศรษฐกิจจําเพาะด้ วย จะต้ องได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่และจะต้ องกระทําภายในเงื่อนไขที่รัฐมนตรี กําหนด ซึ่งในส่วนนี ้ยังมีความไม่ชดั เจนว่าสิ่งก่อสร้ างตามมาตรานี ้จะมีความหมายรวมถึงเกาะเทียม หรื อสิ่งติดตัง้ อื่นๆ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรื อไม่ 4) ข้อบกพร่ องของกฎหมายภายในทีเ่ กี ย่ วข้องกับไหล่ทวีป 4.1 ) กฎหมายภายในกับการสํารวจและแสวงหาประโยชน์ จากทรั พยากรธรรมชาติบนไหล่ ทวีป ในเขตไหล่ทวีปนัน้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยในการสํารวจและแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ทังนี ้ ้ ตาม Article 72 ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ซึ่งหากว่ารัฐชายฝั่ งไม่ใช้ สิทธิ ดังกล่าวของตน รัฐอื่นก็สามารถที่จะเข้ ามาสํารวจและแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในเขตไหล่ทวีปนี ้ได้ ในการแสวงหาประโยชน์ จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ ต าม Article 72 ที่ ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง ข้ า งต้ น นัน้ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ส ามารถจํ า แนกได้ เป็ นสองประเภทด้ วยกั น ซึ่ ง ได้ แก่ ท รั พ ยากรธรรมชาติ อัน มี ชี วิ ต และ ทรัพยากรธรรมชาติอนั ไม่มีชีวิต ในที่นี ้จึงจะแยกพิจารณาเป็ นสองกรณีด้วยกัน ได้ แก่ (1) การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตซึ่งอยู่ติดที่ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตซึ่งอยู่ติดที่ นัน้ หมายความถึง สิง่ มีชีวิตที่เมื่อถึงระยะเวลาเก็บเกี่ยวจะอยู่ในสภาพเคลื่อนที่ไม่ได้ หรื อหากเคลื่อนที่ได้ ก็แต่เฉพาะที่ ต้ องอาศัยการสัมผัสทางกายภาพอยู่เสมอกับพื ้นท้ องทะเล หรื อผิวดินใต้ ดิน เช่น ปะการัง ฟองนํ ้า หอยชนิดต่างๆ ปู และกุ้ง เป็ นต้ น ซึ่งตามพระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช 2490 ก็ได้ กําหนดความหมายของสัตว์นํา้ ไว้ หมายความรวมถึงฟองนํ ้า หินปะการัง กัลปั งหา และสาหร่ ายทะเล รวมถึงพันธุ์ไม้ นํ ้าที่ได้ กําหนดไว้ ในพระราช ้ มไปจนถึงพื ้นดินในเขตน่านนํา้ กฤษฎีกาด้ วย ประกอบกับเนื่องจากขอบเขตของพระราชบัญญัติฉบับนี ้นันครอบคลุ ไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึง่ ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิที่จะใช้ ต่อไปในการทําการประมง โดยที่น่านนํ ้าเหล่านัน้ ปรากฏ โดยทัว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อตาม สนธิ สั ญ ญาหรื อด้ วยประการใดด้ วย พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี จ้ ึ ง ครอบคลุ ม ไปถึ ง การใช้ ประโยชน์ จ าก ทรัพยากรธรรมชาติอนั มีชีวิตซึง่ อยูต่ ิดที่ในไหล่ทวีปตามอนุสญ ั ญาฉบับนี ้ด้ วย (2) การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิต เช่น แร่ต่างๆ หรื อปิ โตรเคมี เป็ นต้ น ซึง่ ในเรื่ องนี ้ มีพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 เนื่องจากเป็ นกฎหมายฉบับเดียวที่กําหนด เรื่ องของการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตที่อยูใ่ นเขตไหล่ทวีป ส่วนกฎหมายอื่นๆ เช่น พระราชบัญญัติแร่

342

มาตรา 17 ห้ ามมิให้ บุคคลใดปลูกสร้ างสิ่งใดลงไปในที่ รักษาพืชพันธ์ ที่ว่าประมูล ที่อนุญาต ซึ่งมิใช่ที่ของเอกชนและที่ สาธารณะประโยชน์ หรื อปลูกบัว ข้ าว ปอ พืชหรื อพันธ์ ไม้ นํ ้าอื่นใดตามที่จะได้ มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อในที่เช่นว่านัน้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาต จากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ผ้ รู ับอนุญาตต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรี กําหนด

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


199

ฯ ก็ไม่ได้ กําหนดขอบเขตของการทําเหมืองแร่ในเขตไหล่ทวีปด้ วย ซึง่ จะแตกต่างจากพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ที่ได้ นิยาม “ราชอาณาจักร” เอาไว้ ให้ หมายความรวมถึงเขตไหล่ทวีปด้ วย343 อย่างไรก็ตาม แม้ ว่ารัฐชายฝั่ งจะมีสิทธิอธิปไตยในการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติทงที ั ้ ่มี ชีวิตและไม่มีชีวิตในเขตไหล่ทวีปของตนก็ตาม แต่ก็มีข้อจํากัดในการใช้ สิทธิอธิปไตยดังกล่าว กล่าวคือ จะต้ องไม่เป็ น การละเมิดหรื อเป็ นผลให้ เกิดการแทรกแซงอันปราศจากเหตุสมควรในการเดินเรื อ และสิทธิ เสรี ภาพของรัฐอื่นตาม อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลด้ วย และจะต้ องไม่เป็ นการกีดขวางการวางหรื อการบํารุ งรักษาสาย เคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลด้ วย ทังนี ้ ้ ตาม Article 78 2. และ Article 79 2. ดังนัน้ ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับการแสวง ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติทงที ั ้ ่มีชีวิตและไม่มีชีวิตในเขตไหล่ทวีปก็จะต้ องพิจารณาว่าข้ อกําหนดของกฎหมาย ภายในเกี่ ย วกับ การให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ดัง กล่า ว มี ห ลัก เกณฑ์ ที่ เ ป็ นการละเมิ ด หรื อ เป็ นผลให้ เ กิ ด การแทรกแซงอัน ปราศจากเหตุอนั สมควรในการเดินเรื อ และสิทธิเสรี ภาพของรัฐอื่นๆ ตามอนุสญ ั ญาว่าด้ วยกฎหมายทะเลหรื อไม่โดยจะ แยกพิจารณาเป็ นสองกรณี ดังนี ้ (2.1) การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตในเขตไหล่ทวีปตามพระราชบัญญัติการประมง ฯ แม้ พระราชบัญญัติการประมงฯ จะกําหนดให้ ขอบเขตของที่จบั สัตว์นํ ้า หมายความรวมไปถึงเขตไหล่ทวีปด้ วยก็ตาม แต่มาตรการตามกฎหมายฉบับนี ้เพียงกําหนดเรื่ องของการอนุญาตให้ ทําการประมง และกําหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ต่างๆ ในการทําประมงเท่านัน้ โดยไม่มีข้อกําหนดในกรณีที่ผ้ ทู ําการประมงในเขตไหล่ทวีปจะก่อให้ เกิดความเสียหาย จากการละเมิ ด การเดิ น เรื อ โดยปราศจากเหตุอัน สมควร การละเมิ ด สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของรั ฐ อื่ น ๆ ตามอนุสัญ ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล และการกีดขวางการวางหรื อการบํารุงรักษาสายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเล (2.2) การใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต ในเขตไหล่ท วี ป ตามพระราชบัญ ญั ติ ปิ โตรเลียมฯ ตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ มาตรา 74344 ได้ กําหนดเอาไว้ อย่างชัดแจ้ งว่าในการประกอบกิจการ ปิ โตรเลียมนันจะต้ ้ องไม่ส่งผลกระทบอันปราศจากเหตุสมควรต่อการเดินเรื อการเดินอากาศ การอนุรักษ์ ทรัพยากรมี ชีวิตในทะเล หรื อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็ นสิทธิ เสรี ภาพของรัฐต่างๆ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย กฎหมายทะเล และยังรวมไปถึงต้ องไม่ทําการอันเป็ นการกีดขวางต่อการวางสายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํ ้า หรื อก่อให้ เกิด ความเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํ ้า ในส่วนนี ้จึงเป็ นไปตามอนุสญ ั ญาฯ แล้ ว 4.2) การอนุญาตและการวางกฎเกณฑ์ การขุดเจาะบนไหล่ ทวีป ตาม Article 81 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิในการ อนุญาตและวางกฎเกณฑ์การขุดเจาะบนไหล่ทวีปเพื่อวัตถุประสงค์ทงปวง ั้ ในเรื่ องนี ้ตามกฎหมายภายในของประเทศ ไทยก็มีกฎหมายที่ กําหนดเอาไว้ คือพระราชบัญ ญัติปิ โตรเลียมฯ โดยพระราชบัญ ญัติฉบับ นี ไ้ ด้ กําหนดให้ กิจการ ปิ โตรเลียมหมายความรวมถึงการสํารวจหาปิ โตรเลียมด้ วย ซึ่งการสํารวจตามพระราชบัญญัติฉบับนี ห้ มายความ 343

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้

ฯลฯ ฯลฯ “ราชอาณาจักร” หมายความรวมถึงเขตไหล่ทวีปที่เป็ นสิทธิของประเทศไทยตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ยอมรับนับถือกันโดยทัว่ ไป และตามสัญญากับต่างประเทศด้ วย ฯลฯ ฯลฯ 344 มาตรา 74 ในการประกอบกิจการปิ โตรเลียมในทะเล ผู้รับสัมปทานต้ องไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบกระเทือนโดยปราศจากเหตุอนั สมควรต่อการเดินเรื อ การเดินอากาศ การอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเล หรื อการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ และต้ องไม่ทําการอันเป็ นการกีดขวาง ต่อการวางสายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํ ้า หรื อก่อให้ เกิดความเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํ ้า

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


200

รวมถึงเจาะเพื่อทดสอบชันหิ ้ นเพื่อให้ ทราบว่ามีปิโตรเลียมอยู่หรื อไม่ เพื่อกําหนดวงเขตแหล่งสะสมปิ โตรเลียม หรื อ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มูล อย่า งอื่ น อัน เป็ นสาระสํ า คัญ ที่ จํ า เป็ นแก่ก ารผลิต ปิ โตรเลีย ม และในพระราชบัญ ญัติ ฉ บับ นี ก้ ็ ไ ด้ กําหนดให้ รัฐมนตรี ออกกฎกระทรวงเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสํารวจปิ โตรเลียมซึ่งรวมถึงการขุดเจาะ หินบนไหล่ทวีปด้ วย แต่อย่างไรก็ตาม นอกจากพระราชบัญญัตินีแ้ ล้ วก็หาได้ มีพระราชบัญญัติอื่นใดที่กําหนดเกี่ยวกับเรื่ อง หลักเกณฑ์ในการขุดเจาะบนไหล่ทวีปเอาไว้ อีกเลย ซึ่งพระราชบัญญัตินี ้ก็จะครอบคลุมถึงเรื่ องการปิ โตรเลียมเท่านัน้ หากเป็ นการดําเนินกิจกรรมอื่นเช่นการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล หรื อการทําเหมืองแร่ใต้ ทะเลพระราชบัญญัตินี ้ก็จะ ไม่เข้ าไปครอบคลุมถึงด้ วย 5) ข้อบกพร่ องของกฎหมายภายในทีเ่ กี ย่ วข้องกับทะเลหลวง 5.1) เขตอํานาจของรั ฐไทยในฐานะรั ฐเจ้ าของธงในการป้องกันภัยพิบัตทิ างทะเล หรื ออุบัตกิ ารณ์ ของการเดินเรื อในทะเล ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 นัน้ กําหนดให้ รัฐเจ้ าของธงมีหน้ าที่และ ความรับผิดชอบต่อเรื อที่ชกั ธงของชาตินนๆ ั ้ หรื อจดทะเบียนในชาตินนๆ ั ้ ในการออกกฎหมายภายในเพื่อป้องกันภัย พิบตั ิทางทะเล หรื ออุบตั ิการณ์ของการเดินเรื อในทะเล โดยรัฐเจ้ าของธงจะต้ องใช้ เขตอํานาจและการควบคุมของตน อย่างมีประสิทธิภาพในเรื่ องการบริ หาร เทคนิค และสังคม เหนือเรื อที่ชกั ธงของตน และให้ รัฐใช้ มาตรการสําหรับเรื อ ต่างๆ ซึ่งชักธงของตน เช่นที่เพื่อประกันความปลอดภัยในทะเล เช่นในด้ านของการก่อสร้ างเครื่ องอุปกรณ์ และความ เหมาะสมในการเดินทะเลของเรื อ การจัดคนประจําเรื อ เงื่อนไขการทํางาน และการฝึ กอบรมลูกเรื อโดยคํานึงถึงตรา สารระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับอยู่ และการใช้ สญ ั ญาณ การธํารงไว้ ซงึ่ การสื่อ สาร และการป้ องกัน การโดนกัน เป็ น ต้ น ทัง้ นี ต้ าม Article 94 ของอนุส ัญ ญาดัง กล่า ว ด้ วยเหตุที่รัฐเจ้ าของธงมีหน้ าที่ตามที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ นแล้ ว จึง ต้ องทําการศึกษาว่ามีกฎหมายภายในของประเทศไทยที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องนี ้มีบทบัญญัติที่สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยทะเล ค.ศ. 1982 แล้ วหรื อไม่ เพียงไร ซึง่ ในส่วนนี ้มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ดังนี ้ (1) พระราชบัญ ญัติเรื อ ไทย พระพุท ธศัก ราช 2481 กฎหมายฉบับ นี ม้ ี วัตถุประสงค์ เพื่ อ จะกํ า หนด มาตรการขันต้ ้ นสําหรับการป้องกันภัยที่อาจเกิดขึ ้นในการเดินเรื อในทะเล เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินบน เรื อ โดยพระราชบัญญัตินี ้จะทําการควบคุมโครงสร้ างและอุปกรณ์ต่างๆ บนเรื อของไทย อาทิเช่น จะต้ องมีการขึ ้นใบ ทะเบียนเรื อซึง่ ใบทะเบียนเรื อนี ้นายทะเบียนจะรับจดทะเบียนให้ ก็ตอ่ เมื่อเรื อนันมี ้ ใบสําคัญแสดงการตรวจเรื อมาแสดง ้ รับการตรวจจากพนักงานตรวจเรื อ กรมเจ้ าท่าถูกต้ องตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อใน ต่อนายทะเบียนว่าเรื อนันได้ 345 น่านนํ ้าไทย และในการเดินเรื อไม่วา่ จะภายในหรื อระหว่างประเทศเรื อก็จะต้ องมีใบทะเบียนเรื อเก็บรักษาไว้ 346 (2) พระราชบัญญัติป้องกันเรื อโดนกัน พ.ศ. 2481 ซึง่ พระราชบัญญัติฉบับนี ้เป็ นการออกเพื่ออนุวตั ิการ ให้ เป็ นไปตามอนุสญ ั ญาว่าด้ วยกฎข้ อบังคับระหว่างประเทศสําหรับป้องกันเรื อโดนกันในทะเล ค.ศ. 1972 มาตรฐาน

345

มาตรา 12 เรื อที่จะขอจดทะเบียนเป็ นเรื อไทยต้ องมีใบสําคัญแสดงการตรวจเรื อไปแสดงต่อนายทะเบียนเรื อว่าเรื อนันได้ ้ รับการ ตรวจจากพนักงานตรวจเรื อกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีถกู ต้ องตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย 346 มาตรา 49 เรื อไทยที่ได้ จดทะเบียนแล้ ว ในระหว่างเวลาที่คงใช้ เรื อต้ องมีเอกสารดังต่อไปนี ้ประจําเรื อ 1. ใบทะเบียนหรื อใบทะเบียนชัว่ คราว แล้ วแต่กรณี ฯลฯ ฯลฯ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


201

ของพระราชบัญญัติฉบับนี ้จึงอยู่ในเกณฑ์ที่ได้ รับการยอมรับในทางระหว่างประเทศ ซึ่งเป็ นไปตามเจตนารมณ์ ของ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 อยูแ่ ล้ ว 5.2) เขตอํานาจรั ฐของไทยในฐานะรั ฐเจ้ าของธงในการอนุรักษ์ และการจัดการทรั พยากรที่มีชีวิต ในทะเล ในการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลตามกฎหมายของไทยนัน้ มีบทบัญญัติที่จะนํามา พิจารณาคือตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ในส่วนที่เกี่ ยวกับการใช้ เขตอํานาจรั ฐของไทย ในฐานะ งสัตว์ เจ้ าของการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล หรื อ สัตว์นํ ้านันหมายความถึ ้ ที่อาศัยอยู่ในนํา้ หรื อมีวงจรชีวิตส่วนหนึ่งอยู่ในนํา้ หรื ออาศัยอยู่ในบริ เวณที่นํา้ ท่วมถึง เช่น ปลา กุ้ง ปู แมงดาทะเล หอย เต่า กระ ตะพาบนํ า้ จระเข้ รวมทัง้ ไข่ของสัตว์ นํา้ นัน้ สัตว์ นํา้ จํ าพวกเลีย้ งลูกด้ วยนม ปลิงทะเล ฟองนํ า้ หิน ปะการัง กัลปั งหา และสาหร่ ายทะเล ทังนี ้ ้รวมซาก หรื อส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์นํ ้าเหล่านัน้ และหมายความรวมถึง พันธุ์ไม้ นํ ้าตามที่ได้ มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อ เขตอํานาจรัฐไทยในฐานะรัฐเจ้ าของธงนัน้ ตามพระราชบัญญัติ ประมง พ.ศ. 2490 จะมีอยู่เหนือเรื อที่เข้ าไปในที่จบั สัตว์นํ ้าโดยที่จบั สัตว์นํ ้านันหมายความถึ ้ งที่ซงึ่ มีนํ ้าขังหรื อไหล เช่น ทะเล ้ บรรดาซึง่ เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรื อที่ดินอันบุคคลถือ แม่นํ ้า ลําคลอง หนอง ยึง บ่อ เป็ นต้ น และหาดทังปวง กรรมสิทธิ์และภายในเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึ่งประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิที่จะใช้ ต่อไปในการทําประมง โดยที่น่านนํ ้าเหล่านัน้ ปรากฏโดยทัว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่นหรื อธรรมเนียมประเพณีหรื อตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ หรื อตามสนธิสญ ั ญาหรื อด้ วยประการใด ซึ่งหากพิจารณาตามความหมายนี ้แล้ ว ก็จะเห็นได้ ว่ากฎหมาย ไทยได้ ขยายเขตอํานาจรัฐของไทยไปยังส่วนอื่นๆ ของทะเลโดยไม่จํากัดเฉพาะน่านนํ ้าไทยซึง่ หมายถึงในน่านนํ ้าภายในและ ทะเลอาณาเขตดังนันเรื ้ อไทยเมื่อไปอยู่ ณ เขตใดในทะเลก็ต้องอยู่ภายใต้ อํานาจรัฐไทย ส่วนในเรื่ องของการทําการ ประมงนัน้ ถึงแม้ ว่าตามพระราชบัญญัติ ประมงจะให้ ความหมายของคําว่า “ที่จับสัตว์นํา้ ” เอาไว้ อย่างกว้ างขวางก็ ตาม แต่ในทะเลนันมี ้ การแบ่งเขตเป็ นเขตต่างๆ ซึ่งอาจทําให้ เสรี ภาพในการทําประมงนันถู ้ กจํากัดไว้ ได้ เช่น หากเรื อ ไทยทําการประมง ในบริ เวณที่เป็ นเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรื อไหล่ทวีปของไทยแล้ ว เขตอํานาจรัฐของไทยในฐานะที่ เป็ นรัฐเจ้ าของธงและรัฐชายฝั่ งนันก็ ้ มีอยู่อย่างเต็มที่ในเรื่ องของการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล ใน เรื่ องนี ้ประเทศไทยในฐานะรัฐชายฝั่ งจะมีสิทธิอธิปไตยในเขตดังกล่าว ซึ่งสิทธิอธิปไตยนี ้ครอบคลุมเฉพาะการสํารวจ ประโยชน์ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและกิจกรรม อื่นๆ ในทางเศรษฐกิจ ส่วนประเทศไทยใน ฐานะที่เป็ นรัฐ เจ้ าของธง นันจะมี ้ อํานาจรัฐในการควบคุมกิจกรรมต่างๆ เหนือเรื อในทุกๆ ด้ าน ซึง่ อาจจะมีมากกว่าใน ฐานะรัฐชายฝั่ ง ในกรณีที่เรื อประมงไทยเข้ าไปทําการประมงในทะเลหลวง เขตอํานาจรัฐไทยในฐานะที่เป็ นรัฐเจ้ าของ ธงก็จะตามไปด้ วย ในทะเลหลวงนันรั ้ ฐทุกรัฐจะมีเสรี ภาพในการทําการประมงในทะเลหลวง แต่ทงนั ั ้ นต้ ้ องเป็ นไปตาม กฎหมายภายในของรัฐเจ้ าของธงว่าจะให้ สิทธิแก่เรื อใดในการเข้ าไปทําประมงในทะเลหลวงหรื อเขตต่างๆ ของทะเล ดังนัน้ รัฐที่มีอํานาจในการควบคุมเรื อประมงในเรื่ องของการอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลที่ดีทีสดุ นันควรจะเป็ ้ นรัฐเจ้ าของธง ส่วนการที่เรื อไทยเข้ าไปทําการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรื อไหล่ทวีปของรัฐอื่นนัน้ เจ้ าของเรื อไทยจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายหรื อข้ อบังคับเกี่ยวกับการจัดการและอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลของ รัฐนัน้ ด้ วย เนื่องจากในบริ เวณดังกล่าวรัฐชายฝั่ งนัน้ มีสิทธิ อธิ ปไตย ในทรัพยากรเหล่านัน้ ในเรื่ องนีต้ ามอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ได้ กล่าวไว้ ว่า “ให้ คนชาติของรัฐอื่นที่ทําการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์ และตามข้ อกํ าหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่ได้ บัญญัติไว้ ในกฎหมายและข้ อบังคับของรั ฐ ชายฝั่ ง กฎหมายและข้ อบังคับเหล่านี ้ให้ สอดคล้ องกันอนุสญ ั ญานี ้” ประเทศไทยจึงควรที่จะมีกฎหมายในการควบคุม เรื อของตนให้ เพียงพอและให้ มีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้ ไม่ก่อให้ เกิดปั ญหาเกี่ยวกับกรณีการละเมิดน่านนํ ้าของรัฐอื่นที่ โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


202

มีให้ เห็นบ่อยครัง้ มากในปั จจุบนั และโดยเฉพาะอีกปั ญหาหนึ่งที่นบั ว่ามีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการทําการประมง คือ จํานวนและปริ มาณของปลาหรื อสัตว์นํ ้าอื่นๆ ที่ในปั จจุบนั นับว่าจะลดน้ อยลงไปมากจึงสมควรที่จะต้ องหามาตรการที่ ้ นประเทศที่มีเรื อประมง มีประสิทธิภาพในการลดการทําลายสัตว์นํ ้าและอนุรักษ์ ไม่ให้ สตั ว์นํ ้าสูญพันธุ์ไปประเทศนันเป็ เป็ นจํานวนมาก จึงสมควรที่จะดําเนินการในฐานะรัฐเจ้ าของธงในการร่ วมมือกับรัฐอื่นๆ ในการอนุรักษ์ และจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี ชี วิ ต ในทะเล ไม่ ว่ า จะเป็ นเรื่ อ งของการออกกฎหมาย หรื อ การปรั บ ปรุ ง แก้ ไขกฎหมาย ให้ มี ประสิทธิภาพ347 5.3) กฎหมายภายในกับมาตรการในการลงโทษต่ อผู้กระทําผิดตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่า ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มาตรการในการลงโทษต่อผู้ที่กระทําความผิดหรื อฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลนัน้ จะมีทงั ้ มาตรการลงโทษในทางแพ่ง มาตรการลงโทษในทางอาญาและ มาตรการในทางปกครอง ั้ บ ซึง่ หาก มาตรการในการลงโทษตามพระราชบัญญัติประมง 2490 ในทางอาญานันมี ้ ทงโทษและโทษปรั บุคคลใดฝ่ าฝื นประกาศของรัฐมนตรี หรื อผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งประกาศตามความในมาตรา 32 ต้ องระวางโทษ ปรับตังแต่ ้ ห้าพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาทหรื อจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อทังปรั ้ บทังจํ ้ า และในเรื่ องเครื่ องมือทําการประมงที่ ได้ มีประกาศตามความในมาตรา 32 ที่ห้ามมิให้ บคุ คลใดใช้ โดยเด็ดขาดนัน้ ถ้ านํามาใช้ ทําการประมงในที่จบั สัตว์นํ ้า ให้ ศาลริ บเครื่ องมือนันเสี ้ ย ส่วนในเรื่ องเกี่ยวกับมาตรการทางแพ่งนัน้ บุคคลผู้เป็ นเจ้ าของเรื อที่ใช้ หรื อยอมให้ ใช้ เรื อ ของตนทําการประมงหรื อเพื่อทําการประมง จนเป็ นเหตุให้ มีการละเมิดน่านนํ ้าของต่างประเทศและทําให้ คนประจํา เรื อ หรื อ ผู้โ ดยสารไปกับ เรื อ ต้ อ งตกค้ า งอยู่ ณ ต่ า งประเทศ บุค คลนัน้ มี ห น้ า ที่ ต้ อ งปฏิ บัติ ต ามคํ า วิ นิ จ ฉั ย ของ คณะกรรมการพิ จ ารณากํ า หนดค่า เสี ย หายและค่า ใช้ จ่ า ยอื่ น ๆ อัน เกิ ด จากการละเมิ ด น่ า นนํ า้ ของต่า งประเทศ มาตรการสุดท้ ายคือ มาตรการในทางปกครอง ซึ่งในการทําประมงในที่จบั สัตว์นํา้ นัน้ หากผู้รับอนุญาตทําการฝ่ าฝื น พระราชบัญญัติการประมงหรื อปฏิบตั ิผิดเงื่อนไขที่กําหนดไว้ ในประทานบัตร ใบอนุญาต หรื ออาชญาบัตร หรื อค้ างเงิน อากรที่เกี่ยวกับประทานบัตร ใบอนุญาต หรื ออาชญาบัตร พนักงานเจ้ าหน้ าที่จะสัง่ เพิกถอนประทานบัตรใบอนุญาต หรื ออาชญาบัตรนันเสี ้ ยก็ได้ มาตรการในการลงโทษต่อผู้กระทําความผิดที่กล่าวมานี ้ มีความบกพร่ องที่ไม่สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลในเรื่ องของมาตรการในการลงโทษทางอาญา ซึ่งตามอนุสญ ั ญาหมายทะเลได้ บัญญัติถึงการบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมายในฐานะรัฐชายฝั่ งว่า บทกําหนดโทษของรัฐชายฝั่ งสําหรับการฝ่ าฝื น กฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะต้ องไม่รวมถึงโทษจําคุก ถ้ ามิได้ มีการตกลงระหว่าง รัฐที่เกี่ยวข้ องไว้ เป็ นอย่างอื่นหรื อการลงโทษทางร่ างกายในรู ปอื่นใด ประเทศไทยในฐานะที่เป็ นรัฐชายฝั่ งนัน้ การ กําหนดโทษทางอาญาให้ มีโทษจําคุกด้ วยจึงถือว่าขัดกับอนุสญ ั ญาดังกล่าว 348 5.4) หน้ าที่ของรั ฐเกี่ยวกับเคเบิลและท่ อใต้ ทะเล ตามอนุสัญ ญาสหประชาชาติว่า ด้ วยกฎหมายทะเล ได้ กําหนดให้ รัฐมี ห น้ า ที่ต้องออกกฎหมายหรื อ ข้ อบังคับเกี่ยวกับเคเบิลและท่อใต้ ทะเลสามประการด้ วยกันซึง่ ได้ แก่ ประการแรก รัฐจะต้ องออกกฎหมายเพื่อกําหนด โทษสําหรับกรณีเรื อซึ่งชักธงของตนหรื อโดยบุคคลที่อยู่ภายใต้ เขตอํานาจของตนทําให้ สายเคเบิลใต้ ทะเลหลวง ทาง 347

สิริวิภา อารี ย์สมาน. 2541. เขตอํานาจรั ฐเหนือเรื อที่ชักธงของรั ฐภายใต้ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ปี 1982 : ศึกษากรณีเรื อไทย. วิทยานิพนธ์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้ า 79-81. 348 อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 347, หน้ า 81-82.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


203

ท่อหรื อสายไฟแรงสูงใต้ ทะเลแตกหักหรื อเสียหายไม่ว่าจะโดยเจตนาหรื อประมาทอันเป็ นความผิด ทังนี ้ ้ ตาม Article 113 ของอนุสญ ั ญาดังกล่าว ประการที่สอง รัฐต้ องออกกฎหมายเพื่อกําหนดว่าหากบุคคลที่อยู่ภายใต้ เขตอํานาจของ รัฐตนซึ่งเป็ นเจ้ าของสายเคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเลภายใต้ ทะเลหลวง ในขณะวางหรื อซ่อมแซมเคเบิลหรื อทางท่อ ดังกล่าวได้ ก่อให้ เกิ ดการแตกหักหรื อเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลอื่น ให้ บุคคลนัน้ ออกค่าใช้ จ่ายในการ ซ่อมแซม ทังนี ้ ้ ตาม Article 114 ของอนุสญ ั ญาดังกล่าว และประการสุดท้ าย รัฐจะต้ องออกกฎหมายเพื่อประกันว่า เจ้ าของเรื อซึ่งสามารถพิสจู น์ได้ ว่าตนยอมสละอุปกรณ์ ทําการประมงเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อ ทางท่อ ใต้ ท ะเล จะได้ รับ ชดใช้ ค่า เสีย หายจากเจ้ า ของสายเคเบิลหรื อ ทางท่อ หากว่า เจ้ า ของเรื อ ได้ ใ ช้ มาตรการ ระมัดระวังอันสมควรแล้ ว ทังนี ้ ้ ตาม Article 115 ของอนุสญ ั ญาดังกล่าว ในส่วนนี ้เมื่อพิจารณาจากกฎหมายของประเทศไทยแล้ วจะเห็นได้ ว่าแม้ กฎหมายภายในจะมีหลายฉบับ ที่กําหนดเรื่ องการห้ ามไม่ให้ ก่อให้ เกิดความเสียหายแก่เคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเล ยกตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติการ เดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ซึ่งกําหนดไว้ ในหมวดที่สามข้ อบังคับว่าด้ วยการทอดสมอใกล้ เคียงหรื อ เกาสมอข้ ามสายท่อหรื อสิ่งก่อสร้ างที่ทอดใต้ นํา้ แต่พระราชบัญญัตินี ้ก็ถกู จํากัดของเขตเอาไว้ เพียงทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่องเท่านัน้ หรื อพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ซึง่ กําหนดไว้ ในมาตรา 74 ว่าการประกอบกิจการ ปิ โตรเลียมจะต้ องไม่ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อเคเบิลและท่อใต้ ทะเล แต่พระราชบัญญัตินีก้ ็ควบคุมเฉพาะการ ประกอบกิจการปิ โตรเลียมเท่านัน้ นอกจากนันขอบเขตของพระราชบั ้ ญญัตินี ้ก็ยงั ไม่ครอบคลุมถึงเขตทะเลหลวงอีก ด้ ว ย หรื อพระราชบัญ ญัติว่า ด้ ว ยความผิ ดเกี่ ยวกับสถานที่ ผลิตปิ โตรเลี ยมในทะเล พ.ศ. 2540 ซึ่งในมาตรา 10 แห่ง พระราชบัญญัติฉบับนี ้กําหนดห้ ามไม่ให้ เรื อทอดสมอเรื อหรื อเกาสมอหรื อกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งอันอาจเป็ น อัน ตรายต่อ ท่อ ที่ ใ ช้ ใ นกระบวนการผลิต ปิ โตรเลี ย ม หรื อ ท่ อ ที่ ใ ช้ ใ นระบบการขนส่ง ปิ โตรเลี ย มจากสถานที่ ผ ลิ ต ปิ โตรเลียมในทะเล หรื อท่อที่ใช้ หรื อเป็ นส่วนหนึ่งในกระบวนการผลิตปิ โตรเลียมซึ่งเชื่อมโยงกันระหว่างสถานที่ผลิต ปิ โตรเลียมในทะเลที่อยูน่ อกเขตปลอดภัยรวมทังอุ ้ ปกรณ์ของท่อดังกล่าว รวมทังยั ้ งกําหนดห้ ามไม่ให้ เดินเรื อข้ ามท่อใต้ ้ บที่กล่าว ทะเลหากไม่ได้ ทําการชักสมอขึ ้น แต่พระราชบัญญัตินี ้ก็ยงั คงมีจดุ บกพร่ องเช่นเดียวกับกฎหมายทังสองฉบั มาแล้ วก็คือขอบเขตของพระราชบัญญัติฉบับนี ้ครอบคลุมเพียงทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล่ทวีป เท่ า นัน้ เนื่ อ งจากกฎหมายฉบับ นี ม้ ี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ที่ จ ะป้ องกัน ไม่ ใ ห้ เ กิ ด การกระทํ า ความผิ ด ในสถานที่ ผ ลิ ต ปิ โตรเลียมในเขตที่ประเทศไทยสามารถแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี ้ได้ โดยไม่ได้ ม่งุ เน้ นไปที่การ ก่อให้ เกิดความเสียหายแก่เคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลโดยเรื อธงของไทย โดยสรุ ปแล้ ว ในเรื่ องนี ้จึงไม่มีกฎหมายฉบับใดที่ กําหนดในเรื่ องการดําเนินการทางแพ่งหรื อทางอาญากับเรื อไทยที่ก่อให้ เกิดความเสียหายแก่สายเคเบิล หรื อท่อใต้ ทะเลหลวงไว้ โดยเฉพาะ ดังนัน้ ในส่วนนี ้จึงเป็ นข้ อบกพร่องของกฎหมายภายในอยู่ 5.5) การปราบปรามการกระทําความผิดที่เกิดขึน้ ในทะเลหลวง ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดให้ รัฐทุกรัฐจะต้ องใช้ มาตรการ ที่มีประสิทธิ ภาพเพื่อป้องกันและลงโทษ หรื อให้ ทกุ รัฐให้ ความร่ วมมือกันในการปราบปรามผู้ที่กระทําความผิดบาง ประการในเขตทะเลหลวง ซึง่ ได้ แก่ความผิดในการขนส่งทาส การปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัด การลักลอบ ขนยาเสพติดและสารที่ออกฤทธิ์ตอ่ จิตประสาท และการทําการออกอากาศโดยไม่ได้ รับอนุญาต (ซึง่ หมายความถึงการ ส่งวิทยุกระจายเสียงหรื อแพร่ ภาพโทรทัศน์จากเรื อหรื อสิ่งติดตังในทะเลหลวง ้ โดยมุ่งให้ สาธารณชนรับได้ โดยขัดต่อ ข้ อบังคับระหว่างประเทศ ซึ่งหากมีการกระทําการดังกล่าวเกิดขึ ้น บุคคลผู้ที่ทําการออกอากาศโดยไม่ได้ รับอนุญาต สามารถถูกดําเนินคดีโดยศาลของรัฐเจ้ าของธงเรื อ รัฐซึ่งเป็ นที่จดทะเบียนของสิ่งติดตัง้ รัฐซึ่งบุคคลผู้นนเป็ ั ้ นคนชาติ รัฐซึ่งสามารถรับการส่งนัน้ และรัฐที่การสื่อสารทางคลื่นวิทยุได้ รับการรบกวน) ซึ่งในเรื่ องของการปราบปรามการ โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


204

กระทําอันเป็ นโจรสลัดนัน้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 7 ได้ กําหนดให้ เป็ นฐานความผิดสากล กล่าวคือ แม้ การกระทําความผิดจะเกิดขึ ้นนอกราชอาณาจักรแต่ก็สามารถลงโทษในราชอาณาจักรได้ จึงเหลือฐานความผิดที่ต้อง พิจารณาอีกสามฐานความผิดด้ วยกัน ในส่ว นความผิ ด เกี่ ย วกับ การขนส่ง ทาสในทะเลหลวงนัน้ ตามประมวลกฎหมายอาญาไม่ไ ด้ มี ก าร กําหนดให้ สามารถลงโทษผู้กระทําความผิดในทะเลหลวงได้ และก็ไม่ปรากฏว่ามีกฎหมายอื่นใดกําหนดเช่นว่าเอาไว้ ดังนัน้ หากมีการกระทําความผิดในการขนส่งทาสในทะเลหลวงเกิดขึ ้น ประเทศไทยก็ไม่สามารถที่จะดําเนินการใดๆ เพื่อป้องกันหรื อปราบปรามการกระทําความผิดดังกล่าวได้ สําหรับความผิดเกี่ยวกับการลักลอบขนยาเสพติดและสาร ที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตประสาท แม้ ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับยาเสพติดหลายฉบับก็ตาม ไม่ว่าจะเป็ น พระราชบัญญัติยาเสพติด พ.ศ. 2535 หรื อพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 เป็ นต้ น แต่ ไม่มีกฎหมายฉบับใดที่กําหนดในเรื่ องของการปราบปรามการลักลอบขนยาเสพติดและสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทที่ ได้ ทําขึน้ ในทะเลหลวง และความผิดในการออกอากาศโดยไม่ได้ รับอนุญาตในเขตทะเลหลวงก็เช่นเดียวกันที่ไม่มี กฎหมายภายในกํ าหนดให้ เป็ นฐานความผิด ดัง นัน้ แม้ ผ้ ูกระทํ า ความผิด จะได้ กระทํ า บนเรื อ ไทย สิ่งติดตัง้ ที่ จด ทะเบียนที่ประเทศไทย หรื อเป็ นบุคคลสัญชาติไทยก็ตาม ก็ไม่สามารถที่จะดําเนินการทางกฎหมายใดๆ ในประเทศ ไทยได้ 6) ข้อบกพร่ องของกฎหมายภายในที ไ่ ม่สอดคล้องกับอนุสญ ั ญาฯ ในส่วนที เ่ กี ่ยวข้องกับข้อตกลงในเรื ่องการ คุม้ ครองและการรักษาสิ่ งแวดล้อมทางทะเล 6.1) หน้ าที่ในฐานะรั ฐชายฝั่ งสําหรั บการออกกฎหมายและข้ อบังคับภายในเพื่อป้องกัน ลด และ ควบคุมมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากแหล่ งที่มาต่ างๆ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ในบทที่ว่าด้ วยการคุ้มครองและการรักษา สิ่งแวดล้ อมทางทะเล ที่กล่าวถึงกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศและการบัญญัติกฎหมายของชาติเพื่อป้องกัน ลด และควบคุม ภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเล ได้ กําหนดให้ รัฐมีหน้ าที่ต้องทําการออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อทําการ ป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากแหล่งที่ มาต่างๆ ในส่วนนี จ้ ึงจะต้ องพิจารณา กฎหมายภายในของไทยที่มีบทบัญญัติอนั เป็ นการป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจาก แหล่งที่มาตามที่กําหนดเอาไว้ ในอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ว่ามีข้อบกพร่ องทีไม่ ั ญาหรื อไม่ อย่างไร โดยจะจําแนกตามแหล่งที่มาของภาวะมลพิษ ดังนี ้ เป็ นไปตามอนุสญ (1) กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับมลพิษจากแหล่งทางบก ตาม Article 207 1. แห่ ง อนุสัญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยกฎหมายทะเล ได้ กํ า หนดให้ รั ฐ ออก กฎหมายและข้ อบังคับ เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากแหล่งบนบก ซึ่งแหล่ง บนบกดังกล่าวนัน้ จะหมายความรวมถึงทัง้ แม่นํ ้า ปากแม่นํ ้า ทางท่อ และสิ่งก่อสร้ างปากแม่นํ ้าด้ วย และในการออก กฎหมายหรื อข้ อบังคับดังกล่าวจะต้ องคํานึงถึงกฎเกณฑ์หรื อมาตรฐานของมลพิษตามที่ตกลงกันระหว่างประเทศด้ วย แต่อ ย่า งไรก็ ต าม อนุสัญ ญาฉบับ นี ก้ ็ ไ ม่ ไ ด้ บัง คับ ให้ รั ฐ ต้ อ งมี ม าตรฐาน หลัก เกณฑ์ เ ช่ น เดี ย วกับ หลัก เกณฑ์ แ ละ มาตรฐานระหว่า งประเทศ ซึ่ง ในส่ว นนี ก้ ็ จ ะขึ น้ อยู่กับ นโยบายของรั ฐว่า สมควรจะกํ า หนดมาตรการในเรื่ อ งของ สิง่ แวดล้ อมไว้ อย่างไร ซึง่ ประเทศไทยได้ มีการตรากฎหมายขึ ้นมาเพื่อควบคุมมลพิษจากแหล่งทางบก ดังนี ้ (1.1) พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของบ้ านเมือง พ.ศ. 2535

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


205

มาตรา 33349 แห่งพระราชบัญญัติฉบับนี ้ ได้ กําหนดกําหนดห้ ามไม่ให้ มีการเท ทิ ้งสิ่งปฏิกลู มูลฝอย นํา้ โสโครกหรื อสิ่งอื่นใดในทางนํา้ ซึ่งนิยามของ “ทางนํ า้ ” ตามพระราชบัญญัติฉบับนีน้ ัน้ หมายความรวมถึงทะเล ด้ วย 350 ทํ า ให้ การควบคุ ม การเททิ ง้ สิ่ ง ปฏิ กู ล หรื อ มู ล ฝอยต่ า งๆ ครอบคลุ ม ไปถึ ง ทะเลด้ วย อย่ า งไรก็ ต าม พระราชบัญญัติฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อควบคุมความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยโดยทัว่ ไปของบ้ านเมือง เท่านัน้ หาได้ มงุ่ ประสงค์โดยตรงถึงการป้องกันและควบคุมมลพิษทางทะเลโดยตรง (1.2) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 25351 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ได้ กําหนดให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นมี อํานาจในการควบคุมดูแลทางนํ า้ และแหล่งนํา้ ในเขตพื ้นที่ที่ตนรับผิดชอบ ไม่ให้ ผ้ ใู ดก่อเหตุรําคาญ อันได้ แก่ การ ก่อให้ เกิดความสกปรก การสะสมหรื อหมักหมมสิ่งของหรื อการเททิ ้งสิ่งใดลงในทางนํ ้าและแหล่งนํ ้า ซึ่งจะเป็ นเหตุให้ เกิดกลิ่นเหม็นหรื อเป็ นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งหากมีการกระทําดังกล่าวขึน้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นก็มี อํ านาจในการออกคํา สั่งให้ ผ้ ูกระทํ าแก้ ไขเหตุดัง กล่าวให้ เรี ยบร้ อยได้ หากไม่มีการแก้ ไขตามคํา สั่งของพนักงาน เจ้ าหน้ าที่ก็จะมีโทษทางอาญาเพื่อลงโทษการกระทําดังกล่าว โดยโทษได้ กําหนดที่จําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรื อปรับไม่ เกินสองพันบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ และเจ้ าพนักงานท้ องถิ่นก็ยงั มีอํานาจในการใช้ มาตรการทางปกครองโดยการแก้ ไข สภาพที่สง่ เหตุเดือดร้ อนรํ าคาญนันเสี ้ ยเอง โดยให้ ผ้ ทู ี่ก่อให้ เกิดเหตุดงั กล่าวเป็ นผู้เสียค่าใช้ จ่าย (1.3) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 8 (5) 352 แห่งพระราชบัญญัตินีไ้ ด้ กําหนดควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรื อสิ่งใดๆ ก็ ตามที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงานจะต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานที่รัฐมนตรี กําหนดเอาไว้ ในกฎกระทรวง (1.4) พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 349

มาตรา 33 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท หรื อทิ ้งสิ่งปฏิกลู มูลฝอย นํ ้าโสโครกหรื อสิ่งอื่นใดลงบนถนนหรื อในทางนํ ้า ความในวรรคหนึ่งมิให้ ใช้ บงั คับแก่เจ้ าของ หรื อผู้ครองครองเรื อหรื ออาคารประเภทเรื อนแพซึง่ จอดหรื ออยู่ในท้ องที่ที่เจ้ าพนักงาน ท้ องถิ่นยังไม่ได้ จดั ส้ วมสาธารณะหรื อภาชนะสําหรับทิ ้งสิ่งปฏิกลู หรื อ มูลฝอย 350 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ “ทางนํ ้า” หมายความว่า ทะเล ทะเลสาบ หาดทรายชายทะเล อ่างเก็บนํ ้า แม่นํ ้า ห้ วย หนอง คลอง คันคลอง บึง คู ลําราง และ หมายความรวมถึงท่อระบายนํ ้าด้ วย ฯลฯ ฯลฯ 351 มาตรา 25 ในกรณี ที่มีเหตุอนั อาจก่อให้ เกิดความเดือดร้ อนแก่ผ้ อู ยู่อาศัยในบริ เวณใกล้ เคียงหรื อผู้ที่ต้องประสบกับเหตุนนั ้ ดังต่อไปนี ้ ให้ ถือว่าเป็ นเหตุรําคาญ (1) แหล่งนํ ้า ทางระบายนํ ้า ที่อาบนํ ้า ส้ วม หรื อที่ใส่มลู หรื อเถ้ า หรื อสถานที่อื่นใดซึ่งอยู่ในทําเลไม่เหมาะสม สกปรก มีการ สะสมหรื อหมักหมมสิ่งของมีการเททิ ้งสิ่งใดเป็ นเหตุให้ มีกลิ่นเหม็นหรื อละอองสารเป็ นพิษ หรื อเป็ นหรื อน่าจะเป็ นที่เพาะพันธุ์พาหะนําโรค หรื อก่อให้ เกิดความเสื่อมหรื ออาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ฯลฯ ฯลฯ 352 มาตรา 8 เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการประกอบกิจการโรงงานให้ รัฐมนตรี มีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อให้ โรงงานจําพวกใด จําพวกหนึง่ หรื อทุกจําพวกตามมาตรา 7 ต้ องปฏิบตั ิตามในเรื่ องดังต่อไปนี ้ ฯลฯ ฯลฯ (5) กําหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษหรื อสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมซึง่ เกิดขึ ้นจากการ ประกอบกิจการโรงงาน ฯลฯ ฯลฯ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


206

เนื่องจากทางนํ ้าชลประทานอาจจะเชื่อมต่อกับแม่นํ ้าลําคลอง ส่งผลให้ การทิ ้งสิ่งใดๆ หรื อสารเคมีลง ไปในทางนํา้ ชลประทานอาจจะไหลไปตามแม่นํา้ ลําคลองลงสู่ทะเลอาณาเขตของรั ฐ พระราชบัญญัตินีจ้ ึงมีความ เกี่ยวข้ องกับการคุ้มครองและการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล ซึง่ พระราชบัญญัตินี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะคุ้มครองและ รักษาทางชลประทานนํ ้า เพื่อประโยชน์ในการเพาะปลูกหรื อการบริ โภค สุขภาพอนามัย โดยมาตรการที่กฎหมายฉบับ นี ้กําหนดได้ แก่การห้ ามไม่ให้ ผ้ ใู ด ทิ ้งสิ่งใดๆ หรื อสารเคมีลงในทางนํา้ ชลประทานหรื อทําให้ นํา้ เป็ นอันตรายแก่การ ้ ้ ตามมาตรา 28353 แห่งพระราชบัญญัตินี ้ ซึ่งหากผู้ใดฝ่ าฝื นก็จะมีโทษ เพาะปลูกหรื อการบริ โภค สุขภาพอนามัย ทังนี จําคุกไม่เกินสามเดือนหรื อสองปี ปรับไม่เกินสองพันบาทหรื อหนึง่ แสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ (1.5) พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 สํ า หรั บ พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี ค้ ่ อ นข้ างจะเป็ นเรื่ องที่ เ กี่ ย วข้ องโดยตรงกั บ การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมทางทะเลโดยพระราชบัญญัตินี ้มีวตั ถุประสงค์ในการคุ้มครองรักษา “ที่จบั สัตว์นํ ้า” มิให้ เกิดมลพิษใดๆ ที่จะเป็ นอันตรายต่อสัตว์นํ ้าในที่จบั สัตว์นํ ้าได้ ทังนี ้ ้ ได้ กําหนดห้ ามไม่ให้ ผ้ ใู ด เท ทิ ้ง ระบาย หรื อทํา ให้ วตั ถุมีพิษลงไปหรื อทําให้ ที่จบั สัตว์นํ ้าเกิดมลพิษ เว้ นเสียแต่ว่าจะเป็ นเพื่อการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และได้ รับ ้ หกเดือนถึงห้ าปี และปรับตังแต่ ้ หนึ่งหมื่นบาทถึง อนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ผ้ ทู ี่กระทําการฝ่ าฝื นมีโทษจําคุกตังแต่ หนึง่ แสนบาท ซึง่ ความหมายของที่จบั สัตว์นํ ้าตามพระราชบัญญัตินี ้นันหมายความรวมถึ ้ ง แม่นํ ้า ลํา คลอง หนอง 354 บึง บ่อ หาดทั ง้ ปวง ป่ าไม้ แ ละพื น้ ดิน ด้ ว ย ทั ง้ นี ้ ตามมาตรา 4 (5) พระราชบัญญัติฉบับนี จ้ ึงมีบทบัญญัติที่ ควบคุมเรื่ องของมลภาวะจากแหล่งบนบก (6) พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 เนื่องจากตามนิยามของพระราชบัญญัตินี ้ได้ กําหนดให้ “ป่ า” หมายความรวมถึงชายฝั่ งทะเลด้ วย ซึง่ หากชายฝั่ งทะเลที่มีลกั ษณะเป็ นป่ าใด ถูกกําหนดให้ มีสภาพเป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ ชายฝั่ งทะเลดังกล่าวก็จะอยู่ภายใต้ การควบคุมดูแลของพระราชบัญญัติฉบับนี ้ นอกจากนี ้คําว่า “ป่ า” ดังกล่าวยังหมายความรวมถึงลํานํ ้า ซึ่งลํานํ ้านัน้ อาจมีสว่ นที่เชื่อมต่อกับทะเล การก่อให้ เกิดมลพิษในลํานํ ้าจึงอาจส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้ อมของทะเลได้ (1.6) พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 สําหรับการควบคุมดูแลตามพระราชบัญญัติฉบับนีน้ นั ้ มาตรา 14 ได้ กําหนดให้ การกระทําใดๆ ที่ ้ ห้าพันบาทถึงห้ าหมื่น เป็ นการเสื่อมเสียแก่สภาพป่ าสงวนแห่งชาติ มีโทษจําคุกตังแต่ ้ หกเดือนถึงห้ าปี และปรับตังแต่ บาท แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม หากพิ จ ารณาจากภาพรวมของบทบัญ ญั ติ ใ นพระราชบัญ ญั ติ ฉ บับ นี แ้ ล้ ว จะเห็ น ได้ ว่ า 353

มาตรา 28 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดทิ ้งมูลฝอย ซากสัตว์ ซากพืช เถ้ าถ่าน หรื อสิ่งปฏิกลู ลงในทางนํ ้าชลประทานหรื อทําให้ นํ ้าเป็ นอันตราย แก่การเพาะปลูกหรื อการบริ โภค ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดปล่อยนํ ้าซึง่ ทําให้ เกิดเป็ นพิษแก่นํ ้าตามธรรมชาติ หรื อสารเคมีเป็ นพิษลงในทางนํ ้าชลประทาน จนอาจทําให้ นํ ้าในทาง นํ ้าชลประทานเป็ นอันตรายแก่เกษตรกรรม การบริ โภค อุปโภค หรื อสุขภาพอนามัย 354 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ (5) “ที่จบั สัตว์นํ ้า” หมายความว่า ที่ซงึ่ มีนํ ้าขังหรื อไหล เช่น ทะเล แม่นํ ้า ลําคลอง หนอง บึง บ่อ เป็ นต้ น และหาดทังปวง ้ บรรดาซึง่ เป็ นสา ธารณสมบัติของแผ่นดิน รวมทัง้ ป่ าไม้ และพื น้ ดินซึ่งนํา้ ท่วมในฤดูนํา้ ไม่ว่าจะเป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินหรื อที่ดินอันบุคคลถื อ กรรมสิทธิ์ และภายในเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึ่งประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิ ที่จะใช้ ต่อไปในการทําการประมง โดยที่น่านนํ ้า เหล่านัน้ ปรากฏโดยทั่ว ไปว่า มี ขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่ น หรื อธรรมเนี ยมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อ ตาม สนธิสญ ั ญาหรื อด้ วยประการใด ฯลฯ ฯลฯ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


207

วัตถุประสงค์ที่แท้ จริ งของพระราชบัญญัติฉบับนี ้ไม่ได้ ประสงค์จะควบคุมในเรื่ องของสภาพแวดล้ อมทางทะเลหากแต่ ต้ องการที่จะคุ้มครองสภาพของป่ าสงวนเท่านัน้ (1.7) พระราชบัญญัติสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติฉบับนี ไ้ ด้ มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้ องกับการคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล หลายประการกล่าวคือ ประการแรก พระราชบัญญัติฉบับนี ้ให้ อํานาจคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติในการออก ประกาศเพื่อกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้ อมสําหรับนํ ้าในแม่นํ ้าลําคลอง หนอง บึง และแหล่งนํ ้าสาธารณะอื่นๆ ที่อยูภ่ ายในผืนแผ่นดิน ซึง่ นํ ้าในส่วนนี ้อาจจะมีการเชื่อมต่อกับทะเลและส่งผลกระทบต่อคุณภาพของนํ ้าในทะเลได้ จึง มีความเกี่ยวข้ องกับหน้ าที่ของรัฐในการคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเลตามอนุสญ ั ญาฉบับนี ้ และคุณ ภาพ 355 นํา้ ทะเลชายฝั่ ง ทั ง้ นี ้ ตามมาตรา 32 (1) และ (2) ตามลํา ดับ โดยการกํา หนดมาตรฐานดังกล่าวนัน้ คณะกรรมการสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติจะต้ องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์ และหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เป็ นพื ้นฐานใน การพิจารณากําหนดมาตรฐาน356 นอกจากนี ้ จะต้ องคํานึงถึงความเป็ นไปได้ ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้ องด้ วย ประการต่อมา พระราชบัญญัตินี ้ยังมีการควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิด โดยหลักการดังกล่าวปรากฏ อยู่ในมาตรา 55357 แห่งพระราชบัญญัติฉบับนี ้ ซึ่งได้ กําหนดให้ รัฐมนตรี มีอํานาจในการประกาศกําหนดมาตรฐาน ควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิดได้ ในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับการควบคุมการระบายนํ ้าทิ ้ง การปล่อยทิ ้งของเสีย หรื อมลพิษ จากแหล่งกําเนิดออกสูส่ งิ่ แวดล้ อม เพื่อรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมให้ ได้ มาตรฐาน ซึง่ จะเห็นได้ ว่าอํานาจตามมาตรานี ้ ของรัฐมนตรี นัน้ กว้ างขวางมาก จึงเป็ นบทบัญญัติที่จะสามารถใช้ ในการออกประกาศเพื่อคุ้มครองและการรักษา สิ่ง แวดล้ อ มทางทะเลได้ ด้ ว ย แต่ทัง้ นี ก้ ็ ต้ อ งขึ น้ อยู่กับ นโยบายของรั ฐ มนตรี คณะกรรมการควบคุม มลพิ ษ และ คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ เนื่องจากในการออกประกาศตามมาตรานี ้ รัฐมนตรี จะต้ องได้ รับความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติและโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ นอกจากตามที่ได้ กล่าวมาแล้ ว พระราชบัญญัติฉบับนี ้ยังมีส่วนที่กําหนดขึ ้นเพี่อควบคุมในเรื่ องของ มลพิษทางนํ ้าไว้ โดยเฉพาะในส่วนที่ 5 มลพิษทางนํ ้า (มาตรา 69 ถึงมาตรา 79) ซึ่งให้ อํานาจรัฐมนตรี โดยคําแนะนําของ 355

มาตรา 32 เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติมีอํานาจ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้ อมในเรื่ องต่อไปนี ้ (1) มาตรฐานคุณภาพนํ ้าในแม่นํ ้าลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บนํ ้าและแหล่งสาธารณะอื่นๆ ที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจําแนกตามลักษณะการใช้ ประโยชน์บริ เวณพื ้นที่ลมุ่ นํ ้าในแต่ละพื ้นที่ (2) มาตรฐานคุณภาพนํ ้าทะเลชายฝั่ งรวมทังบริ ้ เวณพื ้นที่ปากแม่นํ ้า ฯลฯ ฯลฯ 356 ในปั จจุบนั ก็ได้ มีประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้ อม เรื่ อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรื อ กิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรื อเอกชน ที่ต้องมีรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อม ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2535 กําหนดให้ การ สร้ างโรงแรมริ ม ทะเล การทํ า เหมื อ ง การสร้ างท่ า เรื อ พาณิ ช ย์ ต้ องทํ า รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อม และประกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ลงวันที่ 9 กันยายน 2535 ก็ได้ กําหนดให้ การถมที่ดินในทะเลและการสร้ างโรงพยาบาลริ มทะเลต้ องทํารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมเช่นเดียวกัน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้ อมโดยคําแนะนําของคณะกรรมการ ควบคุมมลพิษ มีอํานาจกําหนดประเภทของแหล่งกําเนิดมลพิษ ที่จะต้ องถูกควบคุมการปล่อยนํ ้าเสีย หรื อของเสียลงสู่แหล่งนํ ้าสาธารณะ หรื อ ออกสิ่งแวดล้ อมนอกเขตที่ตงแหล่ ั ้ งกําเนิดมลพิษไม่เกินมาตรบานควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิด 357 มาตรา 55 ให้ รัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อม แห่งชาติ มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิด สําหรับควบคุมการระบายนํ ้าทิ ้ง การปล่อยทิ ้ง อากาศเสีย การปล่อยทิ ้งของเสีย หรื อมลพิษอื่นใดจากแหล่งกําเนิดออกสู่สิ่งแวดล้ อม เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมให้ ได้ มาตรฐานคุณภาพ สิ่งแวดล้ อมตามที่กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี ้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


208

คณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีอํานาจในการประกาศกําหนดประเภทของแหล่งกําเนิดมลพิษที่จะต้ องถูกควบคุมการ ปล่อยนํ า้ เสียหรื อของเสียลงสู่แหล่งนํ า้ สาธารณะหรื อสู่สิ่งแวดล้ อมนอกแหล่งกําเนิดมลพิษให้ ไม่เกินมาตรฐานที่ กําหนดไว้ โดยกฎหมาย ตามมาตรา 69 และเมื่อแหล่งมลพิษใดถูกกําหนดโดยประกาศตามมาตรานีแ้ ล้ วส่งผลให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษนัน้ มีหน้ าที่ที่จะต้ องทําการก่อสร้ าง ติดตัง้ หรื อจัดให้ มีระบบบําบัดนํ ้าเสีย หรื อระบบกําจัดของเสีย (มาตรา 70) หรื อจัดส่งนํ ้าเสียหรื อของเสียที่เกิดจากการดําเนินกิจการของตนไปทําการบําบัด ้ อไม่ประสงค์ที่จะจัดให้ มีระบบบําบัดนํ ้าเสีย ในกรณีที่เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษไม่ได้ ทําการติดตังหรื หรื อระบบกําจัดของเสีย (มาตรา 71) เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัตินี ้แล้ วจะเห็นได้ ว่าพระราชบัญญัติฉบับนี ้สามารถ นําไปปรับใช้ กบั การคุ้มครองและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมทางทะเลที่เกิดจากแหล่งกําเนิดบนบกได้ นอกจากนี ้ ใน การกําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับมลพิษนัน้ จะต้ องคํานึงถึงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ด้วย จึงเห็นได้ ว่า เป็ นกฎหมายที่มี ความก้ าวหน้ าและสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาว่าด้ วยกฎหมายทะเล (1.8) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการป้องกันและขจัดภาวะมลพิษทางทะเลเนื่องจากนํ ้ามัน พ.ศ.2525 ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการป้องกันและขจัดภาวะมลพิษทางทะเลอันเนื่องมาจาก นํ ้ามันได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 8 ให้ อํานาจคณะกรรมการป้องกันและขจัดมลพิษทางทะเลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเพื่อ ป้องกันและขจัดมลพิษทางทะเล เนื่ องจากนํ า้ มันซึ่งอาจมีการประสานงานกันในระดับภูมิภาค กับกลุ่มประเทศ อาเซียนใต้ แต่การควบคุมดูแลของคณะกรรมการ กปน. นี ้มิได้ ขยายออกไปถึงเขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล่ทวีป ซึง่ ค่อนข้ างจะเป็ นบริ เวณที่มีนํ ้ามันปนเปื อ้ นอยู่มาก และอาจจะมากกว่าในอาณาเขตที่คณะกรรมการ กปน. มีอํานาจ ควบคุมดูแล คือ น่านนํ ้าภายใน และทะเลอาณาเขตอีกด้ วย จากการศึกษากฎหมายดังกล่าวข้ างต้ นแล้ วจะเห็นได้ วา่ แม้ ประเทศไทยจะมีกฎหมายหลายฉบับที่ กําหนดเกี่ยวเนื่องกับภาวะมลพิษจากแหล่งบนบกก็ตาม แต่กฎหมายดังกล่าวทังหลายก็ ้ ไม่ได้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะ ควบคุมภาวะมลพิษทางทะเลจากแหล่งบนบกโดยตรง ซึง่ กฎหมายที่พิจารณาแล้ วน่าจะเกี่ยวข้ องกับการควบคุมภาวะ มลพิษทางทะเลโดยตรงที่สุดได้ แก่พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรั กษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ที่ สามารถนํามาปรับใช้ สําหรับการควบคุมภาวะมลพิษทางทะเลจากแหล่งบนบกได้ (2) กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้ องกับมลพิษจากกิจกรรมที่พื ้นดินใต้ ท้องทะเล อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ข้ อ 208 1. ได้ กําหนดให้ รัฐจะต้ องออก กฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลที่เกิดขึน้ จากการดําเนิน กิจกรรมพื ้นดินท้ องทะเลซึ่งอยู่ภายใต้ ของเขตอํานาจอธิปไตยของรัฐนันเช่ ้ นเดียวกับภาวะมลพิษจากแหล่งบนบก ซึ่ง ในส่วนนี ้มีกฎหมายภายในของไทยที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ (2.1) พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 กําหนดห้ ามมิให้ ผ้ ถู ือประทานบัตรทําเหมืองแร่ ใกล้ ทางหลวงหรื อทางนํ ้าสาธารณะภายในระยะ 50 เมตร และจะต้ องไม่กระทําการใดๆ เป็ นการเสื่อมประโยชน์แก่ทางหลวง หรื อทางสาธารณะ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาต จากเจ้ าพนักงาน และปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กําหนดสําหรับนํ ้าขุ่นข้ นหรื อดินมูลทราบ อันเกิดจากการทําเหมือง จะถูก ปล่อยออกมานอกเขตเหมืองแร่มิได้ แต่พระราชบัญญัตินี ้ยังถูกจํากัดเพียงภายในทะเลอาณาเขตเท่านัน้ (2.2) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


209

พระราชบัญญัติฉบับนี ้กําหนดให้ ผ้ รู ับสัมปทานปิ โตรเลียมจะต้ องไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบกระเทือนโดย ปราศจากเหตุอนั สมควรต่อการเดินเรื อ การอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิต (มาตรา 74) ซึง่ หากมีการฝ่ าฝื นมาตรานี ้ผู้ฝ่าฝื นจะต้ อง ระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท และนอกจากนีผ้ ้ รู ับสัมปทานต้ องทําการป้องกันโดยมาตรการอันเหมาะสมตาม วิธีการปฏิบตั ิงานปิ โตรเลียมที่ดี เพื่อมิให้ ที่ใดโสโครกด้ วยนํา้ มัน โคลน หรื อสิ่งอื่นใดในกรณี ที่เกิดความโสโครกต้ อง บําบัดป้องกันโดยเร็วที่สดุ (มาตรา 75) หากทําการฝ่ าฝื นมาตรานี ้ผู้ฝ่าฝื นจะต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท และการประกอบกิจการปิ โตรเลียมในทะเลตามพระราชบัญญัตินี ้ได้ กําหนดขอบเขตให้ รวมถึงเขตไหล่ทวีป ที่เป็ นสิทธิ ของประเทศไทยตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ยอมรับนับถือกันโดยทัว่ ไปและตามสัญญากับต่างประเทศด้ วย อย่างไรก็ตามพระราชบัญญัตินี ้จะทําการควบคุมดูแลเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากกิจกรรมในพื ้นดินใต้ ท้องทะเลเฉพาะที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ การปิ โตรเลีย มเท่า นัน้ ซึ่ง หากเป็ นการดํ า เนิ น กิ จ กรรมในพื น้ ดิน ใต้ ท้ อ งทะเลอย่า งอื่ น นอกจากการ ปิ โตรเลี ย ม เช่ น การวิ จัย วิ ท ยาศาสตร์ ท ะเล เป็ นต้ น และก่ อ ให้ เ กิ ด มลภาวะต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มจากกิ จ กรรมนัน้ ๆ พระราชบัญญัตินี ้ก็ไม่สามารถที่จะเข้ าไปควบคุมการดําเนินกิจกรรมดังกล่าวได้ (2.3) พระราชบัญญัติสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ตามที่ได้ กล่าวไปแล้ วในเรื่ องมลภาวะทางทะเลจากแหล่งบนบก พระราชบัญญัติฉบับนีใ้ ห้ อํานาจ รัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีอํานาจในการประกาศกําหนดประเภทของแหล่งกําเนิด มลพิษที่จะต้ องถูกควบคุมการปล่อยนํ ้าเสียหรื อของเสียลงสู่แหล่งนํา้ สาธารณะหรื อสู่สิ่งแวดล้ อมนอกแหล่งกําเนิด มลพิษให้ ไม่เกินมาตรฐานที่กําหนดไว้ โดยกฎหมาย และเมื่อแหล่งมลพิษใดถูกกําหนดโดยประกาศตามมาตรานี ้แล้ ว ส่งผลให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษนัน้ มีหน้ าที่ที่จะต้ องทําการก่อสร้ าง ติดตัง้ หรื อจัดให้ มีระบบ บําบัดนํ ้าเสียหรื อระบบกําจัดของเสียหรื อจัดส่งนํ ้าเสียหรื อของเสียที่เกิดจากการดําเนินกิจการของตนไปทําการบําบัด ้ อไม่ประสงค์ที่จะจัดให้ มีระบบบําบัดนํ ้าเสีย ในกรณีที่เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษไม่ได้ ทําการติดตังหรื หรื อระบบกําจัดของเสียด้ วย ซึ่งในส่วนนี ้อาจนํามาปรับใช้ มลภาวะที่เกิดจากหรื อเนื่องจากกิจกรรมในพื ้นดินใต้ ท้อง ทะเลได้ อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติฉบับนี ้ก็มีขอบเขตที่จํากัดอยูเ่ พียงภายในทะเลอาณาเขตเท่านัน้ (3) กฎหมายเกี่ยวกับมลพิษจากการทิ ้งเท ในส่วนของมลพิษที่เกิดจากการทิ ้งเทนัน้ Article 210 1. แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1982 ก็ได้ กําหนดให้ รัฐต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของ สิ่งแวดล้ อมจากการทิ ้งเท โดยกฎหมายที่รัฐออกตาม Article 210 1. ดังกล่าว จะต้ องกําหนดให้ ในการทิ ้งเทมลพิษ จะต้ องได้ รับอนุญาตจากเจ้ าหน้ าที่ของรัฐเสียก่อนตาม Article 210 3. อนึ่ง การทิ ้งเทนันมี ้ ความหมายถึงการทิ ้งของ เสียต่าง ๆ หรื อสสารอื่นอย่างจงใจ จากเรื อ อากาศยาน ฐานขุดเจาะ หรื อสิ่งก่อสร้ างอื่นที่มนุษย์สร้ างขึ ้นในทะเล และ การทิ ้งเรื อ อากาศยาน ฐานขุดเจาะ หรื อสิ่งก่อสร้ างอื่นที่มนุษย์สร้ างขึ ้นในทะเลอย่างจงใจ ทังนี ้ ้ ตาม Article 1 แห่ง อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ซึง่ ในเรื่ องนี ้มีกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องดังต่อไปนี ้ (3.1) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พ.ศ. 2456 พระราชบัญญัติฉบับนี ้กําหนดมาตรการทางกฎหมายไว้ หลายประการด้ วยกันในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับ การคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล โดยประการแรก กําหนดห้ ามมิให้ มีการเทหรื อทิ ้งหรื อทําประการใดๆ ให้ หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิ่งของหรื อสิ่งปฏิกลู ใดๆ ลงในทะเลภายในน่านนํ ้าไทย อันจะเป็ นเหตุให้ เกิดการตื ้น เขิน ตกตะกอนหรื อสกปรก ห้ ามมิให้ มีการเทหรื อทิ ้งหรื อทําประการใดๆ ให้ นํา้ มันหรื อเคมีภัณฑ์ลงในทะเลภายใน น่านนํ ้าไทยอันจะส่งผลให้ เป็ นพิษต่อสิง่ มีชีวิตหรื อต่อสิ่งแวดล้ อม และยังห้ ามมิให้ ทิ ้งนํ ้ามันปิ โตรเลียม หรื อนํ ้ามันที่ปน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


210

กับนํ า้ รั่ วไหลลงในนํ า้ ทัง้ นี ้ ตาม มาตรา 119 และมาตรา 119 ทวิ และมาตรา 204 ตามลําดับ ซึ่งหากผู้ใดฝ่ าฝื น บทบัญญัติดงั กล่าวก็จะได้ รับโทษตามกฎหมาย สําหรับการอนุญาตให้ มีการทิ ้งเทได้ ในบางกรณี นนั ้ ตามกฎหมายฉบับนี ้ กรมเจ้ าท่าก็มีอํานาจที่จะ อนุญาตให้ มีการทิง้ เท หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิ่งของ นํ า้ มัน หรื อสิ่งปฏิกูลใดๆ ได้ บ้าง โดยจะต้ องอยู่ ภายใต้ ระเบียบปฏิบตั ิของกรมเจ้ าท่าที่กําหนดไว้ ในระเบียบกรมเจ้ าท่าว่าด้ วยการรักษาแนวฝั่ งน่านนํ ้าไทย พ.ศ. 2526 ข้ อ 31 นอกจากกรมเจ้ าท่าจะมีอํานาจควบคุมดูแลเกี่ยวกับการทิ ้งสิง่ ปฏิกลู สิง่ ใดๆ ฯลฯ ลงในแหล่งนํ ้าสาธารณะ และ ทะเลในน่านนํ ้าไทยแล้ ว ยังมีอํานาจในการควบคุมดูแลเรื อที่ใช้ ในน่านนํ ้าไทยอีกด้ วย กล่าวคือ เรื อกลที่เป็ นเรื อเดิน ทะเล และเป็ นเรื อไทยขนาด 60 ตันกรอสขึ ้นไป จะต้ องแจ้ งกําหนดออกเรื อต่อเจ้ าท่าก่อนที่จะออกเรื อจากเขตท่าเรื อใน น่านนํา้ ไทย เพื่อตรวจสอบว่าปฏิบตั ิถกู ต้ องตามกฎหรื อไม่ และเรื อกําปั่ นที่เข้ ามาในน่านนํา้ ไทยต้ องปฏิบตั ิตามกฎ ข้ อบังคับที่กําหนด เช่น การยกธงของเรื อ รายงานการเข้ ามาในเขตท่าเรื อต่อเจ้ าท่า ถ้ าเรื อใดฝ่ าฝื นจะถูกลงโทษ ปรับตังแต่ ้ ห้าร้ อยบาทถึงห้ าพันบาท ในกรณี ที่มีเรื อไทย เรื อต่างประเทศ หรื อสิ่งอื่นใดจมลงหรื ออยู่ในสภาพที่อาจเป็ นอันตรายแก่การ เดินเรื อในน่านนํ ้าไทย และมีสิ่งซึ่งก่อหรื ออาจก่อให้ เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้ อม ให้ เจ้ าของเรื อหรื อตัวแทนเรื อขจัดหรื อ ป้องกันมลพิษให้ แล้ วเสร็จในระยะเวลาที่เจ้ าท่ากําหนด ถ้ าไม่แล้ วเสร็จให้ เจ้ าท่าหรื อเจ้ าพนักงานผู้มีหน้ าที่มีอํานาจและ ้ โดยเรี ยกค่าใช้ จ่ายจากเจ้ าของหรื อตัวแทนเจ้ าของเรื อ กระทําการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อขจัดหรื อป้องกันมลพิษนันได้ 358 หรื อสิง่ อื่นใดนัน้ อย่างไรก็ตาม แม้ พระราชบัญญัติจะเป็ นการควบคุมเกี่ยวกับเรื อโดยตรง แต่อํานาจหน้ าที่ของกรม เจ้ าท่านันก็ ้ มีขอบเขตจํากัดในเรื่ องของพื ้นที่ กล่าวคือ กรมเจ้ าท่ามีอํานาจจํากัดเพียงเฉพาะน่านนํ ้าภายในเท่านัน้ 359 ในส่วนนี ้จึงเป็ นข้ อบกพร่ องของกฎหมายภายในอยู่ ซึ่งในอดีตก็เคยมีกรณี ศึกษากล่าวคือเกิดเรื ออัปปางและจมลง นอกทะเลอาณาเขตของประเทศไทย โดยสภาวะของเรื อที่อปั ปางดังกล่าวนันได้ ้ จมลงในแนวดิ่ง ส่งผลให้ ส่วนปลาย ของเรื ออยู่ปริ่ มพื ้นนํ ้าทะเลซึ่งโดยสภาพแล้ วจะเป็ นอันตรายต่อเรื อที่ไม่มีอปุ กรณ์ ตรวจจับวัตถุใต้ นํ ้าและได้ แล่นผ่าน บริ เวณดังกล่าว แต่ปรากฏว่าไม่มีเจ้ าหน้ าที่ที่กล้ าจะดํ าเนินการกู้ซากเรื อดังกล่าวเนื่ องจากกฎหมายภายในของ ประเทศไทยไม่ได้ ให้ อํานาจไว้ ชดั เจนในการกู้เรื อที่อปั ปางนอกทะเลอาณาเขต (3.2) พระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช 2490 กฎหมายฉบับนี ้กําหนดห้ ามไม่ให้ ทําการ เท ทิ ้ง ระบาย หรื อทําให้ วตั ถุมีพิษตามที่รัฐมนตรี ประกาศ กําหนดในราชกิจจานุเบกษาลงไปในที่จบั สัตว์นํ ้า หรื อกระทําการใดๆ อันทําให้ สตั ว์นํ ้ามึนเมา หรื อเท ทิ ้ง ระบาย หรื อ ทําให้ สงิ่ ใดลงไปในที่จบั สัตว์นํ ้าในลักษณะที่เป็ นอันตรายแก่สตั ว์นํ ้าหรื อทําให้ ที่จบั สัตว์นํ ้าเกิดมลพิษ เว้ นเสียแต่ว่าการ ดํา เนินการดัง กล่าวจะเป็ นไปเพื่ อการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และจะต้ อ งได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ า ที่ เสียก่อน ทังนี ้ ้ ตามมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัตินี ้ แต่อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติการประมงนี ้ก็มีขอบเขตการ ควบคุมมลภาวะที่เกิดจากการทิ ้งเทเพียงที่จบั สัตว์นํ ้าเท่านัน้ (3.3) พระราชบัญญัติสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

358

นลิน ญาณสิริ. 2538. มาตรการทางกฎหมายไทยในการป้องกันและควบคุ มมลพิษทางทะเลตามอนุ สัญญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982: ศึกษากรณีอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์คณะนิติศาสตร์ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้ า 107. 359 อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 358, หน้ า 108.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


211

ตามที่ได้ กล่าวไว้ แล้ วข้ างต้ นว่าพระราชบัญญัติฉบับนี ้มีการกําหนดในเรื่ องของปล่อยนํ ้าเสียหรื อของ เสียลงสู่แหล่งนํ า้ สาธารณะ โดยอํานาจรั ฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอํานาจในการ ประกาศกํ าหนดประเภทของแหล่งกํ า เนิดมลพิษ ที่ จะต้ อ งถูกควบคุมการปล่อยนํ า้ เสียหรื อของเสียลงสู่แ หล่ง นํ า้ สาธารณะหรื อสูส่ งิ่ แวดล้ อมนอกแหล่งกําเนิดมลพิษให้ ไม่เกินมาตรฐานที่กําหนดไว้ และเมื่อแหล่งมลพิษใดถูกกําหนด โดยประกาศตามมาตรานี แ้ ล้ วส่ง ผลให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองแหล่งกํ า เนิดมลพิษนัน้ มี หน้ า ที่ที่จะต้ องทํา การ ก่อสร้ าง ติดตัง้ หรื อจัดให้ มีระบบบําบัดนํา้ เสียหรื อระบบกําจัดของเสียหรื อจัดส่งนํา้ เสียหรื อของเสียที่เกิดจากการ ดําเนินกิจการของตนไปทําการบําบัดในกรณีที่เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษไม่ได้ ทําการติดตังหรื ้ อไม่ ประสงค์ที่จะจัดให้ มีระบบบําบัดนํ า้ เสียหรื อระบบกํ าจัดของเสีย อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับนี ก้ ็มีขอบเขตเพียง ภายในทะเลอาณาเขตเท่านัน้ (3.4) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ตามที่ได้ กล่าวไปแล้ วว่ามาตรา 74 แห่งพระราชบัญญัติ ฉบับนี ้ได้ กําหนดให้ การประกอบกิจการปิ โตรเลียมจะต้ องไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบกระเทือนโดยปราศจากเหตุอนั สมควร ต่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเล แต่ก็ไม่ได้ กําหนดในเรื่ องของมลพิษทางทะเลที่เกิดจากการทิ ้งเทจากฐานขุด เจาะเอาไว้ จากการพิจารณากฎหมายภายในดังกล่าวแล้ วจะเห็นได้ ว่ายังมีข้อบกพร่ องหลายประการในส่วนที่ เกี่ยวข้ องกับภาวะมลพิษต่อสิง่ แวดล้ อมทางทะเลจากการทิ ้งเท (4) กฎหมายไทยที่เกี่ยวกับมลพิษจากเรื อที่ชกั ธงของรัฐไทย ตาม Article 211 2. แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดรัฐจะต้ องออก กฎหมายและข้ อบังคับเพื่อการป้องกัน การลด และการควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากเรื อซึ่งชักธง ของรัฐนัน้ หรื อที่จดทะเบียนกับรัฐนัน้ ซึง่ ในเรื่ องนี ้มีกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ (4.1) พระราชบัญญัติเรื อไทย พระพุทธศักราช 2481 กฎหมายฉบั บ นี ม้ ี ข้ อกํ า หนดเกี่ ย วกั บ หลัก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารในการจดทะเบี ย นเรื อ ไทย แต่ พระราชบัญญัติฉบับนี ้หาได้ มีการกําหนดในเรื่ องของการควบคุมสิง่ แวดล้ อมที่เกิดขึ ้นจากเรื อที่ชกั ธงของไทยไม่ (4.2) พระราชบัญญัตกิ ารเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ในการควบคุมเรื อธงของรัฐไทยนันพระราชบั ้ ญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ได้ กําหนดให้ เรื อทุกลําต้ องมีใบอนุญาตใช้ เรื อ ซึ่งก่อนที่จะได้ รับการอนุญาตนันเรื ้ อต้ องผ่านการตรวจสอบเรื่ องของ โครงสร้ าง อุปกรณ์ และคนประจําเรื อ โดยเจ้ าพนักงานตรวจเรื อ ซึ่งหลักเกณฑ์ในการตรวจเรื อต่างๆ เหล่านี ้จะเป็ น เรื่ องของความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล แต่ก็ไม่มีการกําหนดในเรื่ องของการรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล ซึง่ ก็สมควร ้ ่ องมือและ จะมีการกําหนดเอาไว้ เพื่อให้ สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฉบับนี ้ ยกตัวอย่างเช่น การกําหนดให้ เรื อต้ องติดตังเครื อุปกรณ์ ที่เหมาะสม ได้ แก่ ระบบติดตามและตรวจสอบการควบคุมการทิ ้งนํา้ มัน เครื่ องแยกนํา้ ออกจากนํา้ มันและ ระบบกรอง ต้ องติดตังถั ้ งอับเฉาแยกต่างหากจากถังบรรทุก เป็ นต้ น และนอกจากในเรื่ องของมาตรการก่อนที่จะออก ใบอนุญาตให้ ใช้ เรื อแล้ ว ยังต้ องพิจารณาถึงการดําเนินการในกรณี ที่มีการกระทําความผิดที่เกี่ยวกับการก่อให้ เกิด มลพิษทางทะเล ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี ้ก็ได้ มีการกําหนดมาตรการในการดําเนินการกับเรื อไทยที่กระทําความผิด ทังมาตรการทางอาญาในเรื ้ ่ องการกําหนดโทษแก่ผ้ กู ระทําความผิด การเรี ยกค่าเสียหาย การเพิกถอนใบอนุญาตเรื อ และใบทะเบียนเรื อต่างๆ แต่ขอบเขตของพระราชบัญญัติฉบับนี ้จํากัดอยู่เฉพาะในทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


212

เท่านัน้ ดังนัน้ หากมีการกระทําความผิดที่เกิดขึน้ ในเขตทะเลหลวงหรื อไหล่ทวีป ประเทศไทยก็ไม่สามารถเข้ าไป ควบคุมดูแลการกระทําดังกล่าวได้ (4.3) พระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช 2490 กฎหมายฉบับนี ้กําหนดห้ ามมิให้ มีการทิ ้งเท สิ่งต่างๆ ที่จะก่อให้ เกิดอันตรายต่อสัตว์นํ ้าในที่จบั สัตว์นํ ้าตามที่ได้ กล่าวถึงแล้ วข้ างต้ น แต่พระราชบัญญัติฉบับนี ้ก็ม่งุ ประสงค์เพื่อที่จะคุ้มครองที่จบั สัตว์นํ ้าเท่านัน้ ไม่ได้ มงุ่ ที่จะป้องกันมลภาวะทางทะเลที่เกิดขึ ้นจากเรื อที่ชกั ธงของไทย จากที่ได้ พิจารณากฎหมายทังสามฉบั ้ บดังที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น จะเห็นได้ ว่า ข้ อบกพร่ องของ กฎหมายภายในส่วนนี ้มีปัญหาร่วมกันกล่าวคือไม่มีกฎหมายฉบับใดที่กําหนดควบคุมเกี่ยวกับมลภาวะทางทะเลที่เกิด จากเรื อที่ชกั ธงของไทยไว้ โดยเฉพาะ ทําให้ ขอบเขตการควบคุมเรื อที่ชกั ธงของไทยในด้ านมลภาวะต่อสิ่งแวดล้ อมทาง ทะเลยังมีความจํากัดในเชิงพื ้นที่อยู่ (5) กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้ องกับมลพิษจากหรื อผ่านบรรยากาศ ตาม Article 212 1. แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดให้ รัฐต้ อง ออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากหรื อผ่านบรรยากาศ เพื่อที่จะใช้ บงั คับภายใต้ อํานาจอธิปไตยของรัฐนัน้ และแก่เรื อซึง่ ชักธงของรัฐนัน้ หรื อเรื อหรื ออากาศยานที่จดทะเบียน กับรัฐนัน้ ซึง่ ในเรื่ องนี ้มีกฎหมายภายในที่ เกี่ยวข้ องได้ แก่ (5.1) พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 (5.2) พระราชบัญญัติสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 (5.3) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พ.ศ. 2456 จากการศึกษากฎหมายทัง้ สามฉบับแล้ วพบว่า ยังไม่มีกฎหมายฉบับใดที่ ทํา การควบคุมมลพิษ ของ สิง่ แวดล้ อมทางทะเลจากหรื อผ่านบรรยากาศเอาไว้ โดยตรงทังสิ ้ ้น ในส่วนนี ้จึงเป็ นข้ อบกพร่องของกฎหมายภายในอีก เช่นเดียวกัน 6.2) มาตรการด้ านการป้องกันและควบคุมมลพิษทางทะเลในฐานะที่เป็ นรั ฐชายฝั่ ง ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 Article 220 ได้ กําหนดมาตรการที่รัฐ ชายฝั่ งอาจใช้ ได้ เพื่อบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งที่ออกตามอนุสญ ั ญานี ้ หรื อกฎเกณฑ์ และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับอยูเ่ พื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษจากเรื อที่ได้ เกิดขึ ้นในทะเลอาณา เขตและเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งซึง่ ได้ แก่ รัฐอาจดําเนินการตรวจตราทางกายภาพเกี่ยวกับการฝ่ าฝื นนันได้ ้ ในกรณี ที่มีเหตุเชื่อได้ ว่าเรื อที่ผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ งได้ ฝ่าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งที่ออก ตามอนุสญ ั ญานี ้ ทังนี ้ ้ตาม Article 220 2. และ Article 220 5. ของอนุสญ ั ญา ซึ่งกฎหมายไทยในปั จจุบนั ที่เกี่ยวข้ อง กับการควบคุมและตรวจสอบเรื อในส่วนนี ้ได้ แก่พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ซึ่ง กําหนดให้ อํานาจแก่กรมเจ้ าท่าสําหรับการขึน้ ไปบนเรื อที่ผ่านเข้ ามาในน่านนํา้ ไทย และสามารถทําการตรวจสอบ ใบอนุญาตได้ แต่อย่างไรก็ตามในส่วนของรายละเอียดว่าการตรวจสอบของกรมเจ้ าท่าดังกล่าวจะสามารถกระทําการ ตรวจสอบหรื อ ดํ า เนิ น การในเรื่ อ งอื่ น เพื่ อ ที่ จ ะป้ องกัน หรื อ ค้ น หาหลัก ฐานที่ เ กี่ ยวข้ อ งกับ การก่ อ ให้ เกิ ด มลพิษ ต่อ สิ่งแวดล้ อมทางทะเล เช่น การค้ น การตรวจตราเรื อและสินค้ าหรื อวัสดุที่ขน หรื อของเสียที่อยู่ในเรื อที่สงสัยว่าอาจจะ ก่อให้ เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลได้ ส่งผลให้ เจ้ าหน้ าที่ของกรมเจ้ าท่าอาจไม่สามารถดําเนินการดังกล่าวเพื่อ คุ้มครองสิง่ แวดล้ อมทางทะเลได้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


213

6.3) มาตรการด้ านการป้องกันและควบคุมมลพิษทางทะเลในฐานะรั ฐเจ้ าของธง ตาม Article ๒๑๗ แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดให้ รัฐจะต้ อง ออกกฎหมายเพื่อเป็ นการประกันว่าเรื อซึ่งชักธงของตนจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศ เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากเรื อดังกล่าว (Article 217 1.) และนอกจากนี ้ เรื อที่ ชักธงของรัฐใดหากได้ ทําการฝ่ าฝื นกฎเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศ เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษ ของสิ่งแวดล้ อมทางทะเล รัฐเจ้ าของธงจะต้ องจัดให้ มีการสอบสวนและดําเนินกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฝ่ าฝื น กฎเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศดังกล่าว ไม่ว่าการกระทํานัน้ จะได้ เกิดขึน้ ในที่ใดก็ตาม (Article 217 4.) อย่างไรก็ตามจากการพิจารณากฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องไม่วา่ จะเป็ นพระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระ พุท ธศัก ราช 2456 หรื อ พระราชบัญ ญัติ เ รื อ ไทย พระพุท ธศัก ราช 2590 ก็ ไ ม่มี บ ทบัญ ญัติ ที่ กํ า หนดควบคุม การ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากเรื อที่ชกั ธงของรัฐไทยโดยไม่คํานึงถึงเขตพื ้นที่ กล่าวคือ หากเป็ น การก่อให้ เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลที่ได้ กระทําลงในเขตทะเลหลวง ประเทศไทยก็ไม่สามารถที่จะ ดําเนินการทางกฎหมายกับเรื อที่ชกั ธงของไทยได้ ในส่วนนี ้จึงเป็ นข้ อบกพร่ องของกฎหมายภายในที่ไม่มีการควบคุม การก่อให้ เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้ อมทางทะเลเหนือเรื อที่ชกั ธงของรัฐไทย 6.4) มาตรการด้ านการป้องกันและควบคุมมลพิษทางทะเลในฐานะที่เป็ นรั ฐเจ้ าของท่ า นอกจากการป้องกันและควบคุมมลพิษทางทะเลในฐานะที่เป็ นรัฐชายฝั่ งและรัฐเจ้ าของธงแล้ ว รัฐยังมี หน้ าที่ในฐานะที่เป็ นรัฐเจ้ าของท่าอีกด้ วย ทังนี ้ ้ ตาม Article 218 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ซึ่งได้ กําหนดให้ รัฐอาจทําการสอบสวนและดําเนินกระบวนพิจารณาสําหรับการปล่อยทิ ้งใดๆ จากเรื อลงนอก น่านนํ ้าภายใน ทะเลอาณาเขต หรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐนัน้ ซึง่ เป็ นการฝ่ าฝื นกฎเกณฑ์และมาตรฐานระหว่าง ประเทศ ซึ่งอํานาจในการอํานาจตรวจสอบเรื อ และเอกสารเกี่ยวกับเรื อที่อาจจะนําของเสียไปทิ ้งเทหรื อปล่อยของ เสียลงในทะเล พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยฯ กําหนดให้ อํานาจเจ้ าท่าในการควบคุมเรื อที่เข้ าและออก เขตท่าเรื อ และเรื อที่เข้ าและออกเมืองท่าได้ โดยบังคับให้ เรื อต้ องรายงานการเข้ าออก ในกรณีที่เรื อออกนอกเขตท่าเรื อ เจ้ า ท่ า มี อํ า นาจตรวจสอบว่ า ปฏิ บัติ ถูก ต้ อ งตามกฎหมายหรื อ ไม่ หากไม่ ถูก ต้ อ งจะไม่ อ นุญ าตให้ อ อกเรื อ ก็ ไ ด้ นอกจากนี ้เจ้ าท่ายังมีอํานาจตรวจใบอนุญาตใช้ เรื อและใบสําคัญต่างๆ อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับนี ้มิได้ ให้ อํานาจ เจ้ า ท่า ในการตรวจสอบกรณี ที่ มีค วามสงสัย ว่า เรื อ อาจจะนํ า ของเสียไปทิ ง้ เทในทะเล และรายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ โครงสร้ าง อุปกรณ์และเครื่ องมือที่จําเป็ นในการขจัดมลพิษจากเรื อ ก็มิได้ กําหนดไว้ อย่างชัดเจน ดังนัน้ แม้ เจ้ าท่าตรวจ พบว่าอุปกรณ์และเครื่ องมือทางด้ านการแก้ ปัญหามลพิษจากเรื อ ยังไม่เพียงพอ เจ้ าท่าก็ไม่สามารถดําเนินการใดๆ ได้ เรื่ องนี ้จึงควรต้ องกําหนดมาตรฐานทางด้ านสิง่ แวดล้ อมของเรื อไว้ อย่างชัดเจนเพื่อให้ เจ้ าท่าสามารถใช้ อํานาจไม่ปล่อย เรื อหรื อกักเรื อไว้ ได้ หากเรื อไม่พร้ อมที่จะรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล360 4.1.2 กฎหมายระหว่างประเทศ 4.1.2.1 อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 1) วิ วฒ ั นาการและหลักการสําคัญของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 1.1) วิ วฒ ั นาการของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 360

นลิน ญาณสิริ, อ้ างอิงแล้ วเชิงอรรถที่ 258, หน้ า 119.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


214

กฎหมายทะเลเกิ ดขึน้ จากวิ วัฒนาการของการประสานประโยชน์ กันระหว่างรั ฐที่ ต้องการขยายเขต อํานาจเหนือเขตทางทะเลและรัฐที่ต้องการมีเสรี ภาพในการใช้ ทะเล โดยในปี ค.ศ. 1608 นักนิติศาสตร์ ชาวดัตช์ชื่อ Hugo Grotius ได้ เขียนหนังสือชื่อ Mare Liberum (Liberal Sea) เพื่อสนับสนุนแนวความคิดเรื่ องเสรี ภาพในทะเล โดยอ้ างว่าทะเลเป็ นเส้ นทางในการค้ าขายของนานาประเทศ ดังนัน้ รัฐใดรัฐหนึ่งจึงไม่อาจยึดถือเป็ นของตนได้ ต่อมา ในปี ค.ศ. 1635 นักนิติศาสตร์ ชาวอังกฤษชื่อ John Selden ก็ได้ เขียนหนังสือชื่อ Mare Clausum (Closed Sea) เพื่อ คัดค้ านความคิดเรื่ องเสรี ภาพในการใช้ ทะเลโดยให้ เหตุผลว่าทะเลก็เช่นเดียวกับแผ่นดิน สามารถยึดถือเอาได้ เพราะ เป็ นการใช้ สิทธิตามธรรมชาติ เนื่องจากขณะนัน้ ประเทศอังกฤษเริ่ มมีอิทธิพลทางทะเลมากขึ ้น โดยในการอ้ างสิทธิ เหนืออาณาเขตทางทะเลนันเริ ้ ่ มจากการใช้ ทฤษฎีประสิทธิผล (Effectiveness) กล่าวคือ เขตอํานาจของรัฐเหนือทะเล ขยายไปเท่าที่รัฐนันจะมี ้ ความสามารถหรื อประสิทธิภาพที่จะควบคุมทะเลได้ เช่น หลักกระสุนปื นใหญ่ (Cannon-Shot Rule) ซึ่งถือว่าเขตอํานาจของรัฐเหนือทะเลขยายไปถึงเขตที่กระสุนปื นใหญ่ยิงถึง แต่หลักนีม้ ีปัญหาตรงที่ความไม่ แน่นอนและความไม่เป็ นธรรมต่อรัฐบางรัฐ เพราะอํานาจของรัฐจะเปลี่ยนแปลงไปตามประสิทธิภาพของอาวุธ ทําให้ แนวปฏิบตั ิของรัฐในการอ้ างเขตอํานาจเหนืออาณาเขตทางทะเลมีความลักลัน่ กันโดยบางรัฐใช้ หลักประสิทธิผลแต่ บางรัฐใช้ วิธีกําหนดอาณาเขตทางทะเลโดยแน่นอนตายตัว เช่น 3 ไมล์ทะเล หรื อ 6 ไมล์ทะเล แต่อย่างไรก็ตาม รัฐส่วน ใหญ่ก็ยงั คงสนับสนุนหลักเสรี ภาพในการใช้ ทะเลอยู่ แนวความคิดเรื่ องการปิ ดทะเล (Mare Clausum) ได้ กลับมามีบทบาทอีกครัง้ เมื่อประธานาธิบดี Truman แห่งสหรัฐอเมริ กาประกาศขยายเขตอํานาจของรัฐเหนือทรัพยากรธรรมชาติบนไหล่ทวีป (Continental Shelf) และอ้ าง สิทธิ เหนื อเขตประมงในทะเลหลวงบางแห่ง ด้ ว ย ทํ าให้ รัฐชายฝั่ งในกลุ่มประเทศลาตินอเมริ กา เช่น ชิ ลี และเปรู ประกาศเขตอํานาจเหนือไหล่ทวีปรวมทังห้ ้ วงนํ ้าและผิวนํ ้า ซึง่ กระทบต่อการใช้ เสรี ภาพในการใช้ ทะเลโดยตรง การที่แนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการขยายเขตอํานาจทางทะเลของรัฐต่างๆ ยังมีความลักลัน่ กันโดยเฉพาะเรื่ อง ที่วา่ รัฐชายฝั่ งจะสามารถขยายเขตอํานาจของตนเหนือทะเลได้ ในระยะเท่าใด ทําให้ สหประชาชาติต้องพยายามหาข้ อ ยุติเกี่ยวกับเขตทางทะเลที่รัฐชายฝั่ งสามารถใช้ เขตอํานาจได้ และรวบรวมจารี ตประเพณีระหว่างประเทศว่าด้ วยการ ใช้ ทะเลให้ อยู่ในรู ปอนุสญ ั ญา โดยสมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ มอบหมายให้ คณะกรรมาธิ การกฎหมายระหว่าง ประเทศ (International Law Commission) เป็ นผู้ยกร่างอนุสญ ั ญาเกี่ยวกับกฎหมายทะเล และใน ค.ศ. 1982 สมัชชา แ ห่ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ไ ด้ มี ม ติ ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ พิ จ า ร ณ า ร่ า ง อ นุ สั ญ ญ า เ กี่ ย ว กั บ ก ฎ ห ม า ย ท ะ เ ล ที่คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศได้ ยกร่างขึ ้น โดยมีการจัดการประชุม 3 ครัง้ ตามลําดับ ดังนี ้ การประชุมสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ครัง้ ที่ 1 (The First United Nations Conference on the Law of the Sea – UNCLOS I) การประชุมได้ จดั ให้ มีขึ ้นระหว่างวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ถึง 27 เมษายน ค.ศ. 1958 ณ กรุงเจนีวา โดยมีรัฐที่เข้ าร่วมประชุม 86 รัฐ และองค์การระหว่างประเทศ ๗ องค์การ ได้ แก่ Food and Agriculture (FAO), International Civil Aviation Organization (ICAO), International Labor Organization (ILO), International Telecommunication Union (ITU), United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO), World Health Organization (WHO), World Meteorological Organization (WMO) ั ญา 4 ฉบับ ซึ่งเรี ยกกันว่า อนุสญ ั ญา ผลของการประชุมครัง้ นี ้ ที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้ ยอมรับอนุสญ กรุงเจนีวาว่าด้ วยกฎหมายทะเล ได้ แก่ (1) อนุสญ ั ญาว่าด้ วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง (2) อนุสญ ั ญาว่าด้ วยทะเลหลวง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


215

(3) อนุสญ ั ญาว่าด้ วยการทําประมงและการอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง (4) อนุสญ ั ญาว่าด้ วยไหล่ทวีป ประเทศไทยได้ ลงนามอนุสญ ั ญาทัง้ 4 ฉบับ เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2501 และได้ ส่งมอบสัตยาบัน สารต่อเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ซึ่งตามวรรคสองของข้ อ 29 ข้ อ 34 ข้ อ 18 และข้ อ 11 แห่งอนุสัญญาทัง้ 4 ฉบับ ดังกล่าวตามลําดับได้ ระบุว่าอนุสัญญาฯ จะมีผลใช้ บังคับต่อประเทศภาคีเมื่อครบ สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ มอบสัตยาบันสารให้ แก่เลขาธิ การสหประชาชาติ อนุสญ ั ญาทัง้ 4 ฉบับดังกล่าวจึงมีผลใช้ บังคับกับประเทศไทยตังแต่ ้ วนั ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2511 เป็ นต้ นไป การประชุมสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ครัง้ ที่ 2 (The Second United Nations Conference on the Law of the Sea – UNCLOS II) เนื่องจากอนุสญ ั ญาว่าด้ วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่องซึง่ เป็ นผลจาก การประชุมครัง้ ที่ 1 ที่ประชุมยังไม่สามารถตกลงกันได้ เกี่ยวกับเรื่ องการกําหนดความกว้ างของทะเลอาณาเขตและเขต ประมง ดังนัน้ องค์การสหประชาชาติจึงจัดให้ มีการประชุมกฎหมายทะเลครัง้ ที่ 2 ขึ ้นระหว่างวันที่ 7 มีนาคม ถึง 26 เมษายน ค.ศ. 1960 โดยมีรัฐที่เข้ าร่ วมประชุม 88 รัฐ และองค์การระหว่างประเทศ 7 องค์การ ได้ แก่ FAO , ICAO, ILO, ITU, WHO, WMO และ International Maritime Organization (IMO) โดยที่ประชุมเสนอให้ กําหนดความกว้ าง ของทะเลอาณาเขตเป็ น 6 ไมล์ ทะเล และเขตทําประมงต่อไปอีก 6 ไมล์ทะเล แต่ข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ รับความ เห็นชอบสองในสามของที่ประชุม ข้ อเสนอดังกล่าวจึงตกไป และการประชุมในครัง้ นี ้ถือว่าล้ มเหลว การประชุมสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ครัง้ ที่ 3 (The Third United Nations Conference on the Law of the Sea – UNCLOS III) การประชุมได้ เริ่ มขึ ้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1973 และเสร็จสิ ้นเมื่อมีการลง นามรั บรองตัวบทอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 รวม 11 สมัย ประชุม โดยมีรัฐที่เข้ าร่ วมประชุม 144 รัฐ และองค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ เช่น FAO , ICAO, ILO, UNESCO, WHO, World Bank และทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency - IAEA) โดยความยืดเยื ้อของการประชุมในครัง้ นี ้มีสาเหตุสําคัญ ๓ ประการ คือ (1) ในช่วง ค.ศ. 1960 มีการค้ นพบก้ อนแร่ แมงกานีส (Manganese Nodules)ซึ่งมีส่วนผสมของ แมงกานีส ทองแดง นิคเกิล และโคบอลต์ อันเป็ นโลหะที่มีความสําคัญมากต่ออุตสาหกรรม และก้ อนแร่ ชนิดอื่นอีก จํานวนมากบนพื ้นทะเลที่อยู่นอกเขตอํานาจแห่งรัฐ (National Jurisdiction) ของรัฐชายฝั่ ง ทําให้ กลุม่ ประเทศด้ อย พัฒนาเห็นว่า หากปล่อยให้ ประเทศที่พฒ ั นาแล้ วนําแร่ ดงั กล่าวมาใช้ โดยเสรี จะทําให้ เกิดความไม่เป็ นธรรมแก่ตน ดังนัน้ ใน ค.ศ. 1967 ศาสตราจารย์ Avid Pardo แห่ง Malta จึงเสนอในที่ ประชุมสหประชาชาติให้ ถือว่า ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต บนพื น้ ทะเลนอกเขตอํ า นาจแห่ ง รั ฐ เป็ น “มรดกร่ ว มของมนุษ ยชาติ ” (Common Heritage of Mandkind) กล่าวคือ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตบนพื ้นทะเลนอกเขตอํานาแห่งรัฐต้ องเป็ นไป เพื่อประโยชน์ ของรัฐทุกรัฐ โดยให้ มีองค์กรกลาง เรี ยกว่า “องค์กรพื ้นดินท้ องทะเลระหว่างประเทศ” (International Sea-bed Authority) เป็ นผู้ควบคุมการใช้ ทรัพยากรดังกล่าวให้ เป็ นไปเพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติร่วมกัน (2) การประชุมครัง้ นี แ้ ตกต่างจากการประชุมในครัง้ ก่อนๆ ตรงที่สมัชชาแห่งสหประชาชาติมิได้ ั ญาฯแต่ได้ พิจารณาร่ วมกันโดยสมาชิก มอบหมายให้ คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศเป็ นผู้ยกร่ างอนุสญ ของสหประชาชาติ จึงทําให้ ต้องใช้ เวลาในการพิจารณานาน (3) เนื่องจากอนุสญ ั ญานี ้ไม่เปิ ดโอกาสให้ มีการตังข้ ้ อสงวน (Reservation) ไม่ว่าข้ อหนึ่งข้ อใด จึง ทําให้ การเจรจายืดเยื ้อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


216

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (ซึ่งต่อไปในรายงานการศึกษาวิจัยนี จ้ ะ เรี ยกว่า “อนุสญ ั ญาฯ”) ได้ เปิ ดให้ มีการลงนามและให้ สตั ยาบันระหว่งวันที่ 6 ถึงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 ที่กรุ ง มอนเตโกเบ ประเทศจาไมกา และจะมี ผ ลบัง คับ ใช้ เ มื่ อ ครบ 12 เดื อ นหลัง จากที่ มี ก ารมอบสัต ยาบัน สารให้ กับ เลขาธิ ก ารสหประชาชาติ ค รบ 60 สัต ยาบัน สารแล้ ว ซึ่ง ปั จ จุบัน อนุสัญ ญาฯ มี ผ ลใช้ บัง คับ แล้ ว ตัง้ แต่ วัน ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 และปั จจุบนั มีประเทศที่เป็ นภาคีทงสิ ั ้ ้น 153 ประเทศ361 โดยประเทศไทยได้ ลงนามใน อนุสญ ั ญาฯ แต่ยงั มิได้ ให้ สตั ยาบันแต่อย่างใด เนื่องจากอนุสญ ั ญาฯ ได้ รวบรวมเอาเนื ้อหาในอนุสญ ั ญาเจนีวาว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ทัง้ 4 ฉบับ ไว้ ด้วย จึงเป็ นเรื่ องของการบังคับใช้ สนธิ สญ ั ญาที่สืบเนื่องกันอันเกี่ยวข้ องกับเนือ้ หาเดียวกันตามข้ อ 30 แห่ง อนุสญ ั ญากรุ งเวียนนาว่าด้ วยกฎหมายสนธิสญ ั ญา ค.ศ. 1969 และสนธิสญ ั ญาทังสองต่ ้ างก็เป็ นสนธิสญ ั ญาทัว่ ไป เช่ น กัน กล่า วคื อ เป็ นสนธิ สัญ ญาที่ ว างกฎเกณฑ์ ข องกฎหมายระหว่า งประเทศเกี่ ย วกับ สิท ธิ หน้ า ที่ และความ รั บ ผิด ชอบของรั ฐ เกี่ ยวกับ การใช้ ท ะเล ดัง นัน้ จึง เป็ นเรื่ อ งของการใช้ บัง คับ สนธิ สัญ ญาใหม่ (อนุสัญ ญาฯ) และ สนธิ สัญ ญาเก่ า (อนุสัญ ญาเจนี ว าว่า ด้ ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ทัง้ 4 ฉบับ ) ซึ่ง ข้ อ 311 362 วรรคหนึ่ง ของ อนุสญ ั ญาฯ บัญญัติให้ ใช้ บงั คับอนุสญ ั ญาฯ เหนืออนุสญ ั ญาเจนีวาว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ทัง้ 4 ฉบับ ใน ระหว่างรัฐภาคีของอนุสญ ั ญาฯ 1.2) หลักการสําคัญของอนุสญ ั ญาฯ อนุสญ ั ญาฯ มีบทบัญญัติจํานวน 320 ข้ อ และ 9 ภาคผนวก (Annexes) โดยได้ วางหลักกฎหมาย ระหว่างประเทศเกี่ยวกับทะเลใน 2 เรื่ อง คือ อํานาจหน้ าที่และสิทธิในอาณาเขตทางทะเลต่างๆ และกิจกรรมทางทะเล โดยมุ่งเน้ นในเรื่ องของเศรษฐกิจระหว่างประเทศมากกว่าเรื่ องอํานาจของรัฐเหนืออาณาเขตทางทะเล นอกจากนี ้ ยัง มุ่งเน้ นในเรื่ องการปฏิบตั ิการต่างๆ เช่น การค้ นคว้ าวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลและการทําเหมืองแร่ ใต้ ทะเล โดยมี บทบัญญัติทงที ั ้ ่เหมือนอนุสญ ั ญาเจนีวาว่าด้ วยกฎหมายทะเลกับที่เปลี่ยนแปลงและกําหนดขึ ้นใหม่ โดยเริ่ มด้ วยบทนํา ซึ่งกล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทําอนุสญ ั ญาฯ ว่า เพื่อธํ ารงไว้ ซึ่งสันติภาพ ความยุติธรรม และความก้ าวหน้ าของ ประชาชนทังปวงในโลก ้ ก่อนจะเริ่มที่ภาค 1 ด้ วยการกําหนดคํานิยามและขอบเขต ของบทบัญญัติในอนุสญ ั ญาฯ เนื ้อหาของอนุสญ ั ญาฯ นอกจากได้ แก้ ไขเปลี่ยนแปลงการกําหนดอํานาจหน้ าที่และสิทธิของรัฐต่างๆ ใน อาณาเขตทางทะเล ตามที่กําหนดไว้ ในอนุสญ ั ญาเจนีวาว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ทัง้ 4 ฉบับ ได้ แก่ เรื่ องทะเล อาณาเขต เขตต่อเนื่อง ทะเลหลวง การทําประมงและการอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง และไหล่ทวีป แล้ วยัง ได้ มีการเพิ่มหลักกฎหมายทะเลใหม่ๆ ด้ วย โดยหลักกฎหมายทะเลที่สําคัญที่บญ ั ญัติเพิ่มเติมขึน้ มาในอนุสญ ั ญานี ้ ได้ แก่ (1) ระบบกฎหมายของรัฐหมูเ่ กาะ (ภาค 4) (2) เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (ภาค 5) 361

Status of the United Nations Convention on the Law of the Sea, of the Agreement for the Implementation of the Provisions of the United nations Convention on the Law of the Sea of 10 December 1982 relating to the Conservation and Management of Straddling Fish Stocks and Highly Migratory Fish Stocks, <http://www.un.org/Dept/los/convention_ agreements/texts/unclos> 362 ข้ อ 311 วรรคหนึง่ “This Convention shall prevail, as between States Parties, over the Geneva Convention on the Law of the Sea of 29 April 1958.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


217

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10)

ขอบเขตใหม่ของไหล่ทวีป (ภาค 6) ทะเลปิ ดหรื อกึง่ ปิ ด (ภาค 9) สิทธิของรัฐไร้ ฝั่งทะเล (ภาค 10) การสํารวจและการแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติใน “บริเวณพื ้นที่” (the Area) (ภาค 11) การคุ้มครองและการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล (ภาค 12) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล (ภาค 13) การพัฒนาและการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางทะเล (ภาค 14) การระงับข้ อพิพาท (ภาค 15)

2) สิ ทธิ หน้าที ่ เสรี ภาพ และเขตอํานาจของรัฐในอาณาเขตทางทะเลต่างๆ 2.1) น่านนํ ้าภายใน(Internal Waters) (1) ความหมายของน่านนํ ้าภายใน น่านนํ า้ ภายใน คือ น่านนํา้ ทางด้ านแผ่นดินของเส้ นฐาน363 (baselines) แห่งทะเลอาณาเขต (อนุ สัญญาฯ ข้ อ 8 วรรคหนึ่ง) เช่น อ่าว แม่นํ ้า ปากแม่นํ ้า ทะเลสาบ เป็ นต้ น แต่ในกรณีของรัฐหมู่เกาะ364 (Archipelagic States) น่านนํ ้าที่อยู่ภายใน “เส้ นฐานหมู่เกาะ” (Straight Archipelagic Baselines) เรี ยกว่า “น่านนํ ้าหมู่เกาะ” (Archipelagic Waters) อย่างไรก็ดี รัฐหมู่เกาะอาจลากเส้ นปิ ด (Closing Lines) ภายในน่านนํ ้าหมู่เกาะนัน้ เช่น ั ญาฯ ข้ อ ลากเส้ นปิ ดปากอ่าวที่เกาะใดเกาะหนึ่งในน่านนํ ้าหมู่เกาะ เพื่อกําหนดเขตน่านนํ ้าภายในของตนได้ (อนุสญ 50) 363

ในการกําหนดเขตทางทะเลของรัฐชายฝั่ งและการใช้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือเขตทางทะเล รัฐชายฝั่ งต้ องกําหนดเส้ นฐาน เพื่อเป็ นจุดเริ่ มต้ นในการกําหนดความกว้ างของเขตทางทะเลต่างๆ ปั จจุบนั เส้ นฐานจําแนกได้ เป็ น 3 ประเภท คือ ๑. เส้ นฐานปกติ (Normal Baselines) ได้ แก่ เส้ นแนวนํ ้าลดตลอดฝั่ ง (Low-Water Line) ตามที่ได้ หมายไว้ ในแผนที่ซงึ่ ใช้ มาตราส่วนที่รัฐชายฝั่ งยอมรับนับถือเป็ นทางการ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 5) ๒. เส้ นฐานตรง (Straight Baselines) ได้ แก่ เส้ นฐานที่ลากตามแนวทัว่ ไปของชายฝั่ ง ใช้ ในกรณีที่ชายฝั่ งของรัฐมีลกั ษณะ เว้ าแหว่งและตัดลึกเข้ ามามากหรื อมีแนวเกาะเรี ยงรายในบริ เวณประชิดติดกันกับบริ เวณชายฝั่ งทะเล รัฐชายฝั่ งอาจนําวิธีการลากเส้ นฐาน ตรงเชื่อมต่อจุดที่เหมาะสม เช่น จุดนอกสุดของแนวเกาะเหล่านันได้ ้ แต่รัฐมิอาจนําระบบเส้ นฐานตรงมาใช้ ในลักษณะเช่นที่จะปิ ดกันทะเล ้ อาณาเขตของรัฐหนึง่ จากทะเลหลวงหรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 7) ๓. เส้ นฐานหมู่เกาะ (Straight Archipelagic Baselines) ได้ แก่ การลากเส้ นตรงเชื่อมต่อจุดนอกสุดของเกาะที่ตงอยู ั ้ ่นอกสุด กับโขดหินที่โผล่พ้นนํ ้าของหมูเ่ กาะ โดยมีเงื่อนไขว่าภายในเส้ นฐานนันจะต้ ้ องรวมเกาะใหญ่และบริ เวณที่ซงึ่ อัตราส่วนของบริ เวณที่เป็ นพื ้น นํ ้าต่อบริ เวณที่เป็ นพื ้นแผ่นดินรวมทังเกาะปะการั ้ ง อยู่ในระหว่างอัตรา 1 ต่อ 1 และ 9 ต่อ 1 โดยความยาวของเส้ นฐานหมู่เกาะจะต้ องไม่ เกิน 100 ไมล์ทะเล ยกเว้ นไม่เกิน 3 เปอร์ เซนต์ของจํานวนทังหมดของเส้ ้ นฐานที่ปิดล้ อมหมู่เกาะใดๆ อาจเกินความยาวนันได้ ้ จนกระทัง่ ถึง ความยาวมากที่สดุ เพียง 125 ไมล์ทะเล แต่อย่างไรก็ตาม การลากเส้ นฐานดังกล่าวจะต้ องไม่หนั เหไปมากจนเกินสมควรจากรู ปลักษณ์ ทัว่ ไปของหมูเ่ กาะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 47) นอกจากนี ้ หากแม่นํ ้าใดไหลลงสู่ทะเลโดยตรง ให้ เส้ นตรงซึง่ ลากตัดปากแม่นํ ้าระหว่างจุดบนเส้ นแนวนํ ้าลดของตลิ่งเป็ นเส้ นฐาน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 9) 364 อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 46 ได้ กําหนดความหมายของคําว่า “รัฐหมูเ่ กาะ” และ “หมูเ่ กาะ” ไว้ ดงั นี ้ “รัฐหมูเ่ กาะ” หมายถึง รัฐซึง่ ประกอบทังหมดด้ ้ วยหมูเ่ กาะหนึง่ หรื อมากกว่า และอาจรวมถึงเกาะอื่นๆ ด้ วย “หมู่เกาะ” หมายถึง กลุ่มของเกาะ รวมทังส่ ้ วนต่างๆ ของเกาะ น่านนํ ้าที่เชื่อมติดต่อระหว่างกัน และลักษณะทางธรรมชาติอื่น ซึง่ เกี่ยวพันกันอย่างใกล้ ชิดจนกระทัง่ เกาะ น่านนํ ้า และลักษณะทางธรรมชาติอื่นเช่นว่านันประกอบกั ้ นขึ ้นเป็ นองคภาวะทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และการเมืองอันหนึง่ อันเดียวกัน หรื อซึง่ ตามประวัติศาสตร์ ถือกันว่าเป็ นเช่นนัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


218

(2) สิทธิ หน้ าที่ และเขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือน่านนํ ้าภายใน รัฐชายฝั่ งย่อมมีอํานาจอธิปไตย (Sovereignty) เหนือน่านนํ ้าภายใน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 2) ในทํานอง เดียวกับที่รัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดน (Territory) ดังนัน้ หากเรื อต่างชาติหรื ออากาศยานต่างชาติจะผ่าน เข้ ามาในเขตน่านนํ ้าภายในของรัฐชายฝั่ งเรื อต่างชาติหรื ออากาศยานต่างชาตินนจะต้ ั ้ องขออนุญาตรัฐชายฝั่ งก่อน ซึง่ กรณีจะต่างกับการที่เรื อต่างชาติจะแล่นผ่านทะเลอาณาเขต (Territorial sea) ของรัฐชายฝั่ ง ซึง่ ถึงแม้ รัฐชายฝั่ งจะมี อํานาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขต แต่เรื อต่างชาติก็สามารถใช้ สิทธิผ่านโดยสุจริ ต (Innocent Passage) ผ่านทะเล อาณาเขตได้ ในขณะที่เรื อต่างชาติไม่สามารถใช้ สทิ ธิผา่ นโดยสุจริตในเขตน่านนํ ้าภายในของรัฐได้ (๓) สิทธิและหน้ าที่ของรัฐอื่นในน่านนํ ้าภายใน โดยปกติแล้ ว เรื อต่างชาติที่จะใช้ ท่าเรื อของรัฐชายฝั่ งมักจะต้ องผ่านเข้ าไปในน่านนํ ้าภายในของรัฐ ชายฝั่ ง ซึ่งตามกฎหมายจารี ตประเพณี ระหว่างประเทศแล้ ว รัฐชายฝั่ งจะยอมให้ เรื อต่างชาติโดยเฉพาะเรื อสินค้ า สามารถใช้ ท่าเรื อของรัฐชายฝั่ งได้ ภายในกฎหมายที่รัฐชายฝั่ งกําหนดตามหลักแห่งการต่างตอบแทน แต่ในกรณีของ เรื อรบและอากาศยานต่างชาตินนั ้ จะต้ องได้ รับอนุญาตจากรัฐชายฝั่ งก่อนจึงจะผ่านเข้ าไปในน่านนํ ้าภายในของรัฐ ชายฝั่ งได้ เว้ นแต่จะมีสนธิสญ ั ญาหรื อความตกลงเป็ นอย่างอื่นระหว่างรัฐชายฝั่ งกับรัฐสัญชาติของเรื อรบหรื ออากาศ ยาน อย่างไรก็ดี ในกรณีที่เรื อต่างชาติมีเหตุที่จะต้ องเข้ าไปในน่านนํ ้าภายในของรัฐชายฝั่ งเพราะเกิดทุกข ภัย (Distress) ทางทะเลแก่เรื อต่างชาตินนั ้ หรื อเพราะเหตุสดุ วิสยั (Force Majeure) เช่น พายุ เรื อต่างชาติดงั กล่าวก็ อาจเข้ าไปในน่านนํ ้าภายในของรัฐชายฝั่ งได้ โดยมิต้องขออนุญาตจากรัฐชายฝั่ งก่อน ในกรณีที่การลากเส้ นฐานตรง (Straight Baselines) ของรัฐชายฝั่ งมีผลทําให้ บริ เวณทะเลอาณาเขต ้ เดิมของรัฐชายฝั่ งต้ องกลายเป็ นน่านนํ ้าภายใน เรื อต่างชาติยงั คงมีสิทธิ ผ่านโดยสุจริ ตในน่านนํ ้าภายในเช่นว่านันได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 8 (2)) หรื อในกรณีการลากเส้ นฐานตรงในช่องแคบเป็ นผลทําให้ บริเวณที่ไม่เคยเป็ นน่านนํ ้าภายในมา ก่อนต้ องกลายเป็ นน่านนํ ้าภายในเพราะเหตุที่มีการลากเส้ นฐานตรงนัน้ เรื อต่างชาติก็ยงั มีสิทธิผ่านช่องแคบ (Transit Passage) (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 35 (เอ)) 2.2) ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) (1) ความกว้ างของทะเลอาณาเขต รัฐทุกรัฐมีสิทธิกําหนดความกว้ างของทะเลอาณาเขตของตนได้ จนถึงขอบเขตหนึ่งซึง่ ไม่เกิน 12 ไมล์ ทะเล โดยวัดจากเส้ นฐาน (Baselines) ที่กําหนดขึ ้นตามอนุสญ ั ญาฯ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 3) ในกรณีที่ฝั่งทะเลของรัฐสอง ้ อมไม่มีสิทธิ รัฐอยู่ตรงข้ ามกันหรื อประชิดกัน ถ้ าไม่มีความตกลงระหว่างกันเป็ นอย่างอื่น รัฐใดรัฐหนึ่งของสองรัฐนันย่ จะขยายทะเลอาณาเขตของตนเลยเส้ นมัธยะ ซึง่ จุดทุกจุดบนเส้ นมัธยะนันมี ้ ระยะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ ที่สดุ บนเส้ น ้ ละรัฐ อย่างไรก็ดี กรณีดงั กล่าวข้ างต้ นมิให้ ใช้ บงั คับแก่ ฐานซึ่งใช้ วดั ความกว้ างของทะเลอาณาเขตของรัฐทังสองแต่ กรณี ที่มีความจําเป็ นอันเนื่องมาจากเหตุผลแห่งสิทธิ ทางประวัติศาสตร์ หรื อสภาวการณ์ พิเศษอย่างอื่นในอันที่จะ กําหนดขอบเขตของทะเลอาณาเขตของรัฐทังสองในลั ้ กษณะที่แตกต่างไป (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 15) (2) สิทธิ หน้ าที่ และเขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือทะเลอาณาเขต รัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิ ปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน ซึ่งหมายความรวมถึงอํานาจอธิ ปไตยใน ห้ วงอากาศ (Air Space) เหนือทะเลอาณาเขต และอํานาจอธิปไตยเหนือพื ้นดินท้ องทะเล (Sea-Bed) และดินใต้ ผิว ดิน (Subsoil) แห่งทะเลอาณาเขตด้ วย (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 2 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง) โดยมีข้อยกเว้ นในการใช้ อํานาจ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


219

อธิปไตยของรัฐชายฝั่ งเหนือทะเลอาณาเขต คือ “การใช้ สิทธิการผ่านโดยสุจริ ต” (Right of Innocent Passage) ของ เรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 17) (2.1) สิทธิของรัฐชายฝั่ ง (2.1.1) โดยสอดคล้ องกับบทบัญญัติของอนุสญ ั ญาฯ และหลักเกณฑ์อื่นๆ ของกฎหมายระหว่าง ประเทศ รัฐชายฝั่ งอาจออกกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการผ่านโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขตในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่ อง ดังต่อไปนี ้ทังหมดหรื ้ อบางส่วนได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 21 วรรคหนึง่ ) - ความปลอดภัยในการเดินเรื อและข้ อบังคับในการจราจรทางทะเล - การคุ้มครองเครื่ องหมายช่วยในการเดินเรื อและสิ่งอํานวยความสะดวกในการเดินเรื อ ้ ่น ๆ รวมทังสิ ้ ง่ อํานวยความสะดวกหรื อสิง่ ติดตังอื - การคุ้มครองสายเคเบิ ้ลและท่อ - การอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเล - การป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายหรื อข้ อบังคับเกี่ยวกับการประมงของรัฐชายฝั่ ง - การรักษาสิง่ แวดล้ อมของรัฐชายฝั่ งและการป้องกัน การลด และการควบคุมภาวะมลพิษ ที่มีตอ่ สิง่ แวดล้ อม - การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล (marine scientific research) และการสํารวจทางอุทก ศาสตร์ (hydrographic surveys) - การป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งเกี่ยวกับศุลกากร การคลัง การ เข้ าเมือง หรื อการสุขาภิบาล อย่างไรก็ดี กฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งดังกล่าวจะต้ องไม่ใช้ บงั คับแก่การออกแบบ การ ต่อเรื อ การจัดบุคลากร หรื ออุปกรณ์ ของเรื อต่างชาติ เว้ นแต่จะเป็ นการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์หรื อมาตรฐานระหว่าง ประเทศซึ่งเป็ นที่ยอมรั บกันโดยทั่วไป ทัง้ นี ้ รัฐชายฝั่ งจะต้ องเผยแพร่ กฎหมายและข้ อบังคับดังกล่าวให้ ทราบตาม สมควร (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 21 วรรคสอง และวรรคสาม) (2.1.2) ในกรณีที่จําเป็ นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรื อ รัฐชายฝั่ งอาจกําหนดให้ เรื อต่างชาติ ที่กําลังใช้ สิทธิ การผ่านโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขตของตนใช้ ช่องทางทะเล (Sea Lane) และแผนแบ่งแนวจราจร (Traffic Separation Schemes) ตามที่ตนอาจกําหนดหรื อจัดเพื่อควบคุมการผ่านของเรื อต่างชาติ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง เรื อบรรทุกนํ า้ มัน (Tankers) เรื อพลังนิวเคลียร์ และเรื อบรรทุกสารหรื อวัสดุนิวเคลียร์ หรื อสารหรื อ วัสดุที่โดย ลักษณะเป็ นอันตรายหรื อเป็ นพิษอื่นใด อาจถูกกําหนดให้ ใช้ ช่องทางทะเลในการผ่าน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 22 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง) ในการกําหนดช่องทางทะเลและการจัดแผนแบ่งแนวจราจรดังกล่าวข้ างต้ น รัฐชายฝั่ งต้ องพิจารณา ถึง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 22 วรรคสาม) - ข้ อเสนอแนะขององค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ - ร่องนํ ้าที่ใช้ ในการเดินเรื อระหว่างประเทศมาจนเป็ นจารี ตประเพณี - ลักษณะพิเศษของเรื อและร่องนํ ้า และ - ความคับคัง่ ของการจราจร

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


220

รัฐชายฝั่ งจะต้ องแสดงช่องทางทะเลและแผนแบ่งแนวจราจรดังกล่าวให้ ชดั แจ้ งบนแผนที่ ซึง่ จะต้ อง เผยแพร่ให้ ทราบตามสมควร (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 22 วรรคสี่) (2.1.3) รัฐชายฝั่ งอาจดําเนินขันตอนที ้ ่จําเป็ นในทะเลอาณาเขตของตนเพื่อป้องกันการผ่านที่ไม่ สุจริ ต โดยในกรณี ของเรื อที่แล่นมายังน่านนํ า้ ภายในหรื อแวะจอด ณ ที่อํานวยความสะดวกของท่าเรื อซึ่งอยู่นอก น่านนํ า้ ภายใน รัฐชายฝั่ งมีสิทธิ ที่จะดําเนินขัน้ ตอนที่จําเป็ นเพื่อป้องกันการผิดเงื่ อนไขใดๆ ในการอนุญาตให้ เรื อ เหล่านัน้ เข้ าสู่น่านนํ า้ ภายในหรื อแวะจอดดังกล่าวด้ วย นอกจากนี ้ รัฐชายฝั่ งอาจระงับการผ่านโดยสุจริ ตของเรื อ ต่างชาติในบริ เวณที่ระบุไว้ ในทะเลอาณาเขตของตนไว้ ชวั่ คราว หากการระงับเช่นว่านันจํ ้ าเป็ นเพื่อการคุ้มครองความ มัน่ คงของตนรวมทังการฝึ ้ กอาวุธ แต่การระงับดังกล่าวต้ องไม่เป็ นการเลือกปฏิบตั ิ โดยนิตินยั หรื อโดยพฤตินยั ระหว่าง ้ ้ การระงับดังกล่าวจะมีผลต่อเมื่อได้ ประกาศให้ ทราบตามสมควรแล้ วเท่านัน้ (อนุสญ ั ญาฯ เรื อต่างชาติด้วยกัน ทังนี ข้ อ 25) (2.1.4) โดยปกติรัฐชายฝั่ งไม่สามารถเรี ยกเก็บค่าภาระจากเรื อต่างชาติโดยเหตุเพียงการผ่านทะเล อาณาเขตของเรื อเหล่านัน้ ได้ แต่สามารถเรี ยกเก็บค่าภาระจากเรื อต่างชาติที่ผ่านทะเลอาณาเขตได้ ในฐานะเป็ น ั ญาฯ ข้ อ 26) ค่าบริการเฉพาะอย่างที่ได้ ให้ แก่เรื อ โดยค่าภาระเหล่านี ้จะต้ องเรี ยกเก็บโดยไม่มีการเลือกปฎิบตั ิ (อนุสญ (2.2) หน้ าที่ของรัฐชายฝั่ ง รัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่ขดั ขวางการผ่านโดยสุจริ ตของเรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขต เว้ นแต่จะเป็ นไป ั ญาฯ หรื อกฎหมายหรื อข้ อบังคับใดๆ ที่ออกตาม ตามบทบัญญัติในอนุสญ ั ญาฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการใช้ อนุสญ ความในอนุสญ ั ญาฯ โดยรัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่กระทําการดังต่อไปนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 24 วรรคหนึง่ ) - วางข้ อกําหนดสําหรับเรื อต่างชาติซึ่งมีผลในทางปฏิบตั ิเป็ นการปฏิเสธหรื อทําให้ เสียสิทธิ การผ่านโดยสุจริต หรื อ - เลือกประติบตั ิโดยนิตินยั หรื อโดยพฤตินยั ต่อเรื อของรัฐใดหรื อเรื อบรรทุกสินค้ าไปยังหรื อ มาจากหรื อในนามของรัฐใด นอกจากนี ้ รัฐชายฝั่ งจะต้ องเผยแพร่ ให้ ทราบตามความเหมาะสมถึงอันตรายต่อการเดินเรื อที่ตน ทราบภายในทะเลอาณาเขตของตน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 24 วรรคสอง) (2.3) เขตอํานาจทางอาญาในเรื อต่างชาติ โดยปกติเขตอํานาจทางอาญาเหนือการกระทําบนเรื อต่างชาติจะตกแก่รัฐเจ้ าของสัญชาติหรื อรัฐ เจ้ าของธง (Flag State) ของเรื อนัน้ ดังนัน้ โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศแล้ ว รัฐชายฝั่ งไม่อาจใช้ อํานาจทาง กฎหมายอาญา เพื่อจับกุมบุคคลใด หรื อสอบสวนกระทําความผิดอาญาใด ซึง่ ได้ กระทําขึ ้นบนเรื อต่างชาติในขณะที่ เรื อนันใช้ ้ สิทธิการผ่านโดยสุจริ ตเข้ ามาในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ งได้ เว้ นแต่ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 27 วรรคหนึง่ ) - ถ้ าผลแห่งการกระทําความผิดทางอาญานันขยายไปถึ ้ งรัฐชายฝั่ ง เช่น ในกรณีที่บคุ คลผู้ ั ชาติของรัฐชายฝั่ ง หรื อทรัพย์สนิ ที่เสียหายเป็ นของบุคคลที่อยูบ่ นรัฐชายฝั่ ง ได้ รับความเสียหายมีสญ - ถ้ าความผิดทางอาญานันกระทบกระเทื ้ อนต่อความสงบสุขของรัฐชายฝั่ งหรื อความสงบ เรี ย บร้ อยอัน ดี ข องทะเลอาณาเขต กรณี นี ข้ ึ น้ อยู่กับ บทบัญ ญั ติ ข องกฎหมายในแต่ล ะรั ฐ ว่า จะถื อ ว่า ความผิ ด ใด กระทบกระเทื อนต่อความสงบเรี ยบร้ อยต่อรั ฐของตน รัฐบางรั ฐอาจจะถื อว่าความผิดประเภทอาญาแผ่นดินเป็ น ความผิดที่กระทบกระเทือนต่อความสงบเรี ยบร้ อยของตน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


221

- ถ้ านายเรื อ หรื อเจ้ าหน้ าที่การทูต หรื อเจ้ าหน้ าที่กงสุลของรัฐเจ้ าของธงได้ ร้องขอความ ช่วยเหลือจากเจ้ าหน้ าที่ของรัฐชายฝั่ ง หรื อ - ถ้ ามาตรการเช่นว่านันจํ ้ าเป็ นสําหรับการปราบปรามการลักลอบค้ ายาเสพติด (Narcotic ั ญาฯ ข้ อ 27 (1)) Drugs) หรื อวัตถุออกฤทธิ์ตอ่ จิตประสาท (Psychotropic Substances) (อนุสญ อย่างไรก็ดี รัฐชายฝั่ งไม่อาจกระทําการจับกุม หรื อดําเนินคดีต่อบุคคลใดบนเรื อต่างชาติ หาก บุคคลนันได้ ้ กระทําความผิดก่อนที่เรื อนันจะจะใช้ ้ สิทธิการผ่านโดยสุจริ ตเข้ ามาในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง และ ้ เรื อนันมิ ้ ได้ เข้ าไปในท่าเรื อ หรื อน่านนํ ้าภายในของรัฐชายฝั่ ง เว้ นแต่การกระทําความผิดนอกเขตทะเลอาณาเขตนันจะ เป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมายของรั ฐ ชายฝั่ งเกี่ ย วกั บ การคุ้ มครองสภาพแวดล้ อม หรื อเกี่ ย วกั บ การคุ้ มครอง ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ทรัพยากรประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 27 (5)) (2.4) เขตอํานาจทางแพ่งของรัฐชายฝั่ งเหนือเรื อต่างชาติ โดยปกติแล้ ว รัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่ขดั ขวางเรื อต่างชาติที่ใช้ สทิ ธิการผ่านโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขต ของตน เพื่อดําเนินคดีทางแพ่งต่อบุคคลบนเรื อต่างชาตินนั ้ และรัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่บงั คับหรื อจับกุมเรื อ (Execution or Arrest of Ship) เพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาในทางแพ่ง เว้ นแต่หนี ้หรื อความรับผิดซึง่ เรื อต่างชาติเป็ นผู้ก่อให้ เกิด ขึ ้นในขณะที่แล่นผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง เช่น ความผิดอันเกิดจากเรื อชนกันหรื อในกรณีที่มีการร้ องขอให้ กกั เรื อ อย่างไรก็ดี รัฐชายฝั่ งอาจจะบังคับหรื อจับกุมเรื อต่างชาติเพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาทางแพ่ง หากปรากฏว่าเรื อนันได้ ้ กระทําการฝ่ าฝื นกฎหมายของรัฐชายฝั่ งเมื่อเรื อนันออกจากน่ ้ านนํ ้าภายในและแล่นผ่านทะเล อาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 28) (3) สิทธิของรัฐอื่นในทะเลอาณาเขต : การใช้ สทิ ธิการผ่านโดยสุจริต (Right of Innocent Passage) (3.1) สิทธิการผ่านโดยสุจริต เรื อของรัฐทัง้ ปวงไม่ว่าจะเป็ นรัฐชายฝั่ งหรื อรัฐไร้ ฝั่ งทะเลย่อมสามารถอุปโภคสิทธิ การผ่านโดย สุจริ ตในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ งได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 17) (3.1.1) ความหมายของคําว่า “การผ่าน” (Passage) การผ่าน หมายถึง การเดินเรื อในทะเลอาณาเขตเพื่อความมุง่ ประสงค์ที่จะ - ผ่ า นทะเลอาณาเขตนั น้ โดยไม่ เ ข้ าไปในน่ า นนํ า้ ภายใน หรื อ แวะจอด ณ ที่ ท อด (roadstead) หรื อที่อํานวยความสะดวกของท่าเรื อ (port facility) ภายนอกน่านนํ ้าภายใน หรื อ - เดินทางไปสู่หรื อออกมาจากน่านนํ ้าภายใน หรื อแวะจอด ณ ที่ทอดหรื อที่อํานวยความ สะดวก ของท่าเรื อเช่นว่านัน้ ทังนี ้ ้ การผ่านจะต้ องดําเนินไปอย่างต่อเนื่อง (Continuous) และรวดเร็ว (Expeditious) อย่างไรก็ดี การผ่านย่อมรวมถึงการหยุดและการทอดสมอ แต่เฉพาะเท่าที่การหยุดและการทอดสมอนัน้ อาจเกิดมีขึน้ ในการ เดินเรื อตามปกติ หรื อจําเป็ นต้ องกระทําโดยเหตุสดุ วิสยั (Force Majeure) หรื อทุกขภัย (Distress) หรื อเพื่อความมุ่ง ั ญาฯ ข้ อ 18) ประสงค์ในการให้ ความช่วยเหลือแก่บคุ คล เรื อ หรื ออากาศยานที่อยูใ่ นภยันตรายหรื อทุกขภัย (อนุสญ (3.1.2) ความหมายของคําว่า “การผ่านโดยสุจริต” (Innocent Passage)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


222

การเดินเรื อผ่านทะเลอาณาเขต จะถือว่าสุจริ ตก็ต่อเมื่อการผ่านนัน้ ไม่เป็ นปฏิปักษ์ ต่อสันติภาพ ความสงบเรี ยบร้ อย หรื อความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 19 (1)) การผ่านของเรื อต่างชาติในทะเลอาณา เขตที่จะถือว่าเป็ นปฏิปักษ์ ตอ่ สันติภาพ ความสงบเรี ยบร้ อย และความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ งก็ตอ่ เมื่อเรื อนัน้ - คุ ก คาม หรื อ ใช้ กํ า ลัง อั น เป็ นปฏิ ปั กษ์ ต่ อ อํ า นาจอธิ ป ไตย บู ร ณภาพแห่ ง ดิ น แดน (Territorial Integrity) หรื อเอกราชทางการเมืองของรัฐชายฝั่ ง หรื อโดยการกระทําอื่นใดอันเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมาย ระหว่างประเทศที่ระบุไว้ ในกฎบัตรสหประชาชาติ - ทําการซื ้อหรื อทําการฝึ กอาวุธไม่วา่ ชนิดใด ๆ - กระทําการใดเพื่อรวบรวมข้ อมูลข่าวสารอันจะเป็ นปฏิปักษ์ ต่อการป้องกันประเทศหรื อ ความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ ง - กระทําการใดอันเป็ นการโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) อันจะกระทบกระเทือนต่อการ ป้องกันประเทศ หรื อความมัน่ คงของรัฐชายฝั่ ง - นําขึ ้นสูอ่ ากาศหรื อปล่อยลงพื ้น หรื อนําขึ ้นมาบนเรื อ ซึง่ อากาศยานใดๆ - นําขึ ้นสูอ่ ากาศหรื อปล่อยลงพื ้นหรื อนําขึ ้นมาบนเรื อซึง่ ยุทโธปกรณ์ทางทหารใดๆ - ทําการขนถ่ายโภคภัณฑ์ เงินตรา บุคคล อันเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมาย และข้ อบังคับของรัฐ ชายฝั่ งว่าด้ วยศุลกากร รัษฎากร การเข้ าเมือง หรื อการสุขาภิบาล - จงใจก่อให้ เกิดมลภาวะอย่างร้ ายแรงในทะเลอาณาเขต - ทําการประมงใดๆ ในทะเลอาณาเขต - ทําการวิจยั หรื อสํารวจ - กระทําการใดอันเป็ นการแทรกแซงระบบสื่อสารใด ๆ หรื อสิ่งอํานวยความสะดวกหรื อสิ่ง ติดตังอื ้ ่นใดของรัฐชายฝั่ ง ั ญาฯ ข้ อ 19 (2)) - กระทําการอื่นใดอันไม่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับการใช้ สทิ ธิผา่ น (อนุสญ (3.2) หน้ าที่ของเรื อต่างชาติในขณะที่ใช้ สทิ ธิการผ่านโดยสุจริต เรื อต่างชาติที่ใช้ สทิ ธิการผ่านโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ งจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมาย ้ งต้ องปฏิบตั ิ หรื อกฎเกณฑ์ ข้ อบังคับที่รัฐชายฝั่ งกําหนดเกี่ยวด้ วยการใช้ สทิ ธิการผ่านโดยสุจริ ตของเรื อต่างชาติ อีกทังยั ตามกฎเกณฑ์ ข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ ง หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวด้ วยการป้องกันอุบตั ิเหตุอนั เกิดจากเรื อ ชนกัน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 21 วรรคสี่) ในกรณี ของเรื อที่ขับเคลื่อนด้ วยพลังปรมาณู หรื อเรื อที่บรรทุกสารปรมาณู หรื อสารอื่นใดที่โดย สภาพเป็ นอันตราย หรื อมีพิษ นอกจากจะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายของรัฐชายฝั่ งแล้ วยังต้ องปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ที่ ระบุไว้ ในอนุสัญญาระหว่างประเทศอี กด้ วย เช่นต้ องมีเอกสารประจํ าเรื อและเคารพในมาตรการป้องกันพิเศษที่ กําหนดไว้ ในความตกลงระหว่างประเทศ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 23) เมื่อปรากฏว่าเรื อต่างชาติที่ผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ งทําการโดยไม่สจุ ริ ต เช่น กระทําการ ใดๆ อันเป็ นปฏิปักษ์ หรื อคุกคามต่อสันติภาพ ความมัน่ คง หรื อบูรณภาพแห่งดินแดนของรัฐชายฝั่ ง หรื อทําการประมง โดยไม่ได้ รับอนุญาตในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง หรื อกระทําการฝ่ าฝื นกฎหมาย หรื อกฎข้ อบังคับใดของรัฐชายฝั่ ง รัฐชายฝั่ งอาจกระทําการเพื่อป้องกันการผ่านโดยไม่สจุ ริ ตนันได้ ้ เช่น ปฏิเสธไม่ให้ เรื อต่างชาติผ่านทะเลอาณาเขตของ รัฐชายฝั่ งหรื อจับกุมเรื อนัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


223

ในกรณี ที่ เ รื อ ต่ า งชาติ นัน้ เป็ นเรื อ รบซึ่ ง หมายถึ ง เรื อ ซึ่ ง เป็ นของกํ า ลัง ทางทหารของรั ฐ ซึ่ ง มี เครื่ องหมายภายนอกแสดงสัญชาติของเรื อดังกล่าวอย่างชัดแจ้ ง และอยู่ภายใต้ การบังคับบัญชาของนายทหารซึ่ง ได้ รับการแต่งตังจากรั ้ ฐบาลของรัฐ และมีชื่อของเรื อปรากฏอยู่ในบัญชีประจําการที่ถูกต้ องหรื อบัญชีอื่นในทํานอง เดียวกัน และประจําการโดยลูกเรื อซึ่งอยู่ภายใต้ วินยั ของกําลังทางทหารประจําการ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 29) และรวมถึง เรื อดํานํ ้าที่ใช้ เป็ นเรื อรบด้ วย หากเรื อรบเช่นว่านันไม่ ้ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรื อกฎเกณฑ์ข้อบังคับของรัฐชายฝั่ งว่าด้ วย การใช้ สิทธิผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง หรื อเมื่อเรื อรบนันปฏิ ้ เสธที่จะปฏิบตั ิตามคําร้ องขอของรัฐชายฝั่ งเพื่อให้ ปฏิบตั ิตามกฎหมายของรัฐชายฝั่ ง รัฐเจ้ าของเรื อรบจะต้ องรับผิดชอบในความสูญหาย หรื อเสียหายที่เกิดต่อรัฐชายฝั่ ง อันสืบเนื่องมาจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายของรัฐชายฝั่ ง หรื อกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้ วยการใช้ สิทธิผ่านทะเล ั ญาฯ ข้ อ 30 และข้ อ 31) อาณาเขตของเรื อรบนัน้ 365 (อนุสญ 2.3) เขตต่อเนื่อง(Contiguous Zone) (1) ความกว้ างของเขตต่อเนื่อง อนุสญ ั ญาฯ กําหนดให้ เขตต่อเนื่องมิอาจขยายเกินกว่า 24 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานซึ่งใช้ วดั ความกว้ าง ของทะเลอาณาเขต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 33 วรรคสอง) (2) สิทธิ หน้ าที่ และเขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือเขตต่อเนื่อง (2.1) ในเขตต่อเนื่อง รัฐชายฝั่ ง อาจดําเนินการควบคุมที่จําเป็ นเพื่อวัตถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้ (อนุ สัญญาฯ ข้ อ 33 วรรคหนึง่ ) - ป้องกันมิให้ มีการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับของตนว่าด้ วยศุลกากร (Customs) การ เข้ าเมือง (Immigration) รัษฎากร (Fiscal) และการสุขาภิบาล (Sanitation) อันจะเกิดขึ ้นในดินแดนหรื อทะเลอาณา เขตของตน - ลงโทษต่อการกระทําฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับตาม (2.1) ซึง่ ได้ กระทําในดินแดนหรื อ ทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง (2.2) รัฐชายฝั่ งมีหน้ าที่ในการคุ้มครองวัตถุโบราณ หรื อวัตถุทางประวัติศาสตร์ ที่พบใต้ ทะเลในเขต ต่อเนื่อง กล่าวคือ หากมีการเคลื่อนย้ ายวัตถุโบราณ หรื อวัตถุทางประวัติศาสตร์ ที่อยูบ่ นพื ้นทะเลในเขตต่อเนื่องโดย ไม่ได้ รับความเห็นชอบจากรัฐชายฝั่ ง รัฐชายฝั่ งอาจสันนิษฐานว่าการกระทําดังกล่าวฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับของ รัฐชายฝั่ งในอาณาเขตหรื อทะเลอาณาเขตของตนได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 303) (3) สิทธิของรัฐอื่นในเขตต่อเนื่อง ถึงแม้ ว่ารัฐชายฝั่ งจะมีอํานาจในการป้องกัน และลงโทษต่อการกระทําความผิดประเภทดังกล่าวข้ างต้ น แล้ วก็ตาม เรื อของรัฐอื่น ๆ ยังคงมีเสรี ภาพในการเดินเรื อ (Freedom of Navigation) หรื ออากาศยานของรัฐอื่นก็ยงั คง มีเสรี ภาพในการบินผ่าน (Freedom of Over Flight) ในเขตต่อเนื่องของรัฐชายฝั่ งอยู่ ดังนัน้ ในการใช้ อํานาจของรัฐ ชายฝั่ งในเขตต่อเนื่ อง รั ฐชายฝั่ งจํ าต้ องเคารพต่อเสรี ภาพในการเดินเรื อและการบินผ่านของเรื อหรื ออากาศยาน ต่างชาติด้วย การออกและบังคับกฎหมายของรั ฐชายฝั่ งในเขตต่อเนื่ องอันไม่เกี่ ยวด้ วยการกระทําความผิดทัง้ ๔ ประการดังกล่าวข้ างต้ นย่อมถือว่าเป็ นการขัดต่อเสรี ภาพในการเดินเรื อต่างชาติ หรื อการผ่านของอากาศยานต่างชาติ 365

จุมพต สายสุนทร. 2540. รายงานผลการวิจัย เรื่ อง ความตกลงเพื่ อการอนุ วัติการตามบทบั ญญั ติแห่ งอนุ สัญ ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ฉบับลงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ ระหว่ างเขตทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ. สํานักพิมพ์นิติธรรม, กรุงเทพฯ. หน้ า 57-66.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


224

อย่างไรก็ดี โดยเหตุที่เขตต่อเนื่องเป็ นส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจําเพาะจึงเป็ นไปได้ ว่าในเขตต่อเนื่องนี ้ รัฐชายฝั่ งอาจออกและบังคับกฎหมายอันเกี่ ยวด้ วยการคุ้มครองทรั พยากรธรรมชาติ ทัง้ มี ชีวิตและไม่มีชีวิต หรื อ ้ าง ๆ อัน กฎหมายอันเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่นการใช้ พลังงานจากกระแสนํ ้า หรื อลม ตลอดทังกฎหมายต่ เกี่ยวกับกิจกรรมบางอย่าง เช่น การสร้ างและใช้ เกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ าง การสํารวจวิจยั วิทยาศาสตร์ ทาง ทะเล การคุ้มครองสภาวะแวดล้ อม และการบังคับใช้ กฎหมายต่าง ๆ เหล่านี ้ อาจกระทบกระเทือนต่อการใช้ เสรี ภาพ ในการเดินเรื อของรัฐอื่นในเขตต่อเนื่องได้ 2.4) เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) (1) ความกว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ เขตเศรษฐกิจจําเพาะคือบริ เวณที่อยูเ่ ลยไปจากและประชิดกับทะเลอาณาเขต โดยเขตเศรษฐกิจจําเพาะ จะต้ องไม่ขยายออกไปเลย 200 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานซึง่ ใช้ วดั ความกว้ างของทะเลอาณาเขต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 55 และข้ อ 57) (2) สิทธิ หน้ าที่ และเขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ รัฐชายฝั่ งมีสทิ ธิ หน้ าที่ และเขตอํานาจ ดังนี ้ (2.1) สิทธิอธิปไตย (Sovereign Rights) รัฐชายฝั่ งย่อมมีสิทธิอธิปไตยในการสํารวจ (Exploration) การแสวงประโยชน์ (Exploitation) การ อนุรักษ์ (Conservation) และการจัดการ (Management) ทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็ นทรัพยากรที่มีชีวิตหรื อไม่มี ชีวิตและไม่ว่าทรัพยากรนัน้ จะอยู่ ณ พืน้ ดินห้ องทะเล (Sea–Bed) และดินใต้ ผิวดินของพื ้นดินท้ องทะเล (Subsoil) หรื อในท้ องนํ ้าเหนือพื ้นดินท้ องทะเล (Water Superjacent to the Sea Bed) ตลอดทังมี ้ สิทธิอธิปไตยเหนือกิจกรรม ต่างๆ อันเกี่ยวกับการสํารวจและการแสวงหาประโยชน์ทางเศรษฐกิจในเขตดังกล่าว เช่น การผลิตพลังงานจากนํา้ (“ater) กระแสนํ ้า (Currents) และลม (Winds) (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 56 วรรคหนึง่ (เอ)) (2.1.1) สิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่ งเหนือทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิต ในการใช้ สิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่ งเหนือทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะนี ้ รัฐชายฝั่ งมีสทิ ธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Rights) ในการสร้ างหรื ออนุญาตให้ สร้ างหรื ออนุญาตให้ สร้ าง และควบคุม การสร้ างเกาะเทียม (Artificial Islands) สิง่ ติดตัง้ (Installations) และสิ่งก่อสร้ าง (Structures) เพื่อทําการสํารวจ และ ้ อสิ่งก่อสร้ าง แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ หรื อควบคุมการใช้ สิ่งติดตังหรื อันอาจเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ สทิ ธิของรัฐชายฝั่ งในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (2.1.2) สิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่ งเหนือทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิต ในการใช้ สิ ท ธิ อธิ ปไตยของรั ฐ ชายฝั่ งเหนื อ เขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะในส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี ชี วิ ต นั น้ รั ฐ ชายฝั่ งมี ห น้ าที่ ใ นการกํ า หนดมาตรการในการอนุ รั ก ษ์ และการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตเพื่อป้องกันมิให้ ทรัพยากรเช่นว่านันต้ ้ องประสบกับสภาพ “การทําประมงเกินขนาด” (Over Fishing) ดังนัน้ รัฐชายฝั่ งจะกําหนดปริ มาณสัตว์นํา้ ที่จะอนุญาตให้ จับได้ (Allowable Catch) ในเขตเศรษฐกิจ จําเพาะ และรัฐชายฝั่ งจะกําหนดขีดความสามารถของตนในการจับสัตว์นํ ้า (Harvesting Capacity) หากปรากฏว่า ขี ดความสามารถในการจับสัตว์ นํ า้ ของรั ฐชายฝั่ ง มีไ ม่พอกับปริ มาณสัตว์ นํ า้ ที่ อ นุญ าตให้ จับได้ รั ฐชายฝั่ ง ยังควร ั ญาฯ ข้ อ 61 และ 62) อนุญาตให้ รัฐอื่นเข้ ามาจับสัตว์นํ ้าในส่วนที่เกินขีดความสามารถของตน (Surplus) ได้ (อนุสญ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


225

อย่างไรก็ดี การให้ อนุญาตรัฐอื่น ๆ เข้ ามาจับสัตว์นํ ้าส่วนเกินในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ ง นัน้ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 มิได้ กําหนดแนวทางไว้ ดังนัน้ จึงเป็ นอํานาจของรัฐ ชายฝั่ งที่จะอนุญาตให้ รัฐใดๆ เข้ ามาจับสัตว์นํ ้าส่วนเกินในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของตน อํานาจของรัฐชายฝั่ งในการให้ อนุญาตรัฐอื่นเข้ ามาจับสัตว์นํ ้าส่วนเกินนี ้เป็ นดุลพินิจแต่เพียงผู้เดียว ั ญาฯ ข้ อ ของรัฐชายฝั่ ง รัฐอื่นจะบังคับให้ รัฐชายฝั่ งให้ อนุญาตตนเพื่อจับสัตว์นํ ้าส่วนเกินของรัฐชายฝั่ งหาได้ ไม่ (อนุสญ 297 (3) (เอ)) นอกจากนีร้ ัฐชายฝั่ งและรัฐอื่น ๆ ต้ องร่ วมมือกันในการวางมาตรการในการอนุรักษ์ และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตโดยเฉพาะพันธุ์สตั ว์นํ ้าซึง่ วางไข่ เจริญเติบโต หรื อใช้ ชีวิตอยูใ่ นเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐ นัน้ หรื อร่วมมือกับรัฐที่ประชากรของรัฐนันจั ้ บพันธุ์สตั ว์นํ ้านัน้ (2.2) เขตอํานาจ (Jurisdiction) “เขตอํานาจ” (Jurisdiction) หมายถึงเขตอํานาจในการออกกฎหมายโดยฝ่ ายนิติบญ ั ญัติ และใช้ บังคับกฎหมายโดยฝ่ ายบริ หาร และฝ่ ายตุลาการ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะนัน้ รัฐชายฝั่ งมีเขตอํานาจเหนือการกระทํา ดังตอไปนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 56 (บี)) (2.2.1) การสร้ างและการใช้ เกาะเทียม สิง่ ติดตัง้ หรื อสิง่ ก่อสร้ าง ในกรณีทงสามนี ั้ ้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Rights) ในการสร้ างหรื ออนุญาต ให้ สร้ าง และควบคุมการสร้ าง การทํางาน และการใช้ เกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างเพื่อวัตถุประสงค์ในการ สํ า รวจ และแสวงประโยชน์ จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะ หรื อ ควบคุม การใช้ สิ่ง ติ ด ตัง้ หรื อ ั ญาฯ ข้ อ 60) สิง่ ก่อสร้ าง อันอาจเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ สทิ ธิของรัฐชายฝั่ งในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (อนุสญ นอกจากนี ้รัฐชายฝั่ งยังมีเขตอํานาจแต่เพียงผู้เดียวเหนือเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างใน ส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายและข้ อบังคับว่าด้ วยการศุลกากร รัษฎากร อนามัย ความปลอดภัย และการเข้ าเมือง ในส่วนที่เกี่ยวกับความปลอดภัยนัน้ รัฐชายฝั่ งอาจกําหนด “เขตปลอดภัย” (Safety Zone) รอบๆ เกาะเที ยม สิ่ง ติดตัง้ และสิ่ง ก่ อสร้ าง โดยวางมาตรการเพื่ อ ความปลอดภัยในการเดิน เรื อ และเพื่ อ ความ ปลอดภัยของเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ าง ซึ่งความกว้ างของ “เขตปลอดภัย” นันต้ ้ องไม่เกิน 500 เมตรรอบ เกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ าง โดยวัดจากจุดแต่ละจุดของขอบนอกของเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างนัน้ เว้ นแต่จะอนุญาตไว้ เป็ นอย่างอื่นตามมาตรฐานสากลอันเป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไปตามคําแนะนําขององค์การระหว่าง ประเทศที่มีอํานาจ อย่างไรก็ดีการสร้ างเกาะเทียม สิง่ ติดตัง้ หรื อสิง่ ก่อสร้ างรวมทัง้ “เขตปลอดภัย” นัน้ ต้ องไม่เป็ นการ ขัดขวางเส้ นทางเดินเรื อระหว่างประเทศ (2.2.2) การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ทางทะเล (Marine Scientific Research) (2.2.3) การคุ้มครองและการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมทางทะเล ในกรณี ตามข้ อ ข และ ค นี ้ รัฐชายฝั่ งมิได้ มีเขตอํานาจแต่เพียงผู้เดียวในการควบคุม ดังนัน้ กิจกรรมทังสอประการดั ้ งกล่าวนี ้จะอยู่ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งและอาจอยู่ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐอื่นด้ วยใน ขณะเดียวกันได้ เช่น เรื อต่างชาติที่ทําการสํารวจวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งนัน้ ้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายของรัฐชายฝั่ งว่าด้ วยการสํารวจ ย่อมตกอยู่ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ ง กล่าวคือ เรื อนันต้ วิ จัย วิ ท ยาศาสตร์ ท างทะเล แต่ ข ณะเดี ย วกัน เรื อ นัน้ ก็ ต้ อ งปฏิ บัติ ต ามกฎหมายของรั ฐ สัญ ชาติ ข องเรื อ ด้ ว ย เช่ น กฎหมายว่าด้ วยการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ กบั รัฐอื่น เป็ นต้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


226

(2.3) สิทธิอื่น ๆ สิทธิอื่น ๆ ของรัฐชายฝั่ งในที่นี ้ หมายถึง สิทธิอื่นใดตามที่อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย ทะเลปี ค.ศ. 1982 หรื อกฎหมายระหว่างประเทศได้ อนุญาตไว้ ซึง่ ส่วนใหญ่ได้ แก่สิทธิของรัฐที่มีอยู่ในทะเลหลวง เช่น การกํ า หนดมาตรการในการป้ องกัน และลงโทษการใช้ เ รื อ ที่ ชัก ธงของรั ฐ ชายฝั่ ง ในการขนส่ง หรื อ ค้ า ทาส การ ปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัด (Piracy) ไม่ว่าการกระทํานัน้ จะใช้ หรื อเกิดขึน้ บนเรื อหรื ออากาศยานที่ มี สัญชาติของรัฐชายฝั่ งหรื อไม่ก็ตาม การปราบปรามการค้ ายาเสพติด (Narcotic Drugs) หรื อสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิต ประสาท (Psychotropic Substances) หรื อการกระจายเสียงหรื อแพร่ภาพโดยมิได้ รับอนุญาตจากรัฐชายฝั่ ง เป็ นต้ น (2.4) การบังคับใช้ กฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ ง ในการใช้ สิทธิอธิปไตยของตนเพื่อสํารวจ แสวงประโยชน์ อนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรมีชีวิตใน เขตเศรษฐกิจจําเพาะ รัฐชายฝั่ งอาจใช้ มาตรการต่างๆ รวมทังการขึ ้ ้นเรื อ ตรวจค้ น จับกุม และดําเนินคดี เท่าที่จําเป็ น เพื่อประกันการปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อบังคับที่ตนได้ วางไว้ โดยสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฯ โดยเรื อที่ถกู จับกุมและ ลูกเรื อ จะต้ องได้ รับการปล่อยโดยพลันเมื่อมีการวางเงินประกันหรื อหลักประกันอื่นๆ ที่สมเหตุผล บทกําหนดโทษของรัฐชายฝั่ งสําหรับการละเมิดกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการประมงในเขต เศรษฐกิจจําเพาะต้ องไม่รวมถึงโทษจําคุกหรื อการลงโทษทางร่ างกายในรู ปอื่นใด เว้ นแต่จะมีการตกลงระหว่างรัฐที่ เกี่ยวข้ องไว้ เป็ นอย่างอื่น ทังนี ้ ้ ในกรณีที่มีการจับกุมหรื อกักเรื อต่างชาติ รัฐชายฝั่ งจะต้ องแจ้ งผ่านช่องทางที่เหมาะสม ให้ รัฐเจ้ าของธงทราบโดยพลัน เกี่ยวกับมาตรการที่ได้ ดําเนินไปและการลงโทษที่ได้ ลงไปหลังจากนัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 73) (2.5) หน้ าที่ของรัฐชายฝั่ ง ในการใช้ สิทธิและการปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนภายใต้ อนุสญ ั ญาฯ รัฐชายฝั่ งต้ องคํานึงตามควรถึงสิทธิ และหน้ าที่ของรัฐอื่นๆ และจะต้ องปฏิบตั ิการในลักษณะที่สอดคล้ องกับบทบัญญัติของอนุสญ ั ญาฯ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 56 วรรคสอง) (3) สิทธิของรัฐอื่นในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ั ญาฯ ข้ อ 58 ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งนัน้ รัฐอื่น ๆ ย่อมมีเสรี ภาพในกรณีต่อไปนี ้ (อนุสญ และข้ อ 87) (3.1) เสรี ภาพในการเดินเรื อ (Freedom of Navigation) เสรี ภาพในการเดินเรื อนี ห้ มายถึง เสรี ภาพของเรื อทุกประเภทไม่ว่าจะเป็ นเรื อสินค้ า เรื อบรรทุก นํ ้ามัน เรื อรบ เรื อดํานํ ้า เรื อประมง ฯลฯ ในกรณีของเรื อประมงที่ผ่านเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งซึง่ ต้ องปฏิบตั ิ ตามกฎหมายของรั ฐ ชายฝั่ ง ที่ อ อกมาเพื่ อ คุ้ม ครองทรั พ ยากรประมงในเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะของตน ในกรณี ที่ เรื อประมงต่างชาติไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยการประมงของรัฐชายฝั่ ง รัฐชายฝั่ งมีอํานาจตรวจค้ น จับกุม และ ั ญาฯ ข้ อ 56 ข้ อ 73) ดําเนินคดีตอ่ เรื อที่ฝ่าฝื นกฎหมายดังกล่าวได้ (อนุสญ ข้ อ 58 วรรค 3 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 ได้ ยืนยันถึงการใช้ เสรี ภาพในการเดินเรื อในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งว่าเรื อต่างชาติต้องเคารพกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐ ชายฝั่ ง ที่ ใ ช้ บัง คับ ในเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะโดยมี เ งื่ อ นไขว่า กฎหมายและข้ อ บัง คับ ของรั ฐ ชายฝั่ ง เช่ น ว่า นัน้ ต้ อ ง สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 และหลักกฎหมายระหว่างประเทศอื่นๆ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


227

กล่าวคือ กฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งต้ องไม่ทําให้ เสรี ภาพในการเดินเรื อของรัฐในเขตเศรษฐกิจจําเพาะต้ อง เสื่อมเสียไป (3.2) เสรี ภาพในการบินผ่าน (Freedom of Over Flight) เสรี ภาพในการบินนี ้ไม่จํากัดประเภทของอากาศยานเช่นเดียวกัน อาจเป็ นอากาศยานทางพาณิชย์ หรื อทางทหารก็ได้ (3.3) เสรี ภาพในการวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเล (Freedom of the Laying of Submarine Cables and Pipelines) ทังนี ้ ้ เพื่อประโยชน์ในการสื่อสารคมนาม และขนส่งนํ ้ามัน หรื อก๊ าซธรรมชาติ (3.4) การใช้ ท้องทะเลประการอื่น ๆ โดยชอบด้ วยกฎหมายระหว่างประเทศ อันเกี่ยวกับการใช้ เสรี ภาพตาม (3.1) (3.2) และ (3.3) การใช้ ท้องทะเลประการอื่น ๆ ในที่นี ้หมายถึง การใช้ ท้องทะเลอันเกี่ยวกับการทํางานขอเรื อ ของ อากาศยาน และของการวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเล ซึ่งประเทศที่สนับสนุนหลักเสรี ภาพในการเดินเรื อในเขต เศรษฐกิจจําเพาะ เห็นว่าควรรวมถึงการฝึ กซ้ อมกําลังทางทะเล (Naval Maneuvers) ด้ วย เพราะถือว่าเกี่ยวข้ องกับ การทํางานของเรื อ (4.5) หน้ าที่ของรัฐอื่นในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ การใช้ เสรี ภาพต่างๆ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งนัน้ รัฐอื่นๆ มีหน้ าที่ต้องเคารพกฎหมาย หรื อข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งที่ออกและใช้ บงั คับโดยไม่ขัดกับอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 รวมทังกฎเกณฑ์ ้ ระหว่างประเทศอื่น ๆ เท่าที่ไม่ขดั กับอนุสญ ั ญาดังกล่าว นอกจากนี ้รัฐอื่นๆ ยังต้ องเคารพต่อ ้ างประเทศอันเป็ นที่ยอมรับ “เขตปลอดภัย” รอบเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ าง ตลอดทังมาตรฐานในทางระหว่ กันทัว่ ไปเกี่ยวกับการเดินเรื อในบริ เวณใกล้ เคียงกับเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างด้ วย (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 56 และ ข้ อ 60 (6)) 2.5) ไหล่ทวีป (Continental Shelf) (1) ความหมายของไหล่ทวีป “ไหล่ทวีป” หมายถึง พืน้ ดินท้ องทะเล (Sea-bed) และดินใต้ ผิวดิน (Subsoil) ของบริ เวณใต้ ทะเล ซึ่ง ขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติ (Natural Prolongation) ของดินแดนทางบกของ ตนจนถึงริ มนอกของขอบทวีป (Continental Margin) หรื อจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้ นฐานซึง่ ใช้ วดั ความกว้ าง ั ญาฯ ข้ อ 76 วรรคหนึ่ง) จากที่กล่าว ของทะเลอาณาเขตในกรณีที่ริมนอกของขอบทวีปขยายไปไม่ถึงระยะนัน้ (อนุสญ มาจะเห็นได้ วา่ ความกว้ างของไหล่ทวีปสามารถแบ่งได้ เป็ น 2 ระยะ คือ จากการจํากัดความข้ างต้ นนี ้ พอจําแนกความกว้ างของไหล่ทวีปไปได้ เป็ น 2 ระยะคือ (1.1) ในกรณีที่ริมนอกของขอบทวีป (Continental Margin) สันกว่ ้ า 200 ไมล์ทะเล ซึ่งเป็ นความ กว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ก็ให้ ถือว่าไหล่ทวีปมีความกว้ างถึง 200 ไมล์ทะเลตามความกว้ างของเขตเศรษฐกิจ จําเพาะ จะเห็นได้ ว่ากรณีนี ้ รัฐที่มีไหล่ทวีปสันเนื ้ ่องจากไหล่ทวีปมีความลาดชันมาก รัฐนันสามารถอ้ ้ างอํานาจเหนือ เขตไหล่ทวีปได้ ถงึ 200 ไมล์ทะเล เท่ากับระยะความกว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (1.2) ในกรณีที่ขอบทวีป (Continental Margin) ยาวกว่า 200 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้ นฐานที่ใช้ วัดความกว้ างของทะเลอาณาเขต เขตไหล่ท วีปของรั ฐชายฝั่ งก็เป็ นไปตามแนวทอดยาวตามธรรมชาติ (Natural

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


228

Prolongation) จากแผ่นดินจนถึงริ มนอกของขอบทวีป (Continental Margin) ในกรณีที่ขอบทวีปยาวกว่า 200 ไมล์ ทะเล อนุสญ ั ญาฯ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งกําหนดขอบทวีป ดังนี ้ - กําหนดขอบทวีป ณ จุดซึง่ ความหนาอย่างน้ อยที่สดุ ของหินตะกอน (Sedentary Rocks) เท่ากับร้ อยละหนึง่ ของระยะทางที่สนที ั ้ ่สดุ จากจุดนันไปยั ้ งเชิงลาดทวีป (Foot of the Continental Slope) หรื อ - กําหนดขอบทวีป ณ จุดซึง่ ไม่หา่ งเกิน 60 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเชิงลาดทวีป - ขอบไหล่ทวีปที่กําหนดตาม (1.1) และ (1.2) นัน้ ไม่ว่ากรณี ใดๆ ต้ องไม่เกิน 350 ไมล์ ทะเล โดยวัดจากเส้ นฐานที่ใช้ วดั ความกว้ างของทะเลอาณาเขต หรื อไม่เกิน 100 ไมล์ทะเล โดยวัดจากแนวนํ ้าลึก 2,500 เมตร ซึง่ เป็ นเส้ นเชื่อมต่อความลึก 2,500 เมตร จะเห็นได้ ว่า ไม่ว่ารัฐชายฝั่ งจะกําหนดขอบไหล่ทวีปตามหลักเกณฑ์ใดก็ ตามความยาวของไหล่ทวีปจะต้ องไม่เกิน 350 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้ นฐานที่ใช้ วัดความกว้ างของทะเลอาณาเขต หรื อไม่เกิน 100ไมล์ทะเล โดยวัดจากแนวนํ ้าลึก 2,500 เมตร (2) สิทธิ หน้ าที่ และเขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีป (2.1) สิทธิของรัฐชายฝั่ ง (2.1.1) รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตย (Sovereign Rights)เหนือทรัพยากรธรรมชาติบนและใต้ ไหล่ ทวีป ไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตหรื อไม่มีชีวิต ซึง่ สิทธิอธิปไตยเหนือทรัพยากรธรรมชาตินี ้มีลกั ษณะพิเศษ 2 ประการ คือ - เป็ นสิทธิ แต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Rights) กล่าวคือ หากรัฐชายฝั่ งไม่สํารวจหรื อ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรบนหรื อได้ ไหล่ทวีปแล้ ว รัฐอื่นจะสํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรบนหรื อใต้ ไหล่ ทวีปโดยมิได้ รับความยินยอมอย่างชัดแจ้ งจากรัฐชายฝั่ งมิได้ - สิทธิอธิปไตยแต่เพียงผู้เดียวของรัฐชายฝั่ งเหนือทรัพยากรธรรมชาติบนหรื อใต้ ไหล่ทวีป นี ้ ไม่ขึ ้นอยู่กับการยึดถือครอบครอง (Occupation) กล่าวคือ สิทธิ ของรัฐชายฝั่ งเหนือเขตไหล่ทวีปนัน้ เป็ นสิทธิ ที่รัฐ ชายฝั่ งมีอยู่แต่ดงเดิ ั ้ ม (Inherent right) โดยไม่ต้องทําการประกาศเข้ ายึดถือเอาแต่อย่างใด รัฐชายฝั่ งได้ สิทธิอธิปไตย ดังกล่าวมาโดยอัตโนมัติ กรณีจึงแตกต่างจากเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ซึ่งรัฐชายฝั่ งจําต้ องประกาศเขตดังกล่าวเสียก่อน จึงจะสามารถมีสทิ ธิอธิปไตยเหนือทรัพยากรธรรมชาติ และมีเขตอํานาจ (Jurisdiction) เหนือกิจกรรมในเขตนันได้ ้ ้ พยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตจําพวกแร่ ธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติบนหรื อไหล่ทวีปนัน้ รวมทังทรั ต่ า งๆ ทั ง้ ที่ อ ยู่ บ นพื น้ ทะเลของไหล่ ท วี ป (Sea-Bed) และในดิ น ใต้ ผิ ว ดิ น ของไหล่ ท วี ป (Subsoil) และ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตประเภทที่อยู่ติดที่ (Sedentary Species) ซึ่งหมายถึง สิ่งมีชีวิต (Organisms) ซึ่งเมื่อถึง ระยะเก็บเกี่ยว (Harvestable Stage) จะอยู่ในสภาพที่เคลื่อนที่ไม่ได้ หรื อหากเคลื่อนที่ได้ ก็แต่เฉพาะที่ต้องอาศัยการ สัมผัสทางกายอยูเสมอกับพื ้นท้ องทะเล หรื อดินใต้ ผิวดิน เช่น ปะการัง ฟองนํ ้า หอยชนิดต่างๆ ปู และกุ้ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) (2.1.2) รั ฐ ชายฝั่ ง สิท ธิ แ ต่ผ้ ูเ ดี ย วที่ จ ะก่ อ สร้ าง อนุญ าต และวางระเบี ย บการก่ อสร้ าง การ ปฏิบตั ิงานของและการใช้ เกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ างเพื่อวัตถุประสงค์ในการสํารวจและแสวงประโยชน์จาก ทรั พยากรธรรมชาติในไหล่ทวีปหรื อเพื่อความมุ่งประสงค์ อื่นๆ ทางเศรษฐกิจ หรื อสิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ างซึ่งอาจ รบกวนการใช้ สทิ ธิของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีป (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 80 ประกอบกับข้ อ 60) นอกจากนี ้รัฐชายฝั่ งยังมีเขตอํานาจแต่เพียงผู้เดียวเหนือเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างใน ส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายและข้ อบังคับว่าด้ วยการศุลกากร การคลัง อนามัย ความปลอดภัย และการเข้ าเมือง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


229

ในส่วนที่เกี่ยวกับความปลอดภัยนัน้ รัฐชายฝั่ งอาจกําหนด “เขตปลอดภัย” รอบ ๆ เกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ าง โดยวางมาตรการเพื่อความปลอดภัยในการเดินเรื อ และเพื่อความปลอดภัยของเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และสิ่งก่อสร้ าง ซึ่งความกว้ างของ“เขตปลอดภัย” นันต้ ้ องไม่เกิน 500 เมตร รอบเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อ สิ่งก่อสร้ าง โดยวัดจากจุดแต่ละจุดของขอบนอกของเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างนัน้ เว้ นแต่จะอนุญาตไว้ เป็ น อย่างอื่นตามมาตรฐานสากลอันเป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไปตามคําแนะนําขององค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ อย่างไร ก็ดี การสร้ างเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ าง รวมทัง้ “เขตปลอดภัย” นัน้ ต้ องไม่เป็ นการขัดขวางเส้ นทางเดินเรื อ ระหว่างประเทศ (2.1.3) รัฐชายฝั่ งมีสิทธิแต่ผ้ เู ดียวที่จะอนุญาตและวางกฎเกณฑ์การขุดเจาะบนไหล่ทวีปเพื่อ ั ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 80) ความมุง่ ประสงค์ทงปวง (2.1.4) รั ฐ ชายฝั่ ง มี สิท ธิ ที่ จ ะแสวงประโยชน์ จากดิ น ใต้ ผิว ดิน โดยวิธี การขุดอุโ มงค์ โดยไม่ คํานึงถึงความลึกของน่านนํ ้าเหนือดินใต้ ผิวดินนัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 85) (2.2) หน้ าที่ของรัฐชายฝั่ ง (2.2.1)เนื่องจากสิทธิของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีปไม่กระทบกระเทือนสถานภาพทางกฎหมาย ของน่านนํ ้าเหนือไหล่ทวีปหรื อของห้ วงอากาศเหนือน่านนํ ้าเหล่านัน้ การใช้ สิทธิของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีปจึงต้ องไม่ ฝ่ าฝื นหรื อเป็ นผลให้ เกิดการแทรกสอดใดๆ อย่างปราศจากเหตุอนั สมควรต่อการเดินเรื อ และสิทธิและเสรี ภาพอื่นใด ของรั ฐ อื่ น ตามที่ กํ า หนดไว้ ใ นอนุสัญ ญาฯ (อนุสัญ ญาฯ ข้ อ 78) เช่ น การวางสายเคเบิ ล และท่ อ ใต้ ท ะเลบน ไหล่ทวีป (2.2.2) รั ฐชายฝั่ งจะต้ องจ่ายเงินหรื อให้ ส่วนแบ่งในส่วนที่เกี่ ยวกับการแสวงประโยชน์ จาก ทรัพยากรไม่มีชีวิตจากไหล่ทวีปที่เลย 200 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานที่ใช้ วดั ความกว้ างของทะเลอาณาเขต โดยการ จ่ายเงินและการให้ สว่ นแบ่งเกี่ยวกับผลผลิตทังปวง ้ ณ แหล่งผลิตจะต้ องกระทําเป็ นรายปี หลังจากระยะเวลาห้ าปี แรก ของการผลิต ณ แหล่งผลิตนัน้ ในปี ที่หก อัตราการจ่ายเงินหรื อการให้ ส่วนแบ่งจะเป็ นร้ อยละหนึ่งของมูลค่าหรื อ ปริ มาตรของผลผลิต ณ แหล่งผลิต อัตรานี ้จะเพิ่มขึ ้นร้ อยละหนึ่งในแต่ละปี ถัดไปจนกระทัง่ ถึงปี ที่สิบสองและหลังจาก นันจะยื ้ นอยู่ในอัตราร้ อยละเจ็ดของผลผลิต ไม่รวมถึงทรัพยากรที่ใช้ ไปเกี่ยวกับการแสวงประโยชน์ ทังนี ้ ้ การจ่ายเงิน ั ญาฯ บนมูลฐาน หรื อการให้ สว่ นแบ่งจะต้ องกระทําผ่านองค์กร (The Authority) ซึง่ จะแบ่งสรรให้ แก่รัฐภาคีของอนุสญ ของเกณฑ์การแบ่งอย่างเที่ยงธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชน์และความจําเป็ นของบรรดารัฐกําลังพัฒนาโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง รัฐที่พฒ ั นาน้ อยที่สดุ และรัฐไร้ ฝั่งทะเล (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 82) (3) สิทธิและหน้ าที่ของรัฐอื่นบนไหล่ทวีป เนื่องจากสิทธิ ของรัฐชายฝั่ งเหนือไหล่ทวีปนัน้ จํากัดอยู่เฉพาะการสํารวจและการแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติทงที ั ้ ่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเท่านัน้ ดังนัน้ ในกรณีอื่น ๆ เช่น ซากเรื อที่อบั ปาง ตลอดจนทรัพย์สินในเรื อ นัน้ หรื อทรัพย์สินอื่นใด รัฐชายฝั่ งหามีสิทธิ อธิ ปไตยเหนือซากเรื อและทรั พย์สินดังกล่าวแต่อย่างใดไม่ เพราะมิใช่ ทรัพยากรธรรมชาติบนไหล่ทวีป และรัฐอื่นๆ ยังมีสิทธิที่จะวาง หรื อบํารุงรักษาสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลบนไหล่ทวีป ของรัฐชายฝั่ งได้ แต่การกําหนดเส้ นทางสําหรับการวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลเช่นว่านัน้ รัฐอื่นๆ ต้ องได้ รับความ ยินยอมจากรัฐชายฝั่ งก่อน ในการวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลดังกล่าว รัฐต่างๆ จะต้ องระมัดระวังตามสมควรถึง สายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลที่วางอยูแ่ ล้ ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางสายเคเบิล และท่อใต้ ทะเลเช่นว่านัน้ จะต้ องไม่เป็ น อุปสรรคขัดขวางต่อการซ่อมแซมสายเคเบิล และท่อใต้ ทะเลที่มีอยูแ่ ล้ ว (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 79)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


230

(4) ความสัมพันธ์ระหว่างไหล่ทวีปและเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ไหล่ทวีปและเขตเศรษฐกิจจําเพาะมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ ชิดกัน ดังจะเห็นได้ จากที่กล่าวมาข้ างต้ นว่า การกําหนดเขตไหล่ทวีปตามแนวความคิดในการร่างอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 นัน้ ้ ้เนื่องจากเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไหล่ทวีปนันทั ้ บซ้ อนกัน ได้ คํานึงถึงความกว้ างของเขตเศรษฐกิจจําเพาะด้ วย ทังนี อยูอ่ ย่างน้ อยก็ในระยะความกว้ าง 200 ไมล์ทะเล ในกรณีที่เขตไหล่ทวีปมีความกว้ างน้ อยกว่าเขตเศรษฐกิจจําเพาะ หากจะเปรี ยบเที ยบอํ า นาจของรั ฐเหนื อ เขตทัง้ สอง จะเห็น ได้ ว่า อํา นาจของรั ฐชายฝั่ ง ทัง้ ที่ เป็ นสิท ธิ อธิปไตย (Sovereign Rights) และเขตอํานาจ (Jurisdiction) เหนือเขตเศรษฐกิจจําเพาะนัน้ ครอบคลุมถึงพื ้นผิวของ ทะเลในระยะ 200 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้ นฐานที่ใช้ วัดความกว้ างของทะเลอาณาเขต และครอบคลุมถึงห้ วงนํ า้ (Water Column) และพื ้นทะเล (Sea-Bed) และดินใต้ ผิวดินของไหล่ทวีป (Subsoil) ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติใน เขตนันๆ ้ ด้ วย ้ ในกรณีที่ไหล่ทวีปมีความกว้ างน้ อยกว่าเขตเศรษฐกิจจําเพาะ การใช้ อํานาจรัฐชายฝั่ งเหนือเขตทังสองดู จะไม่มีปัญหามากนัก เพราะถือว่าไหล่ทวีปมีความกว้ างเท่ากับความกว้ างเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ดังนัน้ รัฐชายฝั่ ง สามารถใช้ อํานาจเหนอทรัพยากรธรรมชาติในเขตท้ องสองได้ ทงในห้ ั ้ วงนํ ้า (Water Column) พื ้นท้ องทะเล (Sea-Bed) และดินใต้ ผิวดิน (Subsoil) ที่อยูใ่ นเขตเศรษฐกิจจําเพาะนัน้ แต่ ใ นกรณี ที่ ไ หล่ท วี ป มี ค วามกว้ า งกว่ า เขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะ รั ฐ ชายฝั่ ง มี เ พี ย งสิท ธิ อ ธิ ป ไตยเหนื อ ทรัพยากรธรรมชาติบนพื ้นดินของไหล่ทวีป (Sea-Bed) และดินใต้ ผิวดิน (Subsoil) ของไหล่ทวีปเท่านัน้ ส่วนห้ วงนํ ้าที่ อยู่เหนือไหล่ทวีป (Water Superjacent to the Sea-Bed) และอยู่นอกเขตเศรษฐกิจจําเพาะนัน้ รัฐชายฝั่ งไม่มีอํานา ใดๆ เพราะห้ วงนํ ้าดังกล่าวเป็ นเขตทะเลหลวง (High Seas) ในกรณี ดั ง กล่ า วนี ถ้ ื อ ว่ า อํ า นาจของรั ฐ ชายฝั่ งเหนื อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ บ นไหล่ ท วี ป นั น้ ไม่ กระทบกระเทือนถึงสถานะทางกฎหมายของห้ วงนํ า้ เหนือไหล่ทวีป (Superjacent Water) และห้ วงอากาศ (Air Space) เหนื อ ห้ ว งนํ า้ นัน้ ซึ่ง เป็ นเขตทะเลหลวง (High Seas) กล่า วคื อ การใช้ อํ า นาจของรั ฐ ชายฝั่ ง เหนื อ ทรัพยากรธรรมชาติบนและใต้ ไหล่ทวีป จะต้ องไม่เป็ นการขัดขวางต่อเสรี ภาพของรัฐอื่นในการเดินเรื อ การบิน การวาง สายเคเบิลและท่อใต้ ทะเล และการใช้ ทะเลหลวงประการอื่น ๆ ที่กฎหมายระหว่างประเทศรับรอง 2.5) ทะเลหลวง (High Seas) (1) ความหมายของทะเลหลวง ทะเลหลวง หมายถึง ส่วนของทะเลที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (EEZ) ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) หรื อน่านนํ ้าภายใน (Internal Waters) ของรัฐชายฝั่ งหรื อน่านนํ ้าหมู่เกาะ (Archipelagic Waters) ของรัฐหมู่เกาะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 86) เป็ นที่น่าสังเกตว่า ห้ วงนํ ้า (Water column) และผิวนํ ้าเหนือไหล่ทวีปที่อยู่นอก เขตเศรษฐกิจจําเพาะยังคงเป็ นเขตทะเลหลวง ถึงแม้ ไหล่ทวีปและทรัพยากรบนไหล่ทวีปจะตกอยู่ภายใต้ สิทธิอธิปไตย (Sovereign Rights) ของรัฐชายฝั่ งก็ตาม (2) สิทธิ หน้ าที่ เสรี ภาพและเขตอํานาจของรัฐทังปวงในทะเลหลวง ้ (2.1) เสรี ภาพในทะเลหลวง (Freedom of the High Seas) ทะเลหลวงเปิ ดให้ แก่รัฐทังปวง ้ ไม่ว่ารัฐชายฝั่ ง (Coastal States) หรื อรัฐไร้ ฝั่งทะเล (Landlocked States) เสรี ภาพแห่งทะเลหลวงใช้ ได้ ภายใต้ เงื่อนไขที่กําหนดไว้ โดยอนุสญ ั ญาฯ และหลักเกณฑ์อื่น ๆ ของกฎหมาย ั ญาฯ ข้ อ 87) ระหว่างประเทศ เสรี ภาพแห่งทะเลหลวงทังของรั ้ ฐชายฝั่ งและรัฐไร้ ฝั่งทะเลประกอบด้ วย อาทิเช่น (อนุสญ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


231

(2.1.1) เสรี ภาพในการเดินเรื อ (Freedom of Navigation) รัฐชายฝั่ งหรื อรัฐไร้ ฝั่งทะเลย่อมมีเสรี ภาพในการเดินเรื อในทะเลหลวง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 90) โดยรัฐจะเป็ นผู้กําหนดให้ สญ ั ชาติแก่เรื อที่จะใช้ ธงของตน หรื อที่จดทะเบียนในรัฐของตน การให้ สญ ั ชาติแก่เรื อนัน้ ต้ อง ั ชาติของรัฐนัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ ปรากฏว่ามีความเกี่ยวโยงอย่างแท้ จริ ง (Genuine Link) ระหว่างรัฐและเรื อที่จะได้ สญ 91 วรรคหนึง่ ) และรัฐที่ให้ สญ ั ชาติต้องออกเอกสารประจําเรื อให้ แก่เรื อที่รัฐนันให้ ้ สญ ั ชาติด้วย เรื อที่มีสญ ั ชาติของรัฐใด จะได้ รับความคุ้มครอง (Diplomatic Protection) และอยู่ภายใต้ อํานาจของรัฐนัน้ ๆ และเรื อจะต้ องมีเพียงสัญชาติ เดียว เว้ นแต่จะมีการตกลงไว้ อย่างชัดเจนในสนธิสญ ั ญาหรื ออนุสญ ั ญา (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 92) การที่เรื อชักธงของรัฐ สองรัฐ หรื อมากกว่านันขึ ้ ้นไปเพื่อความสะดวกประการใดก็ดี เรื อนันๆ ้ จะอ้ างความคุ้มครองจากรัฐใดๆ มิได้ และจะ ถือเป็ นเรื อที่ไร้ สญ ั ชาติและอาจถูกตรวจค้ นโดยเรื อรบของรัฐได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 110 วรรคหนึ่ง (ดี)) เว้ นแต่จะเป็ นเรื อ ที่ใช้ ในทางการของสหประชาชาติ หรื อทบวงการชํ านัญพิเศษของสหประชาชาติ หรื อทบวงการพลังงานปรมาณู ั ญาฯ ข้ อ 93) ระหว่างประเทศ ที่ชกั ธงขององค์การนัน้ (อนุสญ เรื อรบในทะเลหลวงมีความคุ้มกันโดยสมบูรณ์จากเขตอํานาจของรัฐอื่นที่มิใช่รัฐเจ้ าของธง (อนุ สัญญาฯ ข้ อ 95) และเรื อซึง่ รัฐหนึ่งเป็ นเจ้ าของหรื อดําเนินกิจการและใช้ เฉพาะในงานของรัฐบาลอันมิใช่การพาณิชย์ ั ญาฯ ข้ อ 96) เมื่ออยูใ่ นทะเลหลวง จะมีความคุ้มกันโดยสมบูรณ์จากเขตอํานาจของรัฐอื่นที่มิใช่รัฐเจ้ าของธง (อนุสญ (2.1.2) เสรี ภาพในการบินผ่าน (Freedom of Overflight) อากาศยาน ทังที ้ ่เป็ นอากาศยานรบและอากาศยานพลเรื อน ย่อมมีเสรี ภาพในการบินเหนือ ทะเลหลวง ในกรณีของอากาศยานพลเรื อน (Civil Aircraft) จะต้ องปฏิบตั ิตามข้ อ 12 แห่งอนุสญ ั ญากรุงชิคาโกว่าด้ วย การบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (Chicago Convention on International Civil Aviation, 1994) โดยมีองค์การที่ รับผิดชอบ คือ องค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization (ICAO)) อากาศยานรบ หรื ออากาศยานของรัฐก็จําต้ องปฏิบตั ิการโดยคํานึงถึงความปลอดภัยในการ เดินอากาศตลอดเวลา (2.1.3) เสรี ภาพในการวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเล (Freedom of Lay Submarine Cables and Pipelines) รัฐทังปวงมี ้ สทิ ธิที่จะวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลบนพื ้นดินท้ องทะเลหลวง (Bed of the High Seas) เลยไหล่ทวีปออกไป ในกรณีเช่นว่านี ้ รัฐต้ องระมัดระวังตามสมควรถึงสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลที่วางอยู่แล้ ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวางสายเคเบิล หรื อท่อใต้ ทะเลใหม่นนั ้ จะต้ องไม่เป็ นอุปสรรคขัดขวางการซ่อมแซมสายเคเบิล และท่อใต้ ทะเลที่มีอยูแ่ ล้ ว (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 112) ในกรณีของสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลบนไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่ งนัน้ รัฐอื่นย่อมมีเสรี ภาพในการ วางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเลบนไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่ งได้ แต่การกําหนดเส้ นทางสําหรับการวางสายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลเช่นว่านัน้ ตกอยูภ่ ายใต้ ความยินยอมของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 79) (2.1.4) เสรี ภาพในการทําการประมง (โreedom of Fishing) รัฐทังปวงมี ้ สิทธิ ที่คนชาติของตนจะทําประมงในทะเลหลวง ภายใต้ บงั คับแห่งพันธกรณี ตาม สนธิ สญ ั ญาของตน สิทธิ และหน้ าที่ รวมทังผลประโยชน์ ้ ของรัฐชายฝั่ งที่บญ ั ญัติไว้ และบทบัญญัติในตอนที่ 2 ของ อนุสญ ั ญาฯ (การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง) (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 116)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


232

(2.1.5) เสรี ภาพในการสร้ างเกาะเทียมและสิ่งติดตังอื ้ ่น ๆ (Freedom of Construct Artificial Islands and Other Installations) เสรี ภ าพในการสร้ างเกาะเที ย มและสิ่ง ติ ด ตัง้ อื่ น ๆ ในทะเลหลวงนัน้ จะกระทํ า ได้ ภ ายใต้ กฎหมายระหว่างประเทศ ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติในภาคที่ 6 ว่าด้ วยไหล่ทวีป ของอนุสญ ั ญาฯ โดยเฉพาะในข้ อ 80 ้ ่นๆ โดยข้ อ 80 จะระบุให้ นําบทบัญญัติในข้ อ 60 ว่าด้ วยการสร้ างเกาะเทียม ว่าด้ วยการสร้ างเกาะเทียม หรื อสิง่ ติดตังอื สิ่งติดตัง้ หรื อสิ่งก่อสร้ างอื่นๆ ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะมาใช้ บงั คับโดยอนุโลม (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 87 วรรคหนึ่ง (ดี) ข้ อ 80 และข้ อ 60) (2.1.6) เสรี ภาพในการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ (Freedom of Scientific Research) รัฐทังปวง ้ โดยไม่คํานึงถึงที่ตงทางภู ั้ มิศาสตร์ และองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ มีสิทธิที่ จะทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในห้ วงนํ ้านอกขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (ทะเลหลวง) (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 257) (2) เขตอํานาจ (2.1) เขตอํานาจเหนือเรื อที่ชกั ธงของรัฐ ข้ อ 94 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และแนวคําวินิจฉัยของศาล 366 ได้ วางหลักการใช้ เขตอํานาจของรัฐเหนือเรื อที่ชกั ธงของรัฐนันไว้ ้ อย่างชัดเจนว่า แม้ รัฐ โลกในคดี The Lotus เจ้ าของธงจะมีเขตอํานาจแต่เพียงผู้เดียวเหนือการกระทําทังหลายบนเรื ้ อที่ชกั ธงของตนในทะเลหลวงก็ตาม แต่การใช้ เขตอํานาจดังกล่าวต้ องไม่เกินไปกว่าการใช้ เขตอํานาจของรัฐนันในดิ ้ นแดนของตน หากมีการกระทําความผิดเกิดขึ ้น ในทะเลหลวงและมีผลต่อเรื อที่ ชักธงของอีกรั ฐหนึ่ง ในกรณี เช่ นนี ไ้ ม่มีหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่จะห้ ามรั ฐ เจ้ าของธงเรื อที่ได้ รับผลจากการกระทําความผิดในทะเลหลวงที่จะถือว่าความผิดนันได้ ้ เกิดขึ ้นในดินแดนของตนด้ วย รัฐดังกล่าวจึงมีเขตอํานาจที่จะดําเนินคดีตอ่ ผู้กระทําความผิดได้ (2.2) เขตอํานาจทางอาญาในเรื่ องของการโดนกันหรื ออุบตั ิการณ์อื่นใดของการเดินเรื อ ในกรณีที่มีการโดนกันหรื ออุบตั ิการณ์อื่นใดของการเดินเรื อเกี่ยวกับเรื อในทะเลหลวงซึ่งพัวพันถึง ความรับผิดชอบทางอาญาหรื อทางวินยั ของนายเรื อหรื อของบุคคลอื่นใดที่ประจําการในเรื อ การดําเนินคดีอาญาหรื อ ทางวินยั กับบุคคลดังกล่าวไม่อาจกระทําได้ เว้ นแต่จะกระทําต่อเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายตุลาการหรื อฝ่ ายปกครองของรัฐเจ้ าของ ธงหรื อของรัฐซึง่ บุคคลนันเป็ ้ นคนชาติ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 97) (2.3) การยึดเรื อหรื ออากาศยานโจรสลัด ในทะเลหลวงหรื อในที่อื่นใดนอกเขตอํานาจของรัฐใด รัฐทุกรัฐอาจยึดเรื อหรื ออากาศยานโจรสลัด หรื อเรื อ หรื ออากาศยานซึ่งถูกยึดไปโดยการกระทําอันเป็ นโจรสลัดและอยู่ภายใต้ การควบคุมของโจรสลัด และอาจ จับกุมบุคคลและยึดทรัยพย์สนิ บนเรื อนันได้ ้ ศาลของรัฐซึง่ ดําเนินการยึดอาจวินิจฉัยโทษที่จะลงและอาจกําหนดการที่ จะต้ องกระทําเกี่ยวกับเรื อ อากาศยาน หรื อทรัพย์สิน โดยไม่เป็ นการตัดสิทธิของบุคคลที่สามซึ่งกระทําการโดยสุจริ ต ในกรณีที่การยึดเรื อหรื ออากาศยานโดยมีข้อสงสัยว่าเป็ นโจรสลัดได้ กระทําไปโดยไม่มีมลู เหตุอนั เพียงพอ รัฐซึง่ ทําการ ้ อสัญชาติสําหรับความสูญเสียหรื อความเสียหายที่เกิดจากการยึดนัน้ ยึดจะต้ องรับผิดต่อรัฐซึง่ เรื อหรื ออากาศยานนันถื (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 105 และข้ อ 106) (2.4) เขตอํานาจเหนือการกระทําความผิดอื่นของเรื อ 366

“Lotus” Judgement No.9, Series A, No.10 (1927) ; “Lotus”, PCIJ, Series C, No. 13 (II).

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


233

เรื อรบ หรื ออากาศยานทางทหาร หรื อเรื อ หรื ออากาศยานอื่นซึง่ มีเครื่ องหมายชัดแจ้ งและบ่งชัดว่า เป็ นเรื อ หรื ออากาศยานที่ใช้ ในราชการของรัฐบาล อาจทําการตรวจค้ นหรื อยึดเรื อต่างชาติในทะเลหลวงซึ่งมิใช่เรื อที่ ได้ รับความคุ้มกันโดยสมบูรณ์ กล่าวคือมิใช่เรื อรบต่างชาติ หรื อเรื อของรัฐต่างชาติที่ใช้ ในราชการของรัฐบาลอันมิใช่ การพาณิชย์ หากเรื อรบนันมี ้ เหตุอนั ควรสงสัยว่าเรื อต่างชาติดงั กล่าวได้ กระทําการดังต่อไปนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 110) - เรื อนันกระทํ ้ าการอันเป็ นโจรสลัด (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 101) ้ าการค้ าทาส (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 99 และ 110) - เรื อนันกระทํ - เรื อนัน้ กระทําการออกอากาศในทะเลหลวงโดยมิได้ รับอนุญาต กล่าวคือ ได้ มีการส่ง วิทยุกระจายเสียง หรื อแพร่ ภาพโทรทัศน์จากเรื อ หรื อสิ่งติดตังในทะเลหลวง ้ โดยมุ่งให้ สาธารณชนรับได้ โดยขัดต่อ ั ้ ้ไม่รวมถึงการส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 109) ข้ อบังคับระหว่างประเทศ แต่ทงนี - เรื อนันปราศจากสั ้ ญชาติ - เรื อนัน้ แม้ ว่าจะชักธงต่างชาติ หรื อไม่ยอมแสดงธงของตน แต่ตามความเป็ นจริ งแล้ ว เรื อ นันมี ้ สญ ั ชาติเดียวกับเรื อรบ อากาศยานทหาร หรื อเรื อ หรื ออากาศยานอื่น ซึ่งมีเครื่ องหมายชัดแจ้ งและบ่งชัดว่าเป็ น เรื อ หรื ออากาศยานที่ใช้ ในราชการของรัฐบาลนัน้ หากปรากฏว่าข้ อสงสัยในการตรวจค้ นนันไม่ ้ มีมลู และเรื อซึง่ ขึ ้นตรวจค้ นนันมิ ้ ได้ มีพฤติกรรมใดอัน เป็ นสาเหตุแห่งข้ อสงสัยนัน้ รัฐเจ้ าของสัญชาติของเรื อรบ อากาศยานทางทหาร หรื อเรื อ หรื ออากาศยานอื่นที่ใช้ ใน ราชการของรัฐต้ องรับผิดชอบในความสูญเสียหรื อเสียหายใด ๆ ที่เรื อนันได้ ้ รับ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 110 วรรคสาม) (2.5) สิทธิการไล่ตามติดพัน (Right of Hot Pursuit) การไล่ตามติดพันเรื อต่างชาติอาจกระทําได้ เมื่อเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจของรัฐชายฝั่ งมีเหตุผลที่เชื่อได้ ว่า เรื อนันได้ ้ ละเมิดกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐนัน้ การไล่ตามเช่นว่านันจะต้ ้ องเริ่ มต้ นเมื่อเรื อต่างชาติหรื อเรื อเล็กลํา หนึ่งของเรื อต่างชาติอยู่ในน่านนํ ้าภายใน น่านนํ ้าหมู่เกาะ ทะเลอาณาเขต หรื อเขตต่อเนื่องของรัฐที่ไล่ตาม และ สามารถดําเนินต่อไปได้ นอกทะเลอาณาเขตหรื อเขตต่อเนื่อง หากการไล่ตามนันมิ ้ ได้ ขาดตอนลง ไม่จําเป็ นว่า ในขณะ ที่เรื อต่างชาติที่อยู่ในทะเลอาณาเขตหรื อเขตต่อเนื่องได้ รับคําสัง่ ให้ หยุด เรื อที่ออกคําสัง่ ควรจะต้ องอยู่ในทะเลอาณา เขตหรื อเขตต่อเนื่องเช่นเดียวกัน ถ้ าเรื อต่างชาติอยูใ่ นเขตต่อเนื่อง การไล่ตามจะกระทําได้ ก็ต่อเมื่อได้ มีการละเมิดสิทธิ ซึ่งเขตนัน้ ได้ ถูกจัดตัง้ ขึน้ สําหรั บ คุ้มครองเท่านัน้ กล่าวคื อ ต้ องเป็ นการป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อ บัง คับ เกี่ยวกับศุลกากร การคลัง การเข้ าเมือง หรื อการสุขาภิบาล ภายในอาณาเขตหรื อทะเลอาณาเขตของตน หรื อเพื่อ ลงโทษการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร การคลัง การเข้ าเมืองหรื อการสุขาภิบาล ซึง่ ได้ กระทําภายใน อาณาเขตหรื อทะเลอาณาเขตของตน แต่อย่างไรก็ตาม สิทธิการไล่ตามติดพันจะสิ ้นสุดทันทีที่เรื อซึ่งถูกไล่ตามเข้ า ทะเลอาณาเขตของรัฐของตนหรื อของรัฐที่สาม (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 111) (3) หน้ าที่ของรัฐทังปวง ้ (3.1) รัฐทุกรัฐจะต้ องใช้ เขตอํานาจและดําเนินการควบคุมอย่างมีประสิทธิผลในเรื่ องการบริ หาร เทคนิค และสังคม เหนือเรื อที่ชกั ธงของตน โดยจะต้ องมีทะเบียนเรื อซึ่งระบุชื่อและรายละเอียดของเรื อที่ชกั ธงของตน ยกเว้ นเรื อซึ่งอยู่นอกข้ อบังคับระหว่างประเทศที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปเนื่องจากมีขนาดเล็ก และใช้ เขตอํานาจภายใต้ กฎหมายภายในบังคับแก่เรื อแต่ละลําซึง่ ชักธงของตน และนายเรื อ เจ้ าหน้ าที่ และลูกเรื อของเรื อนัน้ ในส่วนที่เกี่ยวกับ เรื่ องการบริ หาร เทคนิค และสังคมเกี่ยวกับเรื อนัน้ นอกจากนี ้ รัฐทุกรัฐจะต้ องใช้ มาตรการสําหรับเรื อซึ่งชักธงของตน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


234

เช่นที่จําเป็ นเพื่อประกันความปลอดภัยในทะเลในด้ านต่างๆ เช่น การต่อเรื อ อุปกรณ์ และสภาพพร้ อมออกทะเลของ เรื อ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 94 วรรคหนึง่ และวรรคสอง) (3.2) รัฐทุกรัฐต้ องกําหนดให้ นายเรื อของเรื อซึ่งชักธงของตนให้ ความช่วยเหลือแก่บุคคลซึ่งตกอยู่ ในอันตรายต่อชีวิต ทุกขภัย หรื อให้ ความช่วยเหลือภายหลังการโดนกันแก่เรื ออีกลําหนึ่ง แก่ลกู เรื อและผู้โดยสารของ เรื อนัน้ ทังนี ้ ้ เท่าที่นายเรื อสามารถกระทําได้ โดยไม่เป็ นอันตรายร้ ายแรงต่อเรื อ ลูกเรื อ หรื อผู้โดยสาร (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 98) (3.3) รัฐทุกรัฐต้ องดําเนินมาตรการที่มีประสิทธิผลที่จะป้องกันและลงโทษการขนส่งทาสในเรื อที่ ได้ รับอนุญาตให้ ชกั ธงตน และที่จะป้องกันการใช้ ธงของตนโดยมิชอบด้ วยกฎหมายเพื่อความมุ่งประสงค์นนั ้ ทาสที่ลี ้ ั ญาฯ ข้ อ 99) ภัยขึ ้นบนเรื อไม่วา่ จะชักธงใด จะได้ รับอิสรภาพโดยอัตโนมัติ (อนุสญ (3.4) รัฐทังปวงจะต้ ้ องร่วมมือกันอย่างมากที่สดุ ที่จะทําได้ ในการปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจร สลัดในทะเลหลวง หรื อในที่อื่นใดภายนอกอาณาเขตของรัฐใด (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 100) (3.5) รัฐทังปวงจะต้ ้ องร่วมมือกันในการปราบปรามการลักลอบค้ ายาเสพติดให้ โทษและสารที่ออก ั ญาระหว่างประเทศ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 108) ฤทธิ์ตอ่ จิตประสาท โดยทางเรื อในทะเลหลวง อันขัดต่ออนุสญ (3.6) รัฐทังปวงจะต้ ้ องร่ วมมือกันในการปราบปรามการออกอากาศจากทะเลหลวงโดยไม่ได้ รับ อนุญาต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 109) (3.7) รัฐทุกรัฐจะต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับที่จําเป็ นเพื่อกําหนดว่า การทําให้ สายเคเบิลใต้ ทะเลในทะเลหลวงแตกหักหรื อเสียหายโดยเรื อซึง่ ชักธงของตนหรื อโดยบุคคลที่อยูภ่ ายใต้ เขตอํานาจของตนโดยเจตนา หรื อโดยประมาทอันเป็ นความผิดตามกฎหมาย ในลักษณะที่จะทําให้ การสื่อสารทางโทรเลขหรื อทางโทรศัพท์ขาดตอน หรื อถูกขัดขวาง รวมถึงการทําให้ ท่อหรื อสายไฟแรงสูงใต้ ทะเลแตกหักหรื อเสียหาย เป็ นการกระทําผิดที่มีโทษตาม กฎหมาย และให้ ใช้ บังคับกับการกระทําที่เล็งเห็นว่าหรื อน่าจะก่อให้ เกิดการแตกหักหรื อเสียหายด้ วย ยกเว้ นการ แตกหักหรื อเสียหายซึ่งก่อขึ ้นโดยบุคคลผู้ซึ่งกระทําการโดยมีวตั ถุประสงค์อนั ชอบธรรมเพียงเพื่อช่วยชีวิตของตนหรื อ เรื อของตน หลังจากได้ ใช้ ความระมัดระวังตามที่จําเป็ นทุกอย่างแล้ ว เพื่อหลีกเลี่ยงการแตกหักหรื อเสียหายเช่นว่านัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 113) นอกจากนี ้ รั ฐทุกรั ฐจะต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับที่จําเป็ นเพื่อกําหนดว่า หากบุคคลที่อยู่ ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐนันซึ ้ ่งเป็ นเจ้ าขอสายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลภายใต้ ทะเลหลวงในขณะวางหรื อซ่อมแซมสาย ้ องเป็ นผู้ เคเบิลหรื อท่อนัน้ ได้ ก่อให้ เกิดการแตกหักหรื อเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลอื่น บุคคลเหล่านันจะต้ ออกค่าใช้ จ่ายในการซ่อมแซมต่างๆ (อนุสญ ั ญา ข้ อ 114) (3.8) รัฐทุกรัฐจะต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับที่จําเป็ นเพื่อประกันว่า เจ้ าของเรื อซึ่งสามารถ พิสจู น์ได้ ว่าตนได้ ยอมสละสมอ เรื อ อวน หรื ออุปกรณ์ การประมงอื่นใด เพื่อหลีกเลี่ยงการทําความเสียหายแก่สาย เคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเล จะได้ รับชดใช้ ค่าเสียหายจากเจ้ าของสายเคเบิลหรื อท่อใต้ ทะเลนัน้ หากว่าเจ้ าของเรื อได้ ใช้ ั ญาฯ ข้ อ 115) มาตรการระมัดระวังอันควรทังปวงล่ ้ วงหน้ าแล้ ว (อนุสญ (2.7) รัฐทัง้ ปวงมีหน้ าที่ในการดําเนินหรื อร่ วมมือกับรัฐอื่นในการดําเนินมาตรการเช่นที่จําเป็ น สําหรับคนชาติของตนเพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง และหน้ าที่อื่นๆ ตามที่กําหนดไว้ ในอนุสญ ั ญาฯ เช่น ข้ อ 63 วรรคสอง (สิทธิเหนือมวลสัตว์นํ ้าชนิดเดียวกัน หรื อบรรดามวลสัตว์นํ ้าของชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันภายในเขต เศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งและในเขตทะเลหลวง ซึง่ ในกรณีเช่นว่านี ้ รัฐชายฝั่ งและรัฐอื่นที่ทําการประมงมวลสัตว์

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


235

นํ า้ เช่นว่านัน้ ในทะเลหลวง ต้ องตกลงกันไม่ว่าโดยตรงหรื อโดยผ่านองค์ การระดับอนุภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาคที่ เหมาะสม ในการวางมาตรการที่จําเป็ นเพื่อการอนุรักษ์ มวลสัตว์นํา้ เหล่านัน) ้ และอนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 64 ถึง 67 ซึ่งได้ กําหนดมวลสัตว์นํ ้าบางชนิด ซึง่ ชายฝั่ งและรัฐอื่นซึ่งคนชาติของตนทําการประมงในภูมิภาคจะต้ องร่วมมือกันเพื่อวาง มาตรการในการอนุรักษ์ ได้ แก่ (2.7.1) ชนิดพันธุ์ที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ (Highly Migratory Species (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 64) ตามที่ระบุ ไว้ ในภาคผนวกที่ 1 (Annex I) ของอนุสญ ั ญาฯ ได้ แก่ ปลาจําพวกปลาทูน่า เช่น Albacore, Blufin, Bigee, Skipjack, Yellowfin, Blackfin, Little tuna, Southern bluefin, Frigate mackerel นอกจากนี ้ยังมีปลา Marlins, Sail-fishes, Swordfish, Saureis รวมทังปลาโลมาและปลาฉลาม ้ (2.7.2) สัตว์ทะเลที่เลี ้ยงลูกด้ วยนม (Marin Mammals) (อนุสญ ั ญาฯข้ อ 65)) (2.7.3) มวลสัตว์นํ ้าที่ว่ายจากทะเลขึ ้นมาในแม่นํ ้าระหว่างฤดูวางไข่ (Anadromous Species) (อนุ สัญญาฯ ข้ อ 66) และ (2.7.4) ชนิดพันธุ์ที่ว่ายจากนํ ้าจืดลงไปในทะเลระหว่างฤดูวางไข่ (Catadromous Species) (อนุ สัญญาฯ ข้ อ 67) หน้ าที่ประการสําคัญของรัฐทังปวง ้ คือ ต้ องร่วมมือกันเพื่อกําหนดมาตรการในการอนุรักษ์ และการ จัดการทรัพยากรมีชีวิตในบริเวณทะเลหลวง ในการนี ้ รัฐซึง่ คนชาติของตนแสวงประโยชน์จากทรัพยากรมีชีวิตประเภท เดียวกันหรื อต่างประเภทในบริ เวณเดียวกัน จะต้ องเจรจาเพื่อดําเนินมาตรการที่จําเป็ นสําหรับการอนุรักษ์ ทรัพยากรมี ชีวิตที่เกี่ยวข้ อง รัฐเหล่านี ้จะร่วมมือกันจัดตังองค์ ้ การประมงระดับอนุภมู ิภาคหรื ออนุภมู ิภาคขึ ้นตามความเหมาะสมก็ ได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 227, 118) ทังนี ้ ้ ในการพิจารณากําหนดปริ มาณที่พึงอนุญาตให้ จับได้ (Allowable Catch) และการวาง มาตรการอนุรักษ์ อื่นๆ สําหรับทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง รัฐจะต้ องใช้ มาตรการซึ่งกําหนดขึ ้น โดยอาศัยหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สุดซึ่งรั ฐที่เกี่ยวข้ องมีอยู่ เพื่อธํ ารงไว้ หรื อฟื ้นฟูประชากรชนิดพันธุ์ที่ถูกจับให้ อยู่ในระดับซึ่ง สามารถอํานวยผลผลิตได้ อย่างสูงสุด (Maximum Sustainable Yields) ตลอดไป ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยู่กบั สิ่งแวดล้ อมและ เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้ อง รวมทังความต้ ้ องการพิเศษของรัฐกําลังพัฒนา และโดยคํานึงถึงแบบแผนการประมง (Fishing ้ ่าระหว่างประเทศที่ Patterns) การพึง่ พาอาศัยกันของมวลสัตว์นํ ้า (Interdependence of Stocks) และมาตรฐานขันตํ เสนอแนะกันโดยทัว่ ไป ไม่ว่าจะในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลก นอกจากนี ้ ยังต้ องคํานึงผลกระทบที่มีต่อ ชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันหรื อพึ่งพาดังกล่าวให้ อยู่เหนือระดับซึ่งการแพร่ พนั ธุ์ของชนิดพันธุ์เหล่านี ้อาจถูกคุกคามอย่าง ร้ ายแรง อย่างไรก็ตาม รัฐที่เกี่ยวข้ องต้ องประกันว่ามาตรการอนุรักษ์ และการใช้ มาตรการนันไม่ ้ เป็ นการเลือกประติบตั ิ ต่อชาวประมงของรัฐใด ทังโดยนิ ้ ตินยั หรื อโดยพฤตินยั (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 119) ในกรณีของสัตว์ทะเลเลี ้ยงลูกด้ วยนมในทะเลหลวงนัน้ รัฐจะต้ องร่ วมมือกันเพื่ออนุรักษ์ สตั ว์ทะเล ดังกล่าว โดยผ่านทางองค์การระหว่างประเทศที่เหมาะสม (อนุสญ ั ญาฯข้ อ 65 และ 120) 4.1.2.2 พันธกรณีของรัฐชายฝั่ งและรัฐต่างชาติที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติที่ ไม่มีชีวิต การคุ้มครองและการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล และการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล 1) ทรัพยากรธรรมชาติ ทีม่ ี ชีวิต 1.1) ในทะเลอาณาเขต

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


236

(1) พันธกรณีของรัฐชายฝั่ ง เนื่องจากรัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตซึ่งรวมถึงอํานาจในการแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติมีชีวิตแต่ผ้ เู ดียวด้ วย รัฐชายฝั่ งจึงสามารถออกกฎหมายและข้ อบังคับที่เกี่ยวกับการผ่านโดยสุจริ ต ในส่วนที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเล และการป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการ ประมงของรัฐชายฝั่ งได้ โดยรัฐชายฝั่ งจะต้ องเผยแพร่ กฎหมายและข้ อบังคับดังกล่าวนันให้ ้ รัฐอื่นทราบตามสมควร (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ ๒๑) แต่อย่างไรก็ตาม รัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่ขดั ขวางการผ่านโดยสุจริ ตของเรื อต่างชาติในทะเลอาณา ั ญาฯ หรื อกฎหมายหรื อ เขต เว้ นแต่จะเป็ นไปตามบทบัญญัติในอนุสัญญาฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการใช้ อนุสญ ข้ อบังคับใดๆ ที่ออกตามความในอนุสญ ั ญาฯ โดยรัฐชายฝั่ งจะต้ องไม่กระทําการดังต่อไปนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 24 วรรค หนึง่ ) - วางข้ อกําหนดสําหรับเรื อต่างชาติซงึ่ มีผลในทางปฏิบตั ิเป็ นการปฏิเสธหรื อทําให้ เสียสิทธิ การผ่านโดยสุจริ ต หรื อ - เลือกประติบตั ิโดยนิตินยั หรื อโดยพฤตินยั ต่อเรื อของรัฐใดหรื อเรื อบรรทุกสินค้ าไปยังหรื อ มาจากหรื อในนามของรัฐใด ทังนี ้ ้ รัฐชายฝั่ งจะต้ องเผยแพร่ ให้ ทราบตามความเหมาะสมถึงอันตรายต่อการเดินเรื อที่ตนทราบภายใน ทะเลอาณาเขตของตน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 24 วรรคสอง) นอกจากนี ้ รัฐชายฝั่ งไม่อาจดําเนินขันตอนใดๆ ้ ในเรื อต่างชาติขณะกําลังผ่านทะเลอาณาเขต เพื่อจับกุม บุคคลหรื อดําเนินการสอบสวนเกี่ยวกับอาชญากรรมซึง่ ได้ กระทําก่อนที่เรื อได้ เข้ าสู่ทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง และ ้ น เรื อนันมิ ้ ได้ เข้ าไปในท่าเรื อ หรื อน่านนํ ้าภายในของรัฐชายฝั่ ง เว้ นแต่การกระทําความผิดนอกทะเลอาณาเขตนันจะเป็ การฝ่ าฝื นกฎหมายของรัฐชายฝั่ งเกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้ อม หรื อเกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ทรัพยากรประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 27 วรรคห้ า) (2) พันธกรณีของรัฐอื่น รัฐอื่นมีสิทธิเดินเรื อผ่านโดยสุจริ ต (Right of Innocent Passage) ซึง่ การผ่านโดยสุจริ ตนันเรื ้ อต่างชาติ ต้ องไม่ทํากิจกรรมการประมงในทะเลอาณาเขตของรั ฐชายฝั่ ง และต้ องปฏิบัติตามกฎหมายและข้ อบังคับของรั ฐ ชายฝั่ งที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเล การป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับการประมง ของรัฐชายฝั่ ง รวมทังข้ ้ อบังคับระหว่างประเทศซึ่งเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปเกี่ยวกับการป้องกันเรื อโดนกันในทะเล (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 21 วรรคสี่) ในกรณีของเรื อพลังนิวเคลียร์ ตา่ งชาติและเรื อบรรทุกสารนิวเคลียร์ หรื อสารที่โดยลักษณะเป็ นอันตราย หรื อเป็ นพิษอื่นๆ จะต้ องมีเอกสารและปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันพิเศษที่กําหนดขึ ้นสําหรับเรื อดังกล่าวโดยความตก ลงระหว่างประเทศ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 23) หากปรากฏว่าเรื อต่างชาติที่ผา่ นทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ งทําการโดยไม่สจุ ริ ต เช่น กระทําการใด ๆ อันเป็ นปฏิปักษ์ หรื อคุกคามต่อสันติภาพ ความมัน่ คง หรื อบูรณภาพแห่งดินแดนของรัฐชายฝั่ ง หรื อทําการประมงโดย ไม่ได้ รับอนุญาตในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง หรื อกระทําการฝ่ าฝื นกฎหมาย หรื อกฎข้ อบังคับใดของรัฐชายฝั่ ง รัฐ ชายฝั่ งอาจกระทําการเพื่อป้องกันการผ่านโดยไม่สจุ ริ ตนันได้ ้ เช่น ปฏิเสธไม่ให้ เรื อต่างชาติผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐ ชายฝั่ งหรื อจับกุมเรื อนัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


237

ในกรณีที่เรื อต่างชาตินนเป็ ั ้ นเรื อรบและไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งเกี่ยวกับการ ผ่านทะเลอาณาเขตและละเลยต่อคําร้ องขอต่อตนให้ ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อบังคับดังกล่าว รัฐชายฝั่ งอาจสัง่ ให้ เรื อรบนัน้ ออกจากทะเลอาณาเขตได้ โดยทันที ทังนี ้ ้ รัฐเจ้ าของธงจะต้ องมีความรับผิดชอบระหว่างประเทศสําหรับ ความสูญเสียหรื อความเสียหายต่อรัฐชายฝั่ งซึง่ เป็ นผลจากการที่เรื อรบหรื อเรื ออื่นของรัฐบาลที่มิได้ ใช้ เพื่อการพาณิชย์ ไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งเกี่ยวกับการผ่านทะเลอาณาเขตหรื อบทบัญญัติของอนุสญ ั ญาฯ ั ญาฯ ข้ อ 30 และข้ อ 31) หรื อหลักเกณฑ์อ่ืนๆ ในกฎหมายระหว่างประเทศ (อนุสญ 1.2) ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (1) พันธกรณีของรัฐชายฝั่ ง รัฐชายฝั่ งมิสทิ ธิอธิปไตยเพื่อความมุง่ ประสงค์ในการสํารวจและการแสวงประโยชน์ การอนุรักษ์ และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตเหนือพื ้นดินท้ องทะเล และในพื ้นดินท้ องทะเลกับดินใต้ ผิวดินของพื ้นดินท้ องทะเล นัน้ โดยรัฐชายฝั่ งมีสทิ ธิและหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1.1) การอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 61) (1.1.1) รัฐชายฝั่ งจะพิจารณากําหนดปริ มาณทรัพยากรที่มีชีวิตที่จะพึงอนุญาตให้ จบั ได้ ในเขต เศรษฐกิจจําเพาะของตน (1.1.2) โดยคํ า นึง ถึงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ ดีที่สุดที่ ตนมี อยู่ รั ฐชายฝั่ งต้ องประกันโดย มาตรการอนุรักษ์ และการจัดการที่เหมาะสมกว่า การบํารุงรักษาทรัพยากรที่มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะจะไม่ได้ รับ อันตรายจากการแสวงประโยชน์เกินควร รัฐชายฝั่ งและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจไม่ว่าระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลก จะร่วมมือกันเพื่อการนี ้ตามความเหมาะสม (1.1.3) จะต้ องวางมาตรการเช่นว่าเพื่อธํ ารงไว้ หรื อฟื ้นฟูประชากรชนิดพันธุ์ที่ถูกจับให้ อยู่ใน ระดับซึ่งสามารถอํานวยผลผลิตได้ อย่างสูงสุดตลอดไปด้ วย ทัง้ นี ้ ขึน้ อยู่กับปั จจัยด้ านสิ่งแวดล้ อมและเศรษฐกิจที่ เกี่ยวข้ อง รวมถึงความจําเป็ นด้ านเศรษฐกิจของประชาคมประมงชายฝั่ งและความต้ องการพิเศษของรัฐกําลังพัฒนา และโดยคํานึงถึงแบบแผนการประมง การพึ่งพาอาศัยกันของมวลสัตว์ นํา้ และมาตรฐานขัน้ ตํ่าระหว่างประเทศที่ เสนอแนะกันโดยทัว่ ไปใดๆ ไม่วา่ ในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลก (1.1.4) ในการใช้ ม าตรการดัง กล่า ว รั ฐ ชายฝั่ ง จะต้ อ งคํ า นึง ถึง ผลกระทบที่ มีต่อ ชนิ ด พัน ธุ์ ที่ สัมพันธ์หรื อพึง่ พาชนิดพันธุ์ที่ถกู จับ โดยมุ่งที่จะธํารงไว้ หรื อฟื น้ ฟูประชาการของชนิดพันธุ์ที่สมั พันธ์ หรื อพึง่ พาดังกล่าว ให้ อยูเ่ หนือระดับซึง่ การแพร่พนั ธุ์ของชนิดพันธุ์เหล่านี ้อาจถูกคุกคามอย่างร้ ายแรง (1.1.5) ให้ มีการเผยแพร่ และแลกเปลี่ยนข้ อสนเทศทางวิทยาศาสตร์ สถิติเกี่ยวกับการจับและ กิจกรรมการประมง รวมทังข้ ้ อมูลอื่นๆ ที่มีอยู่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ มวลปลาอย่างสมํ่าเสมอ โดยผ่านองค์การระหว่าง ประเทศที่มีอํานาจไม่ว่าระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลก ตามที่เหมาะสมและโดยให้ รัฐที่เกี่ยวข้ องทังปวง ้ รวมทังรั้ ฐซึง่ คนชาติได้ รับอนุญาตให้ เข้ าไปทําการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะมีสว่ นร่วมด้ วย (1.2) การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีชีวิต (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 62) (1.2.1) รัฐชายฝั่ งจะต้ องส่งเสริ มวัตถุประสงค์ในการใช้ ประโยชน์สงู สุดจากทรัพยากรที่มีชีวิตใน เขตเศรษฐกิจจําเพาะโดยไม่เป็ นการเสื่อมเสียต่อข้ อ 61 (1.2.2) รัฐชายฝั่ งจะพิจารณากําหนดขีดความสามารถของตนในการจับทรัพยากรมีชีวิตในเขต เศรษฐกิจจําเพาะ ในกรณี ที่รัฐชายฝั่ งไม่มีขีดความสามารถที่จะจับตามปริ มาณที่พึงอนุญาตให้ จับได้ ทัง้ หมด รั ฐ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


238

ชายฝั่ งจะให้ รัฐอื่นเข้ าแสวงประโยชน์จากส่วนเกินของปริ มาณที่พึงอนุญาตให้ จบั ได้ โดยทําความตกลงหรื อข้ อตกลง อื่นๆ และเป็ นไปตามข้ อกําหนด เงื่อนไข กฎหมาย ตลอดจนข้ อบังคับต่างๆ (1.2.3) ในการให้ รั ฐ อื่ น เข้ า แสวงประโยชน์ ใ นเขตเศรษฐกิ จ จํ า เพาะของตน รั ฐ ชายฝั่ ง ต้ อ ง คํานึงถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้ องทัง้ หมด รวมทัง้ ความสําคัญของทรัพยากรมีชีวิตพืน้ ที่นัน้ ต่อเศรษฐกิจและประโยชน์ อื่น แห่งชาติของรัฐชายฝั่ งนัน้ บทบัญญัติแห่งข้ อ 69 และ 70 ความต้ องการของรัฐกําลังพัฒนาในอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาค ในการจับส่วนที่เหลือบางส่วน และความจําเป็ นในการบรรเทาความยุ่งเหยิงทางเศรษฐกิจในรัฐซึ่งคนชาติได้ ทําการ ประมงในเขตนันมาเป็ ้ นปกติวิสยั หรื อซึง่ ได้ ใช้ ความพยายามอย่างมากในการวิจยั และการจําแนกมวลสัตว์นํ ้า (1.2.4) รัฐชายฝั่ งมีอํานาจในการออกกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับมาตรการในการอนุรักษ์ ซงึ่ จะต้ องสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฯ โดยรัฐชายฝั่ งจะต้ องประกาศกฎหมายและข้ อบังคับว่าด้ วยการอนุรักษ์ และจัดการ ให้ ทราบตามควร (1.3) การบังคับใช้ กฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 73) (1.3.1) ในการใช้ สทิ ธิอธิปไตยของตนเพื่อสํารวจ แสวงประโยชน์ อนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่ ้ น้ เรื อ ตรวจค้ น จับกุม และดําเนินคดี มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ รัฐชายฝั่ งอาจใช้ มาตรการต่างๆ รวมทังการขึ เท่าที่จําเป็ น เพื่อประกันการปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อบังคับที่ตนได้ วางไว้ โดยสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฯ (1.3.2) เรื อ ที่ถูกจับ กุมและลูกเรื อ จะได้ รับการปล่อ ยโดยพลันเมื่อ มีการวางเงินประกันหรื อ หลักประกันอื่นๆ ที่สมเหตุผล (1.3.3) บทกํ าหนดโทษของรั ฐชายฝั่ งสําหรั บการละเมิดกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ ยวกับการ ประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะต้ องไม่รวมถึงโทษจําคุก ถ้ ามิได้ ตกลงระหว่างรัฐที่เกี่ยวข้ องไว้ เป็ นอย่างอื่น หรื อการ ลงโทษทางร่างกายในรูปอื่นใด (1.3.4) ในกรณีที่มีการจับกุมหรื อกักเรื อต่างชาติ รัฐชายฝั่ งจะแจ้ งผ่านช่องทางที่เหมาะสมให้ รัฐ เจ้ าของธงทราบโดยพลัน เกี่ยวกับมาตรการที่ได้ ดําเนินไปและการลงโทษที่ได้ ลงไปหลังจากนัน้ (2) พันธกรณีของรัฐอื่น คนชาติของรัฐอื่นที่ทําการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะจะต้ องปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษ์ และตาม ั ญัติไว้ ในกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 62) ข้ อกําหนด และเงื่อนไขอื่นๆที่ได้ บญ รัฐไร้ ฝั่งทะเลมีสทิ ธิเข้ าร่วมในการแสวงประโยชน์จากส่วนอันเหมาะสมของทรัพยากรที่มีชีวิตส่วนเกินใน เขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งในอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคเดียวกันบนมูลฐานอันเที่ยงธรรม ข้ อกําหนดและแบบวิธี ในการเข้ าร่วม ให้ รัฐที่เกี่ยวข้ องจัดทําขึ ้นในรูปความตกลงทวิภาคี ความตกลงอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาค (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 69) รัฐที่เสียเปรี ยบทางภูมิศาสตร์ มีสทิ ธิเข้ าร่วมในการแสวงประโยชน์จากส่วนอันเหมาะสมของทรัพยากรที่ มีชีวิตส่วนเกินในเขตเศรษฐกิจจํ าเพาะของรั ฐชายฝั่ งในอนุภูมิภาคหรื อภูมิภาคเดียวกันบนมูลฐานอันเที่ยงธรรม ข้ อกําหนดและแบบวิธีในการเข้ าร่ วม ให้ รัฐที่เกี่ยวข้ องจัดทําขึ ้นในรู ปความตกลงทวิภาคี ความตกลงอนุภูมิภาคหรื อ ภูมิภาค (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 70) 1.3) ในไหล่ทวีป (1) พันธกรณีของรัฐชายฝั่ ง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


239

รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยเหนือไหล่ทวีปเพื่อความมุ่งประสงค์ในการสํารวจไหล่ทวีปและแสวงประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตของไหล่ทวีป หากรัฐชายฝั่ งไม่สํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มี ชีวิตของไหล่ทวีป ผู้ใดจะดําเนินกิจกรรมเหล่านี โ้ ดยปราศจากความยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ งมิได้ อนึ่ง ทรัพยากรธรรมชาติในไหล่ทวีปประกอบด้ วยแร่ และทรัพยากรไม่มีชีวิตอย่างอื่นของพื ้นดินท้ องทะเลและดินใต้ ผิวดิน ั ้ เคลื่อนที่ไป รวมทังอิ ้ นทรี ยภาพมีชีวิตซึง่ จัดอยูใ่ นชนิดพันธุ์ที่อยู่ติดที่ กล่าวคือ อินทรี ยภาพซึง่ ในระยะที่อาจจับได้ นนไม่ บนหรื อใต้ พื ้นดินท้ องทะเล หรื อไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เว้ นแต่โดยการสัมผัสทางกายภาพอยู่เสมอกับพื ้นดินท้ อง ทะเลหรื อดินใต้ ผิวดิน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) (2) พันธกรณีของรัฐอื่น รัฐอื่นจะสํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตของไหล่ทวีปไม่ได้ เว้ นแต่ได้ รับความ ยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) 1.4) ในทะเลหลวง พันธกรณีของของรัฐทังปวงเกี ้ ่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตในทะเลหลวงมีดงั นี ้ (1) รั ฐ ทัง้ ปวงมี สิท ธิ ที่ ค นชาติ ข องตนจะทํ า ประมงในทะเลหลวงภายใต้ บัง คับ แห่ ง พัน ธกรณี ต าม สนธิสญ ั ญาของตน สิทธิและหน้ าที่ รวมทังผลประโยชน์ ้ ของรัฐชายฝั่ งที่บญ ั ญัติไว้ และอนุสญ ั ญาฯ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 116) (2) รัฐทังปวงมี ้ หน้ าที่ในการดําเนินหรื อร่ วมมือกับรัฐอื่นในการดําเนินมาตรการเช่นที่จําเป็ นสําหรับคน ชาติของตนเพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 117) (3) รัฐจะต้ องร่ วมมือกันในการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง รัฐซึ่งคนชาติของตน แสวงประโยชน์ จากทรั พยากรมี ชีวิตประเภทเดียวกันหรื อต่างประเภทในบริ เวณเดียวกันจะต้ องเจรจาเพื่อดําเนิน มาตรการที่จําเป็ นสําหรับการอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตที่เกี่ยวข้ อง รัฐเหล่านี ้จะร่วมมือกันจัดตังองค์ ้ การประมงระดับอนุ ภูมิภาคหรื อภูมิภาคตามความเหมาะสมเพื่อการนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 118) (4) การอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 119 และข้ อ 120) (4.1) ในการพิจารณากําหนดปริ มาณที่พึงอนุญาตให้ จับได้ และการวางมาตรการอนุรักษ์ อื่นๆ สําหรับทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง รัฐต้ องใช้ มาตรการซึง่ กําหนดขึ ้นโดยอาศัยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ ซึง่ รัฐที่เกี่ยวข้ องมีอยู่ เพื่อธํ ารงไว้ หรื อฟื น้ ฟูประชากรชนิดพันธุ์ที่ถกู จับให้ อยู่ในระดับซึ่งสามารถอํานวยผลผลิตได้ อย่าง สูงสุดตลอดไป และคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันหรื อพึ่งพาชนิดพันธุ์ที่ถกู จับ โดยมุ่งจะธํ ารงไว้ หรื อ ฟื น้ ฟูประชากรของชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันหรื อพึง่ พาดังกล่าวให้ อยู่เหนือระดับซึง่ การแพร่พนั ธุ์ของชนิดพันธุ์เหล่านี ้อาจ ถูกคุกคามอย่างร้ ายแรง (4.2) ให้ มี ก ารเผยแพร่ แ ละแลกเปลี่ ย นข้ อ สนเทศทางวิ ท ยาศาสตร์ สถิ ติ เ กี่ ย วกับ การจับ และ กิจกรรมประมง รวมทังข้ ้ อมูลอื่นที่มีอยู่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ มวลปลาอย่างสมํ่าเสมอ โดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ ที่มีอํานาจ ไม่วา่ จะเป็ นระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลกตามความเหมาะสม และโดยให้ รัฐที่เกี่ยวข้ องทังปวงมี ้ ส่วนร่วมด้ วย ้ เป็ นการเลือกประ (4.3) รัฐที่เกี่ยวข้ องต้ องประกันว่ามาตรการอนุรักษ์ และการใช้ มาตรการนันไม่ ติบตั ิตอ่ ชาวประมงของรัฐใด ทังโดยนิ ้ ตินยั หรื อโดยพฤตินยั (5) ให้ นําข้ อ 65 มาใช้ บงั คับกับการอนุรักษ์ และการจัดการสัตว์ทะเลเลี ้ยงลูกด้ วยนมในทะเลหลวงด้ วย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


240

2) ทรัพยากรธรรมชาติ ทีไ่ ม่มีชีวิต 2.1) ในทะเลอาณาเขต (1) พันธกรณีของรัฐชายฝั่ ง เนื่องจากรัฐชายฝั่ งมีอํานาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตซึ่งรวมถึงอํานาจในการแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตแต่เพียงผู้เดียวด้ วย รัฐชายฝั่ งจึงสามารถออกกฎหมายและข้ อบังคับที่เกี่ยวกับการผ่าน โดยสุจริ ตในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในทะเล และการป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับ เกี่ยวกับการประมงของรัฐชายฝั่ งได้ โดยรัฐชายฝั่ งจะต้ องเผยแพร่ กฎหมายและข้ อบังคับดังกล่าวนันให้ ้ รัฐอื่นทราบ ตามสมควร (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 21) (2) พันธกรณีของรัฐอื่น รัฐอื่นมีสิทธิ เดินเรื อผ่านโดยสุจริ ต ซึ่งการผ่านโดยสุจริ ตนัน้ เรื อต่างชาติต้องไม่ทํากิจกรรมเกี่ ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ ง และต้ องปฏิบัติตามกฎหมายและข้ อบังคับของรั ฐ ชายฝั่ งที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตและการป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งด้ วย 2.2) ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (1) พันธกรณีของรัฐชายฝั่ ง ในการใช้ สิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่ งเหนือทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะนี ้ รัฐ ชายฝั่ งมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Rights) ในการสร้ างหรื ออนุญาตให้ สร้ างหรื ออนุญาตให้ สร้ าง และควบคุม การสร้ างเกาะเทียม (Artificial Islands) สิง่ ติดตัง้ (Installations) และสิ่งก่อสร้ าง (Structures) เพื่อทําการสํารวจ และ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ หรื อควบคุมการใช้ สิ่งติดตังหรื ้ อสิ่งก่อสร้ าง อันอาจเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ สทิ ธิของรัฐชายฝั่ งในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ โดยในการใช้ สิทธิรัฐชายฝั่ งต้ องคํานึงถึงตาม ควรถึ ง สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ข องรั ฐ อื่ น ๆ และต้ อ งปฏิ บัติ ก ารที่ ส อดคล้ อ งกั บ อนุสัญ ญาฯ ทัง้ นี ้ การใช้ สิ ท ธิ เ กี่ ย วกับ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตเหนือพื ้นดินท้ องทะเลและดินใต้ ผิวดินให้ ใช้ ตามที่ระบุไว้ ในส่วนของไหล่ทวีป (ภาค 6) (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 56) กล่าวคือ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยเหนือแร่และทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตอย่างอื่นของพื ้นดิน ท้ องทะเลและดินใต้ ผิวดิน หากรัฐชายฝั่ งไม่สํารวจหรื อแสวงประโยชน์ ผู้ใดจะดําเนินกิจกรรมเหล่านี ้โดยปราศจาก ความยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ งไม่ได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) (2) พันธกรณีของรัฐอื่น รัฐอื่นจะสํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตของไหล่ทวีปไม่ได้ เว้ นแต่ได้ รับความ ยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ ง แต่อย่างไรก็ตาม รัฐอื่นมีสิทธิในการเดินเรื อและการบินผ่าน รวมทังการวางสาย ้ เคเบิลและท่อใต้ ทะเล และการใช้ ทะเลทางอื่นที่ชอบด้ วยกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับเสรี ภาพเหล่านี ้ แต่ในการ ใช้ สิทธิและการปฏิบตั ิหน้ าที่ของรัฐอื่นในเขตเศรษฐกิจจําเพาะต้ องคํานึงตามควรถึงสิทธิและหน้ าที่ของรัฐชายฝั่ งและ ต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้ อบังคับต่างๆ ที่ออกโดยรัฐชายฝั่ งตามบทบัญญัติในอนุสญ ั ญาฯ และหลักเกณฑ์อื่น ของกฎหมายระหว่างประเทศเท่าที่ไม่ขดั ต่อภาค 5 ของอนุสญ ั ญาฯ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 58) 2.3) ในไหล่ทวีป (1) พันธกรณีของรัฐชายฝั่ ง รัฐชายฝั่ งมีสิทธิอธิปไตยเหนือไหล่ทวีปเพื่อความมุ่งประสงค์ในการสํารวจไหล่ทวีปและแสวงประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตของไหล่ทวีปซึง่ ได้ แก่ แร่และทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตอย่างอื่นของพื ้นดินท้ อง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


241

ทะเลและดินใต้ ผิวดิน หากรัฐชายฝั่ งไม่สํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตของไหล่ทวีป ผู้ใดจะ ดําเนินกิจกรรมเหล่านี ้โดยปราศจากความยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ งมิได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) นอกจากนี ้ รัฐชายฝั่ งจะต้ องจ่ายเงินหรื อให้ สว่ นแบ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการแสวงประโยชน์จากทรัพยากร ไม่มีชีวิตจากไหล่ทวีปที่เลย 200 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานที่ใช้ วดั ความกว้ างของทะเลอาณาเขต โดยการจ่ายเงินและ การให้ สว่ นแบ่งเกี่ยวกับผลผลิตทังปวง ้ ณ แหล่งผลิตจะต้ องกระทําเป็ นรายปี หลังจากระยะเวลาห้ าปี แรกของการผลิต ณ แหล่งผลิตนัน้ ในปี ที่หก อัตราการจ่ายเงินหรื อการให้ สว่ นแบ่งจะเป็ นร้ อยละหนึ่งของมูลค่าหรื อปริ มาตรของผลผลิต ณ แหล่งผลิต อัตรานี ้จะเพิ่มขึ ้นร้ อยละหนึ่งในแต่ละปี ถัดไปจนกระทัง่ ถึงปี ที่สิบสองและหลังจากนันจะยื ้ นอยู่ในอัตรา ้ ้ การจ่ายเงินหรื อการให้ ส่วนแบ่ง ร้ อยละเจ็ดของผลผลิต ไม่รวมถึงทรัพยากรที่ใช้ ไปเกี่ยวกับการแสวงประโยชน์ ทังนี จะต้ องกระทําผ่านองค์กร ซึ่งจะแบ่งสรรให้ แก่รัฐภาคีแห่งอนุสญ ั ญาฯ บนมูลฐานของเกณฑ์การแบ่งอย่างเที่ยงธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชน์และความจําเป็ นของบรรดารัฐกําลังพัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง รัฐที่พฒ ั นาน้ อยที่สดุ และรัฐ ไร้ ชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 86) (2) พันธกรณีของรัฐอื่น รัฐอื่นจะสํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตของไหล่ทวีปไม่ได้ เว้ นแต่ได้ รับความ ยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 77) 2.4) ในทะเลหลวง ในอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยทะเลฯ ข้ อ 87 ว่าด้ วยเสรี ภาพแห่งทะเลหลวงมิได้ กล่าวถึงเสรี ภาพใน การแสวงหาและใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตบนพื ้นดินท้ องทะเลหลวง เนื่องจากบทบัญญัติว่าด้ วยการแสวงหา และใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตนันจะอยู ้ ่ภายใต้ ระบอบกฎหมาย (Legal Regime) โดยเฉพาะแยกต่างหากจาก ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลฯ ว่าด้ วย “บริ เวณพื ้นที่” ส่วนอื่น ๆ โดยจะบัญญัติไว้ ในภาคที่ 11 แห่งอนุสญ (The Area) ซึง่ หมายถึง พื ้นดินท้ องทะเล (Sea-Bed) และพื ้นมหาสมุทร (Ocean Floor) และดินใต้ ผิวดิน (Subsoil) ที่ อยู่นอกเขตอํานาจของรัฐ (beyond the limits of national jurisdiction) กล่าวคือ นอกเขตเศรษฐกิจจําเพาะ หรื อไหล่ ทวีปของรัฐชายฝั่ ง สุดแต่วา่ เขตใดจะกว้ างกว่ากัน หลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ใช้ กบั “บริเวณพื ้นที่” และทรัพยากร ในบริ เ วณพื น้ ที่ ต ามอนุสัญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 คื อ หลัก “สมบัติ ร่ ว มกัน ของ มนุษยชาติ” (Common Heritage of Mankind) ตามข้ อ 137 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 ได้ วางหลักของ “สมบัติร่วมกันของมนุษยชาติ” ไว้ ดงั นี ้ (1) รัฐจะต้ องไม่อ้างหรื อใช้ อํานาจอธิ ปไตย (Sovereignty) หรื อสิทธิอธิ ปไตย (Sovereign Rights) เหนือส่วนใดส่วนหนึ่งของบริ เวณพื ้นที่ (The Area) หรื อทรัพยากรในบริ เวณพื ้นที่ และทังรั้ ฐ หรื อบุคคล หรื อนิติบคุ คล จะต้ องไม่ยดึ เอาส่วนใดส่วนหนึง่ ของบริ เวณพื ้นที่เป็ นของตน (2) สิทธิทงปวงเหนื ั้ อทรัพยากรใน “บริ เวณพื ้นที่” ให้ ตกอยู่กบั มนุษยชาติโดยส่วนรวม (Mankind as a Whole) โดยมี “องค์กร” เรี ยกว่า The Authority เป็ นผู้กระทําการแทน ทรัพยากรใน “บริ เวณพื ้นที่” เหล่านี ้ย่อมไม่ตก อยู่ภายใต้ การจําหน่าย จ่ายโอน อย่างไรก็ตาม แร่ ที่นําขึน้ มาจาก “บริ เวณพืน้ ที่” อาจถูกจําหน่ายจ่ายโอนได้ ตาม หลักเกณฑ์ ข้ อบังคับ และวิธีดําเนินการของ “องค์กร” เท่านัน้ (3) รัฐ บุคคลธรรมดา หรื อนิติบคุ คล ไม่อาจจะอ้ างได้ มา หรื อใช้ สิทธิในส่วนที่เกี่ยวกับแร่ (Minerals) ที่ นําขึ ้นมาจาก “บริ เวณพื ้นที่” เว้ นแต่จะเป็ นไปตามภาค 11 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


242

อย่างไรก็ต าม แม้ แนวความคิดเรื่ องสมบัติร่ว มกันของมนุษยชาติ จะนํ ามาบัญญัติไ ว้ ในอนุสัญ ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 แต่แนวความคิดเรื่ องระบอบกฎหมาย (Legal Regime) ของพื ้นดิน ท้ องทะเล (Sea-Bed) ที่อยู่นอกเขตอํานาจของรัฐนันยั ้ งไม่ยตุ ิ การที่กลุ่มประเทศกําลังพัฒนาถือว่าพื ้นดินท้ องทะเล ดังกล่าวเป็ นสมบัติร่วมกันของมนุษยชาตินนั ้ เป็ นเพียงแนวความคิดหนึ่งเท่านัน้ กลุ่มประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว นําโดย สหรัฐอเมริ กา ยังไม่เห็นด้ วยกับการที่จะถือว่าพื ้นดินท้ องทะเลที่อยู่นอกเขตอํานาจของรัฐ ประเทศสหรัฐอเมริ กาและ ประเทศที่พฒ ั นาแล้ วในยุโรป เช่น อังกฤษ เยอรมัน ฝรั่งเศส จึงยังมิได้ ให้ สตั ยาบันแก่อนุสญ ั ญาว่าด้ วยกฎหมายทะเล ปี ค.ศ. 1982 ทังนี ้ โ้ ดยที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา และประเทศที่พฒ ั นาแล้ วยังถือว่าการนําทรัพยากรธรรมชาติบนก้ น ทะเลที่อยู่นอกเขตอํานาจของรัฐขึ ้นมาใช้ นนั ้ เป็ นการใช้ เสรี ภาพแห่งท้ องทะเลหลวง (Freedom of The High Seas) ตามที่บญ ั ญัติรับรองไว้ ในอนุสญ ั ญาว่าด้ วยทะเลหลวงปี ค.ศ. 1982 ซึ่งข้ อจํากัดในการใช้ เสรี ภาพดังกล่าวก็เป็ นไป ตามอนุสญ ั ญาว่าด้ วยทะเลหลวงปี ค.ศ. 1982 กล่าวคือ การใช้ เสรี ภาพในท้ องทะเลหลวงนัน้ รัฐจะต้ องคํานึงถึงสิทธิ ของรัฐอื่น ๆ ในการใช้ ท้องทะเลหลวงด้ วย หรื ออีกนัยหนึ่ง การนําทรัพยากรธรรมชาติบนก้ นทะเลที่อยู่นอกเขตอํานาจ ของรัฐขึน้ มาใช้ นัน้ ต้ องไม่กระทบกระเทือน หรื อเป็ นอุปสรรคต่อเสรี ภาพในการเดินเรื อ เสรี ภาพในการทําประมง ้ ่น ๆ และต้ อง เสรี ภาพในการวางสายเคเบิลและท่อใต้ ทะเล เสรี ภาพในการสร้ างเกาะเทียม สิ่งก่อสร้ าง หรื อสิ่งติดตังอื หลีกเลี่ยงมิให้ เกิดข้ อพิพาท หรื อระงับข้ อพิพาทที่เกิดขึ ้นโดยสันติวิธีด้วย เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายดังกล่าว อนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 จึงได้ จัดตัง้ “องค์กร” (The Authority) ขึน้ เพื่อกระทําการแทน มนุษยชาติทงหมด ั้ โดยรัฐทุกรัฐที่เป็ นภาคีแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 จะเป็ น สมาชิ ก ของ “องค์ ก ร"”โดย “องค์ ก ร” จะประกอบด้ ว ยองค์ ก รย่ อ ย 3 องค์ ก ร คื อ สภา (Assembly) กรรมาธิ ก าร (Council) และ สํานักงานเลขาธิการ (Secretariat) รวมทังมี ้ การก่อตังวิ ้ สาหกิจ(The Enterprise) ขึ ้นเป็ นหน่วยงานซึง่ องค์กรใช้ ดําเนินกิจกรรมในบริเวณพื ้นที่ ((อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 158) สภา ประกอบด้ ว ยตัวแทนจากสมาชิ ก ของ “องค์ กร” และ สภา ถื อเป็ น “องค์ กรสูง สุด” (Supreme Organ) ของ “องค์กร” และจะรับผิดชอบเกี่ยวกับการกําหนด “นโยบายทัว่ ไป” (General Policies) กรรมาธิ การ ประกอบด้ วยสมาชิก 36 คน จาก “องค์กร” โดยคัดเลือกจากบุคคลหลายกลุ่ม เช่น จาก กลุ่มที่บริ โภคแร่ ที่ขุดขึน้ จากก้ นทะเล กลุ่มผู้ลงทุนทําเหมืองแร่ ใต้ ทะเลลึก กลุ่มผู้ผลิตแร่ ประเภทเดียวกันบนพื ้นดิน กลุ่ม ประเทศกํ า ลัง พัฒ นา โดยให้ ไ ด้ ส มดุล จากภูมิ ภ าคต่ า งๆ ของโลก กรรมาธิ ก ารนี ถ้ ื อ เป็ น “องค์ ก รบริ ห าร” (Executive Organ) ซึ่งจะรับผิดชอบในการกําหนด “นโยบายเฉพาะ” (Specific Policies) และรับรอง “แผนงาน” (Plan of Work) ของโครงการทําเหมืองแร่แต่ละโครงการ สมัชชาประกอบด้ วยตัวแทนจากสมาชิกขององค์กร และสมัชชาถือเป็ นหน่วยงานสูงสุด (Supreme Organ) ขององค์กร (The Authority) และมีอํานาจกําหนดนโยบายทัว่ ไป (General Policies) โดยสอดคล้ องกับ บทบัญญัติที่เกี่ยวข้ องของอนุสญ ั ญาฯ ในปั ญหาหรื อเรื่ องใดๆ ภายในอํานาจขององค์กร(The Authority) (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 159 และข้ อ 160) คณะมนตรี ประกอบด้ วยสมาชิก 36 รายขององค์กร ซึ่งเลือกตัง้ โดยสมัชชา โดยคัดเลือกจากบุคคล หลายกลุม่ จากบรรดารัฐภาคี เช่น กลุม่ ที่บริ โภคโภคภัณฑ์ที่ผลิตจากแร่ประเภทต่างๆ ที่ได้ มาจากบริ เวณพื ้นที่ กลุ่มผู้ ลงทุนมากที่สดุ ในการตระเตรี ยมและดําเนินกิจกรรมในบริ เวณพื ้นที่ กลุม่ ผู้ส่งออกรายใหญ่ของแร่ประเภทต่างๆ ที่จะ ได้ มาจากบริ เวณพื ้นที่ และกลุม่ ประเทศกําลังพัฒนา โดยให้ ได้ สมดุลจากภูมิภาคต่างๆ ของโลก คณะมนตรี นี ้ถือเป็ น หน่วยงานบริ หาร (Executive Organ) ซึง่ มีอํานาจในการกําหนดนโยบายเฉพาะเรื่ อง (Specific Policies) ซึ่งจะต้ อง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


243

ปฏิบตั ิโดยองค์กร (The Authority) ในปั ญหาหรื อเรื่ องใดๆ ภายในอํานาจขององค์กรโดยสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฯ และนโยบายทัว่ ไปที่กําหนดไว้ โดยสมัชชา คณะมนตรี มีหน่วยงานภายใต้ กํากับ๒ หน่วยงาน ได้ แก่ คณะกรรมาธิการ วางแผนเศรษฐกิจ และคณะกรรมาธิการกฎหมายและเทคนิค (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 161 ถึงข้ อ 163) สํานักเลขาธิการประกอบด้ วยเลขาธิการ (Secretary–General) หนึ่งคน และพนักงานเท่าที่จําเป็ นแก่ องค์ ก ร ซึ่ ง สมัช ชาจะเลื อ กเลขาธิ ก ารจากผู้ส มัค รที่ ค ณะมนตรี เ ป็ นผู้เ สนอ เลขาธิ ก ารเป็ นหัว หน้ า ฝ่ ายบริ ห าร (Administrative Organ) รับผิดชอบเกี่ยวกับการประชุมของสมัชชา คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานย่อย และปฏิบตั ิ ั ญาฯ ข้ อ 166) หน้ าที่ทางบริหารอื่นตามที่หน่วยงานเหล่านี ้มอบหมาย (อนุสญ วิสาหกิจเป็ นหน่วยงานขององค์กร (The Authority) ซึง่ จะดําเนินกิจกรรมในบริ เวณพื ้นที่เกี่ยวกับการนํา ทรัพยากรธรรมชาติบนพื ้นดินท้ องทะเลที่อยู่นอกเขตอํานาจของรัฐชายฝั่ งขึ ้นมาใช้ รวมทังการขนส่ ้ ง การแปรรูป และ ั ญาฯ และตามหลักเกณฑ์ การตลาดของแร่ที่ได้ มาจากบริ เวณพื ้นที่ด้วย อย่างไรก็ดี วิสาหกิจ จะดําเนินงานตามอนุสญ ข้ อบังคับ และวิธีดําเนินการขององค์กร รวมทังนโยบายทั ้ ว่ ไปที่สมัชชากําหนดไว้ และอยู่ภายใต้ แนวปฏิบตั ิและการ ควบคุมของคณะมนตรี (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 170) 3) การคุม้ ครองและการรักษาสิ่ งแวดล้อมทางทะเล ภาค 12 ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 จากข้ อ 192 ถึงข้ อ 237 ได้ วาง ข้ อกําหนดในเรื่ องการคุ้มครองและการรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเลไว้ สรุปได้ ดงั นี ้ 3.1) หลักทัว่ ไป รั ฐมีพันธกรณี ที่จะต้ องคุ้มครองและรั กษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล โดยรั ฐต้ องใช้ มาตรการที่จํา เป็ นเพื่ อ ป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิง่ แวดล้ อมทางทะเลไม่ว่าจากแหล่งที่มาใด โดยใช้ วิธีการปฏิบตั ิที่ดีที่สดุ ซึง่ มี อยู่และตามขีดความสามารถของตน รวมทังใช้ ้ มาตรการที่จําเป็ นเพื่อประกันว่า กิจกรรมภายใต้ เขตอํานาจหรื อการ ควบคุมของตนจะต้ องกระทําในลักษณะที่จะไม่ก่อให้ เกิดความเสียหายโดยภาวะมลพิษ รวมถึงมาตรการที่ม่งุ จะลด ให้ เหลือน้ อยที่สดุ เท่าที่จะเป็ นไปได้ ในเรื่ องดังต่อไปนี ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 192 ถึงข้ อ 194) (1) การปล่อ ยสารที่ มีพิษ เป็ นอันตราย หรื อให้ โ ทษ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สารซึ่งคงอยู่ได้ นาน จาก แหล่งที่มาบนบก จากหรื อผ่านบรรยากาศ หรื อโดยการทิ ้งเท (2) ภาวะมลพิษจากเรื อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มาตรการเพื่อป้องกันอุบตั ิเหตุ และเพื่อใช้ กบั ภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ มีความปลอดภัยของการปฏิบตั ิการทางทะเล เพื่อป้องกันการปล่อยทิ ้ง ทังโดยเจตนาและไม่ ้ เจตนา และเพื่อ ควบคุมการออกแบบ การต่อเรื อ อุปกรณ์ การปฏิบตั ิการ และการจัดบุคลากรของเรื อ (3) ภาวะมลพิ ษ จากสิ่ ง ติ ด ตัง้ และกลอุป กรณ์ ที่ ใ ช้ ในการสํ า รวจ หรื อ การแสวงประโยชน์ จ าก ทรัพยากรธรรมชาติจากพื ้นดินท้ องทะเลและดินใต้ ผิวดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการเพื่อป้องกันอุบตั ิเหตุและเพื่อใช้ กับภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ มีความปลอดภัยของการปฏิบตั ิการทางทะเล และเพื่อควบคุมการออกแบบ การสร้ าง อุปกรณ์ การปฏิบตั ิการ และการจัดบุคลากรของสิง่ ติดตังหรื ้ อกลอุปกรณ์เช่นว่านัน้ (4) ภาวะมลพิษจากสิ่งติดตังหรื ้ อกลอุปกรณ์ ที่ปฏิบตั ิการในสิ่งแวดล้ อมทางทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มาตรการเพื่อป้องกันอุบตั ิเหตุและเพื่อใช้ กบั ภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ มีความปลอดภัยของการปฏิบตั ิการทางทะเล และ เพื่อควบคุมการออกแบบ การสร้ าง อุปกรณ์ การปฏิบตั ิการ และการจัดบุคลากรของสิ่งติดตังหรื ้ อกลอุปกรณ์เช่นว่า นัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


244

ทังนี ้ ้ ในการใช้ มาตรการเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเล รัฐต้ อง กระทําในลักษณะที่จะไม่ผลักความเสียหายหรื อภยันตรายจากพื ้นที่หนึ่งไปสูอ่ ีกพื ้นที่หนึ่ง หรื อแปลงภาวะมลพิษชนิด ั ญาฯ ข้ อ 195) หนึง่ เป็ นอีกชนิดหนึง่ ไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้ อม (อนุสญ นอกจากนี ้ รัฐต้ องใช้ มาตรการที่จําเป็ นเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทาง ทะเลอันมีผลมาจากการใช้ เทคโนโลยีที่อยู่ใเขตอํานาจหรื อการควบคุมของรัฐเหล่านัน้ หรื อการนําชนิดพันธุ์ ไม่ว่าต่าง ถิ่นหรื อชนิดพันธุ์ใหม่ เข้ ามาสู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลโดยเจตนาหรื อโดยบังเอิญ ซึ่งอาจก่อให้ เกิด ความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ และเป็ นอันตรายต่อส่วนนัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 196) 3.2) ความร่วมมือระดับโลกและระดับภูมิภาค รัฐต้ องร่ วมมือกันในระดับโลก และเมื่อเหมาะสม ในระดับภูมิภาค โดยตรงหรื อโดยผ่านองค์การระหว่าง ประเทศที่มีอํานาจ ในการจัดทําและแจงรายละเอียด หลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศ รวมทังแนวปฏิ ้ บตั ิ และวิธีดําเนินการระหว่างประเทศที่ได้ รับการเสนอแนะซึ่งสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฯ เพื่อการคุ้มครองและการรักษา สิง่ แวดล้ อมทางทะเล โดยคํานึงถึงลักษณะเฉพาะภูมิภาค (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 197) 3.3) ความช่วยเหลือทางเทคนิค รัฐต้ องส่งเสริ มโครงการความช่วยเหลือทางวิทยาศาสตร์ การศึกษา เทคนิค และอื่นๆ แก่รัฐกําลังพัฒนา เพื่อการคุ้มครองและการรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล และการป้องกัน การลด และการควบคุมภาวะมลพิษทางทะเล และจัดให้ มีความช่วยเหลือที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่รัฐที่กําลังพัฒนาเพื่อลดผลของอุบตั ิการณ์ที่ใหญ่หลวง อันอาจก่อให้ เกิดภาวะมลพิษที่รุนแรงต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเลให้ เหลือน้ อยที่สุด รวมทังจั ้ ดให้ มีความช่วยเหลือที่ เหมาะสม โดยเฉพาะแก่รัฐกําลังพัฒนา เกี่ยวกับการเตรี ยมการประเมินทางสิง่ แวดล้ อม (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 202) นอกจากนี ้ เพื่อความมุ่งประสงค์ในการป้องกัน การลด และการควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทาง ทะเลหรื อการลดผลของภาวะมลพิษนันให้ ้ เหลือน้ อยที่สดุ ให้ รัฐกําลังพัฒนาได้ รับการประติบตั ิเป็ นพิเศษจากองค์การ ระหว่างประเทศ ในเรื่ องการจัดสรรเงินทุนที่เหมาะสมและความช่วยเหลือทางเทคนิค และการใช้ ประโยชน์จากการ ้ ความชํานาญเป็ นพิเศษ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 203) บริการที่องค์การระหว่างประเทศเหล่านันมี 3.4) การติดตามตรวจสอบและการประเมินทางสิง่ แวดล้ อม โดยสอดคล้ องกับสิทธิของรัฐอื่น รัฐต้ องพยายามเท่าที่จะทําได้ ไม่ว่าโดยตรงหรื อโดยผ่านองค์การระหว่าง ประเทศที่มีอํานาจ สังเกต วัด ประเมินค่า และวิเคราะห์ความเสี่ยงหรื อผลของภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเล โดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ อันเป็ นที่ยอมรับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รัฐต้ องติดตามตรวจสอบผลของกิจกรรมใดๆ ซึ่งรัฐ อนุญาตให้ ทําหรื อซึ่งรัฐเข้ าไปเกี่ยวข้ องด้ วย เพื่อที่จะพิจารณากําหนดว่ากิจกรรมเหล่านี ้น่าจะก่อให้ เกิดภาวะมลพิษ ้ ้ รัฐต้ องจัดพิมพ์รายงานผลหรื อจัดส่งรายงานดังกล่าวเป็ นระยะตามที่เหมาะสม แก่ส่งิ แวดล้ อมทางทะเลหรื อไม่ ทังนี ให้ แก่องค์การระหว่างประเทศที่มีอาจซึง่ พึงมีรายงานเหล่านันไว้ ้ สําหรับรัฐทังปวง ้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 204 และข้ อ 205) 3.5) หลัก เกณฑ์ ระหว่า งประเทศและกฎหมายภายในเพื่ อ ป้ องกัน ลด และควบคุม ภาวะมลพิษ ของ สิง่ แวดล้ อมทางทะเล (1) ภาวะมลพิษจากแหล่งที่มาบนบก รัฐต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเล จากแหล่ง ที่ ม าบนบก รวมทัง้ แม่นํ า้ ปากแม่นํ า้ ท่อ และสิ่ง ก่ อ สร้ างเพื่ อ การระบายนํ า้ โดยคํ า นึง ถึง หลัก เกณฑ์

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


245

มาตรฐาน และแนวปฏิบตั ิและวิธีดําเนินการที่ได้ รับการเสนอแนะซึง่ ตกลงกันระหว่างประเทศ ทังนี ้ ้ รัฐต้ องใช้ มาตรการ อื่นเท่าที่จําเป็ นเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษเช่นว่านัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 207) (2) ภาวะมลพิษจากกิจกรรมบนพื ้นดินท้ องทะเลภายใต้ เขตอํานาจแห่งชาติ รัฐต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลที่ เกิดจากหรื อเกี่ยวกับกิจกรรมพื ้นดินท้ องทะเลซึ่งอยู่ภายใต้ เขตอํานาจของตนและที่เกิดจากเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ และ สิ่งก่อสร้ าง ภายใต้ เขตอํานาจของตอน ตามข้ อ 60 และ 80 โดยต้ องมีผลบังคับไม่น้อยกว่าหลักเกณฑ์มาตรฐาน ระหว่างประเทศ และแนวปฏิบตั ิและวิธีดําเนินการระหว่างประเทศที่ได้ รับการเสนอแนะ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 208) (3) ภาวะมลพิษจากกิจกรรมในพื ้นที่บริเวณ รัฐต้ องกําหนดหลักเกณฑ์ ข้ อบังคับ และวิธีดําเนินการระหว่างประเทศตามภาค 11 เพื่อป้องกัน ลด และควบคุม ภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากกิจกรรมในบริ เวณพื ้นที่ และต้ องมีการตรวจสอบซํ ้าเป็ นครัง้ คราวตามที่จําเป็ น (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 209) (4) ภาวะมลพิษจากการทิ ้งเท รัฐต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับและกําหนดมาตรการที่จําเป็ นเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะ มลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากการทิ ้งเท โดยต้ องประกันว่าจะไม่มีการทิ ้งเทโดยไม่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าหน้ าที่ผ้ ู มีอํานาจของรั ฐ และต้ องมีผลบังคับในการป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษไม่น้อยไปกว่าหลักเกณฑ์และ มาตรฐานระดับโลก (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 210) (5) ภาวะมลพิษจากเรื อ โดยการดําเนินการผ่านองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการประชุมทางทูตทัว่ ไป ให้ รัฐกําหนด หลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากเรื อ และในทํานองเดียวกัน ในกรณีที่เหมาะสม ส่งเสริ มการกําหนดระบบการจัดเส้ นทางเดินเรื อที่ม่งุ จะลดอันตรายจาก อุบตั ิเหตุซงึ่ อาจก่อให้ เกิดภาวะมลพิษของสิง่ แวดล้ อมทางทะเล รวมทังแนวชายฝั ้ ่ ง และความเสียหายจากภาวะมลพิษ แก่ประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกันของรัฐชายฝั่ งให้ เหลือน้ อยที่สดุ หลักเกณฑ์และมาตรฐานเช่นว่านัน้ ในทํานองเดียวกัน ต้ องได้ รับการตรวจสอบซํ ้าเป็ นครัง้ คราวตามที่จําเป็ น ให้ รัฐออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลจาก เรื อที่จดทะเบียนกับตน กฎหมายและข้ อบังคับเช่นว่านัน้ อย่างน้ อยที่สดุ ให้ มีผลเช่นเดียวกับผลของหลักเกณฑ์และ มาตรฐานระหว่างประเทศที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไป ซึง่ ได้ กําหนดขึ ้นโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการ ประชุมทางทูตทัว่ ไป รัฐซึง่ วางข้ อกําหนดพิเศษเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิง่ แวดล้ อมทางทะเลเป็ นเงื่อนไข สํา หรั บ เรื อ ต่า งชาติ ที่ จ ะเข้ า สู่ท่ า เรื อ หรื อ น่า นนํ า้ ภายในของตน หรื อ ที่ จ ะแวะที่ ท่า จอดเรื อ นอกฝั่ ง ต้ อ งประกาศ ข้ อกําหนดเช่นว่านันให้ ้ ทราบตามควร และต้ องแจ้ งข้ อกําหนดเหล่านันให้ ้ องค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจทราบ (อนุ สัญญาฯ ข้ อ 211) (6) ภาวะมลพิษจากหรื อผ่านบรรยากาศ รัฐต้ องออกกฎหมายและข้ อบังคับเพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเล จากหรื อผ่านบรรยากาศ ใช้ บงั คับกับห้ วงอากาศภายใต้ อธิปไตยของตนหรื อกับเรื อซึง่ ชักธง หรื อเรื อ หรื ออากาศยานที่ จดทะเบียนกับตน โดยคํานึงถึงหลักเกณฑ์ มาตรฐานซึ่งตกลงกันระหว่างประเทศ และแนวปฏิบตั ิและวิธีดําเนินการ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


246

ระหว่างประเทศที่ได้ รับการเสนอแนะ และความปลอดภัยในการเดินอากาศ รวมทังใช้ ้ มาตรการอื่นๆ เท่าที่จําเป็ น เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษเช่นว่านัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 212) 3.6) การบังคับใช้ กฎหมาย (1) การบังคับใช้ กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับภาวะมลพิษจากแหล่งที่มาบนบก รัฐต้ องบังคับใช้ กฎหมายและข้ อบังคับของตนที่ออกตามข้ อ 207 และออกกฎหมายและข้ อบังคับและ ดําเนินมาตรการอื่นที่จําเป็ นเพื่ออนุวตั ิตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับ ซึ่งกําหนดขึน้ ผ่าน องค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการประชุมทางทูต เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อม ทางทะเลจากแหล่งที่มาบนบก (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 213) (2) การบังคับใช้ กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับภาวะมลพิษจากกิจกรรมพื ้นดินท้ องทะเล รัฐต้ องบังคับใช้ กฎหมายและข้ อบังคับของตนที่ออกตามข้ อ 208 และออกกฎหมายและข้ อบังคับและ ดําเนินมาตรการอื่นที่จําเป็ นเพื่ออนุวัติตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับซึ่งกําหนดขึน้ ผ่าน องค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการประชุมทางทูต เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อม ทางทะเลซึ่งเกิดจากหรื อเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมพื ้นดินท้ องทะเลภายใต้ เขตอํานาจของตนและจากเกาะเทียม สิ่งติดตัง้ ั ญาฯ ข้ อ 214) และสิง่ ก่อสร้ างภายใต้ เขตอํานาจของตนตามข้ อ 60 และ 80 (อนุสญ (3) การบังคับใช้ กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับภาวะมลพิษจากกิจกรรมในบริเวณพื ้นที่ การบังคับใช้ หลักเกณฑ์ ข้ อบังคับ และวิธีดําเนินการระหว่างประเทศที่กําหนดขึน้ ตามภาค 11 เพื่อ ป้องกัน ลด และควบคุมภาวะมลพิษของสิง่ แวดล้ อมทางทะเลจากกิจกรรมในบริ เวณพื ้นที่ให้ อยู่ภายใต้ บงั คับของภาค นัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 215) (4) การบังคับใช้ กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับภาวะมลพิษจากการทิ ้งเท กฎหมายและข้ อบังคับที่ออกตามอนุสญ ั ญาฯ และหลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับ ซึง่ กําหนดขึ ้นผ่านองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการประชุมทางทูตเพื่อการป้องกัน การลด และการควบคุม ภาวะมลพิษของสิง่ แวดล้ อมทางทะเลจากการทิ ้งเทให้ บงั คับใช้ โดย (4.1) รัฐชายฝั่ ง เกี่ยวกับการทิ ้งเทภายในทะเลอาณาเขตหรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรื อบนไหล่ ทวีปของตน (4.2) รัฐเจ้ าของธง เกี่ยวกับเรื อที่ชกั ธงของตน หรื อเรื อ หรื ออากาศยานที่จดทะเบียนกับตน (4.3) รัฐใดๆ เกี่ยวกับการกระทําการบรรทุกของเสียหรื อสสารอื่นที่เกิดขึ ้นภายในอาณาเขตหรื อที่ ท่าจอดเรื อนอกฝั่ งของตน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 216) (5) การบังคับใช้ กฎหมายโดยรัฐเจ้ าของธง รั ฐต้ องประกันว่าเรื อ ซึ่ง ชักธงของตนหรื อที่ จดทะเบี ยนกับตนปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ แ ละมาตรฐาน ระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับซึง่ กําหนดขึ ้นผ่านองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการประชุมทางการทูตทัว่ ไป และ ตามกฎหมายและข้ อบังคับของตนที่ออกตามอนุสญ ั ญาฯ เพื่อการป้องกัน การลด และการควบคุมภาวะมลพิษของ สิ่งแวดล้ อมทางทะเลจากเรื อ และให้ ออกกฎหมายและข้ อบังคับตามนัยนัน้ และดําเนินมาตรการอื่นที่จําเป็ นเพื่ออนุ วัติตามกฎหมายและข้ อบังคับเหล่านัน้ รัฐเจ้ าของธงต้ องทําให้ หลักเกณฑ์ มาตรฐาน กฎหมาย และข้ อบังคับดังกล่าว มีการบังคับใช้ อย่างมีประสิทธิผล ไม่วา่ การละเมิดจะเกิดขึ ้น ณ ที่ใดก็ตาม (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 217) (6) การบังคับใช้ กฎหมายโดยรัฐเจ้ าของท่าเรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


247

เมื่อเรื ออยูภ่ ายในท่าเรื อ หรื อ ณ ท่าจอดเรื อนอกฝั่ งของรัฐใดโดยสมัครใจ รัฐนันอาจทํ ้ าการสืบสวน และ เมื่อมีหลักฐานยืนยันเช่นนัน้ แล้ ว อาจดําเนินคดีในส่วนที่เกี่ยวกับการปล่อยทิ ้งจากเรื อนัน้ นอกน่านนํา้ ภายในทะเล อาณาเขต หรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐนัน้ ซึง่ เป็ นการละเมิดหลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับ ซึง่ กําหนดขึ ้นผ่านองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการประชุมทางทูตทัว่ ไป (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 218) (7) การบังคับใช้ กฎหมายโดยรัฐชายฝั่ ง เมื่อเรื ออยูภ่ ายในท่าเรื อ หรื อ ณ ท่าจอดเรื อนอกฝั่ งของรัฐใดโดยสมัครใจ ภายใต้ บงั คับแห่งตอนที่ 7 รัฐ นัน้ อาจดํ า เนิ น คดี ใ นส่ว นที่ เ กี่ ย วกับ การละเมิ ด กฎหมายและข้ อ บัง คับ ของตนที่ อ อกตามอนุสัญ ญาฯหรื อ ตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับเพื่อการป้องกัน การลด และการควบคุมภาวะมลพิษจากเรื อ เมื่อ ั ญาฯ ข้ อ 220) การละเมิดนันได้ ้ เกิดขึ ้นภายในทะเลอาณาเขตหรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐนัน้ (อนุสญ (8) การบังคับใช้ กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับภาวะมลพิษจากหรื อผ่านบรรยากาศ ภายในห้ วงอากาศที่อยู่ภายใต้ อธิ ปไตยหรื อในส่วนที่เกี่ยวกับเรื อที่ชักธงของตน หรื อเรื อ หรื ออากาศ ยานที่ จ ดทะเบี ย นกับ ตน ให้ รั ฐ บัง คับ ใช้ ก ฎหมายและข้ อ บัง คับ ของตนที่ อ อกตามข้ อ 212 วรรคหนึ่ ง และตาม บทบัญญัติอื่นๆ ของอนุสญ ั ญาฯ และให้ ออกกฎหมายและข้ อบังคับและดําเนินมาตรการอื่นๆ ที่จําเป็ น เพื่ออนุวตั ิตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้ บงั คับ ซึ่งกําหนดขึ ้นผ่านองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจหรื อการ ประชุมทางทูตเพื่ อ ป้องกัน ลด และควบคุม ภาวะมลพิษ ของสิ่ง แวดล้ อ มทางทะเลจากหรื อ ผ่านบรรยากาศ โดย สอดคล้ องกับหลักเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศที่เกี่ยวเนื่องทังมวลในเรื ้ ่ องความปลอดภัยในการเดินอากาศ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 222) 3.7) มาตรการป้องกัน การใช้ อํานาจบังคับใช้ กฎหมายต่อเรื อต่างชาติภายใต้ อนุสญ ั ญาฯ รัฐจะต้ อง ไม่ทําให้ เกิดอันตรายต่อ ความปลอดภัยในการเดินเรื อ หรื อก่อให้ เกิดภยันตรายแก่เรื อ หรื อนําเรื อนันไปยั ้ งท่าเรื อหรื อที่ทอดสมอที่ไม่ปลอดภัย หรื อปล่อยให้ สิ่งแวดล้ อมทางทะเลเผชิญกับความเสี่ยงที่ไม่สมเหตุผล นอกจากนี ้ อํานาจบังคับใช้ กฎหมายต่อเรื อ ต่างชาติจะใช้ ได้ ก็แต่โดยเจ้ าพนักงาน หรื อโดยเรื อรบ อากาศยานทหาร หรื อเรื อหรื ออากาศยานอื่นที่มีเครื่ องหมายชัด แจ้ งและบ่งชัดว่าใช้ ในงานของรัฐบาล และได้ รับมอบอํานาจเพื่อการนัน้ ทังนี ้ ้ ในการดําเนินคดีตามภาคนี ้ ให้ รัฐดําเนิน มาตรการต่างๆ เพื่ออํานวยความสะดวกในการสืบพยานและการรับฟั งพยานหลักฐานที่เจ้ าหน้ าที่ของอีกรัฐหนึ่งหรื อ องค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจส่งให้ และให้ อํานวยความสะดวกในการเข้ าฟั งการดําเนินคดีเช่นว่านันของผู ้ ้ แทน ทางการขององค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ รัฐเจ้ าของธงและรัฐที่ได้ รับความกระทบกระเทือนจากภาวะมลพิษซึง่ เกิ ด จากการละเมิ ด ให้ ผ้ ูแ ทนทางการที่ เ ข้ า ฟั ง การดํ า เนิ น คดี ดัง กล่า วมี สิท ธิ แ ละหน้ า ที่ เช่ น ที่ อ าจบัญ ญั ติ ไ ว้ ต าม กฎหมายและข้ อบังคับภายในหรื อกฎหมายระหว่างประเทศ ให้ รัฐรับผิดต่อความเสียหายหรื อความสูญเสียที่ตนเป็ นผู้ก่อให้ เกิดขึ ้นอันเกิดจากมาตรการที่ดําเนินการ เมื่อมาตรการเช่นว่านัน้ ผิดกฎหมายหรื อเกิ นสมควร เมื่อพิจารณาตามข้ อสนเทศที่มีอยู่ และให้ รัฐเปิ ดโอกาสให้ มี ช่องทางดําเนินการเรี ยกร้ องในศาลของตนในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายหรื อความสูญเสียเช่นว่านัน้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 223 ถึงข้ อ 233) 3.8) บริเวณที่ปกคลุมด้ วยนํ ้าแข็ง รัฐชายฝั่ งมีสทิ ธิออกและบังคับใช้ กฎหมายและข้ อบังคับอันไม่เลือกประติบตั ิ เพื่อการป้องกัน การลด และ การควบคุมภาวะมลพิษทางทะเลจากเรื อในบริ เวณที่ปกคลุมด้ วยนํ ้าแข็งภายในขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ที่

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


248

ซึ่งสภาพอากาศเลวร้ ายเป็ นพิเศษและการที่มีนํา้ แข็งปกคลุมบริ เวณเช่นว่า นัน้ เกื อบทัง้ ปี ก่อให้ เกิดอุปสรรคหรื อ ภยันตรายต่อการเดินเรื อมากกว่าธรรมดา และภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลสามารถก่อให้ เกิดอันตรายใหญ่ หลวงต่อความสมดุลทางนิเวศวิทยา หรื อรบกวนความสมดุลทางนิเวศวิทยาจนไม่สามารถกลับคืนสภาพเดิมได้ โดย กฎหมายและข้ อบังคับดังกล่าวต้ องคํานึงตามควรถึงการเดินเรื อ และการคุ้มครองและการรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล บนพื ้นฐานของหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ ที่มีอยู่ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 234) 3.9) ความรับผิดชอบและความรับผิด รัฐต้ องรับผิดชอบต่อการที่จะปฏิบัติให้ เป็ นไปตามพันธกรณี ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการคุ้มครองและ รักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล รัฐจะต้ องรับผิดโดยสอดคล้ องกับกฎหมายระหว่างประเทศ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 237) 3.10) ความคุ้มกันอธิปไตย บทบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองและการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเลดังที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ น ไม่ใช้ บงั คับกับ เรื อรบ เรื อช่วยรบ เรื อหรื ออากาศยานอื่นใดที่รัฐเป็ นเจ้ าของหรื ออยู่ภายใต้ การปฏิบตั ิการของรัฐ และในช่วงเวลานัน้ ถูกใช้ เพียงในงานของรัฐบาลอันมิใช่เชิงพาณิชย์ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 236) 3.11) พันธกรณีภายใต้ อนุสญ ั ญาอื่นว่าด้ วยการคุ้มครองและการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล บทบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองและการรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเลดังที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ นนี ้ไม่เป็ นการ เสื่อมเสียต่อพันธกรณีเฉพาะซึง่ รัฐยอมรับภายใต้ อนุสญ ั ญาและความตกลงพิเศษเกี่ยวกับการคุ้มครองและการรักษา ั ญา สิง่ แวดล้ อมทางทะเลที่ทําไว้ ก่อนแล้ ว และต่อความตกลงซึง่ อาจทําขึ ้นเพื่อส่งเสริ มหลักการทัว่ ไปที่ระบุไว้ ในอนุสญ ฯ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 237) 4) การวิ จยั วิ ทยาศาสตร์ ทางทะเล ภาค 13 ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 จากข้ อ 238 ถึงข้ อ 265 ได้ วาง ข้ อกําหนดในเรื่ องการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลไว้ สรุปได้ ดงั นี ้ 4.1) ผู้ที่มีสทิ ธิในการทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล รัฐทุกรัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ มีสิทธิทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลโดยคํานึงถึงสิทธิ และหน้ า ที่ข องรั ฐอื่ นตามที่บัญญัติไว้ ในอนุสัญ ญานี ้ (อนุสัญ ญาฯ ข้ อ 238) นอกจากนี ้ รั ฐและองค์ การระหว่า ง ประเทศยังมีหน้ าที่ต้องส่งเสริ มและอํานวยความสะดวกต่อการพัฒนาและการทําวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลตาม อนุสญ ั ญานี ้ด้ วย (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 239) 4.2) หลักการทัว่ ไปสําหรับการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล ข้ อ 240 กําหนดหลักการทัว่ ไปสําหรับการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลไว้ ดงั นี ้ (1) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลให้ ทําได้ เพียงเฉพาะเพื่อความมุง่ ประสงค์ในทางสันติ (2) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลให้ ทําโดยวิธีและปั จจัยทางวิทยาศาสตร์ ที่เหมาะสม ซึง่ สอดคล้ องกับ อนุสญ ั ญานี ้ (3) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลต้ องไม่รบกวนการใช้ ทะเลโดยชอบธรรมในทางอื่นที่สอดคล้ องกับ อนุสญ ั ญานี ้โดยปราศจากเหตุอนั สมควร และจะต้ องได้ รับการเคารพตามควรในระหว่างการใช้ ทะเลเช่นว่านัน้ (4) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลให้ ทําตามข้ อบังคับที่เกี่ยวเนื่องทังปวงที ้ ่ออกตามความในอนุสญ ั ญา นี ้ ตลอดจนข้ อบังคับสําหรับการคุ้มครองและการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล 4.3) การทําและการส่งเสริมการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


249

(1) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในทะเลอาณาเขต รัฐชายฝั่ งมีสิทธิ แต่เพียงผู้เดียวที่จะวางกฎเกณฑ์ อนุญาต และทําการวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลใน ทะเลอาณาเขตของตน การวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลของรัฐอื่นหรื อองค์การระหว่างประเทศจะกระทําได้ ต่อเมื่อ ั ญาฯ ข้ อ 245) ได้ รับความยินยอมอย่างชัดแจ้ งของรัฐชายฝั่ งและภายใต้ เงื่อนไขที่รัฐชายฝั่ งกําหนดเท่านัน้ (อนุสญ (2) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะและบนไหล่ทวีป รั ฐชายฝั่ งมีสิทธิ ที่จะวางกฎเกณฑ์ อนุญาต และทําการวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลในเขตเศรษฐกิจ จําเพาะและบนไหล่ทวีปของตน โดยสอดคล้ องกับบทบัญญัติที่เกี่ยวข้ องของอนุสญ ั ญาฯ รัฐอื่นหรื อองค์การระหว่าง ประเทศจะกระทําได้ ต่อเมื่อได้ รับความยินยอมจากรัฐชายฝั่ งเท่านัน้ ทังนี ้ ้ ในสภาวการณ์ปกติ รัฐชายฝั่ งต้ องให้ ความ ยินยอมแก่โครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลของรัฐอื่นหรื อขององค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ ซึง่ จะดําเนินการ ตามอนุสัญ ญานี เ้ พี ย งเพราะเพื่ อ ความมุ่ง ประสงค์ ท างสัน ติ และเพื่ อ เพิ่ ม พูน ความรู้ ทางวิ ท ยาศาสตร์ เ กี่ ย วกับ สิ่ง แวดล้ อ มทางทะเลเพื่ อ คุณ ประโยชน์ ข องมนุษ ยชาติ ทัง้ ปวง โดยรั ฐชายฝั่ ง ต้ อ งกํ า หนดหลัก เกณฑ์ แ ละวิธี การ ดําเนินการที่ประกันว่ารัฐจะให้ ความยินยอมโดยไม่ชกั ช้ าหรื อไม่ปฏิเสธโดยไม่มีเหตุอนั สมควร (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 246) แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม รั ฐ ชายฝั่ งอาจใช้ ดุ ล พิ นิ จ ของตนในการไม่ อ นุ ญ าตการดํ า เนิ น โครงการวิ จั ย วิทยาศาสตร์ ทางทะเลของอีกรัฐหนึง่ หรื อขององค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจได้ หากโครงการนัน้ (2.1) มีความเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการสํารวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่า มีชีวิตและไม่มีชีวิต แต่รัฐชายฝั่ งไม่อาจใช้ ดลุ พินิจที่จะไม่อนุญาตในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล ที่จะดําเนินการตามบทบัญญัติของภาคที่ 13 บนไหล่ทวีปเกิน 200 ไมล์ทะเล จากเส้ นฐานที่ใช้ วดั ความกว้ างของทะเล อาณาเขต นอกบริ เวณเฉพาะที่รัฐชายฝั่ งจะกําหนดโดยเปิ ดเผยในเวลาใดก็ได้ ว่าเป็ นบริ เวณที่การแสวงประโยชน์หรื อ การปฏิบตั ิการเพื่อการสํารวจโดยละเอียดซึง่ มุ่งไปที่บริ เวณเหล่านันกํ ้ าลังดําเนินอยู่หรื อจะมีขึ ้นภายในช่วงระยะเวลา อันสมควร ให้ รัฐชายฝั่ งประกาศการกําหนดบริ เวณเช่นว่านัน้ แต่ไม่ต้องให้ รายละเอียดของการปฏิบตั ิการในบริ เวณ นัน้ (2.2) เกี่ ยวพันกับการขุดเจาะบนไหล่ทวีป การใช้ วัตถุระเบิด หรื อการนํ าสารอันตรายเข้ ามาสู่ สิง่ แวดล้ อมทางทะเล (2.3) เกี่ยวพันกับการสร้ าง การปฏิบตั ิงานของ หรื อการใช้ เกาะเทียม สิ่งติดตังและสิ ้ ่งก่อสร้ างที่ กล่าวถึงในข้ อ 60 และ 80 (2.4) มีข้อสนเทศที่ได้ รับแจ้ งตามข้ อ 248 เกี่ยวกับลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการซึ่งไม่ถกู ถ้ วน หรื อหากรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจที่ทําการวิจยั มีข้อผูกพันค้ างอยู่กบั รัฐชายฝั่ งจากโครงการวิจยั ครัง้ ก่อน ในกรณี ที่รัฐชายฝั่ งซึ่งเป็ นสมาชิกของหรื อมีความตกลงทวิภาคีกับองค์การระหว่างประเทศและ องค์การระหว่างประเทศนันต้ ้ องการจะดําเนินโครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลโดยตรงหรื อภายใต้ การสนับสนุน ของตนในเขตเศรษฐกิ จจํ า เพาะหรื อ บนไหล่ท วี ป ของรั ฐ ชายฝั่ ง นัน้ ให้ ถือ ว่า รั ฐ ชายฝั่ ง ได้ อ นุญ าตให้ โครงการนัน้ ดําเนินการได้ โดยสอดคล้ องกับรายการละเอียดที่ได้ ตกลงกันแล้ ว หากรัฐนันให้ ้ ความเห็นชอบโครงการที่มีรายละเอียด เมื่อองค์การได้ ตกลงที่จะดําเนินโครงการ หรื อตังใจที ้ ่จะเข้ าร่ วมโครงการนัน้ และไม่ได้ แสดงข้ อคัดค้ านใดๆ ภายในสี่ เดือนนับจากวันที่องค์การได้ แจ้ งให้ รัฐชายฝั่ งทราบถึงโครงการนัน้ (3) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในบริเวณพื ้นที่

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


250

รัฐทุกรัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ มีสทิ ธิทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในบริ เวณพื ้นที่ โดยสอดคล้ องกับบทบัญญัติในภาค 11 (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 256) (4) การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในห้ วงนํ ้านอกเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ั ญานี ้ ที่จะทําการวิจยั รัฐทุกรัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ มีสิทธิโดยสอดคล้ องกับอนุสญ วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในห้ วงนํ ้านอกขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะได้ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 257) 4.4) หน้ าที่ของรัฐและองค์การระหว่างประเทศ (1) หน้ าที่ที่จะให้ ข้อสนเทศแก่รัฐชายฝั่ ง (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 248) รัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจซึ่งประสงค์จะดําเนินการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในเขต เศรษฐกิจจําเพาะหรื อบนไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่ งต้ องให้ รายละเอียดที่ครบถ้ วนแก่รัฐชายฝั่ งนันล่ ้ วงหน้ าไม่น้อยกว่าหก เดือนก่อนวันที่คาดว่าโครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลจะเริ่มขึ ้น เกี่ยวกับ (1.1) ลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการ (1.2) วิธีและปั จจัยที่จะนํามาใช้ รวมถึงชื่อ ขนาด ประเภทและชัน้ ของเรื อ และรายละเอียดของ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ (1.3) บริเวณทางภูมิศาสตร์ ที่แน่ชดั ที่จะทําโครงการ (1.4) วันที่คาดได้ สําหรับการมาถึงครัง้ แรก และการเดินทางออกไปครัง้ สุดท้ ายของเรื อวิจัย หรื อ ้ อ้ ถอนอุปกรณ์ แล้ วแต่กรณี สําหรับการติดตังและรื (1.5) ชื่อของสถาบันผู้อปุ ถัมภ์ ผู้อํานวยการสถาบัน และบุคคลที่รับผิดชอบโครงการ และ (1.6) ขอบเขตที่พิจารณาให้ รัฐชายฝั่ งเข้ าร่วมด้ วยหรื อมีผ้ แู ทนอยูใ่ นโครงการนัน้ ทัง้ นี ้ หกเดือนหลังจากวันที่ได้ จัดหาข้ อสนเทศดังกล่าวข้ างต้ นให้ แก่รัฐชายฝั่ ง รัฐหรื อองค์ การ ระหว่างประเทศที่มีอํานาจอาจดําเนินโครงการวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเล เว้ นแต่ภายในสี่เดือนหลักจากได้ รับการ ติดต่อซึ่งมีข้อสนเทศเช่นว่านัน้ รั ฐชายฝั่ งได้ แจ้ งให้ รัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศที่ทําการวิจัยนัน้ ทราบว่าตนไม่ อนุญาต ข้ อสนเทศไม่สอดคล้ องกับข้ อเท็จจริงที่ปรากฏอย่างชัดแจ้ ง ต้ องการข้ อสนเทศเพิ่มเติม หรื อมีข้อผูกพันค้ างอยู่ ในโครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลซึง่ รัฐหรื อองค์การนันได้ ้ ดําเนินการมาก่อน (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 252) (2) หน้ าที่ที่จะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขบางประการ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 249) ขณะทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรื อบนไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่ ง รัฐและ องค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขดังต่อไปนี ้ (2.1) ประกันสิทธิ ของรัฐชายฝั่ ง หากรัฐชายฝั่ งต้ องการเช่นนัน้ ที่จะเข้ าร่ วมหรื อมีผ้ ูแทนอยู่ใน โครงการวิ จัย วิ ท ยาศาสตร์ ท างทะเล โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง บนเรื อ วิ จัย และยานอื่ น ๆ หรื อ สิ่ ง ติ ด ตัง้ เพื่ อ การวิ จัย วิทยาศาสตร์ หากปฏิบตั ิได้ โดยไม่ต้องจ่ายค่าตอบแทนใดๆ แก่นกั วิทยาศาสตร์ ของรัฐชายฝั่ ง และโดยไม่มีข้อผูกพัน ในการที่จะมีสว่ นร่วมในค่าใช้ จ่ายของโครงการ (2.2) เมื่อได้ รับการร้ องขอ จัดรายงานเบื ้องต้ นให้ แก่รัฐชายฝั่ งโดยเร็ วที่สดุ เท่าที่จะทําได้ และเมื่อ การวิจยั สิ ้นสุดลงก็จดั ผลและข้ อสรุปสุดท้ ายให้ ด้วย (2.3) เมื่อได้ รับการร้ องขอ ดําเนินการให้ รัฐชายฝั่ งเข้ าถึงข้ อมูลและสิ่งตัวอย่างทัง้ ปวงที่ได้ จาก โครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล และในทํานองเดียวกัน ให้ รัฐชายฝั่ งได้ ข้อมูลซึ่งอาจคัดลอกได้ และสิ่งตัวอย่างซึ่ง อาจแบ่งได้ โดยไม่เสื่อมเสียคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ ของสิง่ ตัวอย่างนัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


251

(2.4) ถ้ าได้ รับการร้ องขอ ให้ ผลการประเมินข้ อมูล สิง่ ตัวอย่าง และผลการวิจยั แก่รัฐชายฝั่ ง หรื อให้ การช่วยเหลือในการประเมินผลหรื อการตีความข้ อมูลสิง่ ตัวอย่างและผลการวิจยั เหล่านัน้ (2.5) ประกันว่าจะจัดให้ มีผลการวิจยั ไว้ สําหรับระดับระหว่างประเทศ โดยผ่านช่องทางภายในหรื อ ระหว่างประเทศที่เหมาะสมโดยเร็วที่สดุ เท่าที่จะปฏิบตั ิได้ (2.6) แจ้ งให้ รัฐชายฝั่ งทราบโดยทันทีถงึ การเปลี่ยนแปลงสําคัญใดๆ ในแผนงานวิจยั (2.7) เว้ นแต่จะได้ ตกลงเป็ นอย่างอื่น รื อ้ ถอนสิ่งติดตังหรื ้ ออุปกรณ์วิจยั วิทยาศาสตร์ ทนั ทีที่การวิจยั สิ ้นสุดลง แต่อย่างไรก็ตาม บทบัญญัติดังกล่าวข้ างต้ นไม่เป็ นการเสื่อมเสียต่อเงื่ อนไขต่างๆ ที่กําหนดขึน้ โดย กฎหมายและข้ อบังคับของรัฐชายฝั่ งเพื่อการใช้ ดลุ พินิจที่จะอนุญาตหรื อไม่อนุญาตตามข้ อ 246 วรรค 5 รวมถึงการ กําหนดให้ มีความตกลงล่วงหน้ าในการจัดให้ มีผลการวิจัยของโครงการที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการสํารวจและการ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติไว้ สําหรับระดับระหว่างประเทศ 4.5) การระงับชัว่ คราวหรื อการยุติกิจกรรมวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล รั ฐ ชายฝั่ ง มี สิท ธิ ที่ จ ะสั่ง ให้ ร ะงับ กิ จ กรรมวิ ท ยาศาสตร์ ท างทะเลใด ๆที่ กํ า ลัง ดํ า เนิ น อยู่ภ ายในเขต เศรษฐกิจจําเพาะหรื อบนไหล่ทวีปของตนไว้ ชวั่ คราวได้ หาก (1) กิจกรรมวิจัยไม่ได้ กระทําตามข้ อสนเทศที่แจ้ งมาตามที่บัญญัติไว้ ในข้ อ 248 ซึ่งเป็ นพืน้ ฐานที่รัฐ ชายฝั่ งให้ ความยินยอม หรื อ (2) รัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจที่กระทํากิจกรรมวิจยั ไม่ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติในข้ อ 249 เกี่ยวกับสิทธิของรัฐชายฝั่ งในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล นอกจากนี ้ รัฐชายฝั่ งมีสิทธิ สงั่ ให้ ยตุ ิกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ทางทะเลใดๆ ที่มีการไม่ปฏิบตั ิตามข้ อ 248 ซึ่งเท่ากับเป็ นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อโครงการวิจัยหรื อกิจกรรมวิจัย หรื อไม่มีการแก้ ไขสถานการณ์ ตาม (1) หรื อ (2) ให้ ถกู ต้ องในระยะเวลาอันสมควร โดยแจ้ งให้ รัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศนันทราบถึ ้ งการวินิจฉัย และหยุด กิจกรรมที่การแจ้ งนันระบุ ้ ถงึ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 253) 4.6) สิทธิของรัฐเพื่อนบ้ านที่ไร้ ฝั่งทะเลและที่เสียเปรี ยบทางภูมิศาสตร์ รัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจซึ่งได้ เสนอโครงการที่จะทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลที่ กล่าวถึงในข้ อ 246 วรรคสาม ต่อรัฐชายฝั่ ง ต้ องแจ้ งให้ รัฐเพื่อนบ้ านที่ไร้ ฝั่งทะเลและที่เสียเปรี ยบทางภูมิศาสตร์ ทราบ ถึงโครงการวิจยั ที่เสนอ และแจ้ งให้ รัฐชายฝั่ งทราบถึงเรื่ องดังกล่าว หลังจากรัฐชายฝั่ งที่เกี่ยวข้ องได้ ให้ ความยินยอมต่อโครงการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลที่เสนอแล้ ว ให้ รัฐและองค์การระหว่างประเทศซึ่งดําเนินโครงการนันจั ้ ดหาข้ อสนเทศที่เกี่ยวข้ องตามที่ระบุไว้ ในข้ อ 248 และข้ อ 249 วรรคหนึง่ (เอฟ) ให้ แก่รัฐเพื่อนบ้ านนัน้ ตามคําร้ องขอและเมื่อเหมาะสม รัฐเพื่อนบ้ านดังกล่าวต้ องได้ รับโอกาสตามคําร้ องขอของตนที่จะให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญที่ทรงคุณวุฒิที่ตนแต่งตัง้ และรัฐชายฝั่ งไม่คัดค้ านเข้ าร่ วมในโครงการวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลที่มีการเสนอ เมื่อใดก็ตามที่กระทําได้ ตาม เงื่อนไขสําหรับโครงการที่ตกลงกันระหว่างรัฐชายฝั่ งที่เกี่ยวข้ องกับรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศนัน้ โดยสอดคล้ อง กับบทบัญญัติของอนุสญ ั ญาฯ (อนุสญ ั ญาฯ ข้ อ 245)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


252

4.7) ความรับผิดชอบและความรับผิด รัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจต้ องรับผิดชอบที่จะประกันว่าการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล ไม่วา่ จะกระทําโดยตนเองหรื อในนามของตนดําเนินไปโดยสอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฯ รัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจต้ องรับผิดชอบและรับผิดต่อมาตรการที่ตนดําเนินอันขัดต่อ อนุสญ ั ญาฯ ในส่วนที่เกี่ยวกับการวิจัยวิทยาศาสตร์ ทางทะเลซึ่งกระทําโดยรัฐอื่น โดยบุคคลหรื อนิติบุคคลของรั ฐ เหล่านัน้ หรื อโดยองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจ และต้ องชดใช้ ค่าชดเชยสําหรับความเสียหายอันเป็ นผลมาจาก มาตรการเช่นว่านัน้ รัฐและองค์การระหว่างประเทศที่มีอํานาจต้ องรับผิดชอบและรับผิดตามข้ อ 235 สําหรับความเสียหายที่ เกิดจากภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้ อมทางทะเลอันเนื่องมาจาการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลซึ่งกระทําโดยตนเองหรื อ กระทําในนามของตน 3) ความตกลงเพือ่ การอนุวตั ิ การตามบทบัญญัติแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ฉบับลง วันที ่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 เกี ย่ วกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาทีย่ า้ ยถิ่ นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวล ปลาทีย่ า้ ยถิ่ นอยู่เสมอ 3.1) วิวฒ ั นาการของความตกลงเพื่อการอนุวตั ิการตามบทบัญญัติแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วย กฎหมายทะเล ลงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขต ทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ ความตกลงเพื่อการอนุวตั ิการตามบทบัญญัติแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ลงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทะเลและมวลปลาที่ย้าย ถิ่นอยู่เสมอ (ต่อไปจะเรี ยกว่า “ความตกลงฯ”) ฉบับนี ้เป็ นผลจากความห่วงใยขององค์การสหประชาชาติเกี่ยวกับการ ใช้ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง เนื่องจากองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization-FAO) พบว่า ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวงหลายชนิดถูกนํามาใช้ จนเต็มที่แล้ ว และสาเหตุสําคัญที่ทํา ให้ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวงเหล่านันถู ้ กนํามาใช้ จนทําให้ ปริ มาณลดลงอย่างมากเป็ นเพราะการทําประมงในทะเล หลวงโดยไม่คํานึงถึงการมีอยู่ของทรัพยากรดังกล่าวในวันข้ างหน้ า ประกอบกับมีการทําการประมงในทะเลหลวงโดย ประเทศซึ่งมิได้ เป็ นภาคีแห่งข้ อตกลงเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการทรั พยากรมีชีวิตในทะเลหลวงในรู ปของ คณะกรรมาธิการ (Commission) หรื อองค์การ (Organization) ที่จดั ตังขึ ้ ้นอยู่แล้ วในภูมิภาคต่างๆ ของทะเลหลวง367 เหตุการณ์ดงั กล่าวทําให้ มีการแข่งขันกันทําการประมงในทะเลหลวงโดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรสัตว์นํ ้าที่มีมลู ค่าทาง เศรษฐกิจสูง เช่น ปลาทูน่าชนิดพันธุ์ตา่ งๆ ดังนัน้ ในระหว่างวันที่ 19 ถึง 23 เมษายน 1993 การประชุมของสหประชาชาติว่าด้ วยการอนุรักษ์ และการ จัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล(Straddling Fish Stocks) และมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ (Highly Migratory Fish Stocks) จึงเริ่ มขึ ้นเรื่ อยไปจนถึงการประชุมสมัยที่ 6 ซึ่งเป็ นสมัยสุดท้ ายใน ค.ศ. 1995 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึงวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1995 และที่ประชุมเห็นสมควรให้ มีการลงนามกรรมสารสุดท้ าย (Final Act) 367

เช่น Inter–American Tropical Tuna Commission (IATTA), International Commission for the Conservation of Atlantic Tunas (ICCAT), FAO Indian Ocean Fisheries Commission (IOFC) FAO Indian Ocean Tuna Commission (IOTC), South Pacific Commission (SPC), Eastern Pacific Ocean Tuna Organization (EPOTO), Western Indian Ocean Tuna Organization (WIOTO) และ Asia – Pacific Fishery Commission (APFIC)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


253

และความตกลงเพื่อการอนุวตั ิการให้ เป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล เมื่อ วันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล และมวล ปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ (Agreement for the Implementation of the Provisions of the United Nations Convention on the Law of the Sea of 10 December 1982 Relating to the Conservation and Management of Straddling Fish Stocks and Highly Migratory Fish Stocks) ในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1995 โดยในส่วนของความตกลงนี ้จะ เปิ ดให้ มีการลงนามเป็ นเวลา 12 เดือน นับแต่วนั ที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1995 ตามข้ อ 37 แห่งความตกลงฯ ดังกล่าว โดย ความตกลงนี จ้ ะมีผลบังคับใช้ ในวันถัดจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารหรื อภาคยานุวัติสาร (instrument of ratification or accession) ครบ 30 ฉบับแล้ ว ปั จจุบันความตกลงฯ นี ม้ ีผลใช้ บังคับเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2001 โดยมีรัฐที่เป็ นภาคี จํานวน 66 ประเทศ368 (ข้ อมูล ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2550) 3.2) หลักการสําคัญของความตกลงฯ ความตกลงนีม้ ีหลักการสําคัญในการแก้ ปัญหาการจัดการเกี่ยวกับการทําประมงในทะเลหลวงที่ยังไม่ เพี ย งพอในหลายพื น้ ที่ และการใช้ ท รั พ ยากรบางประเภทจนเกิ น ขนาด (Over Fishing) การทํ า ประมงที่ ข าดการ ควบคุมดูแล (Unregulated Fishing) การลงทุนมากเกินไป (Over Capitalization) ขนาดของกองเรื อที่มากเกินไป (Excessive Fleet Size) การเปลี่ยนธงเรื อเพื่อหลบหนีการควบคุม (Reflagging) เครื่ องมือทําประมงประเภทเลือกจับ ที่ยงั ไม่เพียงพอ (Insufficiently Selective Gear) ข้ อมูลพื ้นฐานที่ขาดความน่าเชื่อถือ (Unreliable Databases) และ การขาดความร่ วมมืออย่างเพียงพอระหว่างรัฐต่างๆ เพื่อมิให้ เกิดผลกระทบที่ร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้ อมทางทะเล เพื่อ ธํารงไว้ ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) และรักษาความอุดมสมบูรณ์แห่งระบบนิเวศวิทยาทางทะเล (Integrity of Marine Ecosystems) และลดความเสี่ยงของผลกระทบระยะยาวหรื อผลที่ไม่อาจแก้ ไขได้ ของการทํา ประมง 3.3) มวลสัตว์นํ ้าภายใต้ กรอบความตกลงฯ มวลสัตว์นํ ้าที่ความตกลงฯ มุ่งให้ มีการอนุรักษ์ และจัดการในลักษณะที่ยงั่ ยืนสามารถ จําแนกออกเป็ น ๒ ประเภท ตามลักษณะการดําเนินชีวิตของมวลสัตว์นํ ้าในแง่ของชีววิทยาและการแบ่งเขตทางทะเลโดยมนุษย์ในแง่ของ กฎหมายระหว่างประเทศ ได้ แก่ มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล(Straddling Fish Stocks) และมวลปลาที่ ย้ ายถิ่นอยูเ่ สมอ (Highly Migratory Fish Stocks) (1) มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเล (Straddling Fish Stocks) ความตกลงฯ มิได้ ให้ คําจํากัดความของคําว่า “มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล” (Straddling ้ า รวมถึงหอย (Molluscs) และกุ้งกับปู Fish Stocks) ไว้ โดยตรง เพียงแต่มีคํานิยามของคําว่า “ปลา” (Fish) ไว้ เท่านันว่ (Crustaceans) ยกเว้ นชนิดพันธุ์ที่อยู่ติดที่ (Sedentary) ตามที่นิยามไว้ ในข้ อ 77 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 อย่างไรก็ดี หากพิจารณาถึงถ้ อยคําในข้ อ 63 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย ทะเลฯ ว่าด้ วยมวลสัตว์นํ ้าที่เกิดขึ ้นภายในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งสองรัฐหรื อมากกว่านัน้ หรื อที่เกิดขึ ้นทัง้

368

Status of the United Nations Convention on the Law of the Sea, of the Agreement for the Implementation of the Provisions of the United nations Convention on the Law of the Sea of 10 December 1982 relating to the Conservation and Management of Straddling Fish Stocks and Highly Migratory Fish Stocks, <http://www.un.org/Dept/los/convention_agreements/texts/unclos>

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


254

ภายในเขตเศรษฐกิจจําเพาะและในบริ เวณที่อยู่ถดั จากและประชิดติดต่อกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะ จะเห็นได้ ว่า คําว่า “มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล” (Straddling Fish Stocks) ตามความตกลงฯ หมายถึงมวลสัตว์นํ ้าที่ย้าย ถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งและทะเลหลวงเท่านัน้ จากการศึกษาขององค์การอาหารและการเกษตร (FAO) พบว่า โดยธรรมชาติแล้ วมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่น อยู่ระหว่างเขตเศรษฐกิจจํ าเพาะและทะเลหลวงจะมีความสัมพันธ์ กับความกว้ างของไหล่ทวีปตามธรรมชาติด้วย กล่าวคือ มวลสัตว์นํ ้าประเภทนี ้จะเคลื่อนย้ ายถิ่นตลอดแนวความกว้ างของไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่ ง ทังนี ้ ้ มวลสัตว์นํ ้าที่ ั ้ ตว์นํ ้าหน้ าดิน (Demersal Stocks) และสัตว์นํ ้า ย้ ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตเศรษฐกิจจําเพาะและเขตทะเลหลวงจะมีทงสั ผิวนํ ้า (Pelagic Stocks) และในแง่ชีววิทยาทางทะเลอาจจําแนกชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าโดยอาศัยหลักความกว้ างของไหล่ ทวีปตามธรรมชาติออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ ชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่อาศัยอยู่ในเขตไหล่ทวีป (Neritic Species) และชนิด พันธุ์สตั ว์นํ ้าที่อาศัยอยู่นอกเขตไหล่ทวีปหรื อในมหาสมุทร (Oceanic Species) และมวลสัตว์นํ ้าประเภทที่ย้ายถิ่นอยู่ ระหว่างเขตเศรษฐกิจจําเพาะและเขตทะเลหลวงจะเป็ นพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่อาศัยอยู่ในเขตไหล่ทวีปเป็ นส่วนใหญ่ ดังนัน้ ใน กรณีที่รัฐชายฝั่ งมีเขตไหล่ทวีปตามธรรมชาติที่กว้ างกว่าเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่งอยู่ประชิดติดต่อกับทะเลหลวง ชนิด พันธุ์สัตว์ นํ า้ ประเภทที่อาศัยอยู่ในเขตไหล่ทวีปจึงเป็ นชนิดพัน ธุ์สัตว์ นํา้ ที่ ย้ายถิ่นข้ ามไปมาระหว่างเขตเศรษฐกิ จ ้ ่เป็ นมวลสัตว์นํ ้าหน้ าดินและมวลสัตว์นํ ้าผิวนํ ้า ตามนัยแห่งข้ อ 63 วรรคสอง จําเพาะและทะเลหลวงเหนือไหล่ทวีป ทังที ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลฯ และตามนัยแห่งความตกลงนี ้ ทังนี ้ ้ ไม่รวมถึงชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้า ประเภทติดที่ ที่อาศัยอยู่บนพื ้นทะเล หรื อดินใต้ พื ้นทะเลของไหล่ทวีปตามนัยข้ อ 1 (ซี) แห่งความตกลงนี ้และตามข้ อ 77 (4) แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเลฯ มวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตเศรษฐกิจจําเพาะและทะเลหลวงเหนือไหล่ทวีปดังกล่าวข้ างต้ นนี ้ อาจ ้ ่ในเขตเศรษฐกิจ เป็ นมวลสัตว์นํา้ ที่อาศัยอยเขตเศรษฐกิจจําเพาะเป็ นส่วนใหญ่ โดยมวลสัตว์นํ ้าเกือบทังหมดจะอยู จําเพาะ (2) มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ (Highly Migratory Fish Stocks) ั ญาสหประชาชาติว่า มีการกล่าวถึงมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอในข้ อ 64369 และภาคผนวก 1 แห่งอนุสญ ด้ วยกฎหมายทะเลฯ ซึง่ ประกอบด้ วย (2.1) ปลาจําพวกปลาทูน่า ได้ แก่ (2.1.1) ปลาทูน่าครี บยาว (Albacore tuna – Thunnus alalunga) (2.1.2) ปลาทูน่าครี บนํ ้าเงินหรื อปลาทูน่านํ ้าลึก (Bluefin tuna – Thunnus thynnus) (2.1.3) ปลาทูน่าตาโต (Bigeye tuna – Thunnus obesus) (2.1.4) ปลาทูน่าท้ องแถบ (Skipjack tuna – Katsuwonus pelamis) (2.1.5) ปลาทูน่าครี บเหลือง (Yellowfin tuna – Thunnus albacares)

369

ข้ อ 64 ชนิดพันธุ์ที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ 1. รัฐชายฝั่ งและรัฐอื่นซึง่ คนชาติของตนทําการประมงในภูมิภาคเพื่อจับชนิดพันธุ์ที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอตามบัญชีรายชื่อในภาคผนวกที่ 1 จะร่วมมือกันโดยตรงหรื อผ่านองค์การระหว่างประเทศที่เหมาะสมโดยมุง่ ที่จะประกันการอนุรักษ์ และส่งเสริ มจุดประสงค์ของการใช้ ประโยชน์ สูงสุดจากชนิดพันธุ์เช่นว่าตลอดภูมิภาค ทัง้ ภายในและที่เลยเขตเศรษฐกิจจํ าเพาะออกไป ในภูมิภาคที่ยังไม่มีองค์ การระหว่างประเทศที่ เหมาะสม รัฐชายฝั่ งและรัฐอื่นซึง่ คนชาติของตนจับชนิดพันธุ์เหล่านี ้ในภูมิภาคนันจะร่ ้ วมกันจัดตังองค์ ้ การเช่นว่าและเข้ าร่วมงานขององค์การ 2. ให้ บทบัญญัติของวรรคหนึง่ ใช้ บงั คบเพิ่มเติมบทบัญญัติอื่นของภาคนี ้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


255

(2.1.6) ปลาทูน่าครี บดําหรื อปลาทูน่าแอตแลนติกและปลาโอลาย (Blackfin tuna – Thunnus atlanticus) (2.1.7) ปลาโอลายแอตแลนติก (Little tuna – Euthynnus alletteratus) และปลาโอลาย (Euthynnus affinis) (2.1.8) ปลาทูน่าครี บนํ ้าเงินตอนใต้ (Southern bluefin tuna – Thunnus maccoyii) (2.1.9) ปลาโอแกลบหรื อปลาโอขาว (Frigate mackerel – Auxis thazard) และปลาโอหลอดหรื อ ปลาโอกล้ วย (Auxis rochei) (2.2) ปลาจําพวกปลาจาระเม็ด ได้ แก่ ปลาพอมเฟรต (Pomfrets : Family Bramidae) (2.3) ปลาจําพวกปลากระโทงแทง ได้ แก่ (2.3.1) ปลาจําพวก Marlins ได้ แก่ ปลากระโทงแทงฝั่ งแอตแลนติก (Tetrapturus angustirostris ; Tetrapturus belone; Tetrapturus pfluegeri) ปลากระโทงแทงฝั่ งแปซิฟิค (Tetrapturus albidus) ปลาอินทรี ย์ขาว (Tetrapturus audax) ปลากระโทงแทงบัว (Tetrapturus georgei) ปลากระโทงแทงขาว (Makaira mazara) ปลากระ โทงแทงดํา (Makaira indica) ปลาอินทรี ย์ช้าง (Makaira nigricans) (2.3.2) ปลาจําพวก Sail-fishes ได้ แก่ ปลากระโทงแทงร่ม (Istiophorus platypterus) หรื อปลา อินทรี ย์ร่ม (Istiophorus albicans) (2.3.3) ปลากระโทงแทงดาบ (Swordfish - Xiphias gladius) (2.4) ปลาอินทรี ย์ (Sauries) ได้ แก่ (2.4.1) Scomberesox saurus (2.4.2) Cololabis saira (2.4.3) Cololabis adocetus (2.4.4) Scomberesox saurus scombroides (2.5) สัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนมประเภทปลาโลมา (Dolphin) หรื อปลาอีโต้ มอญ ได้ แก่ (2.5.1) Coryphaena hippurus (2.5.2) Coryphaena equiselis (2.6) ปลาจําพวกฉลามนํ ้าลึก (Oceanic sharks) ได้ แก่ ปลาฉลามนํ ้าลึก (Xexanchus griseus) ปลา ฉลามยักษ์ นํ ้าอุ่น (Cetorhinus maximus) วงศ์ปลาฉลามหางยาว (Family Alopiidae) ปลาฉลามวาฬ (Rhincodon typus) วงศ์ปลาฉลามขาว ปลาฉลามหูดํา หรื อปลาฉลามหนู (Family Carcharhinidae) วงศ์ปลาฉลาหัวค้ อน (Family Sphyrnidae) วงศ์ปลาฉลามกินคนหรื อฉลามขาว (Family Isurida) (2.7) สัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนมประเภทปลาวาฬและปลาโลมา (Cetaceans) ได้ แก่ ปลาวาฬแกลบ (Family Physeteridae ; Family Balaenopteridae ; Family Balaenidae) วงศ์ปลาวาฬปากสัน้ (Family Eschrichtiidae) วงศ์ปลาโลมา (Family Monodontidae) ; วงศ์ปลาวาฬ (Family Ziphiidae) และวงศ์ของปลาโลมาหัวขวด (Family Delphinidae) มวลสัตว์นํา้ ที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอตามภาคผนวกที่ 1 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยทะเลฯ เหล่านี ้ อาจเป็ นมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยู่เฉพาะในเขตทะเลหลวงเพียงอย่างเดียวโดยไม่เข้ าไปในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


256

ชายฝั่ ง หรื อเป็ นมวลสัตว์นํา้ ที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างทะเลหลวงเพื่อหากินและเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่ งเพื่อ วางไข่ และเลี ้ยงตัวอ่อน ทังนี ้ ้ ยกเว้ นปลาโอดํา (Longtail Tuna - Thunus Tonggol) ซึง่ เป็ นปลาทูน่าขนาดเล็กและ เป็ นปลาทูน่าแท้ พวกเดียวกับปลาทูน่าขนาดใหญ่จําพวกปลาทูน่าครี บเหลือง แต่ปลาโอดําก็ไม่จดั เป็ นมวลสัตว์นํ ้าที่ ย้ ายถิ่นอยู่เสมอตามภาคผนวกที่ 1 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลฯ เนื่องจากปลาโอดําจะอาศัย อยูบ่ ริเวณชายฝั่ งและไม่ย้ายถิ่นออกนอกเขตไหล่ทวีป 3.4) มาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ เสมอ ตามความตกลงฯ (1) มาตรการทัว่ ไปในการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวล ปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ มาตรการทัว่ ไปในการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ ย้ ายถิ่นอยู่เสมอในทะเลหลวงนัน้ เป็ นมาตรการที่รัฐชายฝั่ งและรัฐซึ่งทําการประมงมวลปลาทังสองประเภทจะต้ ้ อง ั ญัติไว้ ในข้ อ 63 วรรคสอง370 ในกรณีของ ร่วมกันกําหนดขึ ้นเพื่อให้ เป็ นไปตามหลักแห่งการร่วมมือระหว่างกันตามที่บญ มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล และตามข้ อ 64 ในกรณี ของมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ แห่งอนุสญ ั ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเลฯ ดังนี ้ (1.1) กําหนดมาตรการเพื่อให้ แน่ใจว่าจะมีการทําประมงมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเลและ มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ ในลักษณะที่ยงั่ ยืนและเพื่อเป็ นการส่งเสริ มการใช้ มวลปลาดังกล่าวในลักษณะที่พอเหมาะ พอดี (1.2) มาตรการในข้ อ 4.1) นัน้ เป็ นมาตรการที่กําหนดขึ ้นโดยอาศัยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ และเป็ นมาตรการที่เป็ นไปเพื่อรักษาไว้ หรื อทําให้ มวลสัตว์นํ ้ากลับคืนสู่ระดับที่สามารถให้ ผลผลิตสูงสุดที่มวลสัตว์นํ ้า นันจะคงมี ้ อยูต่ ลอดไป (Maximum Sustainable Yield) ตามปั จจัยทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้ อมที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ โดย คํานึงถึงแบบแผนการทําประมง (fishing patterns) การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างมวลสัตว์นํ ้า (Interdependence of Stocks) และมาตรฐานขันตํ ้ ่าระหว่างประเทศ (International Minimum Standards) ไม่ว่าจะเป็ นมาตรฐานที่กําหนด ขึ ้นในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลกก็ตาม (ข้ อ 5 (เอ) และ (บี) ของความตกลงฯ) (1.3) ใช้ มาตรการป้องกันล่วงหน้ า (Precautionary Approach) ดังนี ้ (1.3.1) รัฐจะต้ องใช้ มาตรการล่วงหน้ าอย่างกว้ างขวางเพื่อการอนุรักษ์ การจัดการ และการแสวง ประโยชน์จากมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอเพื่อคุ้มครองทรัพยากรทาง ทะเลและรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเล (ข้ อ 6 วรรคหนึง่ ของความตกลงฯ) (1.3.2) ในกรณี ที่ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับมวลสัตว์นํา้ นัน้ ไม่แน่นอน ไม่น่าเชื่อถือ หรื อไม่ เพียงพอ รัฐจะต้ องใช้ ความระมัดระวังมากขึ ้น และรัฐไม่ควรหยิบยกการไม่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ มาเป็ นข้ ออ้ างใน การประวิงหรื อละเว้ นไม่กําหนดมาตรการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรสัตว์นํ ้าดังกล่าว (ข้ อ 6 วรรคสอง ของความตก ลงฯ)

370

ในกรณี ที่มีมวลสัตว์นํ ้าชนิดเดียวกัน หรื อบรรดามวลสัตว์นํ ้าของชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันทังภายในเขตเศรษฐกิ ้ จจําเพาะและใน บริ เวณที่เลยและประชิดกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะ รัฐชายฝั่ งและรัฐอื่นที่ทําการประมงมวลสัตว์นํ ้าเช่นว่าในบริ เวณที่ประชิดกันจะหาทางตกลง กันโดยตรงหรื อโดยผ่าน องค์การระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคที่เหมาะสมในการวางมาตรการที่จําเป็ นเพื่อการอนุรักษ์ มวลสัตว์นํ ้าเหล่านี ้ใน บริ เวณที่ประชิดกัน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


257

(1.3.3) ในการดํ า เนิ น การให้ เ ป็ นไปตามมาตรการป้ องกัน ล่ว งหน้ า นัน้ รั ฐ จะต้ อ งดํ า เนิ น การ ดังต่อไปนี ้ - ปรับปรุ งกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรประมงโดยใช้ ข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ ที่มีอยูร่ ่วมกันและดําเนินการให้ เป็ นไปตามเทคนิคที่ได้ รับการปรับปรุ งขึ ้นเพื่อแก้ ปัญหา ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน (ข้ อ 6 วรรคสาม (เอ)ของความตกลงฯ) - ใช้ แ นวทางตามที่ กํ า หนดไว้ ใ นภาคผนวกที่ 2 แห่ ง ความตกลงฯ เพื่ อ กํ า หนดข้ อ มูล ทาง วิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ เท่าที่มีอยู่ จุดอ้ างอิงโดยเฉพาะสําหรับมวลสัตว์นํ ้า (Stock Specific Reference Points) และ การดําเนินการในส่วนที่เลยไปจากจุดดังกล่าว (ข้ อ 6 วรรคสาม (บี) ของความตกลงฯ) - พิจารณาถึงปั จจัยต่างๆ เช่น ความไม่แน่นอนเกี่ ยวกับขนาดและผลผลิตของมวลสัตว์ นํ า้ จุดอ้ างอิง สภาพของมวลสัตว์นํ ้าเกี่ยวกับจุดอ้ างอิงดังกล่าว ระดับ และการแพร่กระจายของการตายของสัตว์นํ ้าที่เกิด จากการทําประมง และผลกระทบของกิจกรรมทางประมงสัตว์นํ ้าที่มิใช่กลุ่มเป้าหมาย ชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่อยู่ร่วมกัน และชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน ตลอดทังสภาพทางสมุ ้ ทรศาสตร์ สิ่งแวดล้ อมและสังคม เศรษฐกิจที่มีอยู่ และที่อาจคาดหมายได้ (ข้ อ 6 วรรคสาม (ซี) ของความตกลงฯ) - พัฒนาการรวบรวมข้ อมูลและแผนการวิจยั เพื่อประเมินผลกระทบของการทําประมงชนิดพันธุ์ สัตว์นํ ้าที่มิใช่เป้าหมาย ชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่อยู่ร่วมกัน และชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน และสภาพแวดล้ อม ของชนิดพันธุ์เหล่านัน้ และกําหนดแผนการซึ่งจําเป็ นในการทําให้ แน่ใจว่ามีการอนุรักษ์ ชนิดพันธุ์สตั ว์นํา้ เช่นว่านัน้ และมีการคุ้มครองถิ่นที่อยูข่ องสัตว์นํ ้า (ข้ อ 6 วรรคสาม (ดี) ของความตกลงฯ) - รัฐจะต้ องดําเนินมาตรการเพื่อให้ แน่ใจว่า จะไม่มีดําเนินการใดๆ ในส่วนที่เลยจากจุดอ้ างอิง (reference points) และในกรณีที่เลยจากจุดอ้ างอิงดังกล่าวรัฐจะต้ องดําเนินการ ตามข้ อ ค. (๒) โดยไม่ชกั ช้ าเพื่อ ฟื น้ ฟูมวลสัตว์นํ ้านัน้ (ข้ อ 6 วรรคสี่ ของความตกลงฯ) - ในกรณี ข องมวลสัตว์ นํ า้ ที่ เป็ นเป้ าหมาย (Target Stocks) หรื อมวลสัตว์ นํา้ ที่ มิได้ เป็ น เป้าหมาย (Non-Target Stocks) หรื อพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่อยู่ร่วมกันหรื อต้ องพึง่ พาอาศัยกัน (Associated or Dependent Species) นัน้ รั ฐ จะต้ องดํ า เนิ น การติ ดตามสถานะของมวลสัตว์ นํ า้ เหล่า นัน้ เพื่ อ พิจารณาทบทวนถึง สถานะและ ประสิทธิภาพของมาตรการอนุรักษ์ และจัดการสัตว์นํ ้าดังกล่าว โดยอาศัยข้ อมูลใหม่ ๆ (ข้ อ 6 วรรคห้ า ของความตกลง ฯ) - สําหรับการประมงใหม่หรื อการทําประมงที่ค้นพบใหม่ (New or Exploratory Fisheries) นัน้ ้ รัฐจะต้ องกําหนดมาตรการอนุรักษ์ และการจัดการด้ วยความระมัดระวังและโดยเร็ วที่สดุ เท่าที่จะทําได้ รวมทังมาตรการ จํากัดการจับและการจํากัดเครื่ องมือทําการประมงโดยมาตรการเช่นว่านัน้ จะใช้ บงั คับต่อไปจนกว่าจะมีข้อมูลเพียง พอที่จะทําให้ มีการประเมินถึงผลกระทบของการทําประมงดังกล่าวต่อความยัง่ ยืนของมวลสัตว์นํ ้า ซึ่งในกรณีเช่นว่า นัน้ จะต้ อ งดํา เนิ น การให้ เป็ นไปตามมาตรการการอนุรักษ์ และการจัดการโดยอาศัยการประเมิน เช่น ว่า นัน้ และ มาตรการต่อ ๆ มานันจะต้ ้ องเปิ ดโอกาสให้ มีการพัฒนาการทําประมงได้ เป็ นลําดับ (ข้ อ 6 วรรคหก ของความตกลงฯ) - หากปรากฏการณ์ ธรรมชาติส่งผลกระทบที่ก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรงต่อสถานะ ของมวลปลาที่ย้ายถิ่นที่อยู่ระหว่างเขตทางทะเลหรื อมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ รั ฐจะต้ องกํ าหนดมาตรการการ อนุรักษ์ และการจัดการโดยเร่ งด่วน เพื่อให้ แน่ใจว่าการทําประมงนันไม่ ้ ก่อให้ เกิดผลกระทบเสียหายเพิ่มขึ ้นอีก และรัฐ ้ กคามอย่างมากต่อความยัง่ ยืนของมวลสัตว์นํ ้า โดยมาตรการ จะต้ องกําหนดมาตรการเร่ งด่วนเมื่อการทําประมงนันคุ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


258

เช่นว่านันเป็ ้ นเพียงมาตรการชัว่ คราวและต้ องเป็ นมาตรการที่อาศัยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ เท่าที่มีอยู่ (ข้ อ 6 วรรคเจ็ด ของความตกลงฯ) (1.3.4) ประเมินผลกระทบของการประมง กิจกรรมอื่น ๆ ของมนุษย์และปั จจัยด้ านสิ่งแวดล้ อมที่ จะมีต่อชนิดพันธุ์ที่เป็ นเป้าหมาย (Target Species) และชนิดพันธุ์ ซึ่งอยู่ในระบบนิเวศน์เดียวกันหรื อชนิดพันธุ์ที่อยู่ ร่วมกันหรื อที่ต้องพึง่ พาอาศัยมวลสัตว์นํ ้าเป้าหมาย (Target Stocks) (ข้ อ 5 (ดี) ของความตกลงฯ) (1.3.5) ในกรณีที่จําเป็ น รัฐต้ องกําหนดมาตรการอนุรักษ์ และจัดการสําหรับชนิดพันธุ์ที่อยู่ในระบบ นิเวศน์เดียวกันหรื อที่อยู่ร่วมกันหรื อที่ต้องพึง่ พาอาศัยมวลสัตว์นํ ้า เป้าหมายโดยมุ่งที่การดํารงหรื อฟื น้ ฟูประชากรของ ชนิดพันธุ์เหล่านัน้ ให้ อยู่เหนือระดับซึ่งถ้ าลดลงไปมากกว่าระดับเช่นว่านัน้ แล้ วจะเป็ นการคุกคามต่อประชากรของ ชนิดพันธุ์ดงั กล่าว (ข้ อ 5 (อี) ของความตกลงฯ) (1.3.6) ลดมลภาวะ ของเสีย การทิ ้งปลา การจับสัตว์นํ ้าโดยเครื่ องมือทําประมงที่สญ ู หายหรื อทิ ้ง แล้ ว การจับชนิดพันธุ์ที่มิใช่เป้าหมายทังที ้ ่เป็ นปลาและมิใช่ปลา และผลกระทบต่อชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันหรื อที่พึงพา อาศัยกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดพันธุ์ที่ใกล้ จะสูญพันธุ์ (Endangered Species) โดยใช้ มาตรการต่าง ๆ รวมทังการ ้ พัฒนา และการใช้ เครื่ องมือและเทคนิคการทําประมงที่ปลอดภัยต่อสิง่ แวดล้ อมและให้ ผลตอบแทนคุ้มค่า (1.3.7) คุ้มค่าความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ในสิง่ แวดล้ อมทางทะเล (1.3.8) ดําเนินมาตรการเพื่อป้องกันหรื อขจัดการทําประมงเกินขนาด (Over Fishing) และ ความสามารถในการทําประมงที่มีมากเกินไปและเพื่อให้ แน่ใจว่าระดับของการทําประมงไม่เกินไปกว่าระดับที่ได้ สัดส่วนกับการใช้ ทรัพย์สนิ ประมงแบบยัง่ ยืน (1.3.9) คํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ข องชาวประมงพื น้ บ้ าน (Artisanal) และชาวประมงยั ง ชี พ (Subsistence) (1.3.10) รวบรวมและแบ่งปั นข้ อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมประมง เช่น ตําแหน่งของเรื อ การจับชนิดพันธุ์ เป้าหมายและที่มิใช่เป้าหมาย และเครื่ องมือทําประมงดังที่ระบุไว้ ในภาคผนวก ตลอดทัง้ ข้ อมูลจากโครงการวิจัย แห่งชาติและระหว่างประเทศ (1.3.11) ส่งเสริมและทําการวิจยั วิทยาศาสตร์ และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ และ จัดการการทําประมง และ (1.3.12) อนุวตั ิการและบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการการอนุรักษ์ และการจัดการโดยการติดตาม ผล การควบคุม และการสอดส่องดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ (2) มาตรการเฉพาะระหว่างรัฐชายฝั่ งและรัฐซึง่ คนชาติของตนทําการประมงในทะเลหลวงตามอนุสญ ั ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มาตรการเฉพาะในที่นี ้หมายถึงมาตรการในการอนุรักษ์ และการจัดการมวลสัตว์นํ ้าย้ ายถิ่นอยู่ระหว่าง เขตทางทะเล (Straddling Stocks) และมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ (Highly Migratory Stocks) ซึง่ รัฐชายฝั่ งและ รัฐซึ่งคนชาติของตนทํ าประมงมวลสัตว์ นํา้ ดังกล่าวในทะเลหลวงจะต้ องกํ าหนดร่ วมกันหรื อเพื่อให้ มาตรการการ ้ งในเขตเศรษฐกิ ้ จจําเพาะของชายฝั่ งและในทะเลหลวงเป็ นไปใน อนุรักษ์ และการจัดการมวลสัตว์นํ ้าทังสองประเภททั ทิศทางเดียวกัน ไม่ขดั แย้ งกันดังที่บญ ั ญัติไว้ ในข้ อ 63 วรรค 2 (กรณีของมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล (Straddling Stocks) และข้ อ 64 (กรณีของมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ (Highly Migratory Stocks) แห่งอนุสญ ั ญา สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982) โดยความร่วมมือของรัฐชายฝั่ งและรัฐซึง่ คนชาติของตนทําประมงใน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


259

ทะเลหลวงเพื่อให้ เกิดความสอดคล้ องกันของมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาทังสองประเภท ้ อาจทําได้ ดงั นี ้ (ข้ อ 7 วรรคสอง ของความตกลงฯ) (2.1) รัฐจะต้ องคํานึงถึงมาตรการอนุรักษ์ และจัดการที่รัฐชายฝั่ งกําหนดขึ ้น และใช้ บงั คับตามข้ อ 61 ว่า ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ในส่วนที่เกี่ยวกับ ด้ วยการอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตแห่งอนุสญ มวลสัตว์นํา้ เดียวกันที่ใช้ บังคับอยู่ในบริ เวณซึ่งอยู่ภายใต้ เขตอํานาจแห่งชาตินัน้ และรัฐจะต้ องแน่ใจว่ามาตรการ ้ ่อมเสียไป (ข้ อ อนุรักษ์ และจัดการมวลสัตว์นํ ้าเดียวกันในทะเลหลวงนันไม่ ้ ทําให้ ประสิทธิภาพของมาตรการเหล่านันเสื 7 วรรคสอง (เอ)ของความตกลงฯ) (2.2) คํ า นึง ถึงมาตรการที่ รัฐชายฝั่ ง และรั ฐซึ่งคนชาติข องตนทํ าประมงในทะเลหลวงเคยตกลงกัน มาแล้ ว และใช้ บงั คับในทะหลวงตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับมวลสัตว์นํ ้า ชนิดเดียวกันทังในเขตเศรษฐกิ ้ จจําเพาะและทะเลหลวง (ข้ อ 7 วรรคสอง (บี) ของความตกลงฯ) (2.3) คํานึงถึงมาตรการที่องค์การจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาคเคยตกลงกันมาแล้ ว แล้ วใช้ บงั คับตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับมวลสัตว์นํ ้าชนิดเดียวกันทังใน ้ เขตเศรษฐกิจจําเพาะและทะเลหลวง (ข้ อ 7 วรรคสอง (ซี) ของความตกลงฯ) (2.4) คํานึงถึงเอกภาพทางชีววิทยา (Biological Unity) และลักษณะทางชีววิทยาอื่น ๆ ของมวลสัตว์ นํา้ และความสัมพันธ์ ระหว่างการแพร่ กระจายของมวลสัตว์นํา้ การทําประมง และลักษณะเฉพาะทางภูมิศาสตร์ (Geographical Particularities) ของภูมิภาคที่เกี่ยวข้ องรวมทังขอบเขตบริ ้ เวณที่มวลสัตว์นํ ้านันเกิ ้ ดขึ ้น และมีการทํา ประมงกัน ในบริเวณที่อยูภ่ ายใต้ เขตอํานาจแห่งชาติ (ข้ อ 7 วรรคสอง (ดี) ของความตกลงฯ) (2.5)คํ า นึง ถึง การพึ่ง พาอาศัย ของทัง้ รั ฐ ชายฝั่ ง และรั ฐซึ่ง ทํ า ประมงในทะเลหลวงต่อ มวลสัตว์ นํ า้ ที่ เกี่ยวข้ อง (ข้ อ 7 วรรคสอง (อี) ของความตกลงฯ) (2.6) ทําให้ แน่ใจว่ามาตรการเช่นว่านัน้ ไม่ส่งผลกระทบที่เป็ นอันตรายต่อทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล ทังหมด ้ (ข้ อ 7 วรรคสอง (เอฟ) ของความตกลงฯ) ในการกําหนดหน้ าที่ของรัฐชายฝั่ งและรัฐซึง่ คนชาติของตนทําประมงมวลปลาซึง่ ย้ ายถิ่นอยู่ระหว่างเขต ทางทะเลและมวลปลาซึ่งย้ ายถิ่นอยู่เสมอในทะเลหลวงนัน้ ความตกลงฯฉบับนี ้กําหนดให้ ทงรั ั ้ ฐชายฝั่ งและรัฐซึ่งคน ชาติของตนทําประมงในทะเลหลวงต้ องร่วมมือกันเพื่อกําหนดมาตรการอนุรักษ์ และจัดการที่สอดคล้ องต้ องกันภายใน เวลาอันสมควร หากรัฐเช่นว่านันไม่ ้ สามารถทําความตกลงได้ ภายในเวลาอันสมควรดังกล่าว รัฐที่เกี่ยวข้ องรัฐใดรัฐหนึ่ง อาจหยิบยกกระบวนพิจารณาเพื่อให้ มีการระงับข้ อพิพาทตามที่บญ ั ญัติไว้ ใน Part VIII ของความตกลงฯฉบับนี ้ได้ (ข้ อ 7 วรรคสาม ของความตกลงฯ) ในกรณีที่รัฐชายฝั่ งและรัฐซึ่งคนชาติของตนทําประมงมวลสัตว์นํ ้าทังสองประเภทในทะเลหลวง ้ ยังไม่ สามารถบรรลุข้อตกลงในการกําหนดมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลสัตว์นํ ้าทังสองประเภทที ้ ่สอดคล้ องต้ องกันได้ รัฐที่เกี่ยวข้ องจะต้ องพยายามทุกวิถีทางที่จะทําข้ อตกลงชั่วคราว (Provisional Arrangements) ซึ่งมีลกั ษณะที่ สามารถนําไปปฏิบตั ิได้ และในกรณีที่รัฐที่เกี่ยวข้ องไม่สามารถทําข้ อตกลงชัว่ คราวเช่นว่านันได้ ้ รัฐที่เกี่ยวข้ องรัฐใดรัฐ หนึง่ อาจเสนอข้ อพิพาทต่อศาลหรื อคณะพิจารณา (Tribunal) ตามกระบวนพิจารณาเพื่อระงับข้ อพิพาทตามที่บญ ั ญัติ ไว้ ใน Part VIII แห่งความตกลงฯฉบับนี ้ เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ข้ อตกลงชัว่ คราวเช่นว่านัน้ (ข้ อ 7 วรรคสี่ ของความตกลงฯ) ใน กรณีที่รัฐชายฝั่ งและรัฐซึ่งคนชาติของตนทําประมงในทะเลหลวงสามารถตกลงกันได้ เกี่ยวกับข้ อตกลงชัว่ คราวหรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


260

มาตรการอนุรักษ์ และจัดการ รัฐจะต้ องคํานึงถึงและเคารพต่อสิทธิและพันธกรณี ของรัฐทังปวงที ้ ่เกี่ยวข้ องด้ วย และ จะต้ องไม่ทําให้ เสื่อมเสียหรื อขัดขวางต่อการที่จะให้ บรรลุความตกลงสุดท้ ายเกี่ยวกับมาตรการอนุรักษ์ และจัดการที่ ้ ดท้ ายของกระบวนการพิจารณาในการระงับข้ อพิพาทใด ๆ สอดคล้ องกัน ทังนี ้ ้ โดยจะต้ องไม่ทําให้ เสื่อมเสียต่อผลขันสุ ด้ วย (ข้ อ 7 วรรคหก ของความตกลงฯ) ในกรณีที่รัฐชายฝั่ งกําหนดมาตรการในการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทาง ทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอเพื่อใช้ บงั คับในบริ เวณซึ่งอยู่ในเขตอํานาจของตน รัฐชายฝั่ งดังกล่าวจะต้ องแจ้ ง ไปยังรัฐซึง่ ทําประมงในทะเลหลวงในอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคนัน้ ไม่ว่าโดยตรงหรื อโดยผ่านองค์การจัดการการประมง ในอนุภูมิภาคหรื อภูมิภาคนัน้ หรื อโดยวิธีอื่นใดเพื่อให้ รัฐเหล่านัน้ ได้ ทราบถึงมาตรการการอนุรักษ์ และจัดการซึ่งรัฐ ชายฝั่ งกําหนดไว้ ในบริ เวณซึง่ อยู่ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ ง (ข้ อ 7 วรรคเจ็ด ของความตกลงฯ) ในขณะเดียวกัน รัฐซึ่งทําประมงในทะเลหลวงก็จะต้ องแจ้ งให้ รัฐอื่นที่มีส่วนได้ เสีย เช่น รัฐอื่นที่ทําประมงในทะเลหลวงด้ วยกันและรัฐ ชายฝั่ งไม่ว่าโดยตรงหรื อโดยผ่านองค์การจัดการประมงในอนุภูมิภาคหรื อภูมิภาคหรื อแจ้ งโดยวิธีอื่นใด ทราบถึง มาตรการที่ตนกําหนดขึ ้นเพื่อควบคุมกิจกรรมของเรื อซึง่ ชักธงของตน ซึง่ ทําการประมงมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่าง เขตทางทะเลและมวลสัตว์นํ ้าที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอในทะเลหลวงด้ วย (ข้ อ 7 วรรคแปด ของความตกลงฯ) 3.5) บทบาทและหน้ า ที่ ของรั ฐและองค์ การหรื อข้ อ ตกลงจัดการประมงในระดับ อนุภูมิภ าคหรื อ ระดับ ภูมิภาคเกี่ยวกับมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ เสมอ ความตกลงฉบับนี ้ได้ ให้ ความสําคัญถึงบทบาทและหน้ าที่ของรัฐโดยเฉพาะรัฐชายฝั่ งและรัฐซึง่ ทําประมง ในทะเลหลวงหรื อรัฐเจ้ าของธงและองค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคและระดับภูมิภาคที่มีต่อ มาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นที่อยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ ทังนี ้ ้ เป็ นไป ตามข้ อ 63 วรรคสองและข้ อ 64 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 โดยรัฐดังกล่าวและ องค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาค หรื อภูมิภาคจะมีบทบาทดังนี ้ (1) บทบาทและหน้ าที่ขององค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคและระดับภูมิภาค ความตกลงฯฉบับนี ไ้ ด้ เน้ นถึงความร่ วมมือระหว่างรัฐชายฝั่ งและรัฐซึ่งทําประมงในทะเลหลวงเพื่อการ อนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ ไม่วา่ ความร่วมมือเช่นว่า นันจะเป็ ้ นความร่ วมมือโดยตรงหรื อโดยผ่านองค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงระดับอนุภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาค ทังนี ้ ้ โดยคํานึงถึงลักษณะเฉพาะของอนุภูมิภาคหรื อภูมิภาค เพื่อให้ การอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาเช่นว่านัน้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (ข้ อ 8 วรรคหนึง่ ของความตกลงฯ) ในกรณีที่องค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อระดับภูมิภาคสามารถที่จะกําหนด มาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเล และมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอบางประเภทได้ มีหน้ าที่ที่จะต้ องร่ วมมือกันโดยการเข้ าเป็ นสมาชิกใน รัฐชายฝั่ งและรัฐซึ่งทําประมงมวลปลาเช่นว่านันในทะเลหลวง ้ องค์การเช่นว่านัน้ หรื อเป็ นการเข้ าร่ วมในข้ อตกลงเช่นว่านัน้ หรื อโดยยินยอมที่จะใช้ บังคับมาตรการอนุรักษ์ และ จัดการซึ่งองค์การจัดการประมงหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันกํ ้ าหนดขึ ้น ทังนี ้ ้ รัฐที่มีส่วนได้ เสียในการทําประมงเช่นว่านัน้ อาจเข้ าเป็ นสมาชิกขององค์การเช่นว่านัน้ หรื อเป็ นผู้เข้ าร่ วมในข้ อตกลงเช่นว่านัน้ ก็ได้ โดยเงื่อนไขของการเข้ าเป็ น สมาชิกหรื อการเข้ าร่ วมนัน้ ต้ องไม่เป็ นการเลือกประติบตั ิต่อรัฐหรื อกลุ่มของรัฐที่มีส่วนได้ เสียในการทําประมงนัน้ ๆ (ข้ อ 8 วรรคสาม ของความตกลงฯ)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


261

ประเด็นสําคัญที่ความตกลงฯฉบับนี ้กําหนดไว้ อย่างชัดเจนก็คือ เฉพาะรัฐซึง่ เป็ นสมาชิกขององค์การเช่น ว่านันหรื ้ อรัฐซึ่งเป็ นผู้เข้ าร่ วมในข้ อตกลงเช่นว่านันหรื ้ อรัฐที่ตกลงที่จะใช้ บงั คับมาตรการอนุรักษ์ และจัดการที่กําหนด ้ านัน้ ที่สามารถเข้ าใช้ ทรัพยากรประมงซึง่ มาตรการอนุรักษ์ และจัดการเช่นว่านี ้ใช้ โดยองค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันเท่ บังคับอยู่ (ข้ อ 8 วรรคสี่ ของความตกลงฯ)ส่วนรั ฐที่มิได้ เป็ นภาคี แห่งความตกลงฉบับนี ห้ รื อ มิได้ เป็ นสมาชิกของ องค์การหรื อมิได้ เข้ าร่ วมในข้ อตกลงในระดับอนุภูมิภาค หรื อระดับภูมิภาค หรื อยอมใช้ บงั คับมาตรการอนุรักษ์ และ จัดการที่องค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันกํ ้ าหนดขึ ้น ก็จะถูกรัฐภาคีแห่งความตกลงฯนี ้หรื อรัฐสมาชิกขององค์การหรื อ ้ ดขวางเรื อประมงซึง่ ชักธงของรัฐซึง่ มิได้ เป็ นภาคีความตกลงฉบับนี ้ หรื อที่ รัฐที่เข้ าร่วมในข้ อตกลงเช่นว่านันยั ้ บยังและขั มิได้ เป็ นสมาชิกขององค์การหรื อที่มิเข้ าร่วมในข้ อตกลงฯ หรื อที่ไม่ยอมใช้ บงั คับมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลา ดังกล่าว ที่กําหนดโดยองค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านัน้ ซึ่งทําประมงมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและ มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอในทะเลหลวงได้ ตามข้ อ 33 วรรคสอง แห่งความตกลงฯได้ ในกรณีที่ไม่มีองค์การหรื อข้ อตกลงระดับอนุภมู ิภาคหรื อระดับภูมิภาคที่จะกําหนดมาตรการอนุรักษ์ และ จัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอประเภทใดประเภทหนึ่ง รัฐชายฝั่ งที่ เกี่ยวข้ องและรัฐซึ่งทําประมงมวลสัตว์นํ ้าเช่นว่านันในทะเลหลวงในอนุ ้ ภมู ิภาคหรื อภูมิภาคดังกล่าวจะต้ องร่วมมือกัน จัดตังองค์ ้ การเช่นว่านันหรื ้ อเข้ าทําข้ อตกลงที่เหมาะสมเพื่อให้ แน่ใจว่ามีการอนุรักษ์ และการจัดการมวลสัตว์นํ ้าเช่นว่า นันและรั ้ ฐเหล่านันจะต้ ้ องร่วมงานขององค์การหรื อตามข้ อตกลงเช่นว่านันด้ ้ วย (ข้ อ 8 วรรคห้ า ของความตกลงฯ) ในการจัดตังองค์ ้ การจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อระดับภูมิภาค หรื อการเข้ าทําข้ อตกลงจัดการ ประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อระดับภูมิภาค เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทาง ทะเล และมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอดังกล่าวข้ างต้ นนัน้ รัฐที่เกี่ยวข้ องจะต้ องตกลงกันดังต่อไปนี ้ (1.1) มวลสัตว์นํ ้าซึ่งจะอยู่ในบังคับของมาตรการอนุรักษ์ และจัดการโดยคํานึงถึงลักษณะทางชีววิทยา ของมวลสัตว์นํ ้าเหล่านัน้ และลักษณะของการทําประมงที่เกี่ยวข้ อง (1.2) บริ เวณซึ่งมาตรการอนุรักษ์ และจัดการจะใช้ บงั คับ ทังนี ้ ้ โดยมิให้ เป็ นการขัดต่อสิทธิอธิปไตยของ รัฐชายฝั่ งในการสํารวจ แสวงประโยชน์ อนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลภายในบริ เวณซึ่งอยู่ภายใต้ เขต อํานาจแห่งชาติของตน ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในข้ อ 56 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และ สิทธิของรัฐทังปวง ้ ซึ่งคนชาติของตนทําประมงในทะเลหลวงตามที่บญ ั ญัติไว้ ในข้ อ 87 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ้ จจัยด้ านสังคม ว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ทังนี ้ ้ โดยต้ องคํานึงถึงลักษณะของอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาค รวมทังปั เศรษฐกิจ ด้ านภูมิศาสตร์ และด้ านสิง่ แวดล้ อมประกอบด้ วย (1.3) ความสัมพัน ธ์ ร ะหว่า งงานขององค์ การหรื อ ข้ อ ตกลงที่ จัดตัง้ หรื อ กํ า หนดขึน้ ใหม่แ ละบทบาท วัตถุประสงค์ และการดําเนินงานขององค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงที่มีอยูแ่ ล้ ว (1.4) กลไกซึ่ง องค์ การหรื อ ข้ อ ตกลงจะได้ ม าซึ่ง คํ า แนะนํ า ทางด้ า นวิทยาศาสตร์ แ ละการพิจ ารณา ทบทวนสถานภาพของมวลสัตว์นํ ้ารวมทังการจั ้ ดตังคณะที ้ ่ปรึกษาด้ านวิทยาศาสตร์ ด้วย (ข้ อ 9 วรรคหนึ่ง ของความ ตกลงฯ) ้ การหรื อเข้ าร่ วมในข้ อตกลงในระดับอนุภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาค ทังนี ้ ้ รัฐต่าง ๆ ซึ่งร่ วมมือกันจัดตังองค์ จะต้ องแจ้ งแก่รัฐซึ่งตนรู้ ว่ามีส่วนได้ เสียอย่างแท้ จริ งเกี่ยวกับงานขององค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันด้ ้ วย (ข้ อ 9 วรรค สอง ของความตกลงฯ)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


262

เมื่อมีองค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคหรื อภูมิภาคเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการ จัดการมวลสัตว์นํ ้าทังสองประเภทแล้ ้ ว องค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันมี ้ อํานาจหน้ าที่ดงั นี ้ (ข้ อ 10 ของความตกลงฯ) (1.1) ตกลงและปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการเพื่อให้ แน่ใจว่ามีการใช้ ประโยชน์มวลปลาที่ ย้ ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมออย่างยัง่ ยืน (1.2) ตกลงเกี่ยวกับสิทธิในการเข้ าร่วม (Participatory Rights) เช่น การจัดสรรปริ มาณสัตว์นํ ้าที่พงึ จับ ได้ (Allocations of Allowable Catch) หรื อระดับของการลงแรงในการทําประมง (Levels of Fishing Effort) (1.3) รับและใช้ บงั คับมาตรฐานขันตํ ้ ่าระหว่างประเทศซึ่งเป็ นที่แนะนํากันโดยทัว่ ไปเพื่อการทําประมงที่ มีความรับผิดชอบ (1.4) หาและประเมินคําแนะนําด้ านวิทยาศาสตร์ พิจารณาทบทวนสถานภาพของมวลสัตว์นํา้ และ ประเมินผลกระทบของการทําประมงชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่มิใช่เป้าหมาย และชนิดพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันหรื อที่ต้องพึง่ พาอาศัย กัน (1.5) ตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานในการรวบรวม รายงาน ตรวจสอบ และแลกเปลี่ยนข้ อมูลการทําประมง มวลสัตว์นํ ้าดังกล่าว (1.6) รวบรวมและเผยแพร่ ข้อมูลทางสถิติที่ถูกต้ องสมบูรณ์ ตามที่กําหนดไว้ ในภาคผนวกที่ 1 แห่ง ความตกลงฯ เพื่อให้ แน่ใจว่ามีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ เท่าที่มีอยู่ โดยยังคงรักษาความลับของชาติไว้ ใน กรณีที่จําเป็ น (1.7) ส่งเสริมและทําการประเมินทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับมวลสัตว์นํ ้าทังสองประเภทและการวิ ้ จยั ที่ (1.8) สร้ างกลไกความร่วมมือที่เหมาะสมเพื่อการติดตามผล การควบคุม การตรวจสอบและการบังคับ การที่มีประสิทธิภาพ (1.9) ตกลงเกี่ยวกับวิธีการปรับผลประโยชน์ด้านการประมงของสมาชิกใหม่ขององค์การหรื อผู้เข้ าร่ วม ใหม่ในข้ อตกลง (1.10) ตกลงเกี่ยวกับขันตอนการตั ้ ดสินใจซึง่ จะเอื ้ออํานวยต่อการรับเอามาตรการอนุรักษ์ และจัดการใน ลักษณะที่ทนั ต่อเหตุการณ์และมีประสิทธิภาพ (1.11) ส่งเสริ มการระงับข้ อพิพาทโดยสันติวิธีตาม Part VIII (1.12) ทําให้ แน่ใจว่ามีการร่ วมมืออย่างเต็มที่ของหน่วยงานแห่งชาติ และอุตสาหกรรมของตน ในการ ดําเนินการให้ เป็ นไปตามข้ อเสนอแนะและการวินิจฉัยขององค์การหรื อข้ อตกลง และ (1.13) ประกาศให้ ทราบโดยชอบถึงมาตรการอนุรักษ์ และจัดการซึง่ กําหนดขึ ้นโดยองค์การหรื อข้ อตกลง ้ มีองค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงอยู่แล้ ว รัฐที่ อย่างไรก็ดี ในกรณีที่ในอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคนันๆ เกี่ยวข้ องจะต้ องร่ วมมือกันเสริ มสร้ างองค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันเพื ้ ่อให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นในการกําหนดและ ดําเนินการให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้าย ถิ่นอยูเ่ สมอ (ข้ อ 13 ของความตกลงฯ) (2) บทบาทและหน้ าที่ของรั ฐซึ่งมิได้ เป็ นสมาชิกขององค์การ (Non-Members) หรื อซึ่งมิได้ เข้ าร่ วมใน ข้ อตกลง (Non-Participants) รัฐที่มิได้ เป็ นสมาชิกขององค์การจัดการประมงระดับอนุภมู ิภาค หรื อระดับภูมิภาค หรื อรัฐที่มิได้ เข้ าร่วมใน ข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาค และเป็ นรัฐที่มิได้ ตกลงที่จะใช้ บงั คับมาตรการอนุรักษ์

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


263

และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ ซึ่งกําหนดโดยองค์การหรื อ ข้ อตกลงเช่นว่านัน้ ย่อมไม่หลุดพ้ นจากพันธกรณีที่จะต้ องให้ ความร่วมมือในการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่น อยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒ และตามความตกลงฉบับนี ้ ทังนี ้ ้ รัฐซึง่ มิได้ เป็ นสมาชิกขององค์การจัดการประมงหรื อรัฐที่มิได้ เป็ นผู้เข้ าร่วมใน ข้ อตกลงจัดการประมงดังกล่าวข้ างต้ นนี ้ จะต้ องไม่อนุญาตให้ เรื อซึ่งชักธงของตนเข้ าทําประมงมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ ซึ่งอยู่ภายใต้ มาตรการอนุรักษ์ และจัดการซึ่งกําหนดโดยองค์กร หรื อข้ อตกลงเช่นว่านัน้ (ข้ อ 17 วรรคหนึง่ และวรรคสอง ของความตกลงฯ) ส่วนในกรณีขององคภาวะอื่นๆ ซึ่งมีเรื อประมงอยู่ในบริ เวณที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การจัดการ ประมงหรื อข้ อตกลงจัดการประมงอยู่แล้ ว รัฐซึง่ เป็ นสมาชิกขององค์การจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาค รัฐซึ่งเข้ าร่ วมในข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อระดับภูมิภาคไม่ว่าจะร่วมกันหรื อแยกกันก็ตามจะต้ อง ้ ่อ ร้ องขอต่อองค์ภาวะที่ทําประมงในบริ เวณเช่นว่านัน้ เพื่อให้ ร่วมมืออย่างเต็มที่กบั องค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันเพื ดําเนิ นการให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการซึ่งองค์ การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านัน้ กํ าหนดขึน้ ทัง้ นี ้ เพื่อให้ มาตรการอนุรักษ์ และจัดการเช่นว่านันใช้ ้ บงั คับในทางพฤตินยั (De Facto Application) แก่การทําประมงในบริ เวณ ดังกล่าว องคภาวะที่ทําประมงเช่นว่านัน้ จะได้ รับสิทธิ ประโยชน์ จากการเข้ าร่ วมในการทําประมงตามสัดส่วนแห่ง พันธะผูกพันของตนที่จะปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการเกี่ยวกับมวลสัตว์นํ ้าเช่นว่านัน้ (ข้ อ 17 วรรคสาม ของ ความตกลงฯ) ้ องแลกเปลี่ยนข้ อมูลเกี่ยวกับกิจกรรม อย่างไรก็ดี รัฐซึง่ เป็ นสมาชิกขององค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันจะต้ ของเรื อประมงซึ่งชักธงของรัฐที่มิได้ เป็ นสมาชิกขององค์การ หรื อรัฐที่มิได้ ร่วมในข้ อตกลง และเป็ นรัฐที่ทําประมงมวล สัตว์นํ ้าทังสองประเภท ้ และรัฐที่เป็ นสมาชิกขององค์การหรื อที่เข้ าร่ วมในข้ อตกลงเช่นว่านัน้ จะต้ องดําเนินมาตรการ ต่าง ๆ ที่สอดคล้ องกับความตกลงฉบับนี ้ และกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยับยังกิ ้ จกรรมของเรื อประมงเช่นว่านันซึ ้ ่ง บัน่ ทอนประสิทธิภาพของมาตรการอนุรักษ์ และจัดการในอนุภมู ิภาคและภูมิภาคนัน้ (3) บทบาทและหน้ าที่ของรัฐเจ้ าของธง (Flag State) ในกรณี ของรัฐเจ้ าของธงของเรื อประมงซึ่งทําประมงอยู่ในทะเลหลวงนัน้ รัฐเจ้ าของธงดังกล่าวจะต้ อง ดําเนินมาตรการที่จําเป็ นเพื่อให้ แน่ใจว่าเรื อซึง่ ชักธงของตนนันปฏิ ้ บตั ิตามมาตรการการอนุรักษ์ และจัดการในระดับอนุ ภูมิภาคหรื อภูมิภาคและต้ องให้ แน่ใจว่าเรื อซึง่ ชักธงของตนนันไม่ ้ กระทํากิจกรรมใดๆ อันเป็ นการบัน่ ทอนประสิทธิภาพ ของมาตรการเช่นว่านัน้ และรัฐเจ้ าของธงควรจะให้ เรื อใช้ ธงของตนเพื่อทําประมงในทะเลหลวงเฉพาะในกรณี ที่รัฐ เจ้ า ของธงเช่น ว่า นัน้ สามารถใช้ ค วามรั บ ผิด ชอบของตนได้ อ ย่า งมี ประสิท ธิ ภ าพเกี่ ย วกับ เรื อ นัน้ ตามอนุสัญ ญา ้ ้ มาตรการที่รัฐเจ้ าของธงจะใช้ เกี่ยวกับเรื อ สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และตามความตกลงนี ้ ทังนี ซึง่ ชักธงของตนนันให้ ้ ร่วมถึงมาตรการดังต่อไปนี ้ (ข้ อ 18 ของความตกลงฯ) (3.1) การควบคุมเรื อเช่นว่านัน้ ในทะเลหลวงโดยการออกใบอนุญาตทําการประมงตามขัน้ ตอนใด ๆ ตามที่ตกลงกันในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค และระดับโลก (3.2) การวางกฎข้ อบังคับ (3.2.1) เพื่อใช้ บงั คับข้ อกําหนดและเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตทําการประมง ให้ เพียงพอที่จะ เป็ นตามพันธกรณีของรัฐเจ้ าของธงในระดับอนุภมู ิภาค ระดับภูมิภาค และระดับโลก

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


264

(3.2.2) เพื่อห้ ามการทําประมงในทะเลหลวง โดยเรื อซึ่งมิได้ รับอนุญาตให้ ทําการประมงโดยชอบ หรื อห้ ามการทําประมงในทะเลหลวงโดยเรื อโดยประการอื่นใดนอกจากที่ เป็ นไปตามข้ อกํ าหนดและเงื่ อนไขของ ใบอนุญาตทําการประมงเช่นว่านัน้ (3.2.3) เพื่อกําหนดให้ เรื อซึ่งทําประมงในทะเลหลวง ต้ องมีใบอนุญาตประจําเรื ออยู่ตลอดเวลา และต้ องแสดงใบอนุญาตดังกล่าว เมื่อถูกเรี ยกให้ แสดงหรื อเพื่อการตรวจสอบโดยบุคคลซึง่ มีอํานาจโดยชอบ และ (3.2.4) เพื่อให้ แน่ใจว่าเรื อซึ่งชักธงของรัฐเจ้ าของธงนัน้ ไม่ทําการประมงโดยไม่ได้ รับอนุญาตใน บริเวณซึง่ อยูใ่ นเขตอํานาจแห่งชาติของรัฐอื่น (3.3) การจัดทําบันทึกเรื อประมงซึง่ อนุญาตให้ ทําประมงในทะเลหลวง และสามารถให้ มีการเข้ าสูข่ ้ อมูล ต่างๆ ในบันทึกเช่นว่านัน้ เมื่อมีคําร้ องขอจากรัฐซึง่ มีส่วนได้ เสียโดยตรง ทังนี ้ ้ โดยคํานึงถึงกฎหมายของรัฐเจ้ าของธง เกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลนันด้ ้ วย (3.4) ข้ อกําหนดที่จะให้ เรื อประมงและอุปกรณ์ทําการประมงสามารถระบุได้ ตามระบบเครื่ องหมายของ เรื อและอุปกรณ์ที่เป็ นรูปแบบเดียวกันและรู้จกั กัน โดยทัว่ ไป เช่น แบบจําเพาะที่เป็ นมาตรฐานขององค์การอาหารและ การเกษตรแห่งสหประชาชาติเพื่อการทําเครื่ องหมายและระบุเรื อประมง (Standard Specifications for the Marking and Identification of Fishing Vessels) (3.5) ข้ อกําหนดให้ มีการบันทึกและรายงานถึงตําแหน่งของเรื อ การจับชนิดพันธุ์สตั ว์นํ ้าที่เป็ นเป้าหมาย และชนิดพันธุ์ที่มิใช่เป้าหมาย การลงแรงในการทําประมงและข้ อมูลประมงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องตามมาตรฐานการรวบรวม ข้ อมูลในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค และระดับโลก (3.6) ข้ อกําหนดในการตรวจสอบความถูกต้ องของการจับชนิดพันธุ์สตั ว์นํา้ ที่เป็ นเป้าหมายและชนิด พันธุ์ที่มิใช่เป้าหมาย โดยใช้ วิธีการต่าง ๆ เช่น โครงการผู้สงั เกตการณ์ (Observer Programmes) แผนการตรวจสอบ (Inspection Schemes) รายงานปริ มาณสัตว์นํา้ ที่นําขึน้ (Unloading Reports) การควบคุมดูแลการขนถ่าย (Supervision of Transshipment) และการติดตามผลปริ มาณสัตว์นําที่นําขึน้ ท่าและสถิติการตลาด (Market Statistics) (3.7) การติดตามผล การควบคุม และการตรวจสอบเรื อประมงที่ชกั ธงของรัฐการปฏิบตั ิการของเรื อเช่น ว่านัน้ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องของเรื อเช่นว่านัน้ เช่น (3.7.1) การดําเนินการให้ เป็ นไปตามแผนการตรวจสอบของรัฐและแผนการในระดับอนุภูมิภาค และภูมิภาค เพื่อการร่ วมมือในการบังคับให้ เป็ นไปตามข้ อ 21 แห่งความตกลงนี ้ ว่าด้ วยความร่ วมมือในระดับอนุ ภูมิภาคและระดับภูมิภาคในการบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และระดับภูมิภาคในการบังคับให้ เป็ นไปตาม มาตรการอนุรักษ์ และจัดการและข้ อ 22 แห่งข้ อตกลงนี ้ว่าด้ วยขันตอนพื ้ ้นฐานในการขึ ้นเรื อและการตรวจสอบตามข้ อ 21 รวมทังข้ ้ อกําหนดสําหรับเรื อเช่นว่านันที ้ ่จะต้ องอนุญาตให้ ผ้ ตู รวจสอบที่ได้ รับมอบอํานาจโดยชอบจากรัฐอื่นเข้ า ตรวจสอบ (3.7.2) การดําเนินการให้ เป็ นไปตามโครงการผู้สงั เกตการณ์ของรัฐและโครงการผู้สงั เกตการณ์ใน ระดับอนุภูมิภาคและระดับภูมิภาค ซึ่งรัฐเจ้ าของธงเข้ าร่ วมอยู่ด้วย รวมทังข้ ้ อกําหนดสําหรับรัฐเช่นว่านัน้ ที่จะต้ อง อนุญาตให้ ผ้ สู งั เกตการณ์จากรัฐอื่นปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่ได้ ตกลงกันไว้ ตามโครงการได้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


265

(3.7.3) การพัฒนาและการดําเนินการให้ เป็ นไปตามระบบติดตามผลเกี่ยวกับเรื อรวมทัง้ ระบบ เครื่ องส่งสัญญาณดาวเทียม ตามโครงการของรัฐและโครงการที่ได้ ตกลงกันในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และระดับ โลก โดยรัฐต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ในกรณีที่มีระบบติดตามผล ระบบควบคุม และระบบตรวจสอบตามที่ได้ ตกลงกันไว้ ในระดับอนุ ภูมิภาค ภูมิภาค และระดับโลก ใช้ บงั คับอยู่แล้ วนัน้ รัฐจะต้ องทําให้ แน่ใจว่ามาตรการที่ตนกําหนดขึ ้นสําหรับเรื อซึง่ ชัก ธงของตนนันสอดคล้ ้ องกับระบบเช่นว่านัน้ 3.6) การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขตทางทะเลและ มวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาทังสองประเภทตามความตกลงฯ ้ นับว่า เป็ นส่วนสําคัญที่จะทําให้ มาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาทังสองประเภทในทะเลหลวงสามารถนํ ้ าไปปฏิบตั ิได้ อย่างจริ งจังและมีประสิทธิภาพ แต่ทงนี ั ้ ้ การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการดังกล่าวจะบรรลุผลได้ ก็ด้วยการอนุวตั ิการ ความตกลงฯ อย่างจริ งจัง โดยรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้ องทังหมด ้ เช่น รัฐเจ้ าของธงของเรื อประมงที่ทําการประมงมวลประ หลาดังกล่าวในทะเลหลวง รัฐชายฝั่ งที่มีมวลปลาทังสองประเภทอยู ้ ่ในน่านนํ ้าของตน องค์การและข้ อตกลงในระดับ อนุภมู ิภาคและระดับภูมิภาค และแม้ กระทัง่ รัฐเจ้ าของท่าเรื อซึง่ เรื อประมงที่ทําการประมงมวลปลาดังกล่าวนําปลาไป ขึ ้น ดังนัน้ ความตกลงฯนี ้ได้ กําหนดให้ มีการบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ โดยเน้ นที่พนั ธกรณีของรัฐต่างๆ และองค์การในระดับอนุภมู ิภาค หรื อในระดับภูมิภาคที่เกี่ยวข้ อง ดังนี ้ (1) การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการโดยรัฐเจ้ าของธง รัฐเจ้ าของธงเรื อซึ่งทําการประมงมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ เสมอในทะเลหลวงนับว่ามีบทบาทสําคัญอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และ จัดการทรัพยากรสัตว์นํ ้าทังสองประเภท ้ ทังนี ้ ้ เพราะเรื อประมงของรัฐเจ้ าของธงดังกล่าวเป็ นผู้ทําประมงสัตว์นํ ้าทังสอง ้ ประเภทโดยตรงไม่ว่ารัฐเจ้ าของธงนันจะเป็ ้ นรัฐชายฝั่ งซึ่งมีเขตเศรษฐกิจจําเพาะประชิดติดต่อกับทะเลหลวงโดยตรง หรื อเป็ นรัฐที่เข้ าทําประมงในทะเลหลวงโดยไม่มีเขตเศรษฐกิจจําเพาะติดต่อกับทะเลหลวง เช่น รัฐไร้ ชายฝั่ ง (LandLocked States) ตามข้ อ 69 หรื อรัฐที่มีสภาพเสียเปรี ยบทางภูมิศาสตร์ (Geographically Disadvantaged States) ตามข้ อ 70 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ก็ตาม ้ บตั ิตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการ ในการนี ้ รัฐเจ้ าของธงจะต้ องทําให้ แน่ใจว่าเรื อซึง่ ชักธงของตนนันปฏิ มวลปลาซึ่งย้ ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ ซึ่งกําหนดขึน้ ในระดับอนุภูมิภาคและ ระดับภูมิภาค ทังนี ้ ้ รัฐเจ้ าของธงจะต้ องดําเนินการดังนี ้ ้ คํานึงว่าจะมีการฝ่ าฝื นมาตรการเช่นว่านัน้ ณ ที่ใด (1.1) บังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการเช่นว่านันโดยไม่ (1.2) สอบสวนทันทีและโดยเต็มกําลังเกี่ยวกับการกล่าวอ้ างว่ามีการฝ่ าฝื นมาตรการอนุรักษ์ และจัดการ ในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค ซึ่งอาจรวมถึงการตรวจสอบเรื อที่เกี่ยวข้ องและรายงานให้ แก่รัฐและองค์การหรื อ ข้ อตกลงระดับอนุภมู ิภาคและภูมิภาคที่กล่าวอ้ างว่ามีการฝ่ าฝื นมาตรการเช่นว่านันโดยพลั ้ นถึงความคืบหน้ าและผล ของการตรวจสอบเช่นว่านัน้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


266

(1.2) กําหนดให้ เรื อซึ่งชักธงของรัฐนันให้ ้ ข้อมูลแก่เจ้ าพนักงานสอบสวนเกี่ยวกับตําแหน่งของเรื อ การ จับ ปลา เครื่ อ งมื อ ทํ าประมง การทํ าประมง และกิ จ กรรมที่ เกี่ ยวข้ อ ง ในบริ เ วณที่ มี ก ารกล่า วอ้ า งว่า มี ก ารฝ่ าฝื น มาตรการอนุรักษ์ และจัดการ (1.4) หากรัฐเจ้ าของธงพอใจว่ามีหลักฐานเพียงพอเกี่ยวกับการฝ่ าฝื นที่มีการกล่าวอ้ างเช่นว่านัน้ รัฐ เจ้ าของธงจะส่งเรื่ องให้ เจ้ าพนักงานของตนเพื่อดําเนินการฟ้องร้ องโดยไม่ชกั ช้ าตามกฎหมายของตนและในกรณี ที่ สมควรให้ กกั เรื อที่เกี่ยวข้ องนันไว้ ้ และ (1.5) ทําให้ แน่ใจว่า ในกรณีท่ีมีการพิสจู น์ทราบตามกฎหมายของตนว่า เรื อที่ชกั ธงของตนได้ กระทํา การอันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรการนันอย่ ้ างร้ ายแรง เรื อนันจะไม่ ้ ทําการประมงในทะเลหลวงจนกว่าเรื อเช่นว่านันจะได้ ้ ปฏิบตั ิตามบทลงโทษทังปวงซึ ้ ง่ รัฐเจ้ าของธงกําหนดไว้ สําหรับเรื อที่ฝ่าฝื นมาตรการนัน้ (ข้ อ 19 วรรคหนึ่ง ของความตก ลงฯ) การสอบสวนและกระบวนพิจารณาทางศาลทังปวงจะต้ ้ องกระทําโดยไม่ชกั ช้ าและบทลงโทษสําหรับการ ฝ่ าฝื นเช่นว่านัน้ จะต้ องมีความรุนแรงเพียงพอที่จะทําให้ เกิดประสิทธิภาพในการให้ มีการปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการและในการป้องกันมิให้ มีการฝ่ าฝื นขึ ้นอีกไม่วา่ ที่ใดก็ตาม และต้ องเป็ นบทลงโทษที่ทําให้ ผ้ กู ระทําผิดต้ องสิ ้น สิท ธิ ประโยชน์ อัน เกิ ดจากกิ จกรรมอัน ไม่ช อบด้ วยกฎหมายเช่น ว่า นัน้ อีกทัง้ มาตรการที่ใ ช้ บัง คับต่อ นายเรื อและ เจ้ าหน้ าที่อื่นประจําเรื อประมงจะต้ องรวมถึงมาตรการต่างๆ เช่น การปฏิเสธ การถอน หรื อการระงับการอนุญาตให้ เป็ นนายเรื อหรื อเจ้ าหน้ าที่ประจําเรื อนันด้ ้ วย (ข้ อ 19 วรรคสอง ของความตกลงฯ) (2) การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการโดยความร่วมมือระหว่างประเทศ การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการโดยความร่วมมือระหว่างประเทศนี ้เป็ นความร่วมมือ ของรัฐต่างๆ ไม่จํากัดเฉพาะรัฐชายฝั่ ง รัฐเจ้ าของธง หรื อรัฐซึง่ เป็ นสมาชิกขององค์การจัดการประมงหรื อรัฐที่เข้ าร่ วม ในข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคเท่านัน้ ทังนี ้ ้ หากความร่วมมือของรัฐใดจะเป็ นประโยชน์ต่อ การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล และมวลปลาที่ย้าย ถิ่นอยู่เสมอแล้ ว รัฐนันอาจให้ ้ ความร่ วมมือเมื่อถูกร้ องขอเพื่อให้ การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการ นันมี ้ ประสิทธิภาพ ในกรณี ดังกล่าวข้ างต้ นนี ้ รั ฐต่างๆ จะต้ องร่ วมมือกันไม่ว่าโดยตรงหรื อโดยผ่านองค์ การหรื อข้ อตกลง จัด การประมงในระดับ อนุภูมิ ภ าคหรื อ ระดับ ภูมิ ภ าค เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่า มี ก ารปฏิ บัติ ต ามและบัง คับ ให้ เ ป็ นไปตาม มาตรการอนุรักษ์ และจัดการในระดับอนุภมู ิภาค หรื อระดับภูมิภาคเกี่ยวกับมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเล และมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูเ่ สมอ ทังนี ้ ้ รัฐเจ้ าของธงซึง่ ทําการสอบสวนการฝ่ าฝื นมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ ย้ ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ อาจร้ องขอความช่วยเหลือจากรัฐอื่นใดซึ่งความ ้ องพยายามทําตามคําร้ องขอของรัฐ ร่วมมือของรัฐอื่นเช่นว่านันจะเป็ ้ นประโยชน์ในการสอบสวนนัน้ และรัฐทังปวงจะต้ เจ้ าของธงเกี่ยวกับการสอบสวนดังกล่าว (ข้ อ 20 วรรคหนึง่ และวรรคสอง ของความตกลงฯ) รัฐเจ้ าของธงอาจทําการสอบสวนการกล่าวอ้ างว่ากระทําผิดเช่นว่านันโดยตรงโดยร่ ้ วมมือกับรัฐที่มีสว่ นได้ เสียอื่ นๆ หรื อโดยผ่านองค์ การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาคก็ได้ ทัง้ นี ้ ข้ อมูล เกี่ยวกับความคืบหน้ าและผลของการสอบสวนจะต้ องจัดให้ แก่รัฐทังปวงที ้ ่มีสว่ นได้ เสียหรื อได้ รับผลกระทบจากการฝ่ า ฝื นที่มีการกล่าวอ้ างเช่นว่านันด้ ้ วย รัฐทังหลายจะต้ ้ องช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการระบุชี ้ถึงเรื อที่มีรายงานว่าได้ ทํา

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


267

กิจกรรมซึง่ บัน่ ทอนประสิทธิภาพของมาตรการจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลก (ข้ อ 20 วรรค สามและวรรคสี่ ของความตกลงฯ) ในกรณีที่กฎหมายและข้ อบังคับภายในรัฐอนุญาตให้ ทําได้ รัฐต่าง ๆ จะต้ องทําข้ อตกลงเพื่อจัดให้ มีการส่ง ้ แก่เจ้ าพนักงานอัยการของรัฐอื่น (ข้ อ 20 วรรคห้ า ของความ พยานหลักฐานเกี่ยวกับการฝ่ าฝื นมาตรการเช่นว่านันให้ ตกลงฯ) ในกรณีที่มีเหตุอนั สมควรเชื่อได้ วา่ เรื อซึง่ อยูใ่ นทะเลหลวงได้ ทําการประมงโดยมิได้ รับอนุญาตในบริ เวณซึง่ อยู่ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐชายฝั่ ง รัฐเจ้ าของธงของเรื อเช่นว่านันจะต้ ้ องดําเนินการสอบสวนกรณีดงั กล่าวโดยพลัน และอย่ า งเต็ม ที่ เ มื่ อ มี ก ารร้ องขอจากรั ฐ ชายฝั่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและรั ฐ เจ้ า ของธงจะต้ อ งร่ ว มมื อ กับ รั ฐ ชายฝั่ ง ในการ ดําเนินการบังคับการเกี่ยวกับกรณีเช่นว่านันและอาจมอบอํ ้ านาจให้ เจ้ าพนักงานของรัฐชายฝั่ งสามารถขึ ้นบนเรื อและ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย ตรวจเรื อซึง่ อยูใ่ นทะเลหลวงได้ แต่ต้องมิให้ เป็ นการเสื่อมเสียต่อข้ อ 111 แห่งอนุสญ ทะเล ค.ศ. 1982 (ข้ อ 20 วรรคหก ของความตกลงฯ)กล่าวคือ สิทธิการไล่ตามติดพัน (Right of Hot Pursuit) ของรัฐ ชายฝั่ งที่จะติดตามเรื อประมงของรัฐเจ้ าของธงไปจนกว่าจะสามารถจับเรื อประมงนันได้ ้ หรื อจนกว่าเรื อประมงนันได้ ้ เข้ าไปในทะเลอาณาเขตของรัฐเจ้ าของธงหรื อของรัฐที่สามแล้ ว นอกจากนี ้ รัฐภาคีแห่งความตกลงนี ซ้ ึ่งเป็ นสมาชิกขององค์การจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคหรื อ ภูมิภาค หรื อซึ่งเป็ นรัฐที่เข้ าร่ วมในข้ อตกลงจัดการประมงระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคอาจดําเนินการตามกฎหมาย บอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคที่กําหนดไว้ เพื่อการนี ้ เพื่อยับยังเรื ้ อ ระหว่างประเทศได้ รวมทังดํ ้ าเนินการตามขันตอนในระดั ้ ซึ่งทํากิจกรรมที่บนั่ ทอนต่อประสิทธิภาพหรื อที่ฝ่าฝื นมาตรการอนุรักษ์ และจัดการที่องค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านัน้ ้ าเนินการ กําหนดขึ ้นเพื่อมิให้ เรื อนันทํ ้ าประมงในทะเลหลวงในอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคนัน้ จนกว่ารัฐเจ้ าของเรื อนันจะดํ อันเหมาะสมกับเรื อที่ชกั ธงของตนนัน้ (ข้ อ 20 วรรคเจ็ด ของความตกลงฯ) (3) ความร่วมมือในระดับอนุภมู ิภาคหรื อระดับภูมิภาค ในทะเลหลวงซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบดูแลขององค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาค หรื อ ภูมิภ าค รั ฐภาคี แ ห่งความตกลงฯซึ่งเป็ นสมาชิ กขององค์ การหรื อ เป็ นผู้เข้ า ร่ วมในข้ อตกลงเช่นว่า นัน้ อาจให้ เจ้ าหน้ าที่ของตนที่ได้ รับมอบอํานาจโดยชอบขึ ้นไปบนเรื อและตรวจสอบเรื อประมงซึ่งชักธงของรัฐภาคีอื่นแห่งความ ้ อไม่ ตกลงฯ โดยไม่จําเป็ นว่ารัฐภาคีอื่นนันจะเป็ ้ นสมาชิกขององค์การหรื อเป็ นผู้เข้ าร่วมในข้ อตกลงจัดการประมงนันหรื เพื่อความมุง่ ประสงค์ที่จะทําให้ แน่ใจว่ามีการปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยูร่ ะหว่างเขต ทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอที่องค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านันกํ ้ าหนดขึ ้น (ข้ อ 21 วรรคหนึ่ง ของความตก ลงฯ) ในกรณีดงั กล่าวข้ างต้ นนี ้ รัฐจะต้ องกําหนดขันตอนในการขึ ้ ้นไปบนเรื อและตรวจตราเรื อประมงดังกล่าว โดยผ่า นองค์ การจัด การประมงในระดับ อนุภูมิ ภ าคหรื อ ภูมิ ภ าค ตลอดทัง้ ขัน้ ตอนเพื่ อ ดํ า เนิ น การให้ เ ป็ นไปตาม ้ งกล่าวจะต้ องสอดคล้ องกับข้ อ 21 และข้ อ 22 แห่งความ ข้ อกําหนดอื่น ๆ แห่งข้ อ 21 ของความตกลงฯ ทังนี ้ ้ ขันตอนดั ตกลงฯ นี ้ว่าด้ วยขันตอนพื ้ ้นฐานในการขึ ้นไปบนเรื อและตรวจตรา และจะต้ องไม่เป็ นการเลือกประติบตั ิต่อรัฐซึ่งมิใช่ งกล่าวที่กําหนด สมาชิกขององค์การหรื อมิใช่ผ้ เู ข้ าร่วมในข้ อตกลง และรัฐจะต้ องประกาศให้ ทราบโดยชอบถึงขันตอนดั ้ ขึ ้น (ข้ อ 21 วรรคสอง ของความตกลงฯ) ขันตอนพื ้ ้นฐานในการขึ ้นไปบนเรื อและการตรวจตราเรื อประมงดังกล่าวข้ างต้ นได้ แก่กรณีดงั ต่อไปนี ้ (ข้ อ 22 วรรคหนึง่ ของความตกลงฯ)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


268

รัฐซึง่ ทําการตรวจตราต้ องทําให้ แน่ใจว่าผู้ตรวจตราซึง่ ได้ รับมอบอํานาจโดยชอบของตนนัน้ (3.1) แสดงหนังสือแต่งตัง้ (Credentials) แก่นายเรื อและจัดทําสําเนาเอกสารเกี่ยวกับมาตรการหรื อกฎ และข้ อบังคับในการอนุรักษ์ และจัดการซึง่ ใช้ บงั คับอยูใ่ นทะเลหลวงในบริเวณดังกล่าว (3.2) แจ้ งไปยังรัฐเจ้ าของธงในขณะที่ขึ ้นไปบนเรื อและตรวจตรา (3.3) ต้ องไม่แทรกแซงการติดต่อสื่อสารของนายเรื อกับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐเจ้ าของธงในระหว่างที่ขึ ้นไปบน เรื อและตรวจตรา (3.4) จัดหาสําเนารายงานการขึ ้นไปบนเรื อและการตรวจตราให้ แก่นายเรื อและเจ้ าหน้ าที่ของรัฐเจ้ าของ ธง โดยระบุในรายงานนันด้ ้ วยว่ามีข้อคัดค้ านหรื อคําแถลงใด ๆ ที่นายเรื อประสงค์จะระบุไว้ ในรายงานดังกล่าวหรื อไม่ (3.5) ไปจากเรื อนันโดยเร็ ้ วเมื่อตรวจตราเสร็จโดยไม่พบพยานหลักฐานว่ามีการฝ่ าฝื นอย่างร้ ายแรง และ (3.6) หลีกเลี่ยงการใช้ กําลัง เว้ นแต่เมื่อจําเป็ นเพื่อประกันความปลอดภัยของผู้ตรวจตรา และในกรณีที่ ้ องไม่เกินกว่าเหตุในสภาวการณ์นนๆ ั้ ผู้ตรวจตราถูกขัดขวางการปฏิบตั ิหน้ าที่ของตน ขนาดของการใช้ กําลังเช่นว่านันต้ ผู้ตรวจซึง่ ได้ รับมอบอํานาจโดยชอบจากรัฐที่ตรวจตรามีอํานาจที่จะตรวจเรื อ ใบอนุญาต เครื่ องมือ อุปกรณ์ บันทึก สิง่ อํานวยความสะดวก ปลา และผลิตภัณฑ์จากปลา และเอกสารใดๆ ที่เกี่ยวข้ องอันจําเป็ นเพื่อให้ แน่ใจว่ามีการปฏิบตั ิตามมาตรการจัดการและอนุรักษ์ ที่เกี่ยวข้ องอย่างแท้ จริ ง (ข้ อ 22 วรรคสอง ของความตกลงฯ) นอกจากนี ้รัฐเจ้ าของธงจะต้ องทําให้ แน่ใจว่านายเรื อนัน้ (ข้ อ 22 วรรคสาม ของความตกลงฯ) (3.1) ยอมรับและอํานวยความสะดวกในการขึ ้นบนเรื อของผู้ตรวจโดยทันทีและด้ วยความปลอดภัย (3.2) ร่วมมือและช่วยเหลือในการตรวจเรื อซึง่ กระทําตามขันตอนนี ้ ้ (3.3) ไม่ขดั ขวาง ข่มขู่ หรื อแทรกแซงในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของผู้ตรวจ (3.4) อนุญาตให้ ผ้ ตู รวจติดต่อสื่อสารกับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐเจ้ าของธง และรัฐที่ทําการตรวจได้ ในระหว่าง การขึ ้นไปบนเรื อและการตรวจ ่พกั ให้ แก่ผ้ ตู รวจ และ (3.5) อํานวยความสะดวกตามสมควร รวมทังอาหารและที ้ (3.6) อํานวยความสะดวกในการที่ผ้ ตู รวจจะลงจากเรื อ ในกรณี ที่นายเรื อปฏิเสธที่จะยอมรับให้ มีการขึน้ ไปบนเรื อและตรวจตราดังกล่าวข้ างต้ น รัฐเจ้ าของธง จะต้ องสัง่ ให้ นายเรื อนันยอมให้ ้ มีการขึ ้นไปบนเรื อและให้ มีการตรวจตราโดยพลัน เว้ นแต่ในพฤติการณ์ซงึ่ ตามข้ อบังคับ ขันตอน ้ และแนวปฏิบตั ิอนั เป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในทะเล อาจจําเป็ นที่จะต้ องให้ มีการขึ ้น ไปบนเรื อและตรวจตราช้ าไปได้ และในกรณี ที่รัฐเจ้ าของธงสัง่ ให้ นายเรื อยอมให้ มีการขึน้ ไปบนเรื อและตรวจตราได้ ดังกล่าวข้ างต้ นนัน้ หากนายเรื อไม่ปฏิบัติตามคําสัง่ เช่นว่านัน้ รัฐเจ้ าของธงจะต้ องระงับการอนุญาตให้ เรื อนัน้ ทํา ประมงและสัง่ ให้ เรื อนันเข้ ้ ายังท่าเรื อทันที และรัฐเจ้ าของธงจะต้ องแจ้ งให้ รัฐผู้ทําการตรวจตราทราบถึงการกระทําของ ตนเมื่อเกิดสภาวการณ์เช่นว่านันขึ ้ ้น (ข้ อ 22 วรรคสี่ ของความตกลงฯ) หากภายในระยะเวลาสองปี นับแต่มีการรับเอาความตกลงฯ ฉบับนี ้ องค์การหรื อข้ อตกลงใด ๆ ไม่กําหนด ขันตอนดั ้ งกล่าวข้ างต้ นนี ้ การขึ ้นไปบนเรื อและการตรวจตราตลอดทังมาตรการบั ้ งคับใด ๆ หลังจากนันให้ ้ กระทําตาม นว่านัน้ (ข้ อ 21 วรรคสาม ของความตกลงฯ) อย่างไร ขันตอนพื ้ ้นฐานดังกล่าวข้ างต้ นจนกว่าจะมีการกําหนดขันตอนเช่ ้ ก็ดี ก่อนที่จะดําเนินมาตรการดังกล่าวข้ างต้ นนี ้ รัฐซึ่งทําการตรวจจะต้ องแจ้ งแก่รัฐทังปวงซึ ้ ่งมีเรื อที่ทําประมงอยู่ใน ทะเลหลวงในอนุภมู ิภาค หรื อภูมิภาคนัน้ โดยการแจ้ งโดยตรงหรื อผ่านองค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุ ภูมิภาคหรื อภูมิภาคถึงรูปแบบ ลักษณะของผู้ตรวจที่ได้ รับมอบอํานาจโดยชอบของตน เรื อซึ่งใช้ ในการตรวจดังกล่าว

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


269

จะต้ องมีเครื่ องหมายแสดงไว้ ชดั เจนว่าใช้ ในราชการของรัฐ และในขณะที่รัฐเข้ าเป็ นภาคีแห่งความตกลงนี ้ รัฐจะต้ อง ระบุถึงเจ้ าพนักงานที่จะรับคําบอกกล่าวข้ างต้ นและจะต้ องประกาศให้ ทราบโดยชอบถึงการระบุเจ้ าหน้ าที่เช่นว่านัน้ ผ่านองค์การหรื อข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมภิ าคนัน้ (ข้ อ 21 วรรคสี่ ของความตกลงฯ) หลังจากการขึ ้นไปบนเรื อและตรวจตราแล้ ว หากมีเหตุชดั แจ้ งที่จะเชื่อได้ ว่าเรื อนันได้ ้ กระทํากิจกรรมใด ๆ อันขัดต่อมาตรการอนุรักษ์ และจัดการดังกล่าว รัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องหาพยานหลักฐานหากเป็ นการสมควรที่จะต้ อง องแจ้ งไปยังรัฐเจ้ าของธงโดยพลันถึงการฝ่ าฝื นนัน้ (ข้ อ 21 วรรคห้ า ของความตกลงฯ) ทําเช่นนันและจะต้ ้ รัฐเจ้ าของธงจะต้ องตอบการแจ้ งให้ ทราบเช่นว่านันภายใน ้ ๓ วันทําการ นับแต่ได้ รับการแจ้ ง หรื อภายใน ระยะเวลาอื่นใดอันอาจกําหนดไว้ ในขัน้ ตอนการขึน้ ไปบนเรื อ และการตรวจตราดังกล่าวข้ างต้ น และรัฐเจ้ าของธง จะต้ อง (ข้ อ 21 วรรคหก ของความตกลงฯ) (3.1) ปฏิ บัติ ต ามพัน ธกรณี ข องตนในส่ว นที่ เ กี่ ย วกับ การปฏิ บัติ ต ามและการบัง คับ ให้ เ ป็ นไปตาม กฎหมายของรั ฐเจ้ า ของธง เพื่ อ ทํ า การสอบสวนและหากมี พ ยานหลัก ฐานก็ใ ห้ ใ ช้ มาตรการบัง คับ ให้ เป็ นไปตาม กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับเรื อเช่นว่านัน้ และในกรณีเช่นว่านัน้ รัฐเจ้ าของธงจะต้ องแจ้ งแก่รัฐผู้ทําการตรวจ ให้ ทราบ ถึงผลของการสอบสวนและมาตรการบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมายที่ตนได้ กระทําไป หรื อ (3.2) ให้ อํานาจแก่รัฐผู้ทําการตรวจที่จะดําเนินการสอบสวนเอง ในกรณี ที่รัฐเจ้ าของธงอนุญาตให้ รัฐผู้ทําการตรวจดําเนินการสอบสวนการฝ่ าฝื นมาตรการอนุรักษ์ และ จัดการ รัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องส่งผลของการสอบสวนให้ แก่รัฐเจ้ าของธงโดยไม่ชกั ช้ า และหากมีพยานหลักฐานรัฐ เจ้ าของธงจะต้ องปฏิบตั ิตามพันธกรณีของตนที่จะต้ องดําเนินมาตรการบังคับต่อเรื อเช่นว่านัน้ หรื อรัฐเจ้ าของธงอาจ ้ ่รัฐเจ้ าของธงระบุไว้ เกี่ยวกับเรื อนัน้ ทังนี ้ ้ เป็ นไปตาม อนุญาตให้ รัฐผู้ทําการตรวจดําเนินมาตรการบังคับเช่นว่านันตามที สิทธิและพันธกรณีของรัฐเจ้ าของธงตามความตกลงนี ้ (ข้ อ 21 วรรคเจ็ด ของความตกลงฯ) ้ กระทําการฝ่ าฝื น หลังจากขึ ้นไปบนเรื อและตรวจตราแล้ ว ในกรณีที่มีเหตุชดั แจ้ งอันควรเชื่อได้ ว่าเรื อนันได้ อย่างร้ ายแรงและรัฐเจ้ าของธงก็มิได้ ตอบสนองหรื อมิได้ ดําเนินมาตรการดังกล่าวข้ างต้ น ผู้ตรวจอาจยังคงอยู่บนเรื อ และหาพยานหลักฐานและอาจเรี ยกให้ นายเรื อช่วยเหลือในการสอบสวนต่อไป รวมถึงการนําเรื อเข้ าไปยังท่าเรื อที่ใกล้ ้ น้ ไปบนเรื อและการตรวจตราดังกล่าว ที่สดุ โดยไม่ชักช้ า หรื อเข้ าไปยังท่าเรื ออื่นใดตามที่ระบุไว้ ในขันตอนของการขึ ข้ างต้ น รัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องแจ้ งไปยังรัฐเจ้ าของธงโดยพลันถึงชื่อท่าเรื อที่เรื อนันจะเข้ ้ าไป รัฐผู้ทําการตรวจและรัฐ เจ้ าของธงและรัฐเจ้ าของท่าเรื ออาจดําเนินการอันจําเป็ นเพื่อประกันถึงความเป็ นอยู่ที่ดีของลูกเรื อโดยไม่คํานึงว่า ลูกเรื อนันจะมี ้ สญ ั ชาติใดก็ตาม (ข้ อ 21 วรรคแปด ของความตกลงฯ)โดยรัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องแจ้ งถึงการสอบสวน เพิ่มเติมใด ๆ เช่นว่านัน้ (ข้ อ 21 วรรคเก้ า ของความตกลงฯ)รัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องกําหนดให้ ผ้ ตู รวจของตนเคารพต่อ ข้ อบังคับ ขันตอน ้ และแนวปฏิบตั ิอนั เป็ นที่ยอมรับของนานาประเทศเกี่ยวกับความปลอดภัยของเรื อและของลูกเรื อ ลดการแทรกแซงในการทําประมงและหลีกเลี่ยงการกระทําที่จะส่งผลร้ ายต่อปลาในเรื อให้ มากที่สดุ เท่าที่จะปฏิบตั ิได้ ้ ได้ กระทําไปในลักษณะที่จะเป็ นการข่ม รัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องทําให้ แน่ใจว่าการขึ ้นไปบนเรื อและการตรวจตรานันมิ เหงเรื อประมงใดๆ (ข้ อ 21 วรรคสิบ ของความตกลงฯ) ในการนี ้ ความตกลงฯฉบับนี ้ได้ ให้ ความหมายของคําว่า “การฝ่ าฝื นอย่างร้ ายแรง” (Serious Violation) ว่า หมายถึง (ข้ อ 21 วรรคสิบเอ็ด ของความตกลงฯ) (3.1) การทําประมงโดยไม่มีใบอนุญาตหรื อการอนุญาตโดยชอบซึง่ ออกโดยรัฐเจ้ าของธงตามมาตรการ ต่างที่รัฐเจ้ าของธงกําหนดขึ ้นตามข้ อ 18 วรรคสาม (เอ) แห่งความตกลงนี ้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


270

(3.2) การไม่เก็บรักษาบันทึกการจับปลาและข้ อมูลที่เกี่ยวกับการจับปลาที่ถกู ต้ องตามที่องค์การหรื อ ข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคกําหนดไว้ หรื อการรายงานการจับปลาที่ไม่ถกู ต้ องอย่างมากซึง่ ขัดกับข้ อกําหนดในการรายงานการจับปลาขององค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่านัน้ (3.3) การทําประมงในพื ้นที่ที่ไม่เปิ ดให้ ทําการประมง การทําประมงในฤดูที่ห้ามทําการประมง หรื อการ ทําประมงโดยไม่ได้ รับโควตาหรื อเกินโควตาตามที่องค์การหรื อข้ อกําหนดการจัดการประมงในระดับอนุภูมิภาคหรื อ ระดับภูมิภาคกําหนดไว้ (3.4) การทําประมงมวลสัตว์นํ ้าซึง่ อยูภ่ ายใต้ บงั คับของการชะลอการทําประมง (Moratorium) หรื อห้ าม ทําประมง (3.5) การใช้ เครื่ องมือทําประมงที่ต้องห้ าม (3.6) การปลอมหรื อปกปิ ดเครื่ องหมาย ลักษณะ หรื อการจดทะเบียนเรื อประมง (3.7) การปกปิ ด บิดเบือน หรื อจํากัดพยานหลักฐานเกี่ยวกับการสอบสวน (3.8) การฝ่ าฝื นหลายครัง้ หลายคราซึง่ รวมแล้ วเป็ นการไม่เคารพอย่างร้ ายแรง (3.9) การฝ่ าฝื นหลายครัง้ หลายคราซึง่ รวมแล้ วเป็ นการไม่เคารพอย่างร้ ายแรงต่อมาตรการการอนุรักษ์ และจัดการ หรื อ (3.10) การฝ่ าฝื นอื่น ๆ ตามที่ ร ะบุในขัน้ ตอนตามที่ องค์ การหรื อ ข้ อตกลงจัดการประมงในระดับ อนุ ภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาคที่เกี่ยวข้ องกําหนดขึ ้น อย่างไรก็ดี นอกจากการบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการดังกล่าวข้ างต้ นแล้ ว รัฐเจ้ าของ ธงอาจดําเนินการเพื่อให้ เป็ นไปตามพันธกรณี ของตนเกี่ยวกับการบังคับให้ เป็ นไปมาตรการอนุรักษ์ และจัดการได้ ตลอดเวลาเกี่ยวกับการฝ่ าฝื นที่มีการกล่าวอ้ างเช่นว่านัน้ และในกรณี ที่เรื ออยู่ภายใต้ การกํากับดูแลของรัฐผู้ทําการ ้ อมูลโดยสมบูรณ์เกี่ยวกับ ตรวจ รัฐผู้ทําการตรวจจะต้ องปล่อยเรื อให้ แก่รัฐเจ้ าของธงเมื่อรัฐเจ้ าของธงร้ องขอพร้ อมทังข้ ความคืบหน้ าและผลของการสอบสวนของรัฐที่ทําการตรวจ (ข้ อ 21 วรรคสิบสอง ของความตกลงฯ) ทังนี ้ ้ ไม่เป็ นการ ห้ ามรัฐเจ้ าของธงที่จะดําเนินมาตรการใด ๆ รวมทังกระบวนพิ ้ จารณาการลงโทษตามกฎหมายของตน (ข้ อ 21 วรรค สิบสาม ของความตกลงฯ) มาตรการดังกล่าวข้ างต้ นอาจใช้ บงั คับโดยรัฐภาคีแห่งความตกลงนี ้ ซึ่งเป็ นสมาชิกขององค์การจัดการ ประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคหรื อเป็ นผู้เข้ าร่วมในข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาค ซึง่ มีเหตุอันชัดแจ้ งควรเชื่อได้ ว่าเรื อประมงซึ่งชักธงของรัฐภาคีอื่นได้ กระทํากิจกรรมใด ๆ อันเป็ นการขัดต่อมาตรการ อนุรักษ์ และจัดการดังกล่าวข้ างต้ นในบริ เวณของทะเลหลวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การหรื อข้ อตกลงเช่นว่า นัน้ และภายหลังจากที่เรื อประมงเช่นว่านัน้ ทําการประมงแล้ ว ต่อมาในเที่ยวเดียวกันนัน้ ได้ เข้ าไปในบริ เวณซึ่งอยู่ ภายใต้ เขตอํานาจของรัฐผู้ทําการตรวจ (ข้ อ 21 วรรคสิบสี่ ของความตกลงฯ) ทังนี ้ ้ การกระทําของรัฐอื่นใดนอกจากรัฐ เจ้ าของธงเรื อซึ่งได้ ทํากิจกรรมที่ขัดต่อมาตรการอนุรักษ์ และจัดการในระดับอนุภูมิภาคหรื อระดับภูมิภาคจะต้ องได้ สัดส่วนกับความร้ ายแรงในการฝ่ าฝื นมาตรการเช่นว่านัน้ (ข้ อ 21 วรรคสิบหก ของความตกลงฯ) ในกรณีที่มีเหตุอนั สมควรสงสัยว่าเรื อประมงในทะเลหลวงนันเป็ ้ นเรื อที่ไร้ สญ ั ชาติ รัฐอาจขึ ้นไปบนเรื อและ ตรวจเรื อนันได้ ้ และในกรณีที่มีพยานหลักฐาน รัฐอาจดําเนินการอันสมควรตามกฎหมายระหว่างประเทศได้ (ข้ อ 21 วรรคสิบเจ็ด ของความตกลงฯ)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


271

ในกรณีที่การกระทําต่างๆ ของรัฐดังกล่าวข้ างต้ นเป็ นการกระทําที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมายหรื อเกินเลยกว่าที่ ควรกระทําตามข้ อมูลที่มีอยู่ในการดําเนินการให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดข้ างต้ น รั ฐเช่นว่านัน้ จะต้ องรับผิดในความ เสียหายหรื อสูญหายที่เกิดจากการกระทําอันไม่ชอบด้ วยกฎหมายหรื อเกินเลยเช่นว่านัน้ (ข้ อ 21 วรรคสิบแปด ของ ความตกลงฯ) (4) การบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการโดยรัฐเจ้ าของท่าเรื อ ในกรณีของรัฐเจ้ าของท่าเรื อ (Port State) เกี่ยวกับการบังคับให้ เป็ นไปตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการ นัน้ รั ฐเจ้ าของท่าเรื อมี ทัง้ สิทธิ และหน้ าที่ ที่จะต้ องดํ าเนินมาตรการตามกฎหมายระหว่างประเทศในการส่งเสริ ม ประสิทธิภาพของการอนุรักษ์ และการจัดการในระดับอนุภมู ิภาค ภูมิภาค และระดับโลก ทังนี ้ ้ รัฐเจ้ าของท่าเรื อจะต้ อง ไม่เลือกประติบตั ิทงในรู ั ้ ปแบบและข้ อเท็จจริงต่อเรื อของรัฐใด ๆ (ข้ อ 23 วรรคหนึง่ ของความตกลงฯ) ในการนี ้รัฐเจ้ าของท่าเรื ออาจดําเนินมาตรการบางประการ เช่น การตรวจเอกสารเครื่ องมือทําประมง และ ปลาบนเรื อประมงเมื่อเรื อเช่นว่านัน้ อยู่ในท่าเรื อหรื อท่าเทียบเรื อนอกชายฝั่ งของตนโดยสมัครใด (ข้ อ 23 วรรคสอง ของความตกลงฯ) นอกจากนี ้ รัฐเจ้ าของท่าเรื ออาจออกข้ อบังคับที่ให้ อํานาจแก่เจ้ าพนักงานของรัฐที่จะห้ ามการนําปลาขึ ้น ฝั่ งและการขนถ่าย (Transshipments) ในกรณีที่พิสจู น์ทราบว่าปลาที่จบั ได้ นนได้ ั ้ มาโดยวิธีการที่บนั่ ทอนประสิทธิภาพ ของมาตรการอนุรักษ์ และจัดการในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค หรื อระดับโลกที่ใช้ ในทะเลหลวงนัน้ (ข้ อ 23 วรรคสาม ของความตกลงฯ) อย่า งไรก็ดี สิท ธิ แ ละหน้ า ที่ ข องรั ฐเจ้ า ของเรื อ ดัง กล่า วข้ า งต้ น นี ไ้ ม่ก ระทบกระเทื อ นต่อ การใช้ อํ า นาจ อธิปไตยของรัฐดังกล่าวเหนือท่าเรื อในดินแดนของตน ตามกฎหมายระหว่างประเทศ (ข้ อ 23 วรรคสี่ ของความตกลง ฯ) 3.7) การระงับข้ อพิพาท ั ญา เช่นเดียวกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศดังที่ปรากฏในกฎบัตรสหประชาชาติ หรื อในอนุสญ สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ในเรื่ องของการระงับข้ อพิพาท ความตกลงฯฉบับนี ้กําหนดให้ เป็ น พันธกรณีของรัฐที่จะต้ องระงับข้ อพิพาทระหว่างกันโดยสันติวิธีไม่วา่ จะโดยการเจรจา (Negotiation) การสอบสวน (Enquiry) การใช้ คนกลาง (Mediation) การไกล่เกลี่ย (Conciliation) อนุญาโตตุลาการ (Arbitration) การระงับข้ อ พิพาททางศาล (Judicial Settlement) หรื ออาศัยองค์กรหรื อข้ อตกลงในระดับภูมิภาค หรื อโดยสันติวิธีอื่นใดตามแต่ จะเลือก (ข้ อ 27 ของความตกลงฯ) ในกรณีของการระงับข้ อพิพาทตามความตกลงฯ นัน้ รัฐจะต้ องร่วมมือกันเพื่อป้องกันมิให้ เกิดข้ อพิพาทขึ ้น โดยรั ฐต่าง ๆ จะต้ องตกลงกันเกี่ ยวกับขัน้ ตอนในการตัดสินใจที่มีประสิทธิ ภาพและไม่ชักช้ าภายในองค์ การหรื อ ข้ อตกลงจัดการประมงในระดับอนุภมู ิภาคหรื อภูมิภาคและยังจะต้ องเสริ มสร้ างขึ ้นตอนในการตัดสินใจที่มีอยู่แล้ วให้ มัน่ คงตามความจําเป็ นด้ วย(ข้ อ 28 ของความตกลงฯ) และในกรณี ที่ข้อพิพาทเป็ นเรื่ องที่มีลกั ษณะทางเทคนิค รัฐที่ เกี่ยวข้ องอาจเสนอข้ อพิพาทเช่นว่านันไปยั ้ งคณะผู้เชี่ยวชาญเฉพาะกิจ (Ad Hoc Expert Panel) ที่รัฐเหล่านันตั ้ งขึ ้ ้น คณะผู้เชี่ยวชาญเพาะกิจเช่นว่านันจะต้ ้ องพยายามยุติข้อพิพาทโดยไม่ชกั ช้ า โดยไม่จําเป็ นต้ องใช้ กระบวนพิจารณาใน การระงับข้ อพิพาทที่มีผลผูกพัน (ข้ อ 29 ของความตกลงฯ) อย่างไรก็ดี ในกรณี ของการระงับข้ อพิพาทระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงฯ ฉบับนี ้ในส่วนที่เกี่ยวกับการ ตี ค วามและการใช้ บัง คับ ความตกลงฯ ก็ จ ะเป็ นไปตามบทบัญ ญัติ ว่า ด้ ว ยการระงับ ข้ อ พิ พ าทตามภาค 15 แห่ ง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


272

อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 โดยอนุโลม ไม่ว่ารัฐคู่พิพาทนันจะเป็ ้ นภาคีแห่งอนุสญ ั ญา สหประชาชาติฯ หรื อไม่ก็ตาม(ข้ อ 30 วรรคหนึง่ ของความตกลงฯ) นอกจากนี ้ บทบัญ ญัติว่า ด้ ว ยการระงับ ข้ อ พิ พ าทตามภาค 15 แห่ง อนุสัญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ยังนํามาใช้ บงั คับโดยอนุโลมแก่ข้อพิพาทระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงฯนี ้เกี่ยวกับการ ตีความและการใช้ บงั คับข้ อตกลงทางประมงในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และระดับโลกเกี่ยวกับมวลปลาที่ย้ายถิ่นอู่ ระหว่างเขตทางทะเล และมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ ตลอดทังข้ ้ อพิพาทเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการมวลสัตว์ นํ ้าเช่นว่านัน้ ไม่ว่ารัฐภาคีเหล่านัน้ จะเป็ นภาคีแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้ วย หรื อไม่ก็ตาม (ข้ อ 30 วรรคสอง ของความตกลงฯ)ทังนี ้ ้ วิธีการระงับข้ อพิพาทระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงฯนี ้ อาจ เป็ นไปตามข้ อ 287 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติดงั กล่าวก็ได้ (ข้ อ 30 วรรคสาม ของความตกลงฯ) กล่าวคือ - ศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศ (International Tribunal for the Law of the Sea) ซึง่ จัดตัง้ ขึ ้นตามภาคผนวกที่ ๖แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 - ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ั ญา - ศาลอนุญาโตตุลาการ (Arbitral Tribunal) ซึ่งจัดตังขึ ้ น้ ตามภาคผนวกที่ 7 แห่งอนุสญ สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 - คณะอนุญาโตตุลาการพิเศษ (Special Arbitral Tribunal) ซึง่ จัดตังขึ ้ ้นตามภาคผนวกที่ 8 แห่ง อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 สําหรับประเภทของข้ อพิพาทใดข้ อพิพาทหนึ่งหรื อหลายข้ อ พิพาทที่ระบุในภาคผนวกนัน้ อย่างไรก็ดี หากรัฐภาคีแห่งความตกลงนี ้ ในขณะที่ลงนามหรื อให้ สตั ยาบันหรื อภาคยานุวตั ิ ความตกลงฯ นี ้หรื อในเวลาใดหลังจากนัน้ ยอมรับที่จะใช้ กระบวนพิจารณาในการระงับข้ อพิพาทที่แตกต่างไปจากวิธีการระงับข้ อ พิพาทที่เคยตกลงกันไว้ ตามข้ อใดข้ อหนึ่งแห่งข้ อ 287 ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ก็สามารถทําได้ โดยอาจเลือกกระบวนพิจารณาอื่นที่ระบุไว้ ในข้ อ 287 ดังกล่าวแทนสําหรับการระงับข้ อพิพาทตาม ความตกลงฯ นี ้ ส่วนรัฐซึ่งเป็ นภาคีแห่งความตกลงนี ้แต่มิได้ เป็ นภาคีแห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ในขณะที่ลงนาม หรื อให้ สตั ยาบัน หรื อภาคยานุวตั ิ ความตกลงฯนี ห้ รื อในเวลาใดๆ หลังจากนัน้ ย่อมมี อิสระที่จะเลือกวิธีการระงับข้ อพิพาทตามข้ อ 287 วรรค 1 แห่งอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ดังกล่าวข้ างต้ น โดยทําคําแถลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเพื่อการระงับข้ อพิพาทตามความตกลงฯนี ้ แต่อย่างไรก็ดี ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ดังกล่าวให้ นํามาใช้ บงั คับแก่คําแถลงเช่นว่า ข้ อ 287 แห่งอนุสญ นันและให้ ้ ใช้ บงั คับแก่ข้อพิพาทใดๆ ซึ่งรัฐเช่นว่านันเป็ ้ นคู่กรณีและซึ่งไม่อยู่ในข่ายของคําแถลงเช่นว่านันด้ ้ วย (ข้ อ 30 วรรคสี่ ของความตกลงฯ) 4.1.2.3 หลักการสําคัญของกฎหมาย และแนวทางปฏิบตั ิระหว่างประเทศที่จะมีผลกระทบต่อการใช้ ทะเล อย่างยัง่ ยืน 1) จรรยาบรรณในการทําการประมงอย่างรับผิ ดชอบ (Code of Conduct for Responsible Fisheries) รวมทัง้ แผนปฏิ บตั ิ การสากลจํ านวน 4 ฉบับ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


273

1.1) จรรยาบรรณในการทําการประมงอย่างรับผิดชอบ371 จรรยาบรรณฉบับ นี ม้ ี ผ ลบัง คับ ใช้ โ ดยความสมัค รใจซึ่ง มี ข อบเขตครอบคลุมทั่ว โลกและมุ่ง หมายต่อ ประเทศทังที ้ ่เป็ นสมาชิกและไม่ใช่สมาชิกขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องคภาวะทางการประมง องค์ กรระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และระดับโลก ไม่ว่าเป็ นองค์กรของรัฐหรื อองค์กรเอกชน รวมทัง้ บุคคลทัง้ ปวงที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ การอนุรักษ์ ท รั พยากรประมง การจัดการ และการพัฒนาการประมง โดยจรรยาบรรณฯ ได้ กําหนด หลัก การและมาตรฐานที่ สามารถนํ า ไปใช้ ไ ด้ กับ การอนุรัก ษ์ การจัด การและการพัฒ นาการประมงทัง้ มวล และ ครอบคลุมถึงการจับ กระบวนการแปรรู ป และการค้ า สัตว์ นํ า้ และผลิตภัณ ฑ์ สัตว์ นํ า้ การปฏิ บัติการประมง การ เพาะเลี ้ยงสัตว์นํ ้า การวิจยั ทางการประมง และการผสมผสานการประมงกับการจัดการพื ้นที่ชายฝั่ งด้ วย ทังนี ้ ้ มาตรา 2 ของจรรยาบรรณฯ ได้ กําหนดวัตถุประสงค์ไว้ 10 ประการ ดังต่อไปนี ้ (1) กําหนดหลักการที่สอดคล้ องกับกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ องกับกฎหมายระหว่างประเทศสําหรั บการทํา ประมงและกิจการการประมงอย่างรั บผิดชอบ โดยคํานึงถึงเนื อ้ หาทัง้ ในแง่ชีววิทยา เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้ อม และการพาณิชย์ที่เกี่ยวข้ องทังปวง ้ (2) กําหนดหลักการและเงื่อนไขสําหรับการวางนโยบายของชาติและการนําไปปฏิบตั ิ เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรประมง การจัดการและการพัฒนาการประมงอย่างรับผิดชอบ (3) ใช้ เป็ นแหล่งอ้ างอิงเพื่อช่วยรัฐต่างๆ ในการกําหนดหรื อปรับปรุ งกรอบโครงสร้ างทางกฎหมายและ ทางองค์กรที่จําเป็ นต่อการปฏิบตั ิการประมงอย่างรับผิดชอบ ตลอดจนในการกําหนดมาตรการที่เหมาะสม (4) ให้ แ นวทางเพื่ อ ใช้ ต ามความเหมาะสมในการกํ า หนดและการปฏิ บัติ ต ามความตกลงระหว่า ง ประเทศ และตราสารทางกฎหมายอื่น ทังที ้ ่มีพนั ธะผูกพันและโดยความสมัครใจ (5) อํานวยความสะดวกและสนับ สนุนด้ านวิชาการ การเงิน และความร่ วมมืออื่นๆ ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรประมง การจัดการ และการพัฒนาการประมง (6) ส่งเสริ มการเพิ่มส่วนบํารุ งจากการประมงเพื่อความมัน่ คงด้ านอาหารและคุณภาพอาหาร โดยให้ ความสําคัญแก่ความต้ องการทางโภชนาการของชุมชนท้ องถิ่นเป็ นอันดับแรก (7) ส่งเสริ มการปกป้องคุ้มครองทรั พยากรที่มีชีวิตในนํ า้ และสภาพแวดล้ อมของทรั พยากรดังกล่าว ตลอดจนพื ้นที่ชายฝั่ ง (8) สนับสนุนและส่งเสริ มการค้ าสัตว์นํา้ และผลิตภัณฑ์สตั ว์นํา้ โดยสอดคล้ องกับกฎเกณฑ์ระหว่าง ประเทศที่เกี่ยวข้ องและหลีกเลี่ยงการใช้ มาตรการที่ก่อให้ เกิดการกีดกันทางการค้ าดังกล่าว ้ จจัยด้ านสิ่งแวดล้ อมที่เกี่ยวข้ อง (9) ส่งเสริมงานวิจยั ทางการประมงและระบบนิเวศที่เกี่ยวข้ อง รวมทังปั และ (10) กําหนดมาตรฐานพฤติกรรมของทุกคนที่เกี่ยวข้ องในภาคประมง372 1.2) แผนปฏิบตั ิการสากล จํานวน 4 ฉบับ

371

FAO. n.d. Code of Conduct for Responsible Fisheries. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/docrep/005/v9878e / v9878e00.htm, Septemper 12, 2007. 372 พวงทอง อ่อนอุระ และสิตางศุ์ ฮัน่ โสภา. 2542. จรรยาบรรณในการทําการประมงอย่ างรั บผิดชอบ.แปลจาก สํานักงาน ประจําภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ. หน้ า 1-7.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


274

(1) International Plan of Action on Prevent, Deter and Eliminate lllegal, Unreported and Unregulated Fishing (IPOA-IUU)373 IPOA-IUU เป็ นแผนปฏิบตั ิการที่มีผลบังคับใช้ โดยความสมัครใจ ซึง่ เป็ นการออกตามมาตรา 2 (4) ของ จรรยาบรรณในการทําการประมงอย่างรับผิดชอบ และมีวตั ถุประสงค์เพื่อป้องกัน ยับยัง้ และกําจัดการทําการประมงที่ ผิดกฎหมาย (Legal Fishing) การทําการประมงที่ไม่ปรากฏรายงาน (Unreported Fishing) และการทําการประมงที่ ไร้ กฎเกณฑ์ (Unregulated Fishing) ซึ่งเรี ยกโดยรวมว่า “IUU Fishing” โดยในแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้จะกําหนด มาตรการในด้ านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นมาตรการในการกําหนดความรับผิดของรัฐ มาตรการในการกําหนดความรับผิด ของรัฐเจ้ าของธงเรื อ มาตรการของรัฐชายฝั่ ง มาตรการของรัฐอื่นในการควบคุมเรื อที่ไม่ได้ ชกั ธงของรัฐตน มาตรการ เกี่ยวกับการทําความตกลงทางการค้ าระหว่างประเทศ ข้ อกําหนดเกี่ยวกับการศึกษาวิจยั และการจัดการการประมงใน พื ้นที่ และข้ อกําหนดพิเศษสําหรับประเทศกําลังพัฒนาทังหลาย ้ รวมทังข้ ้ อกําหนดในการรายงานและบทบาทของ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องนี ้ด้ วย ทังนี ้ ้ ในแผนปฏิบตั ิการฯ ได้ กําหนดขอบเขตและลักษณะของการทําการประมงที่ผิดกฎหมาย การทํา การประมงที่ไม่ปรากฏรายงาน และการทําการประมงที่ไร้ กฎเกณฑ์ไว้ ด้วย ซึง่ อาจสรุปได้ วา่ การทําการประมงที่ผิดกฎหมาย หมายถึง การทําการประมงภายในน่านนํ ้าภายในของเรื อที่ปราศจาก ใบอนุญาตอย่างถูกต้ องตามกฎหมายหรื อทําการประมงในลักษณะที่ขดั ต่อกฎหมาย การทําการประมงของเรื อที่ชกั ธง ของประเทศภาคีที่ขัดแย้ งกับมาตรการในการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรตามข้ อตกลงระหว่างประเทศ และการ กระทําใดที่ฝ่าฝื นกฎหมายภายในหรื อกฎหมายระหว่างประเทศ รวมทังพั ้ นธกรณีที่มีต่อองค์การจัดการการทําประมง ของรัฐ การทําการประมงที่ไม่ปรากฏรายงาน หมายถึง การทําการประมงที่ไม่มีการจัดทํารายงานหรื อมีการ จัดทํารายงานที่ไม่ตรงกับความเป็ นจริ งเสนอต่อองค์กรเจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้ องซึง่ เป็ นการขัดหรื อแย้ งกับกฎหมาย หรื อข้ อกําหนดภายในประเทศ หรื อต่อองค์การจัดการการทําประมงของรัฐ การทําการประมงที่ไร้ กฎเกณฑ์ หมายถึง การทําการประมงที่ขดั หรื อแย้ งกับมาตรการในการจัดการการ ทําประมงขององค์การจัดการการทําประมงของรัฐ หรื อขัดแย้ งกับพันธกรณีของรัฐในการอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเล ตามอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศต่างๆ สถานะของประเทศไทย : เนื่องจากประเทศไทยเป็ นสมาชิกขององค์ การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ จึงได้ มีการรับแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้มาใช้ โดยปริยาย (2) International Plan of Action on Management of Fishing Capacity (IPOA-CAPACITY)374 IPOA-CAPACITY เป็ นแผนปฏิบตั ิการที่มีผลบังคับใช้ โดยความสมัครใจกับประเทศที่มีสว่ นร่วมในการ ทํ า การประมง ซึ่ง เป็ นการออกตามมาตรา 2 (4) ของจรรยาบรรณในการทํ า การประมงอย่า งรั บ ผิ ด ชอบ โดยมี วัตถุประสงค์ให้ ปริ มาณผลผลิตที่ได้ จากการประมงเป็ นการได้ มาอย่างมีประสิทธิผล ยุติธรรม และโปร่งใส และยับยัง้

373

FAO. 2001. International plan of action to prevent, deter and eliminate illegal, unreported and unregulated fishing. FAO Corporate Document Repositiry. Available Source: http://www.fao.org/DOCREP/003/y1224e/y1224e00.htm, Septemper 12, 2007. 374 FAO. n.d. International Plan of Action on Management of Fishing Capacity. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/ docrep/006/x3170e/x3170e04.htm, Septemper 12, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


275

การทําการประมงที่ได้ มาซึ่งปริ มาณผลผลิตที่มากเกินไปจนทําลายวัตถุประสงค์ในการดํารงไว้ ซึ่งปริ มาณผลผลิต ทางการประมงอย่างยัง่ ยืน ทัง้ นี ้ ข้ อ 8 ของแผนฯ ได้ กํ า หนดยุท ธศาสตร์ ใ นการบรรลุวัต ถุป ระสงค์ ต ามแผนฯ ไว้ 4 ประการ ดังต่อไปนี ้ (2.1) พฤติกรรมขององค์กรระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลกในการประเมินและพัฒนา ความสามารถในการควบคุมและจํากัดความสามารถในการทําการประมง (2.2) การจัดเตรี ยมและการทําให้ สมบูรณ์ซงึ่ แผนงานของประเทศเพื่อจะกําหนดมาตรการเร่ งด่วน ของรัฐชายฝั่ งและเพื่อให้ การบริหารการจัดการประมงเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (2.3) สร้ างความเข้ มแข็งแก่องค์กรทางการประมงระดับภูมิภาคและแก่กลไกที่เกี่ยวข้ องเพื่อเป็ น ้ บภูมิภาคและระดับโลก การพัฒนาการบริหารจัดการความสามารถในการทําการประมงทังในระดั (2.4) กระทําการโดยทันทีซึ่งการกําหนดมาตรการเร่ งด่วนในการทําการประมงข้ ามแดน การทํา การประมงระหว่างสองประเทศ การทําการประมงแบบอพยพย้ ายถิ่น และการทําการประมงในทะเลหลวง นอกจากนี ้ ในแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้ยังได้ กําหนดมาตรการเร่ งด่วนในการประเมินและกํากับปริ มาณ ผลผลิตที่ได้ จากการประมง กลไกในการส่งเสริ มความร่ วมมือทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในการจัดการประมง รวมทังการจั ้ ดทํารายงานและบทบาทขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องนี ้ด้ วย สถานะของประเทศไทย : เนื่องจากประเทศไทยเป็ นสมาชิกขององค์ การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ จึงได้ มีการรับแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้มาใช้ โดยปริยาย (3) International Plan of Action on Conservation of Seabird in Long-line Fishing (IPOASEABIRDS)375 IPOA-SEABIRDS เป็ นแผนปฏิบตั ิการที่มีผลบังคับใช้ โดยความสมัครใจ ซึง่ เป็ นการออกตามมาตรา 2 (4) ของจรรยาบรรณในการทําการประมงอย่างรับผิดชอบ และมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดปริ มาณการจับ Seabird สืบเนื่อง จากเมื่อมีการจับ Seabird ในการทําการประมงแบบ Long-Line มากขึ ้นได้ ส่งผลกระทบอย่างมากต่อปริ มาณและ ประโยชน์ที่เคยได้ จากการทําประมง ทังนี ้ ้ แผนปฏิบตั ิการฉบับนีไ้ ด้ กําหนดให้ รัฐที่สมัครใจบังคับใช้ แผนปฏิบตั ิการ ฉบับนี ้ กําหนดแนวทางในการจับ Seabird ในการทําการประมงแบบ Long-Line ที่เหมาะสม และประเมินว่าการจับ Seabird ในเขตอํ านาจของตนมีผลกระทบที่ก่อให้ เกิดปั ญหาแล้ วหรื อไม่ ถ้ ามี ปัญหาก็ใ ห้ ยอมรั บแผนปฏิ บัติการ ภายในประเทศในการลดปริ มาณการจับ Seabird (A National Plan of Action for Reducing the Incidental Catch of Seabirds in Long Line Fisheries หรื อ NPOA-SEABIRDS) ซึง่ กําหนดอยูใ่ นแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้มาบังคับใช้ สถานะของประเทศไทย : เนื่องจากประเทศไทยเป็ นสมาชิกขององค์ การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ จึงได้ มีการรับแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้มาใช้ โดยปริ ยาย แต่ทงนี ั ้ ้ ประเทศไทยยังมิได้ มีการออก National Plan ตามแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้แต่อย่างใด (4) International Plan of Action on Conservation of Shark (IPOA-SHARKS)

375

FAO. n.d. International Plan of Action for Reducing Incidental Catch of Seabird in Longline Fisheries. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/fi/website/FIretrieveAction.do?dom=org2xml=ipoa_sharks.xml&xp_nav=5, Septemper 12, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


276

IPOA –SHARKS เป็ นแผนปฏิบตั ิการที่มีผลบังคับใช้ โดยความสมัครใจ ซึ่งเป็ นการออกตามมาตรา 2 (4) ของจรรยาบรรณในการทําการประมงอย่างรับผิดชอบ ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ให้ เป็ นหลักประกันในการอนุรักษ์ และการ จัดการเกี่ยวกับการจับปลาฉลามที่เหมาะสมเพื่อให้ สามารถใช้ ประโยชน์ต่อไปได้ อย่างยัง่ ยืน โดยในแผนปฏิบตั ิการได้ กําหนดให้ ประเทศที่มีการทําการประมงปลาฉลาม ไม่ว่าด้ วยเรื อของรัฐตนเองหรื อเรื อต่างชาติก็ตาม จะต้ องยอมรับ แผนการอนุรักษ์ และการจัดการปริ มาณปลาฉลาม (A National Plan of Action for Conservation and Management of Shark Stocks (Shark-Plan)) ซึง่ กําหนดไว้ ในแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้มาใช้ บงั คับ สถานะของประเทศไทย : เนื่องจากประเทศไทยเป็ นสมาชิกขององค์การอาหารและเกษตรแห่ง ั ้ ้ ประเทศไทยยังมิได้ มีการออก National สหประชาชาติ จึงได้ มีการรับแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้มาใช้ โดยปริ ยาย แต่ทงนี Plan ตามแผนปฏิบตั ิการฉบับนี ้แต่อย่างใด 2) อนุสญ ั ญาว่าด้วยการอนุรักษ์ ชนิ ดพันธุ์ทีอ่ พยพย้ายถิ่ น (Convention on the Conservation of Migratory Species of Wild Animals, 1979 หรื อ CMS) CMS เป็ นอนุสญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ทงชนิ ั ้ ดพันธุ์บนบก (Terrestrial Species) ชนิด พันธุ์ในทะเล (Marine Species) และชนิดพันธุ์ของนกที่มีการอพยพย้ ายถิ่น (Avian Migratory Species) ซึง่ การ อนุรักษ์ ดงั กล่าวจะรวมทังการอนุ ้ รักษ์ แหล่งที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์ที่ครอบคลุมไปทัว่ โลก (Wildlife Habitats on a Global Scale) โดยภาคีของอนุสญ ั ญาจะร่วมกันดําเนินการในการอนุรักษ์ ชนิดพันธุ์ที่มีการอพยพย้ ายถิ่นและแหล่งที่ อยูอ่ าศัยของชนิดพันธุ์ดงั กล่าว โดยการดําเนินการคุ้มครองอย่างเคร่งครัด (Strict Protection) ต่อชนิดพันธุ์อพยพย้ าย ถิ่นที่ใกล้ จะสูญพันธุ์ (Endangered Migratory Species) ที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชี 1 (Appendix I) โดยการจัดการและ การอนุรักษ์ ชนิดพันธุ์อพยพย้ ายถิ่นที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชี 2 (Appendix II) โดยมีข้อตกลง (agreement) เฉพาะเรื่ อง และโดยการดําเนินการให้ ความร่วมมือในเรื่ องการศึกษาวิจยั (Research Activities) ทังนี ้ ้ อนุสญ ั ญาฯ ได้ กําหนดชนิดพันธุ์อพยพย้ ายถิ่นที่ใกล้ จะสูญพันธุ์ จํานวน 55 ชนิดพันธุ์ไว้ ในบัญชี 1 อันได้ แก่ นกกระสาไซบีเรี ย (Siberean Srane) นกอินทรี หางยาว (White-Tailed Eagle) เต่ากระ (Hawksbill Turtle) สิงโตทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน (Mediterranean Monk Seal) เป็ นต้ น สําหรับชนิดพันธุ์ที่พบในประเทศไทยและอยู่ใน บัญชี 1 ได้ แก่ เต่ากระ (Eretmochelys imbricate) ปลาหมึก (Pangasianodon gigas) ส่วนในบัญชี 2 ได้ กําหนด รายชื่อชนิดพันธุ์อพยพย้ ายถิ่นที่ต้องการความร่วมมือจากนานาชาติ โดยมีข้อตกลงเฉพาะเรื่ องภายใต้ อนุสญ ั ญานี ้ ซึง่ ข้ อตกลงดังกล่าวอาจจะเป็ นไปในลักษณะของข้ อตกลงที่เป็ นทางการ เช่น ข้ อตกลงที่เป็ นข้ อผูกพันที่เคร่ งครัดตาม กฎหมาย (Legally-Binding Treaties) จนถึงข้ อตกลงที่ไม่มีลกั ษณะเป็ นทางการ (Less Formal Memorandum of Under-Standing) สําหรับข้ อตกลงที่เป็ นทางการนันจะต้ ้ องดําเนินการในเรื่ องการให้ ร่วมมือในแผนการจัดการและ อนุรักษ์ ชนิดพันธุ์ การอนุรักษ์ และฟื น้ ฟูแหล่งที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์ การควบคุมมิให้ มีการรบกวนต่อการอพยพย้ าย ้ ความรู้แก่ประชาชนทัว่ ไปและการแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่าง ถิ่น การร่วมมือในการทําวิจยั และตรวจสอบ รวมทังการให้ ภาคี376 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยยังไม่ได้ เป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาดังกล่าว

376

ชุมเจตน์ กาญจนเกษร. 2539. อนุสัญญาและกฎหมายระหว่ างประเทศที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ. ฝ่ าย ทรัพยากรชีวภาพ กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้ อม, กรุมเทพฯ. หน้ า 72-74.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


277

3) ความตกลงเพือ่ ส่งเสริ มการควบคุมเรื อประมงทีท่ ําการประมงในทะเลให้ปฏิ บตั ิ ตามมาตรการสากลเพือ่ การอนุรกั ษ์ และจัดการประมง พ.ศ. 2536 (Agreement to Promote Compliance with International Cooperation and Management Measures by Fishing Vessels on the High Seas หรื อ FAO Compliance)377 ความตกลงฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อควบคุมเรื อประมงที่ทําการประมงในทะเลให้ ปฏิบตั ิตามมาตรการ สากลเพื่อการอนุรักษ์ และการจัดการประมง โดยการสร้ างกลไกให้ รัฐต่างๆ เข้ ามามีหน้ าที่ตรวจสอบและควบคุม เรื อประมง บทบัญ ญัติที่ สํ า คัญ ของความตกลงฯ ได้ แ ก่ มาตรา 3 ว่า ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบของรั ฐ เจ้ า ของธงเรื อ มาตรา 4 ว่าด้ วยทะเบียนเรื อประมง มาตรา 5 ว่าด้ วยความร่วมมือระหว่างประเทศ มาตรา 6 ว่าด้ วยการแลกเปลี่ยน ข้ อมูล มาตรา 7 ว่าด้ วยการให้ ความร่วมมือกับประเทศกําลังพัฒนา ซึง่ แต่ละมาตราดังกล่าวมีสาระสําคัญดังนี ้ ั ้ องได้ รับอนุญาตหรื อชักธงเรื อของ มาตรา 3 กําหนดหลักการสําคัญไว้ ว่า เรื อที่จะทําการประมงได้ นนจะต้ รัฐใดรัฐหนึ่งก่อน ซึ่งรัฐนัน้ จะต้ องตรวจสอบและทําให้ แน่ใจว่า เรื อที่ชักธงของตนนัน้ จะต้ องไม่กระทําการเป็ นการ ทําลายต่อประสิทธิภาพของอนุสญ ั ญาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรธรรมชาติและต้ องทําการประมงโดย ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขในการอนุญาต ทังรั ้ ฐนันจะต้ ้ องมีจุดเกาะเกี่ยวที่ทําให้ สามารถควบคุมและใช้ อํานาจเหนือเรื อนัน้ เพื่อให้ ปฏิบตั ิตามความตกลงนี ไ้ ด้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ อย่างไรก็ตาม รัฐอาจกําหนดยกเว้ นไม่ใช้ บังคับกับเรื อที่มี ความยาวน้ อยกว่า 24 เมตรภายใต้ เงื่อนไขที่กําหนดไว้ ในความตกลงนี ้ก็ได้ มาตรา 4 กําหนดให้ รัฐภาคีเก็บรักษาทะเบียนของเรื อประมงที่ชกั ธงของตนหรื อที่ตนอนุญาตให้ ทําการ ประมงในทะเลหลวง และต้ องดําเนินมาตรการที่ทําให้ มนั่ ใจได้ วา่ เรื อประมงทังหมดได้ ้ ขึ ้นทะเบียนไว้ แล้ ว มาตรา 5 กําหนดหลักการให้ รัฐภาคีต้องให้ ความร่ วมมืออย่างเหมาะสมในการปฏิบตั ิตามความตกลง ฉบับนี ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแลกเปลี่ยนข้ อมูลซึ่งรวมถึงพยานหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับเรื อประมง และในกรณี ที่ เรื อประมงเข้ าไปในท่าเรื อของรัฐภาคีอื่นซึง่ ไม่ใช่เจ้ าของธงเรื อโดยสมัครใจ และมีเหตุสมควรที่เชื่อได้ ว่า เรื อประมงนัน้ ได้ กระทําการที่เป็ นการทําลายประสิทธิภาพของมาตรการในการจัดการและความตกลงระหว่างประเทศ ให้ รัฐภาคีนนั ้ แจ้ งรัฐเจ้ าของธงทราบทันทีและรัฐภาคีนนอาจดํ ั้ าเนินมาตรการควบคุมต่างๆ เท่าที่จําเป็ นได้ มาตรา 6 กําหนดหลักการให้ รัฐภาคีต้องจัดให้ มีข้อมูลต่างๆ ที่ครบถ้ วนเกี่ยวกับเรื อ เช่น ชื่อเรื อ สัญญาณ เรี ยกขาน ชื่อเจ้ าของเรื อ ชนิดของเรื อ วันเวลาและสถานที่ต่อเรื อ ขนาดของเรื อ ตลอดจนข้ อมูลอื่น เพื่อแจ้ งและจัดส่ง ให้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ บโลก ระดับภูมิภาค ระดับอนุภมู ิภาค หรื อระดับ มาตรา 7 กําหนดให้ รัฐภาคีต้องให้ ความร่วมมือทังในระดั ้ ทวิภาคีอย่างเหมาะสมในการให้ การสนับสนุนการดําเนินการขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และ องค์กรระหว่างประเทศอื่น และให้ ความช่วยเหลือซึ่งรวมถึงการให้ ความช่วยเหลือทางเทคโนโลยีแก่รัฐภาคีซึ่งเป็ น ้ บตั ิตามพันธกรณีตามความ ประเทศกําลังพัฒนา เพื่อช่วยให้ รัฐภาคีซึ่งเป็ นประเทศกําลังพัฒนาเหล่านันสามารถปฏิ ตกลงฉบับนี ้ได้ สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยยังไม่ได้ เป็ นภาคีของความตกลงดังกล่าว

377

FAO. n.d. Agreement to Promote Compliance with International Cooperation and Management Measures by Fishing Vessels on the High Seas. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/DOCREP/MEETING/003/X3130m/ X3130E00.htm, Septemper 12, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


278

4) อนุสญ ั ญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิ ดพันธุ์สตั ว์ป่าและพืชป่ าทีใ่ กล้สูญพันธุ์ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora – CITES) CITES เป็ นอนุสญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่ าในโลก เพื่อประโยชน์ แห่งมวลมนุษย์ชาติโดยเน้ นทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่ าที่ใกล้ จะสูญพันธุ์ หรื อถูกคุกคามทําให้ ปริ มาณร่ อยหรอจน อาจเป็ นเหตุใ ห้ สูญ พัน ธุ์ วิ ธี ก ารอนุรัก ษ์ ก ระทํ า โดยสร้ างเครื อ ข่ า ยทั่ว โลกในการควบคุม การค้ า ระหว่ า งประเทศ ั ญานี ้ไม่ควบคุมการค้ าภายในประเทศสําหรับชนิด (International Trade) ทังสั ้ ตว์ป่า พืชป่ าและผลิตภัณฑ์ แต่อนุสญ พันธุ์ท้องถิ่น (Native Species) ทังนี ้ ้ ภายใต้ อนุสญ ั ญาฉบับนี ้ การค้ าระหว่างประเทศซึ่งสัตว์ป่า พืชป่ า และผลิตภัณฑ์ จะถูกควบคุมโดย ั ญานี ้ควบคุมจะต้ องมีใบอนุญาตในการนําเข้ า ส่งออก ระบบใบอนุญาต ซึง่ หมายความว่า สัตว์ป่าและพืชป่ าที่อนุสญ นําผ่าน หรื อส่งกลับออกไป โดยชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่ าที่อนุสญ ั ญาควบคุมจะระบุไว้ ในบัญชี 1 บัญชี 2 และ บัญชี 3 (Appendix I, II, III) ของอนุสญ ั ญาฯ ชนิดพันธุ์ในบัญชี 1 เป็ นชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่ าที่ห้ามค้ าโดยเด็ดขาดเนื่องจากใกล้ จะสูญพันธุ์ ยกเว้ นเพื่อการศึกษา วิจยั หรื อเพาะพันธุ์ ซึง่ ก็ต้องได้ รับความยินยอมจากประเทศที่จะนําเข้ าเสียก่อน ประเทศส่งออก ั ้ ด้ วย ตัวอย่างชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่า จึงจะออกใบอนุญาตส่งออกได้ ทังนี ้ ้ ต้ องคํานึงถึงความอยู่รอดของชนิดพันธุ์นนๆ และพืชป่ าในบัญชี 1 ของประเทศไทย เช่น กระทิง จระเข้ นํา้ จืด จระเข้ นํา้ เค็ม ช้ างเอเซีย เสือโคร่ ง แรด หมีควาย สมเสร็ จ เต่าหลายชนิด นกหลายชนิด กล้ วยไม้ หายากบางชนิด ฯลฯ ตัวอย่างทัว่ ไปเช่น อุรังอุตงั กอริ ลล่า หมีแพนด้ า ยักษ์ วาฬยักษ์ เสือชีต้าร์ เสือดาว เสือโคร่ง เต่าทะเล นกกะเรี ยน ฯลฯ ชนิดพันธุ์ในบัญชี 2 เป็ นชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่ าที่ยงั ไม่ถึงกับใกล้ จะสูญพันธุ์ ซึ่งอนุญาตให้ ค้าได้ แต่ต้องมีการควบคุมไม่ให้ เกิดความเสียหายหรื อลดปริ มาณลงอย่างรวดเร็วจนถึงจุดใกล้ จะสูญพันธุ์ โดยประเทศที่จะ ส่งออกต้ องออกหนังสืออนุญาตให้ ส่งออกและรับรองว่าการส่งออกแต่ละครัง้ จะไม่กระทบกระเทือนต่อการดํารงอยู่ ของชนิดพันธุ์นนๆ ั ้ ในธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น ค้ างคาวแม่ไก่ทกุ ชนิด ลิง ค่าง นกหลายชนิด ชะมด นาก โลมา งูหลาย ชนิด พืชประเภทหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง ฯลฯ ชนิดพันธุ์ในบัญชี 3 เป็ นชนิดพันธุ์ที่ได้ รับการคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งแล้ วขอ ความร่ วมมือจากประเทศภาคีสมาชิกให้ ช่วยดูแลการนําเข้ า โดยจะต้ องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่น กําเนิด เช่น ควาย(เนปาล) นกขุนทอง(ไทย) นกกระทาดง(มาเลเซีย) ฯลฯ นอกจากนี ้ ภาคีของอนุสญ ั ญาฯ มีสทิ ธิและหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ 4.1) ต้ องมีมาตรการในการบังคับใช้ อนุสญ ั ญา มิให้ มีการค้ าสัตว์ป่าและพืชป่ าอย่างผิดระเบียบอนุสญ ั ญา โดยมีมาตรการลงโทษผู้ค้า ผู้ครอบครอง ริ บของกลาง และส่งของกลางกลับแหล่งกําเนิด กรณีทราบถิ่นกําเนิด 4.2) ต้ องตังด่ ้ านตรวจสัตว์ป่าและพืชป่ าระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมและตรวจสอบการค้ าสัตว์ป่า พืชป่ า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสญ ั ญาฯ 4.3) ต้ องส่งรายงานประจําปี เกี่ยวกับสถิติการค้ าสัตว์ป่าและพืชป่ าของประเทศตนแก่สํานักเลขาธิการไซ เตส ้ างานฝ่ ายปฏิบตั ิการ (Management Authority) และคณะทํางานฝ่ ายวิทยาการ 4.4) ต้ องจัดตังคณะทํ (Scientific Authority) ประจําประเทศ เพื่อควบคุมการค้ าสัตว์ป่าและพืชป่ า

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


279

4.5) มีสทิ ธิเสนอขอเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ในบัญชี 1 บัญชี 2 และบัญชี 3 ได้ 378 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยลงนามเมื่อปี พ.ศ. 2518 ซึง่ เป็ นปี เดียวกับที่อนุสญ ั ญาฯ มีผลบังคับ ใช้ แต่ให้ สตั ยาบันเข้ าเป็ นภาคี เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526379 5) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิ ดชอบทางแพ่งสําหรับความเสี ยหายอันเกิ ดจากมลพิษทาง นํ้ามัน ค.ศ. 1969 (International Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage, 1969 – CLC) CLC เป็ นอนุสญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะให้ บคุ คลที่ได้ รับความเสียหายจากมลพิษนํ ้ามันซึง่ เกิดจาก อุบตั ิเหตุทางทะเลที่เกี่ยวข้ องกับเรื อบรรทุกนํ ้ามันได้ รับการชดใช้ ความเสียหาย โดยหลักการสําคัญของอนุสญ ั ญาฯ ได้ แก่ การกําหนดให้ เจ้ าของเรื อต้ องจัดให้ มีประกันภัยหรื อหลักทรัพย์อื่นใดที่มีมลู ค่าครอบคลุมวงเงินความรับผิดของ เจ้ าของเรื อเมื่ อเกิดอุบัติเหตุ และกํ าหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินการระหว่างประเทศที่เป็ นมาตรฐานอย่าง เดียวกันในการกําหนดความรับผิดชอบและจัดหาค่าทดแทนที่เพียงพอในกรณีใดๆ ที่เกิดอุบตั ิเหตุขึ ้น ทังนี ้ ้ ความรับผิด ตามอนุสญ ั ญาฯ เป็ นความรับผิดโดยเคร่งครัด (Strict Liability) โดยมีข้อยกเว้ นบางประการ ซึง่ เป็ นหน้ าที่ของเจ้ าของ เรื อ ที่ จ ะพิ สูจ น์ ว่ า ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ น้ เป็ นกรณี ต ามข้ อ ยกเว้ น และตามอนุสัญ ญาฯ ค.ศ. 1969 ฉบับ นี ย้ ัง ได้ กําหนดให้ เจ้ าของเรื ออาจจํากัดความรับผิดไว้ เพียง 133 SDR ต่อแต่ละตันกรอสของเรื อ โดยมีความรับผิดสูงสุด 14 ล้ าน SDR ในแต่ละเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น อย่ า งไรก็ ดี ปั จ จุ บัน อนุสัญ ญาฯ ค.ศ. 1969 ได้ มี ก ารแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ล่ า สุด โดยพิ ธี ส าร ค.ศ. 1992 (International Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage, 1992) ตามพิธีสาร ค.ศ. 1992 ได้ กําหนดจํากัดความรับผิดของเจ้ าของเรื อไว้ ดงั นี ้ - เรื อที่บรรทุกไม่เกิน 5,000 ตันกรอส สามารถจํากัดความรับผิดเพียง 3 ล้ าน SDR - เรื อตัง้ แต่ 5,000 ถึง 140,000 ตันกรอส สามารถจํากัดความรับผิดตังแต่ ้ 3 ล้ าน SDR และ เพิ่มขึ ้นอีก 420 SDR ต่อตันกรอสที่เพิ่มขึ ้น - เรื อที่บรรทุกเกิน 140,000 ตันกรอส สามารถจํากัดความรับผิดเพียง 59.7 ล้ าน SDR นอกจากนี ้ พิ ธี ส าร ค.ศ. 1992 ยัง มี ห ลัก การครอบคลุม ถึ ง ความเสี ย หายจากมลพิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ น้ ในเขต เศรษฐกิจจําเพาะ (EEZ) หรื ออาณาบริ เวณที่เท่ากันกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐภาคี และครอบคลุมถึงความ เสียหายจากมลพิษแก่สิ่งแวดล้ อม แต่ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่สิ่งแวดล้ อมจะจํากัดเพียงค่าใช้ จ่ายที่ใช้ ไปสําหรับการใช้ มาตรการอันสมควรเพื่อที่จะทําให้ สิ่งแวดล้ อมกลับคืนสูส่ ภาพเดิม และยังกําหนดให้ มีความรับผิดใน ค่าใช้ จ่า ยที่เกิดขึน้ จากมาตรการป้ องกัน แม้ ว่าในที่ สุดจะไม่มีกรณี นํา้ มันรั่ วไหลเกิดขึน้ ก็ตามแต่ต้องปรากฏว่า มี ภยันตรายที่คกุ คามที่จะก่อความเสียหายจากมลพิษซึ่งมีความร้ ายแรงและใกล้ จะถึง และยังขยายผลรวมถึงความ เสียหายในกรณีนํ ้ามันรั่วไหลจากเรื อเดินทะเล ซึง่ ต่อหรื อดัดแปลงให้ ใช้ บรรทุกนํ ้ามันเทกองด้ วย ทัง้ นี ้ ตัง้ แต่วัน ที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 จะถื อ ว่า ประเทศที่ เ ป็ นภาคี ใ นพิ ธี ส าร 1992 ได้ บ อกเลิก อนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1969 และใช้ พิธีสารใหม่โดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั ยังถือว่าอนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1969 และ ้ บ เพราะมีบางประเทศที่เป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1969 แต่ยงั ไม่ได้ พิธีสาร ค.ศ. 1992 ยังมีผลใช้ บงั คับทังสองฉบั เข้ าเป็ นภาคีพิธีสาร ค.ศ. 1992 ซึ่งพิธีสาร ค.ศ. 1992 ได้ อนุญาตให้ รัฐภาคีออกใบรับรองแก่เรื อที่จดทะเบียนในรัฐซึ่ง 378

ชุมเจตน์ กาญจนเกษร, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 376, หน้ า 52-60. สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย. 2550. อนุสญ ั ญาว่าด้ วยการค้ าระหว่างประเทศซึง่ ชนิดพันธุ์สตั ว์และพืชป่ าใกล้ สญ ู พันธุ์. ฐานข้ อมูล กฎกติกาสากลด้ านสิ่งแวดล้ อม. แหล่งที่มา: http://www.tei.or.th/meap/MEA_cites.htm, 17 กันยายน 2550. 379

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


280

ไม่ได้ เป็ นภาคีพิธีสารด้ วย เพื่อให้ เจ้ าของเรื อสามารถได้ รับใบรับรองทัง้ ภายใต้ อนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1969 และพิธีสาร 380 ค.ศ. 1992 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยยังไม่ได้ เป็ นภาคีของทังอนุ ้ สญ ั ญาฯ ค.ศ. 1969 และพิธีสาร ค.ศ. 1992 (แต่อยูร่ ะหว่างการดําเนินการเข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1969)381 6) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดตัง้ กองทุนระหว่างประเทศสําหรับชดเชยความเสียหายทีอ่ าจ เกิ ดขึ้นจากมลพิ ษของนํ้ามัน (International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage, 1992 หรื อ FUND)382 FUND เป็ นอนุสญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ บคุ คลผู้ได้ รับความเสียหายจากมลภาวะของนํ ้ามันได้ รับการ ชดใช้ ความเสียหายอย่างเพียงพอในกรณีที่เงินชดใช้ ภายใต้ CLC ไม่เพียงพอ และเพื่อเป็ นการแบ่งเบาภาระความรับ ้ นเพื่อจ่าย ผิดแก่เจ้ าของเรื อภายใต้ CLC โดยหลักการสําคัญของอนุสญ ั ญาฯ เป็ นการกําหนดให้ มีการจัดตังกองทุ ค่าเสียหายให้ แก่รัฐและบุคคลซึง่ ไม่ได้ รับความคุ้มครองภายใต้ CLC หรื อเงินที่ได้ รับชดใช้ ภายใต้ CLC นันไม่ ้ เพียงพอ ต่อความเสียหายที่เกิดขึ ้น หรื อในกรณีที่เจ้ าของเรื อไม่ต้องรับผิดหรื อไม่สามารถจะรับผิดตาม CLC กองทุนก็จะเป็ นผู้ ชดใช้ ความเสียหายให้ บคุ คลผู้ได้ รับความเสียหายแทน ซึง่ เงินในกองทุนจะมาจากการสมทบทุนโดยบุคคลผู้รับนํ ้ามัน ที่ขนส่งมาทางทะเลในรัฐภาคี ทังนี ้ ้ เดิมอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยการจัดตังกองทุ ้ นระหว่างประเทศสําหรับชดเชยความเสียหาย ั ญาที่ใช้ บงั คับคู่กับอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วย ที่อาจเกิดขึน้ จากมลพิษของนํา้ มัน ค.ศ. 1971 จะเป็ นอนุสญ ความรับผิดชอบทางแพ่งสําหรับความเสียหายอันเกิดจากมลพิษทางนํ ้ามัน ค.ศ. 1969 แต่ปัจจุบนั เมื่อได้ มีการแก้ ไข เพิ่มเติมอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความรับผิดชอบทางแพ่งสําหรับความเสียหายอันเกิดจากมลพิษทางนํ ้ามัน ค.ศ. 1967 โดยพิธีสาร ค.ศ. 1992 แล้ ว ก็ได้ มีการออกอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยการจัดตัง้ กองทุนระหว่าง ประเทศสําหรับชดเชยความเสียหายที่อาจเกิดขึ ้นจากมลพิษของนํ ้ามัน ค.ศ. 1992 ขึน้ มาเพื่อใช้ ค่กู นั กับอนุสญ ั ญา ระหว่า งประเทศว่า ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบทางแพ่ง สํา หรั บ ความเสี ยหายอัน เกิ ดจากมลพิษ ทางนํ า้ มัน ค.ศ. 1992 ดังกล่าว บทบัญญัติมาตรา 4 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้ วยการจัดตัง้ กองทุนระหว่างประเทศสําหรั บ ชดเชยความเสียหายที่อาจเกิดขึ ้นจากมลพิษของนํ ้ามัน ค.ศ. 1992 ได้ กําหนดหลักการสําคัญในการชดใช้ ค่าเสียหาย ไว้ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ 6.1) เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของอนุสญ ั ญาฯ กองทุนต้ องชดใช้ ค่าเสียหายให้ แก่ผ้ ทู ี่ได้ รับความเสียหาย จากมลพิษทางนํา้ มันซึ่งไม่มีสิทธิได้ รับการชดใช้ ค่าเสียหายตามอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความรับผิดชอบ

380

ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์. 2542. “อนุสัญญาระหว่ างประเทศขององค์ การทางทะเลระหว่ างประเทศ”. พาณิชยนาวี 18(2) สิงหาคม 2542 : หน้ า 21-23. 381 กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี. 2550. สถานะภาพของประเทศไทยในการเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาองค์การทางทะเล ระหว่างประเทศ, กฎหมาย. แหล่งที่มา: http://www.md.go.th/law/anusanya.php, 17 กันยายน 2550. 382 International Oil Pollution Compensation Fund. 1992. International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage. Texts of the 1992 Convention on Liability and Compensation for Oil Pollution Damage. Available Source: http://www.iopcfund.org/npdf/engtextoc.pdf, Septemper 12, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


281

ทางแพ่งสําหรับความเสียหายอันเกิดจากมลพิษทางนํ ้ามัน ค.ศ. 1992 หรื อไม่ได้ รับชดใช้ ค่าเสียหายตามอนุสญ ั ญา ระหว่างประเทศว่าด้ วยความรับผิดชอบทางแพ่งฯ ค.ศ. 1992 ดังกล่าวอย่างเพียงพอ ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความรับผิดชอบทางแพ่งฯ (1) กรณี ที่ไม่มีความรับผิดเกิดขึน้ ตามอนุสญ ค.ศ. 1992 (2) กรณี ที่ เจ้ า ของเรื อ ซึ่ง ต้ อ งรั บ ผิด ในความเสี ย หายตามอนุสัญ ญาระหว่า งประเทศว่า ด้ ว ยความ รับผิดชอบทางแพ่งฯ ค.ศ. 1992 มีความสามารถทางการเงินไม่เพียงพอที่จะชดใช้ ค่าเสียหายได้ เต็มทังจํ ้ านวน หรื อ ั้ ทังนี ้ ้ กรณี หลักทรัพย์ที่เป็ นหลักประกันมีมลู ค่าไม่ครอบคลุมหรื อไม่เพียงพอต่อค่าเสียหายที่มีการเรี ยกร้ องได้ ทงหมด ที่จะถือว่าเจ้ าของเรื อซึ่งต้ องรับผิดมีเงินไม่พอหรื อหลักทรัพย์ที่เป็ นหลักประกันไม่เพียงพอก็ต่อเมื่อผู้ที่ได้ รับความ เสียหายไม่ได้ รับค่าสินไหมทดแทนที่พอเพียงภายในกําหนดเวลาตามที่กําหนดไว้ ในอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วย ความรับผิดชอบทางแพ่งฯ ค.ศ. 1992 ภายหลังจากที่ได้ ดําเนินขัน้ ตอนในการฟ้องคดีที่เหมาะสมเพื่อขอให้ มีการ เยียวยาความเสียหายดังกล่าวแล้ ว ั ญา (3) กรณี ที่ความเสียหายเกินกว่าข้ อจํากัดความรั บผิดของเจ้ าของเรื อตามที่กําหนดไว้ ในอนุสญ ระหว่างประเทศว่าด้ วยความรับผิดชอบทางแพ่งฯ ค.ศ. 1992 หรื อตามอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศอื่นที่มีผลใช้ บงั คับ หรื อเปิ ดให้ ลงนาม ให้ สตั ยาบัน หรื อภาคยานุวตั ิ ค่าใช้ จ่ายที่เกิดขึน้ อย่างสมเหตุสมผลหรื อการเสียสละอย่างสมควรของเจ้ าของเรื อด้ วยความสมัครใจ เพื่อที่จะป้องกันหรื อบรรเทาความเสียหายจากมลพิษนํ ้ามัน ให้ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายตามอนุสญ ั ญาฉบับ นี ้ 6.2) กองทุนไม่ต้องรับผิดในกรณีดงั ต่อไปนี ้ (1) พิสูจน์ ได้ ว่ามลพิษจากนํ า้ มันเกิดจากสงคราม การกระทําของศัตรู สงครามกลางเมืองหรื อการ จลาจล หรื อเกิดจากนํ ้ามันที่รั่วไหลหรื อถูกปล่อยออกมาจากเรื อสงครามหรื อเรื ออื่นที่ดําเนินการโดยรัฐและนํามาใช้ ใน อุบตั ิเหตุซงึ่ ไม่มีวตั ถุประสงค์ทางพาณิชย์ (2) บุคคลที่อ้างว่าได้ รับความเสียหายพิสจู น์ไม่ได้ ว่ามลพิษจากนํ ้ามันเกิดขึ ้นจากอุบตั ิเหตุที่เกี่ยวข้ อง กับเรื อลําเดียวหรื อหลายลํา 6.3) หากกองทุนสามารถพิสจู น์ได้ วา่ เหตุของมลพิษจากนํ ้ามันทังหมดหรื ้ อบางส่วนเกิดจากการกระทําหรื องดเว้ นการกระทําด้ วยเจตนาให้ เกิด ความเสียหายของบุคคลที่ได้ รับความเสียหาย หรื อเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรงของบุคคลดังกล่าว กองทุนย่อมได้ รับการปลดเปลื ้องความรับผิดทังหมดหรื ้ อบางส่วนอันเนื่องมาจากการกระทําของบุคคลที่ได้ รับความ เสียหายดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ในบทบัญญัตินี ้ได้ กําหนดจํากัดความรับผิดของกองทุนไว้ ที่ 135 ล้ าน SDR ด้ วย นอกจากนี ้ อนุสญ ั ญาฯ ยังได้ กําหนดให้ การเรี ยกร้ องต่อกองทุนต้ องดําเนินการฟ้องร้ องเป็ นคดีต่อศาล (มาตรา 7) และต้ องดําเนินการภายในสามปี นับแต่วนั ที่เกิดความเสียหาย มิเช่นนันสิ ้ ทธิในการเรี ยกร้ องต่อกองทุนก็ ั ญาฯ ขยายครอบคลุมไปถึงความเสียหายจาก เป็ นอันระงับไป (มาตรา 6) และยังมีหลักการให้ การบังคับใช้ อนุสญ มลพิษที่เกิดขึ ้นในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (EEZ) หรื ออาณาบริเวณที่ตอ่ เนื่องกับเส้ นทะเลอาณาเขตไป 200 ไมล์ทะเลใน กรณีของรัฐภาคีที่มิได้ ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะด้ วย (มาตรา 3)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


282

สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยยังไม่ได้ เป็ นภาคีของทัง้ อนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1971 และ อนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1992 (แต่อยูร่ ะหว่างการดําเนินการเข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1971)383 7) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการเตรี ยมการ การปฏิ บตั ิ การ และความร่ วมมื อในการป้ องกันและ ขจัดมลพิษนํ้ามัน พ.ศ. 2533 (International Convention on Oil Pollution Preparedness, Response and Cooperation, 1990) อนุสญ ั ญานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อวางกรอบระหว่างประเทศในด้ านความร่ วมมือในการต่อสู้กบั กรณีมลพิษ นํ ้ามันหรื อคุกคามของมลพิษ ประเทศภาคีของอนุสญ ั ญาจะต้ องกําหนดมาตรการสําหรับการดําเนินการกับมลพิษ ไม่ ว่าจะเป็ นมาตรการภายในประเทศหรื อการปฏิบตั ิการร่ วมกันกับโดยประเทศอื่นๆ อนุสญ ั ญานีก้ ําหนดให้ เรื อต้ องมี แผนฉุกเฉินประจําเรื อสําหรับมลพิษ ซึง่ ในรายละเอียดจะได้ รับการพัฒนาโดย IMO ผู้ประกอบการแท่นขุดเจาะนํ ้ามัน นอกชายฝั่ งภายใต้ เขตอํานาจของประเทศภาคีก็จะต้ องมีแ ผนฉุกเฉิ นสําหรั บมลพิษนํ า้ มันหรื อการเตรี ยมการใน ลักษณะคล้ ายคลึงกันซึง่ ต้ องประสานงานกับระบบการตอบโต้ ของรัฐเพื่อให้ สามารถแก้ ไขปั ญหาในทันทีทนั ใด ั ญาได้ กําหนด ทังนี ้ ้ เรื อแต่ละลําจะถูกกําหนดให้ รายงานกรณี มลพิษต่อผู้มีอํานาจของรัฐชายฝั่ ง อนุสญ รายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการที่จะต้ องกระทํา ตลอดจนการจัดให้ มีอปุ กรณ์ในการขจัดนํ ้ามันหก การฝึ กซ้ อมการขจัด คราบนํ ้ามันและพัฒนาแผนในรายละเอียดเกี่ยวกับการแก้ ปัญหามลพิษ ประเทศภาคีตามอนุสญ ั ญาจะต้ องให้ ความ ช่วยเหลือประเทศภาคีอื่นในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉินจากมลพิษและมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการชดใช้ คา่ ใช้ จ่ายสําหรับการให้ ความช่วยเหลือ384 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยได้ เข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาฯ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2543 และ 385 อนุสญ ั ญาฯ มีผลใช้ บงั คับกับประเทศไทยแล้ วเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2543 8) ความตกลงว่าด้วยการจัดตัง้ คณะกรรมาธิ การทูน่าแห่งมหาสมุทรอิ นเดีย (Agreement for the Establishment of the Indian Ocean Tuna Commission, 1993)386 ซึง่ ประเทศไทยได้ สมัครเข้ าเป็ นสมาชิก ความตกลงฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อจัดตังคณะกรรมาธิ ้ การทูน่าแห่งมหาสมุทรอินเดีย ภายใต้ กรอบการ ทํางานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติขึ ้น (มาตรา 1) เพื่อส่งเสริ มความร่ วมมือในการอนุรักษ์ หรื อ รักษาไว้ ซึ่งระดับจํานวนประชากรทูน่าและชนิดพันธุ์ที่คล้ ายทูน่าในมหาสมุทรอินเดียให้ อยู่ในระดับที่สามารถทําการ ประมงทูน่าและชนิดพันธุ์ที่คล้ ายทูน่าดังกล่าวได้ ในประโยชน์สงู สุดและอย่างยัง่ ยืน ทัง้ นี ้ ตามมาตรา 2 ของความตกลงฯ ได้ กําหนดเขตอํานาจของคณะกรรมาธิ การฯ ไว้ ให้ มีเขตอํานาจ ตลอดมหาสมุทรอินเดีย รวมถึงทะเลต่อเนื่องจนบรรจบกับแอนตาร์ คติกเหนือเท่าที่จําเป็ นเพื่อการสงวนและจัดการกับ จํานวนประชากรทูน่าและชนิดพันธุ์ที่คล้ ายทูน่าซึง่ อพยพเข้ ามาหรื อออกจากมหาสมุทรอินเดีย โดยมาตรา 4 ของความตกลงฯ ได้ กํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก หน้ าที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมาธิการฯ ไว้ ดงั นี ้

383

กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 381. ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380, หน้ า 20-21. 385 กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 381. 386 Ocean Law. 2006. Agreement for the Establishment of the Indian Ocean Tuna Commission. Law of the Sea Information and Consultancy Services. Available Source: http:// www.oceanlaw.net/texts/iotx.htm, September 12, 2007. 384

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


283

8.1) คณะกรรมาธิการฯ ต้ องสนับสนุนความร่ วมมือระหว่างสมาชิกผ่านการจัดการที่เหมาะสมเพื่อสร้ าง หลักประกันในการสงวนรักษาและการใช้ ประโยชน์สงู สุดจากประชากรของชนิดพันธุ์ตามความตกลงฉบับนี ้ และให้ ความช่วยเหลือในการพัฒนาการประมงชนิดพันธุ์ดงั กล่าว 8.2) เพื่ อ ให้ บรรลุถึง วัตถุป ระสงค์ ข องความตกลงฯ ให้ คณะกรรมาธิ การฯ มี อํ า นาจหน้ า ที่ แ ละความ รั บผิดชอบตามหลักการที่กําหนดไว้ ในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลที่เกี่ ยวข้ อง ดังต่อไปนี ้ (1) พิจารณาทบทวนในสถานการณ์ และแนวโน้ มจํานวนประชากรของชนิดพันธุ์อย่างสมํ่าเสมอ และ รวบรวม วิเคราะห์และเผยแพร่ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เก็บและคํานวณสถิติตลอดจนข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับการสงวน และจัดการจํานวนประชากรและการทําการประมงชนิดพันธุ์ตามความตกลงฉบับนี ้ (2) ให้ ความช่วยเหลือ คําแนะนํา ตลอดจนร่ วมกันทําวิจัยและดําเนินกิจกรรมในการพัฒนาจํานวน ประชากรและการทําการประมงชนิดพันธุ์ตามความตกลงฉบับนี ้ ซึง่ กิจกรรมดังกล่าวเป็ นกิจกรรมที่คณะกรรมาธิการฯ จัดขึ ้นเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี ฝึ กอบรม และพัฒนา หลักประกันในการทําการประมงของสมาชิกอย่างยุติธรรม และ ให้ ประโยชน์เป็ นพิเศษแก่สมาชิกที่เป็ นประเทศกําลังพัฒนา (3) กําหนดมาตรการในการสงวนและจัดการเพื่อเป็ นหลักประกันและส่งเสริ มวัตถุประสงค์ในการใช้ ประโยชน์สงู สุดตลอดทังพื ้ ้นที่ (4) พิจารณาและอนุมตั ิโครงการและงบประมาณ (5) จัดส่งรายงานเกี่ยวกับผลการดําเนินการ โครงการ บัญชีและงบประมาณของคณะกรรมาธิการฯ ต่อ ผู้อํานวยการองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (6) กําหนดระเบียบปฏิบตั ิ ระเบียบทางการเงิน และระเบียบในการบริ หารจัดการภายในองค์กรเท่าที่ จําเป็ นเพื่อการทําหน้ าที่ (7) ดําเนินการอื่นเท่าที่จําเป็ นเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ตามความตกลงฉบับนี ้ สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยสมัครเข้ าเป็ นสมาชิกในความตกลงฉบับนี ้เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2540 9) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการอนุรกั ษ์ เต่าทะเลในแถบมหาสมุทรอิ นเดียและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ (IOSEA/CMS) บันทึกความเข้ าใจฉบับนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มให้ มีการคุ้มครอง อนุรักษ์ เพิ่มจํานวน และฟื น้ ฟู เต่า ทะเลและแหล่งที่อยู่อาศัยของเต่าทะเล บนพื ้นฐานของหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สดุ โดยคํานึงถึงลักษณะของ สภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประเทศภาคี ซึ่งความในอารัมภบทของบันทึกความเข้ าใจฉบับนีไ้ ด้ แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ กบั อนุสญ ั ญาอื่นๆ อีกหลายฉบับ เช่น กรณีที่บนั ทึกไว้ ว่า เต่าทะเลมีลําดับความสําคัญ สําหรับปฏิบัติการอนุรักษ์ โดยอยู่ในทะเบียนในบริ บทหรื อบัญชีท้ายของอนุสญ ั ญาว่าด้ วยการอนุรักษ์ ชนิดพันธุ์ที่ อพยพย้ ายถิ่ น (CMS) และอนุสญ ั ญาว่าด้ วยการค้ าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สตั ว์ ป่าและพืชป่ าที่ใกล้ สูญพันธุ์ (CITES) ด้ วย และกรณีที่ได้ กําหนดให้ ภาคีพึงตระหนักไว้ ว่า กฎหมายระหว่างประเทศอื่นๆ รวมทังอนุ ้ สญ ั ญาแห่ง สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล (UNCLOS) จรรยาบรรณในการทําการประมงอย่างรับผิดชอบขององค์การ อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (the FAO Code of Conduct for Responsible Fisheries) อนุสญ ั ญาระหว่าง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


284

ประเทศสําหรับการป้องกันมลภาวะจากเรื อ (MARPOL) และอนุสญ ั ญาว่าด้ วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) เกี่ยวข้ องกับการอนุรักษ์ เต่าทะเลและแหล่งที่อยูอ่ าศัยของเต่าทะเล ทังนี ้ ้ ภาคีมีหน้ าที่ต้องปฏิบตั ิการเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของบันทึกความเข้ าใจฉบับนี ้ ดังต่อไปนี ้ 9.1) ร่วมมืออย่างใกล้ ชิดเพื่อบรรลุความสําเร็จและดํารงรักษาสถานภาพการอนุรักษ์ ที่พงึ พอใจสําหรับเต่า ทะเลและแหล่งที่อยูอ่ าศัยที่เต่าทะเลพึง่ พาอาศัยอยู่ 9.2) อนุวตั ิการพันธกรณีตามแผนการอนุรักษ์ และการจัดการซึ่งแนบท้ ายบันทึกความเข้ าใจ โดยแผนการ อนุรักษ์ และจัดการต้ องระบุถึงการคุ้มครองและการจัดการแหล่งที่อยู่อาศัยของเต่าทะเล การเก็บเกี่ยวโดยตรงและ การค้ า การลดภัยคุกคาม รวมถึงการจับปลา การวิจยั และการให้ การศึกษา การแลกเปลี่ยนข้ อมูลข่าวสาร และการ เสริมสมรรถนะ 9.3) ในกรณีจําเป็ น ต้ องพิจารณาทบทวน จัดทํา แก้ ไขปรับปรุ ง และผสานกฎหมายแห่งชาติเกี่ยวกับการ อนุรักษ์ เต่าทะเลและแหล่ง ที่ อ ยู่อาศัย และพยายามทํ า ทุกวิถีทางเพื่อให้ การดํ าเนิ นการตามกฎหมายดังกล่า วมี ประสิทธิภาพ 9.4) พิจารณาให้ สตั ยาบันหรื อภาคยานุวตั ิตอ่ เครื่ องมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้ องกับการอนุรักษ์ เต่าทะเล และแหล่งที่อยูอ่ าศัย เพื่อส่งเสริมการคุ้มครองทางกฎหมายแก่ชนิดพันธุ์เหล่านี ้ในภูมิภาค 9.5) จัดตัง้ ฝ่ ายเลขาธิ การซึ่งจะช่วยเหลือในการสื่อสาร กระตุ้นการรายงาน และเอื อ้ อํานวยกิ จกรรม ระหว่างรัฐภาคี สถาบันระดับอนุภมู ิภาค รวมทังรั้ ฐหรื อองค์กรอื่นที่สนใจ ้ ่ปรึกษาเพื่อให้ คําแนะนําทางวิทยาศาสตร์ วิชาการ และกฎหมายต่อรัฐภาคีอื่น 9.6) จัดตังคณะกรรมการที เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการจัดการเต่าทะเลและแหล่งที่อยูอ่ าศัยในภูมิภาค 9.7) มอบหมายหน่ ว ยงานที่ ไ ด้ รั บ มอบอํ า นาจแห่ ง ชาติ ใ ห้ ทํ า หน้ า ที่ เ ป็ นหน่ ว ยงานกลางสํ า หรั บ การ ติดต่อสื่อสารระหว่างรัฐภาคี 9.8) เสนอรายงานเกี่ยวกับการอนุวตั ิการตามบันทึกความเข้ าใจฉบับนี ้แก่ฝ่ายเลขาธิการอย่างสมํ่าเสมอ ตามช่วงระยะเวลาที่ถกู กําหนดโดยการประชุมครัง้ แรกของรัฐภาคี 9.9) ประเมินและวิเคราะห์ปริ มาณความต้ องการและความเป็ นไปได้ ของการได้ รับทรั พยากร การเงิน รวมถึงการจัดตังกองทุ ้ นพิเศษขึ ้นเพื่อเป็ นค่าใช้ จ่ายในการดําเนินงานของฝ่ ายเลขาธิการ คณะกรรมการที่ปรึกษา และ กิ จ กรรมที่ ดํ า เนิ น ภายใต้ บัน ทึก ความเข้ า ใจฉบับ นี ้ และเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ รั ฐ ภาคี ใ ห้ ดํ า เนิ น การต่า ง ๆ ซึ่ง เป็ นความ รับผิดชอบภายใต้ บนั ทึกความเข้ าใจฉบับนี ้ สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยเข้ าร่วมเป็ นสมาชิกของบันทึกความเข้ าใจฉบับนี ้เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2547 10) อนุสญ ั ญาว่าด้วยการอนุรักษ์ ประชากรสัตว์นํ้าทีว่ ่ายจากทะเลขึ้นมาในแม่นํ้าระหว่างฤดูวางไข่ (Convention for the Conservation of Anadromous Stocks, 1992)387 อนุสญ ั ญานีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ประชากรสัตว์นํา้ ที่ว่ายจากทะเลขึน้ มาในแม่นํา้ ระหว่างฤดู วางไข่ โดยได้ มีการจัดตังคณะกรรมาธิ ้ การขึ ้นมาคณะหนึง่ ให้ มีอํานาจหน้ าที่หลักๆ ดังต่อไปนี ้ 387

Chris Hedley. 2001. Convention for the Conservation of Anadromous Stocks in the North Pacific Ocean. Internet Guide to International Fisheries Law. Available Source: http://www.oceanlaw.net/texts/summaries/npas.htm, September 12, 2007.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


285

10.1) แนะนําประเทศภาคี เกี่ ยวกับมาตรการในการอนุรักษ์ ประชากรสัตว์นํา้ ที่ว่ายจากทะเลขึน้ มาใน แม่นํ ้าระหว่างฤดูวางไข่ รวมทังมาตรการในการหลี ้ กเลี่ยงหรื อลดการคุกคามสัตว์นํ ้าที่ว่ายจากทะเลขึน้ มาในแม่นํา้ ระหว่างฤดูวางไข่ดงั กล่าว ั ญา 10.2) ส่งเสริ มให้ มีการแลกเปลี่ยนข้ อมูลเกี่ยวกับการกระทําใดๆ ที่ขดั แย้ งกับอนุสญ 10.3) พิจารณาและจัดทําข้ อเสนอต่อประเทศภาคีในการประกาศใช้ มาตรการการลงโทษสําหรั บการ กระทําที่ขดั แย้ งกับอนุสญ ั ญา และ 10.4) ทบทวนและประเมินผลในการบังคับใช้ และปฏิบตั ิตามอนุสญ ั ญาของประเทศภาคี ้ ทรแปซิฟิกเหนือ ทังนี ้ ้ ตามอนุสญ ั ญาฯ ได้ กําหนดให้ คณะกรรมาธิการฯ มีเขตอํานาจตลอดทังมหาสมุ โดยชนิดพัน ธุ์ที่ไ ด้ รับความคุ้มครองรวมถึงชนิดพันธุ์ที่ ขึน้ มาในแม่นํา้ ระหว่างฤดูวางไข่ดัง ต่อไปนี ้ คื อ Chum Salmon, Coho Salmon, Pink Salmon, Sockeye Salmon, Chinook Salmon, Cherry Salmon และ Steelhead Trout สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยไม่ได้ เป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาดังกล่าว 11) อนุสญ ั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity หรื อ CBD) อนุสญ ั ญาฉบับนี ้มีบทบัญญัติสว่ นใหญ่เป็ นเพียงการวางกรอบ โดยจะกําหนดวัตถุประสงค์และพันธกรณี ของอนุสญ ั ญาไว้ ค่อนข้ างกว้ าง เพื่อจะนําไปสูก่ ารกําหนดรายละเอียดในเรื่ องต่างๆ โดยผ่านทางกลไกของพิธีสาร ข้ อ ั ญา มติ ข้ อตกลงระดับภูมิภาค และการออกกฎหมายภายในของรัฐภาคีในโอกาสต่อๆ ไป โดยในมาตรา 3 ของอนุสญ ฯ ได้ กําหนดหลักการไว้ ว่า หลักการของอนุสญ ั ญานี ้เป็ นเพียงกรอบกว้ างๆ ให้ ภาคีจะต้ องคํานึงถึงและปฏิบตั ิ และ ยอมรับอํานาจอธิ ปไตยของรัฐใดๆ ต่อทรัพยากรของตนเองตามนโยบายของรัฐนัน้ ๆ ทัง้ ในการสงวนรักษา การใช้ ประโยชน์ และการทําลาย ซึง่ อํานาจอธิปไตยดังกล่าวนี ้อาจตกอยู่ภายใต้ บงั คับของหลักกฎหมายระหว่างประเทศอื่น ด้ วย เช่น ในเขตทะเลอาณาเขต เขต EEZ เขตทะเลหลวง (High Seas) ซึง่ ประเทศต่างๆ จะต้ องปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเลฯ สําหรับวัตถุประสงค์ของอนุสญ ั ญานี ้ คือ การอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ ประโยชน์จาก องค์ ประกอบของความหลากหลายทางชี วภาพอย่างยั่งยืน การแบ่ง ปั นผลประโยชน์ อย่างเท่าเทียมกันในการใช้ ทรั พยากรพันธุกรรม ทัง้ นี ้ โดยการเข้ าถึงทรั พยากรพันธุกรรมอย่างเหมาะสม และโดยการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่ เกี่ยวข้ องอย่างเหมาะสม โดยการคํานึงถึงสิทธิ เหนือทรัพยากรและเทคโนโลยีนนและโดยการให้ ั้ การสนับสนุนด้ าน เงินทุนอย่างเหมาะสมด้ วย ทังนี ้ ้ บทบัญญัติที่เกี่ยวข้ องกับการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพของอนุสญ ั ญานี ้ถูกกําหนดไว้ ใน มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 11 และมาตรา 14 ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ มาตรา 6 กํ า หนดกรอบวิ ธี ป ฏิ บัติ อ ย่ า งกว้ า งๆ สํ า หรั บ การอนุรั ก ษ์ แ ละการใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งยั่ง ยื น (conservation and sustainable use) โดยกําหนดให้ ภาคีมีพนั ธกรณีต้องปฏิบตั ิ ดังนี ้ 11.1) การพัฒนานโยบายของชาติ แผนการ หรื อโครงการเพื่อการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ของความหลากหลายทางชีวภาพ 11.2) การผนวกการอนุ รั ก ษ์ ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพ และการใช้ ประโยชน์ อ ย่ า งยั่ง ยื น ของ องค์ประกอบความหลากหลายทางชีวภาพเข้ ากับแผนการย่อย โครงการย่อย หรื อนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


286

มาตรา 7 กําหนดการจําแนกวินิจฉัย (Identification) และการตรวจสอบ (Monitoring) องค์ประกอบของความ หลากหลายทางชีวภาพที่สําคัญ เพื่อดําเนินการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน มาตรา 8 กําหนดการอนุรักษ์ ในถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ (In Situ Conservation) โดยวางมาตรการ ต่างๆ คือ 11.3) การจัดตังระบบพื ้ ้นที่ค้ มุ ครอง (Protected Areas) ซึง่ ต้ องการการดําเนินการด้ วยมาตรการพิเศษ 11.4) การควบคุมดูแล (ของเอกชน) หรื อจัดการ (ของรัฐ) ทรัพยากรชีวภาพที่มีความสําคัญในการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชี ว ภาพ เพื่ อ เป็ นหลัก ประกัน ให้ แ ก่ก ารอนุรักษ์ แ ละการใช้ ป ระโยชน์ อ ย่า งยั่ง ยื น (ในการนี ้ หมายความว่า แหล่งปริ มาณสํารองของสัตว์ นํา้ ป่ าธรรมชาติดงั ้ เดิม ดิน ฯลฯ ต้ องได้ รับการควบคุมดูแลเพื่ อเป็ น หลักประกันแก่การอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ) 11.5) ฟื น้ ฟูระบบนิเวศที่เสื่อมโทรม และส่งเสริมการทํานุบํารุงชนิดพันธุ์ที่ถกู คุกคาม 11.6) ป้องกันการนําชนิดพันธุ์จากต่างถิ่นต่างประเทศเข้ ามาปล่อย 11.7) สนับสนุนและธํารงรักษาการดําเนินการที่เกี่ยวข้ องของชุมชนท้ องถิ่น มาตรา 9 รั ฐ ภาคี มี พัน ธกรณี ที่ จ ะต้ อ งสนับ สนุน การอนุรั ก ษ์ น อกถิ่ น ที่ อ ยู่อ าศัย ตามธรรมชาติ โดย ดําเนินงานควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ในถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ สนับสนุนการจัดตัง้ สิ่งอํานวยความสะดวกใน ประเทศซึ่งเป็ นถิ่นกําเนิดโดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนา และช่วยฟื น้ ฟูและนําชนิดพันธุ์ที่ถกู คุกคามกลับเข้ าไปใหม่ ในการนี ้ ต้ องมีการควบคุมดูแลการดําเนินการรวบรวมสะสมชนิดพันธุ์และมีการสนับสนุนความร่วมมือทางการเงิน มาตรา 10 ได้ วางมาตรการซึ่งต้ องดําเนินการโดยภาคีไว้ หลายประการ เพื่อส่งเสริ มการใช้ ประโยชน์ องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยัง่ ยืน รวมทังการเชื ้ ่อมประสานนโยบายการใช้ ประโยชน์อย่าง ยัง่ ยืนให้ เข้ ากับการพิจารณาตัดสินใจดําเนินงานด้ านต่างๆ ในการหลีกเลี่ยงหรื อลดผลกระทบต่อความหลากหลาย ทางชีวภาพ มาตรา 11 เป็ นมาตราที่สาํ คัญที่เรี ยกร้ องให้ รัฐภาคีรับเอามาตรการซึง่ เป็ นแรงจูงใจการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยัง่ ยืนมาปฏิบตั ิ มาตรา 14 กําหนดให้ รัฐภาคีรับเอาวิธีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้ อม (EIA) มาปฏิบตั ิสําหรับโครงการ ที่ “มีแนวโน้ มจะมีผลกระทบที่สําคัญต่อความหลากหลายทางชี วภาพ โดยพิจารณาถึงการหลีกเลี่ยงหรื อการลด ผลกระทบดังกล่าว” ประเด็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการชดใช้ ค่าเสียหายได้ รับการอนุโลมให้ ขยายรายละเอียดใน พิธีสาร มาตรา 22 วรรคหนึ่ง เป็ นบทบัญญัติที่ยอมรับสิทธิและพันธกรณีของรัฐต่ออนุสญ ั ญาอื่นๆ ที่รัฐนันๆ ้ เป็ น ั ญาไซเตส (CITES) อนุสญ ั ญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) ตลอดจนอนุสญ ั ญาอื่นๆ ที่แม้ จะ ภาคีอยู่ ได้ แก่ อนุสญ ไม่มีเรื่ องของการอนุรักษ์ เช่น แกตต์ (GATT) ก็ตาม แต่ถ้าหากกรณีปรากฏว่า สิทธิและพันธกรณีใดๆ ก่อให้ เกิดผล เสียหายอย่างรุนแรงหรื อเป็ นการคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนี ้ ภาคีจกั ต้ องปฏิบตั ิตามบทบัญญัติของ อนุสญ ั ญาว่าด้ วยความหลากหลายทางชีวภาพที่ม่งุ เน้ นการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งในกรณีดงั กล่าว ถือว่าอนุสญ ั ญาฉบับนี ้มีความสําคัญกว่าอนุสญ ั ญาอื่นๆ มาตรา 22 วรรคสอง เป็ นบทบัญ ญัติที่กําหนดว่าภาคี จักต้ องปฏิบัติการตามอนุสัญญาว่าด้ วยความ หลากหลายทางชี ว ภาพฯ ในเรื่ อ งของสิ่ง แวดล้ อ มทางทะเล โดยสอดคล้ อ งกับ สิท ธิ แ ละพัน ธกรณี ข องรั ฐ ภายใต้ บทบัญญัติของอนุสญ ั ญาแห่งสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ซึ่งในกรณีนี ้ อนุสญ ั ญาว่าด้ วยความหลากหลาย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


287

ทางชีวภาพยอมรับให้ อนุสญ ั ญาสหประชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเลมีความสําคัญมากกว่าในกรณีของสิ่งแวดล้ อมทาง ทะเล เพราะบทบัญญัติของกฎหมายทะเลนันเป็ ้ นเรื่ องการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพของทะเลอย่างชัดเจน อยูแ่ ล้ ว และยังเป็ นเรื่ องของการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืนอีกด้ วย388 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยลงนามในอนุสญ ั ญาฯ เมื่อวันที่ 12 มิถนุ ายน พ.ศ. 2535 แต่ยงั ไม่ได้ ให้ สตั ยาบันเข้ าเป็ นภาคี 12) อนุสญ ั ญาว่าด้วยพืน้ ทีช่ ่มุ นํ้า (Convention on Wetlands of International Importance Especially as Waterfowl Habitat หรื อ RAMSAR Convention) RAMSAR เป็ นความตกลงในระดับนานาชาติที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้า โดยมุ่งอนุรักษ์ และยับยังการสู ้ ญเสียพื ้นที่ช่มุ นํ ้าในโลก โดยเสนอให้ มีการจัดการพื ้นที่ช่มุ นํ ้าตามแนวทางการใช้ ประโยชน์อย่างชาญ ฉลาด ซึง่ พันธกรณีของประเทศภาคีอนุสญ ั ญาที่สําคัญมี ๔ ประการ คือ การกําหนดพื ้นที่ช่มุ นํ ้าในดินแดนของตนเพื่อ บรรจุในทําเนียบพื ้นที่ช่มุ นํ ้าที่มีความสําคัญในระดับนานาชาติ การกําหนดและวางแผนการดําเนินการใช้ ประโยชน์ใน พื ้นที่ช่มุ นํ ้าอย่างชาญฉลาด การอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้าและการฝึ กอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้า และการให้ ความ ร่วมมือระหว่างประเทศในการดําเนินการอนุรักษ์ และจัดการพื ้นที่ช่มุ นํ ้า 12.1) การกําหนดพื ้นที่ช่มุ นํ ้าอยูใ่ นบัญชีรายชื่อ (Listed Sites) มาตรา 2 ของอนุสญ ั ญาฯ ได้ กําหนดว่า ในขณะที่เข้ าร่วมเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญานี ้ ภาคีจะต้ องกําหนดให้ พื น้ ที่ ชุ่ ม นํ า้ ในอาณาเขตประเทศตนเองอย่ า งน้ อย 1 แห่ ง ถูก บรรจุ ร ายชื่ อ อยู่ใ น “บัญ ชี ร ายชื่ อ พื น้ ที่ ชุ่ ม นํ า้ ที่ มี ความสําคัญระดับนานาชาติ” (List of Wetlands of International Importance) และจะต้ องดูแลรักษาพื ้นที่ช่มุ นํ ้านัน้ ให้ ดํารงคุณสมบัติทางนิเวศวิทยาไว้ เป็ นอย่างดี การกําหนดให้ พื ้นที่ชุ่มนํา้ ใดๆ ถูกบรรจุรายชื่ออยู่ใน “บัญชีรายชื่อ พื น้ ที่ ชุ่มนํ า้ ที่ มี ค วามสํ า คัญ ระดับ นานาชาติ” นัน้ จะต้ อ งอยู่บ นพื น้ ฐานของความสํ า คัญ ระดับ นานาชาติ ใ นเรื่ อ ง นิเวศวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา ชลธีวิทยา และอุทกวิทยา ทัง้ นี ้ สรุ ป สาระสํ า คัญ ของ “บรรทัด ฐานในการกํ า หนดพื น้ ที่ ชุ่ม นํ า้ ที่ มี ค วามสํ า คัญ ระดับ นานาชาติ ” (criteria for Identifying Wetlands of International Importnace) ได้ ดงั นี ้ (1) บรรทัด ฐานสํ า หรั บ การเป็ นตัว แทนหรื อ เป็ นพื น้ ที่ ชุ่ม นํ า้ ที่ มี ลัก ษณะพิ เ ศษ (Criteria for Representative of Unique Wetlands) ุ สมบัติเป็ นตัวแทนของพื ้นที่ช่มุ นํ ้าที่เป็ นธรรมชาติ (Natural Wetland) หรื อพื ้นที่ช่มุ นํ ้าที่ (1.1) มีคณ อยู่ใกล้ พื ้นที่ช่มุ นํ ้าที่เป็ นธรรมชาติ (Near-Natural Wetland) โดยที่คณ ุ สมบัตินนอาจจะเป็ ั้ นคุณสมบัติโดยเฉพาะของ พื ้นที่ช่มุ นํ ้านัน้ หรื อเหมือนกับพื ้นที่ช่มุ นํ ้าอื่นๆ ก็ได้ ในอาณาบริเวณนัน้ หรื อ (1.2) เป็ นตัวแทนของพื ้นที่ช่มุ นํ ้าซึง่ มีบทบาทสําคัญในการเป็ นตัวทําหน้ าที่ตามธรรมชาติของพื ้นที่ ลุม่ แม่นํ ้าใหญ่ๆ หรื อระบบชายฝั่ งทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณพื ้นที่ชายแดน หรื อ (1.3) มีลกั ษณะที่หายากหรื อไม่เหมือนกับพื ้นที่ชุ่มนํา้ ใดๆ ในอาณาบริ เวณนัน้ (A Rare or Unusual Type of Wetland) (2) บรรทัดฐานทัว่ ๆ ไปที่กําหนดจากพืชหรื อสัตว์ (General Criteria Based on Plants or Animals)

388

ชุมเจตน์ กาญจนเกษร, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 373, หน้ า 48-52.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


288

(2.1) เป็ นพื น้ ที่ ส นับ สนุน การดํ า รงอยู่ข องชนิ ด พัน ธุ์พื ช หรื อ ชนิ ด พัน ธุ์ สัต ว์ ที่ เป็ นชนิ ดที่ ห ายาก อ่อนแอ หรื อใกล้ จะสูญพันธุ์ หรื อ (2.2) เป็ นพื ้นที่มีคณ ุ ค่าพิเศษในการดํารงรักษาพันธุกรรมและความหลากหลายทางนิเวศวิทยา ของพืชและสัตว์ในอาณาบริเวณนัน้ หรื อ (2.3) เป็ นพื ้นที่ที่มีคุณค่าพิเศษในฐานะที่เป็ นถิ่นที่อยู่อาศัย (Habitat) ของพืชหรื อสัตว์ ในช่วง วิกฤตของวงจรชีวิตพืชหรื อสัตว์เหล่านัน้ (At a Critical Stage of Their Biological Cycle) หรื อ (2.4) เป็ นพืน้ ที่ที่มีคุณค่าพิเศษ เนื่ องจากมีชนิดของสัตว์หรื อชนิดของพืชที่ปรากฏอยู่เฉพาะใน พื ้นที่นนเท่ ั ้ านัน้ (Endemic Species or Communities) (3) บรรทัดฐานเฉพาะที่กําหนดจากนกนํ ้า (Specific Criteria Based on Water-Fowl) (3.1) เป็ นพื ้นที่ที่มีนกนํ ้าอาศัยอยูจ่ ํานวนไม่น้อยกว่า 20,000 ตัว หรื อ (3.2) เป็ นพื ้นที่ที่มีนกนํ ้า เฉพาะชนิดใดชนิดหนึ่งอาศัยอยู่เป็ นจํานวนมากพอสมควร (Substantial Numbers) หรื อ (3.3) เป็ นพื ้นที่ที่มีนกนํา้ จํานวน 1% ของประชากรนกนํา้ ชนิดใดชนิดหนึ่งอาศัยอยู่ (ในกรณี ที่มี ข้ อมูลประชากรนกนํ ้าอย่างถูกต้ อง) 12.2) การใช้ ประโยชน์ในพื ้นที่ช่มุ นํ ้าอย่างชาญฉลาด ั ญาฯ ได้ กําหนดให้ ภาคีสมาชิกพิจารณาดําเนินการให้ มีการนําเรื่ องการอนุรักษ์ พื ้นที่ มาตรา 3 ของอนุสญ ชุ่มนํ ้าบรรจุไว้ ในแผนการใช้ ที่ดินแห่งชาติ โดยที่การวางแผนและการปฏิบตั ิการนันจะต้ ้ องเป็ นไปเพื่อการส่งเสริ มและ สนับสนุนให้ มีการใช้ ประโยชน์อย่างชาญฉลาดต่อพื ้นที่ช่มุ นํ ้าภายในอาณาเขตประเทศตนให้ มากที่สดุ เท่าที่จะทําได้ 12.3) การอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้าและการฝึ กอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้า (1) การอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้า มาตรา 4.1 ของอนุสญ ั ญาฯ ได้ กําหนดไว้ ว่า ภาคีจักต้ องสนับสนุนการอนุรักษ์ พื ้นที่ชุ่มนํา้ และนกนํ า้ โดยการจัดตังพื ้ ้นที่สงวนของพื ้นที่ช่มุ นํ ้า ไม่ว่าพื ้นที่ช่มุ นํ ้าเหล่านันจะถู ้ กบรรจุรายชื่ออยู่ในบัญชีหรื อไม่ก็ตาม และจัก ต้ องมีมาตรการคุ้มครองพื ้นที่ช่มุ นํ ้าเหล่านี ้ด้ วย (2) การฝึ กอบรม มาตรา 4.5 ของอนุสญ ั ญาฯ ได้ กําหนดไว้ ว่า ภาคีจักต้ องส่งเสริ มสนับสนุนการฝึ กอบรมบุคลากรที่มี หน้ าที่รับผิดชอบในเรื่ องพื ้นที่ช่มุ นํ ้าให้ มีความรู้ความชํานาญของเรื่ องการศึกษาวิจยั พื ้นที่ช่มุ นํ ้า การจัดการพื ้นที่ช่มุ นํ ้า และการพิทกั ษ์ ค้ มุ ครองพื ้นที่ช่มุ นํ ้า 12.4) การให้ ความร่วมมือระหว่างประเทศในการดําเนินการอนุรักษ์ และจัดการพื ้นที่ช่มุ นํ ้า อนุสญ ั ญาฯ มีบทบาทที่สําคัญในการช่วยให้ ภาคีให้ ความร่วมมือในเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับพื ้นที่ช่มุ นํ ้า จัดให้ มี การแลกเปลี่ยนข้ อคิดเห็นในปั ญหาของพื ้นที่ช่มุ นํ ้าในระดับนานาชาติ รวมทังเอื ้ ้ออํานวยการให้ ข้อมูลข่าวสารเรื่ องพื ้นที่ ชุ่มนํ ้าระหว่างภาคี ซึ่งมาตรา 5 ของอนุสญ ั ญาฯ ยังได้ เรี ยกร้ องให้ ภาคีจกั ต้ องปรึกษาหารื อกับภาคีอื่นในกรณีที่มีการใช้ พื ้นที่ช่มุ นํ ้าหรื อระบบนํ ้าร่ วมกัน และได้ กําหนดต่อไปอีกว่า ภาคีจกั ต้ องพยายามผสมผสานนโยบายทังในปั ้ จจุบนั และ ้ ตว์และพืชที่อาศัยอยูด่ ้ วย389 อนาคตกับกฎระเบียบต่างๆ ในการอนุรักษ์ พื ้นที่ช่มุ นํ ้า รวมทังสั

389

ชุมเจตน์ กาญจนเกษร, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 376, หน้ า 60-72.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


289

นอกจากนี ้ อนุสญ ั ญาฯ ยังมีกลไกสนับสนุนการดําเนินงานแก่ประเทศภาคีโดยผ่านกองทุนขนาดเล็ก (RAMSAR Small Grants Fund for Wetland Conservation and Wise Use) ซึ่งตังขึ ้ ้นเพื่อให้ การสนับสนุนแก่ โครงการที่ ส่ง เสริ ม การอนุรั กษ์ แ ละการใช้ ป ระโยชน์ ใ นพื น้ ที่ ชุ่มนํ า้ อย่า งฉลาด 390 โดยกองทุน ดัง กล่า วอาศัย การ สนับสนุนทางการเงินจากการบริ จาคของประเทศภาคีที่สมัครใจบริ จาคเป็ นจํานวนเงินตามสัดส่วนซึ่งรับรองเป็ นเอก ฉันท์โดยภาคีซงึ่ เข้ าร่วมประชุมและออกเสียงในการประชุมสมัชชาภาคีสมัยสามัญ391 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยลงนามในอนุสญ ั ญาฯ เมื่อปี พ.ศ. 2540 และให้ สตั ยาบันเข้ าเป็ น ภาคีเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 13) อนุสญ ั ญาว่าด้วยการคุม้ ครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ของโลก (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage หรื อ The World Heritage) อนุสญ ั ญาฉบับนี ้ได้ รับการลงนามรับรองเมื่อปี ค.ศ. 1972 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้ างความร่วมมือในหมู่ ภาคีในการกําหนดมาตรการที่เหมาะสมทังด้ ้ านนโยบาย การบริการเทคนิคและการเงิน เพื่อสงวน รักษา คุ้มครอง และ ส่งเสริ มมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มีความสําคัญต่อมวลมนุษยชาติให้ คงอยู่ต่อไป และต่อมาในปี ค.ศ. 1976 องค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้ จดั ตังคณะกรรมการขึ ้ ้นมาเพื่อทําหน้ าที่ดแู ลแหล่งวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มี ความสําคัญระดับโลก โดยมีชื่อว่า “คณะกรรมการมรดกโลก” (The World Heritage Committee) พร้ อมทังจั ้ ดตัง้ “กองทุนมรดกโลก” ขึ ้นเพื่อเป็ นแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนการอนุรักษ์ แหล่งวัฒนธรรมและแหล่งธรรมชาติที่ได้ รับ การขึ ้นทะเบียนเป็ นมรดกโลกแล้ ว ซึง่ คณะกรรมการดังกล่าวจะมีหน้ าที่พิจารณามรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่ เสนอมาจากภาคีให้ เข้ าอยู่ในความคุ้มครองภายใต้ อนุสญ ั ญานี ้ โดยแบ่งการขึ ้นบัญชีหรื อขึ ้นทะเบียนเป็ น 2 ประเภท คือ บัญ ชี มรดกโลก และบัญ ชี มรดกโลกที่อ ยู่ในภาวะอันตราย นอกจากนัน้ คณะกรรมการมรดกโลกยัง มีห น้ า ที่ ั ้ ใ่ นประเทศนันๆ ้ ด้ วย พิจารณาให้ ความช่วยเหลือแก่ประเทศภาคีในการพิทกั ษ์ รักษาแหล่งมรดกโลกที่ตงอยู ทังนี ้ ้ ตามอนุสญ ั ญาได้ ให้ ความหมายของมรดกโลกไว้ เป็ นสองประเภท ได้ แก่ 13.1) มรดกทางวัฒนธรรม หมายถึง สถานที่ซึ่งเป็ นโบราณสถาน ไม่ว่าจะเป็ นงานด้ านสถาปั ตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรื อแหล่งโบราณคดีทางธรรมชาติ เช่น ถํ ้าหรื อกลุ่มสถานที่ก่อสร้ างที่แยกหรื อเชื่อมต่อกัน อันมีความเป็ นเอกลักษณ์ หรื อแหล่งสถานที่สําคัญอันอาจเป็ นผลงานฝี มือมนุษย์หรื อเป็ นผลงานร่ วมกันระหว่าง ธรรมชาติกับมนุษย์ รวมทังพื ้ ้นที่ที่เป็ นแหล่งโบราณคดี ซึ่งสถานที่เหล่านี ม้ ีคุณค่าลํ ้าเลิศทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ มานุษยวิทยา หรื อวิทยาศาสตร์ 13.2) มรดกทางธรรมชาติ หมายถึง สภาพธรรมชาติที่มีลกั ษณะทางกายภาพและชีวภาพอันมีคุณค่า เด่นชัดในด้ านความงามลํ ้าเลิศ หรื อวิทยาศาสตร์ หรื อสถานที่ซึ่งมีสภาพทางธรณีวิทยาและภูมิประเทศที่ได้ รับการ วิเคราะห์แล้ วว่า เป็ นถิ่นที่อยู่อาศัยของพันธุ์พืชและสัตว์ ซึ่งถูกคุกคามหรื อเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ของพืชหรื อสัตว์ที่หา ยาก เป็ นต้ น สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาฯ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2530

390

อิศว์ เนติธรรมกุล. 2549. “พันธกรณีของประเทศไทยภายใต้ อนุ สัญญาว่ าด้ วยพืน้ ที่ช่ ุมนํา้ ที่มีความสําคัญระหว่ างประเทศ โดยเฉพาะเป็ นแหล่ งที่อยู่อาศัยของนกนํา้ ”. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . หน้ า 99. 391 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 390, หน้ า 46.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


290

14) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล พ.ศ. ๒๕๑๗ (International Convention for the Safety of Life at Sea, 1974 หรื อ SOLAS) SOLAS เป็ นอนุสญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อกําหนดมาตรฐานขันตํ ้ ่าสําหรับการต่อเรื อ ตลอดจนอุปกรณ์และ การปฏิบตั ิการของเรื อซึง่ จะต้ องกระทําไปพร้ อมกับความปลอดภัย รัฐเจ้ าของธงเป็ นผู้ที่จะต้ องรับผิดชอบในการทําให้ เรื อของตนปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดของอนุสญ ั ญา โดยอนุสญ ั ญาได้ กําหนดให้ มีการออกใบรับรอง เพื่อที่จะเป็ นหลักฐาน ว่าเรื อแต่ละลําได้ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่วางไว้ ซึง่ บทบัญญัติทวั่ ไปของอนุสญ ั ญาจะอยู่ในหมวดที่ 1 ซึ่งบทบัญญัติที่ สําคัญที่สดุ ของหมวดที่ 1 เป็ นเรื่ องของการตรวจเรื อประเภทต่างๆ การออกเอกสารรับรองว่าเรื อแต่ละลําได้ ปฏิบตั ิตาม ข้ อกําหนดของอนุสญ ั ญา ทังนี ้ ้ ในหมวดนี ้ได้ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมเรื อในท่าเรื อของรัฐภาคี (Port State ้ ปกรณ์ Control) โดยอนุญาตให้ รัฐภาคีตรวจสอบเรื อที่ชกั ธงของรัฐภาคีอื่นได้ ถ้ ามีเหตุชดั แจ้ งที่เชื่อได้ ว่าเรื อนันและอุ ของเรื อนันไม่ ้ เป็ นไปตามมาตรฐานในอนุสญ ั ญา392 ทังนี ้ ้ ตามอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974 ซึ่งแก้ ไขเพิ่มเติม โดยพิธีสาร ค.ศ. 1978 ได้ กําหนดหลักการทั่วไปในการตรวจสอบและการตรวจเรื อไว้ ในกฎข้ อบังคับที่ 6 ว่า การ ตรวจสอบและการตรวจเรื อตามบทบัญญัติแห่งกฎข้ อบังคับนี ้ ต้ องกระทําโดยเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ อย่างไรก็ตาม รัฐอาจ มอบหมายการตรวจสอบและการตรวจเรื อแก่นายช่างตรวจเรื อที่ได้ รับการแต่งตังตามวั ้ ตถุประสงค์หรื ออาจมอบหมาย ให้ องค์การที่ได้ รับการยอมรับได้ ทังนี ้ ้ ต้ องทําการตรวจเรื อโดยไม่กําหนดเวลาแน่นอนซึง่ ต้ องดําเนินการระหว่างเวลา ที่ใบสําคัญรับรองยังไม่หมดอายุ การตรวจสอบเช่นว่านัน้ เพื่อทําให้ แน่ใจว่าเรื อและอุปกรณ์อื่นๆ อยู่ในสภาพใช้ การได้ เป็ นที่น่าพอใจสําหรับการใช้ งานตามวัตถุประสงค์ของเรื อนัน้ ในการตรวจสอบนี ้อาจดําเนินการโดยการตรวจสอบของ ทางการเองหรื อนายช่างตรวจเรื อที่ได้ รับการแต่งตังหรื ้ อองค์การที่ได้ รับการรับรองหรื อโดยรัฐภาคีอื่นตามคําร้ องขอ ของทางการ เว้ นแต่ในกรณีที่บทบัญญัตินี ้กําหนดให้ มีการตรวจเรื อประจําปี ก็ไม่ต้องมีการตรวจเรื อที่ไม่กําหนดเวลา แน่นอนดังกล่าว กฎข้ อบังคับที่ 11 กําหนดหน้ าที่เกี่ยวกับการบํารุ งรักษาสภาพภายหลังการตรวจเรื อไว้ ว่า สภาพของตัว ั ญาฯ เพื่อให้ แน่ใจว่าเรื อยังคงมี เรื อและอุปกรณ์ ต้องได้ รับการบํารุ งรักษาเพื่อให้ เป็ นไปตามบทบัญญัติของอนุสญ ความเหมาะสมสําหรับการเดินทางออกสู่ทะเลโดยปราศจากอันตรายแก่เรื อและคนบนเรื อ และหลังจากตรวจเรื อ ภายใต้ กฎข้ อบังคับของอนุสญ ั ญาฯ แล้ วห้ ามมิให้ มีการเปลี่ยนแปลง การจัดการโครงสร้ าง เครื่ องจักร อุปกรณ์ และ รายการอื่นๆ ที่อยูภ่ ายใต้ การตรวจเรื อนันโดยปราศจากความเห็ ้ นชอบของทางการ นอกจากนี ้ กฎข้ อบังคับที่ 14 ได้ กําหนดช่วงเวลาและอายุของใบสําคัญรับรอง โดยกําหนดให้ ใบสําคัญ รับรองนอกเหนือจากใบสําคัญรับรองตัวเรื อเพื่อความปลอดภัยของสินค้ า ใบสําคัญรับรองอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย ของเรื อสินค้ า และใบสําคัญรับรองการยกเว้ นใดๆ ต้ องมีอายุไม่เกิน 12 เดือน ใบสําคัญรับรองตัวเรื อเพื่อความปลอดภัย ของเรื อสินค้ า ต้ องมีอายุไม่เกิน 5 ปี ใบสําคัญรับรองอุปกรณ์ เพื่อความปลอดภัยของเรื อสินค้ า ต้ องมีอายุไม่เกิน 24 เดื อ น ใบสํา คัญ รั บ รองการยกเว้ น ต้ อ งมี อ ายุไ ม่เ กิ น กว่า อายุข องใบสํา คัญ รั บ รองการยกเว้ น นัน้ อ้ า งถึง โดยมี ก ฎ ข้ อบังคับที่ 19 กําหนดวิธีการควบคุมไว้ กรณีที่เรื ออยู่ในเมืองท่าของรัฐภาคีอื่น ให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ ไู ด้ รับมอบอํานาจจาก

392

ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380, หน้ า 13.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


291

รัฐบาลของรัฐนันดํ ้ าเนินการตรวจสอบว่าใบสําคัญรับรองซึง่ ออกไว้ ภายใต้ กฎข้ อบังคับของอนุสญ ั ญาฯ ถูกต้ องและยัง 393 ใช้ ได้ สถานะของประเทศไทย: ประเทศไทยได้ เข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาฯ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2527 และอนุสญ ั ญาฯ มีผลใช้ บงั คับกับประเทศไทยแล้ วเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2528 15) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการค้นหาและช่วยเหลื อผูป้ ระสบภัยทางทะเล ค.ศ. 1979 (International Convention on Maritime Search and Rescue, 1979 หรื อ SAR) ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่ออํานวยความสะดวกในการร่วมปฏิบตั ิการระหว่างรัฐบาลประเทศ SAR เป็ นอนุสญ ต่างๆ และระหว่างผู้มีส่วนร่ วมของรัฐบาลต่างๆ ในการปฏิบตั ิการค้ นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเลในทะเล โดยการจัดตังแผน ้ SAR ระหว่างประเทศ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความปลอดภัย ซึง่ การร่ วมมือตามอนุสญ ั ญานี ้ได้ รับการผลักดันจากอนุสญ แห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974 (SOLAS) โดยให้ ประเทศภาคีของ SOLAS มีหน้ าที่ดําเนินการให้ เกิดความมัน่ ใจได้ ว่ามี การจัดการเท่าที่จําเป็ นในการเฝ้าระวังชายฝั่ ง และการช่วยเหลือกู้ภัยคนที่กําลังประสบภัยพิบัติตามชายฝั่ ง การ จัดการเหล่านี ้รวมถึงการจัดตัง้ การปฏิบตั ิการและการบํารุ งรักษาสิ่งอํานวยความสะดวกในด้ านความปลอดภัยทาง ทะเลซึง่ ถือว่าเป็ นสิง่ ที่จําเป็ นและพึงปฏิบตั ิ อนุสัญญาฯ ยังได้ กํา หนดมาตรการเตรี ยมการที่พึง กระทํา ซึ่งรวมถึงการจัดตัง้ ศูนย์ ประสานงานการ ั ญายังได้ กําหนดขันตอน ้ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยและหน่วยย่อยต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ การดูแลของศูนย์ นอกจากนี ้ อนุสญ การปฏิบตั ิการซึง่ ต้ องทําในกรณีฉกุ เฉิน หรื อมีเหตุเตือนภัย หรื อในขณะปฏิบตั ิการช่วยเหลือ ซึง่ รวมถึงการกําหนดให้ มี on-scene commander และหน้ าที่ของบุคคลดังกล่าว394 สถานะของประเทศไทย: ประเทศไทยยังไม่ได้ เข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาดังกล่าว 16) อนุสญ ั ญาเพือ่ การปราบปรามการกระทําอันมิ ชอบต่อความปลอดภัยในการเดิ นเรื อ ค.ศ. 1988 (Convention for the Suppression of Unlawful Acts Against the Safety of Maritime Navigations, 1988 หรื อ SUA) SUA เป็ นอนุสญ ั ญาที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อทําให้ มนั่ ใจได้ ว่ามีการใช้ มาตรการที่เหมาะสมต่อบุคคลที่กระทํา การอันมิชอบด้ วยกฎหมายแก่เรื อ ซึง่ รวมถึงกรณีดงั ต่อไปนี ้ 16.1) การยึดเรื อโดยใช้ กําลังประทุษร้ าย 16.2) การกระทําที่รุนแรงต่อบุคคลที่อยูบ่ นเรื อ และ 16.3) การจัดวางหรื อติดตังอุ ้ ปกรณ์บนเรื อ ซึง่ มีความเป็ นไปได้ ที่จะทําลายหรื อทําให้ เรื อเกิดความเสียหาย อนุสญ ั ญาฉบับนี ้จะบังคับให้ รัฐภาคีกระทําการฟ้องคดีเพื่อลงโทษบุคคลที่กระทําการอันมิชอบ หรื อส่งตัว ให้ ประเทศที่ได้ รับความเสียหายเป็ นผู้ดําเนินคดี395 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยยังไม่ได้ เข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาดังกล่าว 393

กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี. 2550. พิธีสาร ค.ศ. 1978 เกี่ยวกับอนุ สัญญาระหว่ างประเทศว่ าด้ วยความ ปลอดภัยแห่ งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974. แปลโดย กองตรวจเรื อ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี, กรุงเทพฯ. หน้ า 1-34. 394 ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380, หน้ า 17. 395 ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380, หน้ า 30-31.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


292

17) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการกักเรื อ ค.ศ. 1999 (International Convention on Arrest of Ships, 1999) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยการกักเรื อ ค.ศ. 1999 เป็ นการแก้ ไขปรับปรุงมาจากอนุสญ ั ญาระหว่าง ประเทศว่าด้ วยการกักเรื อ ค.ศ. 1952 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการกักเรื อของแต่ละ ั ญาฉบับนี ไ้ ด้ กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการกักเรื อไว้ ประเทศให้ เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน โดยอนุสญ หลายประเด็น เช่น การกําหนดนิยามต่างๆ โดยเฉพาะนิยามสิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับเรื อที่จะสามารถร้ องขอให้ กกั เรื อได้ นิยามของการกักเรื อ ข้ อกําหนดเกี่ยวกับอํานาจในการกักเรื อ ข้ อกําหนดเกี่ยวกับเรื อที่สามารถกักได้ ข้ อกําหนดในการ ปล่อยเรื อที่ถกู กัก ข้ อกําหนดในการกักเรื อซํ ้าและการกักเรื อหลายลํา ข้ อกําหนดในการคุ้มครองเจ้ าของเรื อและผู้เช่า เรื อ ข้ อกําหนดเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลในการพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับสิทธิเรี ยกร้ อง ั ญาฯ มีผลใช้ บงั คับกับเรื อที่อยู่ภายใต้ อํานาจศาลของประเทศภาคี ไม่ว่าเรื อนันจะชั ้ กธงประเทศ อนุสญ ภาคี ห รื อ ไม่ ก็ ต าม แต่ อ นุสัญ ญาฯ จะไม่ ใ ช้ บัง คับ กับ เรื อ รบ เรื อ ช่ ว ยรบ หรื อ เรื อ อื่ น ซึ่ ง รั ฐ เป็ นเจ้ า ของหรื อ เป็ น ั ญาฯ จะไม่ ผู้ดําเนินการและอยูใ่ นระหว่างการปฏิบตั ิการสาธารณะซึง่ ไม่มีวตั ถุประสงค์ทางพาณิชย์ นอกจากนี ้ อนุสญ กระทบสิทธิหรื ออํานาจขององค์กรของรัฐซึง่ เกิดขึ ้นจากอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศหรื อกฎหมายภายในที่จะดําเนินการ หน่วงเหนี่ยวหรื อป้องกันมิให้ เรื อเดินทางออกจากเขตอํานาจศาลของตน อนุสญ ั ญาฯ ได้ กําหนดไว้ อย่างชัดเจนว่า เรื ออาจถูกกักเพื่อให้ ได้ มาซึง่ หลักประกันแห่งสิทธิเรี ยกร้ อง โดย ไม่คํานึงว่าสิทธิเรี ยกร้ องที่เป็ นเหตุให้ กกั เรื อนันจะต้ ้ องรับการพิจารณาในศาลของรัฐอื่นซึง่ ไม่ใช่ศาลของรัฐที่มีคําสัง่ กัก เรื อ หรื อต้ องได้ รับการชี ้ขาดจากอนุญาโตตุลาการ หรื อต้ องวินิจฉัยตามบทกฎหมายของรัฐอื่นตามที่ได้ ตกลงกันไว้ ตามข้ อตกลงเกี่ยวกับศาลที่มีเขตอํานาจ (Jurisdiction Clause) หรื อข้ อสัญญาอนุญาโตตุลาการ (Arbitration Clause) ในสัญญาที่เกี่ยวข้ อง หรื อด้ วยเหตุผลอื่น ทังนี ้ ้ อนุสญ ั ญาฯ ใช้ หลักความรับผิดส่วนบุคคลเป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าจะกักเรื อลําหนึ่งลําใดได้ หรื อไม่ หลักดังกล่าวมีผลทําให้ หลักการของอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยการกักเรื อ ค.ศ. 1952 ที่กําหนดให้ สิทธิ ในการกักเรื อซึง่ เป็ นต้ นเหตุของสิทธิเรี ยกร้ องได้ ในทุกกรณีต้องเปลี่ยนไป กล่าวคือ เรื อซึง่ เป็ นต้ นเหตุของสิทธิเรี ยกร้ อง จะกักได้ ตอ่ เมื่อ 17.1) บุคคลซึ่งเป็ นเจ้ าของเรื อนันในเวลาที ้ ่เกิดสิทธิเรี ยกร้ องเป็ นบุคคลซึ่งต้ องรับผิดในสิทธิเรี ยกร้ องและ เป็ นเจ้ าของเรื อนันในขณะที ้ ่ทําการกักเรื อ หรื อ 17.2) ผู้เช่าเรื อ (Demise Charterer) ในเวลาที่เกิดสิทธิเรี ยกร้ องเป็ นบุคคลซึง่ ต้ องรับผิดในสิทธิเรี ยกร้ อง และเป็ นเจ้ าของเรื อหรื อผู้เช่าเรื อนันในขณะที ้ ่ทําการกักเรื อ หรื อ 17.3) สิทธิเรี ยกร้ องนันตั ้ งอยู ้ บ่ นพื ้นฐานของการจํานองเรื อหรื อภาระเหนือเรื อในลักษณะเดียวกัน หรื อ 17.4) สิทธิเรี ยกร้ องนันเกี ้ ่ยวข้ องกับกรรมสิทธิ์หรื อสิทธิครอบครองเรื อ หรื อ 17.5) เป็ นสิทธิ เรี ยกร้ องที่ มีต่อเจ้ าของเรื อ ผู้เช่าเรื อ ผู้จัดการ หรื อ ผู้ดํา เนิ นการเกี่ ยวกับเรื อ และสิท ธิ เรี ยกร้ องนันเป็ ้ นบุริมสิทธิทางทะเลซึง่ เป็ นที่ยอมรับหรื อเกิดขึ ้นตามกฎหมายของประเทศที่มีการกักเรื อ หลักความรับผิดส่วนบุคคลยังมีผลต่อการกักเรื ออื่นซึ่งมีเจ้ าของเดียวกันกับเรื อที่เป็ นต้ นเหตุของสิทธิ ้ ถ้ าปรากฏว่าในขณะที่ทําการกักเรื อ เรื อนันเป็ ้ นของบุคคลซึ่งต้ องรับผิดใน เรี ยกร้ อง เจ้ าหนี ้สามารถกักเรื ออื่นนันได้ สิทธิเรี ยกร้ อง และบุคคลนันเป็ ้ น - เจ้ าของเรื อที่เป็ นต้ นเหตุของสิทธิเรี ยกร้ อง หรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


293

- เป็ นผู้เช่าหรื อผู้รับจ้ างเหมาเรื อที่เป็ นต้ นเหตุของสิทธิเรี ยกร้ องในขณะที่เกิดสิทธิเรี ยกร้ อง ไม่ว่า การจ้ างเหมานันจะเป็ ้ นแบบรายเที่ยวหรื อแบบตามระยะเวลา อย่างไรก็ตาม การกักเรื ออื่นเพื่อเป็ นการประกันสิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์หรื อสิทธิครอบครองเรื อ จะกระทําไม่ได้ นอกจากนี ้ อนุสญ ั ญาฯ ยังได้ ยืนยันความศักดิ์สิทธิของหลักความรับผิดส่วนบุคคล โดยกําหนดว่าการกัก เรื อที่ไม่ได้ เป็ นของบุคคลซึง่ ต้ องรับผิดในสิทธิเรี ยกร้ องจะกระทําได้ เฉพาะเมื่อกฎหมายของประเทศที่ขอกักเรื อยินยอม ให้ คําพิพากษาสําหรับสิทธิเรี ยกร้ องนันสามารถบั ้ งคับเอาแก่เรื อนันได้ ้ โดยการขายเรื อตามคําสัง่ ศาลหรื อการบังคับ 396 ขายเรื อนัน้ 18) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้ องกันมลพิษจากเรื อ ค.ศ.1973 และพิธีสาร ค.ศ. 1978 (International Convention for the Prevention of Pollution from Ships, 1973 as modified by the Protocol of 1978 relating thereto – MARPOL) อนุสญ ั ญาฉบับนี เ้ ป็ นอนุสญ ั ญารวม 2 ฉบับ ซึ่งได้ รับการยอมรั บในปี ค.ศ. 1973 และในปี ค.ศ. 1978 ตามลําดับ แม้ วา่ ปั จจุบนั จะถือว่าเป็ นฉบับเดียว ซึง่ สาระสําคัญของแต่ละฉบับมีดงั นี ้ 18.1) อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยการป้องกันมลพิษจากเรื อ ค.ศ. 1973 อนุสญ ั ญาฉบับนี ้มีขึ ้นเพื่อเป็ นมาตรการสนับสนุนการป้องกันมลภาวะจากเรื อ เนื่องจากพัฒนาการของ อุตสาหกรรมสมัยใหม่ โดยอนุสญ ั ญาจะครอบคลุมในเรื่ องเทคนิคของมลภาวะจากเรื อและใช้ บงั คับกับเรื อทุกประเภท ยกเว้ นการทิ ้งของเสียลงทะเลและยกเว้ นกรณีมลพิษที่เกิดขึ ้นจากการสํารวจและการค้ นหาทรัพยากรแร่ธาตุในทะเล ทังนี ้ ้ อนุสญ ั ญานี ้จะมีพิธีสารแนบท้ าย 2 ฉบับ ซึง่ กําหนดเกี่ยวกับการรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นเกี่ยวข้ อง กับสารอันตราย และเกี่ยวกับการอนุญาโตตุลาการ และมีภาคผนวกอีก 5 ฉบับ ซึ่งมีข้อกําหนดในการป้องกันมลพิษ ในรู ปแบบต่างๆ ได้ แก่ มลพิษจากนํ า้ มัน มลพิษจากของเหลวที่มีพิษซึ่งบรรทุกในลักษณะเทกอง มลพิษจากวัตถุ อันตรายที่บรรทุกในลักษณะเป็ นหีบห่อ ถัง ตู้คอนเทนเนอร์ หรื อใส่ถงั บรรทุกทางรถหรื อทางรถไฟ มลพิษจากนํ ้าเสีย จากเรื อ และมลพิษจากขยะจากเรื อ 18.2) พิธีสาร ค.ศ. 1978 พิธีสารนี ้จัดทําขึ ้นเพื่อแก้ ไขภาคผนวก 1 ของอนุสญ ั ญาฯ ค.ศ. 1973 โดยกําหนดให้ เรื อบรรทุกนํ ้ามันที่ต่อ ั ญาฯ ใหม่ ซึง่ มีขนาดตังแต่ ้ 20,000 เดทเวทตัน (dwt) ขึ ้นไปจะต้ องมี Segregated Ballast Tanks (SBT) (ในอนุสญ ค.ศ. 1973 กําหนดให้ ใช้ เฉพาะกับเรื อขนาด 70,000 dwt ขึ ้นไป) และพิธีสารยังได้ กําหนดให้ SBT อยู่ในตําแหน่งที่จะ ได้ รับการคุ้มครองป้องกันอย่างดีในเรื อ กล่าวคือ อยูใ่ นตําแหน่งที่ปลอดภัยแม้ วา่ จะเกิดกรณีเรื อโดนกันหรื อการเกยตื ้น ประเด็นสําคัญอีกอย่างหนึ่งของพิธีสารนี ้ คือ การกําหนดเกี่ยวกับ Crude Oil Washing (COW) ซึง่ ได้ พฒ ั นาขึ ้นโดย ้ ผู้ผลิตนํ ้ามัน โดยในหลักการของ COW นี ้ การล้ างถังนํ ้ามันจะต้ องไม่ใช้ นํ ้า แต่ใช้ นํ ้ามันดิบซึง่ เป็ นสินค้ าบนเรื อนันเอง ซึง่ ได้ มีการยอมรับให้ COW เป็ นทางเลือกอื่นนอกจาก SBT

396

จุฬา สุขมานพ. 2542. “อนุ สัญญาการกักเรื อ 1999”. วารสารกฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้ าระหว่างประเทศ (2542).

หน้ า 140-151.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


294

ทังนี ้ ้ เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปว่าประสิทธิภาพของอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศขึ ้นอยู่กบั ระดับของการปฏิบตั ิ ตามและมาตรฐานการบัง คับ ใช้ ข องประเทศภาคี ด้ ว ยเหตุนี ้ พิธี สารฉบับนี จ้ ึง ได้ กําหนดมาตรการควบคุม อย่า ง เคร่งครัดโดยผ่านการตรวจเรื อและการออกใบรับรอง397 สถานะของประเทศไทย : ประเทศไทยลงนามในอนุสญ ั ญาฯ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 แต่ยงั ไม่ได้ ให้ สตั ยาบันเข้ าเป็ นภาคี 19) อนุสญ ั ญาว่าด้วยการป้ องกันมลพิษทางทะเลเนือ่ งจากการทิ้ งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื น่ ค.ศ. 1972 (Convention on the Prevention of Marine Pollution by Dumping of Wastes and Other Matters, 1972 หรื อ LDC) อนุสญ ั ญาฉบับนี ้ได้ มีการรู้ จกั กันโดยทัว่ ไปว่า อนุสญ ั ญาลอนดอน (London Convention หรื อ LDC) เนื่ อ งจากจัด ทํ า ขึ น้ ณ กรุ ง ลอนดอน ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน ค.ศ. 1972 ซึ่ง มี ลัก ษณะใช้ บัง คับ ทั่ว โลกและใช้ เ ป็ น ส่วนประกอบของการควบคุมและป้องกันมลพิษทางทะเลระหว่างประเทศ และมีหลักการในการกําหนดห้ ามการทิ ้ง วัตถุอนั ตรายบางประเภท และกําหนดให้ มีการขอรับอนุญาตล่วงหน้ าเป็ นพิเศษสําหรับการทิ ้งสารบางประเภท398 LDC เป็ นอนุสญ ั ญาที่กําหนดหลักเกณฑ์ ข้ อบังคับ และมาตรฐานที่ใช้ ในการป้องกัน และควบคุมภาวะ มลพิษทางทะเลจากการทิ ้งเทของเสียและสสารอื่นลงสู่ทะเล โดยกําหนดให้ การห้ ามทิ ้งเทของเสียเป็ นบททัว่ ไป ส่วน ั ญาฯ ได้ กําหนดห้ ามมิให้ ทิ ้งของเสียหรื อสสารชนิดใดลง กรณีที่จะทิ ้งเทของเสียได้ นนเป็ ั ้ นเพียงข้ อยกเว้ น ทังนี ้ ้ อนุสญ ทะเลโดยปราศจากการอนุญาตโดยองค์ กรของรั ฐผู้มีอํานาจ โดยการอนุญ าตให้ ทิง้ เทในรู ปแบบใดนัน้ ขึน้ อยู่กับ ประเภทของเสียหรื อสสารนันตามที ้ ่ได้ กําหนดไว้ ในบัญชีประเภทของเสียในภาคผนวกของอนุสญ ั ญาฯ ซึ่งแบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ บัญชี 1 (Annex I) เป็ นบัญชีที่กําหนดของเสียหรื อสสารที่ห้ามมิให้ ทิ ้งเทโดยเด็ดขาด บัญชี 2 (Annex II) เป็ นบัญชีที่กําหนดของเสียหรื อสสารที่อาจทิ ้งเทได้ แต่จะต้ องได้ รับอนุญาตเป็ นพิเศษก่อน ส่วนบัญชี 3 (Annex III) เป็ นของเสียหรื อสสารทังหมดที ้ ่อยู่นอกเหนือจากบัญชี 1และบัญชี 2 ซึ่งต้ องได้ รับอนุญาตโดยทัว่ ไปก่อนจึงจะทิ ้งเท ได้ 399 LDC ได้ ให้ คําจํากัดความของคําว่า “การทิ ้งเท” หมายความถึง ภาวะมลพิษที่เกิดจากการนําเอาของเสีย หรื อสสารอื่นที่เกิดขึ ้นบนแผ่นดินนํามาบรรทุกบนเรื อ อากาศยาน ฐานขุดเจาะ หรื อสิ่งก่อสร้ างอื่นที่มนุษย์สร้ างขึ ้นใน ทะเลแล้ วนําไปทิ ้งเทลงสู่ทะเลโดยจงใจ การทิ ้งเทอาจทิ ้งโดยตรงจากเรื อที่ออกแบบมาเพื่อการทิ ้งเทโดยเฉพาะหรื อ การนํ า ของเสี ย บรรจุใ ส่ต้ ูค อนเทนเนอร์ แ ล้ ว ทิ ง้ ทัง้ ตู้ค อนเทนเนอร์ นัน้ ลงไปในทะเล หรื อ การเผาของเสี ย ในทะเล นอกจากนี ้ ยังหมายความรวมถึง การทิ ้งเรื อ อากาศยาน ฐานขุดเจาะ หรื อสิ่งก่อสร้ างที่มนุษย์สร้ างขึ ้นและไม่ต้องการ ใช้ งานแล้ วด้ วย400 ส่วนคําว่า “ของเสีย” นันไม่ ้ รวมถึงของเสียที่ได้ จากการสํารวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติบนพื ้นดิน ท้ องทะเล ทังนี ้ ้ บทบัญญัติของอนุสญ ั ญาฯ จะไม่ใช้ บงั คับเมื่อเกิดกรณีจําเป็ นต้ องกระทําเพื่อความปลอดภัยของชีวิต ั ญาฯ ได้ ระบุให้ ประเทศ มนุษย์หรื อความปลอดภัยของเรื อเมื่อเกิดเหตุสดุ วิสยั นอกจากนี ้ ในข้ อกําหนดอื่นของอนุสญ 397

ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380, หน้ า 19-20. อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380. 399 อภิญญา นันทนาวุฒิ. 2543. “ความรั บผิดของรั ฐตามกฎหมายระหว่ างประเทศว่ าด้ วยความเสียหายทางสิ่งแวดล้ อมจาก การทิง้ เทของเสียลงในทะเล”. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . หน้ า 42-43. 400 อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 399, หน้ า 124. 398

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


295

ภาคีจะต้ องกําหนดองค์กรที่ทําหน้ าที่ในการออกใบอนุญาต เก็บสถิติ และมีการตรวจตราสภาพของทะเล ตลอดจน ดําเนินมาตรการอื่นๆ ในการส่งเสริ มความร่ วมมือในการปฏิบตั ิการในระดับภูมิภาค โดยเฉพาะในเรื่ องการตรวจตรา ดูแลและการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ 401 สถานะของประเทศไทย: ประเทศไทยยังไม่ได้ เข้ าเป็ นภาคีของอนุสญ ั ญาดังกล่าว 4.2 สถานการณ์ ในปั จจุบันด้ านกฎหมายของประเทศไทย จากการศึกษากฎหมายภายในไม่ว่าจะในแง่ของการใช้ อํานาจตามกฎหมายของเจ้ าหน้ าที่เพื่อการควบคุม กิ จ กรรมการใช้ ท ะเลหรื อ ในบทบัญ ญัติ ข องกฎหมายโดยพิจารณาประกอบกับ อนุสัญ ญาสหประชาชาติว่า ด้ ว ย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 แล้ วพบว่า การควบคุมกิจกรรมทางทะเลของประเทศไทยยังคงมีความบกพร่ องในด้ าน ต่างๆ ทําให้ การดําเนินกิจกรรทางทะเลของประเทศไทยยังไม่เป็ นไปอย่างยัง่ ยืน ซึ่งข้ อบกพร่ องดังกล่าวนัน้ สามารถ สรุ ปโดยจําแนกจากปั ญหาในทางปฏิบตั ิของเจ้ าหน้ าที่และปั ญหาในทางกฎหมายของบทบัญญัติของกฎหมายของ ประเทศไทยได้ ดงั นี ้ 4.2.1 พิจารณาจากปั ญหาในทางปฏิบตั ิของการบังคับใช้ กฎหมาย ในส่วนการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่เพื่อควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลของประเทศไทยให้ เป็ นไปอย่าง เหมาะสมอย่างยัง่ ยืนและเป็ นไปตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 นัน้ จะเห็นได้ ว่า การ ปฏิ บัติ ง านดัง กล่า วยัง คงมี ข้ อ บกพร่ อ งอยู่ จึ ง ทํ า ให้ ก ารควบคุม กิ จ กรรมการใช้ ท ะเลให้ เ ป็ นไปอย่ า งยั่ง ยื น ไม่ มี ประสิทธิภาพ ทังนี ้ ้ จากการศึกษาสถานการณ์ในปั จจุบนั ของประเทศไทยแล้ วพบว่าในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ ยังคงมีข้อบกพร่องต่างๆ โดยอาจสรุปเป็ นหัวข้ อใหญ่ได้ ดงั ต่อไปนี ้ 4.2.1.1 ความซํ ้าซ้ อนในอํานาจหน้ าที่และขาดการประสานงานในแต่ละหน่วยงาน จากการศึกษาสถานการณ์ ในปั จจุบนั ของกิจกรรมการใช้ ทะเลของประเทศไทยแล้ วปรากฏว่า กิจกรรม ทางทะเลบางประเภทนัน้ อยู่ในความควบคุมดูแลของกฎหมายหลายฉบับ ส่งผลให้ มีเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจหน้ าที่ใน การควบคุมกิจกรรมนันจากหลายหน่ ้ วยงาน ยกตัวอย่างเช่น กรณีที่เรื อต่างชาติทิ ้งสิ่งปฏิกลู ที่ชายฝั่ งหรื อน่านนํ ้าภายใน ซึง่ จะเป็ นความผิดตามมาตรา 20 (1) แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในกรณีที่ได้ มีการออกข้ อบัญญัติท้องถิ่น ตามมาตรานีแ้ ล้ ว เป็ นความผิดตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของ บ้ านเมือง พ.ศ. 2535 ซึ่งกฎหมายทัง้ สองฉบับนี ม้ ีเจ้ าพนักงานท้ องถิ่นเป็ นผู้บังคับใช้ กฎหมาย และนอกจากความผิดตาม กฎหมายทัง้ สองฉบับดังกล่าวแล้ วยังเป็ นความผิดตามมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ า้ ไทย พระ พุทธศักราช 2456 ซึง่ เจ้ าท่าของกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีเป็ นผู้มีอํานาจดําเนินคดี และอาจมีความผิดตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการประมง พุทธศักราช 2490 อีกด้ วย ซึ่งการดําเนินการตามกฎหมายฉบับนีเ้ ป็ นอํานาจหน้ าที่ของ พนักงานเจ้ าหน้ าที่สงั กัดกรมประมง นอกจากนัน้ เจ้ าหน้ าที่ตํารวจกองบังคับการตํารวจนํ ้า กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง และเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อก็มีอํานาจดําเนินคดีสําหรับการกระทําดังกล่าวอีกเช่นเดียวกัน จึงเห็นได้ ว่า เป็ นกรณี ที่การกระทํา ความผิดกรรมเดียวเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบทและมีเจ้ าหน้ าที่ของหลายหน่วยงานเข้ ามาเกี่ยวข้ อง การที่มีเจ้ าหน้ าที่เข้ า มาตรวจสอบดูแลในเรื่ องนีอ้ าจเป็ นผลดีหากมีการเชื่อมโยงประสานข้ อมูลระหว่างเจ้ าหน้ าที่เข้ าด้ วยกัน ซึ่งจะส่งผลให้ การ 401

ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 380.

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


296

ป้องกันไม่ให้ เกิดการกระทําความผิดและการนําตัวผู้กระทําความผิดมาลงโทษเป็ นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ แต่หากไม่มีการ การเชื่อมโยงประสานระหว่างเจ้ าหน้ าที่แต่ละฝ่ ายแล้ วย่อมส่งผลให้ เกิดปั ญหาในการบังคับใช้ กฎหมายตามมา ไม่ว่าจะเป็ นใน เรื่ องของบทลงโทษตามกฎหมายที่ควรจะนํามาใช้ กบั ผู้ที่กระทําความผิดหรื อช่องทางในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบของ เจ้ าหน้ าที่ อีกกรณี ศึกษาหนึ่ง ได้ แก่ กรณี ของการท่าเรื อแห่งประเทศไทยซึ่งตามกฎหมายแล้ วมีอํานาจในการ กําหนดหลักเกณฑ์ว่าด้ วยความปลอดภัย การใช้ ท่าเรื อ และบริ การต่างๆ ของกิจการท่าเรื อ รวมทังกํ ้ าหนดค่าบริ การ หรื อค่าภาระต่างๆ ในขณะเดียวกันรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม มีอํานาจตามกฎหมายในการออกกฎกระทรวง กําหนดการเดินเรื อในท่าเรื อต่างๆ ได้ ยกเว้ นท่าเรื อกรุ งเทพฯ ซึ่งมีข้อยกเว้ นว่าถ้ าจําเป็ นและเป็ นการเฉพาะคราวก็ สามารถกําหนดในท่าเรื อกรุ งเทพฯได้ จึงอาจก่อให้ เกิดกรณีที่ใช้ บงั คับกฎเกณฑ์สองกฎเกณฑ์ในบริ เวณเดียวกันด้ วย และหากไม่มีการประสานงานกันและมีการกําหนดกฎเกณฑ์บางประการที่อาจขัดหรื อแย้ งกันก็จะก่อให้ เกิดภาระแก่ เรื อผู้ปฏิบตั ิที่อาจทําถูกต้ องตามกฎเกณฑ์ของหน่วยงานหนึง่ แต่อาจไปขัดกับกฎเกณฑ์ของอีกหน่วยงานหนึง่ ได้ จากตัวอย่างทังสองจะเห็ ้ นได้ ว่า การใช้ อํานาจตามกฎหมายเพื่อควบคุมกิจกรรมในการใช้ ทะเลมีความ จําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานหลายหน่วยงาน เพื่อให้ การควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเล เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ในส่วนนี ้จะต้ องอาศัยความร่ วมมือและการซักซ้ อมความเข้ าใจระหว่างหน่วยงานของ รัฐต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ การควบคุมกิจกรรมทางทะเลเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2.1.2 ความชัดเจนของหน่วยงานผู้รับผิดชอบเพื่อบังคับให้ เป็ นไปตามกฎหมาย สถานการณ์ในปั จจุบนั ของประเทศไทยนัน้ หน่วยงานที่มีหน้ าที่บงั คับให้ เป็ นไปตามกฎหมายสําหรับบาง กรณียงั คงขาดความชัดเจนอยู่ ยกตัวอย่างเช่น กรณีเรื อต่างชาติทิ ้งสิ่งปฏิกลู ในน่านนํ ้าภายในหรื อชายฝั่ งทะเล และ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อนํ ้าทะเลโดยอาจทําให้ เน่าเสียหรื อเกิดภาวะมลพิษต่อทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตในบริ เวณ นัน้ ก็ยงั ไม่แน่ชดั ว่าหน่วยงานใดที่จะถือว่าเป็ นผู้เสียหายที่มีสิทธิฟ้องร้ องให้ เรื อต่างชาติทําการกําจัดมลพิษที่เกิดขึ ้น หรื อฟื น้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติให้ กลับมาเป็ นเช่นเดิมหรื อเรี ยกค่าใช้ จ่ายกรณีที่หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องได้ ทําการ ขจัดหรื อแก้ ไขภาวะมลพิษที่เกิดขึ ้นไปแล้ ว หรื อในการเรี ยกร้ องค่าสินไหมทดแทนในทางแพ่ง ก็ยงั ไม่มีคําพิพากษาของศาล ฎีกาเป็ นบรรทัดฐานว่ารัฐบาลไทยสามารถใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องค่าสินไหมผ่านทางศาลในกรณีนี ้ได้ ซึง่ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ก็ได้ กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งมีเขตอํานาจทางแพ่งบนเรื อต่างชาติในทะเลอาณาเขตด้ วย ปั ญหาในส่วนนีม้ ีความสําคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากความไม่ชัดเจนในหน้ าที่ของหน่วยงานของรัฐในการควบคุม กิจกรรมทางทะเลจะส่งผลให้ การควบคุมกิจกรรมทางทะเลเป็ นไปได้ อย่างไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากเจ้ าหน้ าที่ผ้ เู กี่ยวข้ องย่อม ไม่กล้ าที่จะดําเนินการตามกฎหมายของตนได้ อย่างเต็มที่ เพราะไม่แน่ใจว่าแท้ จริ งแล้ วตนมีอํานาจหน้ าที่ตามกฎหมายที่จะเข้ า ั ้ หรื อไม่ ไปควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลในกรณีนนๆ 4.2.1.3 การบังคับใช้ กฎหมายโดยเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีหน้ าที่รับผิดชอบกฎหมายนันๆ ้ ยังไม่มีประสิทธิภาพ ในบางกรณีปัญหาในการควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลของเจ้ าหน้ าที่ก็เกิดขึ ้นมาจากการบังคับใช้ กฎหมายที่ไม่มี ้ แล้ ว แต่ก็ยงั มีการฝ่ าฝื นกฎหมายเกิด ประสิทธิภาพของเจ้ าหน้ าที่เอง กล่าวคือ เป็ นกรณีที่มีกฎหมายควบคุมการกระทํานันๆ ขึ ้นอยู่ เช่น ปั ญหาของการบุกรุกที่ดินชายฝั่ งทะเลอันเป็ นที่ของป่ าสงวนหรื ออุทยานแห่งชาติทางทะเลหรื อที่สาธารณสมบัติของ แผ่นดิน อันก่อให้ เกิดปั ญหาป่ าชายเลนหรื ออุทยานแห่งชาติทางทะเลเสื่อมโทรมหรื อลดน้ อยลง และส่งผลให้ เกิดปั ญหาการกัด เซาะพื ้นที่ชายฝั่ งทะเล และระบบนิเวศของชายฝั่ งทะเลต้ องสูญเสียไป ไม่ว่าหาดทราย ปะการัง หรื อพืชชายฝั่ งหรื อพืชทะเลบาง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


297

ชนิด เช่น ป่ าไม้ โกงกางหรื อหญ้ าทะเล เป็ นต้ น ปั ญหาตามกรณีที่ยกมานี ้มีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวข้ องและมีมาตรการทาง กฎหมายเพื่อที่จะดําเนินการกับผู้กระทําความผิดอยู่แล้ ว ไม่ว่าจะเป็ นกฎหมายว่าด้ วยป่ าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้ วย อุทยานแห่งชาติ หรื อกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ เป็ นต้ น หรื อในกรณี ของการสร้ าง อาคารบริเวณชายฝั่ งทะเล ซึง่ มีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวข้ องเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็ นกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมอาคาร กฎหมาย ว่าด้ วยการผังเมือง กฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม หรื อกฎหมายว่าด้ วยโรงงานก็ตาม แต่ในทาง ปฏิบตั ิที่เกิดขึ ้นมักมีการอนุญาตให้ ก่อสร้ างโรงงานเสียก่อนแล้ ว จึงมีการทําประชาพิจารณ์รับฟั งความเห็นในภายหลัง ดังเช่น โรงงานไฟฟ้าที่บ่อนอกหรื อหินกรู ด ซึ่งการแก้ ไขปั ญหานี ้นันผู ้ ้ ศึกษาวิจยั มีความเห็นว่าสามารถทําได้ ยาก เนื่องจากเป็ น ปั ญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ที่บังคับใช้ กฎหมาย ซึ่งหากปั ญหาที่เกิดขึน้ เกิดจากข้ อบกพร่ องในบทบัญญัติของ กฎหมายยังสามารถปรับปรุงกฎหมายนันๆ ้ เพื่อแก้ ไขข้ อบกพร่องที่เกิดขึ ้นได้ แต่ปัญหาในเชิงพฤติกรรมของเจ้ าหน้ าที่ นัน้ อาศัย เพี ยงแต่การแก้ ไ ขกฎหมายอาจไม่สามารถแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ซึ่ง ในส่ว นนี ผ้ ้ ูบัง คับ บัญ ชาหรื อ ผู้กํ า กับ ดูแ ล เจ้ า หน้ า ที่ ผ้ ูมีอํ า นาจตามกฎหมายจํ า เป็ นอย่ า งยิ่ง ที่ จ ะต้ อ งให้ ความสํ า คัญ กับ การควบคุม การปฏิ บัติห น้ า ที่ ข อง เจ้ า หน้ า ที่ เ พื่ อ ไม่ ใ ห้ เ จ้ า หน้ า ที่ ล ะเลยหน้ า ที่ ตามกฎหมายที่ ต้ อ งปฏิ บัติ ห รื อ อาศัย อํ า นาจหน้ า ที่ ข องตนแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบ รวมทัง้ การแนะแนวทางที่จะทําให้ การปฏิบตั ิหน้ าที่ลลุ ว่ งไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพด้ วย 4.2.1.4 ข้ อจํากัดเชิงพื ้นที่ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ บางครั ง้ การดํ า เนิ น การตามกฎหมายบางประการ เช่น การดํ า เนิ น คดี ต ามกฎหมายที่ มีการกระทํ า ความผิดในกิจกรรมการใช้ ทะเล ยังมีข้อจํากัดในเรื่ องพื ้นที่สําหรับการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่อยู่ ยกตัวอย่างเช่น ้ ใช่ความผิดอาญา กรณีการดําเนินคดีอาญาตามกฎหมายกับผู้ที่กระทําความผิดในท้ องทะเล ซึ่งหากความผิดนันไม่ แผ่นดินก็จะต้ องทําการร้ องทุกข์กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนเสียก่อนจึงจะดําเนินคดีต่อไปได้ หรื อในกรณีที่จะทํา การลงโทษ ผู้ตระเตรี ยมการหรื อพยายามกระทําความผิดในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ การตระเตรี ยมการหรื อการ พยายามกระทําความผิดนันเป็ ้ นความผิดแม้ ว่าจะกระทําลงไปนอกราชอาณาจักร หากกระทําการนันไปจนความผิ ้ ด สําเร็จแล้ วผลจะเกิดขึ ้นในราชอาณาจักร ก็มีปัญหาว่าจะมีเจ้ าหน้ าที่ใดที่ทําการจับกุมผู้กระทําความผิดในกรณีนี ้ และ ในกรณีที่การกระทําดังกล่าวไม่ใช่ความผิดอาญาแผ่นดิน ก็จะต้ องมีการร้ องทุกข์กล่าวโทษเพื่อดําเนินคดีอาญาตามที่ ได้ กล่าวไปแล้ ว และเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาจะจํากัดอยู่เฉพาะพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจ ที่มี อํานาจสืบสวน ส่วนอํานาจสอบสวนเป็ นของพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจชันผู ้ ้ ใหญ่ ซึง่ โดยปกติประจําการอยู่บน ฝั่ ง อันจะเห็นได้ ว่าเป็ นข้ อจํ ากัดเชิ งพื น้ ที่สําหรั บการดําเนินการตามกฎหมายของเจ้ าหน้ าที่ อีกตัวอย่างหนึ่งของ ข้ อจํากัดเชิงพื ้นที่ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ได้ แก่ กรณีที่สามารถจับผู้กระทําความผิดบนเรื อในทะเลอาณาเขต ได้ ในกรณี ที่ไม่มีการแบ่งเขตความรั บผิดชอบระหว่างพนักงานสอบสวนภายในทะเลอาณาเขตไว้ ดังเช่นที่ มีการ กําหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนในซึง่ ถือเป็ นน่านนํ ้าภายในของประเทศไทย จะต้ องนําส่งอัยการสูงสุดหรื อพนักงาน สอบสวนที่ อัยการสูง สุด มอบหมาย ซึ่ง เป็ นขัน้ ตอนที่ มีค วามยุ่ง ยากในทางปฏิ บัติ ปั ญ หาในส่ว นนี ผ้ ้ ูศึก ษาวิจัย มี ความเห็น ว่า อาจแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ไ ม่ย ากนัก โดยการกํ า หนดขอบเขตพื น้ ที่ ใ นการปฏิ บัติ ก ารตามกฎหมายให้ กับ เจ้ าหน้ าที่ก็จะสามารถแก้ ไขปั ญหานี ้ได้ ยกตัวอย่างเช่น การมอบหมายให้ เจ้ าหน้ าที่ตํารวจนํ ้าเป็ นผู้มีอํานาจสอบสวน สําหรับความผิดที่ได้ กระทําในน่านนํ ้าภายในและสามารถจับกุมผู้กระทําความผิดได้ ในทะเล เป็ นต้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


298

4.2.2 พิจารณาจากปั ญหาทางกฎหมายของบทบัญญัติของกฎหมายของประเทศไทย นอกจากปั ญหาในทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลของเจ้ าหน้ าที่แล้ ว บทบัญญัติแห่ง กฎหมายภายในเองก็มีข้อบกพร่ องที่ทําให้ กิจกรรมการใช้ ทะเลไม่เป็ นไปอย่างยัง่ ยืนตามเจตนารมณ์ ของอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้ วยเช่นกัน ดังจะเห็นได้ ว่าในทุกเขตของทะเลนัน้ กฎหมายของ ประเทศไทยยังมีข้อบกพร่ องที่ไม่สามารถ ทําการควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลในแต่ละเขตนันๆ ้ ตามอนุสญ ั ญาฯ ได้ ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่ องของการผ่านทะเลอาณาเขตโดยสุจริ ตนัน้ ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดให้ กรณีที่มีการดําเนินกิจกรรมวิจยั หรื อสํารวจโดยเรื อต่างชาติที่เข้ ามาในทะเลอาณาเขตจะไม่ถือ ว่าเป็ นการผ่านโดยสุจริ ต ซึ่งในส่วนนีก้ ฎหมายภายในของประเทศไทยที่กล่าวถึงเรื่ อง การวิจัยวิทยาศาสตร์ ทาง ทะเลไว้ มีเพียงพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 เท่านัน้ ซึง่ ก็ไม่เกี่ยวข้ องกับการแล่นผ่านทะเลอาณาเขตของเรื อ ต่างชาติแต่ประการใด หรื อบทบัญญัติกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องกับเขตต่อเนื่อง เช่น พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 หรื อพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 ก็ไม่ครอบคลุมไปถึงเขตต่อเนื่ องด้ วยๆ ทัง้ ๆ ที่ อนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กําหนดให้ รัฐชายฝั่ งสามารถดําเนินมาตรการในเขตต่อเนื่องเพื่อ ป้องกันการกระทําความผิดที่เกี่ยวข้ องกับการสุขาภิบาลอันจะเกิดขึ ้นภายในราชอาณาจักรได้ ก็ตาม นอกจากเขตทาง ทะเลตามที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ นไม่ว่าจะเป็ นในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในเขตไหล่ทวีป ในเขตทะเลหลวง หรื อในเรื่ อง การคุ้มครองและการรักษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเล บทบัญญัติของกฎหมายภายในยังไม่เข้ าไปครอบคลุมทุกกรณีตามที่ กําหนดไว้ ในอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ข้ อบกพร่ องในบทบัญญัติของกฎหมายภายในของประเทศไทยที่ไม่เป็ นไปตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หากพิจารณาแล้ วอาจสรุปได้ ดงั ต่อไปนี ้ ้ 4.2.2.1 กรณีที่ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายภายในบัญญัติไว้ ในเรื่ องนันๆ หมายความถึงกรณี ที่อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดในเรื่ องใด เรื่ อ งหนึ่ ง เอาไว้ แต่ ไ ม่ มี ก ฎหมายภายในที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ บัญ ญั ติ ถึ ง เรื่ อ งนัน้ ไว้ เ ลย ยกตัว อย่ า งเช่ น อนุสัญ ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดเรื่ องเกี่ยวกับการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลเอาไว้ แต่หาก พิจารณาตามกฎหมายภายในของประเทศไทยแล้ วจะเห็นได้ ว่าไม่มีกฎหมายฉบับใดที่กําหนดไว้ เกี่ยวข้ องโดยตรงกับ เรื่ องการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล 4.2.2.2 กรณีที่บทบัญญัติของกฎหมายภายในกําหนดไว้ แตกต่างจากอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ั ญัติเรื่ องตามที่อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย หมายความถึงกรณี ท่ีกฎหมายภายในได้ บญ ทะเล ค.ศ. 1982 กําหนดเอาไว้ แต่บทบัญญัติของกฎหมายภายในแตกต่างจากอนุสญ ั ญาฯ ยกตัวอย่างเช่น การ กําหนดโทษจําคุกไว้ สําหรับการกระทําความผิดในเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่งต้ องห้ ามตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่า ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 แต่พระราชบัญญัติการประมง พระพุทธศักราช 2490 ได้ กําหนดกรณี การทําการ ประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยโดยลักษณะที่เป็ นการฝ่ าฝื นข้ อกํ าหนดของรัฐมนตรี ที่กําหนดหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการทําประมงในพื ้นที่จบั สัตว์นํ ้าตามมาตรา 32 ก็จะต้ องรับโทษตามมาตรา 65 ซึ่งกําหนดโทษปรับตังแต่ ้ ห้า ้ บทังจํ ้ า พันบาทถึงหนึง่ หมื่นบาท หรื อจําคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อทังปรั

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


299

4.2.2.3 กรณีที่มีบทบัญญัติของกฎหมายภายในแต่ไม่ครอบคลุมถึงขอบเขตตามอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หมายความถึงกรณี ที่มีกฎหมายภายในบัญญัติในเรื่ องนัน้ ๆ ตามที่อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้ กําหนดเอาไว้ แต่ทว่าในบทบัญญัติของกฎหมายภายในยังไม่ครอบคลุมขอบเขตตามที่ ั ญาฯ ยกตัวอย่างเช่น ในเขตทะเลหลวง รัฐมีหน้ าที่ในการออกกฎหมายเพื่อกําหนดโทษสําหรับ กําหนดไว้ ในอนุสญ กรณี เรื อซึ่งชักธงของตนหรื อโดยบุคคลที่อยู่ภายใต้ เขตอํานาจของตนทําให้ สายเคเบิลใต้ ทะเลหลวง ทางท่อหรื อ สายไฟแรงสู ง ใต้ ทะเลแตกหั ก หรื อ เสี ย หายไม่ ว่ า จะโดยเจตนาหรื อ ประมาทอั น เป็ นความผิ ด ซึ่ ง ในเรื่ อ งนี ้ พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ก็ได้ กําหนดควบคุมในเรื่ องนี ้เอาไว้ ซึ่งกําหนดไว้ ใน หมวดที่ ส ามข้ อ บัง คับ ว่ า ด้ ว ยการทอดสมอใกล้ เ คี ย งหรื อ เกาสมอข้ า มสายท่ อ หรื อ สิ่ ง ก่ อ สร้ างที่ ท อดใต้ นํ า้ แต่ พระราชบัญญัตินี ้ก็ถกู จํากัดขอบเขตไว้ เพียงทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่องเท่านัน้ เหตุผลของความบกพร่ องในกฎหมายภายในที่ไม่เป็ นไปตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1982 นัน้ ก็เนื่องจากว่าการบัญญัติกฎหมายแต่ละฉบับของประเทศไทยเพื่อควบคุมกิจกรรมทางทะเล ไม่ได้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจะอนุวัติการณ์ ให้ เป็ นไปตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 โดยเฉพาะ แต่มีวตั ถุประสงค์เพื่อจะแก้ ไขและป้องกันปั ญหาที่เกิดขึ ้นจากกิจกรรมการใช้ ทะเลของประเทศไทย โดย กฎหมายบางฉบับอาจเป็ นการบัญญัติขึ ้นมาเพื่อแก้ ไขปั ญหาเฉพาะกรณี ยกตัวอย่างเช่น กรณีของพระราชบัญญัติ ศุลกากร พระพุทธศักราช 2467 ที่ ในอดีต พนักงานเจ้ าหน้ า ที่ยังไม่มีอํานาจหน้ า ที่ ในการปราบปรามการกระทํ า ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ในเขตต่อเนื่องซึ่งก่อให้ เกิดปั ญหาในการป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษี ศลุ กากรขึ ้น ต่อมา จึงได้ มีการแก้ ไขพระราชบัญญัติศุลกากรฯ เพื่อเพิ่มอํานาจให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจในการปราบปรามการ ั ญา กระทําความผิดเกี่ยวกับศุลกากรในเขตต่อเนื่องได้ และการแก้ ไขกฎหมายดังกล่าวก็เป็ นการสอดคล้ องกับอนุสญ สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้ วย แต่อย่างไรก็ตาม กรณีจะเห็นได้ ว่าเป็ นเพียงการแก้ ไขปั ญหา ้ ่ออนุวตั ิการณ์ ให้ เป็ นไปตาม เฉพาะเรื่ องให้ เป็ นไปตามอนุสญ ั ญาฯ เท่านัน้ แต่ไม่ได้ มีการชําระกฎหมายทังระบบเพื อนุสญ ั ญาฯ ทังนี ้ ้ อาจเนื่องจากความพร้ อมในหลายๆ ด้ านของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็ นในด้ านเจ้ าหน้ าที่ผ้ บู งั คับให้ เป็ นไปตามกฎหมาย ผู้ที่จะต้ องอยู่ภายใต้ บงั คับของกฎหมาย สภาวการณ์ของประเทศ หรื อแม้ แต่ความรู้ ความเข้ าใจ ในอนุสญ ั ญาฉบับนีก้ ็อาจไม่เพียงพอที่จะทําการอนุวตั ิการณ์ กฎหมายภายในให้ สอดคล้ องกับอนุสญ ั ญาฉบับนีไ้ ด้ ทังหมด ้ โดยสรุปแล้ ว ผู้ศกึ ษาวิจยั มีความเห็นว่าสถานการณ์ปัจจุบนั สําหรับการควบคุมกิจกรรมการใช้ ทะเลของ ประเทศไทยยังมีข้อบกพร่ องที่ทําให้ การใช้ ทะเลไม่เป็ นไปอย่างยั่งยืน ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องสมควรตระหนักถึง ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึน้ ในปั จ จุบัน ไม่ว่า จะในแง่ การปฏิ บัติง านของเจ้ า หน้ า ที่ ห รื อ ในแง่ ข้ อ บกพร่ อ งของบทบัญ ญัติแ ห่ง กฎหมายก็ตาม ทังนี ้ ้ เพื่อให้ การใช้ ทะเลของประเทศไทยในอนาคตเป็ นไปอย่างยัง่ ยืนต่อไป

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


300

4.3 แนวโน้ มในอนาคตของกฎหมายทางทะเลของประเทศไทย กรณี ข้ อ บกพร่ อ งในบทบัญ ญั ติ ข องกฎหมายภายในของประเทศไทยที่ ไ ม่ เ ป็ นไปตามบทบัญ ญั ติ ข อง อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ตามที่คณะทํางานด้ านกฎหมายได้ สรุ ปประเด็นสําคัญไว้ ข้ างต้ นนัน้ หากจะทําการวิเคราะห์ถึงแนวโน้ มของกฎหมายทางทะเลของไทยในอนาคต คณะทํางานฯ ขอนําเสนอ ความเห็นดังต่อไปนี ้ 4.3.1 เนื่องจากที่ประเทศไทยยังมิได้ ให้ สตั ยาบันเพื่อเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1982 ทังๆ ้ ที่ได้ ลงนามรับรอง (SIGNATURE) ไว้ แล้ วตังแต่ ้ ค.ศ. 1982 (2525) จนมีสถานะเป็ นรัฐที่ลงนาม รับรองอนุสญ ั ญาฯ (SIGNATORY STATE) ทังนี ้ ้ ความล่าช้ าในกระบวนการพิจารณาเพื่อให้ สตั ยาบันเกิดจากประเด็น ปั ญหาหรื อความยุง่ ยากสําคัญพอสรุปได้ วา่ เกิดจากหลายๆ สาเหตุดงั นี ้ 4.3.1.1 แนวคิดด้ านเทคนิคการดําเนินการทางกฎหมายที่แตกต่างกันของนักวิชาการกฎหมาย ว่าควร เข้ าเป็ นภาคีก่อนแล้ วค่อยดําเนินการยกร่ างกฎหมายใหม่หรื อแก้ ไขปรับปรุ งกฎหมายที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั ให้ สอดคล้ อง กับพันธกรณีที่อนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 บัญญัติไว้ หรื อควรดําเนินการยกร่ างกฎหมายใหม่หรื อแก้ ไข ปรับปรุ งกฎหมายที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั ให้ สอดคล้ องกับพันธกรณีที่อนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 บัญญัติไว้ ให้ เสร็จสมบูรณ์ก่อนที่จะเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาฯ ดังกล่าว ทําให้ ขาดการผลักดันจากหน่วยงานภาครัฐอย่างจริงจัง 4.3.1.2 ขาดหน่วยงานหลักที่จะรั บหน้ าที่เป็ น “เจ้ าภาพ” ในการผลักดันให้ ประเทศไทยเข้ าเป็ นภาคี อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 โดยเร็ ว ซึง่ หมายรวมถึงการเตรี ยมความพร้ อมในการชี ้แจง ตอบข้ อซักถามของสมาชิกรัฐสภาในประเด็นด้ านเทคนิคที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมทางทะเลด้ านต่างๆ ด้ วย 4.3.1.3 หน่วยงานที่มีหน้ าที่ดแู ลจัดทํานโยบายด้ านบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลมิได้ มี โอกาสสัมผัสกับปั ญหาที่เกิดขึน้ ในทางปฏิบัติที่แท้ จริ ง จึงขาดการพัฒนาการของกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับทะเลใน ภาพรวม 4.3.1.3 ประเทศไทยขาดผู้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับผลประโยชน์ของชาติทางทะเล อย่างเป็ นรู ปธรรมในแง่ตวั เงินที่ไทยต้ องสูญเสียไปเนื่องมาจากประเทศไทยขาดการจัดทํากรอบด้ านกฎหมายทาง ทะเลของไทย (LEGAL FRAMEWORK ON LAW OF THE SEA) ให้ เป็ นรู ปธรรม เพราะเหตุยงั มิได้ เป็ นภาคี อนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ้ ่งมัน่ ที่จะผลักดันให้ 4.3.1.4 ผู้บริ หารระดับสูงขาดวิสยั ทัศน์ ความเข้ าใจที่ต่อเนื่อง รวมทังขาดความมุ เกิดนโยบายเกี่ยวกับกิจกรรมทางทะเลในภาพรวม รวมทังการปกปั ้ กษ์ รักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลให้ ยงั่ ยืน เป็ นต้ น 4.3.2 จากประเด็นปั ญหาดังกล่าวเห็นได้ ชดั ว่า ส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องทังหมดขาดความเข้ ้ าใจผลประโยชน์ ของชาติทางทะเลแบบองค์รวม คือแต่ละส่วนราชการมักกําหนดแผนการปฏิบตั ิงานอยู่ภายในขอบเขตอํานาจหน้ าที่ ตามกฎหมายของส่วนราชการของตน โดยพยายามที่จะไม่ปฏิบัติการใดที่เป็ นการก้ าวก่ายอํานาจหน้ าที่ของส่วน ราชการอื่น จึงเป็ นสาเหตุที่ทําให้ บคุ ลากรที่ปฏิบตั ิหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารจัดการหรื อกําหนดนโยบายทางทะเล ของไทย ขาดทักษะที่จะมองภาพการประสานและเกี่ยวข้ องกันอย่างใกล้ ชิด ตลอดจนเอื ้อประโยชน์ซึ่งกันและกันใน ลักษณะของการบูรณาการแบบองค์ รวม ทําให้ การปฏิบัติการทางทะเลจึงเป็ นไปในลักษณะแยกส่วนที่ขาดความ เชื่อมโยง ขาดการวิเคราะห์ถงึ ผลกระทบอันเกิดขึ ้นจากกิจกรรมทางทะเลหนึง่ หรื อหลายกิจกรรม ต่อกิจกรรมอื่นๆ 4.3.3 การเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 จะมีผลดีต่อประเทศไทยหลายประเทศ เช่น จะช่วยให้ สามารถปกปั กรั กษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเลได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ และ สามารถอ้ างสิทธิ และ โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


301

เสรี ภาพในทะเลตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ได้ อย่างเต็มที่ อีกทังสามารถปกป ้ ้ องสิทธิ ของคนในชาติที่ออกไปทําการ ประมงนอกน่านนํ ้าได้ อย่างเต็มที่ กล่าวคือสามารถนําข้ อพิพาทในระหว่างรัฐภาคีอนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้ วยกันขึ ้นสูก่ ารพิจารณาของศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศ (International Tribunal on the Law of the Sea) เพื่อให้ พิจารณาตัดสินระงับข้ อพิพาทระหว่างกันได้ ทําให้ ประเทศไทยสามารถเรี ยกร้ องความเป็ นธรรมในฐานะ ภาคี (Party) ได้ อย่างเต็มที่ เช่น ใช้ สิทธิ เรี ยกร้ องความเป็ นธรรมจากศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศ ในกรณี ทางการมาเลเซียใช้ อาวุธปื นยิงเรื อประมงไทย ซึง่ ถือว่าเป็ นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 73 ของอนุสญ ั ญาฯ กฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1982 ดังกล่าวอย่างยิ่ง แต่ในทางปฏิบตั ิ ประเทศไทยไม่สามารถฟ้องร้ องรัฐบาลมาเลเซียต่อศาลกฎหมาย ทะเลระหว่างประเทศได้ เพราะประเทศไทยยังมิได้ เข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาดังกล่าว ในขณะที่ประเทศมาเลเซียมีสถานะ เป็ น “ภาคี” แล้ วตังแต่ ้ ปี 1996 จึงส่งผลให้ ประเทศไทยอยูใ่ นฐานะที่เสียเปรี ยบประเทศมาเลเซียเป็ นอย่างยิ่ง 4.3.4 หลังจากที่เข้ าเป็ นภาคีแล้ ว ประเทศไทยสามารถนําหลักปฏิบตั ิระหว่างประเทศ ตลอดจนสิทธิ หน้ าที่ เขตอํานาจ และบทบาทของรัฐตามบทบัญญัติของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มาใช้ ประกอบการจัดทําแผนปฏิบตั ิการระดับชาติว่าด้ วยการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเล เพื่อเป็ นกรอบนโยบายแห่ง รั ฐ ในการบริ ห ารจัด การทรั พ ยากรทางทะเลให้ มี ป ระสิท ธิ ภ าพ และมี แ ผนการดํ า เนิ น การที่ ชัด เจน เพื่ อ เร่ ง ฟื ้น ฟู สภาพแวดล้ อมทางทะเลและความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์นํ ้าและความหลากหลายทางชีวภาพในทะเลของ ไทยทังด้ ้ านอ่าวไทยและฝั่ งทะเลอันดามัน 4.3.5 ในประเด็นการพัฒนาการของกฎหมายทางทะเลของไทยนัน้ เนื่องจากอนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เป็ นสนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศ ที่ทวั่ โลกให้ การรับรองและยอมรับมากกว่า 145 ประเทศทัว่ โลก จึงถือว่า เป็ นกฎหมายแม่บททางทะเลของโลกที่ได้ วางหลักการสําคัญๆ ทางทะเลไว้ อย่างกว้ างๆ เพื่อให้ รัฐต่างๆ ทัว่ โลกได้ มี การประชุมเพื่อเจรจาทําความตกลงระหว่างรัฐต่างๆ ทังในระดั ้ บโลก ระดับภูมิภาค ระดับอนุภูมิภาคและระดับชาติ แล้ วแต่กรณี ดังนัน้ เมื่อไทยยังมีสถานะเป็ นเพียงรัฐที่ลงนามรับรองการเกิดขึ ้นของอนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ในปี 1982 ดังกล่าวข้ างต้ น ทําให้ อนุสญ ั ญาฯ มีผลผูกพันไทยว่า “ไทยจะต้ องไม่ปฏิบตั ิการใดให้ เป็ นการขัดหรื อ แย้ งต่อเจตนารมณ์หลักของอนุสญ ั ญาฯ” ซึง่ เป็ นพันธกรณีที่ผกู พันไทยนับจากปี 1982 (2525)เป็ นต้ นมา ประกอบกับ ประเทศไทยได้ มีพระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีป และเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยขึ ้น รวม 2 ฉบับ ในปี 2525 โดยบทบัญ ญัติข องพระบรมราชโองการดังกล่า ว ได้ ส ะท้ อ นข้ อ บทและหลัก การของเขตไหล่ท วี ป และเขต เศรษฐกิ จจํ า เพาะในอนุสัญ ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มาบัญ ญัติไ ว้ เพื่ อ ให้ ประเทศไทยมี สิท ธิ อ ธิ ปไตยใน กิจกรรมทางทะเลต่างๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ตามที่อนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 บัญญัติให้ สทิ ธิอธิปไตยแก่รัฐประเภทต่างๆ ไว้ 4.3.6 จากพันธกรณีที่กล่าวมาในข้ อ 4.1.2.2 ประเทศไทยจึงควรใช้ ประกาศดังกล่าวเป็ นจุดเริ่ มต้ นในการ จัดทํากรอบนโยบายทางทะเลเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติให้ เป็ นรู ปธรรม เมื่อกรอบนโยบายได้ รับการจัดทําเสร็ จ แล้ ว จึงควรต้ องเริ่ มจัดทํากรอบด้ านกฎหมายทางทะเลเพื่อให้ ครอบคลุมกิจกรรมทางทะเลทังหมด ้ (All Marine Activities) ที่เกิดขึ ้นภายในน่านนํ ้าไทย ซึง่ ประกอบด้ วยน่านนํ ้าภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง และเขตเศรษฐกิจ จําเพาะ 4.3.7 ในการจัดทํากรอบนโยบายและกรอบด้ านกฎหมายทางทะเลของไทย ควรมีการจัดตังสํ ้ านักงานอิสระ ขึ ้นอย่างน้ อยหนึ่งแห่ง โดยให้ ทําหน้ าที่หลักในการประสานแผนปฏิบตั ิการต่างๆ เพื่อช่วยทําให้ นโยบายทํากําหนดไว้ สามารถปฏิบตั ิได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ ตลอดจนทําหน้ าที่กํากับดูแลให้ มีการดําเนินการตามปฏิบตั ิการดังกล่าวให้ บรรลุ ทําหน้ าที่วิเคราะห์ผลกระทบทังทางเศรษฐกิ ้ จ สังคม การเมือง กฎหมาย และสิ่งแวดล้ อม อันอาจเกิดมีขึ ้นจาก การปฏิบตั ิการต่างๆ ดังกล่าว ทังนี ้ ้ สํานักงานอิสระดังกล่าวควรอยู่ภายใต้ การบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี หรื อ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


302

คณะรัฐมนตรี โดยตรง โดยมิต้องอยู่ภายใต้ กระทรวง ทบวง กรมใดโดยเฉพาะ เพื่อหลีกเลี่ยงการมองภาพทางทะเล แบบเป็ นส่วนๆ ทังนี ้ ้ สํานักงานอิสระอาจประกอบด้ วยผู้แทนส่วนราชการต่างๆ ที่มีหน้ าที่ความรับผิดชอบต่อกิจกรรม ทางทะเลหรื อกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องทังหมด ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สํานักงานอิสระดังกล่าวจะทําหน้ าที่ผลักดันให้ เกิดการ จัดทํายุทธศาสตร์ ชาติทางทะเลในองค์รวม คือมองทะเลเป็ นหนึ่งเดียว เมื่อมียุทธศสาสตร์ แล้ วก็จะผลักดันให้ เกิด แผนปฏิบตั ิการแห่งชาติว่าด้ วยกิจกรรมทางทะเล ทังนี ้ ้ จําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องมีการกําหนดหน่วยราชการที่มีหน้ าที่ รับผิดชอบอาจจะเป็ นหน่วยราชการเดียวหรื อมากกว่าหนึ่งที่จะร่ วมกันรับผิดชอบในการปฏิบตั ิการตามแผนปฏิบตั ิ แห่งชาติ ซึ่งจะได้ รับการจัดทําร่ วมกันของผู้แทนส่วนราชการเพื่อแก้ ไขปั ญหาอุปสรรคที่เกิดมีขึ ้นอยู่ในปั จจุบนั แบบ บูรณาการ อันจะช่วยลดการซํ ้าซ้ อนของการดําเนินการ ลดการซํ ้าซ้ อนของการใช้ อํานาจหน้ าที่เพื่อการบังคับการให้ เป็ นไปตามกฎหมาย (Law Enforcement) 4.3.8 การพัฒนากรอบด้ านกฎหมายทางทะเล เห็นว่านอกจากการเร่ งเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 โดยเร็วแล้ ว รัฐบาลควรเร่งจัดตังคณะกรรมการหรื ้ อคณะทํางานเฉพาะกิจเพื่อศึกษา ถึงความไม่ชัดเจนของอํ านาจหน้ าที่ และกฎหมายที่ให้ อํานาจดังกล่าว ความซํ า้ ซ้ อนของการใช้ อํานาจ ความไม่ ครอบคลุมของบทบัญญัติของกฎหมายที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั กับกิจกรรมทางทะเลและธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ เพื่อสรุ ป ปั ญหาและอุปสรรคของการพัฒนากฎหมายทางทะเลทังหมดโดยเร็ ้ ว เพื่อเร่ งหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาโดยด่วน หรื อ กล่าวโดยย่อคือ เร่ งสังคยานากฎหมายทางทะเลโดยเร็ ว และอย่างเป็ นรู ปธรรม ทังนี ้ ้ เพื่อให้ กฎหมายสามารถเป็ น เครื่ องมือในการใช้ ประโยชน์ทางทะเลเป็ นไปอย่างยัง่ ยืนจนอนุชนรุ่นหลังสามารถใช้ ประโยชน์ได้ ในระยะยาว ทังนี ้ ้ โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน ได้ เสนอให้ มีการจัดตังคณะกรรมการชุ ้ ดดังกล่าวผ่านร่ างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยคณะกรรมการนโยบาย ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ... ดังภาคผนวก ง 4.3.9 ควรเร่งจัดทํากฎหมายกลางว่าด้ วยสิทธิและหน้ าที่ เขตอํานาจของรัฐในอาณาเขตทางทะเลต่างๆ เพื่อ กําหนดให้ มีกฎหมายในการส่งเสริ มและรักษาผลประโยชน์ทางทะเลและกําหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบในเรื่ องต่างๆ ให้ มีค วามชัดเจนมากยิ่ง ขึน้ อัน เป็ นการแก้ ไ ขปั ญ หาในการบัง คับ ใช้ กฎหมายให้ สอดคล้ องกัน และกํ า หนดสิท ธิ เสรี ภาพ และหน้ าที่ของประเทศไทยทางทะเลเพื่อรักษาผลประโยชน์ทางทะเลตามที่กฎหมายระหว่างประเทศกําหนด ไว้ ให้ เกิดเป็ นรู ปธรรมมากยิ่งขึน้ ซึ่งโครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน ขอนําเสนอร่างพระราชบัญญัติค้ มุ ครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ... ดังภาคผนวก จ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


303

บทที่ 5 ข้ อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการจัดการผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล จากการศึกษาวิจยั พบว่าปั จจุบนั ประเทศไทยมีมลู ค่าผลประโยชน์ทางทะเลในทุกมิติอยู่เป็ นจํานวนไม่น้อย กว่า 7.4 ล้ านล้ านบาท แต่ผลประโยชน์จํานวนนี ้อยู่ในมือของคนไทยไม่ถึง 30 เปอร์ เซ็นต์ ที่เหลือเป็ นของคนต่างชาติ ซึง่ เป็ นเจ้ าของกิจการที่เข้ ามาใช้ ประโยชน์จากทะเลไทย ทังนี ้ ้เพราะประเทศไทยไม่มีนโยบายในการบริ หารจัดการเรื่ อง การใช้ ทะเลในภาพรวมที่เหมาะสม นอกจากนี ้สถานภาพ ณ ปั จจุบนั ของทะเลไทยทังในเชิ ้ งคุณภาพและปริ มาณก็ไม่มี ความสมบูรณ์ เหมือนอย่างในอดีต ยิ่งไปกว่านัน้ สถานการณ์ของโลกในปั จจุบนั ทังในเรื ้ ่ องการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม มีการผันผวนเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนัน้ ประเทศไทยจึงควรมีมาตรการเร่ งด่วนที่จะสามารถใช้ แก้ ไข หรื อ ป้องกันปั ญหาที่จะเกิดขึ ้นได้ อย่างทันท่วงที ทังนี ้ ้เพื่อให้ สามารถใช้ ประโยชน์จากทะเลซึ่งเป็ นแหล่งผลิตที่ สําคัญได้ อย่างคุ้มค่าสุงสุด โครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน จึงได้ สรุ ป ลักษณะปั ญหาโดยรวมของการใช้ ทะเลในมิติต่างๆ นํามาวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริ หารจัดการที่น่าจะ เป็ นไปได้ เพื่ อแก้ ไขปั ญหา โดยอยู่ในรู ปของข้ อเสนอเชิ งนโยบายเพื่อให้ หน่วยงานที่เกี่ ยวข้ องหรื อผู้รับผิดชอบที่มี อํานาจในการตัดสินใจได้ นําไปประยุกต์ใช้ ตอ่ ไป 5.1 ปั ญหาและอุปสรรคของการใช้ ทะเลในภาพรวม แม้ ว่ า ผลประโยชน์ แ ห่ ง ชาติ ท างทะเลของไทยจะมี อ ยู่ม าก แต่ ใ นความเป็ นจริ ง ประเทศไทยสูญ เสี ย ผลประโยชน์อนั พึงจะได้ รับไปเป็ นจํานวนมาก ซึ่งเป็ นผลมาจาก 1) ทรัพยากรมีอยู่อย่างจํากัดแต่ใช้ อย่างขาดการ จัดการที่ดีส่งผลให้ เกิดความเสื่อมโทรมและหมดไปของทรัพยากรธรรมชาติ ผู้เชี่ยวชาญคาดว่ามูลค่าการสูญเสีย ผลประโยชน์ทางทะเลในปั จจุบนั เช่น การสูญพันธุ์ของสัตว์และพืชทะเล เป็ นต้ น มีมากกว่ามูลค่าการใช้ หลายเท่า 2) ขาดองค์ความรู้ ที่มีความจําเป็ นต่อการบริ หารจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล เช่น วิทยาศาสตร์ ทางทะเล การ บริ หารจัดการทรัพยากรประมงในน่านนํ า้ ไทย การประมงนอกน่านนํ า้ ไทย กิจการทางทะเล การขนส่งทางนํา้ และ พาณิชยนาวี เป็ นต้ น 3) กฎข้ อบังคับในระดับภูมิภาค หรื อระดับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไป โดยที่ประเทศไทยยังไม่ได้ เตรี ยมพร้ อมที่จะรับมือ 4) ประชาชนในพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลยังขาดโอกาสในการเข้ าถึงการบริ หารจัดการทรัพยากรทาง ทะเลแบบบูรณาการ และที่สําคัญ คือ 5) ภาครั ฐขาดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดการผลประโยชน์ ชาติทางทะเลในภาพรวม ซึง่ ทําให้ การบริหารจัดการทะเลที่ผา่ นมาไม่ประสบความสําเร็จ 5.1.1 ทรัพยากรมีอยู่อย่างจํากัดแต่ใช้ อย่างขาดการจัดการที่ดีส่งผลให้ เกิดความเสื่อมโทรมและหมดไป ของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรบางอย่างอาจเติบโตหรื อเพิ่มจํานวนขึ ้นมาแทนที่ได้ (ทรัพยากรคืนรูป; renewable resources) แต่ บางอย่างเมื่อใช้ หมดแล้ วก็หมดเลย (ทรัพยากรไม่คืนรู ป; non-renewable resources) ในขณะที่ทกุ วันนี ้ผู้ใช้ ทะเลมี จํานวนเพิ่มมากขึน้ เรื่ อยๆ ตามระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งทําให้ รูปแบบของความต้ องการใช้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งมีความหลากหลายและซับซ้ อนเพิ่มมากขึ ้น ส่งผลให้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ลดลงทังปริ ้ มาณและคุณภาพ เกิดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้ อม นอกจากนี ้ ยังเกิดการจัดสรรการใช้ ทรัพยากร โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


304

อย่างไม่เป็ นธรรม เกิดความขัดแย้ งในการใช้ ประโยชน์ในหลายพื ้นที่ ทังคนในพื ้ ้นที่เดียวกันแย่งกันใช้ ทรัพยากร หรื อ ถูกกลุ่มบุคคลจากต่างถิ่น เข้ าไปใช้ มี ระบบการใช้ แ บบมื อใครยาวสาวได้ สาวเอา ไม่ไ ด้ คํา นึงถึงข้ อ จํ า กัดของตัว ู เสียโอกาสที่จะได้ ใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ผู้ใช้ ทรัพยากรที่เป็ นคนในท้ องที่บริ เวณ ทรัพยากร จนบางครัง้ ทําให้ สญ ชายฝั่ งทะเลส่วนใหญ่ มักสูญเสียโอกาสที่จะเข้ าใช้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งในอาณาบริ เวณของตน ซึ่งอาจ เนื่ องมาจากการไม่ได้ รับทราบข่าวสาร หรื อความรู้ เกี่ยวกับเทคโนโลยีและวิทยาการในการนําเอาทรัพยากรไปใช้ เพียงพอหรื อเท่าเทียมกับผู้ประกอบกิจการจากภายนอก ที่เป็ นเช่นนี ้เนื่องจากภาครัฐขาดกลไกระดับชาติที่จะทําหน้ าที่ประสานงานระหว่างองค์กรที่ทําหน้ าที่ในการ ควบคุมการใช้ ประโยชน์และการอนุรักษ์ ให้ เป็ นไปอย่างสอดคล้ องกันและเป็ นธรรมแก่ทกุ ภาคส่วนในสังคม 5.1.2 ขาดองค์ ค วามรู้ ที่ มี ค วามจํ า เป็ นต่ อ การบริ ห ารจั ด การผลประโยชน์ แ ห่ ง ชาติ ท างทะเล เช่ น วิทยาศาสตร์ ทางทะเล การบริหารจัดการทรัพยากรประมงในน่านนํ ้าไทย การประมงนอกน่านนํ ้าไทย กิจการทางทะเล การขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี เป็ นต้ น การศึกษาด้ านวิทยาศาสตร์ ทางทะเล และศาสตร์ สาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ประโยชน์ทางทะเลยังมีอยู่ น้ อ ยมาก และที่ มี ก ารดํ า เนิ น การอยู่ใ นปั จ จุบัน ก็ มัก เป็ นการดํ า เนิ น การในพื น้ ที่ ใ กล้ ช ายฝั่ ง ยัง ไม่ส ามารถสร้ าง นักวิทยาศาสตร์ และองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ ทางทะเลได้ อย่างเพียงพอต่อความต้ องการ ซึ่งสาเหตุหนึ่งคือ การ ขาดการสนับสนุนงบประมาณในการศึกษาวิจัย และการมีตําแหน่งรองรับที่มนั่ คง ส่งผลให้ ความรู้ ความเข้ าใจและ โอกาสในการใช้ ประโยชน์จากทะเลของประเทศไทยลดลง ทังๆ ้ ที่ประเทศไทยมีสิทธิในการใช้ ประโยชน์ทงจากน่ ั้ านนํ ้า ภายใน น่านนํ ้าอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ ทะเลหลวง และยังรวมถึงน่านนํา้ ของประเทศอื่นๆ ที่ สามารถทําข้ อตกลงกันได้ นอกจากนี ้ บุคลากรที่มีทกั ษะ และความรู้ ในด้ านการขนส่งทางนํ า้ และพาณิ ชยนาวี ท่าเรื อ การเดินเรื อ ระบบโลจิสติกส์ และการสร้ างโครงข่ายการขนส่งทางทะเลของประเทศไทย ก็ยงั มีอยู่น้อยมาก ทําให้ กองเรื อไทยไม่มี ความเข้ มแข็ง ธุรกิจพาณิชยนาวีในปั จจุบนั ส่วนใหญ่มีเจ้ าของเป็ นชาวต่างชาติ ทําให้ ผลประโยชน์จากการใช้ บริ การ ทางทะเล (การขนส่งทางทะเล) ของประเทศไทยตกอยูใ่ นมือของคนไทยเพียงไม่กี่เปอร์ เซ็นต์ 5.1.3 กฎข้ อ บัง คับ ในระดับ ภูมิ ภ าค หรื อ ระดับ โลกที่ มี การเปลี่ย นแปลงไป โดยที่ ป ระเทศไทยยัง ไม่ไ ด้ เตรี ยมพร้ อมที่จะรับมือ การที่ประเทศไทยใช้ ระบบกฎหมายแบบ Civil Law เป็ นสาเหตุที่ทําให้ รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ การเข้ าเป็ น ภาคีสนธิสญ ั ญาใดไม่ว่าจะเป็ นแบบทวิภาคี (bilateral) หรื อพหุภาคี (multilateral) หากต้ องตรากฎหมายภายในเพื่อ รองรั บตามสนธิ สญ ั ญานัน้ จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อน ทัง้ นี ้ เพื่อให้ มีผลผูกพันต่อรัฐสภาที่ต้องให้ ความเห็นชอบเมื่อรัฐบาลเสนอกฎหมายต่อรัฐสภา และตราเป็ นกฎหมายใช้ บงั คับต่อไปอันทําให้ รัฐบาลมีเครื่ องมือใน การปกครองประเทศตอบสนองต่อพันธกรณี ที่ได้ ทําสนธิ สญ ั ญาไว้ ได้ (รั ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 บัญญัติไว้ ในมาตรา 190) .และในการจะเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ก็ เช่นเดียวกัน บรรดากฎหมายภายในของไทยที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ ทะเลทั ง้ หมดมี ก ฎหมายที่ ส อดคล้ องกั บ อนุ สัญ ญา สหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เพียงไม่กี่ฉบับ และในจํานวนไม่กี่ฉบับนันก็ ้ มิได้ สอดคล้ องไปเสีย ทัง้ หมด ดังนัน้ หากประเทศไทยจะเข้ าเป็ นภาคีอนุสัญญาฉบับนี โ้ ดยการให้ สตั ยาบัน (ratification) ประเทศไทย โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


305

จะต้ องแก้ ไขกฎหมายภายในจํานวนมาก รวมทังต้ ้ องตรากฎหมายขึ ้นใหม่หลายฉบับ อาทิ กฎหมายรองรับสถานะของ องค์กรตามอนุสญ ั ญา (องค์กรแสวงประโยชน์จากมรดกร่วมกันของมนุษยชาติที่อยู่ในใต้ พื ้นดินท้ องทะเลหรื อพื ้นดินท้ อง ทะเล หรื อองค์กรระงับข้ อพิพาทใดๆ เกี่ยวกับการใช้ และตีความอนุสญ ั ญา) หรื อกฎหมายรองรับการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล หรื อกฎหมายรองรั บการรั ก ษาสิ่งแวดล้ อมทางทะเลโดยเฉพาะที่ อ ยู่น อกทะเลอาณาเขต จากปั ญ หา ทางด้ านกฎหมายนี ้เองที่ส่งผลให้ รัฐบาลใดที่ประสงค์จะให้ สตั ยาบันอนุสญ ั ญาฉบับนี ้ต้ องสามารถอธิบายต่อรัฐสภา ้ องอธิบายได้ ว่า ไทย ได้ ว่าจะต้ องตรากฎหมายภายในใดบ้ าง ไม่ว่าจะเป็ นการปรับปรุงแก้ ไขหรื อตราขึ ้นใหม่ รวมทังต้ จะได้ ประโยชน์จากอนุสญ ั ญานี ้อย่างไรบ้ าง และต้ องเสียประโยชน์หรื อไม่ สิ่งต่างๆ เหล่านี ้นับว่าเป็ นอุปสรรคที่สําคัญ ต่อการเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาสหประชาชาติต่างๆ จนบางครัง้ ทําให้ กฎหมายภายในของประเทศไทยดูจะล้ าสมัยไม่ สอดคล้ องกับกฎหมายระหว่างประเทศใหม่ๆ ที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั 5.1.4 ประชาชนในพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลยังขาดโอกาสในการเข้ าถึงการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเลแบบ บูรณาการ ประชาชนในประเทศไทยยังขาดความรู้ความเข้ าใจถึงอาณาเขตทางทะเล ซึง่ คิดเป็ นพื ้นที่ประมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นกว่า 60 เปอร์ เซ็นต์ของพื ้นที่ทางบกที่มีอยู่ประมาณ 513,000 ตารางกิโลเมตร ส่งผลให้ คนไทย สูญเสียโอกาสที่เกิดจากผลประโยชน์ทางทะเล ประชาชนขาดความรู้ ความเข้ าใจ และจิตสํานึกเกี่ยวกับผลประโยชน์ ชาติทางทะเล และส่งผลให้ ไม่มีสว่ นร่วมในการรักษาผลประโยชน์ชาติทางทะเล 5.1.5 ขาดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเล ส่งผลให้ ภาครัฐ ขาดวิสยั ทัศน์ในการบริ หารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลร่ วมกัน ทําให้ ไม่สามารถสร้ าง ความร่วมมือในการบริหารจัดการแบบองค์รวมได้ ทงในส่ ั ้ วนของนโยบายและองค์กร/หน่วยงานที่มีหน้ าที่ในการบริ หาร จัดการ ตัวอย่างที่เห็นได้ อย่างชัดเจน เช่น ความไม่พร้ อมในระบบการขนส่งสินค้ าทางทะเล และบุคลากรที่มีความรู้ ทางด้ า นการขนส่ ง ทางนํ า้ และพาณิ ช ยนาวี การเดิ น เรื อ ซึ่ ง ทํ า ให้ สูญ เสี ย โอกาสในการใช้ ควบคุม หรื อ รั ก ษา ผลประโยชน์ ชาติทางทะเลที่ควรจะได้ รับ ในขณะที่การอนุรักษ์ และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นไปอย่างไม่ สอดคล้ องกัน ประเทศไทยจึงสมควรกําหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน และมีการดําเนินงานที่สอดคล้ องกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในอนาคตผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทยจะยิ่งมีมลู ค่าเพิ่มมากขึ ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีภยั คุกคามที่ ส่งผลกระทบต่อเสรี ภาพในการใช้ ทะเลของประเทศไทยอยูห่ ลายประการ ทังจากภั ้ ยทางทหาร และภัยอื่นๆ โดยเฉพาะ การก่อการร้ ายในทะเล การกระทําอันเป็ นโจรสลัด และ ภัยธรรมชาติต่างๆ ที่นับวันจะทวีความรุ นแรงมากยิ่งขึน้ ดังนัน้ ประเทศไทยจึงจําเป็ นจะต้ องสร้ างนโยบายแห่งชาติขึ ้นเพื่อเกื ้อหนุนการดําเนินงานต่างๆ ในการปกป้องรักษา ผลประโยชน์แห่งชาติที่เกิดจากการใช้ ทะเลน่านนํ ้าไทยอย่างเหมาะสมและเป็ นธรรมกับทุกฝ่ าย ทังนี ้ ้จะต้ องได้ รับการ สนับสนุนและความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกภาคส่วนทังจากภาครั ้ ฐและภาคประชาชน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


306

5.2 ข้ อเสนอแนะเพื่อการจัดการผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล จากการศึกษาวิจยั ของโครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเล อย่างยัง่ ยืน ซึ่งได้ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่มีอยู่ (ข้ อมูลทุติยภูมิ) ประกอบกับการประชุม ระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญที่มีความรอบรู้เกี่ยวกับการใช้ ทะเลในทุกมิติอย่างครบถ้ วน ทําให้ ได้ ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการบริ หารจัดการที่น่าจะมีความเหมาะสมและเป็ นไปได้ ในสถานการณ์ ปัจจุบันเพื่อจัดการผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลของประเทศไทย โดยมุ่งเน้ นให้ ทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ งของไทยต้ องถูกใช้ อย่างถูกหลัก สมุทราภิบาล402 เพื่อให้ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลมีให้ คนไทยใช้ ได้ อย่างพอเพียงและยัง่ ยืน ดังนี ้ 5.2.1 จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ ระดับชาติเกี่ยวกับผลประโยชน์ชาติทางทะเลในทุกมิติอย่างเป็ นระบบ ที่สอดคล้ องกัน ด้ วยกระบวนการการมีสว่ นร่วมของทุกฝ่ าย ประเทศไทยจะต้ องจัดทํากรอบนโยบาย และยุทธศาสตร์ ระดับชาติเกี่ยวกับผลประโยชน์ชาติทางทะเลเพื่อ รักษาผลประโยชน์ของชาติให้ เป็ นรู ปธรรม เมื่อกรอบนโยบายได้ รับการจัดทําเสร็ จแล้ วก็จะต้ องเริ่ มจัดทํากรอบด้ าน กฎหมายทางทะเลเพื่อให้ ครอบคลุมกิจกรรมทางทะเลทังหมดที ้ ่เกิดขึน้ ซึ่งประกอบด้ วยชายฝั่ งและน่านนํา้ ภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง ไหล่ทวีป เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และทะเลหลวง ได้ แก่ - การบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมเพื่อการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์อย่าง ยัง่ ยืน - การบริหารจัดการทรัพยากรประมงพื ้นบ้ าน ประมงในน่านนํ ้า และประมงนอกน่านนํ ้า - การบริ หารจัดการทรัพยากรแร่ธาตุ และพลังงาน - การคมนาคม การขนส่งทางทะเล และพาณิชยนาวี - การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน - การปกป้องอธิปไตย และความมัน่ คงของชาติทางทะเล นอกจากนี ้ ควรจะต้ องมีการเสริมสร้ างกําลังอํานาจของชาติที่เรี ยกว่า สมุททานุภาพให้ อยู่ในระดับที่สามารถ แข่งขันกับประเทศอื่นๆ ได้ โดยจะต้ องมีการพัฒนาทังในส่ ้ วนขององค์ประกอบที่เสริ มสร้ างความมัง่ คัง่ คือ กําลัง อํานาจทางทะเล และองค์ประกอบที่เป็ นส่วนป้องกันกําลังอํานาจทางทะเลดังกล่าว คือ กําลังทางเรื อ 5.2.2 รณรงค์สร้ างจิตสํานึกสาธารณะเกี่ยวกับผลประโยชน์ชาติทางทะเลในทุกมิติให้ กบั กลุ่มคนทุกระดับ อย่างเป็ นรูปธรรม ดําเนินการประชาสัมพันธ์ และสร้ างสื่อความรู้ เกี่ยวกับอาณาเขตและผลประโยชน์ชาติทางทะเล เพื่อสร้ าง กลไกการมีส่วนร่ วมของภาคประชาชนในการบริ หารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเล เน้ นให้ ภาคประชาชนรู้ จกั คิด

402

สมุทราภิบาล มาจากคําว่า สมุทร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 แปลว่า ทะเลลึก (ส.; ป. สมุทฺท) รวมกับ คําว่า อภิบาล ซึง่ แปลว่า บํารุ งรักษา, ปกครอง รวมแล้ วหมายถึง การบํารุ งทะเลให้ มีผลผลิตเพิ่มขึ ้น แทนการมุ่งเพื่อใช้ ทรัพยากรทางทะเลแต่ เพียงด้ านเดียว เสนอโดย ศาสตราจารย์กิตติคณ ุ ดร. ทวีศกั ดิ์ ปิ ยะกาญจน์ ที่ปรึ กษาสมาคมวิทยาศาสตร์ ทางทะเลแห่งประเทศไทยและที่ ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของโครงการฯ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


307

วางแผน และปฏิบตั ิด้วยตนเองเพื่อตนเอง อันจะทําให้ เกิดจิตสํานึกสาธารณะเกี่ยวกับผลประโยชน์ชาติทางทะเลใน ทุกมิติร่วมกัน เป็ นการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้ เจริญก้ าวหน้ าอย่างยัง่ ยืน 5.2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจยั อย่างบูรณาการที่ครอบคลุมทุกมิติ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องต้ องให้ การส่งเสริ มและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในด้ านต่างๆ เช่น วิทยาศาสตร์ ทาง ทะเล การบริหารจัดการประมงอย่างรับผิดชอบในน่านนํ ้าไทย การประมงนอกน่านนํ ้าไทย กิจการทางทะเล การขนส่ง ทางนํ า้ และพาณิ ชยนาวี กฎหมายระหว่างประเทศ เป็ นต้ น ซึ่งต้ องศึกษาทัง้ ในเชิง วิ ชาการเพื่อ ให้ ไ ด้ องค์ ความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้ านของผลประโยชน์ทางทะเลที่มองไม่เห็น ซึ่งเป็ นพื ้นฐานสําคัญของการจัดการ และงานวิจยั ในเชิงนโยบาย เพื่อให้ หาแนวทางการบริหารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลที่ดีที่สดุ มีกลไกการผลักดันที่สําคัญ คือ การจัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ ชาติเพื่อกําหนดทิศทางการศึกษาวิจัย ด้ านผลประโยชน์ชาติทางทะเล เพื่อเป็ นกรอบให้ กบั หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง จัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริ มการ ศึกษาวิจยั และการเพิ่มอัตราการจ้ างงานในสาขาที่มีความสําคัญต่อการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมาย 5.2.4 ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบดําเนินการเรื่ องการเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ทะเล ค.ศ. 1982 (ลงนามรับรองไว้ ตงแต่ ั ้ ค.ศ. 1982 (2525)) เพื่อสร้ างโอกาสที่จะสงวน รักษา และ ปกป้องสิทธิที่พงึ่ มีพงึ่ ได้ จากการใช้ ทะเลของคนในชาติ การเข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 จะมีผลดีต่อประเทศไทย เช่น จะช่วยให้ สามารถปก ปั กษ์ รักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถอ้ างสิทธิ และเสรี ภาพในทะเลตามที่ กฎหมายบัญญัติไว้ ได้ อย่างเต็มที่ อีกทังสามารถปกป ้ ้ องสิทธิของคนในชาติที่ออกไปทําการประมงนอกน่านนํ ้าได้ อย่าง เต็มที่ กล่าวคือสามารถนํ า ข้ อ พิพาทในระหว่างรั ฐภาคีอ นุสัญ ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้ วยการขึน้ สู่ก าร พิจารณาของศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศ (International Tribunal on the Law of the Sea) เพื่อให้ พิจารณา ตัดสินระงับข้ อพิพาทระหว่างกันได้ ทําให้ ประเทศไทยสามารถเรี ยกร้ องความเป็ นธรรมในฐานะภาคีได้ อย่างเต็มที่ เช่น ใช้ สิทธิ เรี ยกร้ องความเป็ นธรรมจากศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศ ในกรณี ทางการมาเลเซียใช้ อาวุธปื นยิง ั ญาฯ กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ดังกล่าวอย่าง เรื อประมงไทย ซึง่ ถือว่าเป็ นการขัดต่อบทบัญญัติมาตรา 73 ของอนุสญ ยิ่ง แต่ในทางปฏิบตั ิประเทศไทยไม่สามารถฟ้องร้ องรัฐบาลมาเลเซียต่อศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศได้ เพราะ ประเทศไทยยังมิได้ เข้ าเป็ นภาคีอนุสญ ั ญาดังกล่าว ในขณะที่ประเทศมาเลเซียมีสถานะเป็ น “ภาคี” แล้ วตังแต่ ้ ปี 1996 จึงส่งผลให้ ประเทศไทยอยูใ่ นฐานะที่เสียเปรี ยบประเทศมาเลเซียเป็ นอย่างยิ่ง นอกจากนี ้ หลังจากที่เข้ าเป็ นภาคีแล้ วทําให้ ประเทศไทยต้ องนําหลักปฏิบตั ิระหว่างประเทศ ตลอดจนสิทธิ หน้ าที่ เขตอํานาจ และบทบาทของรัฐตามบทบัญญัติของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มาใช้ ประกอบการจัดทําแผนปฏิบตั ิการระดับชาติวา่ ด้ วยการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเล เพื่อเป็ นกรอบนโยบาย แห่งรัฐในการบริ หารจัดการทรั พยากรทางทะเลให้ มีประสิทธิ ภาพ และมีแผนการดําเนินการที่ชัดเจน เพื่อเร่ งฟื น้ ฟู สภาพแวดล้ อมทางทะเล และความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์นํ ้าและความหลากหลายทางชีวภาพในทะเลของ ไทยทังด้ ้ านอ่าวไทยและฝั่ งทะเลอันดามัน อนึง่ การรับรองสนธิสญ ั ญานันจะต้ ้ องได้ รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อน ทังนี ้ ้ เพื่อให้ มีผลผูกพันต่อรัฐสภา ที่ต้องให้ ความเห็นชอบเมื่อรัฐบาลเสนอกฎหมายต่อรัฐสภา และตราเป็ นกฎหมายใช้ บงั คับต่อไป ทังนี ้ ้ แม้ ประเทศไทย ั ญาฯ ก็ตาม ก็ควรเร่งดําเนินการจัดตังคณะกรรมการ ้ หรื อคณะทํางานเฉพาะกิจเพื่อศึกษา จะยังไม่ให้ สตั ยาบันอนุสญ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


308

ถึงความไม่ชัดเจนของอํ านาจหน้ าที่ และกฎหมายที่ให้ อํานาจดังกล่าว ความซํ า้ ซ้ อนของการใช้ อํานาจ ความไม่ ครอบคลุมของบทบัญญัติของกฎหมายที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั กับกิจกรรมทางทะเลและธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง เพื่อสรุ ปปั ญหา และอุปสรรคของการพัฒนากฎหมายทางทะเลทังหมดโดยเร็ ้ ว และเร่ งหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาโดยด่วน หรื อกล่าว โดยรวม คื อ เร่ ง สัง คายนากฎหมายทางทะเลโดยเร็ ว และอย่า งเป็ นรู ปธรรม ทัง้ นี ้ เพื่ อ ให้ กฎหมายสามารถเป็ น เครื่ องมือในการคุ้มครอง ดูแลและรักษาผลประโยชน์ทางทะเลให้ เป็ นไปอย่างยัง่ ยืน โดยที่การสังคายนากฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ องกับทะเลมีจํานวนมาก อาจทําให้ เกิดความล่าช้ าได้ ภายใต้ ระบบการตรากฎหมายของไทย ดังนัน้ ในระหว่างการสังคายนาควรเร่ งจัดทํากฎหมายกลางเพื่อคุ้มครองสิทธิ และ หน้ าที่ที่ประเทศไทยพึงมีและทําให้ ไทยมีเขตอํานาจของรัฐในทะเลต่างๆ ที่อยู่นอกทะเลอาณาเขตอันเป็ นการแก้ ไข ปั ญหาทางกฎหมายไปพลางก่อน และเมื่อการสังคายนากฎหมายในแต่ละฉบับเสร็จสิ ้นลงก็อาจยกเลิกกฎหมายกลาง คงไว้ แต่เพียงกฎหมายจัดตังสํ ้ านักงานอิสระ เพื่อแก้ ไขปั ญหาในทางปฏิบตั ิดงั ที่กล่าวไว้ ข้างต้ น คณะทํางานด้ านกฎหมายที่เกี่ ยวข้ องกับการใช้ ทะเลของโครงการสถานการณ์ ปัจจุบัน และแนวโน้ มใน อนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน ได้ ศกึ ษาทบทวนมุมมองด้ านกฎหมายทังกฎหมายภายในประเทศ ้ และกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลไว้ คอ่ นข้ างละเอียด ดังรายงานในบทที่ 4 5.2.5 จัดตัง้ คณะทํ างานในลักษณะคณะกรรมการระดับชาติ หรื อ คณะกรรมการที่ ปรึ กษา (Advisory Board) หรื อ ในชื่ออื่นๆ เพื่อทําหน้ าที่หลักในการเป็ นหน่วยประมวลความรู้ (Think Tank) โดย คณะกรรมการหรื อคณะทํางานดังกล่าวต้ องมีความคล่องตัวในการดําเนินการเพื่อให้ คําปรึกษาแก่ผ้ ู มีอํานาจในการตัดสินใจได้ คณะกรรมการระดับชาติและหน่วยงานกลาง นี ้จะทําหน้ าที่หลักในการรวบรวมและประมวลความรู้ (Think Tank) พร้ อมทังเสนอแนะเชิ ้ งนโยบายที่จะทําให้ เกิดการบริ หารจัดการใช้ ทะเลไทยอย่างสมดุล พอเพียง และยัง่ ยืนต่อ ผู้มีอํานาจตัดสินใจ (Advisory Board) ทังนี ้ ้ คณะกรรมการและหน่วยงานดังกล่าวไม่ควรอยู่ภายใต้ หน่วยงานใด โดยเฉพาะเพื่อหลีกเลี่ยงการมองภาพทะเลเป็ นส่วนๆ อย่างไรก็ตามอาจประกอบด้ วยผู้แทนส่วนราชการต่างๆ ที่มี หน้ าที่ความรับผิดชอบต่อกิจกรรมทางทะเลหรื อกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องทังหมด ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการและ หน่วยงานดังกล่าวจะทําหน้ าที่ผลักดันให้ เกิดการจัดทํายุทธศาสตร์ ชาติทางทะเลในองค์รวม คือมองทะเลเป็ นหนึ่ง เดียว เมื่อมียทุ ธศาสตร์ แล้ วก็จะผลักดันให้ เกิดแผนปฏิบตั ิการแห่งชาติว่าด้ วยกิจกรรมทางทะเล โดยจําเป็ นอย่างยิ่งที่ ต้ องมีการกําหนดหน่วยงานที่ทําหน้ าที่รับผิดชอบ (อาจมากกว่าหนึ่งแห่งก็ได้ ) เพื่อปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิการแห่งชาติ ซึง่ จะได้ รับการจัดทําร่วมกันของผู้แทนส่วนราชการ เพื่อแก้ ไขปั ญหาอุปสรรคที่เกิดมีขึ ้นอยู่ในปั จจุบนั แบบบูรณาการ อัน จะช่วยลดการซํ ้าซ้ อนของการดําเนินการ และลดการซํ ้าซ้ อนของการใช้ อํานาจหน้ าที่เพื่อการบังคับการให้ เป็ นไปตาม กฎหมาย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


309

บทที่ 6 การศึกษาวิจยั เพิ่มเติมในประเด็นที่เกี่ยวข้ องในอนาคต การศึกษาสถานการณ์ ปัจจุบันและแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยั่ง ยื น เป็ น การศึกษาโดยการรวบรวมข้ อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับมิติทางทะเลต่างๆ เช่น มิติด้านทรัพยากรธรรมชาติ พาณิชยณาวี การท่องเที่ยวทางทะเล และมิติสงิ่ แวดล้ อมทางทะเล นอกจากนี ้ได้ รวมรวมข้ อมูลมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล จากข้ อมูลทุติยภูมิ และได้ ระดมความคิดเห็นจากคณะที่ปรึกษาและคณะทํางานที่มีความเชี่ยวชาญครอบคลุมทุกมิติ ที่เกี่ยวข้ อง พบว่า ข้ อมูลต่างๆ ที่รวบรวม วิเคราะห์และนํามาสรุ ป มีความจําเป็ นอย่างมากต่อการวางแผนบริ หาร จัดการทรั พยากรธรรมชาติและการใช้ ทะเล แต่ข้อมูลที่นํามาศึกษายังส่วนที่บกพร่ อง เนื่ องจากยังขาดงานวิจัยที่ จํ า เป็ นต่ อ การจัด ทํ า นโยบายในการบริ ห ารจัด การการใช้ ท ะเล นอกจากนี ง้ านวิ จัย ที่ มี อ ยู่บ างส่ ว นก็ ไ ม่ ทัน ต่ อ ้ จึงเห็นควรนําเสนอหัวข้ องานวิจยั สถานการณ์ในปั จจุบนั ทําให้ นํามาใช้ ประโยชน์ได้ ไม่มากเท่าที่ควร ดังนันโครงการฯ ที่น่าจะต้ องมีการศึกษาและวิจัยเพิ่มเติม เพื่อเป็ นแนวทางให้ นักวิจัยที่มีความสนใจและเชี่ยวชาญในด้ านดังกล่าว นํ าไปเป็ นประเด็นในการศึกษาและวิจัยต่อไป ซึ่งจะสอดคล้ องกับการส่งเสริ มและสนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับการ ศึกษาวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ทางทะเล และเรื่ องที่เกี่ยวข้ องตามข้ อเสนอเชิงนโยบายในบทที่ 5 โดยหัวข้ องานวิจยั ที่จะ นําเสนอในบทนี ้ถูกจัดแบ่งออกตามมิติของการศึกษาของโครงการตังแต่ ้ แรกเริ่ มมา ได้ แก่ มิติทรัพยากรธรรมชาติ มิติ ้ จยั ในประเด็นอื่นๆ ดังนี ้ กิจกรรม และมิติผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อม และมิติด้านกฎหมาย รวมทังงานวิ 6.1 มิตทิ รั พยากรธรรมชาติ 6.1.1 เพื่อให้ เห็นความสําคัญและความจําเป็ นที่จะต้ องมีการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ควรจะ ู พันธุ์ หรื อ มีแนวโน้ มจะสูญพันธุ์ พร้ อมทัง้ ให้ มีการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับชนิดพันธุ์สตั ว์และพืชที่เคยมีชีวิติ หรื อ ใกล้ สญ ประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ ของชนิดพันธุ์นนๆ ั ้ เช่น มูลค่าจากการใช้ ประโยชน์ทงทางตรงและทางอ้ ั้ อม และมูลค่า จากการที่จะอนุรักษ์ ไว้ เพื่ออนาคต เป็ นต้ น เพราะข้ อมูลเหล่านี ้จะเป็ นสถิติที่จะใช้ อ้างอิงได้ ชดั เจนถึงความสูญเสียที่ เกิดขึ ้นจากการไม่มีนโยบายในการบริ หารจัดการธรรมชาติ 6.1.2 การจะคิดมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลได้ ใช้ หลักการคิดมูลค่าเศรษฐศาสตร์ โดยรวม ซึ่งมี สัดส่วนของมูลค่าที่ไม่ได้ ใช้ (Non-Use Value) รวมอยู่ด้วย แต่การศึกษาเรื่ องทรัพยากรทางทะเลที่ผ่านมายังมี การศึกษาในเรื่ องนี ไ้ ม่มากนัก ทําให้ มูลค่าของทรั พยากรทางทะเลที่ ได้ มีค่าไม่ถูกต้ องตามที่ควรจะเป็ น จึงควรมี การศึกษาเรื่ องการประเมินมูลค่าที่ไม่ได้ ใช้ ทรัพยากรทางทะเลชนิดนันๆ ้ โดยละเอียด 6.1.3 ควรมี การประเมินสภาวะทรั พยากรธรรมชาติแ ต่ละชนิ ดเป็ นรายปี เพื่ อให้ ทราบถึงแนวโน้ มการ เปลี่ ย นแปลงของทรั พ ยากรทัง้ ในอดี ต และปั จ จุบัน ได้ อ ย่า งชัด เจน ซึ่ ง น่ า จะเป็ นประโยชน์ สํ า หรั บ การคาดการ สถานการณ์ของทรัพยากรในอนาคตได้ ในกรณีที่ทรัพยากรอยู่ในขันวิ ้ กฤติ นักวางแผนจะได้ มีแผนรองรับการจัดการ ได้ ทนั ต่อเหตุการณ์ 6.1.4 ควรมีการสํารวจวิจัยทางทะเลให้ ครอบคลุมทุกสาขาทางด้ านทะเล เช่น ด้ านกายภาพ (Physical) เคมี (Chemical) ธรณีวิทยาทางทะเล (Geological Oceanography) สังคม (Social) การจัดการ (Management)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


310

และควรศึกษาแบบสหสาขาวิชา จะทําให้ เกิดการผมผสานของงานวิจยั ให้ นกั วิจยั ไม่มองงานศึกษาแต่เพียงด้ านเดียว และไม่ควรจํากัดเฉพาะการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการศึกษาเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ แต่ควรลงไปสํารวจในพื ้นที่ สนามด้ วย เพื่อให้ ผ้ วู ิจยั เข้ าใจสภาพพื ้นที่ศกึ ษาอย่างแท้ จริ ง 6.2 มิตกิ จิ กรรมการใช้ ทะเล 6.2.1 เนื่องจากการดําเนินโครงการนี ม้ ีข้อจํากัดเรื่ องระยะเวลาดําเนินงาน จึงมีการศึกษามิติทางทะเล หลักๆ เพียง 4 มิติ ผลการศึกษาที่ได้ อาจยังไม่ครอบคลุมมิติการใช้ ทะเลทังหมดอย่ ้ างแท้ จริ ง จึงควรศึกษาเพิ่มเติมใน มิติอื่นๆ นอกเหนือจากมิติที่กล่าวมา เช่น มิติข้อมูลข่าวสาร (Information) มิติด้านการจัดการ (Management) มิติ งานวิจยั ด้ านวิทยาศาสตร์ ทางทะเล (Marine Science Research) ความร่ วมมือระหว่างประเทศ (International Cooperation) และมิติความมัน่ คงทางทะเล (Maritime Security) 6.2.2 จากการศึกษาพบว่า มูลค่าจากการใช้ ทะเลมีมากกว่ามูลค่าของทรัพยากร โดยเฉพาะการใช้ ทะเล ด้ านพาณิชยนาวีที่มีมลู ค่าสูงถึง 6.12 ล้ านล้ านบาท แต่ข้อมูลค่าดังกล่าวไม่ชดั เจนนักว่าเป็ นมูลค่าที่แท้ จริ งหรื อไม่ เพราะมูลค่านีอ้ าจจะรวมมูลค่าจากการขนส่งและค่าบริ การทางบกด้ วย ซึ่งไม่เป็ นมูลค่าจากการขนส่งทางทะเลที่ แท้ จริ ง จึงควรศึกษาและวิจยั มูลค่าจากพาณิชยนาวีให้ มีความชัดเจน เพื่อใช้ อ้างถึงมูลค่าผลประโยชน์ชาติทางทะเล ได้ อย่างถูกต้ องมากขึ ้น 6.2.3 นักธุรกิจและประชาชนที่ประกอบกิจการบริ เวณชายฝั่ งและทะเล เช่น ธุรกิจการท่องเที่ยว การขนส่ง ทางทะเล แพปลา การทําการประมง เป็ นต้ น จะมีความใกล้ ชิด และทราบถึงสภาวะของทรัพยากรในบริ เวณที่ตนใช้ ประโยชน์มากที่สดุ แต่เนื่องจากบุคคลเหล่านี ้มีส่วนร่ วมกับหน่วยงานภาครัฐในการดู จัดการ และอนุรักษ์ ทรัพยากร น้ อยมาก ดังนันหน่ ้ วยงานที่เกี่ยวข้ องจะต้ องศึกษาถึงความต้ องการและแรงจูงใจให้ บคุ คลเหล่านี ้เข้ ามามีส่วนร่ วมใน การรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมด้ วย จะเป็ นประโยชน์หรื อเป็ นแนวทางให้ หน่วยงานต่างๆ สามารถสร้ าง กิจกรรมเกี่ยวกับการมีส่วนร่ วมให้ มีประสิทธิ ภาพมากขึน้ อันจะทําให้ ระบบการบริ หารจัดการมีประสิทธิ ภาพและ เป็ นไปตามความต้ องการของประชาชนมากที่สดุ 6.3 มิตผิ ลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมทางทะเล 6.3.1 เนื่องจากกิจกรรมการใช้ ทะเลในหลายๆ ด้ านส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม จึงควรประเมินและศึกษา ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมที่เกิดจากกิจกรรมทางทะเลประเภทต่างๆ โดยศึกษาออกมาเป็ นมูลค่าการสูญเสียที่ได้ รับ ผลกระทบจากกิจกรรมและระบบการจัดการที่มีความบกพร่ อง เพราะข้ อมูลนีจ้ ะช่วยสนับสนับสนุนให้ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องใส่ใจในระบบการจัดการให้ ดีขึ ้น 6.3.2 การดําเนินโครงการก่อสร้ างต่างๆ บริ เวณชายฝั่ งทะเลหรื อในทะเล เช่น ท่าเทียบเรื อ การวางปะการัง เทียม และสิ่งก่อสร้ างอื่นๆ ในทะเล ควรจะมีการศึกษาถึงลักษณะทางกายภาพของพื ้นท้ องทะเล กระแสนํ ้า และ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


311

ทิ ศ ทางของคลื่ น ลมในแต่ ล ะฤดูก าลเสี ย ก่ อ น เพราะสิ่ง เหล่า นี เ้ มื่ อ สร้ างขึ น้ แล้ ว อาจจะไปขัด ขวางลัก ษณะทาง สมุทรศาสตร์ ของทะเลจนเกิดปั ญหาต่างๆ เช่น การกัดเซาะชายฝั่ ง การตกทับถมของตะกอน เป็ นต้ น 6.3.3 การใช้ ประโยชน์จากทะเลในอาณาเขตทางทะเลมีหลากหลายและกระจัดกระจาย ได้ แก่ น่านนํ ้า ั นาร่ วม แต่ไม่มีแผนที่แสดงและระบุชดั เจนว่าในแต่ละ ภายใน ทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และพื ้นที่พฒ บริเวณมีกิจกรรมอะไรบ้ าง จึงยากแก่การจัดระบบ ดูแล จัดการทรัพยากรและกิจกรรมต่างๆ ให้ อยูใ่ นระเบียบกฎหมาย จึงควรมีการศึกษา ประเมินศักยภาพ และติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรและการใช้ ทะเลในอาณาเขตทาง ทะเลต่างๆ เพื่อให้ ผ้ จู ดั การและนักวางแผนมองเห็นภาพการใช้ และความพอเพียงของทรัพยากรที่มีในปั จจุบนั และ เพื่อเป็ นแนวทางในการวางนโยบายการจัดการได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น 6.4 มิตดิ ้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเล 6.4.1 จากการศึกษาวิเคราะห์ของทีมวิจยั ด้ านกฎหมายของโครงการฯ พบว่ากฎหมายภายในที่เกี่ยวข้ อง กับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและการใช้ ทะเลหลายฉบับจําเป็ นต้ องมีการศึกษาและเตรี ยมการเพื่อปรับปรุงให้ ทนั กับยุคสมัยปั จจุบนั และสอดคล้ องกับกฎหมายระหว่างประเทศต่างๆ ที่ประเทศไทยได้ มีการลงนามเข้ าเป็ นภาคีไว้ ซึง่ แม้ การปรับเปลี่ยนด้ านกฎหมายเป็ นสิ่งที่กระทําได้ ยาก แต่ถ้าพิจารณาแล้ วก็เห็นความจําเป็ นที่จะต้ องปรับปรุ งอย่าง ยิ่ง 6.4.2 นอกจากกฎหมายภายในแล้ ว ข้ อตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ทัง้ ส่วนภูมิภาคและต่างภูมิภาคที่ เกี่ยวกับทรัพยากรและการใช้ ทะเลก็เป็ นเรื่ องที่ประเทศไทยจําเป็ นต้ องศึกษาให้ มีความเข้ าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะได้ ้ งเพื่อยกระดับและปรับปรุ งสถานภาพของประเทศไทยให้ มีศกั ดิ์ สงวนและรักษาสิทธิที่พึ่งมีพึ่งได้ ของประเทศไว้ ทังยั และเกียรติไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าประเทศกําลังพัฒนาหรื อประเทศที่พฒ ั นาแล้ วอื่นๆ ด้ วย 6.5 งานวิจัยในประเด็นอื่นๆ 6.5.1 เนื่องจากการศึกษาวิจยั ของโครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับ การใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืนในประเด็นเรื่ องของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเลยังมีความไม่ชัดเจนอยู่มาก ดังนัน้ ประเด็น เรื่ องของหน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้ องจึง ยัง เป็ นเรื่ อ งที่ ควรมีการศึก ษาวิจัย ให้ มากขึน้ เพื่ อ จะได้ วิเคราะห์ ค วาม เชื่อมโยงของแต่ละหน่วยงานได้ อย่างถูกต้ อง ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการบริ หารจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล อย่างมาก 6.5.2 พัฒนาฐานข้ อ มูลทางทะเลให้ เป็ นระบบเดีย วกันทัง้ ประเทศ สร้ างมาตรฐานของข้ อมูลให้ เป็ นที่ ยอมรับทังในเรื ้ ่ องความถูกต้ องและความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ทังนี ้ ้เพื่อให้ ผ้ มู ีอํานาจตัดสินใจสามารถนําข้ อมูลและ องค์ความรู้ที่มีอยูม่ าใช้ ประโยชน์ได้ อย่างเหมาะสมและทันท่วงที อนึง่ ในการศึกษาวิจยั เหล่านี ้ควรมุง่ เน้ นที่วตั ถุประสงค์หลักๆ 2 ข้ อ คือ 1) เพื่อสร้ างองค์ความรู้ เกี่ยวกับสมุทรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทางทะเล และกิจการทางทะเลที่เกี่ ยวข้ อง ต่างๆ อย่างครอบคลุมและครบถ้ วน พร้ อมทังรวมสร้ ้ างฐานข้ อมูลงานวิจัยอย่างเป็ นระบบ เพื่อให้ เกิดการนําไปใช้ ประโยชน์ได้ อย่างเป็ นรูปธรรม ทังยั ้ งเป็ นการเผยแพร่ไปสูส่ าธารณชนอย่างกว้ างขวาง

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


312

2) เพื่อใช้ ประกอบการจัดทํานโยบายในการบริ หารจัดการการใช้ ทะเลได้ อย่างเหมาะสม และทันต่อ สถานกาณ์ของประเทศและของโลกในปั จจุบนั ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทังนี ้ ้ แนวทางปฏิบตั ิที่ควรจะเป็ นสําหรับการศึกษาวิจยั ก็คงไม่แตกต่างจากการจัดการเรื่ องอื่นๆ คือ ต้ องมี ้ ฐ เอกชน และประชาชนเข้ าด้ วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรส่งเสริ ม การบูรณาการระหว่างองค์กร/ หน่วยงานทังภาครั งานวิจัยให้ เกิดขึน้ ในชุมชน หรื อในพืน้ ที่บริ เวณชายฝั่ งอย่างจริ งจัง เพราะนอกจากจะเป็ นการสร้ างเสริ มความรู้ ที่ เหมาะที่ควรให้ กบั คนในชุมชนซึง่ เป็ นคนใช้ ประโยชน์ทะเลโดยตรงแล้ ว ยังมีสว่ นช่วยให้ ชมุ ชนตระหนักถึงความสําคัญ ของทะเล รู้ จักหวงแหนและช่วยกันรักษาแหล่งทํามาหากินนีไ้ ว้ จนเป็ นแรงบันดาลใจให้ เกิดความสํานึก และความ ต้ องการที่จะบริหารจัดการทรัพยากรของตนอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้ วย

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


313

บทที่ 7 ระบบฐานข้ อมูลและเว็บไซต์ การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรต่างๆ ในประเทศไทยถือเป็ นผลประโยชน์หลักของประเทศ ซึง่ การใช้ ประโยชน์ ทางทะเลก็เป็ นส่วนที่สําคัญส่วนหนึ่งของการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรต่างๆ ของประเทศ มีมลู ค่าโดยรวมของการใช้ ประโยชน์มีไม่ตํ่ากว่า 7.4 ล้ านล้ านบาท ซึง่ ผลประโยชน์เหล่านี ้มาจากกิจกรรมต่างๆ เช่น การขนส่งและพาณิชยนาวี การประมง ทรัพยากรแร่ธาตุ การขุดเจาะปิ โตรเลียม ฯลฯ เป็ นต้ น ปั จจุบนั เป็ นที่ทราบดีว่ามีการศึกษาวิจยั และมีข้อมูล ต่างๆ จํานวนมาก ทว่าการจะเข้ าถึงและนําข้ อมูลเหล่านัน้ มาใช้ ประโยชน์ต่อเนื่องยังเป็ นเรื่ องที่กระทําได้ ยาก ทังนี ้ ้ อาจเนื่องมาจากข้ อมูลเหล่านี ้กระจายอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ และยังไม่เคยปรากฎว่ามีการเก็บรวบรวมหรื อจัดทําให้ อยู่ในระบบเดียวกันมาก่อน ซึง่ อาจทําให้ เกิดการศึกษาที่ซํ ้าซ้ อนกันได้ อย่างไม่ตงใจ ั ้ สิ ้นเปลืองงบประมาณ เวลา และ แรงงานในการศึกษาอย่างไม่สมควร ดังนัน้ การรวบรวมข้ อมูลให้ เป็ นระบบจึงเป็ นสิ่งที่จะเป็ นประโยชน์ยิ่งโดยเฉพาะ ต่อผู้มีอํานาจในการตัดสินใจ ทังนี ้ ้ ในการจัดทําฐานข้ อมูลการใช้ ทะเลในภาพรวมทังหมด ้ ก็ไม่ใช่เรื่ องที่จะทําได้ โดยง่าย อย่างไรก็ตาม โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ ทะเลอย่างยัง่ ยืน ได้ เริ่ มทดลองและ พัฒนาระบบฐานข้ อมูลการใช้ ทะเลดังกล่าวในขันแรก ้ โดยใช้ ข้อมูลที่ได้ จากการศึกษารวบรวมของโครงการเป็ นหลัก ซึ่ง ระบบฐานข้ อมูลนี จ้ ะประกอบไปด้ ว ยข้ อ มูลด้ านทรั พยากรทางธรรมชาติและสิ่ง แวดล้ อ ม ข้ อมูลสารสนเทศที่ เกี่ยวข้ อง ข้ อมูลระบบการคมนาคมขนส่งทางทะเล และข้ อมูลกฎหมายและข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ ทะเล โดย คาดหวังว่าต่อไปในอนาคตจะได้ มีการเชื่อมโยงแหล่งข้ อมูลต่างๆ เข้ าด้ วยกันเพื่อให้ เป็ นระบบฐานข้ อมูลที่มีความ ครบถ้ วนเพี ยงพอที่ จะใช้ เป็ นฐานในการวิเคราะห์ เพื่ อตัดสินใจ วางแผนแนวนโยบายการบริ หารจัด การและการ พัฒนาการใช้ ทะเลของประเทศไทยได้ อย่างแท้ จริง นอกจากการพัฒนาฐานข้ อมูลแล้ ว โครงการสถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตของประเทศไทยยัง มี การพัฒนาเว็บไซต์ โดยมุ่งหวัง ที่ จะใช้ เป็ นแหล่งเชื่ อมโยงข้ อมูลจากส่ว นต่างๆ เข้ า ด้ ว ยกัน พร้ อมทัง้ เป็ นแหล่ง กระจายข้ อมูลที่ทางโครงการมีอยู่ไปสู่ผ้ สู นใจต่างๆ เพราะตระหนักดีว่าเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคปั จจุบนั มีความ เจริ ญก้ าวหน้ าเป็ นอย่างมาก การเชื่อมโยงฐานข้ อมูลจากแหล่งต่างๆ เข้ าด้ วยกันสามารถใช้ การสื่อสารผ่านระบบ อินเตอร์ เน็ตซึง่ เป็ นระบบสื่อสารที่สะดวก สบาย และง่ายต่อการใช้ ของผู้ใช้ ในทุกระดับ 7.1 ฐานข้ อมูล ฐานข้ อมูลเป็ นการจัดการข้ อมูล (Data) ที่เก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ ซึ่งกันและกัน ซึ่งเก็บไว้ เป็ น แฟ้มข้ อมูลเดียวหรื อแยกเก็บเป็ นหลายๆ แฟ้ม โดยไม่เกิดความซํ ้าซ้ อนของข้ อมูลและเก็บแฟ้มข้ อมูลเหล่านี ้ไว้ ที่ศนู ย์ เพื่อที่จะนํ าข้ อมูลเหล่านี ม้ าใช้ ร่วมกัน การควบคุมดูแลและรั กษาเมื่อผู้ต้องการใช้ งานและผู้มีสิทธิ์ จะใช้ ข้อมูลนัน้ สามารถดึงข้ อมูลที่ต้องการออกไปใช้ ได้ 7.1.1 โครงสร้ างฐานข้ อมูล ฐานข้ อมูลที่โครงการเลือกใช้ มีโครงสร้ างแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) ข้ อมูลถูกจัดเก็บใน ลักษณะของตารางแบบสองมิติที่ประกอบด้ วยแถวและคอลัมน์ มีการใช้ งานง่าย การแก้ ไขเปลี่ยนแปลงข้ อมูลจะ

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


314

เสมือนกระทําอยูบ่ นตาราง โดยไม่จําเป็ นต้ องเข้ าไปยุ่งเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในตําแหน่งข้ อมูลที่ถกู จัดเก็บจริ ง เมื่อ มีการเพิ่มข้ อมูลใหม่หรื อลบข้ อมูลเก่า โปรแกรมที่เลือกใช้ จดั การฐานข้ อมูลคือ Microsoft Access ทังนี ้ ้ ข้ อมูลใน ระบบฐานข้ อมูลนี ้ จะเชื่อมโยงกับเว็บเพจซึ่งสามารถสืบค้ นและเรี ยกใช้ ข้อมูลได้ โดยมีภาพข้ อมูลเชิงพื ้นที่ประกอบ เนื ้อหา ข้ อมูลที่ทางโครงการได้ ดําเนินการจัดเก็บลงในฐานข้ อมูล ได้ แก่ - ข้ อมูลบุคคล (Contact) - ข้ อมูลหน่วยงาน (ORG) - ข้ อมูลกระทรวง (MINISTRY) - ข้ อมูลหนังสือ/รายงานประชุม/วารสารที่ใช้ ประกอบการเขียนรายงาน (DATA) - ข้ อมูลไฟล์เอกสารโครงการ (PJ_FILE) - ข้ อมูลสิง่ ของ/ครุภณ ั ฑ์ (LIST) โดยความสัมพันธ์ของข้ อมูลที่จดั เก็บดังภาพด้ านล่าง

แต่ละตารางมีข้อมูลองค์ประกอบและฟอร์ มสําหรับกรอกข้ อมูล ดังนี ้ - ข้ อมูลบุคคล คีย์ •

Field Name NO

Data Type Number

Field Size Double

รหัส คํานําหน้ าชื่อ ชื่อ-สกุล (ไทย) ชื่อ-สกุล (อังกฤษ) กลุม่ ตําแหน่ง สาขา/กอง ภาค/สํานัก กรม/มหาวิทยาลัย

Number Text Text Text Number Position Text Text Text

Double 255 200 200 Long Integer 255 255 255 255

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


315

กระทรวง ที่อยู่ เขต/อําเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร มือถือ Email ห้ อง confirm note

Number Text Text Text Number Text Text Text Text Text Number Number

Long Integer 255 255 255 Double 255 255 255 255 50 Double 50

ฟอร์ มกรอกข้ อมูลบุคคล -

ข้ อมูลกระทรวง (MINISTRY) คีย์ Field Name • ลําดับ ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ Web

Data Type AutoNumber

Field Size Long Integer

Text Text Text

50 50 50

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


316

ฟอร์ มกรอกข้ อมูลกระทรวง -

ข้ อมูลหนังสือ/รายงานประชุม/วารสารที่ใช้ ประกอบการเขียนรายงาน (DATA) คีย์ Field Name Data Type Field Size AutoNumber Long Integer • NO ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ ผู้แต่ง ปี พ.ศ. แหล่งที่มา ประเภท รายละเอียด รูปภาพ ไฟล์

Text Text Text Number Text Number Memo OLE Object OLE Object

250 250 250 Long Integer 250 Long Integer

ฟอร์ มกรอกข้ อมูลหนังสือ/รายงานประชุม/วารสารที่ใช้ ประกอบการเขียนรายงาน

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


317

-

ข้ อมูลสิง่ ของ/ครุภณ ั ฑ์ (LIST) คีย์ Field Name • ลําดับ ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ ประเภท รหัสครุภณ ั ฑ์ รายละเอียด บริษัทผู้ขาย ผู้จดั ซื ้อ วิธีการซื ้อ

Data Type AutoNumber

Field Size Long Integer

Text Text Number Text Memo Text Number Text

50 50 Long Integer 50 50 Long Integer 50

ฟอร์ มกรอกข้ อมูลครุภณ ั ฑ์ 7.1.2 กลุม่ ผู้ใช้ สิทธิการเข้ าใช้ และการเข้ าถึง โครงการได้ กําหนดกลุม่ ผู้ใช้ งานเป็ น 3 กลุม่ คือ 1. CORE GROUP - กลุม่ ผู้ใช้ งาน: ทีมวิจยั นักพัฒนาระบบ - สิทธิการใช้ งาน: เพิ่มเติม แก้ ไข ลบข้ อมูล 2. WORKING GROUP - กลุม่ ผู้ใช้ งาน: คณะทํางาน - สิทธิ การใช้ งาน: เรี ยกดูข้อมูลได้ อย่างเดียว โดยในระยะแรกจะแจ้ งไปยังทีมวิจยั เพื่อให้ จัดเตรี ยมและส่งข้ อมูลที่ต้องการเรี ยกดูไปให้ ผา่ นทาง email 3. PUBLIC - กลุม่ ผู้ใช้ งาน: บุคคลทัว่ ไป - สิทธิการใช้ งาน: ในขณะนี ้ยังไม่กําหนดสิทธิให้

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


318

ระบบฐานข้ อมูลที่โครงการได้ พัฒนาขึน้ ได้ จัดชุดคอมพิวเตอร์ 1 ชุด สําหรั บจัดเก็บฐานข้ อมูลนี ้ เมื่อมีผ้ ู ต้ องการใช้ งานจะต้ องเรี ยกผ่านคอมพิวเตอร์ เครื่ องนันโดยเฉพาะ ้ รูปภาพ หรื อไฟล์เอกสารต่างๆ ที่อพั โหลดเข้ าเก็บใน ฐานข้ อมูล จะไม่สามารถเรี ยกดูผา่ นเครื่ องอื่นๆ ได้ เนื่องจากข้ อจํากัดของฐานข้ อมูลนี ้ 7.2 เว็บไซต์ 7.2.1 โดเมนเนมและโอสต์ติ ้ง การจัดทําเว็บเพจได้ ออกแบบโครงสร้ างโดยนําเสนอสถานการณ์การใช้ ทางทะเลมิติต่างๆ ตามรายงานของ โครงการ เช่น ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อม การท่องเที่ยว การขนส่ง กฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ ง แยกออกเป็ นแต่ ล ะหน้ า รวมทัง้ มี ก ารนํ า เสนอเพิ่ ม เติ ม ในด้ า น ฐานข้ อ มูล วิ ช าการ กิ จ กรรมโครงการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง และมุมแลกเปลี่ยนอีกด้ วย โครงการวิจยั ได้ ติดต่อไปยังเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ สกว. เพื่อขอพื ้นที่เก็บข้ อมูลของเว็บไซต์ โดยมีตําแหน่งที่อยูค่ ือ http://marinepolicy.trf.or.th โดยทางโครงการรับผิดชอบในการอัพโหลดไฟล์ต่างๆ ขึ ้นไปไว้ บน เว็บเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ ผ้ ชู มกลุม่ เป้าหมายหรื อบุคคลทัว่ ไปเข้ ามาชมได้ 7.2.2 เว็บเพจ รู ปแบบของเว็บเพจแต่ละหน้ า ได้ ออกแบบจัดวางองค์ประกอบผสมผสานกันทัง้ หัวเรื่ อง เนื ้อความ ตาราง รู ปภาพและสัญลักษณ์ และเอกสารสําหรับดาวน์ โหลด ให้ มีความสมดุล อ่านง่าย และมีความเรี ยบง่าย น่าสนใจ เหมาะแก่ผ้ เู ข้ าชมทุกกลุม่ รูปแบบเว็บเพจได้ จดั เก็บอยู่ในรู ปของไฟล์ html ซึ่งมีชนิดของไฟล์เป็ น .html และ .htm การแสดงผลใน ระบบอินเตอร์ เน็ต ผู้ใช้ เรี ยกผ่านเว็บบราวเซอร์ เช่น Microsoft Internet Explorer เวอร์ ชนั่ 5.0 ขึ ้นไป หรื อ Mozilla Firefox เวอร์ ชนั่ 2.0 และ Netscape Navigator เวอร์ ชนั่ 7.0 และปรับขนาดตัวอักษรเป็ นขนาดกลาง ซึง่ เหมาะสม สําหรับการเข้ าชม ในแต่ละหน้ าเว็บเพจมีรายละเอียดดังนี ้ หน้ าแรก (First page)

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


319

เมื่อผู้ชมเข้ ามายังเว็บไซต์ของโครงการตามที่อยู่ http://marinepolicy.trf.or.th จะเข้ าสูห่ น้ าโฮมเพจ ซึง่ แสดง ชื่ อ โครงการ หน่ ว ยงานที่ ค ณะทํ า งานสัง กัด อยู่ เมนูเ ลื อ กภาษา ที่ อ ยู่ เบอร์ โ ทรศัพ ท์ และตัว นับ จํ า นวนผู้เ ข้ า ชม นอกจากนี ้ หากทางโครงการมีข่าวประชาสัมพันธ์ จะปรากฎเป็ นข้ อความวิ่งแสดงหัวข้ อและเชื่ อมโยงไปยังหน้ า รายละเอียดเพิ่มเติม โดยเมื่อคลิกเลือกภาษาไทยจะเข้ าสู่หน้ าหลักของโครงการ โดยขณะนี ้มีผ้ เู ข้ าชมเว็บไซต์แล้ ว จํานวน 295 คน ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2550 หน้ าหลัก (Homepage) จากหน้ าโฮมเพจ เมื่อคลิกเลือกเมนูภาษาไทย จะเข้ าสูห่ น้ าหลัก ที่แสดงรายละเอียดในส่วนต่างๆ ที่โครงการ ได้ ศกึ ษาอยู่ โดยจะแบ่งตามเมนูทางด้ านซ้ ายมือ ส่วนเนื ้อหาทางด้ านขวามือ จะแสดงข่าวสารประชาสัมพันธ์, สถานที่ติดต่อของโครงการ

เมนู ประกอบด้ วย - ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล : นําเสนอภาพรวมของการใช้ ทะเลในประเทศไทยเพื่อให้ ผู้อ่านได้ เห็นความสําคัญของทะเลในมิติต่างๆ โดยใช้ มลู ค่าเป็ นดัชนีชี ้วัดร่วมกัน ซึง่ มูลค่าของการใช้ ทะเลในมิติต่างๆ ที่ปรากฎนี ้เป็ นผลจากการศึกษารวมรวมข้ อมูลในระดับทุติยภูมิเท่านัน้ - สถานการณ์ด้านทรัพยากร - สถานการณ์ด้านสิง่ แวดล้ อม - สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว - สถานการณ์ด้านการขนส่ง - กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง - ฐานข้ อมูลวิชาการ : ประกอบด้ วยข้ อมูลทาง GIS และ Database สําหรับการสืบค้ น

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


320

การนํ าเสนอข้ อมูลในระบบฐานข้ อมูลที่ได้ จัดระบบหมวดหมู่และประเภทของข้ อมูลแล้ ว นําเสนอเป็ นข้ อความและภาพข้ อมูลเชิงพื ้นที่ประกอบ - กิจกรรมโครงการ : ประกอบด้ วยการนําเสนอโครงการในที่ประชุมต่างๆ การแถลงข่าว โดยจะ แสดงรูปภาพ และเอกสารสําหรับให้ ดาวน์โหลด หรื อเอกสารเผยแพร่ที่ทางโครงการเคยส่งตีพิมพ์แล้ วในวารสารต่างๆ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง : แสดงหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับโครงการวิจยั ซึง่ ได้ จดั ทําลิงค์เชื่อมโยง ไว้ สามารถเข้ าไปดูข้อมูลอื่นๆ ของหน่วยงานนันเพิ ้ ่มเติมได้ - มุมแลกเปลี่ยน : ทางโครงการได้ สมัครฟรี เว็บบอร์ ด มี URL http://www.212cafe.com /marinepolicy ซึง่ ผู้เข้ าชมสามารถแสดงความคิดเห็น/ตังคํ ้ าถามมายังโครงการโดยการตังกระทู ้ ้ หรื อตอบกระทู้ที่มีอยู่ แล้ ว และเว็บจะทําการแจ้ งมายังโครงการว่ามีกระทู้ตงไว้ ั ้ ทางโครงการโดยนักวิจัย/เจ้ าหน้ าที่ จะเข้ าไปตอบคําถาม หรื อแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมอย่างสมํ่าเสมอ ทัง้ นีห้ ากพบกระทู้ใดมีข้อความไม่เหมาะสมที่อาจจะผิดต่อ พรบ. คอมพิวเตอร์ ก็จะสามารถเข้ าไปลบได้ ทนั ที

- เกี่ยวกับโครงการ : แสดงรายละเอียด ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ การดําเนินงาน ระยะเวลา ผลที่คาดว่าจะได้ รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง คณะที่ปรึกษา คณะทํางาน รู ปภาพคณะทํางาน และกระบวนการผลักดัน ผลงานดังกล่าวออกสูก่ ารใช้ ประโยชน์ อย่างไรก็ตาม สําหรับรายละเอียดของสถานการณ์ ในแต่ละด้ านและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง จะเป็ น การสรุ ปภาพรวม ความสําคัญ สถานการณ์และปั ญหา นโยบายที่เกี่ยวข้ อง กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง และเอกสารอ้ างอิง ซึง่ จะเพิ่มเติมหลังจากรายงานฉบับสมบูรณ์เสร็จเรี ยบร้ อยและได้ รับการตรวจสอบความถูกต้ องแล้ ว 7.2.3 การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เวปไซต์ กลุม่ ผู้ชมเป้าหมาย ได้ แก่ ผู้บริหารระดับนโยบาย เจ้ าหน้ าที่ระดับปฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทหาร ตํารวจ อาจารย์ นักวิจยั นักศึกษา สมาคม องค์กรภาคเอกชน สื่อมวลชน ประชาชนทัว่ ไป ที่มีความเกี่ยวข้ องกับ การใช้ ทะเล

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


321

7.3 แนวทางพัฒนาต่ อไปในอนาคต 7.3.1 การสืบค้ นข้ อมูลผ่านทางเว็ปไซต์ ทางโครงการมี แ นวคิ ด ที่ จ ะนํ า ข้ อ มูล บางส่ว นที่ อ ยู่ใ นฐานข้ อ มูล เผยแพร่ ผ่า นทางเว็ ป ไซต์ เพื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่งข้ อมูลอ้ างอิงทางด้ านการใช้ ทะเลของประเทศไทย ทังนี ้ ้ ต้ องภายหลังจากที่โครงการสามารถพัฒนาฐานข้ อมูล ้ าหนดกลุม่ และสิทธิการเข้ าใช้ งานของผู้ใช้ งานให้ เหมาะสมตาม และเว็บไซต์ให้ เสร็ จสมบูรณ์เรี ยบร้ อยก่อน พร้ อมทังกํ ความต้ องการ 7.3.2 การจัดการเว็บไซต์ เนื่องจาก ณ ขณะจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์ นีเ้ ว็บไซต์ http://marinepolicy.trf.or.th ยังไม่สมบูรณ์ คณะ นักวิจัยผู้รับผิดชอบโครงการจึงยังคงรับภาระหน้ าที่ในการจัดการเว็บไซต์ จนกว่าจะส่งมอบต่อไปยังผู้ดูแลใหม่ใน อนาคต

โครงการสถานการณ์ ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคตของประเทศไทยกับการใช้ทะเลอย่างยัง่ ยืน


323

เอกสารและสิ่งอ้ างอิง ภาษาไทย กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี. 2540-2546. รายงานการสํารวจสถิติการขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริ เวณเมือง ท่าชายทะเลปี 2540 - 2546. ฝ่ ายสถิติ กองวิชาการและวางแผน กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชย นาวี, กรุงเทพฯ. กรมการขนส่ง ทางนํ า้ และพาณิ ช ยนาวี . 2550. แผนยุท ธศาสตร์ แ ละแผนปฏิ บัติ ก าร. แผนงานและแผน ดําเนินงาน. แหล่ งที่มา : http://www.md.go.th/plan/index_plan.php, 10 กันยายน 2550. ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วย กรมการขนส่งทางนํา้ และพาณิ ชยนาวี. 2550. พิธีสาร ค.ศ. 1978 เกี่ยวกับอนุสญ ความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974. แปลโดย กองตรวจเรื อ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชย นาวี, กรุงเทพฯ. หน้ า 1-34. กรมการค้ าภายใน. 2550. กลุ่ ม สิ น ค้ าที่ ผ ลอตเพื่ อ ส่ ง ออก. สถานการณ์ สิ น ค้ าเกษตร. แหล่ ง ที่ ม า : http://www.dit.go.th/agriculture/product/trend/trend_1248.html#c, 18 มิถนุ ายน 2550. กรมควบคุมมลพิษและสถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ ้า. 2546. การตรวจเฝ้าระวังปรากฏการณ์ นํา้ ทะเลเปลี่ยน สีในประเทศไทย. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม และสถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. กรมควบคุมมลพิษ. 2546. ทะเลไทย...วันนี.้ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรและสิง่ แวดล้ อม, กรุงเทพฯ. กรมควบคุมมลพิษ. 2546. สรุ ปมูลค่ าสิ่งแวดล้ อมและทรั พยากรธรรมชาติท่ ีมีชีวิตและไม่ มีชีวิตที่จะได้ รับ ผลกระทบจากกรณี นํา้ มันรั่ วไหล เฉพาะบริ เวณอ่ าวไทยตอนในและอ่ าวไทยฝั่ งตะวันออก. ส่วนแหล่งนํ ้าทะเลกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม, กรุงเทพฯ. กรมควบคุมมลพิษ. 2548. สรุ ปสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยปี 2548. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง กรมควบคุมมลพิษ. 2549. รายงานสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทย 2549. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง ทรัพยกรและสิง่ แวดล้ อม, กรุงเทพฯ. กรมควบคุม มลพิ ษ . 2550. พระราชบัญ ญั ติ ส่ง เสริ ม และรั ก ษาคุณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535. กฎหมายและมาตราต่ างๆ. แหล่งที่มา : http://www.aqnis.pcd.go.th/standard/low_index.htm, 25 พฤษภาคม 2550. กระทรวงคมนาคม. 2550. การขนส่งสินค้ าระหว่างประเทศ. [สายตรง]. แหล่งที่มา : http://protal.mot.go.th , 4 กันยายน 2550. กรมควบคุมมลพิษ. 2550. เกร็ดความรู้ มลพิษทางทะเล. แหล่งที่มา : http://www.pcd.go.th/Info_serv/water_marine.html#s2, 3 กันยายน 2550. กรมควบคุมมลพิษ. 2550. สถิติการเกิดนํ า้ มันรั่วไหลสู่แหล่งนํ า้ ธรรมชาติปี 2516-2548. ประชาสัมพันธ์ . แหล่งที่มา : http://www.marinepcd.org/, 2 กรกฎาคม 2550. กรมควบคุมมลพิษ. 2548. สถานการณ์ คุณภาพสิ่งแวดล้ อมทางทะเลหลังเกิด Tsunami. สํานักจัดการ คุณภาพนํ ้า กรมควบคุมมลพิษ, กรุงเทพฯ.


324

กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ. 2548. รายงานประจําปี 2548. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน, กรุ งเทพฯ. หน้ า 8. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ. 2548. รายงานประจําปี 2548. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน, กรุ งเทพฯ. หน้ า 30. กรมเชื อ้ เพลงธรรมชาติ. 2550. ยุทธศาสตร์ และภาระกิจกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ. แผนยุทธศาสตร์ ของกรม เชือ้ เพลิงธรรมชาติ. แหล่งข้ อมูล : http://www.dmf.go.th/dept/strategies_activities.asp, 10 กันยายน 2550. กรมเชื ้อเพลิงธรมชาติ. 2550. รายงานประจําปี 2549. กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ, กระทรวงพลังงาน. หน้ า 16. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2549. สัตว์ ทะเลหายาก. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กระทรวง ทรัพยากรและสิง่ แวดล้ อม, กรุงเทพฯ. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. ข้ อมูลพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลและพื ้นที่ชายฝั่ ง. ข้ อมูลชายทะเลและ ชายฝั่ งทะเล. แหล่งที่มา : http://www.dmcr.go.th/DCLM/download.php#, 29 สิงหาคม 2550. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. ประเมินสถานะคุณภาพนํา้ ชายฝั่ งทะเลอันดามันหลังเหตุการสึ นามิ. กลุ่มสมุทรศาสตร์ และสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, ภูเก็ต. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. รายงานผลกระทบของคลื่นยักษ์ (Tsunami) ต่ อสัตว์ ในกลุ่ม สัตว์ ทะเลหายาก. กลุม่ สัตว์ทะเลหายาก กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, ภูเก็ต. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. เรื่ องการจัดการทรัพากรทางทะเลและชายฝั่ ง. ใน เอกสารประกอบ รายงานสถานการณ์ ส่ ิงแวดล้ อมไทย ปี 2549. วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถนุ ายน 2550 ณ โรงแรมสยาม ซิตี ้ กรุงเทพฯ. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. สรุ ปการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ ทัง้ ประเทศระหว่ างปี 2543 และ 2547. แหล่งที่มา : http://www.dmcr.go.th/DCLM/Main/update/UsingLandNorthAowthai43and47.xls, 2 กรกฎาคม 2550. กรมทรัพยากรธรณี. 2542. การสํารวจและการทําเหมืองแร่ ดีบุกในทะเลไทย. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 1(5) พฤษภาคม 2542, หน้ า 5. กรมทรัพยากรธรณี. 2542. ทรั พยากรแร่ ของประเทศไทยและแนวทางการพัฒนา ตอนที่ 1. วารสารเศรษฐ ธรณีวิทยา, 4(8) สิงหาคม 2542, หน้ า 3-4. กรมทรัพยากรธรณี. 2543. แหล่ งแร่ ดีบุกในทะเลอันดามัน. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 2(12) ธันวาคม 2543, หน้ า 2. กรมทรัพยากรธรณี. 2543. แหล่ งแร่ ดีบุกในทะเลอันดามัน. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 2(12) ธันวาคม 2543, หน้ า 3-4. กรมทรั พ ยากรธรณี . 2545. การสํา รวจธรณี วิท ยาแหล่ง แร่ ใ นทะเล. วารสารเศรษฐธรณี วิ ท ยา, 4(6) เดื อ น มิถนุ ายน 2545, หน้ า 176.


325

กรมทรัพยากรธรณี .2545. ทรายแก้ ว. วารสารเศรษฐธรณีวิทยา, 4(4) เดือนเมษายน 2545, หน้ า 2. กรมทรัพยากรธรณี. 2550. โอกาสพบแหล่งทรัพยากรแร่ ในทะเลไทย. ข้ อมูลธรณีวิทยาด้ านแร่ . แหล่งที่มา : http://www.dmr.go.th/offshore/Marine%20mineral%20deposit_in%20Thailand.htm, 22 มิถนุ ายน 2550. กรมประมง. 2536-2547. สถิติประมงแห่ งประเทศไทย. ศูนย์สารสนเทศกรมประมง กรมประมง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. กรมประมง. 2544. 75 ปี กรมประมง. กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. หน้ า 165. กรมประมง. 2546. สถิติประมงแห่ งประเทศไทย. ศูนย์สารสนเทศกรมประมง กรมประมง กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, กรุงเทพฯ. กรมประมง. 2548. สถิติการประมงแห่ งประเทศไทยปี 2546 เอกสารฉบับที่ 6/2548. ศูนย์สารสนเทศ กรม ประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. หน้ า 53. กรมประมง. 2549. รายงานสถานการณ์ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เล่ มที่ 6 ประมง เอกสาร ส่ วนที่ 3 เล่ มที่ 6/6. โครงการ UNEP GEF Project on Reversing Environmental Trends in the South China Sea and Gulf of Thailand (UNEP GEF SCS), ศูนย์พฒ ั นาประมงทะเลอ่าวไทย ตอนกลาง, ชุมพร. หน้ า 3-7. กรมประมง. 2550. จํานวนเรื อที่จดทะเบียนฯการมีไว้ ในครอบครองซึ่งเครื่ องมือทําการประมงทัง้ หมด จําแนกตามชนิดของเครื่ องมือทําการประมง ปี 2543 - 2547. เอกสารประกอบการจัดทําแผน แม่บทการจัดการประมงทะเล, คณะอนุกรรมการข้ อมูลเพื่อการจัดทําแผนแม่บทการจัดการประมง ทะเล, กรุงเทพฯ. กรมประมง. 2550. ปริมาณการจับสัตว์ นํา้ เค็มทัง้ หมดจากธรรมชาติ ฝั่ งอ่ าวไทยและฝั่ งอันดามัน จําแนก เป็ นใน-นอกน่ านนํา้ (ประมาณการปี 2548-2550). ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง, กรุ งเทพฯ. และ กรมประมง, อ้ างแล้ วเชิงอรรถที่ 5. กรมประมง. 2550. ข้ อมูลจากกลุ่มวิเคราะห์การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ วิเคราะห์จากข้ อมูลสถิติกรม ศุลกากร. ใน เอกสารประกอบการสัมมนาคณะอนุ กรรมการข้ อมูลเพื่อการจัดทําแผนแม่ บท การจัดการประมงทะเล วันที่ 21-23 กุมภาพันธ์ 2550 ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอร์ ท จังหวัด นครนายก, กรุงเทพฯ. กรมป่ าไม้ . 2527–2545. สถิตกิ ารป่ าไม้ . ศูนย์ข้อมูลกลาง สํานักสารนิเทศ กรมป่ าไม้ , กรุงเทพฯ. กรมป่ าไม้ . 2550. พะยูนคืออะไร. ข้ อมูลวิชาการ. แหล่งที่มา : http://www.forest.go.th, 10 สิงหาคม 2550. กรมอุทกศาสตร์ . 2550. ข้ อมูลอุทกศาสตร์ น่านนํา้ ไทย. แหล่งที่มา : http://www.navy.mi.th/hydro/, 31 สิงหาคม 2550. ก ร ะ ท ร ว ง ค ม น า ค ม . 2 5 5 0 . ข้ อ มู ล ท่ า เ ที ย บ เ รื อ . บ ริ ก า ร ส ถิ ติ ค ม น า ค ม . แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.news.mot.go.th, 15 สิงหาคม 2550. กระทรวงคมนาคม. 2550. ปริ ม าณสิ น ค้ าผ่ า นท่ า เรื อ กรุ ง เทพ. บริ ก ารสถิ ติ ค มนาคม. แหล่ ง ที่ ม า : http://www.news.mot.go.th, 15 สิงหาคม 2550.


326

กลุ่มงานมาตรฐานพิธีการและราคาศุลกากร. 2549. รายงานประจําปี 2549. กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง, กรุงเทพฯ. หน้ า 5-6. กองบรรณาธิ การ. 2550. เกาะสถานการณ์ “มองต่ างมุม” นํา้ เค็มจากแหล่ งไหนน่ าใช้ และใครจะเป็ น หนึ่ง. ประมงธุรกิจ 2(24) ตุลาคม 2544. กาญจนา อดุลยานุโกศล. 2548. สัตว์ ทะเลหายาก. ใน การประเมินมูลค่าทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่ งทะเล และ ป่ าชายเลนรายงานสรุปผลการประชุมกลุม่ ย่อยทางวิชาการ ครัง้ ที่ 11 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 ณ ห้ องประชุม ชัน้ 2 อาคารแสดงพันธุ์สตั ว์นํ ้า จังหวัดภูเก็ต. การท่าเรื อแห่งประเทศไทย. 2550. ท่ าเรื อในความรั บผิดชอบ. แหล่งที่มา : http://www.port.co.th, 6 กันยายน 2550. การปิ โตรเลี่ยมแห่งประเทศไทย. 2550. รายงานประจําปี 2549. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). หน้ า 20. ไกรรัตน์ เอี่ยมอําไพ, สีฟ้า ละออง, ตวงรัตน์ โพธ์เที่ยง, ศิริพร ทองอารี ย์, ไสว วังหงษา, เกรี ยงศักด์ ศรี บวั รอด, กิตติ กรี ติยตุ านนท์, และวัลยา ชนิตตาวงศ์. 2548. รายงานความก้ าวหน้ าโครงการวิจัยการศึกษา สถานภาพและการแพร่ กระจายของประชากรนกนํ า้ ในพื น้ ที่ ช่ ุ มนํ า้ ของประเทศไทย. ผลงานวิจยั และรายงานความก้ าวหน้ างานวิจยั ประจําปี 2548. หน้ า 189-197. กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย. 2548. หนังสือแปล อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982, กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ, กรุงเทพฯ. กระทรวงคมนาคม. 2550. บริการสถิติคมนาคม. ข้ อมูลด้ านการขนส่ ง. แหล่งที่มา : http://www.news.mot.go.th, 2 กรกฎาคม 2550. กรมประมง และ FAO. 2547. รายงานการสัมมนาการจัดการกําลังผลิตของการทําการประมงทะเล. เอกสารการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการเรื่ องการจัดการกําลังผลิตของการทําการประมงทะเล 11-14 พฤษภาคม 2547 โรงแรมโกลเด้ นแซนด์ส อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี. กรมอุทยานแห่งชาติสตั ว์ป่าและพันธุ์พืช. 2550. แผนแม่บทการจัดการพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติ. ส่ วนศึกษาและ วิจัยอุทยานแห่ งชาติ. แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/NPRD/informed/informed.php, 10 กันยายน 2550. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2550. ยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยว พ.ศ. 2547-2551. งานนําเสนอ Powerpoint. http://www.mots.go.th/strategy/stTourism47-51/chartTourism.files/frame.htm#slide0003.htm, 10 กันยายน 2550. คณะกรรมการส่งเสริ มการพาณิชยนาวี. 2537-2544. สารสนเทศพาณิชยนาวี ปี 2537–2544. สํานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี, กรุงเทพฯ. คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. 2550. การทํานาเกลือ–เพชรบุรี. วัฒนธรรม พัฒนาการ ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ เ อ ก ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ ภู มิ ปั ญ ญ า จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี . แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.cablephet.com/board/q_view.php?c_id=11&q_id=4967, 2 กรกฎาคม 2550.


327

คณะกรรมการวิชาการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งและลํานํ ้า. มปป. ร่ าง ยุทธศาสตร์ การจัดการป้องกันการ กัดเซาะชายฝั่ ง (เอกสารไม่ได้ ตีพิมพ์เผยแพร่ ). กรมทรัพยากรธรณี , กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้ อม. โครงการกฎหมายทะเลแห่งเอเชียอาคเนย์ (SEAPOL). 2542. บทบาทของทะเลในการฝ่ าวิกฤติเศรษฐกิจ ไทย. เอกสารประกอบการสัมนาวันที่ 12 พฤษภาคม 2542 ณ ห้ องแกรนด์บอลรูมโรงแรมแม่นํ ้า, กรุงเทพฯ. โครงการ UNEP GEF Project. 2547. แผนปฏิบัตกิ ารจัดการฟื ้ นฟู เล่ มที่ 2 ปะการั ง เอกสารส่วนที่ 4 เล่มที่ 2/7. สถาบันวิจยั และพัฒนากลุม่ วิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล มหาวิทยาลัยรามคําแหง, กรุงเทพฯ. โครงการ UNEP GEF Project. 2547. รายงานสถานการณ์ ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เล่ มที่ 4 พืน้ ที่ช่ ุมนํา้ . ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. โครงการ UNEP GEF Project. 2548. กฎหมายกับการบริหารจัดการหญ้ าทะเล เล่ มที่ 3-2 หญ้ าทะเล เอกสารส่วนที่ 3 เล่มที่ 3-2/6. คณะสิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ, หน้ า 2-16. โครงการ UNEP GEF Project. 2548. แผนปฏิบัตกิ ารจัดการฟื ้ นฟู เล่ มที่ 5 มลพิษจากแผ่ นดิน เอกสาร ส่วนที่ 4 เล่มที่ 5/7. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม, กรุงเทพฯ. หน้ า 7. จังหวัดภูเก็ต. มปป. ธรณีพบิ ัตภิ ัยสึนามิ ภูเก็ต ธันวาคม 25470. จังหวัดภูเก็ต. ั ญา จุมพต สายสุนทร. 2540. รายงานผลการวิจยั เรื่ อง ความตกลงเพื่อการอนุวตั ิการตามบทบัญญัติแห่งอนุสญ สหประชาชาติวา่ ด้ วยกฎหมายทะเล ฉบับลงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982 เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และการ จัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ. สํานักพิมพ์นิติธรรม, กรุงเทพฯ. หน้ า 44–53. จุมพต สายสุนทร. 2546. กฎหมายระหว่ างประเทศ เล่ ม 2. บริ ษัท สํานักพิมพ์วิญญูชน จํากัด, กรุ งเทพฯ. หน้ า 32-39. จุฬา สุขมานพ. 2542. “อนุสัญญาการกักเรื อ 1999”. วารสารกฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้ าระหว่าง ประเทศ (2542). หน้ า 140-151. ชมพูนชุ ช่วงโชติ. 2550. ใน รายงานการฝึ กอบรม Climate Change: Mitigation and Adaptation Norrkoping, Sweden Part I: March 5 – March 30, 2007. ชุมเจตน์ กาญจนเกษร. 2539. อนุสัญญาและกฎหมายระหว่ างประเทศที่เกี่ยวกับความหลากหลายทาง ชีวภาพ. ฝ่ ายทรัพยากรชีวภาพ กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สํานัก นโยบายและแผนสิง่ แวดล้ อม, กรุมเทพฯ. หน้ า 72-74. เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์ , แสงเทียน อัจจิมางกูร, บุณฑริ กา ทองดอนพุ่ม, พฤหัส จันทร์ นวล, ภัททิรา เกษมศิริ, นิ สา เพิ่มศิริวาณิชย์, จริ ยา กันกําเนิด และ ณัฐพงศ์ ล้ ออัศจรรย์. 2548. โอกาสหรื ออวสานของหมู่


328

เกาะช้ าง. คณะประมง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาแห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . โชคชัย มณีนาค. 2544. การประเมินมูลค่ าทางนันทนาการของอุทยานแห่ งชาติแหลมสน จังหวัดระนอง และจังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ณัชชา วองวัฒนานุกลู . 2547. มูลค่ าผลประโยชน์ ทางนันทนาการบริเวณชายหาดแม่ รําพึง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2547. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ประจําวันที่ 11 กันยายน 2547. อัตรา แลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ . แหล่งที่มา : http://www.bot.or.th/bothomepage/databank/FinMarkets/ExchangeRate/exchange_t.asp, 3 กันยายน 2550. ด่านกระบุรีในสถิติการขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริเวณเมืองท่าชายฝั่ งทะเลปี 2540-2541 ด่านกระบุรีในสถิติการขนส่งสินค้ าทางนํ ้าบริเวณเมืองท่าชายฝั่ งทะเลปี 2540-2543 ตลาดไทย. 2550. ลดต้ นทุ น ด้ วย ขี แ้ ดดนาเกลื อ ทดแทนการใช้ ปุ๋ ยเคมี . คลั ง ความรู้ . แหล่ ง ที่ ม า : http://www.talaadthai.com, 18 มิถนุ ายน 2550. ทรนงค์ วิทยาเวโรจน์ . 2546. การประเมินมูลค่ าการใช้ ประโยชน์ ทรั พยากรประมงและการคงอยู่ของ แหล่ งหญ้ าทะเล กรณี ศึกษา: เกาะพะงัน จังหวั ดสุ ร าษฎร์ ธานี . วิทยานิ พนธ์ ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล. ทะเลไทย. 2550. ภัยแอบแฝงในแม่ นํา้ เวฬุ. แหล่งที่มา : http://www.talaythai.com, 22 มิถนุ ายน 2550. ทีมงานไทยเอ็นจีโอ. 2550. เส้ นทางเกลือ. ข่ าวและบทความ. แหล่งที่มา : http://www.thaingo.org, 18 มิถนุ ายน 2550. ทีมงานไทยเอ็นจีโอ. 2550. เส้ นทางเกลือ. รู้ มาบอกต่อ. แหล่งที่มา : http://www.thaingo.org, 6 กรกฎาคม 2550. ไทยตํ า บล ดอท คอม. 2550. ข้ อมู ล รายละเอี ย ดสิ น ค้ าของกลุ่ม แม่ บ้ านวัง นํ า้ วน จั ง หวัด สมุท รสาคร. รายละเอียดสินค้ า. แหล่งที่มา : http://www.thaitambon.com, 5 กรกฎาคม 2550. นิตยสารสารคดี. มปป. ฉลามวาฬ ยักษ์ ใหญ่ ใจดี. นิตยสารสารคดี (105) : 86-104. และ การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย. 2550. ดํ า นํ า้ ที่ อัน ดามัน ใต้ (หมู่เ กาะสิ มิ ลัน ). กิ จ กรรมที่ น่ าสนใจ. แหล่ง ที่ ม า : http://www.tat.or.th, 10 สิงหาคม 2550. นลิน ญาณสิริ. 2538. มาตรการทางกฎหมายไทยในการป้องกันและควบคุมมลพิษทางทะเลตาม อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 : ศึกษากรณีอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้ า 107 นลินี ทองแถม, ไพทูล แพนชัยภูมิ และ สมหญิง พ่วงประสาน. 2546. การฟื ้ นฟูแนวปะการั งในทะเลอันดา มันของประเทศไทย. เอกสารเผยแพร่ ลําดับที่ 1. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ.


329

นิภาวรรณ บุศราวิช. 2548. คุณภาพนํา้ ทะเลชายฝั่ ง ใน การประเมินมูลค่ าทรั พยากรทางทะเล ชายฝั่ ง ทะเล และป่ าชายเลน. รายงานสรุ ป ผลการประชุม กลุ่มย่อ ยทางวิช าการ ครั ง้ ที่ 11 วัน ที่ 9 พฤศจิกายน 2548 ณ ห้ องประชุม ชัน้ 2 อาคารแสดงพันธุ์สตั ว์นํ ้า จังหวัดภูเก็ต. นภดล มัณฑะจิตร. 2548. บทสัมภาษณ์ เรื่ อง ปฏิบัติการเสาะหาปิ โตรเลียม รากฐานความมั่นคงทาง พลังงานของประเทศ. Energy Plus 6 เมษายน-มิถนุ ายน 2548 : หน้ า 12. บริ ษั ท สื่ อ เกษตรจํ า กัด . มปป. สภาพปั ญ หาและผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม. ลุ่ ม นํ า้ ปิ ง. แหล่ง ที่ ม า : http://www.agmassmedia.com/ping_river/data_page_03.htm, 11 กรกฎาคม 2549. บุญ เลิศ ผาสุก. 2530. การประมงทะเลของประเทศไทย. ใน รายงานสั มมนาอนาคตประมงไทย. ศูน ย์ พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ , กรุงเทพฯ. หน้ า 324-404. ประวีณ ลิมปสายชล. 2546. การประเมินมู ลค่ าทรั พยากรทางทะเล วิธีการและกรณี ศึกษา. เอกสาร เผยแพร่ ลําดับที่ 3. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ ง, กรุงเพทฯ. ปริ ทัศน์ เจริ ญสิทธิ์ . ม.ป.ป. ปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งทะเลและแนวทางการฟื ้ นฟูแนวชายฝั่ ง. สํานัก อนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. ผู้จดั การรายวัน. 2548. ธุรกิจ “นํา้ ประปาทะเล” บูมเล็งขยายสู่แหล่ งท่ องเที่ยว. หนังสือพิมพ์ผ้ จู ดั การรายวัน ฉบับวันที่ 26 กันยายน 2548. แหล่งที่มา : http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=40066, 20 มิถนุ ายน 2550. ผู้จดั การออนไลน์. 2548. แปลงนํ ้าทะเลเป็ นนํ ้าจืด: ทางออกวิกฤติภยั แล้ ง?. นวตกรรม. ผู้จดั การออนไลน์ ฉบับ วันที่ 29 กันยายน 2548, http://www.manager.co.th, 20 มิถนุ ายน 2550. พลเรื อเอกชาติ นาวาวิจิต. 2545. “หลักการและรู ปแบบในการกําหนดยุทธศาสตร์ และกําลังรบ”. นาวิ กาธิปัตย์สาร 59 กลางปี 2545 (ก.พ. – พ.ค. 2545) : หน้ า 8. พลเรื อเอกสุทศั น์ ขยิ่ม. 2545. “ยุทธศาสตร์ ทางทฤษฏีกับกรรมวิธีในการตกลงใจ”. นาวิกาธิปัตย์สาร 59 กลางปี 2545 (ก.พ. – พ.ค. 2545) : หน้ า 26. พวงทอง อ่อนอุระ และสิตางศุ์ ฮัน่ โสภา. 2542. จรรยาบรรณในการทําการประมงอย่ างรั บผิดชอบ.แปลจาก สํานักงานประจําภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ. หน้ า 1-7. ยศพล ศุภวิจิตรกุล. 2547. วิชากฎหมายทะเลเบือ้ งต้ น (Introduction to Law of the Sea). เอกสาร ประกอบการเรี ยนการสอนภาค 1/2547. วิทยาลัยการพาณิชยนาวี มหาวิทยาลัยบูรพา. แหล่งที่มา : http://bmc.buu.ac.th/Module/bba_maritime/901421/article01.ppt, 4 มิถนุ ายน 2550. ยุว ศรี ต่ า ยคํ า . ม.ป.ป. Bio-articles. ภาวะโลกร้ อน (Global Warming). แหล่ง ที่ ม า : http://www.ipst.ac.th/biology/Bio-Articles/monthly-mag.html, 11 กรกฎาคม 2550. วิฑรู ย์ ปั ญญากุล . 2547. ปลาหายไปไหน?. มูลนิธิสายใยแผ่นดิน, กรุงเทพฯ. หน้ า 18. แปลจาก Fairlie, s. 1995. Overfishing: Its Causes and Consequences. The Ecologist, 25(2/3). ศรัณย์ เพ็ชร์ พิรุณ. 2549. สมุทรกรณี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.


330

ศิรินทรรัตน์ กังสวิวฒ ั น์. 2542. “อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ”. พาณิชยนาวี 18(2) สิงหาคม 2542 : หน้ า 21-23. ศูนย์ประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. 2550. Claimate Change. การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ. แหล่งที่มา : http://www.onep.go.th/CDM/cmc.html, 2 กรกฎาคม 2550. ศูน ย์ ป ระสานการปฏิ บัติ ก ารในการรั ก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเล (ศรชล.) Thailand Maritime Enforcement Coordinating Center: THAI-MEECC, (2545). ศูน ย์ ป ระสานงานวิ จัย เพื่ อ ท้ อ ถิ่ น จัง หวัด สมุท รสงคราม. 2550. แม่ ก ลอง...บนวิ ถี แ ห่ ง ความพอเพี ย ง. แหล่งที่มา : http://www.sedb.org, 28 สิงหาคม 2550. สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2550. การประเมินมูลค่าของประเมศไทย. “การจัดลําดับความสําคัญ ของปั ญหาทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม”. แหล่งที่มา : http://www.thaienvimonitor.net/Concept/value-env.pdf, 10 กันยายน 2550. สถาบัน วิ จัย และพัฒนาทรั พยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2549. สรุ ปแหล่ ง หญ้ าทะเลใน ประเทศไทย. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2550. ชีววิทยาและการอนุ รักษ์ เต่ า ทะเลไทย. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2550. ฐานข้ อมูลแหล่ งหญ้ าทะเล ตามชายฝั่ งในประเทศไทย. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. สถาบันวิจยั และพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ งทะเลและป่ าชายเลน. 2550. สถานการณ์ ปะการั งปี 2549. แหล่งที่มา : http://www.pmbc.go.th/coral/coral.php, 12 กันยายน 2550. สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทะเล ชายฝั่ งทะเล และป่ าชายเลน. 2550. สาเหตุที่ก่อให้ เกิดแนวปะการั ง เสื่อม. สํานักงานปะการั ง.แหล่งที่มา : www.pmbc.go.th, 29 สิงหาคม 2550. สนิท อักษรแก้ ว. 2542. ป่ าชายเลน. คอลัมภ์เกษตรวิจยั , หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. สภาร่ า งรั ฐ ธรรมนูญ . 2550. ร่ า งรั ฐ ธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย ฉบับ ลงประชามติ (เอกสารไม่ตีพิม พ์ เผยแพร่). สภาร่างรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ. หน้ า 27. สมิท ธรรมเชื ้อ. 2548. การพัฒนาการทําประมงปลาทูน่าของไทยในทะเลหลวง เอกสารวิชาการฉบับที่ 17/2548. กองประมงต่างประเทศ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. หน้ า 18. สนิท อักษรแก้ ว. 2548. ป่ าชายเลน...ป้อมปราการธรรมชาติ ชายฝั่ งทะเล “ป่ าชายเลนช่ วยต้ านภัยคลื่นสึ นามิ”. วารสารราชบัณฑิตยสถาน 30 (2) : 311-315. สมิท ธรรมเชื ้อ. 2550. การประมงนอกน่ านนํา้ ไทย. (เอกสารไม่ตีพิมพ์เผยแพร่). กรมประมง กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, กรุงเทพฯ.


331

สรณพงษ์ บัวโรย และคณะ. 2550. การศึกษาคุณสมบัติและการใช้ ประโยชน์จากขี ้แดดนาเกลือ ตําบลบางแก้ ว อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. โครงการวิจัย. แหล่งที่มา : http://www.vijai.org/research/project_content.asp?projID=PDG45M0002, 18 มิถนุ ายน 2550. สราวุธ แก้ วตาทิพย์. 2548. ขุมทรั พย์ พลังงานไทย. Energy Plus 6 เมษายน-มิถนุ ายน 2548 : หน้ า 2. ส่วนจัดการที่ดินชายฝั่ ง. 2548. รายงานสรุ ป ผลกระทบจากเหตุธรณี พิบัติ (TSUNAMI) ต่ อทรั พยากร ชายฝั่ งทะเลในพืน้ ที่จังหวัดชายฝั่ งทะเลอันดามัน. สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ. สังคม ชัยปราการ. 2548. ข้ อเสนอการจัดการเกลือโปแตซในภาคอีสาน. จดหมายข่าวชุมชนคนฮักถิ่น 1(6) สิงหาคม 2548. สันสกฤต มุนีโมไนย.2550.ทําพรื อ้ กับอ่าวปั ตตานี. บทความ. แหล่งที่มา: http://www.ldinet.org, 2 กรกฎาคม 2550. สิน สินสกุล และคณะ. 2545. รายงานวิชาการ การเปลี่ ยนแปลงพืน้ ที่ชายฝั่ งทะเลด้ านอ่ าวไทย. กอง ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณีม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม. สิริพร แก่นสียา. 2550. “ภาวะโลกร้ อน” มหันตภัยใกล้ ตัว?. สิง่ แวดล้ อม 11(1) มกราคม–มีนาคม 2550. สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2542. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2540-2541. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้ง แอนด์พบั ลิชชิ่ง จํากัด สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2544. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2542-2543. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้ง แอนด์พบั ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพ ฯ. สุกรานต์ โรจนไพรวงค์. 2546. สถานการณ์ ส่ งิ แวดล้ อมไทย 2544-2545. มูลนิธิโลกสีเขียว ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ , บริ ษัทอัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้ง แอนด์พบั ลิชชิ่งจํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ. สุกญ ั ญา มารศรี . 2543. การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการอนุรักษ์ ป่าชายเลน : ศึกษากรณี หมู่ท่ ี 10 บ้ านสามัคคี ตําบลบางขุนไทร อําเภอบ้ านแหลม จังหวัดเพชรบุรี สุทธิ พงษ์ พงษ์ วร. มปป. Bio-Aticles. แหล่งที่มา : http://www.ipst.ac.th/biology/Bio-Articles/monthlymag.html, 11 กรกฎาคม 2549. สุรพล สุดารา. 2544. กิจกรรมการท่ องเที่ยวที่มีผลกระทบต่ อทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมทาง ทะเลและชายฝั่ ง. ใน การสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ ณ ห้ องประชุมสารนิเทศ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วันที่ 25 กันยายน 2544. สุรพล กฤษณามระ นิรันดร์ ชัยมณี และ ธนวัฒน์ จารุพงษ์ สกุล. 2549. โครงการศึกษาหาสาเหตุการกัดเซาะ ชายฝั่ งทะเลและแนวทางการแก้ ไขป้องกันชายฝั่ งทะเลที่ได้ รับผลกระทบบริ เวณพืน้ ที่ล่ ุมนํา้ ปากพนัง จังหวัดนครศรี ธรรมราช. สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ ง, กรุงเทพฯ.


332

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . 2550. นักวิชาการไทย: วิจยั แก้ ไขการกัดเซาะชายฝั่ งหาดโคลน สําเร็ จเป็ น ครัง้ แรก. ข่ าวสาระน่ ารู้. แหล่งที่มา : http://www.trf.or.th/News/Content.asp?Art_ID=811#_ftn2, 2 กรกฎาคม 2550. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม. 2550. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไตรมาสที่ 4/2549. แถลงข่ าว. แหล่งที่มา : http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=95, 20 เมษายน 2550. สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ . มปป. ฐานข้ อมูลการวิจยั การศึกษา สาศนาและวัฒนธรรม. แหล่งที่มา : http://www.thaiedresearch.org/result/result.php?id=7166, 19 กรกฎาคม 2550. สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม. มปป. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520–2524). คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. หน้ า 208. สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม. มปป. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525–2529). คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. หน้ า 1. สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม. 2550. เกลื อ สิ น เธาว์ . กิ จ กรรมเสริ ม สร้ างองค์ ค วามรู้ ทางสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ . แหล่ ง ที่ ม า : http://www.onep.go.th/knowledgebase/news_elec09.htm, 18 มิถนุ ายน 2550. สํานักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม. ม.ป.ป. ทรั พยากรพลังงาน. รายงาน ส ถ า น ก า ร ณ์ คุ ณ ภ า พ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ปี 2 5 4 0 . แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.onep.go.th/soe/t_soe40_4.asp, 14 สิงหาคม 2550. สํานักงานเลขาธิการศูนย์ไทยอาสาป้องกันชาติในทะเล. 2550. อาณาเขตทางทะเลของปรเทศไทย. แหล่งที่มา : http://www.navy.mi.th/thaiasa/, 10 กันยายน 2550. สํานักงานสถิติแห่งชาติ. 2550. ข้ อมูลป่ าไม้ และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. ตารางสถิติจากสํานั กงาน สถิตแิ ห่ งชาติ. แหล่งที่มา : http:// www.nso.go.th, 29 สิงหาคม 2550. สํานักงานสถิติแห่งชาติ. 2550. ตารางเนื ้อที่ป่าไม้ จากการแปลภาพดาวเทียม จําแนกตามชนิดของป่ า ภูมิภาค : http:// และจัง หวัด ในปี 2547. ตารางสถิติจ ากสํา นั ก งานสถิติแ ห่ ง ชาติ. แหล่ง ที่ มา www.nso.go.th, 29 สิงหาคม 2550. สํานักงานสถิติแห่งชาติ. มปป. รายงานสํารวจอุตสาหกรรมการผลิตปี 2546 ทั่วราชอาณาจักร. สํานักงาน คณะกรรมการสถิติแห่งชาติกรุงเทพมหานคร. สํานักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ. 2550. นโยบายความมั่นคงแห่ งชาติทางทะเล (พ.ศ. 2548-2552) (เอกสารไม่ตีพิมพ์เผยแพร่). สํานักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. 2550. เรื่ อ งสถานการณ์ สิ่ง แวดล้ อ ม. มลพิ ษ ทางนํ า้ . แหล่ง ที่ ม า : สํ า นัก งานสิ่ ง แวดล้ อ มภาคที่ 11. http://www.reo11.net, 22 มิถนุ ายน 2550. หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ. 2550. “อีสต์ วอเตอร์ ” จ่ อทุนพันล้ าน พัฒนาแหล่ งนํา้ -ผลิตประปา. ฉบับที่ 2212 (26-28 เม.ย. 2550). แหล่งที่มา : http://www.thannews.th.com, 20 มิถนุ ายน 2550.


333

หนังสือพิมพ์มติชน. 2549. “โลกร้ อน” นํา้ ทะเลอันดามันสูงผิดปกติ นั กวิทย์ ส่งสัญญาณเตือนระวังภัย พิบัต.ิ มติชน (19 กรกฎาคม 2549). หนังสือพิมพ์มติชน. 2550. ตะลึง "ทะเลปากนํา้ " กัดเซาะดินวัด พระใช้ โอ่ งต่ างถนนออกบิณฑบาต. มติชน (17 พฤษภาคม 2549). อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, วราภรณ์ ปั ญญาวดี, อัจฉรี ชไตน์มลึ เลอร์ , นางทิพวัลย์ แก้ วมีศรี , เรวดี จรุ งรัตนา พงศ์, ปริ ญญารัตน์ เลี ้ยงเจริ ญ, พิศสม มีถม, วินยั แสงสืบ และธัญวรรณ เหมพนม. 2549. รายงาน ฉบั บ สมบู ร ณ์ โครงการจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม. สถาบันวิจยั เพื่อพัฒนาประเทศไทย, กรุงเทพฯ. อภิญญา นันทนาวุฒิ. 2543. “ความรั บผิดของรั ฐตามกฎหมายระหว่ างประเทศว่ าด้ วยความเสียหายทาง สิ่งแวดล้ อมจากการทิง้ เทของเสียลงในทะเล”. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . หน้ า 42-43. อมรพันธุ์ กุลปราณีต. 2547. ประเมินมูลค่ าความคงอยู่ (Existence Value) ของความหลากหลายทาง ชี ว ภาพของดอนหอยหลอด จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร. รายงานฉบับ สมบู ร ณ์ โ ครงการจั ด ลํ า ดับ ความสําคัญของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมปี 2549. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย, กรุงเทพฯ. อิทธิ ตริ สิริสดั ยางศ์ และสมมาตร์ เนียมนิล. 2550. แน้ วโน้ มระดับนํา้ ในน่ านนํา้ ไทยจากข้ อมูลสถายีวัด ระดับนํา้ และ Satellite Altimetry. ในการบรรยายทางวิชาการ ณ กรมอุทกศาสตร์ , กรุงเทพฯ. อิศว์ เนติธรรมกุล. 2549. “พันธกรณี ของประเทศไทยภายใต้ อนุ สัญญาว่ าด้ วยพืน้ ที่ช่ ุ มนํา้ ที่มีความสําคัญ ระหว่ างประเทศโดยเฉพาะเป็ นแหล่ งที่ อ ยู่ อาศั ย ของนกนํ า้ ”. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . หน้ า 99. อิศเรศ บุญเดช . 2543. การประเมินเต่ าทะเลในประเทศไทยในเขตกรุ งเทพ ชลบุรี และสระแก้ ว. วิทยา นพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ภาษาอังกฤษ Canadian Coast Guard. 2550. Overview. The CCG Fleet. Available Source : , 10 กันยายน 2550. Chris Hedley. 2001. Convention for the Conservation of Anadromous Stocks in the North Pacific Ocean. Internet Guide to International Fisheries Law. Available Source: http://www.oceanlaw.net/texts/summaries/npas.htm, September 12, 2007. Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora. 1979. Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora. Available Source: http://www.cites.org/eng/disc/text.shtml, Septemper 12, 2007. Dominika Dziegielewska. 2007. “Environmental economics” The Encyclopedia of Earth. Encyclopedia of Earth. Available Source : http://www.eoearth.org/article/Total_economic_value, Septemper 10, 20071


334

Food and Agriculture Organization of the United Nations. 2006. The State of World Fisheries and Aquaculture 2006. Part1: World Review of Fisheries and Aquaculture. Documents. Available Source: http://www.fao.org/docrep/009/A0699e/A0699e00.htm, September 4, 2007. FAO. 2006. World aquaculture product of fish, crustaceans, mollusks, etc., by principal producers in 2004. FAO. 2001. International plan of action to prevent, deter and eliminate illegal, unreported and unregulated fishing. FAO Corporate Document Repositiry. Available Source: http://www.fao.org/DOCREP/003/y1224e/y1224e00.htm, Septemper 12, 2007. FAO. n.d. Agreement to Promote Compliance with International Cooperation and Management Measures by Fishing Vessels on the High Seas. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/DOCREP/MEETING/003/X3130m/ X3130E00.htm, Septemper 12, 2007. FAO. n.d. Code of Conduct for Responsible Fisheries. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/docrep/005/v9878e / v9878e00.htm, Septemper 12, 2007. FAO. n.d. International Plan of Action on Management of Fishing Capacity. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/ docrep/006/x3170e/x3170e04.htm, Septemper 12, 2007. FAO. n.d. International Plan of Action for Reducing Incidental Catch of Seabird in Longline Fisheries. FAO Corporate Document Repository. .Available Source: http://www.fao.org/fi/website/FIretrieveAction.do?dom=org2xml=ipoa_sharks.xml&xp_nav=5, Septemper 12, 2007. International Oil Pollution Compensation Fund. 1992. International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage. Texts of the 1992 Convention on Liability and Compensation for Oil Pollution Damage. Available Source: http://www.iopcfund.org/npdf/engtextoc.pdf, Septemper 12, 2007. Mamiko Higashi. 2000. The Economic Valuation of Environmental Factors for Marine Tourism: A Case Study of the Tourism Sector in Phuket. M.S. Thesis (Environmental and Natural Resource Economics), Chulalongkorn University. Maritime Institute of Malaysia. 2550. Available Source : http://www.mima.gov.my, 10 กันยายน 2550. Ministry of Maritime Affairs and Fisheries of Korea .2550. Available Source : http://www.momaf.go.kr/english/policy/ocean/P_ocean.asp, 10 กันยสยน 2550. Niphon Phongsuwan. 2550. Coral reefs in Thailand. Phuket Marine Biological Center Coastal, Department of Marine and Coastal Resources, Phuket.


335

Ocean Law. 2006. Agreement for the Establishment of the Indian Ocean Tuna Commission. Law of the Sea Information and Consultancy Services. Available Source: http:// www.oceanlaw.net/texts/iotx.htm, September 12, 2007. Reamruk, C. 2006. “IPCC Matel Simulations of Future Climate Change in Southeast Asia” (Unpublished). M. Sc. Thesis in Meteorology, San Jose State University, USA. Udonsak Seenprachawong. 2003. An Economic Analysis of Coral Reefs in the Andaman Sea of Thailand. Publication. Available Source : www.worldfishcenter.org, September 4, 2007.


ภาคผนวก ก


ผลประโยชน์ชาติทางทะเล

ทร ัพยากรมีชวี ต ิ

ชนิด ปะการัง ปี 2547 ป่ าชายเลน ปี 2547

เขตทางทะเล

ปริมาณ

Value

หน่วย Direct use

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน ชายฝั่ ง

153.00

ตร.กม.

2,527.51

ตร.กม.

2,701.28

มูลค่าที่ สูญเสียจาก ผลกระทบ Bequest ทาง สวล.

Non-Use Value

Indirect use Option Value

Existence 13,402.80

21,213.74

มูลค่าทีไ่ ม่ได้ อยูใ่ นมือคน ไทย

Total all

13,402.80 23,915.02

หน่วย

อ้างอิง

ล ้านบาท สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม. ์ ล ้านบาท สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม. 2550.รายงานสถานการณ์คุณภาพ สิง่ แวดล ้อม พ.ศ. 2548. แหล่งทีม ่ า: http://www.onep.go.th/download/s oe48/index.htm, 2 กรกฎาคม 2550.

ทรัพยากรป่ าชายเลนใน อุทยานแห่งชาติเกาะเสม็ด

ชายฝั่ ง

ทรัพยากรป่ าชายเลนในวน อุทยานปราณบุรี

ชายฝั่ ง

58.48

58.48

ทรัพยากรป่ าชายเลนในเขต ห ้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน ้อย

ชายฝั่ ง

9.11

9.11

ทรัพยากรป่ าชายเลนในหาด แม่รําพึง

ชายฝั่ ง

0.17

217.19

217.19

ป่ าชายหาด ปี 2543

ชายฝั่ ง

21.49

108.53

3,604.86

ตร.กม.

3,713.39

-

ล ้านบาท นันทนา ลิม ้ ประยูร. 2537. มูลค่าของ ึ ษาเกาะ อุทยานแห่งชาติ : กรณีศก เสม็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ล ้านบาท ภัทร อิทรไพโรจน์. 2548. มูลค่า นันทนาการของวนอุทยานแห่งชาติ ปราณบุรี จ.ประจวบคีรัขันธ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ล ้านบาท ศรีสด ุ า ลอยผา. 2532. การประเมิน มูลค่าของเขตห ้ามล่าสัตว์ป่าทะเล น ้อย จังหวัดพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช กรณีเป็ นแหล่ง ท่องเทีย ่ ว. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ล ้านบาท ณั ชชา ว่องวัฒนานุกล ู . 2547. การ ประเมินมูลค่าผลประโยชน์ทาง นันทนาการบริเวณชายหาดแม่รําพึง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม. 2550.รายงานสถานการณ์คุณภาพ สิง่ แวดล ้อม พ.ศ. 2548. แหล่งทีม ่ า: http://www.onep.go.th/download/s oe48/index.htm, 2 กรกฎาคม 2550.

หญ ้าทะเล ปี 2546

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน

148.00

ตร. กม.

สัตว์น้ําทะเล (การประมง) ปี 2547

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน

2,635.90

พันตัน

61,800.50

61,800.50

สัตว์น้ําทะเล (เพาะเลีย ้ ง) ปี 2547

ชายฝั่ งทะล

736.30

พันตัน

49,250.10

49,250.10

73,690.26

73,690.26

ทรนงค์ วิทยาเวโรจน์. 2546. การ ประเมินมูลค่าการใช้ประโยชน์ ทร ัพยากรประมงและการคงอยู่ ึ ษา: ของแหล่งหญ้าทะเล กรณีศก เกาะพะง ัน จ ังหว ัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล. และใช ้วิธี Benefit Approach ประเมินเป็ น มูลค่าโดยรวมของหญ ้าทะเลทัง้ ประเทศ ล ้านบาท กรมประมง. 2547. สถิตก ิ ารประมงปี 2547. ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ล ้านบาท กรมประมง. 2547. สถิตก ิ ารประมงปี 2547. ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หมายเหตุ


ผลประโยชน์ชาติทางทะเล ชนิด พะยูน ปี 2549

ทร ัพยากรไม่ม ี ชีวต ิ

เขตทางทะเล

ปริมาณ

Value

หน่วย Direct use

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน

เต่าทะเล

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน

มูลค่าก๊าซธรรมาชาติปี 2549

ชายฝั่ ง น่านนํ้า ภายใน พืน ้ ที่ พัฒนาร่วม ชายฝั่ ง น่านนํ้า ภายใน พืน ้ ที่ พัฒนาร่วม ชายฝั่ ง น่านนํ้า ภายใน พืน ้ ที่ พัฒนาร่วม เขตเศรษฐกิจ จําเพาะ

250.00

Indirect use Option Value

มูลค่าที่ สูญเสียจาก ผลกระทบ Bequest ทาง สวล.

Non-Use Value Existence

ตัว

มูลค่าทีไ่ ม่ได้ อยูใ่ นมือคน ไทย

Total all

หน่วย

-

8,552.00

ล ้านบาท

109,842.00

109,842.00

ล ้านบาท

54,622.00

54,622.00

ล ้านบาท

90,354.00

90,354.00

ล ้านบาท

74,004.29

74,004.29

ล ้านบาท

เขตเศรษฐกิจ จําเพาะ

45,092.33

45,092.33

ล ้านบาท

เขตเศรษฐกิจ จําเพาะ

94,164.72

94,164.72

ล ้านบาท

ค่าภาคหลวงการขาย เขตเศรษฐกิจ ปิ โตรเลียมจากแหล่งในทะเลปี จําเพาะ 2548

27,339.00

27,339.00

ล ้านบาท

555.60

555.60

ล ้านบาท

0.18

0.18

970.00

970.00

มูลค่าก๊าซธรรมชาติเหลวปี 2549 มูลค่านํ้ามันดิบปี 2549

มูลค่าการขายนํ้ามัน (Crude oil) จากแหล่งผลิตในปี 2548 มูลค่าการขายก๊าซธรรมชาติ เหลว (Condensate) จาก แหล่งผลิตจากแหล่งผลิตใน ทะเล ปี 2548 มูลค่าการขายก๊าซธรรมชาติ (Natural gas) จากแหล่งผลิต ในทะเลปี 2548

เกลือสมุทร

8,552.00

0.782

ล ้านล ้าน ลูกบาศก์ฟต ุ

23.657 ล ้านบาร์เรล 40.723 ล ้านบาร์เรรล

ชายฝั่ ง

0.6-0.8

1800-2000 พืน ้ ทีร่ ่วมพัฒนา

390.00

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. 2550. แผนการจัดการทรัพยากร หญ ้าทะเลและพะยูน. (หนังสือจาก อ.เผดิมศักดิ)์ อิศเรศ บุญเดช . 2543. การประเมิน เต่าทะเลในประเทศไทยในเขต กรุงเทพ ชลบุรี และสระแก ้ว. วิทยา นพนธ์ปริญญาโท ้ เพลิงธรรมชาติ, ช ้อมูลจากกรมเชือ รายงานประจําปี 2549 (Facts & Figures), หน ้า 12-14 ้ เพลิงธรรมชาติ, ช ้อมูลจากกรมเชือ รายงานประจําปี 2549 (Facts & Figures), หน ้า 12-14 ้ เพลิงธรรมชาติ, ช ้อมูลจากกรมเชือ รายงานประจําปี 2549 (Facts & Figures), หน ้า 12-14 Department of Mineral Fules Annual Report. 2005. Petroleum and Coal Activities in Thailand. ่ Department of Mineral Fules Annual Report. 2005. Petroleum and Coal Activities in Thailand. แหล่งทีม ่ า: Department of Mineral Fules Annual Report. 2005. Petroleum and Coal Activities in Thailand. แหล่งทีม ่ า: http://www.dmf.go.th/download/an nual.report/annual2005.pdf, 2 กรกฎาคม 2550. Department of Mineral Fules Annual Report. 2005. Petroleum and Coal Activities in Thailand. แหล่งทีม ่ า: http://www.dmf.go.th/download/an nual.report/annual2005.pdf, 2 กรกฎาคม 2550. ทีมงานไทยเอ็นจีโอ. 2548. รายงาน พิเศษ. เส ้นทางเกลือ. แหล่งทีม ่ า: http://www.thaingo.org/cgi-bin/cont ent/content1/show.pl?0250, 14 สิงหาคม 2550.

ตัน

ขีแ ้ ดดน่าเกลือ

มูลค่าของก๊าซธรรมชาติ (ไทย-มาเลเซีย) ปี 2548

อ้างอิง

ตัน ล ้านลูกบาศก์ ฟุตต่อวัน

ล ้านบาท สรณพงษ์ บัวโรย และคณะ. 2550 แหล่งทีม ่ า: http://www.vijai.org/research/proje ct_content.asp?projID= PDG45M0002 และ ตลาดไทย. 2550 แหล่งทีม ่ า: http://www.talaadthai.com ล ้านบาท Department of Mineral Fules Annual Report. 2005. Petroleum and Coal Activities in Thailand. แหล่งทีม ่ า: http://www.dmf.go.th/download/an nual.report/annual2005.pdf, 2 กรกฎาคม 2550.

หมายเหตุ


ผลประโยชน์ชาติทางทะเล ชนิด ทีด ่ น ิ ชายทะเลและพืน ้ ที่ ชายฝั่ งทะเล ปี 2548

เขตทางทะเล

ชายฝั่ งทะเล

ปริมาณ

Value

หน่วย

Direct use Indirect use Option Value 2,125.00

32,866.88

รายได ้จากการท่องเทีย ่ ว ปี 2547

197,390.30

มูลค่าที่ สูญเสียจาก ผลกระทบ Bequest ทาง สวล.

Non-Use Value Existence

มูลค่าทีไ่ ม่ได้ อยูใ่ นมือคน ไทย

Total all

หน่วย

อ้างอิง

หมายเหตุ

ล ้านบาท ส่วนการจัดการทีด ่ น ิ ชายฝั่ งทะเล. 2548. ทีด ่ น ิ ชายทะเลและพืน ้ ที่ ชายฝั่ งทะเล. ส่วนการจัดการทีด ่ น ิ ชายฝั่ งทะเล สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กรม ทรัพยากรท่างทะเลและชายฝั่ ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล ้อม. ล ้านบาท การท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย. 2550. สถิตน ิ ักท่องเทีย ่ วทีเ่ ข ้ามา ท่องเทีย ่ วในประเทศไทย. แหล่งทีม ่ า : http://www2.tat.or.th/stat/web/stati c_index.php, 2 กรกฎาคม 2550.

2,125.00

197,390.30

กิจกรรม

ทะเลและชายฝั่ ง การขนส่งสินค ้าระหว่าง ประเทศทางทะเลขาเข ้าปี 2548

107,905.00

พันตัน

3,201,678.00

3,201,678.00

2,945,543.76

ทะเลและชายฝั่ ง การขนส่งสินค ้าระหว่าง ประเทศทางทะเลขาออกปี 2548

75,622.00

พันตัน

2,919,223.00

2,919,223.00

2,685,685.16

ทะเลและชายฝั่ ง การขนส่งสินค ้า ภายในประเทศทางทะเลปี 2548

28,322.00

พันตัน

ทะเลและชายฝั่ ง มูลค่าอู่เรือทัง้ หมด 311 แห่งปี ชายฝั่ งทะเล 2547

-

6,413.00

6,413.00

อุตสาหกรรมการต่อเรือ/ซ่อม เรือ มูลค่าการส่งออกสินค ้าสัตว์นํ้า มีชวี ต ิ /สด แช่เย็น แช่แข็ง ปี 2547

ชายฝั่ งทะเล

่ งจากการ อุตสาหกรรมต่อเนือ ประมง: อาหารทะเลแช่เย็น และแข็ง ปี 2541

ชายฝั่ งทะเล

633,211.00

ตัน

176,516.30 86,474.00

86,474.00

อุตสาหกรรมต่อเนือ ่ งจากการ ประมง: อาหารทะเลกระป๋ อง และแปรรูป ปี 2541

ชายฝั่ งทะเล

453,765.00

ตัน

75,740.00

75,740.00

ทะเลและชายฝั่ ง

อุตสาหกรรมต่อเนือ ่ งด ้าน ชายฝั่ งทะเล พาณิชนาวี : ด ้านประกันภัย ทางทะเล (เรือ+สินค ้า)ปี 2541 ความมั่นคงภายในประเทศ : ชายฝั่ งทะเล โครงการภายใต ้ยุทธศาสตร์ การพัฒนา 3 จ.ภาตใต ้ ปี 2548 งบประมาณรายจ่ายของ กองทัพเรือ (ปี 2549)

1,000.00 1,000.00

ทะเลและชายฝั่ ง

176,516.30

2,331.00

2,331.00

19.00

19.00

16,489.00

22,254.60

-

ล ้านบาท กระทรวงคมนาคม. 2550. บริการ สถิตค ิ มนาคม. แหล่งทีม ่ า: http://www.news.mot.go.th/motc/p ortal/graph/index2.asp, 2 กรกฎาคม 2550. ล ้านบาท กระทรวงคมนาคม. 2550. บริการ สถิตค ิ มนาคม. แหล่งทีม ่ า: http://www.news.mot.go.th/motc/p ortal/graph/index.asp, 12 กรกฎาคม 2550. กระทรวงคมนาคม. 2550. บริการ สถิตค ิ มนาคม. แหล่งทีม ่ า: http://www.news.mot.go.th/motc/p ortal/graph/index2.asp, 2 กรกฎาคม 2550. ล ้านบาท สถาบันการขนส่ง. 2550. (คุณสุมาลี) ล ้านบาท การประชุมสัมนาแผนหลักพาณิชนาวี, 2542. ล ้านบาท ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง

ล ้านบาท นาวาเอกภูวณั ฐ เชษฐสมุน. 2542. เศรษฐศาสตร์ทพ ี่ งึ่ พาทางทะเล. วารสารนาวิกศาสตร์, 83(11) ิ ล ้านบาท นาวาเอกภู วณั ฐ เชษฐสมุน. 2542. เศรษฐศาสตร์ทพ ี่ งึ่ พาทางทะเล. วารสารนาวิกศาสตร์, 83(11) ิ ล ้านบาท นาวาเอกภู วณั ฐ เชษฐสมุน. 2542. เศรษฐศาสตร์ทพ ี่ งึ่ พาทางทะเล. วารสารนาวิกศาสตร์, 83(11) ล ้านบาท สํานักส่งเสริมและประสานงาน คณะรัฐมนตรี. มปป.

ล ้านบาท งบประมาณโดยสังเขป ประจําปี งบประมาณ 2550 สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี

คนไทยมีสว่ นแค่ 8 %

คนไทยมีสว่ นแค่ 8 %


ผลประโยชน์ชาติทางทะเล ชนิด นําเข ้าเภสัชกรรมทางทะเล ปี 2542

ผลกระทบต่อ สวล. (มูลค่าที่ สูญเสีย)

เขตทางทะเล

ปริมาณ

Direct use Indirect use Option Value 20,000.00

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน

โบราณคดีใต ้นํ้า (สํารวจ+ขุด เจาะ) ปี 2542 การกัดเซาะชายฝั่ งในอ่าว ปากพนัง ปี 2549

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน ชายฝั่ งทะเล

การรั่วไหลของนํ้ามัน (ป่ าชาย เลน+ปะการัง+หญ ้าทะเล) ปี 2546

ชายฝั่ งและ น่านนํ้าภายใน

มูลค่าความเสียหายจากภัยสิ ชายฝั่ ง นามิภาคธุรกิจการท่องเทีย ่ ว (โรงแรม ภัตราคาร ร ้านอาหาร 30,000 ล ้านบาท +จํานวน นักท่องเทีย ่ วหายไปประมาณ 5 ล ้านคน 43,000 ล ้านบาท + มูลค่าประกันภัยจากการ ิ 10,000 สูญเสียทรัพย์สน ล ้านบาท) มูลค่าความเสียหายจากภัยสิ นามิภาคทรัพยากร มูลค่าความเสียหายจากภัยสึ นามิด ้านการขนส่ง(เฉพาะ ขนส่งทางนํ้า)

Value

หน่วย

มูลค่าที่ สูญเสียจาก ผลกระทบ Bequest ทาง สวล.

Non-Use Value Existence

ตร.กม.

หน่วย

อ้างอิง

ล ้านบาท กุลวดี ... 2544. แนวทางการเพิม ่ การ รับรู ้ของประชาชนเกีย ่ วกับ ความสําคัญของทะเลและ กองทัพเรือ. วารสารนาวิกศาสตร์, 84 (11) พฤศจิกานยน 2544. ล ้านบาท นาวาเอกภูวณั ฐ เชษฐสมุน. 2542. เศรษฐศาสตร์ทพ ี่ งึ่ พาทางทะเล. ล ้านบาท สุรพล กฤษณามระ นิรันดร์ ชัยมณี และธนวัฒน์ จารุพงษ์ สกุล. 2549. โครงการศึกษาหาสาเหตุการกัด เซาะชายฝั่ งทะเลและแนวทางการ แก ้ไขป้ องกัน ชายฝั่ งทะเลทีไ่ ด ้รับ ้ ่ การ ้ ล ้านบาท กรมควบคุมมลพิษ. 2546. ประเมินการเกิดการรั่วไหลของนํ้ามัน ในประเทศไทย. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล ้อม. ล ้านบาท จังหวัดภูเก็ต. (มปป). ธรณีพบ ิ ัตภ ิ ัยสิ นามิ. 26 ธันวาคม 2547 จ.ภูเก็ต

100.00 4,657.00

1,919.11

83,000.00

83,000.00 จังหวัดภูเก็ต. (มปป). ธรณีพบ ิ ัตภ ิ ัยสิ นามิ. 26 ธันวาคม 2547 จ.ภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต. (มปป). ธรณีพบ ิ ัตภ ิ ัยสิ นามิ. 26 ธันวาคม 2547 จ.ภูเก็ต

1,757.45 1,757.45 326.72 326.72 ล ้านบาท

มูลค่าผลประโยชน์ชาติทางทะเลทัง้ หมดของ ประเทศไทย

มูลค่าการเสียโอกาส

มูลค่าทีไ่ ม่ได้ อยูใ่ นมือคน ไทย

20,000.00

100.00 56,741.00

Total all

7,442,817.17 91,660.28

5,631,228.92 -

ล ้านบาท

GDP ปี 2549

7,813,050.00

ล ้านบาท สํานักบัญชีประชาชาติ สศช.

GNP ปี 2549

7,655,892.00

ล ้านบาท สํานักบัญชีประชาชาติ สศช.

1,566,200.00

ล ้านบาท งบประมาณโดยสังเขป ประจําปี งบประมาณ 2550 สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี

งบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลทัง้ หมด ปี 2549

หมายเหตุ


ภาคผนวก ข


มีชีวต ิ

ทรัพยากร

ปะการัง หญาทะเล ป าชายเลนและป าชายหาด สัตวนํ้าอืน ่ ๆ เชน เตาทะเล ฉลาม มานํ้า ปลานกขุนทอง หอยมุก หอยมือเสือ หอยสังข กัลปังหา หนอนทะเล โลมา ฯลฯ พะยูน นกนํ้า เภสัชกรรมทางทะเล ประมงพื้นบาน ในน านนํ้า ประมง ประมงพาณิชย นอกน านนํ้า การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า

ไมมีชีวต ิ

Organization Chart

กิจกรรม

นํ้ามัน กาซธรรมชาติ พลังงานอืน ่ ๆ จากทะเล เชน ้ นํ้าลง ฯ คลื่น ลม นํ้าขึน แรธาตุ ทีด ่ น ิ ชายฝั่งทะเล แหลงโบราณคดีใตนํ้า นํ้า

การทองเทีย่ ว อุตสาหกรรมตอเนื่องจากการประมง พาณิชยนาวี ความมั่นคงของมนุษย ความมั่นคง ความมั่นคงทางดานอาหาร/ทรัพยากร ความมั่นคงของประเทศ การกัดเซาะชายฝั่ง

ผลกระทบ

สิง่ แวดลอม

มลพิษทางทะเล (Pollution)

point source

ขยะในทะเล การรั่วไหลนํ้ามัน

Non-Point Source OC_20071219_01.mmap - 19/12/2550 -

Eutrophication คุณภาพนํ้าทะเล


ทรัพยากร

Organization Chart

OC_20071219_02.mmap - 19/12/2550 -

มีชีวต ิ

ปะการัง หญาทะเล ป าชายเลนและป าชายหาด สัตวนํ้าอืน ่ ๆ เชน เตาทะเล ฉลาม มานํ้ า ปลานกขุนทอง หอยมุก หอยมือเสือ หอยสังข กัลปังหา หนอนทะเล โลมา ฯลฯ พะยูน นกนํ้า เภสัชกรรมทางทะเล ประมงพื้นบาน ในน านนํ้า ประมง ประมงพาณิชย นอกน านนํ้า การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า


สนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กองคม ุ ครองพันธุสตั วปาและพืชป าตามอนุสญ ั ญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สํานักอนุรกั ษ สตั วปา

สวนคม ุ ครองสัตวปา

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอาวไทยตอนกลาง ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอาวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอาวไทยตอนลาง สํานักอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กรมประมง

ศูนยสารสนเทศ

กลุมสารสนเทศฐานขอมูล

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

ศูนยขอ มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

โครงการพัฒนาความรูและยุทธศาสตร ดานความตกลงพหุภาคีระหวางประเทศดานสิง่ แวดลอม (MEAs Intelligent Unit)

ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ศูนยพฒ ั นาประมงชายฝั่งคณะประมง ศูนยวจิ ยั เพือ ่ การพัฒนาชายฝั่งอันดามัน

หน วยงานรัฐบาล

สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะวิทยาศาสตร

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา

คณะเทคโนโลยีทางทะเล คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาวาริชศาสตร

สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล

ทรัพยากรมีชีวต ิ มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

Organization Chart_

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.)

ทรัพยากร

สวนจัดการทีด ่ น ิ ชายฝั่ ง

กลุมเทคโนโลยีเครือขาย กลุมภูมส ิ ารสนเทศประมง

กระทรวงศึกษาธิการ

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร ศูนยความหลากหลายทางชีวภาพแหงคาบสมุทรไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันทรัพยากรชายฝั่ง (Coastal Resources Institute: CORIN)

โครงการอุทยานการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

สํานักวิชาวิทยาศาสตร

สาขาชีววิทยา

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ ง

สาขาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร คณะวิทยาศาสตร สาขาชีววิทยา สถาบันวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คณะวิทยาศาสตร

สาขาชีววิทยา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวช ิ ยั วิทยาเขตตรัง The Asian Institute of Technology องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_03.mmap - 27/5/2551 -

กลุมวิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล

สาขาวิชาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

องคการพื้นทีช ่ ุม  นํ้านานาชาติประจําประเทศไทย

International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK United Nations Development Programme (UNDP) International Coral Reef Initiative (ICRI) International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS) East Asia Regional Caucus The International Year of the Reef (IYOR 2008) Global Coral Reef Monitoring Network (GCRMN) Asia pacific Coral Reef Symposium (APCRS) Convention on Biological Diversity Conservation International The Global Environment Facility (GEF) The Intergovernmental Oceanographic Commission (IOC)

Natural Resources Management


สนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนกลาง ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนลาง สํานักอนุ รกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

ศูนยสารสนเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กลุมสารสนเทศฐานขอมูล

กรมประมง สํานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ง

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ศูนยศึกษาการพัฒนาประมงอาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา ฝ ายสิ่งแวดลอม นิ เวศวิทยา และพลังงาน

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ศูนยพฒ ั นาประมงชายฝั่งคณะประมง ศูนยวจิ ยั เพือ ่ การพัฒนาชายฝั่งอันดามัน สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา ทรัพยากร

ทรัพยากรมีชีวต ิ

สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะวิทยาศาสตร

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

หน วยงานรัฐบาล

คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร

สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล

หญาทะเล

ภาควิชาชีววิทยา ศูนยความหลากหลายทางชีวภาพแหงคาบสมุทรไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันทรัพยากรชายฝั่ ง (Coastal Resources Institute: CORIN)

คณะวิทยาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

Organization Chart_

โครงการอุทยานการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ

กระทรวงศึกษาธิการ

สถาบันวิจยั และพัฒนา สํานักวิชาวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

สาขาชีววิทยา

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ ทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง

สาขาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร สถาบันวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คณะวิทยาศาสตร

สาขาชีววิทยา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง The Asian Institute of Technology

กลุมวิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล

สาขาวิชาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

Natural Resources Management

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน Wetlands International - Asia Pacific (WIAP) International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK International Coral Reef Initiative (ICRI) หน วยงานระดับชาติ International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS) Convention on Biological Diversity Conservation International The Global Environment Facility (GEF)

OC_20071219_04.mmap - 27/5/2551 -


กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สํา นักอนุ รกั ษ ทรัพยากรป าชายเลน (จังหวัด) ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนกลาง ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนบน ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนลาง สว นบริหารจัดการทรัพยากรป าชายเลนที่ 1 (ภาคตะวันออก และภาคกลาง)

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สํานักอนุ รกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

สว นบริหารจัดการทรัพยากรป าชายเลนที่ 3 (จ.ตรัง) สว นบริหารจัดการทรัพยากรป าชายเลนที่ 4 (จ.สุราษฎร ธานี )

สวนสงเสริมและพัฒนาทรัพยากรป าชายเลน สํานักสงเสริมการปลูกป า สวนปลูกป าภาครัฐ สวนสงเสริมและจัดการป าชุมชน

สํานักจัดการป าชุมชน

สํานักจัดการและควบคุมป าไม สวนจัดการทีด ่ น ิ ป าไม สวนวิจยั และจัดการป าและผลิตผลป าไม สวนปลูกป าภาคเอกชน สวนป องกันและปราบปราม กลม ุ สารสนเทศป าไม

กรมป าไม

กองคุมครองพันธุสตั วปาและพืชป าตามอนุ สญ ั ญา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม สํา นักป องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป า สํานักแผนงานและสารสนเทศ

สํานักสนองงานพระราชดําริ

สํา นักบริหารพื้นทีอ ่ นุ รกั ษ ที ่ 1 - 16

หน วยงานรัฐบาล ศูนยสารสนเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กระทรวงคมนาคม ทรัพยากร

ทรัพยากรมีชีวต ิ

ป าชายเลนและป าชายหาด

กรมประมง

สวนอนุ รกั ษ และป องกันทรัพยากร สวนควบคุมและปฏิบตั ก ิ ารไฟป า สวนฟื้ นฟูและพัฒนาพื้นทีอ่ นุ รกั ษ สวนอุทยานแหงชาติ กลม ุ งานวิชาการ

สวนศึกษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ สวนนันทนาการและสือ ่ ความหมาย สวนพัฒนาอุทยานแหงชาติ สวนจัดการทรัพยากรในอุทยานแหงชาติ ศูนยศก ึ ษาการพัฒนาการจัดการอุทยานแหงชาติทางทะเล

ศูนยศก ึ ษาการพัฒนาประมงอาวคงุ กระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ศูนยพ ัฒนาประมงพื้นทีล่ ุม  นํ้าปากพนังอันเนื ่องมาจากพระราชดําริ

สํา นักงานการขนสงทางนํ้ าที่ 3 (สมุ ทรสงคราม)

กรมขนสงทางนํ้าและพาณิชยนาวี

สํา นักงานการขนสงทางนํ้าที่ 3 สาขาประจวบคีรีขน ั ธ

การทาเรือแหงประเทศไทย

กระทรวงการตางประเทศ

Organization

กลม ุ งานนิเวศวิทยาและสิง่ แวดลอมป าไม กลม ุ งานพฤกษศาสตรปาไม กลม ุ งานการจัดการและพัฒนาป าอนุ รกั ษ

กลม ุ สารสนเทศฐานขอมูล

สํานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ง

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย Chart_

สวนฟื้ นฟูพื้นทีอ่ นุ รกั ษ สวนฟื้ นฟูพื้นทีอ่ นุ รกั ษ สวนภูมส ิ ารสนเทศ สวนจัดการทีด ่ น ิ และชุมชนในพื้นทีป ่  าอนุ รกั ษ สวนรังวัดแนวเขตทีด ่ น ิ ป าไม

กลม ุ ประสานงานโครงการอันเนื ่องมาจากพระราชดําริ กลุมประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

สํานักวิจยั การอนุ รกั ษ ปาไมและพันธุพืช

สํานักอุทยานแหงชาติ

สวนแผนการป องกันพื้นทีอ่ นุ รกั ษ สวนยุทธการดานป องกันและปราบปราม สวนจัดการไฟป า

ศูนยสารสนเทศ

สํานักฟื้ นฟูและพัฒนาพื้นทีอ่ นุ รกั ษ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวป า และพันธุพืช

กลม ุ งานสงวนและคม ุ ครองพันธุพืชป า กลุม งานอนุ รกั ษ พน ั ธุสตั วปา และพันธุพืชป า กลุม งานวิจยั พันธุพืชป ามีคา หายากและใกลสูญพันธุ

กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา ฝ ายสิ่งแวดลอม นิเ วศวิทยา และพลังงาน

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

ศูนยขอ มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

สํา นักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะประมง

ศูนยพ ัฒนาประมงชายฝั่ งคณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ภาควิชาชีววิทยาป าไม คณะวนศาสตร

ภาควิชาอนุ รกั ษวิทยา

ศูนยวจิ ยั เพือ ่ การพัฒนาชายฝั่ งอันดามัน คณะวิทยาศาสตร

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยบูรพา

สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร

สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล กระทรวงศึกษาธิการ มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร ศูนยความหลากหลายทางชีวภาพแหงคาบสมุทรไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันทรัพยากรชายฝั่ง (Coastal Resources Institute: CORIN)

โครงการอุทยานการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

สํานักวิชาวิทยาศาสตร

สํานักประสานงานชุดโครงการวิจยั และพัฒนาพื้นทีล่ ุม  นํ้าปากพนัง สาขาชีววิทยา

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง The Asian Institute of Technology

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

มูลนิธค ิ ุม  ครองสัตวปาและพรรณพืชแหงประเทศไทย สถาบันสิง่ แวดลอมไทย องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

ฝ ายกิจกรรมภาคสนาม

กลม ุ การศึกษา

องคการพื้นทีช ่ ุม  นํ้านานาชาติประจําประเทศไทย ศูนยปฏิบตั ก ิ ารป องกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรป าไม มูลนิธโิ ลกสีเขียว

หนวยงานระดับชาติ

OC_20071219_05.mmap - 22/5/2551 -

Wetlands International - Asia Pacific (WIAP) The World Fish Center International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK International Coral Reef Initiative (ICRI) International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS) The Ramsar Convention on Wetlands Convention on Biological Diversity United Nations Environment Programme Conservation International The Global Environment Facility (GEF)

Natural Resources Management


สํานักอุทยานแหงชาติ

สวนศึกษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ สวนนันทนาการและสือ่ ความหมาย สวนพัฒนาอุทยานแหงชาติ สวนจัดการทรัพยากรในอุทยานแหงชาติ

กองคม ุ ครองพันธุสตั วปาและพืชป าตามอนุสญ ั ญา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สํานักอนุรกั ษ สตั วปา

กลุมงานควบคุมและตรวจสอบ การคาสัตวปาระหวางประเทศ กลุมงานอนุ รกั ษ พน ั ธุสตั วปา และพันธุพืชป า

สวนจัดการพื้นทีอ่ นุ รกั ษ สตั วปา สวนคม ุ ครองสตั วปา สวนสงเสริมและเผยแพร กลุมงานวิจยั สัตวปา กลุมงานเพาะเลี้ยงสัตวปา ศูนยศก ึ ษาการพัฒนาการจัดการเขตรักษาพันธุสตั วปา

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนกลาง ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนลาง สํานักอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กระทรวงการตางประเทศ

กรมประมง

ศูนยสารสนเทศ

กรมสนธิส ัญญาและกฎหมาย

กรมสนธิส ัญญาและกฎหมาย

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา

กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

หน วยงานรัฐบาล

ทรัพยากรมีชีวต ิ

กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

ศูนยขอ มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ทรัพยากร

กลุมสารสนเทศฐานขอมูล

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา

ศูนยพฒ ั นาประมงชายฝั่งคณะประมง ศูนยวจิ ยั เพือ่ การพัฒนาชายฝั่งอันดามัน

สัตวนํ้าอืน ่ ๆ เชน ปลาทะเล กุง ปู หอย เป็ นตน

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

Organization Chart_ มหาวิทยาลัยบูรพา

สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล

คณะวิทยาศาสตร

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร

สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล ภาควิชาชีววิทยา ศูนยความหลากหลายทางชีวภาพแหงคาบสมุทรไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันทรัพยากรชายฝั่ ง (Coastal Resources Institute: CORIN)

คณะวิทยาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร กระทรวงศึกษาธิการ

โครงการอุทยานการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ สถาบันวิจยั และพัฒนา สาขาชีววิทยา สํานักวิชาวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ ง

สาขาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร สาขาชีววิทยา

คณะวิทยาศาสตร

สถาบันวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คณะวิทยาศาสตร

สาขาชีววิทยา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง The Asian Institute of Technology องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_06.mmap - 22/5/2551 -

กลุมวิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล

สาขาวิชาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

มูลนิธค ิ ม ุ ครองสัตวปาและพรรณพืชแหงประเทศไทย

International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK International Coral Reef Initiative (ICRI) Convention on Biological Diversity Conservation International The Global Environment Facility (GEF) The Intergovernmental Oceanographic Commission (IOC)

Natural Resources Management


แผน/ยุทธศาสตร/นโยบาย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธพ ุ ช ื กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กฏหมาย/พรบ./ประกาศ กรมประมง กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย

กระทรวงการตางประเทศ

กรมองคการระหวางประเทศ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หน วยงานรัฐบาล

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

ทรัพยากร

ทรัพยากรมีชีวต ิ

พะยูน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ กระทรวงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Organization Chart_

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวช ิ ยั วิทยาเขตตรัง The Asian Institute of Technology องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK International Coral Reef Initiative (ICRI) หน วยงานระดับชาติ Convention on Biological Diversity Conservation International The Global Environment Facility (GEF) The Intergovernmental Oceanographic Commission (IOC)

OC_20071219_07.mmap - 22/5/2551 -


กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

กลม ุ งานวิจยั สัตวปา

สํานักอนุรกั ษ สตั วปา

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนกลาง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนบน ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนลาง

กองคม ุ ครองพันธุสตั วปาและพืชป าตามอนุสญ ั ญา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กรมอุทนยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

สํานักอนุรกั ษ สตั วปา

สํานักอุทยานแหงชาติ หน วยงานรัฐบาล กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย ทรัพยากร

ทรัพยากรมีชีวต ิ

กระทรวงการตางประเทศ

นกนํ้า

กรมองคการระหวางประเทศ Organization Chart_

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กลุมงานควบคุมและตรวจสอบ การคาสัตวปาระหวางประเทศ กลุมงานอนุ รกั ษ พน ั ธุ สัตวปา และพันธุพืชป า

สวนจัดการพื้นทีอ่ นุรกั ษ สตั วปา สวนคม ุ ครองสัตวปา สวนสงเสริมและเผยแพร กลม ุ งานวิจยั สัตวปา กลม ุ งานเพาะเลี้ยงสัตวปา ศูนยศก ึ ษาการพัฒนาการจัดการเขตรักษาพันธุสตั วปา สวนศึกษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ สวนนันทนาการและสือ ่ ความหมาย สวนพัฒนาอุทยานแหงชาติ สวนจัดการทรัพยากรในอุทยานแหงชาติ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

ฝ ายสิ่งแวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยวลัยลักษ กระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการอุทยานการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ สถาบันวิจยั และพัฒนา สาขาชีววิทยา สํานักวิชาวิทยาศาสตร สถาบันวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

The Asian Institute of Technology องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_08.mmap - 22/5/2551 -

School of Environment, Resources and Development

องคการพื้นทีช ่ ุม  นํ้านานาชาติประจําประเทศไทย

International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK Convention on Biological Diversity The Global Environment Facility (GEF)

Natural Resources Management


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กิจกรรม

Organization Chart_

เภสัชกรรมทางทะเล

หน วยงานรัฐบาล

กรมองคการระหวางประเทศ

สํานักอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_09.mmap - 22/5/2551 -

ศูนยวิจยั ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งอาวไทยตอนกลาง

คณะวิทยาศาสตร สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า คณะเภศัชกรรมศาสตร คณะเภสัชกรรมศาสตร


ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอาวไทยตอนกลาง ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอาวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งอาวไทยตอนลาง สํานักอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

ศูนยสารสนเทศ

กลุมเทคโนโลยีเครือขาย กลุมภูมิสารสนเทศประมง กลุมสารสนเทศฐานขอมูล กลุมวิจยั และวิเคราะหสถิตป ิ ระมง ศูนยทดสอบอาหารสัตวนํ้าชายฝั่ ง ศูนยศก ึ ษาการพัฒนาประมงอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ศูนยพฒ ั นาประมงพื้นทีล่ ุม  นํ้าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

สํานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ ง

กรมประมง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งจันทบุรี ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งระยอง ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งฉะเชิงเทรา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งสมุทรสาคร ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งฉะเชิงเทรา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งสุราษฎรธานี ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งนครศรีธรรมราช ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งสงขลา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งนราธิวาส ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งสตูล ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งกระบี่ ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งพังงา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่ งภูเก็ต สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดชลบุรี สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดตราด สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดสมุทรสงคราม สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดชุมพร สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดปัตตานี สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดตรัง สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดระนอง

สวนอนุญาตและจัดการประมง สํานักบริหารจัดการดานการประมง สวนบริหารจัดการประมงทะเล สํานักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการประมง สวนเศรษฐกิจการประมง สํานักงานประมงจังหวัดตราด สํานักงานประมงจังหวัดจันทบุรี สํานักงานประมงจังหวัดระยอง สํานักงานประมงจังหวัดชลบุรี สํานักงานประมงจังหวัดฉะเชิงเทรา สํานักงานประมงจังหวัดสมุทรปราการ สํานักงานประมงจังหวัดกรุงเทพฯ สํานักงานประมงจังหวัดสมุทรสาคร สํานักงานประมงจังหวัดสมุทรสงคราม สํานักงานประมงจังหวัดเพชรบุรี สํานักงานประมงจังหวัดประจวบคีรีขน ั ธุ สํานักงานประมงจังหวัดชุมพร สํานักงานประมงจังหวัด

หน วยงานรัฐบาล

สํานักงานประมงจังหวัดสุราษฎรธานี สํานักงานประมงจังหวัดนครศรีธรรมราช สํานักงานประมงจังหวัดพัทลุง สํานักงานประมงจังหวัดสงขลา สํานักงานประมงจังหวัดปัตตานี สํานักงานประมงจังหวัดนราธิวาส สํานักงานประมงจังหวัดสตูล

กิจกรรม

ประมง

ประมงพื้นบาน

สํานักงานประมงจังหวัดตรัง สํานักงานประมงจังหวัดกระบี่ สํานักงานประมงจังหวัดภูเก็ต สํานักงานประมงจังหวัดพังงา

Organization Chart_

สํานักงานประมงระนอง สถานีประมงทะเลจังหวัดสตูล กองบังคับการตํารวจนํ้า

กระทรวงกลาโหม

กองทัพเรือ

กองเรือลํานํ้า กรมการขนสงทหารเรือ กรมอุทกาศาสตร ศูนยประสานการปฏิบตั ใิ นการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล หมวดเรือลาดตระเวนชายแดน (มชด.)

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

มหาวิทยาลัยบูรพา

กระทรวงศึกษาธิการ

คณะประมง

ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง ภาควิชาผลิตภัณฑประมง

ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล ศูนยพฒ ั นาประมงชายฝั่ งคณะประมง ศูนยวจิ ยั เพือ ่ การพัฒนาชายฝั่ งอันดามัน คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

มหาวิทยาลัยมหิดล

สถาบันวิจยั และพัฒนา

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ ง

 นํ้าปากพนัง สํานักประสานงานชุดโครงการวิจยั และพัฒนาพื้นทีล่ ุม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร คณะวิทยาศาสตรสงั คมและมนุษย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวช ิ ยั วิทยาเขตตรัง The Asian Institute of Technology

ภาควิชาวิทยาศาสตรสงั คมสิง่ แวดล◌อม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

สมาคมการประมงแหงประเทศไทย โครงการแลใตเพือ ่ ฟื้ นฟูทะเลสาบสงขลา กลุมพัฒนาประมงพื้นบาน ศูนยศก ึ ษาและพัฒนาอาวปัตตานี สมาพันธประมงพื้นบาน องคกรสะพานปลา เครือขายองคกรดานประมงพื้นบานภาคใต ชมรมชาวประมงพื้นบาน มูลนิธค ิ ุม  ครองสัตวปาและพรรณพืชแหงประทเศไทย กลุมอนุรกั ษ ปต ั ตานี

หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_10.mmap - 22/5/2551 -

โครงการเครือขายประมงพื้นบานภายใตสมาคมเออธไอรแลนด The World Fish Center NGO GLOBAL NETWORK International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS) Convention on Biological Diversity

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

Natural Resources Management

สาขาวิชาวิทยาศาสตรการประมง


สํานักอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กลุมเทคโนโลยีเครือขาย กลุมภูมิสารสนเทศประมง

ศูนยสารสนเทศ

กลุมสารสนเทศฐานขอมูล กลุมวิจยั และวิเคราะหสถิตป ิ ระมง ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงทะเลอาวไทยตอนบน ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงทะเลอาวไทยตอนกลาง ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงทะเลอาวไทยตอนลาง

สํานักวิจยั ละพัฒนาประมงทะเล

ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงทะเลอาวไทยตอนฝั่ งตะวันออก ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงทะเลฝั่ งอันดามัน สถาบันวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีประมงทะเลลึก

สวนอนุญาตและจัดการประมง สวนตรวจการคาสัตวนํ้า สวนบริหารจัดการประมงทะเล สํานักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการประมง สํานักบริหารจัดการดานการประมง

สวนเศรษฐกิจการประมง สํานักงานประมงจังหวัด สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่ ง

กรมประมง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่ งจังหวัดตราด ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเลอาวไทยฝั่ งตะวันออก จ.ระยอง ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเลอาวไทยอาวไทยตอนใน จ.สมุทรปราการ ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเลภาคใตตอนบน จังหวัดชุมพร ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเลจังหวัดสุราษฎรธานี ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเลภาคใตตอนลางจังหวัดสงขลา หน วยป องกันและปราบปรามประมงทะเล เกาะหลีเป ะ จ.สตูล เกาะหลีเป ะ หน วยป องกันและปราบปรามประมงทะเล เกาะสิมลิ น ั จ.พังงา หน วยป องกันและปราบปรามประมงทะเล เกาะสุรินทร จ.พังงา ศูนยปองกันและปราบปรามประมง เกาะสุรน ิ ทรเหนือ ทะเลฝั่ งอันดามันจังหวัดกระบี่ สถานี วิทยุชายฝั่ ง จ.ตรัง สถานี วิทยุชายฝั่ ง จ.ภูเก็ต สถานี วิทยุชายฝั่ ง จ.ระนอง

ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเล

สวนตรวจการคาสัตวนํ้า (สวนกลาง) สวนตรวจการคาสัตวนํ้าลาดกระบังกรุงเทพฯ ศูนยวจิ ยั และตรวจสอบคุณภาพสัตวนํ้าและผลิตภัณฑสตั วนํ้า สถานีประมงทะเลจังหวัดสตูล

สวนตรวจการคาสัตวนํ้า หน วยงานรัฐบาล

ดานตรวจสัตวนํ้า

ในน านนํ้า

ดานตรวจสัตวนํ้าจังหวัดสงขลา สาขาปาดังเบซาร ดานตรวจสัตวนํ้าจังหวัดภูเก็ต

กองบังคับการตํารวจนํ้า

กระทรวงกลาโหม

กองเรือลํานํ้า กรมการขนสงทหารเรือ กรมอุทกาศาสตร ศูนยประสานการปฏิบตั ใิ นการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล หมวดเรือลาดตระเวนชายแดน (มชด.)

กองทัพเรือ

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

กิจกรรม

ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง ภาควิชาผลิตภัณฑประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล ศูนยพฒ ั นาประมงชายฝั่ งคณะประมง ศูนยวจิ ยั เพือ ่ การพัฒนาชายฝั่ งอันดามัน

ประมงพาณิชย

มหาวิทยาลัยบูรพา

Organization Chart_

กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประมง

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

กระทรวงศึกษาธิการ

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ ง

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร ภาควิชาวิทยาศาสตรสงั คมสิง่ แวดล◌อม

คณะวิทยาศาสตรสงั คมและมนุษย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

The Asian Institute of Technology

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

Natural Resources Management

สาขาวิชาวิทยาศาสตรการประมง

สมาคมการประมงแหงประเทศไทย องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

หน วยงานระดับชาติ

โครงการแลใตเพือ ่ ฟื้ นฟูทะเลสาบสงขลา องคกรสะพานปลา

สมาคมอวนลากภาคกลาง สมาคมอวนลากภาคใต The World Fish Center NGO GLOBAL NETWORK กลุมบริหารการทําการประมงและเศรษฐกิจนอกน านนํ้า กลุมความรวมมือกับตางประเทศ กลุมวิเคราะหการคาสินคาประมงระหวางประเทศ กลุมกฎหมายระหวางประเทศ

กองประมงตางประเทศ

กลุมเทคโนโลยีเครือขาย ศูนยสารสนเทศ กรมประมง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

การประยุกตใชภูมส ิ ารสนเทศเพือ ่ การจัดการทรัพยากรประมง

กลุมภูมิสารสนเทศประมง

การพัฒนาระบบการสํารวจปริมาณการจับสัตวนํ้าทะเลโดยวิธีสมุดปูม

กลุมสารสนเทศฐานขอมูล

กลุมวิจยั และวิเคราะหสถิตป ิ ระมง สํานักวิจยั ละพัฒนาประมงทะเล

สถาบันวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีประมงทะเลลึก

สํานักบริหารจัดการดานการประมง

สวนอนุญาตและจัดการประมง สวนตรวจการคาสัตวนํ้า สวนบริหารจัดการประมงทะเล

สวนเศรษฐกิจการประมง กองบังคับการตํารวจนํ้า หน วยงานรัฐบาล นอกน านนํ้า

กระทรวงกลาโหม

กองทัพเรือ

กองเรือลํานํ้า กรมการขนสงทหารเรือ กรมอุทกาศาสตร ศูนยประสานการปฏิบตั ใิ นการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล หมวดเรือลาดตระเวนชายแดน (มชด.)

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

กระทรวงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยบูรพา

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

คณะประมง

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

ภาควิชาการจัดการประมง คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

สมาคมการประมงแหงประเทศไทย หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_11.mmap - 19/12/2550 -

สมาคมประมงนอกน านนํ้าไทย (The Thai Overseas Fisheries Association)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเล และชายฝั่ ง


กลุมวิจยั เทคโนโลยีชีวภาพ กลุมวิศวอุตสาหกรรมสัตวนํ้า

กองพัฒนาอุตสาหกรรมสัตวนํ้า

ศูนยสารสนเทศ

กลุมเทคโนโลยีเครือขาย กลุมภูมิสารสนเทศประมง กลุมสารสนเทศฐานขอมูล กลุมวิจยั และวิเคราะหสถิตป ิ ระมง สถาบันวิจ ยั อาหารสัตวนํ้าชายฝั่ง ศูนยทดสอบอาหารสัตวนํ้าชายฝั่ง สถาบันวิจยั การเพาะเลี้ยงกุงทะเล สถาบันวิจ ยั สุขภาพสัตวนํ้าชายฝั่ง สงขลา ศูนยศก ึ ษาการพัฒนาประมงอาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ศูนยพ ฒ ั นาประมงพื้นทีล่ ุม  นํ้าปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งระยอง ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งฉะเชิงเทรา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งสมุทรสาคร ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งฉะเชิงเทรา

สํานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ง

ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งสุราษฎรธานี ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งสงขลา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งสตูล

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กรมประมง ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งกระบี่

สถานี เพาะเลี้ยงสัตวนํ้า ชายฝั่งจังหวัดระนอง

ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งพังงา ศูนยวจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดชลบุรี สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดตราด สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดสมุทรสงคราม สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดชุมพร สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดปัตตานี สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดตรัง สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดระนอง สวนอนุญาตและจัดการประมง สวนตรวจการคาสัตวนํ้า สวนบริหารจัดการประมงทะเล สํานักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการประมง สํานักบริหารจัดการดานการประมง

ศูนยวจิ ยั และทดสอบพันธุสตั วนํ้าปทุมธานี สถาบันวิจยั และพัฒนาพันธุกรรมสัตวนํ้า

ศูนยวจิ ยั และทดสอบพันธุสตั วนํ้าชุมพร

ศูนยวิจยั และ ทดสอบพันธส ุ ตั วนํ้า

ศูนยวจิ ยั และทดสอบพันธุสตั วนํ้าเพชรบุรี กลุมวิจยั เทคโนโลยีชีวภาพสัตวทะเลและชายฝั่ง กลุมวิจยั เทคโนโลยีชีวภาพพรรณไมนํ้า

หน วยงานรัฐบาล สวนเศรษฐกิจการประมง สํานักงานประมงจังหวัด กิจกรรม

ประมง

การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า

สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่ง

สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝั่งจังหวัดตราด

ศูนยวจิ ยั และตรวจสอบคุณภาพสัตวนํ้าและผลิตภัณฑสตั วนํ้า กรมสงเสริมการเกษตร Organization Chart_ สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานทีป ่ รึกษาดานอุตสาหกรรมในตางประเทศ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

สํานักสนธิสญ ั ญาและยุทธศาสตร

สวนความตกลงพหุภาคีดานสิง่ แวดลอม และความรวมมือระหวางประเทศ

กระทรวงอุตสาหกรรม สํานักเทคโนโลยีนํ้าและการจัดการมลพิษโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม

สํานักวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า ศูนยพฒ ั นาประมงชายฝั่งคณะประมง ศูนยวจิ ยั เพือ่ การพัฒนาชายฝั่งอันดามัน

คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กระทรงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง

The Asian Institute of Technology

หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_12.mmap - 22/5/2551 -

มูลนิธค ิ ม ุ ครองสัตวปาและพรรณพืช โครงการแลใตเพือ ่ ฟื้ นฟูทะเลสาบสงขลา

สมาคมสงเสริมการเพาะเลี้ยงและการสงออกของประเทศไทย NGO GLOBAL NETWORK Convention on Biological Diversity The Global Environment Facility (GEF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ ทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวนํ้า คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

School of Environment, Resources and Development

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

ศูนยวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอม โรงงานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนยวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอม โรงงานภาคใต จังหวัดสงขลา

เครือขา ยวิจยั และพัฒนา "อุตสาหกรรมพืชและสัตวนํ้า"

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.)

มหาวิทยาลัยบูรพา

สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลุมเทคโนโลยีการป องกันมลพิษ

Aquaculture and Aquatic Resources Management Natural Resources Management

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาวิทยาศาสตรการประมง


ทรัพยากร

Organization Chart

OC_20071219_13.mmap - 19/12/2550 -

ไมมีชีวต ิ

นํ้ามัน กาซธรรมชาติ พลังงานอืน ่ ๆ จากทะเล เชน ้ นํ้าลง ฯ คลื่น ลม นํ้ าขึน แรธาตุ ทีด ่ น ิ ชายฝั่งทะเล แหลงโบราณคดีใตนํ้า นํ้า


กรมทรัพยากรธรณี

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สํานักธรณีวท ิ ยา กองธรณีวท ิ ยาสิง่ แวดลอม กองวิเคราะหและตรวจสอบทรัพยากรธรณี กองธรณีเทคนิค ศูนยสารสนเทศทรัพยากรธรณี สวนสัมปทานปิ โตรเลียม สวนสงเสริมการประกอบการ สวนกําก ับการสํารวจและผลิต

สํานักกําก ับและบริหารสัมปทานปิ โตรเลียม

กลุมระบบขอมูลเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลุมเผยแพรขอ  มูล กลุมบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย

ศูนยขอ มูลเชื้อเพลิงธรรมชาติ

กลุม พื้นที่พฒ ั นารวมไทย-มาเลเซีย กลุม พื้นที่ทบ ั ซอนไทย-ก ัมพูชา

กองบริหารกิจการปิ โตรเลียมระหวางประเทศ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กองแผนงานเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน

กลุมติดตามและประเมินผล กลุมแผนการจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลุมแผนพัฒนาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติ

สํานักวิชาการเชื้อเพลิงธรรมชาติ

กลุมงานประเมินศักยภาพเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลุมงานวิศวกรรมแหลงกักเก็บ กลุมงานวิเคราะหวจิ ยั เชื้อเพลิงธรรมชาติ กลุมงานวิศวกรรมระบบและมาตรฐานทางเทคนิค กลุมงานวิชาการความปลอดภัยและสิง่ แวดลอม กลุมงานพัฒนาแหลงถานหิน

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน สํานักธุรกิจและพัฒนาเชื้อเพลิง สํานักคุณภาพเชื้อเพลิง สําตักความปลอดภัยธุรกิจนํ้ามันเชื้อเพลิง

กรมธุรกิจพลังงาน

สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม หน วยงานรัฐบาล กระทรวงอุตสาหกรรม

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร สํานักงานทีป ่ รึกษาดานอุตสาหกรรมในตางประเทศ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกระบี่ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจันทบุรี สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดชุมพร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดตรัง สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดดราด สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดประจวบคีรีขน ั ธ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปัตตานี สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพังงา สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพังงา สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดระนอง สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสตูล สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสงคราม สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาคร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎรธานี

สํานักสนธิสญ ั ญาและยุทธศาสตร ทรัพยากร

ทรัพยากรไมมีชีวต ิ

สวนความตกลงพหุภาคีดา นสิง่ แวดลอมและความรวมมือระหวางประเทศ

นํ้ามัน สํานักเทคโนโลยีนํ้าและการจัดการมลพิษโรงงาน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ศูนยวิจยั และพัฒ นาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนยวิจ ยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคใต จังหวัดสงขลา

สํานักวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน

Organization Chart_

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ่ การพัฒนา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

กระทรวงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยปิ โตรเลียมและปิ โตรเคมี สถาบันวิจยั พลังงาน สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน ศูนยขอ มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

ศูนยปฏิบ ัติการวิศวกรรมพลังงานและสิง่ แวดลอม

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลุมเทคโนโลยีการป องกันมลพิษ

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

วิศวกรรมธรณีเทคนิค วิศวกรรมการสํารวจ

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คณะวิศวกรรมศาสตร

ภาควิชาพลังงาน

School of Engineering and Technology

Geotechnical and Geoenvironmental Engineering Remote Sensing and Geographic Information System

The Asian Institute of Technology School of Environment, Resources and Development

กลุมธุรกิจ

ระบบขนสงนํ้ามน ั สภาบ ันวิจยั และเทคโนโลยี การลงทุนในตางประเทศ

บริษท ั ปตท. จํากดั (มหาชน) กลุม บริษท ั ปตท.

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

หน วยงานระดบั ชาติ

OC_20071219_14.mmap - 10/7/2550 -

กลุม ธุรกิจสํารวจ ผลิต และกาซธรรมชาติ บริษท ั ทอ สงปิ โตรเลียมไทย จําก ัด กลุมธุรกิจนํ้ามัน บริษท ั ขนสงนํ้ามันทางทอ จําก ัด กลุมธุรกิจปิ โตรเคมีและการกลั่น

บริษท ั พีทีที แอลเอ็นจี จําก ัด บริษท ั ปตท.สํารวจและผลิตปิ โตรเลียม จํากดั (มหาชน) บริษท ั ทรานส ไทย - มาเลเชีย (ประเทศไทย ) จําก ัด บริษท ั ทรานส ไทย - มาเลเซีย (มาเลเชีย) จําก ัด บริษท ั ปตท.เคมิค อล จํากดั (มหาชน) บริษท ั อะโรเมติกส (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) บริษท ั ไทยออยล จํากดั (มหาชน) บริษท ั พีทีที อาซาฮี เคมิค อล จําก ัด บริษท ั โรงกลั่นนํ้ามันระยอง จํากดั (มหาชน) บริษท ั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จําก ัด บริษท ั พีทีที ฟี นอล จําก ัด บริษท ั สตาร ปิ โตรเลียม รีไฟน นิ่ง จําก ัด บริษท ั ไออารพีซี จํากดั (มหาชน) บริษท ั บางจากปิ โตรเลียม จํากดั (มหาชน) ศูนยอนุรกั ษ พลังงานแหงประเทศไทย

Malaysia-Thailand Joint Authority (MTJA) Thailand Energy and Environment Network (TEENET)

Energy Natural Resources Management


กรมทรัพยากรธรณี

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สํานักธรณีวท ิ ยา กองธรณีวท ิ ยาสิง่ แวดลอม กองวิเคราะหและตรวจสอบทรัพยากรธรณี กองธรณีเทคนิค ศูนยสารสนเทศทรัพยากรธรณี สวนส ัมปทานปิ โตรเลียม สวนสงเสริมการประกอบการ สวนกํากับการสํารวจและผลิต กลม ุ ระบบขอมูลเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลม ุ เผยแพรขอ  มูล กลุมบริหารจัดการระบบ คอมพิวเตอรและเครือขาย

สํานักกํากับและบริหารสัมปทานปิ โตรเลียม

ศูนยขอ  มูลเชื้อเพลิงธรรมชาติ กองบริหารกิจการปิ โตรเลียม ระหวางประเทศ

กลุมพื้นทีพ ่ ฒ ั นารวมไทย-มาเลเซีย กลุมพื้นทีท ่ บั ซอนไทย-กัมพูชา กลม ุ ติดตามและประเมินผล ุ แผนการจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ กองแผนงานเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลม กลม ุ แผนพัฒนาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลม ุ งานประเมินศักยภาพเชื้อเพลิงธรรมชาติ กลม ุ งานวิศวกรรมแหลงกักเก็บ สํานักวิชาการเชื้อเพลิง กลม ุ งานวิเคราะหวจิ ยั เชื้อเพลิงธรรมชาติ ธรรมชาติ กลม ุ งานวิศวกรรมระบบและมาตรฐานทางเทคนิค กลม ุ งานวิชาการความปลอดภัยและสิง่ แวดลอม กลม ุ งานพัฒนาแหลงถานหิน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน สํานักธุรกิจและพัฒนาเชื้อเพลิง กรมธุรกิจพลังงาน สํานักคุณภาพเชื้อเพลิง สําตักความปลอดภัยธุรกิจนํ้ามันเชื้อเพลิง ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร สํานักงานทีป ่ รึกษาดานอุตสาหกรรม สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ในตางประเทศ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

กระทรวงพลังงาน

หน วยงานรัฐบาล

สํานักสนธิสญ ั ญา และยุทธศาสตร

กระทรวงอุตสาหกรรม

สวนความตกลงพหุภาคีดานสิง่ แวดลอม และความรวมมือระหวางประเทศ สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลม ุ เทคโนโลยีการป องกันมลพิษ ศูนยวจิ ยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน ภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนยวจิ ยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน ภาคใต จังหวัดสงขลา

สํานักเทคโนโลยีนํ้า และการจัดการมลพิษโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม สํานักวิจยั และพัฒนา สิง่ แวดลอมโรงงาน

ทรัพยากร

ทรัพ ยากร ไมมช ี ีวต ิ

กระทรวงการตางประเทศ

กรมสนธิส ัญญาและกฎหมาย

กาซธรรมชาติ กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

Organization Chart_ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมสิ ารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหิดล

ศูนยขอมูลทรัพยากรธรรมชาติ จากขอมูลดาวเทียม

ศูนยปฏิบตั ก ิ ารวิศวกรรมพลังงานและสิง่ แวดลอม สถาบันวิจยั พลังงาน

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร และทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

กระทรวงศึกษาธิการ

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

วิศวกรรมธรณีเทคนิค วิศวกรรมการสํารวจ

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คณะวิศวกรรมศาสตร

ภาควิชาพลังงาน

Geotechnical and Geoenvironmental Engineering Remote Sensing and Geographic The Asian Institute Information System of Technology Energy School of Environment, Resources and Development Natural Resources Management ระบบทอสงกาซธรรมชาติ (Transmission Pipeline) โรงแยกกาชธรรมชาติ กลม ุ ธุรกิจ สภาบันวิจยั และเทคโนโลยี บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) การลงทุนในตางประเทศ กลุมธุรกิจสํารวจ ผลิต และกาซธรรมชาติ กลุมบริษท ั ปตท. กลม ุ ธุรกิจปิ โตรเคมีและการกลั่น บริษท ั พี ทีที แอลเอ็นจี จํากัด บริษท ั ปตท.สํารวจและผลิตปิ โตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษท ั ทรานส ไทย - มาเลเชีย (ประเทศไทย ) จํากัด บริษท ั ทรานส ไทย - มาเลเซีย (มาเลเชีย) จํากัด ั ปตท.เคมิคอล จํากัด (มหาชน) องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน บริษท บริษท ั อะโรเมติกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษท ั ไทยออยล จํากัด (มหาชน) บริษท ั พี ทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด บริษท ั โรงกลั่นนํ้ ามันระยอง จํากัด (มหาชน) บริษท ั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จํากัด บริษท ั พี ทีที ฟี นอล จํากัด บริษท ั สตาร ปิ โตรเลียม รีไฟน นิ่ง จํากัด บริษท ั ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) บริษท ั บางจากปิ โตรเลียม จํากัด (มหาชน) ศูนยอนุรกั ษ พลังงานแหงประเทศไทย Malaysia-Thailand Joint Authority (MTJA) หน วยงานระดับชาติ Thailand Energy and Environment Network (TEENET) School of Engineering and Technology

OC_20071219_15.mmap - 10/7/2550 -


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

กรมทรัพยากรธรณี

กรมสนธิส ัญญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา กองกิจการเพือ่ การพัฒนา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ทรัพยากรไมมช ี ีวต ิ

พลังงานอืน ่ ๆ จากทะเล เชน ้ นํ้าลง ฯ คลื่น ลม นํ้าขึน

ศูนยขอ มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

วิทยาลัยสิง่ แวดลอม สถาบันวิจยั พลังงาน

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

ทรัพยากร

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน

หน วยงานรัฐบาล สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ มหาวิทยาลัยมหิดล

Organization Chart_

กระทรวงศึกษาธิการ

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

คณะวิศวกรรมศาสตร

ภาควิชาพลังงาน

School of Engineering and Technology The Asian Institute of Technology School of Environment, Resources and Development องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_16.mmap - 10/7/2550 -

วิศวกรรมธรณีเทคนิค วิศวกรรมการสํารวจ

ศูนยอนุรกั ษ พลังงานแหงประเทศไทย

Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) Thailand Energy and Environment Network (TEENET)

Geotechnical and Geoenvironmental Engineering Remote Sensing and Geographic Information System Energy Natural Resources Management


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กรมทรัพยากรธรณี

สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักธรณี วท ิ ยา กองธรณี วท ิ ยาสิง่ แวดลอม กองวิเคราะหและตรวจสอบทรัพยากรธรณี กองธรณี เทคนิค ศูนยสารสนเทศทรัพยากรธรณี

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร สํานักงานทีป ่ รึกษาดานอุตสาหกรรมในตางประเทศ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

สํานักสนธิสญ ั ญาและยุทธศาสตร

กระทรวงอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม

สํานักเทคโนโลยีนํ้าและการจัดการมลพิษโรงงาน

ศูนยวจิ ยั และพัฒนาสิ่งแวดลอมโรงงานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนยวจิ ยั และพัฒนาสิ่งแวดลอมโรงงานภาคใต จังหวัดสงขลา

สํานักวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน

หน วยงานรัฐบาล ทรัพยากร

ทรัพยากรไมมช ี ีวต ิ

แรธาตุ

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

Organization Chart_

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลุมเทคโนโลยีการป องกันมลพิษ

คณะวิศวกรรมศาสตร

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน ศูนยขอ มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

ภาควิชาเหมืองแรและวัสดุ

ศูนยวศ ิ วกรรมพลังงาน

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

กระทรวงศึกษาธิการ

The Asian Institute of Technology

School of Engineering and Technology School of Environment, Resources and Development

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_17.mmap - 10/7/2550 -

สมาคมธรณี วท ิ ยาแหงประเทศไทย

วิศวกรรมธรณี เทคนิค วิศวกรรมการสํารวจ Geotechnical and Geoenvironmental Engineering Remote Sensing and Geographic Information System

Energy Natural Resources Management


สนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม สํานักอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

สํานักสํารวจและการวางแผนการใชทด ี่ น ิ ่ น ิ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ สํานักพัฒนาทีด สํานักวิจยั และพัฒนาการจัดการทีด ่ น ิ ศูนยปฏิบตั ก ิ ารพัฒนาทีด ่ น ิ โครงการหลาง สํานักพัฒนาเทคโนโลยีการสํารวจและทําแผนที่ สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ เพชรบุรี ่ ิน.ประจวบคีรีขน ั ธ สถานี พฒ ั นาทีด สํานักงานพัฒนาทีด ่ ินเขต 10 ราชบุรี สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ สมุทรสงคราม

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ทรัพยากร

ทรัพยากรไมมช ี ีวต ิ

ทีด ่ น ิ ชายฝั่งทะเล

กรมพัฒนาทีด ่ น ิ

สํานักงานพัฒนาทีด ่ ินเขต 11 สุราษฎรธานี

หน วยงานรัฐบาล

สํานักงานพัฒนาทีด ่ ินเขต 12 สงขลา

Organization Chart_ กรมทีด ่ น ิ

สถานี พฒ ั นาทีด ่ ินนครศรีธรรมราช สถานี พฒ ั นาทีด ่ ินชุมพร สถานี พฒ ั นาทีด ่ ินระนอง สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ ภูเก็ต สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ สุราษฎรธานี ่ น ิ กระบี่ สถานีพฒ ั นาทีด สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ พังงา

สถานี พฒ ั นาทีด ่ ินสงขลา สถานี พฒ ั นาทีด ่ ินปัตตานี สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ นราธิวาส สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ ตรัง สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ สตูล สถานีพฒ ั นาทีด ่ น ิ ยะลา ่ น ิ พัทลุง สถานีพฒ ั นาทีด

สํานักจัดการทีด ่ น ิ ของรัฐ สํานักเทคโนโลยีทาํ แผนที่ สํานักงานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศทีด ่ น ิ เพือ ่ การบริหารจัดการระบบทีด ่ น ิ

กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาและผังเมือง

สํานักผังประเทศและผังภาค

กลุมงานผังประเทศและผังภาค กลุมงานผังจังหวัด กลุมงานผังพัฒนาพื้นทีเ่ ฉพาะ

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ภาควิชาวิทยาศาสตรและสิง่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

The Asian Institute of Technology

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน The Global Environment Facility (GEF) หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_18.mmap - 10/7/2550 -

School of Engineering and Technology

Geotechnical and Geoenvironmental Engineering Remote Sensing and Geographic Information System


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม กระทรวงวัฒนธรรม

ทรัพยากร

ทรัพยากรไมมีชีวต ิ

แหลงโบราณคดีใตนํ้า

หน วยงานรัฐบาล

กรมทรัพยากรธรณี

กรมศิลปกร

สํานักโบราณคดี

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

Organization Chart_

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_19.mmap - 10/7/2550 -

กลุมวิทยาการโบราณคดีประวัตส ิ าสตร กลุมโบราณคดีใตนํ้า กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมส ิ ารสนเทศ

ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติ จากขอมูลดาวเทียม


กลุมงานชลศาสตร สถาบันพัฒนาการชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารนํ้า สํานักชลประทานที่ 9 จ.ชลบุรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กรมชลประทาน

สํานักวิจยั และพัฒนา

สํานักชลประทานที่ 14 จ.ประจวบคีรีขน ั ธ สํานักชลประทานที่ 15 จ.นครศรีธรรมราช สํานักชลประทานที่ 16 จ.สงขลา สํานักชลประทานที่ 17 จ.นราธิวาส

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ หน วยงานรัฐบาล

Organization Chart_

ทรัพยากรไมมีชีวต ิ

กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า สถาบันวิจยั สภาวะแวดลอม

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

ทรัพยากร

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา

ทรัพยากรนํ้า

มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

กระทรวงศึกษาธิการ

คณะการจัดการสิง่ แวดลอม คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยมหิดล

สํานักประสานงานชุดโครงการวิจยั และพัฒนาพื้นทีล่ ุม  นํ้าปากพนัง

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร School of Engineering and Technology

The Asian Institute of Technology

School of Environment, Resources and Development

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน International Union for The World Conservation Union (IUCN) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK หน วยงานระดับชาติ International Tropical Marine Ecosystems Management Symposium (ITMEMS) United Nations Environment Programme The Global Environment Facility (GEF)

OC_20071219_20.mmap - 22/5/2551 -

วิศวกรรมธรณี เทคนิค วิศวกรรมการสํารวจ

Water Engineering and Management Natural Resources Management


กิจกรรม

Organization Chart

OC_20071219_21.mmap - 19/12/2550 -

การทองเทีย่ ว อุตสาหกรรมตอเนื่องจากการประมง พาณิชยนาวี ความมั่นคงของมนุษย ความมั่นคง ความมั่นคงทางดานอาหาร/ทรัพยากร ความมั่นคงของประเทศ


แผน/ยุทธศาสตร/นโยบาย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพช ื กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กฏหมาย/พรบ./ประกาศ

หน วยงานรัฐบาล กิจกรรม

การทองเทีย่ ว

แผน/ยุทธศาสตร/นโยบาย กระทรวงการทองเทีย่ วและการกีฬา

สํานักงานพัฒนาการทองเทีย่ ว การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Organization Chart

กระทรวงศึกษาธิการ องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน NGO GLOBAL NETWORK หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_22.mmap - 19/12/2550 -

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย


สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักสนธิสญ ั ญาและยุทธศาสตร

กระทรวงอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม หน วยงานรัฐบาล กิจกรรม

สํานักวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน

อุตสาหกรรมตอเนื่องจากการประมง

กระทรวงการตางประเทศ

Chart_ กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน Office of Industrial Affairs หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_23.mmap - 10/7/2550 -

สวนความตกลงพหุภาคีดา นสิง่ แวดลอมและความรวมมือระหวางประเทศ

สํานักเทคโนโลยีนํ้าและการจัดการมลพิษโรงงาน

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย Organization

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานทีป ่ รึกษาดานอุตสาหกรรมในตางประเทศ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

ศูนยวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนยวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคใต จังหวัดสงขลา

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

คณะประมง

ภาควิชาผลิตภัณฑประมง

สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลุมเทคโนโลยีการป องกันมลพิษ


แผน/ยุทธศาสตร/นโยบาย กิจกรรม/โครงการ/งานวิจยั กองกิจการระหวางประเทศ สถานี นํารอง (สมุทรปราการ) สถานี นํารอง (ศรีราชา) กองนํารอง

สถานี นํารอง (มาบตาพุด) สถานี นํารอง (ภูเก็ต) สถานี นํารอง (สงขลา)

กระทรวงคมนาคม

กรมขนสงทางนํ้าและพาณิชยนาวี

กองวิชาการและวางแผน สํานักกฎหมาย สํานักความปลอดภัยและสิง่ แวดลอมทางนํ้า สํานักพัฒนาและบํารุงรักษาทางนํ้า

ศูนยควบคุมจราจรและความปลอดภัยทางทะเล

สวนเครือ ่ งหมายการเดินเรือ

สวนแผนงานพัฒนารองนํ้า

สํานักสงเสริมการขนสงทางนํ้าและการพาณิชยนาวี สํานักสํารวจและวิศวกรรม

หน วยงานรัฐบาล

สํานักงานการขนสงทางนํ้าที่ 3 (สมุทรสงคราม) การทาเรือแหงประเทศไทย กองบังคับการตํารวจนํ้า

กิจกรรม

กองกฎหมาย

พาณิชยนาวี กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ

กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา

กรมองคการระหวางประเทศ

Organization Chart

กองเขตแดน

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

กองกิจการเพือ่ การพัฒนา

สถาบันการขนสง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ กระทรวงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยบูรพา

วิทยาลัยการขนสงและโลจีสติกส

The Asian Institute of Technology บริษท ั ไทยเดินเรือทะเล จํากัด การทาเรือแหงประเทศไทย องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

สมาคมเจาของเรือไทย สมาคมผรู บั จัดการขนสงสินคาระหวางประเทศ สภาผส ู ง สินคาทางเรือแหงประเทศไทย

สมาคมนํารองสากล (International Maritime Pilots' Association) International Maritime Organization (IMO) หน วยงานระดับชาติ

The Global Maritime Distress and Safety System (GMDSS) Secretariat of the Basel Convention United Nations Environment Program Partnerships in Environment Management for the Seas of East Asia International Labour Organization (ILO)

OC_20071219_24.mmap - 19/12/2550 -

สํานักงานการขนสงทางนํ้าที่ 3 สาขาสมุทรสงคราม ั ธ สํานักงานการขนสงทางนํ้าที่ 3 สาขาประจวบคีรีขน


กองวิชาการและแผนงาน กรมพัฒนาชุมชน

สวนนโยบายและแผนพัฒนาศักยภาพชุมชน สวนสงเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน สวนสงเสริมเทคโนโลยีการเรียนรูของชุมชน กลุมงานสงเสริมและพัฒนา ระบบบริหารจัดการชุมชน

กองสงเสริมและ พัฒนาศักยภาพชุมชน

สํานักนโยบายป องกัน และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

หน วยงานรัฐบาล ความมั่นคงของมนุษย

กระทรวงกลาโหม

กลุมงานนโยบายภัยมนุษย

ฝ ายอํานวยการและบริหารงานทวั่ ไป ฝ ายป องกันและปฏิบตั ก ิ าร ฝ ายสงเคราะหผูป  ระสบภัย กลุมงานสนับสนุนการมีสว นรวม กรมป องกันและ ฝ ายสงเคราะหผูป  ระสบภัย กลุมงานกิจการอาสาสมัคร บรรเทาสาธารณภัย กลุมงานมาตรฐานความปลอดภัย ่ งจักรกลสาธารณภัย สํานักมาตรการป องกันสาธารณภัย กลุมงานเครือ กลุมงานกฎหมาย สํานักวิจยั และความรวมมือ กลุมงานวิจยั และพัฒนา ระหวางประเทศ (สว.) กลุมงานวิเทศสัมพันธ กองนโยบายและแผน แผนกสนับสนุนงานสาธารณะ กรมกิจการพลเรือนทหารเรือ กองกิจการพลเรือน แผนกชวยเหลือประชาชน แผนกงานอนุรกั ษ และพัฒนา กองทัพเรือ กองวิทยาการ กองเรือภาคที่ 1 กองเรือยุทธการ สํานักงานป องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

กองบังค ับการตํารวจนํ้า กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา กองสันติภาพ ความมั่นคงและการลดอาวุธ

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ สํานักอนุ รกั ษ ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง

กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

กรมทีด ่ น ิ

สํานักจัดการทีด ่ น ิ ของรัฐ สํานักเทคโนโลยีทาํ แผนที่ สํานักงานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ ทีด ่ น ิ เพือ ่ การบริหารจัดการระบบทีด ่ น ิ สํานักนโยบายป องกัน และบรรเทาสาธารณภัย กลุมงานนโยบายภัยธรรมชาติ

ฝ ายอํานวยการและบริหารงานท่วั ไป ฝ ายป องกันและปฏิบตั ก ิ าร ฝ ายสงเคราะหผูป  ระสบภัย กลุมงานสนับสนุนการมีสว นรวม ฝ ายสงเคราะหผูป  ระสบภัย กรมป องกันและ กลุมงานกิจการอาสาสมัคร บรรเทาสาธารณภัย สํานักมาตรการป องกัน กลุมงานมาตรฐานความปลอดภัย กลุมงานเครือ ่ งจักรกลสาธารณภัย สาธารณภัย กลุมงานกฎหมาย สํานักวิจยั และความรวมมือ ระหวางประเทศ กลุมงานวิจยั และพัฒนา (สว.) กลุมงานวิเทศสัมพันธ กองเรือภาคที่ 1 กองเรือยุทธการ สํานักงานป องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

กระทรวงมหาดไทย

กิจกรรม Organization Chart_

ความมั่นคง

ความมั่นคงทางดานอาหาร/ทรัพยากร

หน วยงานรัฐบาล

กระทรวงกลาโหม

กองทัพเรือ

กองเรือภาคที่ 2 กองเรือยุทธการ กองเรือภาคที่ 3 กองเรือยุทธการ

ศูนยปราบปรามนํ้ามันเถือ ่ น

กองบังคบั การตํารวจนํ้า

กรมสนธิส ัญญาและกฎหมาย

กระทรวงการตางประเทศ

กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมส ิ ารสนเทศ

ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ สํานักนโยบายป องกัน และบรรเทาสาธารณภัย

กระทรวงมหาดไทย

หน วยงานรัฐบาล ความมั่นคงของประเทศ

กระทรวงกลาโหม

กรมป องกันและ บรรเทาสาธารณภัย

กลุมงานนโยบายภัยธรรมชาติ กลุมงานนโยบายภัยธรรมชาติ ฝ ายอํานวยการและบริหารงานทวั่ ไป สํานักงานป องกันและ ฝ ายป องกันและปฏิบตั ก ิ าร บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ฝ ายสงเคราะหผูป  ระสบภัย กลุมงานสนับสนุนการมีสว นรวม ฝ ายสงเคราะหผูป  ระสบภัย กลุมงานกิจการอาสาสมัคร กลุมงานมาตรฐานความปลอดภัย ่ งจักรกลสาธารณภัย สํานักมาตรการป องกันสาธารณภัย กลุมงานเครือ กลุมงานกฎหมาย สํานักวิจยั และความรวมมือ กลุมงานวิจยั และพัฒนา ระหวางประเทศ (สว.) กลุมงานวิเทศสัมพันธ

กองทัพเรือ

กองบังค ับการตํารวจนํ้า สํานักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ

กระทรวงการตางประเทศ

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_25.mmap - 10/7/2550 -

สํานักความั่นคงกิจการ ภายนอกประเทศ

กลุมยุทธศาสตรความั่นคง

ศูนยประสานความรวมมือตอตานการกอการรายสากล และการกออาชญากรรมขามชาติแหงชาติ

สํานักความมั่ นคงกิจการชายแดน และการป องกันประเทศ กองกฎหมาย กองเขตแดน กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิส ัญญา กองสันติภาพ กรมองคการระหวางประเทศ ความมั่นคงและการลดอาวุธ


การกัดเซาะชายฝั่ง

ผลกระทบ

สิง่ แวดลอม

point source

ขยะในทะเล การรั่วไหลนํ้ามัน

มลพิษทางทะเล (Pollution) Non-Point Source

Organization Chart

OC_20071219_26.mmap - 19/12/2550 -

Eutrophication คุณภาพนํ้าทะเล


กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

สวนแหลงนํ้าทะเล สํานักอนุ รกั ษ ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง

กรมทรัพยาการทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรธรณี

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กระทรวงคมนาคม

กรมชลประทาน

สํานักวิจยั และพัฒนา

สํานักพัฒนา และบํารุงรักษาทางนํ้า

กรมขนสงทางนํ้า และพาณิชยนาวี

สวนเครือ ่ งหมายการเดินเรือ

สํานักงานการขนสงทางนํ้าที่ 3 (สมุทรสงคราม)

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

การกัดเซาะชายฝั่ง

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ

มหาวิทยาลัยบูรพา

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

Organization Chart_ มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

กระทรวงศึกษาธิการ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ศูนยขอมูลทรัพยากรธรรมชาติ จากขอมูลดาวเทียม

คณะเทคโนโลยีทางทะเล ภาควิชาวาริชศาสตร

คณะวิทยาศาสตร

คณะการจัดการสิง่ แวดลอม คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ภาควิชาวิทยาศาสตรและสิง่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร School of Engineering and Technology

The Asian Institute of Technology

Geotechnical and Geoenvironmental Engineering Remote Sensing and Geographic Information System

School of Environment, Resources and Development องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_27.mmap - 10/7/2550 -

ศูนยพฒ ั นาและบํารุงรักษา ทางนํ้าที่ 6 (สุราษฎร ธานี)

สํานักงานการขนสงทางนํ้าที่ 3 สาขาประจวบคีรีขน ั ธ

หน วยงานรัฐบาล สิง่ แวดลอม

สวนแผนงานพัฒนารองนํ้า

สมาคมธรณี วท ิ ยาแหงประเทศไทย

NGO GLOBAL NETWORK The Global Environment Facility (GEF)

Natural Resources Management


สนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

สวนแหลงนํ้าทะเล

กรมควบคุมมลพิษ

สวนความตกลงพหุภาคีดานสิง่ แวดลอม และความรวมมือระหวางประเทศ

สํานักสนธิสญ ั ญาและยุทธศาสตร

สํานักเทคโนโลยีนํ้าและการจัดการมลพิษโรงงาน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน กระทรวงกลาโหม

กองทัพเรือ

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย

กรมองคการระหวางประเทศ

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

หน วยงานรัฐบาล

สิง่ แวดลอม

มลพิษทางทะเล (Pollution)

Point Source

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

โครงการพัฒนาความรูและยุทธศาสตรดานความตกลงพหุภาคีระหวางประเทศดานสิง่ แวดลอม (MEAs Intelligent Unit)

การรั่วไหลนํ้ามัน

มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

มหาวิทยาลัยมหิดล

สถาบันสิง่ แวดลอมไทย

หน วยงานระดับชาติ

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะวิทยาศาสตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง วิศวกรรมสิง่ แวดลอม

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

ภาควิชาวิทยาศาสตรและสิง่ แวดลอม

สาขาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

คณะการจัดการสิง่ แวดลอม คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

OC_20071219_28.mmap - 22/5/2551 -

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า สถาบันวิจยั สภาวะแวดลอม

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

กระทรวศึกษาธิการ

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.)

Organization Chart_Point Source

ศูนยวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนยวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคใต จังหวัดสงขลา

กองเรือภาคที่ 1 กองเรือยุทธการ

กระทรวงการตางประเทศ

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลุมเทคโนโลยีการป องกันมลพิษ

วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

ฝ ายพลังงาน อุตสาหกรรมและสิง่ แวดลอม ฝ ายกิจกรรมภาคสนาม

องคการจัดการนํ้าเสีย สมาคมวิทยาศาสตรทางทะเลแหงประเทศไทย (MARINE SCIENCE ASSOCIATION OF THAIOLAND)

Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK United Nations Environment Programme The Global Environment Facility (GEF) The Think Earth Foundation


สนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม

สวนแหลงนํ้าทะเล

กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม สนักงานสิ่งแวดลอมภาค 5,6,8,13,14,15 และ 16 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมจังหวัด ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนบน

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

ศูนยวจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอาวไทยตอนลาง

กรมชลประทาน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

สวนความตกลงพหุภาคีดา นสิง่ แวดลอมและความรวมมือระหวางประเทศ

สํานักสนธิสญ ั ญาและยุทธศาสตร

สํานักเทคโนโลยีนํ้าและการจัดการมลพิษโรงงาน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงาน

กระทรวงกลาโหม

กองทัพเรือ

กระทรวงการตางประเทศ หน วยงานรัฐบาล

กรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย

กองกฎหมาย กองเขตแดน กองพัฒนางานกฎหมายระหวางประเทศ กองสนธิสญ ั ญา

กรมองคการระหวางประเทศ

กองกิจการเพือ ่ การพัฒนา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ

มลพิษทางทะเล (Pollution)

Non-Point Source

สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) คุณภาพนํ้าทะเล

มหาวิทยาลัยบูรพา

สถาบันวิจยั สภาวะแวดลอม

วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

คณะเทคโนโลยีทางทะเล คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาวาริชศาสตร

สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล คณะการจัดการสิง่ แวดลอม คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม

สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยวลัยลักษ

สถาบันวิจยั และพัฒนา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ศูนยขอ  มูลทรัพยากรธรรมชาติจากขอมูลดาวเทียม

สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางนํ้า

มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

กระทรวศึกษาธิการ

ฝ ายสิง่ แวดลอม นิเวศวิทยา และพลังงาน

โครงการพัฒนาความรูและยุ ทธศาสตรดา นความตกลงพหุภาคีระหวางประเทศดานสิง่ แวดลอม (MEAs Intelligent Unit)

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

Organization Chart_Non-Point Source

ศูนย วิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี ศูนย วิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอมโรงงานภาคใต จังหวัดสงขลา

กองเรือภาคที่ 1 กองเรือยุทธการ

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สิง่ แวดลอม

สวนเทคโนโลยีนํ้าอุตสาหกรรม สวนมลพิษนํ้า กลุมเทคโนโลยีการป องกันมลพิษ

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

ภาควิชาวิทยาศาสตรและสิง่ แวดลอม

สาขาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวช ิ ยั วิทยาเขตตรัง

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง สถาบันวิจยั และพัฒนา

ฝ ายพลังงาน อุตสาหกรรมและสิง่ แวดลอม

สถาบันสิง่ แวดลอมไทย องคกรอิสระและบริษท ั เอกชน

หน วยงานระดับชาติ

OC_20071219_29.mmap - 22/5/2551 -

ฝ ายกิจกรรมภาคสนาม

วิศวกรรมสิง่ แวดลอม

สํานักประสานงานชุดโครงการวิจยั และพัฒนาพื้นทีล่ ุม  นํ้าปากพนัง

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะวิทยาศาสตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง

กลุมทรัพยากรธรรมชาติ กลุมการศึกษา

องคการจัดการนํ้าเสีย สมาคมวิทยาศาสตร ทางทะเลแหงประเทศไทย (MARINE SCIENCE ASSOCIATION OF THAIOLAND) Royal Netherlands Institute for Sea Research (NIOZ) NGO GLOBAL NETWORK The Think Earth Foundation United Nations Environment Programme The Global Environment Facility (GEF)


ภาคผนวก ค


377

กฎหมาย กฎข้ อบังคับต่ างๆ ที่ประเทศไทยใช้ บงั คับที่เกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลไทยในปั จจุบัน 1) กฎหมายเกี ่ยวกับสิ่ งแวดล้อม 1.1) พระราชบัญญัตอิ ุทยานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504 (กําหนดอุทยานแห่งชาติทางทะเลหรื อชายฝั่ งทะเลได้ ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ (1) “ที่ดิน” หมายความว่า พื ้นที่ดินทัว่ ไป และให้ หมายความรวมถึง ภูเขา ห้ วย หนอง คลอง บึง บาง ลํานํ ้า ทะเลสาบ เกาะและที่ชายทะเลด้ วย ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 6 เมื่อรัฐบาลเห็นสมควรกําหนดบริ เวณที่ดินแห่งใดที่มีสภาพธรรมชาติเป็ นที่น่าสนใจ ให้ คงอยู่ใน สภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไว้ ให้ เป็ นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่ นรมย์ของประชาชน ก็ให้ มีอํานาจกระทําได้ โดยประกาศ พระราชกฤษฎีกาและให้ มีแผนที่แสดงแนวเขตแห่งบริ เวณที่กําหนดนันแนบท้ ้ ายพระราชกฤษฎีกาด้ วย บริ เวณที่กําหนดนี ้เรี ยกว่า “อุทยานแห่งชาติ” ที่ดินที่จะกําหนดให้ เป็ นอุทยานแห่งชาตินนั ้ ต้ องเป็ นที่ดินที่มิได้ อยู่ในกรรมสิทธิ์หรื อครอบครองโดยชอบด้ วย กฎหมายของบุคคลใดซึง่ มิใช่ทบวงการเมือง มาตรา 16 ภายในเขตอุทยานแห่งชาติ ห้ ามมิให้ บคุ คลใด (1) ยึดถือหรื อครอบครองที่ดิน รวมตลอดถึงก่อสร้ าง แผ้ วถาง หรื อเผาป่ า (2) เก็บหา นําออกไป ทําด้ วยประการใดๆ ให้ เป็ นอันตราย หรื อทําให้ เสื่อมสภาพซึ่งไม้ ยางไม้ นํ ้ามันยาง นํ ้ามันสน แร่หรื อทรัพยากรธรรมชาติอื่น (3) นําสัตว์ออกไป หรื อทําด้ วยประการใดๆ ให้ เป็ นอันตรายแก่สตั ว์ (4) ทําด้ วยประการใดๆ ให้ เป็ นอันตรายหรื อทําให้ เสื่อมสภาพแก่ดิน หินกรวด หรื อทราย (5) เปลี่ยนแปลงทางนํ ้าหรื อทําให้ นํ ้าในลํานํ ้า ลําห้ วย หนอง บึง ท่วมท้ นหรื อเหือดแห้ ง (6) ปิ ดหรื อทําให้ กีดขวางแก่ทางนํ ้าหรื อทางบก (7) เก็บหา นําออกไป ทําด้ วยประการใดๆ ให้ เป็ นอันตราย หรื อทําให้ เสื่อมภาพซึง่ กล้ วยไม้ นํ ้าผึ ้ง ครั่ง ถ่าน ไม้ เปลือกไม้ หรื อมูลค้ างคาว (7) เก็บ หรื อทําด้ วยประการใดๆ ให้ เป็ นอันตรายแก่ดอกไม้ ใบไม้ หรื อผลไม้ (9) นํายานพาหนะเข้ าออกหรื อขับขี่ยานพาหนะในทางที่มิได้ จดั ไว้ เพื่อการนัน้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจาก พนักงานเจ้ าหน้ าที่ (10) นําอากาศยานขึ ้นลงในที่ที่มิได้ จดั ไว้ เพื่อการนัน้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ (11) นําหรื อปล่อยปศุสตั ว์เข้ าไป (12) นําสัตว์ เลี ้ยงหรื อสัตว์ พาหนะเข้ าไป เว้ นแต่จะได้ ปฏิบัติตามระเบียบที่อธิ บดีกําหนดโดยอนุมัติของ รัฐมนตรี (13) เข้ าไปดําเนินกิจการใดๆ เพื่อหาผลประโยชน์ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่


378

(14) ปิ ดประกาศ โฆษณา หรื อขีดเขียนในที่ตา่ งๆ (15) นําเครื่ องมือสําหรับล่าสัตว์หรื อจับสัตว์ หรื ออาวุธใดๆ เข้ าไป เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากพนักงาน เจ้ าหน้ าที่ และปฏิบตั ิตามเงื่อนไขซึง่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ผ้ อู นุญาตนันกํ ้ าหนดไว้ (16) ยิงปื น ทําให้ เกิดระเบิดซึง่ วัตถุระเบิด หรื อจุดดอกไม้ เพลิง (17) ส่งเสียงอื ้อฉาวหรื อกระทําการอื่นอันเป็ นการรบกวนหรื อเป็ นที่เดือดร้ อนรํ าคาญแก่คนหรื อสัตว์ (18) ทิ ้งขยะมูลฝอยหรื อสิง่ ต่างๆ ในที่ที่มิได้ จดั ไว้ เพื่อการนัน้ (19) ทิ ้งสิง่ ที่เป็ นเชื ้อเพลิงซึง่ อาจทําให้ เกิดเพลิง 1.2) พระราชบัญญัตปิ ่ าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ.2507 (กําหนดให้ ป่าชายเลนฯ เป็ นป่ าสงวน) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 6 บรรดาป่ าที่ เ ป็ นป่ าสงวนอยู่แ ล้ ว ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการคุ้ม ครองและสงวนป่ าก่ อ นวัน ที่ พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับ ให้ เป็ นป่ าสงวนแห่งชาติตามพระราชบัญญัตินี ้ เมื่ อ รั ฐ มนตรี เ ห็ น สมควรกํ า หนดป่ าอื่ น ใดเป็ นป่ าสงวนแห่ ง ชาติ เพื่ อ รั ก ษาสภาพป่ า ไม้ ของป่ าหรื อ ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ให้ กระทําได้ โดยออกกฎกระทรวงซึง่ ต้ องมีแผนที่แสดงแนวเขตป่ าที่กําหนดเป็ นป่ าสงวนแห่งชาตินนั ้ แนบท้ ายกฎกระทรวงด้ วย มาตรา 14 ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ ห้ ามมิให้ บุคคลใดยึดถือครอบครองทําประโยชน์หรื ออยู่อาศัยในที่ดิน ก่อสร้ าง แผ้ วถาง เผาป่ า ทําไม้ เก็บหาของป่ า หรื อกระทําด้ วยประการใดๆ อันเป็ นการเสื่อมเสียแก่สภาพป่ าสงวนแห่งชาติ เว้ นแต่ (1) ทําไม้ หรื อเก็บหาของป่ าตามมาตรา 15 เข้ าทําประโยชน์หรื ออยู่อาศัยตามมาตรา 16 มาตรา 16 ทวิ หรื อ มาตรา 16 ตรี กระทําการตามมาตรา 17 ใช้ ประโยชน์ตามมาตรา 18 หรื อกระทําการตามมาตรา 19 หรื อมาตรา 20 (2) ทําไม้ หวงห้ ามหรื อเก็บหาของป่ าหวงห้ ามตามกฎหมายว่าด้ วยป่ าไม้ มาตรา 25 เมื่อได้ กําหนดป่ าใดเป็ นป่ าสงวนแห่งชาติและรัฐมนตรี ได้ แต่งตังพนั ้ กงานเจ้ าหน้ าที่ ผู้ควบคุมและ รักษาป่ าสงวนแห่งชาตินนแล้ ั ้ ว ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจ ดังต่อไปนี ้ (1) สัง่ ให้ ผ้ หู นึง่ ผู้ใดออกจากป่ าสงวนแห่งชาติ หรื อให้ งดเว้ นการกระทําใดๆ ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ ในกรณีที่ มีข้อเท็จจริงปรากฏหรื อเหตุอนั ควรสงสัยว่า มีการกระทําผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ (2) สัง่ เป็ นหนังสือให้ ผ้ กู ระทําผิดต่อพระราชบัญญัตินี ้รื อ้ ถอน แก้ ไขหรื อทําประการอื่นใดแก่สิ่งที่เป็ นอันตราย หรื อสิง่ ที่ทําให้ เสื่อมสภาพในเขตป่ าสงวนแห่งชาติภายในเวลาที่กําหนดให้ (3) ยึด ทําลาย รื อ้ ถอน แก้ ไขหรื อทําประการอื่นเมื่อผู้กระทําผิดไม่ปฏิบตั ิตาม (2) ไม่ปรากฏตัวผู้กระทําผิด หรื อรู้ตวั ผู้กระทําผิดแต่หาตัวไม่พบ ถ้ าพนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ ปฏิบตั ิการอย่างหนึง่ อย่างใดดังกล่าว และได้ เสียค่าใช้ จ่ายเพื่อการนัน้ ให้ ผ้ กู ระทําผิด ชดใช้ หรื อออกค่าใช้ จ่ายนันทั ้ งหมด ้ หรื อให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่นําทรัพย์สินที่ยึดไว้ ได้ ออกขายทอดตลาดหรื อขายโดยวิธีอื่น ตามที่เห็นสมควร เพื่อชดใช้ ค่าใช้ จ่ายนัน้ และให้ นําความในมาตรา 1327 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้ บังคับแก่เงินที่ได้ จากการขายทรัพย์สนิ นันโดยอนุ ้ โลม (4) ดํ า เนิ น การอย่า งหนึ่ง อย่า งใดที่ เห็นสมควร ทัง้ นี ้ เพื่ อ ป้ องกัน หรื อ บรรเทาความเสีย หายแก่ป่ าสงวน แห่งชาติในกรณีที่มีเหตุฉกุ เฉิน


379

1.3 )พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2522 (กําหนดให้ เขตชายฝั่ งทะเลเป็ นเขตรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม ได้ ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 17 ผังเมืองรวมประกอบด้ วย (1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทําผังเมืองรวม (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม (3) แผนผังซึ่งทําขึน้ เป็ นฉบับเดียวหรื อหลายฉบับพร้ อมด้ วยข้ อกําหนด โดยมีสาระสําคัญทุกประการหรื อ บางประการ ดังต่อไปนี ้ (ก) แผนผังกําหนดการใช้ ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้ จําแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค (4) รายการประกอบแผนผัง (5) นโยบาย มาตรการและวิธีดําเนินการเพื่อปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม 1.4) พระราชบัญญัตกิ ารนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2521 (การนิคมฯ มีอํานาจในการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมโดยการตราเป็ นพระราชกฤษฎีกาซึง่ รวมถึงที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินบริ เวณชายฝั่ ง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 6 ให้ จดั ตังการนิ ้ คมอุตสาหกรรมขึ ้นเรี ยกว่า “การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย” เรี ยกโดยย่อว่า “กนอ.” และให้ เป็ นนิติบคุ คล มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้ (1) การจัดให้ ได้ มาซึ่งที่ดินที่เหมาะสมเพื่อจัดตังหรื ้ อขยายนิคมอุตสาหกรรมหรื อเพื่อดําเนินธุรกิจอื่นที่เป็ น ประโยชน์หรื อเกี่ยวเนื่องกับ กนอ. ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 36 ทวิ เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 36 วรรคสาม จัดตังหรื ้ อเปลี่ยนแปลงเขตอุตสาหกรรม ส่งออก ให้ สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่อยู่ในเขตดังกล่าวตกเป็ นกรรมสิทธิ์ ของ กนอ. เมื่อได้ ดําเนินการครบถ้ วนตาม เงื่อนไขดังต่อไปนี ้ (1) ที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสําหรับพลเมืองใช้ ร่วมกัน ในกรณีที่พลเมืองเลิกใช้ ประโยชน์ใน ที่ดินนัน้ หรื อได้ เปลี่ยนสภาพจากการเป็ นที่ดินสําหรับพลเมืองใช้ ร่วมกันเมื่อกระทรวงมหาดไทยได้ ให้ ความยินยอมและ กนอ. ได้ ชําระราคาที่ดินให้ แก่กระทรวงการคลังตามราคาที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดแล้ ว หรื อในกรณีที่พลเมืองยังใช้ ประโยชน์ในที่ดินนันอยู ้ ่หรื อยังไม่เปลี่ยนสภาพจากการเป็ นที่ดินสําหรับพลเมืองใช้ ร่วมกัน เมื่อกระทรวงมหาดไทยได้ ให้ ความยินยอม และกนอ. ได้ จดั ที่ดินแปลงอื่นให้ พลเมืองใช้ ร่วมกันแทน โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ ว ให้ พระราช กฤษฎีกานัน้ มีผลเป็ นการถอนสภาพการเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสําหรับที่ดินดังกล่าวโดยมิต้องดําเนินการถอน สภาพหรื อโอนตามประมวลกฎหมายที่ดิน (2) ที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้ เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะหรื อที่ดินที่ได้ สงวนหรื อ หวงห้ ามไว้ ตามความต้ องการของทางราชการเมื่อกระทรวงการคลังได้ ให้ ความยินยอมและ กนอ. ได้ ชําระราคาที่ดินให้ แก่


380

กระทรวงการคลังตามราคาที่กระทรวงการคลังกําหนดแล้ วให้ พระราชกฤษฎี กานัน้ มีผลเป็ นการถอนสภาพการเป็ นสา ธารณสมบัติของแผ่นดินสําหรับที่ดินดังกล่าวโดยมิต้องดําเนินการถอนสภาพหรื อโอนตามกฎหมายว่าด้ วยที่ราชพัสดุ (3) ที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่เป็ นที่ดินรกร้ างว่างเปล่าหรื อที่ดินซึง่ มีผ้ เู วนคืนหรื อทอดทิ ้ง หรื อ กลับมาเป็ นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดินเมื่อกระทรวงมหาดไทยได้ ให้ ความยินยอมและ กนอ. ได้ ชําระ ราคาที่ดินให้ แก่กระทรวงการคลังตามราคาที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดแล้ ว ในกรณีที่มีประกาศตามมาตรา 36 วรรคสอง จัดตังหรื ้ อเปลี่ยนแปลงเขตอุตสาหกรรมทัว่ ไปให้ ตราเป็ นพระ ราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงสภาพสาธารณสมบัติของแผ่นดินได้ โดยระบุแปลงและจํานวนเนื ้อที่ดินโดยประมาณที่ กนอ. ประสงค์จะได้ กรรมสิทธิ์ไว้ ในพระราชกฤษฎีกานัน้ และเมื่อได้ มีการตราพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวให้ กนอ. ได้ กรรมสิทธิ์ใน ที่ดินนันภายใต้ ้ เงื่อนไขเช่นเดียวกับที่กล่าวในวรรคหนึง่ 1.5) พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (กําหนดเขตห้ ามก่อสร้ างอาคารบริเวณชายฝั่ งได้ ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 8 เพื่อประโยชน์แห่งความมัน่ คงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภยั การสาธารณสุข การ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม การผังเมือง การสถาปั ตยกรรม และการอํานวยความสะดวกแก่การจราจร ตลอดจนการอื่นที่ จํ า เป็ นเพื่ อ ปฏิ บัติ ต ามพระราชบัญ ญัติ นี ้ ให้ รั ฐ มนตรี โ ดยคํ า แนะนํ า ของคณะกรรมการควบคุม อาคารมี อํ า นาจออก กฎกระทรวงกําหนด ฯลฯ ฯลฯ (10) บริ เวณห้ ามก่อสร้ าง ดัดแปลง รื อ้ ถอน เคลื่อนย้ าย และใช้ หรื อเปลี่ยนการใช้ อาคารชนิดใดหรื อประเภท ใด ฯลฯ ฯลฯ 1.6) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (ห้ ามทิ ้งสิ่งปฏิกลู หรื อมูลฝอยในที่หรื อทางสาธารณะ ซึ่ง รวมถึงทะเลโดยให้ อํานาจท้ องถิ่นออกข้ อกําหนด ซึ่งมีปัญหา ๒ ประการสําคัญคือ โทษต่างๆ สูงสุดคือจําคุกไม่เกินหก เดือนหรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท และทะเลอาจอยูน่ อกเขตท้ องถิ่น) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 20 เพื่อประโยชน์ในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกลู หรื อ มูลฝอย ให้ ราชการส่วนท้ องถิ่นมีอํานาจออกข้ อกําหนดของท้ องถิ่นดังต่อไปนี ้ (1) ห้ ามการถ่าย เท ทิง้ หรื อทําให้ มีขึน้ ในที่หรื อทางสาธารณะซึ่งสิ่งปฏิกูล หรื อมูลฝอย นอกจากในที่ที่ ราชการส่วนท้ องถิ่นจัดไว้ ให้ ฯลฯ ฯลฯ 1.7) พระราชบัญญั ติรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของบ้ านเมือง พ.ศ. 2535 (ห้ ามทิ ้งสิง่ ปฏิกลู ลงในทางนํ ้าซึง่ รวมถึงทะเล) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 23 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเทหรื อทิ ้งกรวด หิน ดิน เลน ทราย หรื อเศษวัตถุก่อสร้ างลงในทางนํ ้า หรื อกองไว้ หรื อกระทําด้ วยประการใดๆ ให้ วตั ถุดงั กล่าวไหลหรื อตกลงในทางนํ ้า ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นหรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจสัง่ ให้ ผ้ กู ระทําการตามวรรคหนึ่งจัดการ ขนย้ ายวัตถุ ดังกล่าวออกไปให้ หา่ งจากทางนํ ้าภายในระยะเวลาที่เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นหรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่กําหนดและถ้ าการกระทํา ผิดดังกล่าวเป็ นอุปสรรคต่อการระบายนํ ้าหรื อทําให้ ท่อระบายนํ ้า คู คลอง ตื ้นเขิน ให้ มีอํานาจสัง่ ให้ ผ้ กู ระทําการตามวรรค


381

หนึ่งแก้ ไขให้ ทางนํ ้าดังกล่าวคืนสู่สภาพเดิม ถ้ าละเลยเพิกเฉยนอกจากมีความผิดฐานขัดคําสัง่ เจ้ าพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญาแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นหรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ดําเนินคดีสําหรับความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ต่อไป มาตรา 30 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท ปล่อยหรื อระบายอุจจาระหรื อปั สสาวะจากอาคารหรื อยานพาหนะลงในทางนํ ้า มาตรา 33 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท หรื อทิ ้งสิง่ ปฏิกลู มูลฝอย นํ ้าโสโครกหรื อสิง่ อื่นใดลงบนถนนหรื อในทางนํ ้า ความในวรรคหนึ่งมิให้ ใช้ บงั คับแก่เจ้ าของ หรื อผู้ครอบครองเรื อหรื ออาคารประเภทเรื อนแพ ซึง่ จอดหรื ออยู่ ในท้ องที่ที่เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นยังไม่ได้ จดั ส้ วมสาธารณะ หรื อภาชนะสําหรับทิ ้งสิง่ ปฏิกลู หรื อมูลฝอย มาตรา 44 นอกจากอํานาจหน้ าที่ที่ได้ บญ ั ญัติไว้ ในพระราชบัญญัตินี ้ ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นและพนักงาน เจ้ าหน้ าที่มีอํานาจหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (1) โฆษณาให้ ประชาชนได้ ทราบถึงหน้ าที่ที่จะต้ องปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ (2) สอดส่องและกวดขันไม่ให้ มีการฝ่ าฝื นพระราชบัญญัตินี ้โดยเคร่งครัด (3) ตักเตือนผู้กระทําความผิดหรื อสั่งให้ ผ้ ูกระทําความผิดแก้ ไขหรื อขจัดความสกปรก หรื อความไม่เป็ น ระเบียบหรื อความไม่เรี ยบร้ อยให้ หมดไป (4) จับกุมผู้กระทําความผิดซึง่ ไม่เชื่อฟั งคําตักเตือนและดําเนินคดีตามพระราชบัญญัตินี ้ มาตรา 48 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นหรื อผู้ซงึ่ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นแต่งตัง้ และพนักงานสอบสวน มีอํานาจเปรี ยบเทียบได้ เมื่อผู้ต้องหาชําระค่าปรับตามที่เปรี ยบเทียบภายในสิบห้ าวันแล้ ว ให้ ถือว่า คดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถ้ าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรี ยบเทียบหรื อเมื่อยินยอมแล้ วไม่ชําระค่าปรับภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ ดําเนินคดีเพื่อฟ้องร้ องต่อไป ค่ า ปรั บ ที่ ไ ด้ จ ากการเปรี ย บเที ย บตามวรรคหนึ่ง ให้ แ บ่ ง แก่ ผ้ ูแ จ้ ง ตามมาตรา 51 กึ่ง หนึ่ง และพนัก งาน เจ้ าหน้ าที่ เจ้ าพนักงานจราจร หรื อตํารวจที่ปฏิบตั ิหน้ าที่ควบคุมการจราจร ผู้จบั กุมอีกกึง่ หนึง่ มาตรา 50 ในกรณี ที่ มี ก ารกระทํ า ความผิ ด หรื อ มี เ หตุ อั น ควรสงสัย ว่ า มี ก ารกระทํ า ความผิ ด ตาม พระราชบัญญัตินี ้ ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นและพนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจจับกุมผู้กระทําความผิดหรื อผู้ที่ต้องสงสัยว่า กระทําความผิดนัน้ พร้ อมด้ วยยานพาหนะ เครื่ องมือ และสิ่งของที่ใช้ ในการกระทําความผิดเพื่อดําเนินการตามกฎหมาย ได้ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นและพนักงานเจ้ าหน้ าที่แสดงบัตรประจําตัวเมื่อบุคคลที่เกี่ยวข้ อง ร้ องขอ บัตรประจําตัวพนักงานเจ้ าหน้ าที่ให้ เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยกําหนด มาตรา 57 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 13 วรรคหนึ่ง มาตรา 19 มาตรา 23 มาตรา 30 มาตรา 33 วรรคหนึง่ หรื อมาตรา 34 ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท 1.8) พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 (กําหนดท้ องที่ห้ามตังโรงงานได้ ้ ซึง่ รวมถึงชายทะเล) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ “โรงงาน” หมายความว่า อาคาร สถานที่ หรื อยานพาหนะที่ใช้ เครื่ องจักรมีกําลังรวมตังแต่ ้ ห้าแรงม้ าหรื อกําลัง ้ เจ็ดคนขึ ้นไปโดยใช้ เครื่ องจักรหรื อไม่ก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ เทียบเท่าตังแต่ ้ ห้าแรงม้ าขึ ้นไป หรื อใช้ คนงานตังแต่


382

บรรจุ ซ่อม ซ่อมบํารุ ง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรื อทําลายสิ่งใดๆ ทังนี ้ ้ ตามประเภทหรื อชนิดของ โรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 32 เพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม ความมัน่ คง ความปลอดภัยของประเทศ หรื อของสาธารณชน ให้ รัฐมนตรี โดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี มีอํานาจกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาในเรื่ องดังต่อไปนี ้ (1) กําหนดจํานวนและขนาดของโรงงานแต่ละประเภทหรื อชนิดที่จะให้ ตงหรื ั ้ อขยาย หรื อที่จะไม่ให้ ตงหรื ั้ อ ขยายในท้ องที่ใดท้ องที่หนึง่ (2) กํ าหนดชนิ ด คุณ ภาพ อัตราส่วนของวัตถุดิบ แหล่งกํ าเนิ ดของวัตถุดิบและหรื อปั จจัยหรื อ ชนิ ดของ พลังงานที่จะนํามาใช้ หรื อผลิตในโรงงาน (3) กําหนดชนิดหรื อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงานที่จะให้ ตงหรื ั ้ อขยาย (4) กําหนดให้ นําผลผลิตของโรงงานที่จะให้ ตงหรื ั ้ อขยายไปใช้ ในอุตสาหกรรมบางประเภท หรื อให้ สง่ ผลผลิต ออกนอกราชอาณาจักรทังหมดหรื ้ อบางส่วน 1.9) พระราชบัญญั ติส่งเสริ มและรั กษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 (กําหนด มาตรฐาน คุณภาพนํ ้าทะเลชายฝั่ ง กําหนดเขตพื ้นที่ค้ มุ ครองสิ่งแวดล้ อมได้ กําหนดโครงการที่ต้องจัดทํา EIA การควบคุมมลพิษจาก แหล่งกําเนิด การระบายนํ ้าทิ ้งหรื อการปล่อยทิ ้งของเสีย) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 9 เมื่อมีเหตุฉกุ เฉินหรื อเหตุภยันตรายต่อสาธารณชนอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ หรื อภาวะมลพิษที่ เกิดจากการแพร่ กระจายของมลพิษ ซึ่งหากปล่อยไว้ เช่นนัน้ จะเป็ นอันตรายอย่างร้ ายแรงต่อชีวิต ร่ างกายหรื อสุขภาพ อนามัยของประชาชน หรื อก่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนหรื อของรัฐเป็ นอันมาก ให้ นายกรัฐมนตรี มีอํานาจ สัง่ ตามที่เห็นสมควรให้ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อบุคคลใด รวมทัง้ บุคคลซึ่งได้ รับหรื ออาจได้ รับอันตรายหรื อความ เสียหายดังกล่าว กระทําหรื อร่วมกันกระทําการใดๆ อันจะมีผลเป็ นการควบคุม ระงับหรื อบรรเทาผลร้ ายจากอันตรายและ ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ น้ นั น้ ได้ อ ย่ า งทัน ท่ ว งที ในกรณี ที่ ท ราบว่ า บุ ค คลใดเป็ นผู้ก่ อ ให้ เ กิ ด ภาวะมลพิ ษ ดัง กล่ า ว ให้ ้ ให้ กระทําการใดอันจะมีผลเป็ นการเพิ่มความรุ นแรงแก่ภาวะมลพิษในระหว่างที่มี นายกรัฐมนตรี มีอํานาจสัง่ บุคคลนันไม่ เหตุภยันตรายดังกล่าวด้ วย อํานาจในการสัง่ ตามวรรคหนึง่ นายกรัฐมนตรี จะมอบอํานาจให้ ผ้ วู ่าราชการจังหวัดปฏิบตั ิราชการภายในเขต จังหวัดแทนนายกรัฐมนตรี ได้ โดยให้ ทําเป็ นคําสัง่ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อนายกรัฐมนตรี ได้ สงั่ ตามวรรคหนึ่ง หรื อผู้ว่าราชการจังหวัดในการปฏิบตั ิราชการแทนนายกรัฐมนตรี ได้ สงั่ ตามวรรคสองแล้ ว ให้ ประกาศคําสัง่ ดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษาโดยมิชกั ช้ า มาตรา 32 เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการส่ง เสริ ม และรั ก ษาคุณ ภาพสิ่ง แวดล้ อ ม ให้ ค ณะกรรมการสิ่ง แวดล้ อ ม แห่งชาติมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนดมาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้ อมในเรื่ องต่อไปนี ้ (1) มาตรฐานคุณภาพนํ ้าในแม่นํ ้าลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บนํ ้าและแหล่งนํ ้าสาธารณะอื่นๆ ที่ อยูภ่ ายในผืนแผ่นดิน โดยจําแนกตามลักษณะการใช้ ประโยชน์บริเวณพื ้นที่ลมุ่ นํ ้าในแต่ละพื ้นที่ ้ เวณพื ้นที่ปากแม่นํ ้า (2) มาตรฐานคุณภาพนํ ้าทะเลชายฝั่ งรวมทังบริ (3) มาตรฐานคุณภาพนํ ้าบาดาล (4) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว่ ไป


383

(5) มาตรฐานระดับเสียงและความสัน่ สะเทือนโดยทัว่ ไป (6) มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้ อมในเรื่ องอื่นๆ การกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้ อมตามวรรคหนึ่งจะต้ องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์ และหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นพื ้นฐาน และจะต้ องคํานึงถึงความเป็ นไปได้ ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้ องด้ วย มาตรา 33 ในกรณีท่ีเห็นสมควร ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติมีอํานาจกําหนดมาตรฐานคุณภาพ สิง่ แวดล้ อมให้ สงู กว่ามาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้ อมที่กําหนดตามมาตรา 32 เป็ นพิเศษ สําหรับในเขตอนุรักษ์ หรื อเขตพื ้นที่ คุ้มครองสิง่ แวดล้ อมตามมาตรา 43 หรื อเขตพื ้นที่ตามมาตรา 45 หรื อเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา 59 มาตรา 43 ในกรณีที่ปรากฏว่าพื ้นที่ใดมีลกั ษณะเป็ นพื ้นที่ต้นนํ ้าลําธารหรื อมีระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติที่ แตกต่างจากพื ้นที่อื่นโดยทัว่ ไป หรื อมีระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติที่อาจถูกทําลายหรื ออาจได้ รับผลกระทบกระเทือนจาก ุ ค่าทางธรรมชาติหรื อศิลปกรรมอันควรแก่การอนุรักษ์ และพื ้นที่นนั ้ กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ โดยง่ายหรื อเป็ นพื ้นที่ที่มีคณ ยังมิได้ ถกู ประกาศกําหนดให้ เป็ นเขตอนุรักษ์ ให้ รัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ มีอํานาจ ออกกฎกระทรวงกําหนดให้ พื ้นที่นนเป็ ั ้ นเขตพื ้นที่ค้ มุ ครองสิง่ แวดล้ อม มาตรา 44 ในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 43 ให้ กําหนดมาตรการคุ้มครองอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลาย อย่างดังต่อไปนี ้ไว้ ในกฎกระทรวงด้ วย (1) กําหนดการใช้ ประโยชน์ในที่ดินเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติหรื อมิให้ กระทบกระเทือนต่อระบบนิเวศน์ตาม ธรรมชาติหรื อคุณค่าของสิง่ แวดล้ อมศิลปกรรม (2) ห้ ามการกระทําหรื อกิจกรรมใดๆ ที่อาจเป็ นอันตรายหรื อก่อให้ เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลงระบบ นิเวศน์ของพื ้นที่นนจากลั ั้ กษณะตามธรรมชาติหรื อเกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสิง่ แวดล้ อมศิลปกรรม (3) กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรื อกิจการของส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ หรื อเอกชนที่จะทําการ ก่อสร้ างหรื อดําเนินการในพื ้นที่นนั ้ ให้ มีหน้ าที่ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้ อม ั้ งการกํ ้ าหนดขอบเขตหน้ าที่และความรับผิดชอบของ (4) กําหนดวิธีจดั การโดยเฉพาะสําหรับพื ้นที่นนรวมทั ส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องเพื่อประโยชน์ในการร่วมมือและประสานงานให้ เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน เพื่อรักษาสภาพ ธรรมชาติหรื อระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติหรื อคุณค่าของสิง่ แวดล้ อมศิลปกรรมในพื ้นที่นนั ้ (5) กําหนดมาตรการคุ้มครองอื่นๆ ตามที่เห็นสมควรและเหมาะสมแก่สภาพของพื ้นที่นนั ้ มาตรา 46 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมให้ รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดประเภท และขนาดของโครงการหรื อ กิจการของส่วนราชการ รั ฐวิสาหกิจ หรื อเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้ อมซึ่งต้ องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบ สิง่ แวดล้ อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา 47 มาตรา 48 และมาตรา 49 ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบตั ิ แนวทางการจัดทํารายงานการ วิเ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ง แวดล้ อ ม ตลอดจนเอกสารที่ เ กี่ ยวข้ อ งซึ่ง ต้ อ งเสนอพร้ อมกับ รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ สิง่ แวดล้ อม สําหรับโครงการหรื อกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้ วย ในกรณี ที่โครงการหรื อกิจการประเภทหรื อขนาดใดหรื อที่จะจัดตัง้ ขึน้ ในพื ้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้ อมไว้ แล้ ว และเป็ นมาตรฐานที่สามารถใช้ กบั โครงการหรื อกิจการประเภทหรื อขนาดเดียวกันหรื อในพื ้นที่ลกั ษณะ เดียวกันได้ รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้ โครงการหรื อกิจการในทํานองเดียวกันได้ รับยกเว้ นไม่ต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมก็ได้ แต่ทงนี ั้ ้


384

โครงการหรื อกิจการนัน้ จะต้ องแสดงความยินยอมปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ ที่ กําหนดไว้ ในการวิเคราะห์ ผลกระทบ สิง่ แวดล้ อมสําหรับโครงการหรื อกิจการนันตามหลั ้ กเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรี กําหนด มาตรา 55 ให้ รั ฐ มนตรี โ ดยคํ า แนะนํ า ของคณะกรรมการควบคุม มลพิ ษ และโดยความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ มี อํ า นาจประกาศในราชกิ จ จานุเ บกษากํ า หนดมาตรฐานควบคุม มลพิ ษ จาก แหล่ง กํ า เนิ ด สํ า หรั บ ควบคุม การระบายนํ า้ ทิ ง้ การปล่อ ยทิ ง้ อากาศเสีย การปล่อ ยทิ ง้ ของเสีย หรื อมลพิษ อื่ น ใดจาก แหล่งกํ าเนิดออกสู่สิ่งแวดล้ อม เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมให้ ได้ มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้ อมตามที่กําหนดไว้ ใน พระราชบัญญัตินี ้ มาตรา 59 ในกรณี ที่ปรากฏว่าท้ องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนวโน้ มที่จะร้ ายแรงถึงขนาดเป็ นอันตรายต่อ สุขภาพอนามัยของประชาชนหรื ออาจก่อให้ เกิดผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้ อมให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อม แห่งชาติมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้ ท้องที่นนเป็ ั ้ นเขตควบคุมมลพิษ เพื่อดําเนินการควบคุม ลด และขจัด มลพิษได้ 1.10) พระราชบัญญัตกิ ารขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 (ดินมีความหมายรวมถึงทรายด้ วย) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ “ดิน” หมายความรวมถึง หิน กรวด หรื อทราย และอินทรี ยวัตถุตา่ งๆ ที่เจือปนกับดิน ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 6 เพื่อประโยชน์ ในการป้องกันการพังทลายของดินหรื อสิ่งปลูกสร้ างตลอดจนการอื่นที่จําเป็ นเพื่อ ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ รัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนด (1) บริ เวณห้ ามขุดดินหรื อถมดิน (2) ความสัมพันธ์ของความลาดเอียงของบ่อดินหรื อเนินดินตามชนิดของดินความลึกและขนาดของบ่อดินที่ จะขุดดิน ความสูงและพื ้นที่ของเนินดินที่จะถมดิน และระยะห่างจากขอบบ่อดินหรื อเนินดินถึงเขตที่ดินหรื อสิ่งปลูกสร้ าง ของบุคคลอื่น (3) วิธีการป้องกันการพังทลายของดินหรื อสิง่ ปลูกสร้ าง (4) วิธีการให้ ความคุ้มครองและความปลอดภัยแก่คนงานและบุคคลภายนอก (5) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขอื่นในการขุดดินหรื อถมดิน มาตรา 17 ผู้ใดประสงค์จะทําการขุดดินโดยมีความลึกจากระดับพื ้นดินเกินสามเมตรหรื อมีพื ้นที่ปากบ่อดิน เกิ นหนึ่งหมื่นตารางเมตร หรื อมีความลึกหรื อพื น้ ที่ ตามที่เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นประกาศกํ าหนด ให้ แจ้ งต่อเจ้ าพนักงาน ท้ องถิ่นตามแบบที่เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นกําหนดโดยยื่นเอกสารแจ้ งข้ อมูล ดังต่อไปนี ้ (1) แผนผังบริ เวณที่ประสงค์จะทําการขุดดิน (2) แผนผังแสดงเขตที่ดินและที่ดินบริเวณข้ างเคียง (3) รายการที่กําหนดไว้ ในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๖ (4) วิธีการขุดดินและการขนดิน (5) ระยะเวลาทําการขุดดิน (6) ชื่อผู้ควบคุมงานซึง่ จะต้ องเป็ นผู้มีคณ ุ สมบัติตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (7) ที่ตงสํ ั ้ านักงานของผู้แจ้ ง


385

(8) ภาระผูกพันต่างๆ ที่บคุ คลอื่นมีสว่ นได้ เสียเกี่ยวกับที่ดินที่จะทําการขุดดิน (9) เอกสารและรายละเอียดอื่นๆ ที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ถ้ าผู้แจ้ งได้ ดําเนินการตามที่ระบุไว้ ในวรรคหนึ่งโดยถูกต้ องแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นออกใบรับแจ้ งตาม แบบที่เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นกําหนดเพื่อเป็ นหลักฐานการแจ้ งให้ แก่ผ้ นู นั ้ ภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ ง และให้ ผ้ แู จ้ ง เริ่มต้ นทําการขุดดินตามที่ได้ แจ้ งไว้ ได้ ตงแต่ ั ้ วนั ที่ได้ รับใบรับแจ้ ง ถ้ าการแจ้ งเป็ นไปโดยไม่ถกู ต้ อง ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นแจ้ งให้ แก้ ไขให้ ถกู ต้ องภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่มีการ แจ้ งตามวรรคหนึ่ง ถ้ าผู้แจ้ งไม่แก้ ไขให้ ถกู ต้ องภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่ผ้ แู จ้ งได้ รับแจ้ งให้ แก้ ไขจากเจ้ าพนักงานท้ องถิ่น ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นมีอํานาจออกคําสัง่ ให้ การแจ้ งตามวรรคหนึง่ เป็ นอันสิ ้นผล ถ้ าผู้แจ้ งได้ แก้ ไขให้ ถกู ต้ องภายในเวลาที่กําหนดตามวรรคสาม ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นออกใบรับแจ้ งให้ แก่ผ้ ู แจ้ งภายในสามวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งที่ถกู ต้ อง ผู้ได้ รับใบรับแจ้ งต้ องเสียค่าธรรมเนียมและค่าใช้ จ่ายตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 25 ในการขุดดิน ถ้ าพบโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ซากดึกดําบรรพ์ หรื อแร่ ที่มีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจหรื อ ้ ก่อน ทางการศึกษาในด้ านธรณีวิทยา ให้ ผ้ ขู ดุ ดินตามมาตรา 17 มาตรา 23หรื อมาตรา 24 หยุดการขุดดินในบริ เวณนันไว้ แล้ วรายงานให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่พบ และให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นแจ้ งให้ กรมศิลปากรหรื อ กรมทรัพยากรธรณี แล้ วแต่กรณี ทราบโดยด่วนในกรณีเช่นนี ้ ให้ ผ้ ขู ดุ ดินปฏิบตั ิการให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยการนัน้ 1.11) ระเบียบสํานักนายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วยการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ้าเนื่องจากนํ้ามัน พ.ศ. 2538 ระเบียบนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ ข้ อ 6 ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรี ยกว่า “คณะกรรมการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน” เรี ยกโดยย่อว่า “กปน.” ประกอบด้ วยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคมเป็ นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงคมนาคมเป็ น รองประธานกรรมการ อธิ บดีกรมการบินพาณิชย์หรื อผู้แทน อธิ บดีกรมควบคุมมลพิษหรื อผู้แทน อธิ บดีกรมประมงหรื อ ผู้แทน อธิ บดีกรมศุลกากรหรื อผู้แทน เจ้ ากรมยุทธการทหารบกหรื อผู้แทน เจ้ ากรมยุทธการทหารเรื อหรื อผู้แทน เจ้ ากรม ยุ ท ธการทหารอากาศหรื อ ผู้ แทน เจ้ ากรมอุ ท กศาสตร์ ห รื อ ผู้ แทน ผู้ แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้ แทน กระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกรมตํารวจ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง ผู้แทนกรุ งเทพมหานคร ผู้แทนการท่าเรื อแห่งประเทศไทย ผู้แทนการสื่อสารแห่งประเทศไทย ประธานกลุ่มอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมของวงการอุตสาหกรรมนํ า้ มันหรื อผู้แทน เป็ น กรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกินหกคน ซึง่ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคมแต่งตังจากผู ้ ้ มีความรู้หรื อความ ชํานาญเกี่ ยวกับนํ า้ มัน การเศรษฐกิจ กฎหมายองค์การระหว่างประเทศ การสื่อสารมวลชน การประชาสัมพันธ์ หรื อ สิง่ แวดล้ อม ให้ อธิบดีกรมเจ้ าท่าเป็ นกรรมการและเลขานุการ ผู้แทนกรมเจ้ าท่าและผู้แทนสํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมเป็ นกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ ข้ อ 10 ให้ กปน.มีอํานาจหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1) กําหนดนโยบายเกี่ยวกับการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามัน (2) จัดทําแผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามัน ซึง่ แผนดังกล่าวอย่างน้ อยต้ อง ประกอบด้ วยเรื่ องดังต่อไปนี ้ (ก) การกําหนดหน้ าที่ความรับผิดชอบและเขตพื ้นที่ในความรับผิดชอบของหน่วยปฏิบตั ิการ (ข) การตรวจสอบและติดตามกรณีที่มีมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามันเกิดขึ ้น


386

(ค) การติดต่อสื่อสารและรับแจ้ งเหตุ (ง) การจัดหากําลังคนและเครื่ องมือสนับสนุน ข้ อ 11 ให้ กรมเจ้ าท่าทําหน้ าที่เป็ นศูนย์ประสานงาน โดยมีอํานาจหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1) รับผิดชอบในงานธุรการของ กปน. (2) รับแจ้ งเหตุมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน (3) ประสานงานกับหน่วยปฏิบตั ิการ ในกรณีที่มีมลพิษทางนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามันเกิดขึ ้น (4) จัดทํารายงานการประเมินผลกระทบจากมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน (5) ศึกษา ค้ นคว้ า วิจัย รวบรวมและแลกเปลี่ยนความรู้ ข้ อมูลและข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันและขจัด มลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน (6) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องในการจัดฝึ กอบรมเกี่ยวกับการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามัน จัดให้ มีการฝึ กซ้ อมการปฏิบตั ิการ ซักซ้ อมความพร้ อมเพรี ยงในการให้ ความร่ วมมือของฝ่ ายต่างๆ และ จัดทํารายงานผลการดําเนินการดังกล่าวเสนอต่อ กปน. (7) เบิกจ่ายเงินทดรองราชการเพื่อทดรองจ่ายสําหรับเป็ นค่าใช้ จ่ายตามระเบียบนี ้ โดยให้ เป็ นไปตามระเบียบ ของกระทรวงการคลัง (8) ปฏิบตั ิงานอื่นตามที่ กปน.มอบหมาย (9) ดําเนินการอื่นตามที่กําหนดไว้ ในระเบียบนี ้หรื อที่คณะรัฐมนตรี หรื อนายกรัฐมนตรี มอบหมาย ข้ อ 12 ให้ หน่วยงานปฏิบตั ิการประกอบด้ วยหน่วยงานของรัฐและเอกชน ดังต่อไปนี ้ (1) กองทัพบก (2) กองทัพเรื อ (3) กองทัพอากาศ (4) สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (5) สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม (6) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (7) กรมการบินพาณิชย์ (8) กรมการปกครอง (9) กรมเจ้ าท่า (10) กรมควบคุมมลพิษ (11) กรมตํารวจ (12) กรมประมง (13) กรมศุลกากร ั ญาและกฎหมาย (14) กรมสนธิสญ (15) สํานักงานนโยบายและแผนสิง่ แวดล้ อม (16) การท่าเรื อแห่งประเทศไทย (17) การสื่อสารแห่งประเทศไทย (18) กลุม่ อนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมของวงการอุตสาหกรรมนํ ้ามัน


387

(19) เอกชนอื่นนอกจาก (18) ข้ อ 14 ในกรณีที่มีมลพิษทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามันเกิดขึ ้น ให้ หน่วยปฏิบตั ิการรายงานความคืบหน้ าของการ ปฏิบตั ิการตามแผนปฏิบตั ิการให้ เลขานุการ กปน.ทราบทุกระยะ เมื่อเลขานุการ กปน.ได้ รับรายงานดังกล่าวแล้ วให้ รีบ เสนอต่อ กปน. เมื่อการปฏิบตั ิการขจัดมลพิษตามวรรคหนึ่งสิ ้นสุดลง ให้ เลขานุการ กปน.จัดทํารายงานวิเคราะห์สาเหตุของ การเกิดมลพิษและการปฏิบตั ิการขจัดมลพิษดังกล่าวเสนอต่อ กปน. ข้ อ 15 ให้ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องให้ ความสนับสนุนด้ านผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชํานาญการ กําลังคน สถานที่ เครื่ องมือ วัสดุ สารเคมี ยานพาหนะและสิง่ อื่นที่จําเป็ นต่อการปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิการ ตามที่ศนู ย์ประสารงานร้ องขอ ข้ อ 16 ศูนย์ประสานงานอาจขอความร่ วมมือและความสนับสนุนจากเอกชนด้ านผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชํานาญการ กําลังคน สถานที่ เครื่ องมือ วัสดุ สารเคมี ยานพาหนะและสิง่ อื่นที่จําเป็ นต่อการปฏิบตั ิการ ข้ อ 17 บรรดาเงินที่มีผ้ มู อบให้ เพื่อใช้ ในการป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามันให้ หน่วยปฏิบตั ิการ ที่เป็ นหน่วยงานของรัฐนําไปใช้ เพื่อกิจการตามระเบียบนี ้ได้ โดยไม่ต้องนําส่งคลังเป็ นรายได้ แผ่นดิน เงินที่ได้ รับชดใช้ ความเสียหายอันเนื่องมาจากการก่อให้ เกิดมลพิษทางนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามันให้ หน่วยงานของ รัฐนําส่งคลังเป็ นรายได้ แผ่นดิน ข้ อ 18 ในการจัดหาเครื่ องมือ วัสดุ สารเคมี ยานพาหนะและสิง่ อื่นที่จําเป็ นต่อการป้องกันและขจัดมลพิษ ทางนํ ้าเนื่องจากนํ ้ามัน ให้ หน่วยปฏิบตั ิการที่เป็ นหน่วยงานของรัฐขอตังงบประมาณเพื ้ ่อการดังกล่าวตามกฎหมายว่าด้ วย วิธีการงบประมาณ 1.12) ระเบียบสํานักนายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วยนโยบายและการฟื้ นฟูทะเลไทย พ.ศ. 2539 ระเบียบนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ ข้ อ 7 ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรี ยกว่า "คณะกรรมการนโยบายและฟื น้ ฟูทะเลไทย" เรี ยกโดยย่อว่า "กฟท." ประกอบด้ วย นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายคนหนึ่งหรื อ หลายคนเป็ นรองประธานกรรมการ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้ อม รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวง การต่ า งประเทศ ปลัด กระทรวงพาณิ ช ย์ ปลัด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ปลัด กระทรวง อุต สาหกรรม ปลัดสํ า นัก นายกรั ฐ มนตรี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี กา เลขาธิ ก ารคณะกรรมการพัฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ผู้อํานายการสํานักงบประมาณ ผู้บญ ั ชาการทหารเรื อ อธิบดีกรม ประชาสัมพันธ์ อธิ บดีกรมประมง ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คณบดีคณะประมงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หัวหน้ าภาควิชาวิทยาศาสตร์ ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็ นกรรมการ ให้ ผ้ อู ํานวยการ "สฟท." เป็ นกรรมการและเลขานุการ และให้ "กฟท." แต่งตังผู ้ ้ ช่วยเลขานุการตามจํานวนที่ จําเป็ น ข้ อ 8 ให้ กฟท. มีอํานาจและหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1) เสนอนโยบาย และแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทยต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ (2) อนุมตั แิ ผนงานหรื อโครงการ และให้ ความเห็นเกี่ยวกับวงเงินลงทุนของ หน่วยราชการเพื่อดําเนินงานตามนโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทยตามข้ อ 17 (3) กําหนดแนวทางการประสานงาน การบริหารและการใช้ ประโยชน์พื ้นที่ทะเลไทย


388

(4) เป็ นศูนย์กลางประสานงานกับคณะกรรมการอื่นที่แต่งตังขึ ้ ้นตามกฎหมาย หรื อตามมติคณะรัฐมนตรี และมีหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับนโยบายและการฟื น้ ฟูทะเลไทย (5) เร่งรัด ติดตามและกํากับดูแลการดําเนินการของหน่วยราชการที่ได้ รับมอบหมายให้ ดําเนินการเกี่ยวกับการฟื น้ ฟู ทะเลไทย เพื่อให้ การดําเนินงานเป็ นไปด้ วยความรวดเร็วเรี ยบร้ อยและมีประสิทธิภาพ (6) ควบคุม อํานวยการ ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามนโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทย (7) กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินงานสําหรับการบริหารงานของ สฟท. (8) ขอความร่วมมือในการขอยืมตัวบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ และครุภณ ั ฑ์ของ หน่วยราชการ เพื่อช่วยการปฏิบตั ิงานของ กฟท. ได้ ตามความจําเป็ น (9) ดําเนินการอื่นใดที่จําเป็ นเพื่อการฟื น้ ฟูทะเลไทย ข้ อ 12 ให้ มีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายและการฟื น้ ฟูทะเลไทยเรี ยกโดยย่อว่า "สฟท." เป็ นหน่วยราชการ ภายในสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทําหน้ าที่เป็ นสํานักงานเลขานุการของ กฟท. และให้ มี อํานาจและหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1) ประสานกับหน่วยราชการที่เกี่ยวข้ องในการจัดเตรี ยมแผนงานและโครงการต่างๆ ตามนโยบายและแผนการฟื น้ ฟู ทะเลไทย ตลอดจนการศึกษาวิเคราะห์วิจยั ปั ญหาและอุปสรรค ที่เกิดขึ ้นในการกําหนดนโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเล ไทย เพื่อเสนอต่อ กฟท. (2) สอดส่อง ดูแล และให้ คําแนะนําแก่ส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องกับการดําเนินงาน หรื อการดําเนินกิจการเพื่อให้ เกิดการปฏิบตั ิที่ถกู ต้ องตามระเบียบนี ้ (3) ชักชวน อํานวยความสะดวก และประสานงานให้ องค์กรเอกชนมีส่วนร่ วมในการกําหนดนโยบายและ แผนการฟื น้ ฟูทะเลไทย ให้ เป็ นไปตามเป้าหมายที่ กฟท. กําหนด (4) บริหารแผนงานรวม และประสานการบริหารและการปฏิบตั ิการตามแผนงานการฟื น้ ฟูทะเลไทย (5) ติดตาม และเร่งรัดการปฏิบตั ิงานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้ อง (6) ปฏิบตั ิงานและร่วมดําเนินการด้ านประชาสัมพันธ์การฟื น้ ฟูทะเลไทย (7) วิเคราะห์และประเมินผลของการฟื น้ ฟูทะเลไทย เพื่อเสนอต่อ กฟท. (8) เชิญบุคคลของหน่วยราชการและภาคเอกชน ให้ มาชี ้แจงหรื อส่งข้ อมูลหรื อสถิติต่าง ๆ ตลอดจนขอความ ร่วมมือในการยืมตัวบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ และครุภณ ั ฑ์ตา่ งๆ จากหน่วยราชการได้ ตามความจําเป็ น (9) ปฏิบตั ิงานหรื อดําเนินการอื่นใดตามที่ กฟท. มอบหมาย ข้ อ 15 เมื่อคณะรัฐมนตรี อนุมตั ินโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทยที่ กฟท. เสนอแล้ วให้ กฟท. กําหนด แนวทางดําเนินงานให้ เป็ นไปตามนโยบายและแผนดังกล่าว และถ้ าจําเป็ นต้ องมีการจัดทําแผนงานหรื อโครงการเพื่อ ปฏิบตั ิตามนโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทย ให้ กฟท. กําหนดแนวทางดําเนินงานและกําหนดหน่วยราชการที่จะให้ รับผิดชอบปฏิบตั ิงานดังกล่าวด้ วย ข้ อ 16 ให้ หน่วยราชการที่ กฟท. กําหนดตามข้ อ 15 จัดเตรี ยมแผนงานหรื อโครงการสําหรับงานที่จะต้ อง ปฏิบัตินัน้ ขึน้ โดยประสานงานกับ สฟท. แผนงานหรื อโครงการดังกล่าวต้ องมีรายละเอียดชัดเจนเกี่ยวกับเป้าหมายการ ดําเนินงานแต่ละขันตอน ้ กําลังคน วัสดุ อุปกรณ์ และทรัพยากรการบริหาร ตลอดจนวงเงินรายจ่าย เมื่อหน่วยราชการจัดเตรี ยมแผนงานหรื อโครงการขึ ้นแล้ ว ให้ สฟท. รวบรวมและวิเคราะห์เพื่อนําเสนอ กฟท. เพื่อพิจารณาอนุมตั ิตอ่ ไป


389

ข้ อ 17 เมื่อ กฟท. อนุมัติแผนงานหรื อโครงการใดแล้ ว ให้ หน่วยราชการที่เกี่ ยวข้ องดําเนินการให้ เป็ นไป ตามนันโดยไม่ ้ ชกั ช้ า ในกรณี ที่ ต้ อ งมี ก ารใช้ เ งิ น กู้เ งิ น บาทสมทบ หรื อ ความช่ ว ยเหลื อ จากต่ า งประเทศให้ กฟท. แจ้ ง ไปยัง กระทรวงการคลัง สํา นักงบประมาณ และกรมวิเทศสหการเพื่ อพิจารณาดํา เนิน การตามกฎหมายที่เกี่ ยวข้ องในการ สนับสนุนด้ านการเงินให้ สอดคล้ องกับเป้าหมายที่กําหนดตามความเหมาะสม ในกรณีที่มีความจําเป็ นต้ องปฏิบตั ิตามแผนงานหรื อโครงการใดโดยเร่งด่วน กฟท. อาจนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมตั ิให้ จดั สรรเงินงบประมาณเพื่อดําเนินการตามแผนงานหรื อโครงการนันเป็ ้ นกรณีพิเศษได้ ข้ อ 18 ถ้ าหน่วยราชการแห่งใดที่ กฟท. กําหนดตามข้ อ 15 ไม่สามารถรับผิดชอบงานที่จะให้ ปฏิบตั ินนได้ ั ้ หรื อไม่ เห็นด้ วยกับ กฟท. หรื อ สฟท. ในเรื่ องหนึ่งเรื่ องใดตามแผนงานหรื อโครงการที่จะรับมาปฏิบตั ิให้ หน่วยงานราชการดังกล่าว รายงานปั ญหาอุปสรรคและความเห็นให้ กฟท. ทราบเพื่อพิจารณา ในกรณี ที่ กฟท. ได้ พิจารณารายงานของหน่วยราชการตามวรรคหนึ่งแล้ วมีมติเป็ นเช่นใดให้ หน่วยราชการ ปฏิบตั ิไปตามนัน้ แต่ถ้าหน่วยราชการนันยั ้ งไม่เห็นชอบกับมติของ กฟท. หน่วยราชการดังกล่าวอาจเสนอให้ คณะรัฐมนตรี ชี ้ขาดได้ แต่ต้องนําเสนอคณะรัฐมนตรี ภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งมติของ กฟท. หากมิได้ มีการดําเนินการเสนอ คณะรัฐมนตรี ภายในกําหนดเวลาดังกล่าวให้ เป็ นอันยุติตามมติของ กฟท. ข้ อ 19 ให้ หน่วยราชการที่รับผิดชอบแผนงานหรื อโครงการที่ กฟท. อนุมตั ิแจ้ งชื่อผู้รับผิดชอบแผนงานหรื อ โครงการและเจ้ า หน้ า ที่ ตํ า แหน่ ง สํ า คัญ ที่ จ ะมอบหมายให้ ป ฏิ บัติ ง านตามแผนงานหรื อ โครงการต่อ สฟท. เพื่ อ การ ประสานงานระหว่างหน่วยปฏิบตั ิ ข้ อ 20 ให้ ผ้ รู ับผิดชอบแผนงานหรื อโครงการจัดให้ มีแผนปฏิบตั ิการที่เหมาะสมเพื่อดําเนินงานตามแผนงาน หรื อโครงการให้ เป็ นไปตามเป้าหมายและมีคณ ุ ภาพ ทบทวนค่าใช้ สอยและการใช้ วสั ดุอปุ กรณ์ และทรัพยากรการบริ หารเป็ น ประจําตามควรแก่กรณี และทํารายงานความก้ าวหน้ าของแผนงานหรื อโครงการเป็ นระยะ ๆ รูปแบบของรายงานความก้ าวหน้ าของแผนงานหรื อโครงการให้ เป็ นไปตามที่ กฟท.กําหนด ในกรณีที่มีปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการดําเนินงานตามแผนงานหรื อโครงการให้ ผ้ รู ับผิดชอบแผนงานหรื อ โครงการแจ้ งให้ สฟท. ทราบและประสานงานกับ สฟท. เพื่อแก้ ไขปั ญหาดังกล่าว ข้ อ 21 ให้ หวั หน้ าหน่วยงานราชการรับผิดชอบอํานวยการให้ งานตามแผนงานหรื อโครงการที่รับมอบหมาย ดําเนินการไปด้ วยความเรี ยบร้ อย และสอดคล้ องกับนโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทย ข้ อ 22 ให้ หน่วยราชการที่รับผิดชอบแผนงานหรื อโครงการจัดให้ มีระบบการควบคุม ตรวจสอบ และติดตาม การดําเนินงานตามแผนงานหรื อโครงการ และส่งรายงานความก้ าวหน้ าของแผนงานหรื อโครงการให้ สฟท. เพื่อรายงานต่อ กฟท. ตามระยะเวลาที่ กฟท. กําหนด ข้ อ 23 ให้ สฟท. ติด ตามความก้ า วหน้ า ของแผนงานหรื อโครงการต่า ง ๆ ในการฟื ้น ฟูท ะเลไทยกับ ให้ พิจารณา วิเคราะห์ และประเมินผลความก้ าวหน้ าของงานเสนอต่อ กฟท. เพื่อทราบหรื อเพื่อพิจารณาตามควรแก่กรณี ข้ อ 24 ในกรณีที่ กฟท. ได้ มีมติให้ มีการดําเนินงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการประสานงาน การบริหารหรื อการใช้ ประโยชน์พื ้นที่ทะเลไทย เพื่อให้ สอดคล้ องกับนโยบายและแผนการฟื น้ ฟูทะเลไทย ให้ หน่วยราชการที่เกี่ยวข้ องปฏิบตั ิตามมติ ของ กฟท. ในกรณีที่หน่วยราชการใดมีปัญหาอุปสรรคในการปฏิบตั ิตามมติ กฟท. ให้ รายงานให้ กฟท. ทราบเพื่อพิจารณา และ ให้ นําความในวรรคสองของข้ อ ๑๘ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม


390

อนึ่ง คณะรัฐมนตรี เห็นชอบในการยกเลิกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยนโยบายการฟื น้ ฟูทะเลไทย พ.ศ. 2539 และคณะกรรมการนโยบายและการฟื น้ ฟูทะเลไทย แล้ ว1 1.13) ระเบียบสํานักนายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วยการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ.2543 ระเบียบนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ ข้ อ 5 ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรี ยกว่า “คณะกรรมการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ ความหลากหลายทาง ชีวภาพแห่งชาติ” เรี ยกโดยย่อว่า “กอช.” ประกอบด้ วย รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เป็ นประธาน กรรมการ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม เป็ นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็ นรองประธานกรรมการคนที่สอง ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ อธิบดี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมปศุสตั ว์ อธิบดีกรมป่ าไม้ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรม ส่งเสริ มคุณ ภาพสิ่ง แวดล้ อ ม อธิ บ ดี กรมอุท ยานแห่ง ชาติ สัตว์ ป่ า และพัน ธุ์พื ช ผู้อํ า นวยการศูน ย์ พัน ธุวิศ วกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ผู้อํานวยการองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ ผู้อํานวยการองค์การสวนพฤกษศาสตร์ ผู้อํานวยการองค์การสวนสัตว์ ผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข และผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมแต่งตังไม่ ้ เกินห้ าคน เป็ นกรรมการ ให้ เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เป็ นกรรมการและเลขานุการ และให้ เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมแต่งตังเจ้ ้ าหน้ าที่สํานักความหลากหลาย ทางชีวภาพ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เป็ นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการได้ ตาม ความจําเป็ น ข้ อ 9 ในการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพให้ กอช. มีอํานาจและหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1) เสนอแนวทางและนโยบาย มาตรการ และแผนงานการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศต่อคณะรัฐมนตรี (2) ให้ ความเห็นแก่คณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับแผนงาน หรื อโครงการที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความ หลากหลายทางชีวภาพ (3) ประสานงานโครงการความช่วยเหลือจากต่างประเทศเพื่อดําเนินการตามแผนงานการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (4) ออกระเบียบ กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ในการเข้ าถึงทรัพยากรชีวภาพ การได้ รับผลประโยชน์ตอบ แทน ความปลอดภัยทางชีวภาพและการถ่ายทอดเทคโนโลยี (5) ให้ คําปรึกษาและพิจารณาปั ญหาเกี่ยวกับนโยบายและมาตรการ เพื่อการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความ หลากหลายทางชีวภาพแก่คณะรัฐมนตรี (6) ดําเนินการด้ านนโยบาย ด้ านบริ หาร หรื อด้ านกฎหมาย เพื่อให้ ประเทศไทยอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสอดคล้ องกับหลักการและวัตถุประสงค์ของอนุสญ ั ญาว่าด้ วยความหลากหลายทาง ชีวภาพ (7) เป็ นศูนย์กลางประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐหรื อคณะกรรมการอื่นที่ตงขึ ั ้ ้นตามกฎหมายหรื อตาม 1

กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อม. 2550. มติ ครม. ด้ านสิ่ ง แวดล้ อม. ศู น ย์ ข้ อมู ล สิ่ ง แวดล้ อม, http://www.deqp.go.th/info/info5-1.jsp?id=368&languageID=en, 21 กันยายน 2550.

แหล่ ง ที่ ม า:


391

มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้ องกับการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพกับหน่วยงานหรื อองค์กรต่าง ๆ ของต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ (8) ประสานความร่ ว มมื อกับหน่วยงานของรั ฐหรื อภาคเอกชนที่ เกี่ ยวข้ องเพื่ อสนับสนุน เร่ งรั ด ติดตาม ประเมินผลและแก้ ไขปั ญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามแนวทางและนโยบาย มาตรการ หรื อแผนงานการอนุรักษ์ และ ใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (9) ประสานการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ เป็ นไปตามแนวทางและนโยบาย มาตรการ หรื อ แผนงานการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพในส่วนที่คณะรัฐมนตรี ได้ อนุมตั ิแล้ ว (10) แต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการหรื อคณะทํางานเพื่อให้ ปฏิบตั ิงานตามที่ กอช. มอบหมาย (11) เสนอชื่อบุคคลต่อคณะรัฐมนตรี หรื อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ อง แล้ วแต่กรณี เพื่อแต่งตังเป็ ้ นผู้แทนหรื อ คณะผู้แทนเข้ าร่วมในการประชุมเจรจาด้ านการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างประเทศกับรัฐบาล หน่วยงานหรื อองค์กรต่าง ๆ ของต่างประทศและองค์กรระหว่างประเทศ (13) ดําเนินการอื่นใดที่จําเป็ นตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ การอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพประสบความสําเร็จ ระเบียบตาม (4) ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และให้ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องยึดถือปฏิบตั ิ หรื อออกกฎหมายตามลําดับรองเพื่ออนุวตั ิให้ เป็ นไปตามระเบียบดังกล่าว ข้ อ 11 ให้ สํ า นัก ความหลากหลายทางชี ว ภาพ ซึ่ ง เป็ นหน่ ว ยงานภายในสํ า นัก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมทําหน้ าที่เป็ นสํานักงานเลขานุการของ กอช. และให้ มีอํานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (1) ประสานงานกับหน่วยงานของรั ฐในการจัดเตรี ยมแนวทางและนโยบายมาตรการ หรื อแผนงานการ อนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐในด้ านการศึกษา วิเคราะห์และวิจยั ปั ญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ ้นในการ อนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อเสนอต่อ กอช. (3) ประสานงานและดํ าเนิ น การร่ วมกับหน่ว ยงานของรั ฐในการเจรจาเพื่ อ ต่อรองเงื่ อนไขในการเข้ า ถึง ทรั พยากรชี วภาพ การได้ ผลประโยชน์ ตอบแทนและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่ เกี่ ยวข้ องกับหน่วยงานหรื อองค์ กรของ ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศให้ เป็ นไปอย่างยุติธรรมและเหมาะสม (4) สนับสนุนและให้ ความช่วยเหลือแก่การวิจยั และการพัฒนาที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความ หลากหลายทางชีวภาพของภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา (5) สํารวจ รวบรวม และให้ บริ การข้ อมูลพื ้นฐานและข้ อสนเทศเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ และต่างประเทศ (6) ติดตาม ประเมินผล และจัดทํารายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแนวทางและนโยบายมาตรการ หรื อ แผนงานการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพ และประเมินความต้ องการใช้ ประโยชน์ ทรัพยากร ชีวภาพในรู ปแบบต่าง ๆ และความสามารถในการสนองความต้ องการดังกล่าว รวมทังประเมิ ้ นผลกระทบที่จะเกิดขึ ้นใน ปั จจุบนั และอนาคตเพื่อเสนอต่อ กอช. (7) ปฏิบตั ิงานหรื อร่วมดําเนินการด้ านประชาสัมพันธ์การอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทาง ชีวภาพ


392

(8) เชิญบุคคลของหน่วยงานของรัฐมาชี ้แจง หรื อส่งข้ อมูลหรื อสถิติต่าง ๆ ตลอดจนขอความร่ วมมือในการยืมตัว บุคคล พัสดุ อุปกรณ์ และครุภณ ั ฑ์ตา่ งๆ จากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องกับการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ความหลากหลาย ทางชีวภาพได้ ตามความจําเป็ น (9) ประสานงานกํ ากับดูแ ลด้ า นความปลอดภัยทางชี วภาพให้ เป็ นไปตามแนวปฏิ บัติสากลและติดตาม ตรวจสอบให้ คําแนะนําด้ านวิชาการ จัดทํากฎเกณฑ์ มาตรฐาน หรื อแนวปฏิบตั ิเพื่อประเมินและจัดการเกี่ยวกับปั ญหา ความปลอดภัยทางชีวภาพ (10) ปฏิบตั ิงานหรื อดําเนินการอื่นใดตามที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม หรื อ กอช. มอบหมาย ข้ อ 12 ถ้ าการดําเนินการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพในเรื่ องใดไม่เป็ นไปตามที่ กําหนดหรื อไม่สอดคล้ องกับนโยบาย แนวทาง มาตรการ แผนงาน โครงการ หรื อวิธีดําเนินกิจการที่กําหนดตามระเบียบนี ้ ให้ ศลช. รายงานปั ญหาหรื ออุปสรรคที่เกิดขึ ้นต่อคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติเพื่อทราบ และ ต่อ กอช. เพื่อนําเสนอนายกรัฐมนตรี วินิจฉัยสัง่ การตามที่เห็นสมควรต่อไป 2) กฎหมายเกี ่ยวกับการพาณิ ชยนาวี 2.1) พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่ านนํ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 (กําหนดหลักเกณฑ์เพื่อความ ปลอดภัยในการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยและอาณาเขตต่อเนื่อง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจการการใช้ ทะเล คือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “เรื อ” หมายความว่า ยานพาหนะทางนํ ้าทุกชนิด ไม่ว่าจะใช้ เพื่อบรรทุกลําเลียง โดยสาร ลาก จูง ดัน ยก ขุด ้ างอื่นที่สามารถใช้ ในนํ ้าได้ ทํานองเดียวกัน หรื อลอก รวมทังยานพาหนะอย่ ฯลฯ ฯลฯ “น่านนํ ้าไทย” หมายความว่า บรรดาน่านนํ ้าที่อยู่ภายใต้ อธิปไตยของราชอาณาจักรไทยและในกรณีตาม มาตรา 17 มาตรา 119 มาตรา 119 ทัง้ มาตรา 120 มาตรา 121 มาตรา 133 มาตรา 204 และมาตรา 220 แห่ ง พระราชบัญญัติการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 ให้ หมายความรวมถึงน่านนํา้ ที่อยู่ในเขตต่อเนื่องของ ราชอาณาจักรไทยด้ วย ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 12 รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคมมีอํานาจออกกฎกระทรวง ดังต่อไปนี ้ (1) กําหนดแนวแม่นํ ้าลําคลองหรื อทะเลอาณาเขตแห่งใดเป็ นเขตท่าเรื อและเขตจอดเรื อ (2) กําหนดทางเดินเรื อทัว่ ไปและทางเดินเรื อในเขตท่าเรื อนอกจากทางเดินเรื อในเขตท่าเรื อกรุงเทพ ฯ มาตรา 22 เรื อ กํ า ปั่ น ที่ใ ช้ เดินทะเลระหว่างประเทศลําใดที่ ต้องมี ใบสําคัญตามที่กําหนดในกฎข้ อบังคับ สําหรับการตรวจเรื อตามมาตรา 163 เมื่อจะออกจากเขตท่าเรื อใด ๆ ในน่านนํ ้าไทย นายเรื อต้ องแจ้ งกําหนดออกเรื อต่อเจ้ า ท่าก่อนออกเรื อเป็ นเวลาไม่น้อยกว่าหกชั่วโมง เพื่อให้ เจ้ าท่าตรวจใบอนุญาตใช้ เรื อและใบสํา คัญดังกล่า ว ตลอดจน อุปกรณ์และเครื่ องมือเครื่ องใช้ ให้ ถกู ต้ องและใช้ การได้ มาตรา 46 ทวิ ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจสัง่ ห้ ามใช้ และให้ แก้ ไขท่าเรื อรับส่งคนโดยสารท่ารับส่งสินค้ า ท่าเทียบเรื อ และแพในแม่นํ ้า ลําคลอง บึง อ่างเก็บนํ ้า ทะเลสาบ อันเป็ นทางสัญจรของประชาชน หรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน หรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทย ซึ่งมีสภาพไม่ปลอดภัยในการใช้ หรื ออาจเกิดอันตรายแก่ประชาชน หรื อแก่การเดินเรื อ โดย


393

แจ้ งให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองทราบเป็ นหนังสือ ในกรณี ที่ไม่ปรากฏตัวเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองให้ ปิดคําสัง่ ไว้ ณ ท่า ้ ว รับส่งคนโดยสาร ท่ารับส่งสินค้ า ท่าเทียบเรื อ หรื อแพนันและให้ ้ ถือว่าเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองได้ รับคําสัง่ นันแล้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองซึ่งได้ รับคําสัง่ จากเจ้ าท่าตามความในวรรคหนึ่ง มีสิทธิ อทุ ธรณ์ ต่อรัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงคมนาคมภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่ได้ รับคําสัง่ คําชี ้ขาดของรัฐมนตรี เป็ นที่สดุ แต่ในระหว่างที่รัฐมนตรี ยงั มิได้ ชี ้ ชาด คําสัง่ ห้ ามใช้ นนมี ั ้ ผลบังคับได้ ในกรณีไม่มีอทุ ธรณ์คําสัง่ หรื อมีอทุ ธรณ์แต่รัฐมนตรี สงั่ ให้ ยกอุทธรณ์และเจ้ าของหรื อผู้ ครอบครองไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ภายในเวลาที่เจ้ าท่ากําหนด หรื อภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั ได้ รับทราบคําวินิจฉัยอุทธรณ์ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจจัดการแก้ ไขให้ เป็ นไปตามคําสัง่ โดยคิดค่าใช้ จ่ายจากเจ้ าของหรื อผู้ครอบครอง เมื่อเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองได้ แก้ ไขเสร็ จเรี ยบร้ อยตามคําสัง่ แล้ ว ให้ เจ้ าท่าเพิกถอนคําสัง่ ห้ ามใช้ ในกรณี ที่ เจ้ าท่าจัดการแก้ ไขเอง จะรอการเพิกถอนคําสัง่ ห้ ามใช้ ไว้ จนกว่าเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองจะชําระค่าใช้ จ่ายให้ เจ้ าท่าก็ได้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองคนใดใช้ เอง หรื อยินยอมให้ ผ้ อู ื่นใช้ ท่ารับส่งคนโดยสาร ท่ารับส่งสินค้ า ท่าเทียบเรื อ ้ สามพันบาทถึงสามหมื่นบาทและ หรื อแพ ซึง่ เจ้ าท่ามีคําสัง่ ห้ ามใช้ และยังไม่ได้ เพิกถอนคําสัง่ นัน้ ต้ องระวางโทษปรับตังแต่ ปรับเป็ นรายวันวันละหนึง่ พันบาทจนกว่าจะปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ อง มาตรา 117 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดปลูกสร้ างอาคารหรื อสิง่ อื่นใดล่วงลํ ้าเข้ าไปเหนือนํ ้า ในนํ ้า และใต้ นํ ้า ของแม่นํ ้า ลํา คลอง บึง อ่างเก็บนํา้ ทะเลสาบ อันเป็ นทางสัญจรของประชาชนหรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน หรื อทะเลภายใน น่านนํ ้าไทยหรื อบนชายหาดของทะเลดังกล่าว เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากเจ้ าท่า หลักเกณฑ์และวิธีการในการอนุญาตให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวงโดยกฎกระทรวงดังกล่าวจะต้ อง ระบุลกั ษณะของอาคารและการล่วงลํ ้าที่พึงอนุญาตได้ ไว้ ให้ ชดั แจ้ งพร้ อมทังระยะเวลาที ้ ่จะต้ องพิจารณาอนุญาตให้ แล้ ว เสร็จด้ วย เมื่อผู้ขออนุญาตยื่นคําขอถูกต้ องตามหลักเกณฑ์ วิธีการและลักษณะที่กําหนดไว้ ในกฎกระทรวงตามวรรค สองแล้ ว เจ้ าท่าต้ องอนุญาตภายในระยะเวลาที่กําหนดในกฎกระทรวงดังกล่าว มาตรา 119 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท ทิ ้ง หรื อทําด้ วยประการใด ๆ ให้ หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิ่งของหรื อ สิ่งปฏิกูลใด ๆ ยกเว้ นนํ า้ มันและเคมีภัณฑ์ ลงในแม่นํา้ ลําคลอง บึง อ่างเก็บนํ า้ หรื อทะเลสาบ อันเป็ นทางสัญจรของ ประชาชนหรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกันหรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทย อันจะเป็ นเหตุให้ เกิดการตื ้นเขิน ตกตะกอนหรื อ สกปรก เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากเจ้ าท่า ผู้ใดฝ่ าฝื นต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อทัง้ จําทังปรั ้ บ และต้ องชดใช้ เงินค่าใช้ จ่ายที่ต้องเสียในการขจัดสิง่ เหล่านันด้ ้ วย ั ฑ์หรื อสิง่ ใดๆ ลงในแม่นํ ้า ลํา มาตรา 119 ทวิ ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเท ทิ ้ง หรื อทําด้ วยประการใด ๆ ให้ นํ ้ามันและเคมีภณ คลอง บึง อ่างเก็บนํ ้า หรื อทะเลสาบอันเป็ นทางสัญจรของประชาชนหรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน หรื อทะเลภายใน น่านนํ ้าไทยอันอาจจะเป็ นเหตุให้ เกิดเป็ นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรื อต่อสิ่งแวดล้ อมหรื อเป็ นอันตรายต่อการเดินเรื อในแม่นํ ้า ลํา คลอง บึง อ่างเก็บนํ ้า หรื อทะเลสาบดังกล่าว ผู้ใดฝ่ าฝื นต้ องระวางโทษจําคุก ไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท ้ วย หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ และต้ องชดใช้ เงินค่าใช้ จ่ายที่ต้องเสียไปในการแก้ ไข สิง่ เป็ นพิษหรื อชดใช้ คา่ เสียหายเหล่านันด้ มาตรา 139 เมื่อเจ้ าท่าตรวจพบว่าเรื อกําปั่ นลําใดที่ใช้ ในทะเลหรื อเรื อที่ใช้ ในแม่นํ ้าไม่อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย หรื อไม่เหมาะสมสําหรับการใช้ ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจออกคําสัง่ เป็ นหนังสือถึงนายเรื อห้ ามใช้ เรื อนัน้ และสัง่ ให้ เปลี่ยนแปลง แก้ ไขหรื อซ่อมแซมให้ เรี ยบร้ อยจนเป็ นที่ปลอดภัยหรื อมีสภาพเหมาะสมสําหรับการใช้ ถ้ านายเรื อนําเรื อตามวรรคหนึง่ มาใช้ โดยมิได้ ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ของเจ้ าท่าที่สงั่ ตามวรรคหนึ่ง ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจกัก เรื อนันไว้ ้ จนกว่าจะได้ ปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ องตามคําสัง่


394

มาตรา 167 เมื่อปรากฏว่าเรื อไทยที่ได้ รับใบอนุญาตใช้ เรื อมีอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ ประจําเรื อไม่ถูกต้ อง หรื อไม่อยูใ่ นสภาพที่ใช้ การได้ ตามใบสําคัญที่ออกตามกฎข้ อบังคับสําหรับการตรวจเรื อตามมาตรา 163 ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจ ออกคําสัง่ เป็ นหนังสือให้ นายเรื อแก้ ไขให้ ถกู ต้ องภายในระยะเวลาที่กําหนด ถ้ านายเรื อตามวรรคหนึ่งมาใช้ โดยมิได้ ปฏิบตั ิ ตามคําสัง่ ของเจ้ าท่าที่สงั่ ตามวรรคหนึง่ ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตใช้ เรื อจนกว่าจะได้ ปฏิบตั ิถกู ต้ องตามคําสัง่ เมื่อได้ ปฏิบตั ิถกู ต้ องตามคําสัง่ ตามวรรคหนึ่งแล้ ว ให้ เจ้ าท่าออกคําสัง่ เพิกถอนคําสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตใช้ เรื อ โดยพลัน เมื่อเจ้ าท่าตรวจพบว่าเรื อต่างประเทศที่เข้ ามาในเขตท่าเรื อของประเทศไทยมีอปุ กรณ์ และเครื่ องใช้ ประจําเรื อ ไม่ถกู ต้ องหรื อไม่อยูใ่ นสภาพที่ใช้ การได้ ตามใบสําคัญตามที่กําหนดในกฎข้ อบังคับสําหรับการตรวจเรื อตามมาตรา 163 ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจออกคําสัง่ เป็ นหนังสือให้ นายเรื อแก้ ไขให้ ถกู ต้ องเสียก่อน เมื่อเห็นว่าถูกต้ องแล้ วจึงจะอนุญาตให้ ออกเรื อได้ มาตรา 162 เจ้ าพนักงานออกใบอนุญาตจะออกใบอนุญาตใช้ เรื อหรื อเปลี่ยนใบอนุญาตใช้ เรื อแทนฉบับเดิม ให้ แก่เรื อลําใด ให้ กระทําได้ ต่อเมื่อมีใบสําคัญรับรองการตรวจเรื อเพื่ออนุญาตให้ ใช้ เรื อซึ่งเจ้ าพนักงานตรวจเรื อได้ ออกให้ ไว้ แสดงว่าเรื อลํานัน้ ได้ รับการตรวจตามกฎข้ อบังคับสําหรั บการตรวจเรื อ และปรากฏว่า เป็ นเรื อที่อยู่ในสภาพปลอดภัยและ ั ้ วงระหว่างเวลาสิบสองเดือน หรื อน้ อยกว่านัน้ เหมาะสมสําหรับการใช้ นนในช่ มาตรา 162 ทวิ เรื อที่เป็ นเรื อเดินทะเลระหว่างประเทศ ต้ องมีใบสําคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแห่ง ชีวิตในทะเล ตามมาตรา 163 (3) เว้ นแต่ (1) เรื อของทางราชการทหารไม่วา่ จะเป็ นของประเทศไทยหรื อต่างประเทศ หรื อเรื อลําเลียงทหารไม่ว่าจะเป็ น เรื อไทยหรื อเรื อต่างประเทศ (2) เรื อสินค้ าขนาดตํ่ากว่าห้ าร้ อยตันกรอสส์ (3) เรื อที่มิใช่เรื อกล (4) เรื อไม้ ที่ตอ่ แบบโบราณ (5) เรื อสําราญและกีฬา (6) เรื อประมง มาตรา 162 ตรี เรื อทุกลําต้ องมีใบสําคัญรับรองแนวนํ ้าบรรทุกตามมาตรา 163 (4) เว้ นแต่ (1) เรื อของทางราชการทหาร ไม่วา่ จะเป็ นของประเทศไทยหรื อของต่างประเทศ (2) เรื อที่วางกระดูกงูในวันหรื อหลังวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2511ที่มีความยาวฉากน้ อยกว่ายี่สบิ สี่เมตร (3) เรื อที่วางกระดูกงูก่อนวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ที่มีขนาดตํ่ากว่าหนึง่ ร้ อยห้ าสิบตันกรอสส์ (4) เรื อสําราญและกีฬา (5) เรื อประมง มาตรา 163 ให้ เจ้ าท่าโดยอนุมัติรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคมมีอํานาจออกกฎข้ อบังคับสําหรั บการ ตรวจเรื อ เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการออกใบสําคัญดังต่อไปนี ้ (1) ใบสําคัญรับรองการตรวจเรื อเพื่ออนุญาตให้ ใช้ เรื อ (2) ใบสําคัญแสดงการตรวจเรื อเพื่อจดทะเบียนเรื อไทย (3) ใบสําคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (4) ใบสําคัญรับรองแนวนํ ้าบรรทุก (5) ใบสําคัญรับรองการตรวจเรื อเพื่อการอื่น ๆ


395

กฎข้ อบังคับนัน้ เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ ว ให้ ใช้ บงั คับได้ มาตรา 170 เมื่อเจ้ าท่าตรวจพบว่าเรื อที่ได้ รับอนุญาตให้ บรรทุกคนโดยสาร บรรทุกสินค้ า หรื อบรรทุกคน โดยสารและสินค้ าลําใด อยูใ่ นสภาพที่ไม่ปลอดภัยต่อคนโดยสาร มีสภาพไม่เหมาะสมกับการใช้ ให้ เจ้ าท่ามีอํานาจสัง่ ห้ าม ใช้ เรื อลํานันจนกว่ ้ าเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองจะได้ แก้ ไขให้ เรี ยบร้ อย ผู้ใดใช้ เรื อที่เจ้ าท่าสัง่ ห้ ามใช้ ตามวรรคหนึง่ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท มาตรา 204 ผู้ใดเท ทิ ้ง หรื อปล่อยให้ นํ ้ามันปิ โตรเลียมหรื อนํ ้ามันที่ปนกับนํ ้ารั่วไหลด้ วยประการใดๆ ลงในเขตท่า แม่นํ ้า ลําคลอง ทะเลสาบ หรื อทะเลภายในน่านนํ ้าไทย ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับ ตังแต่ ้ สองพันบาทถึง สองหมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ มาตรา 209 สายโทรเลข สายโทรศัพท์ สายไฟฟ้าหรื อสายอื่นใด หรื อท่อหรื อสิ่งก่อสร้ างที่ทอดใต้ นํ ้า ในแม่นํ ้า ลําคลอง บึง อ่างเก็บนํ ้า ทะเลสาบ อันเป็ นทางสัญจรของประชาชนหรื อที่ประชาชนใช้ ประโยชน์ร่วมกัน หรื อทะเลภายใน ้ ้า เครื่ องหมายนันให้ ้ ทําเป็ นเสาสูง น่านนํ ้าไทย ให้ เจ้ าท่าจัดให้ มีเครื่ องหมายแสดงไว้ ณ ที่ซงึ่ สายท่อหรื อสิง่ ก่อสร้ างนันทอดลงนํ มีป้ายใหญ่สีขาวรูปกลมติดที่ปลายเสาในกลางป้ายมีข้อความเป็ นภาษาไทยและภาษาอังกฤษว่า “สาย ท่อหรื อสิ่งก่อสร้ าง ใต้ นํ ้า ห้ ามทอดสมอและเกาสมอ” และในกรณีที่เห็นสมควร เจ้ าท่าจะจัดให้ มีการวางทุ่นหรื อเครื่ องหมายอื่นใดแสดงไว้ ด้ วยก็ได้ ห้ ามมิให้ เรื อลําใดทอดสมอภายในระยะข้ างละหนึ่งร้ อยเมตรนับจากที่ซงึ่ สายท่อหรื อสิ่งก่อสร้ างใต้ นํ ้าทอดอยู่ หรื อเกาสมอข้ ามสาย ท่อหรื อสิง่ ก่อสร้ างที่ทอดใต้ นํ ้านัน้ มาตรา 217 เมื่อได้ รับข่าวว่ามีไข้ อหิวาตกโรค ไข้ ทรพิษ ไข้ กาฬโรค ไข้ จบั หรื อโรคร้ ายต่างๆ ที่มีอาการติดกัน ได้ เกิดขึ ้นหรื อมีอยู่ในเมืองท่าหรื อตําบลใด ๆ ภายนอกพระราชอาณาเขตไทย ให้ เสนาบดีกระทรวงนครบาลมีอํานาจชอบ ด้ วยกฎหมาย ออกประกาศในหนังสือราชกิจจานุเบกษา และแจ้ งประกาศไปยังกงสุลต่างประเทศทัว่ กันว่า เมืองท่าหรื อ ตําบลนัน้ ๆ มีโรคร้ ายที่ติดกันได้ แล้ วให้ บังคับบรรดาเรื อที่จะมาจากเมืองท่าหรื อตําบลนัน้ ให้ ไปอยู่ที่สถานี หรื อทําเล ทอดสมอเพื่อป้องกันโรคภยันตราย และให้ กกั อยู่ที่นนั ้ จนกว่าเจ้ าพนักงานแพทย์กระทรวงนครบาลหรื อเจ้ าพนักงานรอง ซึง่ ต่อไปจะเรี ยกว่าเจ้ าพนักงานแพทย์นนั ้ จะอนุญาตปล่อยให้ ไปได้ 2.2) พระราชบัญญัตเิ รื อไทย พุทธศักราช 2481 (การจดทะเบียนเป็ นเรื อไทย) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี ้ เว้ นแต่จะมีข้อความแสดงให้ เห็นเป็ นอย่างอื่น 1. “น่านนํ ้าไทย” หมายความถึง บรรดาน่านนํ ้าที่อยูภ่ ายใต้ อธิปไตยของประเทศไทย 2. “เมืองท่า” หมายความถึง ทําเล หรื อถิ่นที่ทอดจอดเรื อเพื่อขนถ่ายคนโดยสารหรื อของ ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 7 ผู้ที่จะถือกรรมสิทธิ์เรื อจดทะเบียนเป็ นเรื อไทยซึง่ ทําการค้ าในน่านนํ ้าไทยได้ ตามมาตรา 47 ต้ องมี คุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้ (1) เป็ นบุคคลธรรมดาซึง่ มีสญ ั ชาติไทย (2) เป็ นห้ างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนที่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนทังหมดเป็ ้ นบุคคลธรรมดาซึง่ มีสญ ั ชาติไทย (3) เป็ นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้ วยวิธีการงบประมาณ (4) เป็ นนิติบคุ คลที่จดั ตังขึ ้ ้นตามกฎหมายไทยดังต่อไปนี ้ (ก) ห้ างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนที่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนทังหมดเป็ ้ นบุคคลธรรมดาซึง่ มีสญ ั ชาติไทย


396

(ข) ห้ า งหุ้น ส่ว นจํ า กัดที่ ผ้ ูเป็ นหุ้น ส่ว นจํ า พวกไม่จํ า กัดความรั บ ผิ ดทัง้ หมดเป็ นบุคคลธรรมดาซึ่ง มี สัญชาติไทย และทุนไม่น้อยกว่าร้ อยละเจ็ดสิบเป็ นของบุคคลซึง่ มิใช่คนต่างด้ าว ั ชาติไทย หุ้นอันเป็ นทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่าร้ อย (ค) บริ ษัทจํากัดที่กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งมีสญ ละเจ็ดสิบเป็ นของบุคคลซึง่ มิใช่คนต่างด้ าวและไม่มีข้อบังคับอนุญาตให้ ออกใบหุ้นชนิดออกให้ แก่ผ้ ถู ือ (ง) บริษัทมหาชนจํากัดที่กรรมการไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่ มีสญ ั ชาติไทยและหุ้นอันเป็ นทุนชําระแล้ วไม่น้อย กว่าร้ อยละเจ็ดสิบเป็ นของบุคคลซึง่ มิใช่คนต่างด้ าว เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี ้ “คนต่างด้ าว” หมายความว่า คนต่างด้ าวตามกฎหมายว่าด้ วยการประกอบธุรกิจ ของคนต่างด้ าว มาตรา 8 เรื อดังจะกล่าวต่อไปนี ้ เมื่อได้ จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี ้แล้ ว ให้ ถือว่าเป็ นเรื อไทย สําหรับการค้ าในน่านนํ ้าไทย 1. เรื อกล ขนาดตังแต่ ้ สบิ ตันกรอสขึ ้นไป 2. เรื อทะเลที่มิใช่เรื อกล ขนาดตังแต่ ้ ยี่สบิ ตันกรอสขึ ้นไป 3. เรื อลํานํ ้าที่มิใช่เรื อกล ขนาดตังแต่ ้ ห้าสิบตันกรอสขึ ้นไป สําหรับการประมง 1. เรื อกลทุกขนาด 2. เรื อที่มิใช่เรื อกลขนาดตังแต่ ้ หกตันกรอสขึ ้นไป มาตรา 15 เรื อลําใดได้ จดทะเบียนเป็ นเรื อไทย ณ เมืองท่าใด เมืองท่านันเป็ ้ นเมืองท่าขึ ้นทะเบียนของเรื อนัน้ มาตรา 47 นอกจากจะมี ค วามตกลงกั บ ต่ า งประเทศเป็ นอย่ า งอื่ น เรื อ ไทยซึ่ ง ได้ จดทะเบี ย นตาม พระราชบัญญัตินี ้และเรื อมีขนาดตํ่ากว่าที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 8 สําหรับการค้ าในน่านนํ ้าไทย ซึ่งเป็ นบุคคลตามมาตรา 7 เท่านันจะทํ ้ าการค้ าในน่านนํ ้าไทยได้ ั ญัติไว้ บทบัญญัติในวรรคก่อนไม่ใช้ บงั คับแก่เรื อของบุคคลธรรมดาที่เป็ นคนต่างด้ าวซึ่งมีขนาดตํ่ากว่าที่บญ ในมาตรา 8 สําหรับการค้ าในน่านนํ ้าไทย มาตรา 55 ในกรณี ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ หรื อในกรณี ความผิดที่เกิดขึน้ ในเรื อไทย ให้ ถือว่าเจ้ า พนักงานต่อไปนี ้เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครอง หรื อตํารวจชันผู ้ ้ ใหญ่ตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้ วย เมื่อปฏิบตั ิตามมาตรา 78 และมาตรา 92 แห่งประมวลกฎหมายนัน้ 1. เจ้ าท่า หรื อผู้รักษาการแทนเจ้ าท่า 2. นายทหารชัน้ สัญญาบัตรผู้ทําหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ คือ ผู้บงั คับบัญชาป้อม ผู้บงั คับการเรื อ หรื อผู้บงั คับการ กองทหารแห่งราชนาวี 3. เจ้ าพนักงานประมงหรื อเจ้ าพนักงานศุลกากรตังแต่ ้ ตําแหน่งประจําแผนกขึ ้นไป 4. เจ้ าพนักงานอื่นๆ ซึง่ รัฐมนตรี ได้ แต่งตังเพื ้ ่อการนี ้ เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี ้ เจ้ าพนักงานประมงและเจ้ าพนักงานศุลกากรตํ่ากว่าตําแหน่งประจําแผนกลงมา ให้ ถือว่าเป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจ 2.3) พระราชบัญญัตกิ ารท่ าเรื อแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2494 (การท่าเรื อฯ มีอํานาจในการสร้ างท่าเรื อ โดย ใช้ อํานาจรัฐมนตรี ในการเวนคืนที่ดินซึง่ รวมถึงที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินบริ เวณชายฝั่ ง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ


397

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ “การท่าเรื อแห่งประเทศไทย” หมายความว่า การท่าเรื อซึง่ จัดตังขึ ้ ้นตามพระราชบัญญัตินี ้ “กิ จ การท่ า เรื อ ” หมายความว่ า ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกับ ท่ า เรื อ และให้ ห มายความรวมถึ ง อู่เ รื อ และกิ จ การอื่ น ที่ เกี่ยวเนื่องหรื อเป็ นส่วนประกอบกับท่าเรื อ ฯลฯ ฯลฯ “อาณาบริเวณ” หมายความว่า เขตซึง่ อยูใ่ นความควบคุม และการบํารุงรักษาของการท่าเรื อแห่งประเทศไทย ทังทางบกและทางนํ ้ ้า มาตรา 6 ให้ จดั ตังการท่ ้ าเรื อขึ ้น เรี ยกว่า “การท่าเรื อแห่งประเทศไทย” มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้ (1) รับโอนกิจการท่าเรื อจากสํานักงานท่าเรื อกรุงเทพฯ ในกรมการขนส่ง กระทรวงคมนาคม (2) ประกอบและส่งเสริมกิจการท่าเรื อเพื่อประโยชน์แห่งรัฐและประชาชน (3) ดําเนินกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหรื อต่อเนื่องกับการประกอบกิจการท่าเรื อ “การท่าเรื อแห่งประเทศไทย” เรี ยกโดยย่อว่า “กทท.” และให้ ใช้ ชื่อเป็ นภาษาอังกฤษว่า “PORT AUTHORITY OF THAILAND” เรี ยกโดยย่อว่า “PAT” มาตรา 9 ให้ การท่าเรื อแห่งประเทศไทยมีอํานาจที่จะกระทําการต่างๆ ภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามที่ระบุไว้ ในมาตรา ๖ และอํานาจเช่นว่านี ้ให้ รวมถึง (1) สร้ าง ซื ้อ จัดหา จําหน่าย เช่า ให้ เช่า และดําเนินงานเกี่ยวกับเครื่ องใช้ บริ การ และความสะดวกต่างๆ ของกิจการท่าเรื อ (2) ซือ้ จัดหา เช่า ให้ เช่า ถือกรรมสิทธิ์ ครอบครอง จําหน่าย หรื อดําเนินงานเกี่ยวกับสังหาริ มทรัพย์หรื อ อสังหาริมทรัพย์ (3) กําหนดอัตราค่าภาระการใช้ ท่าเรื อ บริ การและความสะดวกต่าง ๆ ของกิจการท่าเรื อ และออกระเบียบ เกี่ยวกับวิธีชําระค่าภาระดังกล่าว (4) จัดระเบียบว่าด้ วยความปลอดภัย การใช้ ทา่ เรื อ บริการและความสะดวกต่างๆ ของกิจการท่าเรื อ (5) กู้ยืมเงิน (6) ขุดลอกและบํารุงรักษาร่องนํ ้าภายในอาณาบริเวณ (7) ควบคุม ปรับปรุ งและให้ ความสะดวกและความปลอดภัยกิจการท่าเรื อและการเดินเรื อภายในอาณา บริเวณ มาตรา 35 การท่าเรื อแห่งประเทศไทยจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ก่อนจึงจะดําเนินกิจการ ดังต่อไปนี ้ คือ (1) สร้ างท่าเรื อขึ ้นใหม่ (2) เลิกกิจการในท่าเรื อซึง่ เปิ ดดําเนินการแล้ ว ฯลฯ ฯลฯ 2.4) พระราชบัญญัติป้องกันเรื อโดนกัน พ.ศ. 2522 (ป้องกันเรื อเกิดอุบตั ิเหตุอนั นํามาซึ่งความเสียหายต่อ สิง่ แวดล้ อมได้ ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 5 ให้ รัฐมนตรี มีอํานาจออกกฎกระทรวงในเรื่ อง ดังต่อไปนี ้


398

(1) การถือท้ ายและการเดินเรื อ (2) โคมไฟและทุน่ เครื่ องหมาย (3) สัญญาณเสียงและสัญญาณแสง (4) ข้ อยกเว้ นในการป้องกันเรื อโดนกัน (5) ที่ติดตัง้ และรายละเอียดทางเทคนิคของโคมไฟและทุน่ เครื่ องหมาย (6) สัญญาณที่ต้องมีเพิ่มขึ ้นสําหรับเรื อประมงขณะที่การประมงใกล้ กนั (7) สัญญาณอับจน มาตรา 6 กฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 5 ให้ ใช้ บงั คับแก่เรื อไทยและเรื อต่างประเทศที่อยูใ่ นน่านนํ ้า ไทย และเรื อไทยที่อยูใ่ นทะเลหลวง มาตรา 7 กฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 5 ให้ ถือว่าเป็ นกฎข้ อบังคับสําหรับป้องกันเหตุเรื อโดนกัน ตามกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทยด้ วย 2.5) พระราชบัญญัตปิ ้ องกันการกระทําบางอย่ างในการขนส่ งสินค้ าขาออกทางเรื อ พ.ศ. 2511 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “ผู้ขนส่ง” หมายความว่า ผู้รับขนส่งสินค้ าจากประเทศไทยไปยังต่างประเทศโดยทางเรื อที่มี ระวางบรรทุกไม่น้อยกว่าหนึง่ พันเมตริกตันหรื อผู้ทําการแทน “ผู้สง่ ออก” หมายความว่า ผู้ทําความตกลงกับผู้ขนส่งให้ ทําการขนส่งสินค้ าขาออกทางเรื อ “เงินส่วนลดที่กกั ไว้ ” หมายความว่า เงินส่วนลดจากค่าระวาง ค่าธรรมเนียม ค่าใช้ จ่าย และ หมายความรวมถึงเงินรางวัลหรื อประโยชน์อย่างอื่น ที่ผ้ ขู นส่งสัญญาโดยตรงหรื อโดยปริยายว่าจะจ่ายหรื อ ให้ แก่ผ้ สู ง่ ออก แต่ยงั กักไว้ จนกว่าผู้สง่ ออกได้ ปฏิบตั ิครบถ้ วนตามสัญญา ทังนี ้ ้ โดยมีวตั ถุประสงค์มิให้ ผ้ สู ง่ ออกใช้ เรื อของ ผู้อื่นนอกจากที่ผ้ ขู นส่งระบุให้ มาตรา 4 ห้ ามมิให้ ผ้ ขู นส่งกระทําการอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้ (1) เข้ าเป็ นคู่สญ ั ญาหรื อทําความตกลงโดยตรงหรื อโดยปริ ยายกับผู้ส่งออกโดยจงใจ ให้ ผ้ สู ่งออกรายใดราย หนึง่ เสียเปรี ยบเกี่ยวกับการรับระวางบรรทุก อัตราค่าระวาง ค่าธรรมเนียม หรื อการให้ บริการอย่างอื่น (2) ปฏิเสธไม่ยอมรับบรรทุกสินค้ าของผู้สง่ ออกรายใดรายหนึง่ เพราะผู้สง่ ออกได้ ใช้ เรื อของผู้ขนส่งรายอื่น มาตรา 5 ห้ ามมิให้ ผ้ ขู นส่งกําหนดให้ มีเงินส่วนลดที่กกั ไว้ โดยตรงหรื อโดยปริ ยายเกินร้ อยละสิบของเงินที่เรี ยก เก็บจากผู้สง่ ออก และมิให้ กกั เงินส่วนลดเกินสองเดือนนับแต่วนั สิ ้นเดือนที่มีการชําระเงินที่เรี ยกเก็บจากผู้สง่ ออก ในกรณีที่ มีการกักเงินส่วนลด จะต้ องมีสญ ั ญาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ขนส่งและผู้สง่ ออก และระบุข้อความดังกล่าวข้ างต้ นด้ วย ้ บวันนับแต่ ในกรณีที่ถึงกําหนดชําระเงินส่วนลดที่กกั ไว้ ตามวรรคหนึ่ง ผู้ขนส่งต้ องชําระเงินนันภายในสามสิ วันที่ครบกําหนด มาตรา 8 ห้ ามมิให้ ผ้ ขู นส่งขึ ้นอัตราค่าระวางสําหรับสินค้ าใด เว้ นแต่จะได้ ชําระเงินส่วนลดที่กกั ไว้ สาํ หรับ สินค้ านันแก่ ้ ผ้ สู ง่ ออกทุกรายให้ เสร็จสิ ้นก่อนถึงวันใช้ บงั คับอัตราค่าระวางที่เปลี่ยนแปลงใหม่ 2.6) พระราชบัญญัตสิ ่ งเสริมการพาณิชยนาวี พ.ศ. 2521 (ควบคุมกิจการพาณิชยนาวี) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้


399

“การพาณิชยนาวี” หมายความว่า การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรื อ กิจการอู่เรื อและ กิจการท่าเรื อ และหมายความรวมถึงกิจการอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงหรื อเป็ นส่วนประกอบกับการดังกล่าวตามที่ กําหนดในกฎกระทรวง “การขนส่งทางทะเล” หมายความว่า การขนส่งของหรื อคนโดยสารโดยเรื อจากประเทศไทยไปยังต่างประเทศ หรื อจากต่างประเทศมายังประเทศไทยหรื อจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งนอกราชอาณาจักรและให้ หมายความรวมถึงการ ขนส่งของหรื อคนโดยสารทางทะเลชายฝั่ งในราชอาณาจักรโดยเรื อที่มีขนาดตังแต่ ้ สองร้ อยห้ าสิบตันกรอสขึ ้นไปด้ วย มาตรา 5 ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึง่ เรี ยกว่า “คณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี” ประกอบด้ วย (1) นายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน (2) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคมเป็ นรองประธาน (3) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวง พาณิ ช ย์ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงอุ ต สาหกรรม ปลัด กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า ปลัด กระทรวงคมนาคม ปลัด กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ง แวดล้ อ ม ปลัด กระทรวงมหาดไทย ปลัด กระทรวงแรงงาน ปลัด กระทรวง ศึก ษาธิ ก าร ผู้บัญ ชาการทหารเรื อ ผู้อํ า นวยการสํ า นัก งบประมาณ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี ก า เลขาธิ ก าร คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเป็ นกรรมการ (4) ประธานสภาผู้ส่งสินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย ประธานสภาหอการค้ าแห่งประเทศไทยประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสมาคมธนาคารไทยเป็ นกรรมการ (5) กรรมการผู้ท รงคุณ วุฒิจํ านวนเก้ าคนซึ่งคณะรั ฐมนตรี แ ต่ง ตัง้ จากผู้มีสัญ ชาติไ ทย ซึ่ง มี ความรู้ หรื อ ประสบการณ์ทางด้ านการขนส่งทางทะเลระหว่างประเทศ การขนส่งทางนํ ้า กิจการท่าเรื อ กิจการการเดินเรื อไทย กิจการอู่ เรื อ กฎหมายพาณิ ชยนาวี การประกันภัยทางทะเล การค้ าระหว่างประเทศและด้ านสิ่งแวดล้ อม ด้ านละหนึ่งคนเป็ น กรรมการ ให้ อธิบดีกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีเป็ นกรรมการและเลขานุการ มาตรา 11 คณะกรรมการมีหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้ (1) ให้ คําปรึกษาต่อคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการพาณิชยนาวีตามที่คณะรัฐมนตรี ขอให้ พิจารณา (1/1) เสนอนโยบายและแผนการพัฒนาการพาณิชยนาวี รวมทังแผนการขนส่ ้ งต่อเนื่องหลายรู ปแบบ และแผนการบริ หารจัดการระบบการขนส่งที่เชื่อมโยงกับการขนส่งทางทะเล โดยมุ่งเน้ นในการสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั การพาณิชยนาวีไทยต่อคณะรัฐมนตรี (1/2) เสนอความเห็น ต่อคณะรั ฐมนตรี เพื่อ พิจารณาประกาศกํ าหนดบริ เวณหรื อทํ า เลที่ เหมาะสม สําหรับเป็ นที่ตงั ้ ของท่าเรื อประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะของการขนส่งทางทะเล โดยคํานึงถึงประโยชน์ สูงสุดในการใช้ ทรัพยากร ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ความมัน่ คง การรักษาสิง่ แวดล้ อม และความปลอดภัยของการเดินเรื อ ฯลฯ มาตรา 17 รัฐมนตรี มีอํานาจออกกฎกระทรวงในเรื่ องดังต่อไปนี ้ทังหมด ้ หรื อบางเรื่ องได้ คือ (1) กํ า หนดของที่ ท างราชการ องค์ ก ารของรั ฐ หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ รั ฐวิสาหกิ จ สั่ง หรื อ นํ า เข้ า มาจาก ต่างประเทศ โดยทางเรื อในเส้ นทางที่มีเรื อไทยเดินอยูแ่ ละสามารถให้ บริการรับขนได้ ต้องบรรทุกโดยเรื อไทย (2) กําหนดของที่ผ้ สู ่งของสัง่ หรื อนําเข้ ามาจากต่างประเทศโดยใช้ เงินกู้จากแหล่งเงินกู้ของทางราชการ องค์การของ รัฐ หรื อบรรษั ทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยภายใต้ บงั คับของเงื่อนไขแห่งการกู้เงินนัน้ หรื อของที่บุคคลซึ่งเป็ น


400

คู่สญ ั ญากับทางราชการ องค์การของรัฐ หน่วยงานของรัฐ หรื อรัฐวิสาหกิจ สัง่ หรื อนําเข้ ามาจากต่างประเทศเพื่อปฏิบตั ิ ตามสัญญาดังกล่าวโดยทางเรื อในเส้ นทางที่มีเรื อไทยเดินอยูแ่ ละสามารถให้ บริการรับขนได้ ต้ องบรรทุกโดยเรื อไทย (3) กําหนดของตามชนิดและประเภทที่กําหนดที่ผ้ สู ่งของจะส่งออกไปยังต่างประเทศ หรื อสัง่ หรื อนําเข้ ามา จากต่างประเทศโดยทางเรื อ ในเส้ นทางที่มีเรื อไทยเดินอยูแ่ ละสามารถให้ บริ การรับขนได้ ในระยะเวลาใดฯ ที่กําหนด ต้ องบรรทุก โดยเรื อไทยในปริมาณไม่น้อยกว่าอัตราส่วนที่กําหนด มาตรา 19 ในกรณีที่ไม่อาจบรรทุกของที่กําหนดตามมาตรา 17 โดยเรื อไทยได้ ให้ ผ้ สู ง่ ของยื่นคําขอรับหนังสือ อนุญาตให้ บรรทุกของดังกล่าวโดยเรื ออื่นต่อสํานักงาน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สํานักงานกําหนด การอนุญาตหรื อไม่อนุญาตให้ บรรทุกของโดยเรื ออื่นให้ สํานักงานแจ้ งให้ ผ้ ขู อทราบภายในเวลาไม่เกินห้ าวัน นับแต่วนั ที่ได้ รับคําขอ ถ้ าผู้ขอไม่ได้ รับแจ้ งภายในกําหนดเวลาห้ าวันให้ ถือว่าได้ รับอนุญาตให้ บรรทุกของโดยเรื ออื่นได้ มาตรา 25 ผู้ประกอบธุรกิจการขนส่งทางทะเล และผู้ประกอบกิจการอูเ่ รื อที่ให้ บริ การต่อ ซ่อม หรื อซ่อมบํารุง เรื อที่มีขนาดตังแต่ ้ หกสิบตันกรอสขึน้ ไป ต้ องจดทะเบียนเป็ นผู้ประกอบการขนส่งทางทะเล หรื อผู้ประกอบกิจการอู่เรื อ แล้ วแต่กรณี ต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ การขอและการจดทะเบียนตามวรรคหนึง่ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง 2.7) พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยการเวนคืนอสังหาริ มทรั พย์ พ.ศ. 2530 (การท่าเรื อฯ ใช้ อํานาจเวนคืนฯ ตาม กฎหมายฉบับนี ้) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 5 เมื่อรัฐมีความจําเป็ นที่จะต้ องได้ มาซึ่งอสังหาริ มทรัพย์เพื่อกิจการใดๆ อันจําเป็ นเพื่อการอันเป็ น สาธารณูปโภคหรื อการอันจําเป็ นในการป้องกันประเทศ หรื อการได้ มาซึง่ ทรัพยากรธรรมชาติ หรื อเพื่อการผังเมือง หรื อเพื่อ การพัฒนาการเกษตร หรื อการอุตสาหกรรม หรื อเพื่อการปฏิรูปที่ดิน หรื อเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างอื่น ถ้ ามิได้ ตกลงใน เรื่ องการโอนไว้ เป็ นอย่างอื่น ให้ ดําเนินการเวนคืนตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี ้ ในกรณี ที่มีบทบัญญัติว่าด้ วยการเวนคืนไว้ ในกฎหมายอื่นโดยเฉพาะแล้ ว ถ้ าจะต้ องดําเนินการเวนคืนเพื่อ กิจการตามกฎหมายดังกล่าว เมื่อคณะรัฐมนตรี เห็นสมควรจะมีมติให้ ดําเนินการเวนคืนตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี ้แทน ก็ได้ เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการเวนคืนตามวรรคหนึ่ง จะตราพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินในบริ เวณที่ที่ จะเวนคืนไว้ ก่อนก็ได้ 2.8) พระราชบัญญัตกิ ารกักเรือ พ.ศ. 2534 (เพื่อใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องต่อเรื อที่ถกู กัก) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “เรื อ” หมายความว่า เรื อเดินทะเลที่ใช้ ในการขนส่งของหรื อคนโดยสารทางทะเลระหว่างประเทศ “สิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับเรื อ” หมายความว่า สิทธิเรี ยกร้ องอันเกิดจาก (ก) ความเสียหายแก่ชีวิต ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินของบุคคลใดๆ ที่มีเหตุมาจากเรื อหรื อการดําเนินงาน ของเรื อ (ข) การช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเล (ค) สัญญาเกี่ยวกับการใช้ เช่า เช่าซื ้อ หรื อยืมเรื อ การให้ บริการบรรทุก หรื อสัญญาอื่นทํานองเดียวกัน (ง) สัญญาเกี่ยวกับการรับขนของทางทะเล


401

(จ) การเฉลี่ยความเสียหายทัว่ ไป ในกรณีที่เจ้ าของเรื อ ผู้ขนส่ง และเจ้ าของของที่บรรทุกมาในเรื อนัน้ มี หน้ าที่ต้องชดใช้ ค่าเสียหายให้ แก่เจ้ าของทรัพย์สินที่สญ ู หาย หรื อเสียหายจากการกระทําโดยเจตนาด้ วยความจําเป็ นตาม สมควรเพื่อความปลอดภัยร่ วมกันของเรื อและของที่บรรทุกมาในเรื อนัน้ หรื อต้ องชดใช้ ค่าใช้ จ่ายที่ได้ เสียไปด้ วยความ จําเป็ นเป็ นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ าย หรื อเพื่อความปลอดภัยร่ วมกันของเรื อและของที่บรรทุกมาในเรื อ นัน้ ทังนี ้ ้ เมื่อมีบทบัญญัติแห่งกฎหมายหรื อสัญญาระหว่างคูก่ รณีกําหนดความรับผิดในเรื่ องนี ้ไว้ (ฉ) การให้ บริการลากจูงเรื อไม่วา่ โดยวิธีใด (ช) การให้ บริการนําร่อง (ฌ) การจัดหาของหรื อวัสดุใด ๆ เพื่อใช้ ในการดําเนินงานของเรื อ หรื อการซ่อมบํารุงเรื อ ั ฑ์ให้ แก่เรื อ หรื อค่าธรรมเนียมการใช้ อเู่ รื อ (ญ) การต่อ ซ่อม หรื อจัดเครื่ องบริ ภณ (ฎ) การให้ บริ การของท่าเรื อ หรื อค่าภาระหรื อค่าบริการในการใช้ ทา่ เรื อ ฯลฯ มาตรา 4 ภายใต้ บัง คับ มาตรา 5 และมาตรา 6 ก่ อ นฟ้ องคดี ต่ อ ศาล ไม่ ว่ า ลูก หนี จ้ ะมี ภูมิ ลํ า เนาใน ราชอาณาจักรหรื อไม่ก็ตาม เจ้ าหนี ้ซึ่งมีภูมิลําเนาในราชอาณาจักรอาจขอให้ ศาลสัง่ กักเรื อลําหนึ่งลําใดที่เป็ นของลูกหนี ้ หรื อลูกหนี ้เป็ นผู้ครอบครองเพื่อให้ เพียงพอที่จะเป็ นประกันการชําระหนี ้ตามสิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับเรื อนันได้ ้ โดยทําเป็ นคําร้ อง ยื่นต่อศาลที่เรื อซึง่ เจ้ าหนี ้ขอให้ สงั่ กักอยูห่ รื อจะเข้ ามาอยูใ่ นเขตศาล มาตรา 13 ในการบัง คับ ตามหมายกัก เรื อ ให้ เจ้ า พนักงานบัง คับ คดี มีอํ า นาจตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจารณาความแพ่งว่าด้ วยการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรื อคําสัง่ โดยอนุโลม และให้ มีอํานาจสัง่ ให้ นายเรื อ ผู้ควบคุมเรื อ คนประจําเรื อ และบุคคลอื่นซึง่ เกี่ยวข้ อง กระทําการหรื องดเว้ นกระทําการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อให้ บรรลุผลตามหมายกัก เรื อ ถ้ าบุคคลเช่นว่านันฝ่ ้ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีร้องขอความช่วยเหลือจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อ ตํารวจเพื่อให้ สามารถดําเนินการตามคําสัง่ ได้ และในการนี ้ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อตํารวจมีอํานาจจับกุมและควบคุมตัว บุคคลเช่นว่านันไว้ ้ เท่าที่จําเป็ นในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าพนักงานบังคับคดี ภายใต้ บังคับกฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ า้ ไทย เมื่อ เจ้ าพนักงานบัง คับ คดี ร้องขอหรื อ พนักงาน เจ้ าหน้ าที่เห็นสมควร พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจสัง่ ให้ นายเรื อทอดจอดเรื อ ณ ที่ปลอดภัยหรื อดําเนินการอย่างอื่นเพื่อให้ บรรลุผลตามหมายกักเรื อได้ แต่ทงนี ั ้ ้ ต้ องไม่เป็ นอุปสรรคในการขนของลงเรื อหรื อขึ ้นจากเรื อ 2.9) พระราชบัญญัตกิ ารรั บขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “ผู้ขนส่ง” หมายความว่า บุคคลซึ่งประกอบการรั บขนของทางทะเลเพื่อบําเหน็จเป็ นการค้ าปกติ โดยทํา สัญญารับขนของทางทะเลกับผู้สง่ ของ ฯลฯ “สัญญารับขนของทางทะเล” สัญญาที่ผ้ ขู นส่งรับขนของทางทะเลจากท่าหรื อที่ในประเทศหนึ่งไปยังท่าหรื อที่ ในอีกประเทศหนึง่ โดยคิดค่าระวาง ฯลฯ มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี ้ให้ ใช้ บงั คับแก่การขนส่งทางทะเลจากที่แห่งหนึ่งในราชอาณาจักรไปยังที่อีกแห่ง หนึง่ นอกราชอาณาจักร หรื อจากที่แห่งหนึง่ นอกราชอาณาจักรมายังที่อีกแห่งหนึ่งในราชอาณาจักร เว้ นแต่กรณีที่ได้ ระบุใน ใบตราส่งว่าให้ ใช้ กฎหมายของประเทศอื่นหรื อกฎหมายระหว่างประเทศบังคับก็ให้ เป็ นไปตามนัน้ แต่แม้ ว่าจะได้ ระบุไว้


402

เช่นนันก็ ้ ตาม ถ้ าปรากฏว่าคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดเป็ นผู้มีสญ ั ชาติไทยหรื อเป็ นนิติบคุ คลที่จดั ตังขึ ้ ้นตามกฎหมายไทย ก็ให้ ใช้ พระราชบัญญัตินี ้บังคับ การขนส่งของทางทะเลภายในราชอาณาจักร ถ้ าได้ ตกลงกันเป็ นหนังสือว่าให้ ใช้ พระราชบัญญัตินี ้บังคับ ก็ให้ ใช้ พระราชบัญญัตินี ้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่เป็ นการขนส่งโดยไม่คิดค่าระวาง ผู้ขนส่งไม่ต้องรับผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ แต่ถ้ามีการออกใบตรา ส่ง ใบรับของ หรื อเอกสารอื่นทํานองเดียวกันผู้ขนส่งต้ องดแจ้ งไว้ ในใบตราส่ง ใบรับของ หรื อเอกสารอื่นนัน้ ว่าผู้ขนส่งไม่ ต้ องรับผิด มิฉะนันจะยกขึ ้ ้นใช้ ยนั บุคคลภายนอกซึ่งเป็ นผู้รับตราส่ง หรื อรับโอนสิทธิตามใบตราส่ง ใบรับของ หรื อเอกสาร ดังกล่าวมิได้ ้ นทางผู้ขนส่งมีหน้ าที่ต้อง มาตรา 8 ก่อนบรรทุกของลงเรื อหรื อก่อนที่เรื อนันจะออกเดิ (1) ทําให้ เรื ออยูใ่ นสภาพที่สามารถเดินทะเลได้ อย่างปลอดภัยในเส้ นทางเดินเรื อนัน้ (2) จัดให้ มีคนประจําเรื อ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ เครื่ องอุปกรณ์ และสิ่งจําเป็ นให้ เหมาะสมแก่ความต้ องการ สําหรับเรื อนัน้ และ (3) จัดระวางบรรทุกและส่วนอื่นๆ ที่ใช้ บรรทุกของให้ เหมาะสมและปลอดภัยตามสภาพแห่งของที่จะรับ ขนส่ง และรักษา เช่น เครื่ องปรับอากาศ ห้ องเย็น เป็ นต้ น ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามมาตรานี ้ ผู้ขนส่งต้ องกระทําการทังปวงเท่ ้ าที่เป็ นธรรมดาและสมควรจะต้ องกระทํา สําหรับผู้ประกอบอาชีพรับขนของทางทะเล มาตรา 10 ผู้ขนส่งต้ องใช้ ความระมัดระวังและปฏิบตั ิการให้ เหมาะสมในการบรรทุกลงเรื อ การยกขน การ เคลื่อนย้ าย การเก็บรักษา การดูแลและการขนถ่ายซึง่ ของที่ตนทําการขนส่ง มาตรา 33 ของใดที่มีสภาพอันก่อให้ เกิดอันตรายได้ เช่น ไวไฟ หรื ออาจเกิดระเบิด หรื ออาจเป็ นอันตรายโดย ประการอื่น ผู้สง่ ของต้ องทําเครื่ องหมายหรื อปิ ดป้ายตามสมควรเพื่อให้ ร้ ูวา่ ของนันมี ้ อนั ตราย เมื่อส่งของตามวรรคหนึง่ ให้ แก่ผ้ ขู นส่งหรื อผู้ขนส่งอื่น ผู้สง่ ของต้ องแจ้ งให้ ผ้ ขู นส่งหรื อผู้ขนส่งอื่นทราบถึง สภาพอันตรายแห่งของนัน้ และในกรณีที่ผ้ ขู นส่งหรื อผู้ขนส่งอื่นร้ องขอ ให้ ผ้ สู ง่ ของแจ้ งข้ อควรระวังและวิธีป้องกันอันตราย ให้ ทราบด้ วย 2.10) พระราชบัญญัติการจํานองเรื อและบุริมสิทธิทางทะเล พ.ศ. 2537 (จํานองเรื อและบุริมสิทธิทาง ทะเลรวมถึงสิทธิเรี ยกร้ องในมูลละเมิดที่เกิดจากการดําเนินงานของเรื อ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ “เรื อ” หมายความว่า เรื อขนาดตังแต่ ้ หกสิบตันกรอสขึ ้นไปที่เดินด้ วยเครื่ องจักรกลไม่วา่ จะใช้ กําลังอื่นด้ วย หรื อไม่ก็ตาม และเป็ นเรื อที่มีลกั ษณะสําหรับใช้ ในทะเลตามกฎข้ อบังคับการตรวจเรื อที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมาย ว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย มาตรา 12 การจดทะเบียนจํานองเรื อไทยให้ จดทะเบียนที่ที่ทําการนายทะเบียนเรื อประจําเมืองท่าขึ ้น ทะเบียนของเรื อนันโดยให้ ้ นายทะเบียนเรื อเป็ นพนักงานเจ้ าหน้ าที่รับจดทะเบียน และให้ จดไว้ ในสมุดทะเบียนและหมาย เหตุไว้ ในใบทะเบียน ในกรณีที่เจ้ าของเรื อไทยประสงค์จะจดทะเบียนจํานองของตนที่ที่ทําการนายทะเบียนเรื ออื่น นอกจากที่ทํา ้ อ การนายทะเบียนเรื อตามวรรคหนึง่ หรื อที่สถานเอกอัครราชทูต หรื อสถานกงสุลไทย ให้ นายทะเบียนเรื ออื่นนันหรื


403

เจ้ าหน้ าที่ประจําสถานเอกอัครราชทูตหรื อสถานกงสุลไทย แล้ วแต่กรณีเป็ นพนักงานเจ้ าหน้ าที่รับจดทะเบียนโดยหมาย เหตุไว้ ในใบทะเบียนแล้ วส่งสําเนาให้ นายทะเบียนเรื อประจําเมืองท่าขึ ้นทะเบียนของเรื อนันโดยด่ ้ วน เมื่อได้ รับสําเนา ้ ในสมุดทะเบียน เช่นนันแล้ ้ ว ให้ นายทะเบียนเรื อประจําเมืองท่าขึ ้นทะเบียนของเรื อจดข้ อความนันไว้ ให้ นายทะเบียนเรื อ และเจ้ าหน้ าที่ซงึ่ มีหน้ าที่เกี่ยวกับการจดทะเบียนจํานองเรื อ ตามพระราชบัญญัตินี ้เป็ น พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 ในกรณีที่ประสงค์จะจดทะเบียนจํานองเรื อไทยในขณะที่เรื อลํานันไม่ ้ อยูใ่ นประเทศไทยหรื อไม่อยู่ ในประเทศซึง่ เป็ นที่ตงของสถานเอกอั ั้ ครราชทูต หรื อสถานกงสุลไทยที่จะทําการจดทะเบียน เจ้ าของเรื ออาจขอให้ นาย ทะเบียนเรื อประจําเมืองท่าขึ ้นทะเบียนของเรื อนัน้ ออกใบแทนใบทะเบียนเรื อไทย สําหรับนําไปกับเรื อระหว่างเวลาที่นําใบ ทะเบียนเรื อไทยมาจดทะเบียนตามมาตรา 12 การออกใบแทนใบทะเบียนเรื อไทยตามวรรคหนึ่ง ให้ หมายเหตุไว้ ในใบแทนดังกล่าวด้ วยว่า ใช้ แทนใบ ทะเบียนเรื อไทยในระหว่างการดําเนินการเพื่อจดทะเบียนจํานองเรื อดังกล่าเท่านัน้ แต่ให้ มีอายุใช้ ได้ ไม่เกินหกสิบวัน ใบแทนใบทะเบียนเรื อไทยตามมาตรานี ้ให้ มีผลเสมือนเป็ นใบทะเบียนเรื อไทยตามกฎหมายว่าด้ วยเรื อไทย มาตรา 15 ภายใต้ บงั คับแห่งมาตรา 24 ผู้รับจํานองทรงไว้ ซงึ่ สิทธิที่จะได้ รับชําระหนี ้จากเรื อที่จํานองก่อน เจ้ าหนี ้บุริมสิทธิตามประมลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และเจ้ าหนี ้อื่น ๆ ของเจ้ าของเรื อนัน้ ้ ลกั ษณะอย่าง มาตรา 22 ผู้ใดมีสิทธิเรี ยกร้ องที่เกี่ยวข้ องกับเรื อลําหนึ่งลําใด และมูลแห่งสิทธิเรี ยกร้ องนันมี หนึง่ อย่างใดดังต่อไปนี ้ ผู้นนย่ ั ้ อมมีบรุ ิ มสิทธิทางทะเลเหนือเรื อลํานัน้ (1) สิทธิเรี ยกร้ องอันเกิดจากการทํางานในฐานะนายเรื อ ลูกเรื อหรื อคนประจําเรื อของเรื อลํานัน้ (2) สิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับการเสียชีวิตหรื อบาดเจ็บของบุคคลใดๆ ที่เกิดจากการดําเนินงานของเรื อลํานัน้ (3) สิทธิเรี ยกร้ องเอาค่าตอบแทนในการช่วยเหลือกู้ภยั เรื อลํานัน้ (4) สิทธิเรี ยกร้ องในมูลละเมิดที่เกิดจากการดําเนินงานของเรื อลํานัน้ แต่ไม่รวมถึงสิทธิเรี ยกร้ องเกี่ยวกับการ สูญหายหรื อเสียหายของสินค้ า และสิง่ ของของผู้โดยสารที่อยูใ่ นเรื อลํานัน้ สิทธิเรี ยกร้ องตาม (2) หรื อ (4) ที่เกิดจากมลพิษนํ ้ามัน วัตถุกมั มันตรังสี กัมมันตภาพรังสีและวัตถุนิวเคลียร์ ไม่ก่อให้ เกิดบุริมสิทธิทางทะเลเหนือเรื อลํานัน้ มาตรา 23 ให้ เจ้ าหนี ้บุริมสิทธิทางทะเลมีสิทธิได้ รับชําระหนี ้อันค้ างชําระแก่ตนจากเรื อที่อยู่ภายใต้ บงั คับแห่ง ้ ้ไม่วา่ ลูกหนี ้แห่งสิทธิเรี ยกร้ องจะเป็ นเจ้ าของเรื อหรื อไม่ก็ตาม บุริมสิทธิทางทะเล ก่อนเจ้ าหนี ้อื่นๆ ทังนี 2.11) พระราชบัญญัติสภาผู้ส่งสินค้ าทางเรื อแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2537 (องค์กรที่มีหน้ าที่ส่งเสริ มและ สนับสนุนการขนส่งสินค้ าทางเรื อ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “การส่ง สินค้ า ทางเรื อ ” หมายความว่า การส่งออกหรื อการนํ า เข้ าสิน ค้ า โดยทางเรื อจากประเทศไทยไป ต่างประเทศ หรื อจากต่างประเทศมาประเทศไทย หรื อจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งนอกราชอาณาจักร และให้ หมายความ รวมถึงการใช้ บริ การด้ านอื่นที่เกี่ยวข้ อง “การขนส่งสินค้ าทางเรื อ” หมายความว่า การให้ บริการในการส่งสินค้ าทางเรื อ “ผู้สง่ สินค้ าทางเรื อ” หมายความว่า ผู้สง่ ออกหรื อผู้นําเข้ าสินค้ าที่ใช้ บริการการขนส่งสินค้ าทางเรื อ


404

“ผู้ขนส่งสินค้ าทางเรื อ” หมายความว่า ผู้ประกอบการให้ บ ริ การในการส่งสินค้ าทางเรื อไม่ว่าจะเป็ นการ ดําเนินการเพียงรายเดียว หรื อรวมกันตังแต่ ้ สองรายขึ ้นไป และให้ หมายความรวมถึงตัวแทนผู้ขนส่งสินค้ าทางเรื อด้ วย มาตรา 5 ให้ จดั ตังสภาผู ้ ้ ส่งสินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทยขึ ้น มีอํานาจหน้ าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดใน พระราชบัญญัตินี ้ ให้ สภาเป็ นนิติบคุ คล มาตรา 6 สภามีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้ (1) ส่งเสริ มและคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้สง่ สินค้ าทางเรื อ (2) ให้ ความร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและเอกชนเกี่ยวกับการส่งสินค้ าทางเรื อ (3) เป็ นผู้แทนผู้ส่งสินค้ าทางเรื อในการปรึ กษา เจรจาต่อรองหรื อทําความตกลงกับผู้ขนส่งสินค้ าทางเรื อ รวมทัง้ หน่วยงานของรั ฐและเอกชนเกี่ ยวข้ องกับการขนส่งสินค้ าทางเรื อ ในเรื่ องอัตราค่าระวาง ค่าบริ การ ค่าใช้ จ่าย ข้ อกําหนด หรื อเงื่อนไขต่าง ๆ ในการขนส่งสินค้ าทางเรื อ (4) สนับสนุนให้ มีการขนส่งสินค้ าทางเรื อที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอ (5) จัดหา รวบรวม เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับการส่งสินค้ าทางเรื อ ้ ฒนาการส่งสินค้ าทางเรื อ (6) ศึกษา วิจยั และเสนอแนะการแก้ ไขปั ญหา รวมทังการพั (7) รับปรึกษาและให้ ข้อคิดเห็นหรื อคําแนะนําแก่สมาชิกหรื อบุคคลอื่นในเรื่ องที่เกี่ยวกับการส่งสินค้ าทางเรื อ และช่วยเหลืออํานวยความสะดวกต่าง ๆ แก่สมาชิกในการส่งสินค้ าทางเรื อ (8) ให้ คําปรึกษาและข้ อเสนอแนะแก่รัฐบาลเพื่อพัฒนาการส่งสินค้ าทางเรื อ (9) ประสานงานและร่วมมือกับองค์กรที่เกี่ยวข้ องกับผู้สง่ สินค้ าทางเรื อของต่างประเทศ มาตรา 13 สภาประกอบด้ วยสมาชิกสองประเภท คือ (1) สมาชิกสามัญ (2) สมาชิกสมทบ มาตรา 14 ผู้ส่งสินค้ าทางเรื อที่เป็ นนิติบุคคล ซึ่งมีมลู ค่าการส่งออกตามที่กําหนดในกฎกระทรวง จะต้ องเป็ นสมาชิก สามัญภายในเก้ าสิบวันนับแต่มีคณ ุ สมบัติครบตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 15 บุคคลผู้มีคณ ุ สมบัติอย่างหนึง่ อย่างใดดังต่อไปนี ้เป็ นผู้มีสทิ ธิสมัครเป็ นสมาชิกสามัญ (1) เป็ นผู้สง่ สินค้ าทางเรื อที่เป็ นนิติบคุ คล (2) เป็ นหอการค้ าตามกฎหมายว่าด้ วยหอการค้ า หรื อสมาคมการค้ าตามกฎหมายว่าด้ วยสมาคมการค้ าที่มี สมาชิกเป็ นผู้สง่ สินค้ าทางเรื อ (3) เป็ นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้ วยวิธีการงบประมาณ หรื อเป็ นสหกรณ์ตามกฎหมายว่าด้ วยสหกรณ์ซงึ่ เป็ นผู้สง่ สินค้ าทางเรื อ (4) เป็ นสมาคมตัวแทนออกของ (5) เป็ นนิติบคุ คลอื่นใดที่มิได้ เป็ นผู้ขนส่งสินค้ าทางเรื อซึง่ มีคณ ุ สมบัติตามที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา 16 สมาชิกสมทบของสภาได้ แก่บคุ คลอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด ซึง่ มิใช่สมาชิกสามัญและมิได้ เป็ นผู้ขนส่งสินค้ าทางเรื อ


405

2.12) พระราชบัญญัติการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปจากภยันตรายในการเดินเรื อ พ.ศ. 2542 (ความ เสียหายรวมถึง ความเสียหายจากมลภาวะเฉพาะค่าใช้ จ่ายที่ตามหลักปฏิบตั ิเกี่ยวกับการพาณิชยนาวีระหว่างประเทศซึ่ง เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปให้ นํามาเฉลี่ยได้ ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “ความเสียหายทัว่ ไป” หมายความว่า ความสูญเสีย หรื อความเสียหายอย่างหนึ่งอย่างใดที่เป็ นผลโดยตรง จากการเสียสละทรัพย์สนิ หรื อค่าใช้ จ่ายเป็ นกรณีพิเศษ ซึง่ จงใจกระทําขึ ้นตามสมควรเพื่อปกป้องรักษาเรื อและทรัพย์สินที่ เผชิญภยันตรายร่วมกัน “เรื อ” หมายความว่า เรื อที่มีลกั ษณะสําหรับใช้ ในทะเล “เจ้ าของเรื อ” หมายความว่า ผู้มีกรรมสิทธิ์ในเรื อ เว้ นแต่กรณีมีการเช่าหรื อเช่าซื ้อเรื อให้ หมายถึงเฉพาะผู้เช่า หรื อผู้เช่าซื ้อซึง่ ควบคุมและครอบครองเรื อโดยผลแห่งสัญญานัน้ “ผู้ประเมิน” หมายความว่า ผู้ซึ่งมีความรู้ ความสามารถหรื อประสบการณ์ในด้ านการประเมินความเสียหาย ทัว่ ไปซึ่งเจ้ าของเรื อ ผู้ได้ รับความเสียหายทัว่ ไป หรื อผู้มีส่วนได้ เสียอื่นใด แล้ วแต่กรณี แต่งตังให้ ้ ดําเนินการประเมินความ เสียหายทัว่ ไปและกําหนดส่วนเฉลี่ยความเสียหายทัว่ ไปตามพระราชบัญญัตินี ้ “ผู้ที่ต้องร่ วมเฉลี่ยความเสียหายทัว่ ไป” หมายความว่า เจ้ าของเรื อและเจ้ าของทรัพย์สินซึ่งเรื อหรื อทรัพย์สิน ของตนรอดพ้ นจากภยันตราย และสามารถเดินทางไปถึงท่าปลายทางหรื อถึงท่าที่การเดินทางต้ องสิ ้นสุดลงตามมาตรา 6 มาตรา 6 ในกรณีที่เรื อหรื อทรัพย์สินรอดพ้ นจากภยันตราย และสามารถเดินทางไปถึงท่าปลายทางหรื อถึง ท่าที่การเดินทางต้ องสิ ้นสุดลง เจ้ าของเรื อและเจ้ าของทรัพย์สินที่รอดพ้ นจากภยันตรายดังกล่าว จะต้ องร่ วมเฉลี่ยความ เสียหายทัว่ ไปกับผู้ได้ รับความเสียหายทัว่ ไป ความในวรรคหนึง่ มิให้ ใช้ บงั คับแก่กรณีดงั ต่อไปนี ้ (1) ทรัพย์สินที่รอดพ้ นจากภยันตรายเป็ นสัมภาระหรื อของใช้ ส่วนตัวของผู้โดยสารหรื อคนประจําเรื อ หรื อ ไปรษณียภัณฑ์ (2) ความเสียหายเกี่ยวกับมลภาวะ ยกเว้ นค่าใช้ จ่ายที่ตามหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการพาณิ ชยนาวีระหว่าง ประเทศซึง่ เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปให้ นํามาเฉลี่ยได้ 2.13) พระราชบัญญัตกิ ารขนส่ งต่ อเนื่องหลายรู ปแบบ พ.ศ. 2548 (รวมถึงการขนส่งทางนํ ้า) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ ้ สอง “การขนส่งต่อเนื่องหลายรู ปแบบ” หมายความว่า การรับขนของโดยมีรูปแบบการขนส่งที่แตกต่างกันตังแต่ รูปแบบขึ ้นไปภายใต้ สญ ั ญาขนส่งต่อเนื่องหลายรู ปแบบฉบับเดียว โดยขนส่งจากสถานที่ซงึ่ ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องได้ รับมอบ ของในประเทศหนึง่ ไปยังสถานที่ซงึ่ กําหนดให้ เป็ นสถานที่สง่ มอบของในอีกประเทศหนึง่ การดําเนินการรับหรื อส่งมอบของตามที่ระบุไว้ ในสัญญาขนส่งรู ปแบบเดียวไม่ถือว่าเป็ นการขนส่งต่อเนื่อง หลายรูปแบบ “ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง” หมายความว่า บุคคลซึง่ เป็ นคูส่ ญ ั ญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบในฐานะ ้ าด้ วยตนเองหรื อโดยบุคคลที่ ตัวการและเป็ นผู้รับผิดชอบในการปฏิบตั ิการขนส่งตามสัญญา ไม่วา่ การทําสัญญานันจะทํ


406

ตนมอบหมาย แต่ไม่รวมถึงบุคคลที่กระทําการในฐานะตัวแทนหรื อทําการแทนผู้ตราส่งหรื อผู้ขนส่งที่มีสว่ นร่วมในการ ปฏิบตั ิการขนส่งดังกล่าว “ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องจดทะเบียน” หมายความว่า ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องที่ได้ จดทะเบียนตาม มาตรา 41 หรื อมาตรา 48 หรื อได้ จดแจ้ งตามมาตรา 45 “ผู้ขนส่ง” หมายความว่า บุคคลซึง่ ทําการหรื อรับที่จะทําการขนส่งไม่วา่ ทังหมดหรื ้ อแต่เพียงบางส่วน ไม่วา่ จะ เป็ นบุคคลเดียวกันกับผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหรื อไม่ก็ตาม “ผู้ตราส่ง” หมายความว่า บุคคลซึง่ เป็ นคู่สญ ั ญากับผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องในสัญญาขนส่งต่อเนื่อง หลายรูปแบบ “ผู้รับตราส่ง” หมายความว่า บุคคลซึง่ มีสทิ ธิในการรับของจากผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องตามที่ระบุไว้ ในใบ ตราส่งต่อเนื่อง “ใบตราส่งต่อเนื่อง” หมายความว่า เอกสารที่ผ้ ปู ระกอบการขนส่งต่อเนื่องออกให้ แก่ผ้ ตู ราส่ง เพื่อเป็ น หลักฐานแห่งสัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ โดยมีสาระสําคัญแสดงว่าผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องได้ รับมอบของ ตามที่ระบุในใบตราส่งต่อเนื่องและผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องรับที่จะส่งมอบของดังกล่าวให้ แก่ผ้ รู ับตราส่ง หรื อบุคคลผู้มี สิทธิรับของตามมาตรา 22 นัน้ ฯลฯ มาตรา 5 สัญญารับขนของภายในราชอาณาจักรโดยมีรูปแบบการขนส่งที่แตกต่างกันตังแต่ ้ สองรูปแบบขึ ้นไป ภายใต้ สญ ั ญารับขนของฉบับเดียว คู่สญ ั ญาอาจตกลงกันเป็ นหนังสือว่าให้ นํา บทบัญญัติในหมวด 1 ว่าด้ วยสัญญาขนส่ง ต่อเนื่องหลายรูปแบบตามพระราชบัญญัตินี ้มาใช้ บงั คับก็ได้ ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 39 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรู ปแบบ เว้ นแต่จะเป็ นผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง จดทะเบียน ดังต่อไปนี ้ (1) ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องที่ได้ จดทะเบียนตามมาตรา 41 ั ญาหรื อ (2) ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องที่ได้ จดทะเบียนในต่างประเทศที่ประเทศไทยรับรองโดยสนธิ สญ ความตกลงระหว่างประเทศที่ได้ จดแจ้ งต่อนายทะเบียนตามมาตรา 45 หรื อ (3) ผู้ประกอบการขนส่งหรื อขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบในต่างประเทศที่ได้ ตงตั ั ้ วแทนตามมาตรา 48 2.14) พระราชบัญญัตคิ วามรั บผิดทางแพ่ งและค่ าเสียหายจากเรื อโดนกัน พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ “เรื อ” หมายความว่า ยานพาหนะทางนํ ้าทุกชนิด “เรื อเดินทะเล” หมายความว่า เรื อที่มีลกั ษณะสําหรับใช้ ในทะเลตามกฎข้ อบังคับสําหรับการตรวจเรื อตาม กฎหมายว่าด้ วยการเดินเรื อในน่านนํ ้าไทย “เรื อโดนกัน” หมายความว่า การปะทะกันระหว่างเรื อเดินทะเล หรื อการที่เรื อเดินทะเลปะทะกับเรื อลําอื่น ทํา ให้ เกิดความเสียหายแก่เรื อ ทรัพย์สิน หรื อบุคคลบนเรื อที่ปะทะกันลําหนึ่งลําใดหรื อทุกลํา และให้ หมายความรวมถึงการที่ เรื อเดินทะเลได้ ก่อหรื อได้ รับความเสียหายดังกล่าว โดยมีสาเหตุจากการปฏิบตั ิการหรื องดเว้ นปฏิบัติการเกี่ยวกับการ บังคับหรื อการควบคุมเรื อ หรื อการฝ่ าฝื นกฎข้ อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรื อ แม้ วา่ เรื อจะมิได้ มีการปะทะกัน ทังนี ้ ้ ไม่ว่าเหตุจะ เกิดขึ ้นในน่านนํ ้าใดก็ตาม


407

มาตรา 15 ในกรณีที่เรื อเสียหายโดยสิ ้นเชิง หรื อเรื อได้ รับความเสียหายจนค่าใช้ จ่ายในการทําให้ เรื อกลับคืน สู่สภาพเดิมสูงกว่ามูลค่าของเรื อในเวลาที่เรื อโดนกัน ค่าเสียหายอันพึงเรี ยกได้ ให้ รวมถึงราคาเรื อตามมูลค่าในเวลาที่เรื อ โดนกัน ทังนี ้ ้ โดยคํานึงถึงประเภท อายุ สภาพ ลักษณะการใช้ งาน ราคาแห่งมูลประกันภัย ราคาเรื อที่มีสภาพคล้ ายคลึง กัน และปั จจัยอย่างอื่นที่เกี่ยวข้ องกับเรื อนัน้ นอกจากค่าเสียหายตามวรรคหนึง่ ค่าเสียหายอันพึงเรี ยกได้ ให้ รวมถึงค่าใช้ จ่ายดังต่อไปนี ้ (1) ค่า ใช้ จ่ า ยที่ ไ ด้ จ่า ยไปเพื่ อ การช่ว ยเหลือ กู้ภัย ทางทะเล การเฉลี่ ยความเสีย หายทั่ว ไป ค่า ภาระและ ค่าใช้ จ่ายอันควรอย่างอื่นที่เกิดขึ ้นเพราะเรื อโดนกัน (2) ค่าใช้ จ่ายที่ได้ จ่ายให้ แก่บคุ คลภายนอกตามสัญญา โดยผลของกฎหมายหรื อหนี ้ตามกฎหมายอย่างอื่น เพราะเรื อโดนกัน (3) ค่าใช้ จ่ายที่ได้ จ่ายไปเป็ นค่าเชื ้อเพลิงบนเรื อและอุปกรณ์ประจําเรื อที่สญ ู หายหรื อเสียหายจากเรื อโดนกัน ที่ไม่ได้ รวมอยูใ่ นการประเมินราคาเรื อตามวรรคหนึง่ (4) ค่าใช้ จ่ายจากการขาดรายได้ ในค่าระวาง ค่าเช่า ค่าโดยสารหรื อค่าตอบแทนอย่างอื่นที่จะได้ รับตาม ้ ้ ให้ หกั ค่าใช้ จ่ายอันจะเกิดขึ ้นหากมีการปฏิบตั ิตามสัญญาหรื อ สัญญาหรื อจากการที่ไม่สามารถใช้ ประโยชน์จากเรื อ ทังนี ใช้ ประโยชน์จากเรื อนันออกเสี ้ ยก่อน มาตรา 18 ในกรณีที่ทรัพย์สนิ บนเรื อเป็ นสินค้ า ค่าเสียหายอันพึงเรี ยกได้ มีดงั นี ้ (1) กรณี ท รั พ ย์ สิ น นัน้ สูญ หาย ความเสี ย หายคํ า นวณจากการใช้ ร าคาท้ อ งตลาดในเวลา และ ณ ท่ า ปลายทางที่ทรัพย์สินควรจะได้ มาถึง หักด้ วยค่าใช้ จ่ายใดๆ ที่จะเกิดขึ ้นหากทรัพย์สินนันไปถึ ้ งท่าปลายทาง ถ้ าไม่สามารถ กําหนดราคาท้ องตลาดดังกล่าวได้ มูลค่าของทรัพย์สินคํานวณจากราคาที่บรรทุกลงเรื อ บวกด้ วยค่าระวางและค่าใช้ จ่าย ในการประกันภัยที่ฝ่ายที่มีสทิ ธิเรี ยกค่าเสียหายได้ จ่ายไปบวกด้ วยส่วนเพิ่มซึง่ ประเมินในอัตราไม่เกินร้ อยละ ๑๐ ของมูลค่า ทรัพย์สนิ ตามที่คํานวณข้ างต้ น (2) กรณีทรัพย์สินนันเสี ้ ยหาย ความเสียหายคํานวณจากผลต่างระหว่างมูลค่าทรัพย์สิน ณ ท่าปลายทางใน สภาพปกติกบั มูลค่าในสภาพที่เสียหาย (3) กรณีทรัพย์สินนันเสื ้ ่อมสภาพอันเนื่องมากจากความล่าช้ าของการเดินทางหลังจากที่เรื อโดนกัน ความ เสียหายอันพึงเรี ยกได้ อนั เป็ นผลจากเรื อโดนกันให้ คํานวณตาม (2) แต่ไม่รวมถึงความเสียหายจากการสูญเสียที่เกิดจาก การที่ราคาท้ องตลาดตกตํ่าในระหว่างความล่าช้ าดังกล่าว ในกรณีที่ทรัพย์สนิ บนเรื อเป็ นทรัพย์สนิ อย่างอื่น ค่าเสียหายอันพึงเรี ยกได้ รวมถึง (1) กรณี ท รั พ ย์ สิน สูญ หายหรื อ ไม่อ าจซ่อ มแซมได้ ความเสี ย หายคํ า นวณจากมูล ค่า ของทรั พ ย์ สิน หรื อ ค่าใช้ จ่ายอันสมควรในการหาทรัพย์สนิ มาทดแทน (2) กรณีทรัพย์สินเสียหายและสามารถซ่อมแซมได้ ความเสียหายคํานวณจากค่าใช้ จ่ายอันสมควรในการ ซ่อมแซมซึง่ ต้ องไม่เกินมูลค่าของทรัพย์สนิ หรื อค่าใช้ จ่ายอันสมควรในการทรัพย์สนิ มาทดแทน มาตรา 19 กรณีเรื อโดนกันเป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกายหรื ออนามัยของบุคคลบนเรื อ ให้ นํา บทบัญญัติวา่ ด้ วยค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม 2.15) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ประกาศของคณะปฏิบตั ิวตั ิฉบับนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ ข้ อ 3 กิจการดังต่อไปนี ้ ให้ ถือว่าเป็ นกิจการค้ าขายอันเป็ นสาธารณูปโภค (1) การรถไฟ


408

(2) การรถราง (3) การขุดคลอง (4) การเดินอากาศ (5) การประปา (6) การชลประทาน (7) การไฟฟ้า (8) การผลิตเพื่อจําหน่ายหรื อจําหน่ายก๊ าซโดยระบบเส้ นท่อไปยังอาคารต่างๆ (9) บรรดากิจการอื่นอันกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรื อผาสุกของประชาชนตามที่ระบุไว้ ในพระราช กฤษฎีกา ้ วย การตราพระราชกฤษฎีกาตาม (9) ให้ กําหนดกระทรวงผู้มีอํานาจและหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับกิจการ นันด้ ข้ อ 4 ห้ ามมิให้ บุคคลใดประกอบกิจการค้ าขายอันเป็ นสาธารณูปโภค เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตหรื อได้ รับ สัมปทานจากรัฐมนตรี ข้ อ 7 ในการอนุญาตหรื อให้ สัมปทานตามข้ อ 4 และข้ อ 5 รั ฐมนตรี จะกําหนดเงื่อนไขใดๆ ตามที่เห็นว่า จําเป็ น เพื่อความปลอดภัยหรื อผาสุกของประชาชนไว้ ด้วยก็ได้ เงื่อนไขที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง รัฐมนตรี จะแก้ ไขเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมก็ได้ แต่ต้องกําหนดระยะเวลาการ ใช้ บงั คับเงื่อนไขที่แก้ ไข เปลี่ยนแปลง หรื อเพิ่มเติมตามที่รัฐมนตรี เห็นสมควร พระราชกฤษฎี ก า กํ า หนดให้ กิ จ การท่ า เรื อ เดิ น ทะเลเป็ นกิ จ การค้ าขายอั น เป็ นสาธารณู ป โภคอั น กระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรื อผาสุกของประชาชน พ.ศ. 2522 มาตรา 3 ให้ กิจการท่าเรื อเดินทะเลที่มีท่าให้ บริ การในการจอด เทียบ บรรทุก หรื อขนถ่ายสินค้ าแก่เรื อเดิน ทะเลที่มีขนาดตังแต่ ้ ห้าร้ อยตันกรอสขึ ้นไป ไม่ว่าจะมีการเรี ยกค่าตอบแทนในการให้ บริ การหรื อไม่ เป็ นกิจการค้ าขายอัน เป็ นสาธารณูปโภคอันกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรื อผาสุกของประชาชน ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่ อง กํ าหนดเงื่ อนไขในการอนุญาตให้ ประกอบกิจการท่าเรื อซึ่งเป็ นกิจการ ค้ าขายอันเป็ นสาธารณูปโภคอันกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรื อผาสุกของประชาชนตามข้ อ 3 (9) แห่งประกาศ คณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 58 ลงวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2515 ซึ่งออกตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกากําหนดให้ กิจการท่าเรื อเดินทะเลเป็ นกิจการค้ าขายอันเป็ นสาธารณูปโภคอันกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรื อผาสุกของ ประชาชน พ.ศ. 2522 ประกาศนี ้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมทางทะเล ดังนี ้ ข้ อ 2 ในประกาศนี ้ “ท่าเรื อ” หมายความว่า สถานที่สําหรับให้ บริการแก่เรื อเดินทะเลที่มีขนาดตังแต่ ้ ห้าร้ อยตันกรอสขึ ้นไป ในการ จอด เทียบ บรรทุกหรื อขนถ่ายของ และให้ หมายความรวมถึงสิ่งลอยนํ ้าอื่นใดไม่ว่าจะมีเครื่ องจักรสําหรับขับเคลื่อนหรื อไม่ ก็ตาม ซึง่ ใช้ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันแต่มิได้ ใช้ เพื่อการขนส่ง “ผู้รับอนุญาต” หมายความว่า ผู้ซงึ่ ได้ รับอนุญาตจากรัฐมนตรี ให้ ประกอบกิจการท่าเรื อ ข้ อ 3 ผู้ใดประสงค์จะประกอบกิจการท่าเรื อที่ให้ บริ การในการจอด เทียบ บรรทุก หรื อขนถ่ายสินค้ าแก่เรื อ เดินทะเลที่มีขนาดตังแต่ ้ ห้าร้ อยตันกรอสขึน้ ไป ไม่ว่าจะมีการเรี ยกค่าตอบแทนในการให้ บริ การหรื อไม่ ให้ ยื่นคําร้ องขอ อนุญาตต่อรัฐมนตรี ณ สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวีตามแบบและวิธีการที่กําหนด


409

ข้ อ 7 ทวิ ผู้รับ อนุญ าตต้ อ งปฏิ บัติ ต ามเงื่ อ นไขแนบท้ า ยใบอนุญ าตให้ ป ระกอบกิ จ การท่า เรื อ เดิ น ทะเล ดังต่อไปนี ้ (1) ผู้รับอนุญาตต้ องปฏิบตั ิตาม “คู่มือการรักษาความปลอดภัยสําหรับท่าเรื อ” แนบท้ ายประกาศกระทรวง คมนาคม เรื่ อง กําหนดเงื่อนไขในการอนุญาตให้ ประกอบกิจการท่าเรื อ ซึ่งเป็ นกิจการค้ าขายอันเป็ นสาธารณูปโภคอัน กระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรื อผาสุกของประชาชนตามข้ อ 3 (9) แห่งประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 58 ลงวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2515 (ฉบับที่ 2) ฯลฯ ฯลฯ คูม่ ือ การรักษาความปลอดภัยสําหรับท่าเรื อ __________________ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ด้ วยประเทศไทยได้ เข้ าร่ วมเป็ นภาคีอนุสญ 1974 แก้ ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 2002 (International Convention for the Safety of Life at Sea 1974, as amended 2002) กําหนดให้ เรื อและท่าเรื อระหว่างประเทศที่อยู่ในบังคับของประมวลข้ อบังคับว่าด้ วยการรักษาความปลอดภัยของเรื อและ ท่าเรื อระหว่างประเทศ (International Ship and Port Facility Security Code : ISPS Code) ต้ องมีการปฏิบตั ิการรักษา ความปลอดภัยของเรื อและท่าเรื อ เพื่อป้องกันภัยคุกคามการก่อการร้ ายหรื อการกระทําอันเป็ นโจรสลัดหรื อการกระทําอื่น ใดอันอาจก่อให้ เกิดความไม่ปลอดภัยในการขนส่งทางนํ ้า และเพื่อให้ มนั่ ใจว่าเรื อและท่าเรื อมีการรักษาความปลอดภัย อย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยการกําหนดบทบาทหน้ าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้ อง และกําหนด รายละเอียดในการปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี ้ หมวดที่ 1 คํานิยาม ข้ อ 1 คํานิยาม “คูม่ ือ” หมายถึง คูม่ ือการรักษาความปลอดภัยสําหรับท่าเรื อ “อนุสญ ั ญา” หมายถึง อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด้ วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. 1974 และ ฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 2002 (International Convention for the Safety of Life at Sea, 1974, as amended 2002) “อธิบดี” หมายถึง อธิบดีกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี “ประมวลข้ อบังคับ” หมายถึง ประมวลข้ อบังคับว่าด้ วยการรักษาความปลอดภัยของเรื อและท่าเรื อระหว่าง ประเทศ (International Ship and Port facility Security Code : ISPS Code) ที่ออกตามความในอนุสญ ั ญาระหว่าง ประเทศว่าด้ วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล “ท่าเรื อ (Port facility)” หมายถึง สถานที่สําหรับให้ บริ การแก่เรื อที่มีการปฏิบตั ิการระหว่างเรื อกับท่าเรื อ หรื อ อูเ่ รื อ และให้ หมายรวมถึงบริเวณที่จอดทอดสมอเรื อและพื ้นที่ทางนํ ้าทางเข้ าท่าเรื อ “การปฏิบตั ิการระหว่างเรื อกับท่าเรื อ (Ship/port interface)” หมายถึงการปฏิบตั ิต่อกันที่เกิดขึ ้นเมื่อเรื อได้ รับ ผลโดยตรงและทันทีทนั ใดจากการกระทํานี ้ซึง่ เกี่ยวข้ องกับการเคลื่อนย้ ายของบุคคล สินค้ า การให้ บริ การของท่าเรื อแก่เรื อ หรื อจากเรื อ


410

“กิจกรรมระหว่างเรื อกับเรื อ (Ship-to-ship activity)” หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้ องกับท่าเรื อ แต่ เกี่ยวข้ องกับการขนถ่ายสินค้ าหรื อบุคคลจากเรื อลําหนึง่ ไปยังเรื ออีกลําหนึง่ “เหตุการณ์คกุ คามความปลอดภัย (Security incident)” หมายถึง การกระทําหรื อสถานการณ์ที่น่าสงสัยใด ๆ ที่คุกคามการรักษาความปลอดภัยของเรื อ รวมถึงแท่นขุดเจาะเคลื่อนที่ได้ และเรื อความเร็ วสูง หรื อท่าเรื อ หรื อการ ปฏิบตั ิการระหว่างเรื อกับท่าเรื อ หรื อกิจกรรมระหว่างเรื อกับเรื อใด ๆ “ภัยคุกคามความปลอดภัยของเรื อและท่าเรื อ (Security Threats)” หมายถึง องค์ประกอบของขีด ่มก่อการร้ ายในการลงมือปฏิบตั ิการจู่โจมเป้าหมายของเรื อและท่าเรื อซึง่ แตกต่างกัน ความสามารถและความตังใจของกลุ ้ ตามกลุม่ สถานที่ เป้าหมายและกาลเวลา เช่น การลักขโมยสินค้ า (Pilferage and theft) การลักลอบขนยาเสพติด (Illicit drugs smuggling) คนแอบซ่อนลงเรื อ (Illegal migrants and stowaways) โจรสลัดหรื อปล้ นสดมภ์เรื อ (Piracy and armed robbery against ship) การก่อวินาศกรรม (Sabotage) การก่อการร้ ายสากล (Terrorism) การลอบวางระเบิด (Bombing) การยึดยานพาหนะ (Hijacking) การลักพาคน(Kidnapping) การวางเพลิง (Arson) การลอบสังหาร (Assassination) การจับตัวประกัน (Hostage taking) การซุม่ โจมตี (Ambush) เป็ นต้ น “จุดเปราะบาง (vulnerability)” หมายถึง จุดอ่อนหรื อความน่าจะเป็ นเป้าหมายต่อการจู่โจม “ผลที่ตามมา (consequence)” หมายถึง ผลกระทบและความเสียหายที่เกิดขึ ้น “ความเสี่ยง (Risk)” หมายถึง ผลการวิเคราะห์ภยั คุกคามความปลอดภัยจุดเปราะบางของเป้าหมายและผล ที่ตามมาของการโจมตีดงั กล่าว “ศูนย์ควบคุมการจราจรและความปลอดภัยทางทะเล” หมายถึง ศูนย์ควบคุมการจราจรและความปลอดภัย ทางทะเล ของกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี หมวดที่ 2 การบังคับใช้ ข้ อ 2 คู่มือนี ้ใช้ บงั คับกับท่าเรื อที่ให้ บริ การแก่เรื อเดินระหว่างประเทศ (Port facilities serving such ships engaged on international voyages) ดังต่อไปนี ้ (1) เรื อโดยสาร รวมถึงเรื อโดยสารความเร็ วสูง(Passenger ships, including high-speed passenger craft) (2) เรื อสินค้ า รวมถึงเรื อความเร็วสูงที่มีขนาด 500 ตันกรอสและมากกว่า (Cargo ships, including highspeed craft, of 500 gross tonnage and upwards) แท่นขุดเจาะเคลื่อนที่ได้ (Mobile offshore drilling units) และ ข้ อ 3 แท่นขุดเจาะปิ โตรเลียมไม่เคลื่อนที่และถังเก็บปิ โตรเลียมลอยนํ ้าในบริ เวณไหล่ทวีป ให้ ปฏิบตั ิตามแนว ั ญาและประมวลข้ อบังคับโดยอนุโลม ทางการจัดการรักษาความปลอดภัยที่กําหนดในอนุสญ ข้ อ 4 คูม่ ือนี ้ ไม่ใช้ บงั คับกับท่าเรื อที่รัฐเป็ นเจ้ าของหรื อดําเนินการและมิได้ ใช้ เพื่อการค้ า หมวดที่ 3 หน้ าที่ความรับผิดชอบท่าเรื อ


411

ข้ อ 5 ท่าเรื อต้ องปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดที่เกี่ยวข้ องกับการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อและเรื อของกรมการ ขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี และปฏิบตั ิตามคําแนะนําของศูนย์ควบคุมการจราจรและความปลอดภัยทางทะเลเกี่ยวกับ มาตรการรักษาความปลอดภัย พร้ อมทังต้ ้ องจัดให้ มีเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยประจําท่าเรื อ โดยให้ บคุ คลดังกล่าวมี หน้ าที่รับผิดชอบด้ านการรักษาความปลอดภัย และต้ องจัดให้ มีช่องสื่อสารสําหรับการติดต่อประสานงานบุคคลดังกล่าว ตลอดเวลา หมวดที่ 4 เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ข้ อ 6 เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยประจําท่าเรื อ (Port Facility Security Officer : PFSO) หมายถึง บุคคล ที่ได้ รับการแต่งตังจากท่ ้ าเรื อให้ มีหน้ าที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อบุคคลดังกล่าวต้ องเป็ นผู้มีความรู้ เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของเรื อ ท่าเรื อ ภัยคุกคามความปลอดภัยและมาตรการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ และผ่าน การอบรมด้ านการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อตามที่กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีกําหนด และต้ องแจ้ งรายชื่อ ผู้ได้ รับการแต่งตังให้ ้ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีทราบ ข้ อ 7 เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยประจําท่าเรื อมีหน้ าที่รับผิดชอบดังต่อไปนี ้ (1) ดําเนินการสํารวจสภาพการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื ออย่างละเอียดโดยคํานึงถึงการประเมิน สถานการณ์รักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ (2) กํากับให้ มีการจัดทําและดูแลรักษาแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ (3) ปฏิบตั ิและฝึ กซ้ อม ตามแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ (4) ดําเนินการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื ออย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้ มีการปฏิบตั ิตาม มาตรการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื ออย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง (5) ให้ คําแนะนําและปรับเปลี่ยนแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อตามความเหมาะสม เพื่อแก้ ไข ข้ อบกพร่องและปรับปรุงแผนให้ ทนั สมัยโดยคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงภายในท่าเรื อ (6) เสริมสร้ างให้ เจ้ าหน้ าที่ทา่ เรื อมีความตระหนักและเฝ้าระวังในเรื่ องการรักษาความปลอดภัย (7) กํากับให้ มีการฝึ กอบรมแก่เจ้ าหน้ าที่ที่รับผิดชอบการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื ออย่างเพียงพอ (8) รายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องและบันทึกการเกิดเหตุการณ์ที่เป็ นภัยคุกคามต่อการรักษาความปลอดภัย ของท่าเรื ออย่างเพียงพอ (9) ประสานการปฏิบตั ิตามแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ กับบริ ษัทและเจ้ าหน้ าที่รักษาความ ปลอดภัยประจําเรื อ (10) ประสานงานกับหน่วยงานด้ านการรักษาความปลอดภัยต่างๆ (11) กํากับ ดูแล ผู้มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน (12) กํากับ ดูแล เพื่อให้ มีการใช้ ทดสอบ ปรับแต่ง และบํารุงรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ ในการรักษาความปลอดภัย อย่างเหมาะสม (13) ช่วยเหลือเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยประจําเรื อ ในการยืนยันตัวบุคคลที่ขออนุญาตขึ ้นเรื อเมื่อได้ รับ การร้ องขอ


412

หมวดที่ 5 การรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ ข้ อ 8 ในการรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อต้ องปฏิบตั ิตามข้ อกําหนด ดังนี ้ (1) เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยประจําท่าเรื อ อาจมีหน้ าที่รับผิดชอบท่าเรื อแห่งเดียวหรื อหลายแห่งก็ได้ ตามความเหมาะสม และมอบหมายให้ ผ้ ชู ่วยปฏิบตั ิหน้ าที่แทนภายใต้ การรับผิดชอบของเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ประจําท่าเรื อ (2) จัดทํารายงานประเมินสถานการณ์ความปลอดภัยของท่าเรื อ (Port Facility Security Assessment) โดย คํานึงถึงภัยคุกคามและจุดเปราะบางต่างๆ เพื่อให้ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีอนุมตั ิ (3) จัดทําแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ (Port Facility Security Plan) โดยคํานึงถึงผลการประเมิน ตาม (2) และมาตรการที่มีอยูเ่ พื่อให้ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีอนุมตั ิ (4) จัดการฝึ กปฏิบตั ิ (Drill) และฝึ กซ้ อม (Exercise) ตามแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ โดยให้ มีการ ฝึ กปฏิบตั ิ อย่างน้ อย 1 ครัง้ ทุก ๆ 3 เดือน และฝึ กซ้ อมแผนอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ โดยระยะเวลาระหว่างการฝึ กซ้ อมแผน ต้ องไม่เกิน 18 เดือน และต้ องบันทึกผลการฝึ กทุกครัง้ ด้ วย (5) ปฏิบตั ิตามแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อที่ผ่านการอนุมตั ิ และติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิ ้ ้ ทบทวน ปรับปรุ ง (Internal Audit) และแก้ ไขแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อเป็ นประจําอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ ทังนี การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ต้ องดําเนินการโดยบุคคลที่ไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับกิจกรรมรักษาความปลอดภัยที่ ตรวจสอบเว้ นแต่กรณีมีข้อจํากัดด้ านขนาดและลักษณะของท่าเรื อ (6) จัดเก็บรักษาแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อฉบับสมบูรณ์ ที่กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี อนุมตั ิแล้ ว ไว้ ประจําท่าเรื อตลอดเวลา และต้ องป้องกันการเข้ าถึง การลบ การทําลาย หรื อการแก้ ไขโดยไม่ได้ รับอนุญาต และมีระบบควบคุมการแจกจ่ายเอกสารให้ ผ้ เู กี่ยวข้ อง ข้ อ 9 มาตรการป้องกันเหตุการณ์ ที่อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของท่าเรื อที่ระดับการรักษาความ ปลอดภัยระดับที่ 1 ประกอบด้ วย (1) การดําเนินการเพื่อให้ มีการปฏิบตั ิหน้ าที่ด้านการรักษาความปลอดภัยภายในท่าเรื อทังหมด ้ (2) การควบคุมทางเข้ าออกท่าเรื อ (3) การเฝ้าระวังดูแลท่าเรื อ รวมทังที ้ ่ทอดสมอและบริเวณท่าเทียบเรื อ (4) การเฝ้าระวังดูแลเขตหวงห้ าม เพื่อให้ แน่ใจว่าผู้ที่ผา่ นเข้ าออกเป็ นผู้ที่ได้ รับอนุญาตเท่านัน้ (5) การอํานวยการในการขนถ่ายสินค้ า (6) การอํานวยการในการขนถ่ายของใช้ ประจําเรื อ และ (7) การกํากับเพื่อให้ ระบบการสื่อสารเพื่อการรักษาความปลอดภัย มีความพร้ อมอยูเ่ สมอ ข้ อ 10 ที่ระดับการรักษาความปลอดภัย ระดับที่ 2 ต้ องปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันเพิ่มเติมตามที่กําหนดไว้ ในแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ ตามกิจกรรมที่ระบุในข้ อ 9 ข้ อ 11 ที่ระดับการรักษาความปลอดภัย ระดับที่ 3 ต้ องปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันเฉพาะตามที่กําหนดไว้ ใน แผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ ตามกิจกรรมที่ระบุในข้ อ 10


413

ข้ อ 12 มาตรการหรื อขันตอนการปฏิ ้ บตั ิตามแผนรักษาความปลอดภัยท่าเรื อใช้ ในการรักษาความปลอดภัยที่ ระดับการรักษาความปลอดภัย (Security level) ต่างๆ ต้ องพยายามให้ เกิดการแทรกแซงหรื อความล่าช้ าต่อผู้โดยสารเรื อ เรื อ คนประจําเรื อ ผู้มาติดต่อ สินค้ าและการบริการให้ น้อยที่สดุ ข้ อ 13 การประเมินสถานการณ์ ความปลอดภัยของท่าเรื อ ต้ องกําหนดขอบเขตอาณาบริ เวณที่มีการ ปฏิบัติการระหว่างเรื อกับ ท่าเรื อให้ ชัดเจนและตรวจสอบสถานที่ ทบทวนและปรั บปรุ งการประเมินสถานการณ์ ความ ปลอดภัยของท่าเรื อให้ ทนั สมัยตลอดเวลาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง โดยคํานึงถึงภัยคุกคามที่เปลี่ยนไป และมีรายการอย่าง น้ อยดังต่อไปนี ้ (1) กําหนดและประเมินค่า ทรัพย์สนิ และโครงสร้ างพื ้นฐานที่สําคัญ ของท่าเรื อที่มีความจําเป็ นต้ องปกป้อง (2) ระบุภยั คุกคามที่อาจเกิดต่อทรัพย์สินและโครงสร้ างพื ้นฐานและแนวโน้ มของการเกิดภัยคุกคามดังกล่าว เพื่อจัดทําและกําหนดลําดับความสําคัญของมาตรการรักษาความปลอดภัย ้ บตั ิงาน (3) ระบุ เลือก และจัดลําดับความสําคัญของมาตรการต่อต้ าน และการเปลี่ยนแปลงขันตอนการปฏิ และระดับของประสิทธิผลในการลดความเปราะบาง (4) ระบุจดุ เปราะบางของท่าเรื อ โดยตรวจสอบนโยบาย สิ่งอํานวยความสะดวกและขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงานที่ เกี่ยวข้ องตามข้ อ 15 การประเมินสถานการณ์ความปลอดภัยของท่าเรื อต้ องดําเนินการโดยผู้มีความรู้ ความสามารถทางด้ านเรื อ ท่าเรื อ และวิธีการรักษาความปลอดภัย ข้ อ 15 การประเมินสถานการณ์ความปลอดภัยของท่าเรื อแล้ วเสร็ จ จะต้ องจัดทํารายงานซึง่ ประกอบด้ วย บทสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการประเมิน รายละเอียดของจุดเปราะบางที่ตรวจพบระหว่างการประเมินและรายละเอียดของ มาตรการแก้ ไขที่สามารถนําใช้ กบั จุดเปราะบางแต่ละข้ อ รายงานฉบับนี ้จะต้ องเก็บรักษาไว้ ไม่ให้ มีการเข้ าถึงหรื อเปิ ดเผย โดยไม่ได้ รับอนุญาต ข้ อ 15 การจัดทํารายงานประเมินสถานการณ์รักษาความปลอดภัยท่าเรื อต้ องประกอบด้ วยบทสรุปเกี่ยวกับ วิธีประเมินรายละเอียดของจุดเปราะบางที่ตรวจพบระหว่างการประเมิน และรายละเอียดมาตรการตอบโต้ ที่สามารถ นํามาใช้ ขจัดจุดเปราะบางแต่ละข้ อ รายงานที่อาจเกิดขึ ้นเพื่อประกอบในการใช้ จัดทําแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ และรายงานฉบับนี ้จะต้ องเก็บรักษาไว้ ไม่ให้ มีการเข้ าถึงหรื อเปิ ดเผยโดยไม่ได้ รับอนุญาต ข้ อ 16 แผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ หมายถึง แผนที่ได้ จดั ทําขึ ้นเพื่อให้ เกิดความแน่ใจว่ามีการใช้ มาตรการที่จดั ทําขึ ้นเพื่อปกป้องท่าเรื อ ตลอดจนเรื อ คน สินค้ า ตู้สินค้ า ของใช้ ประจําเรื อภายในเขตท่าเรื อจากความเสี่ยง ต่อเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัย เป็ นเอกสารที่พฒ ั นาขึ ้นตามผลที่ได้ จากการประเมินสถานการณ์ความ ปลอดภัยของท่าเรื อ แผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อจะต้ องกําหนดการปฏิบตั ิในสถานการณ์ระดับความปลอดภัยทัง้ สามระดับ และจัดเป็ นชันความลั ้ บ (Confidential) ข้ อ 17 การจัดทําแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อให้ จดั ทําเป็ นภาษาไทยหรื ออังกฤษ ตามแนวทางแผน รักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ โดยระบุถงึ รายการต่าง ๆ อย่างน้ อยดังนี ้ (1) มาตรการที่กําหนดขึ ้นเพื่อป้องกันอาวุธ หรื อวัตถุอนั ตรายและเครื่ องมือสําหรับใช้ ทําอันตรายต่อบุคคล เรื อหรื อท่าเรื อ และการนําพาสิง่ ของเหล่านัน้ เข้ ามาในท่าเรื อหรื อบนเรื อโดยไม่ได้ รับอนุญาต (2) มาตรการเพื่อป้องกันการเข้ าไปในเขตท่าเรื อ บนเรื อที่ผกู ทุ่นหรื อเทียบท่าและเขตหวงห้ ามโดยไม่ได้ รับ อนุญาต


414

(3) ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิเพื่อตอบโต้ ภัยคุกคามต่อความปลอดภัยหรื อการฝ่ าฝื นการรักษาความปลอดภัย รวมทังข้ ้ อกําหนดเพื่อให้ การปฏิบตั ิการที่สําคัญของท่าเรื อ หรื อการปฏิบตั ิการระหว่างเรื อและท่าเรื อสามารถดําเนินการ ต่อไปได้ (4) ขันตอนการปฏิ ้ บตั ิเพื่อตอบสนองต่อคําแนะนําของกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี ที่ระดับการรักษา ความปลอดภัยระดับ ที่ 3 (5) ขันตอนการปฏิ ้ บตั ิเพื่อการอพยพคน ในกรณีที่เกิดภัยคุกคามหรื อการฝ่ าฝื นการรักษาความปลอดภัย (6) หน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ของท่าเรื อ ที่ได้ รับมอบหมายให้ รับผิดชอบด้ านการรักษาความปลอดภัย และหน้ าที่ ของบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการรักษาความปลอดภัย (7) ขันตอนการปฏิ ้ บตั ิที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมการรักษาความปลอดภัยของเรื อ (8) ขันตอนการทบทวนแผนตามระยะเวลาและปรั ้ บปรุงแผนให้ ทนั สมัย (9) ขันตอนการรายงานเหตุ ้ การณ์ที่มีผลกระทบต่อการรักษาความปลอดภัย ้ ยดที่สามารถติดต่อได้ ตลอด 24 (10) ระบุเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยประจําท่าเรื อ รวมทังรายละเอี ชัว่ โมง (11) มาตรการรักษาความปลอดภัยของข้ อมูลที่อยูใ่ นแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ (12) มาตรการรักษาความปลอดภัยแก่สนิ ค้ า และอุปกรณ์ขนถ่ายสินค้ าในท่าเรื อ (13) ขันตอนการตรวจสอบแผนรั ้ กษาความปลอดภัยของท่าเรื อ (14) ขันตอนการปฏิ ้ บตั ิเพื่อตอบสนองในกรณีระบบแจ้ งเตือนความปลอดภัยของเรื อส่งสัญญาณขณะเรื ออยู่ ในท่าเรื อ (15) ขันตอนการปฏิ ้ บตั ิเพื่ออํานวยความสะดวก กรณีคนประจําเรื อขึ ้น-ลงเรื อหรื อเปลี่ยนคนประจําเรื อ การ ขึ ้นไปบนเรื อของผู้มาติดต่อ รวมทังผู ้ ้ แทนจากหน่วยงานราชการ ข้ อ 18 ท่าเรื อที่ประสงค์จะให้ กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีอนุมตั ิรายงานการประเมินสถานการณ์ ความปลอดภัยของท่าเรื อและแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ ให้ ยื่นคําขอที่ส่วนตรวจท่า สํานักความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้ อมทางนํ ้าเพื่อพิจารณาตรวจสอบ และเมื่อพบว่าการปฏิบตั ิเป็ นไปตามคู่มือที่กําหนดครบถ้ วนสมบูรณ์ กรมการ ขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีจะออกหนังสืออนุมตั ิแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อ แผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อจะแก้ ไขเปลี่ยนแปลงมิได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากกรมการขนส่งทาง นํ ้าและพาณิ ชยนาวี กรณี ตรวจพบข้ อบกพร่ องอื่นใดหรื อมีการเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญที่กําหนดในแผนรักษาความ ปลอดภัยของท่าเรื อ ท่าเรื อต้ องทําการปรับปรุงเพิ่มเติมให้ เรี ยบร้ อยสมบูรณ์และได้ รับอนุมตั ิก่อนนําไปปฏิบตั ิ ข้ อ 19 การขอหนังสือรับรองการปฏิบตั ิของท่าเรื อเพื่อการรักษาความปลอดภัย ให้ ยื่นคําขอที่สว่ นตรวจท่า สํานักความปลอดภัยและสิง่ แวดล้ อมทางนํ ้า พร้ อมด้ วยเอกสารดังต่อไปนี ้ (1) ภาพถ่ายสําเนาทะเบียนบ้ านและภาพถ่ายบัตรประจําตัวประชาชนของผู้บริหารท่าเรื อ (2) หลักฐานแสดงความเป็ นเจ้ าของหรื อผู้บริ หารท่าเรื อ ในกรณีที่ผ้ ยู ื่นคําขอเป็ นนิติบคุ คล ให้ ยื่นคําขอพร้ อม สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบคุ คลที่ระบุชื่อผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบคุ คล (3) รายงานการประเมินสถานการณ์ความปลอดภัยของท่าเรื อและแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อฉบับ สมบูรณ์ที่ผา่ นการอนุมตั ิแล้ ว ในรูปแบบเอกสารจํานวน 3 ชุด และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์จํานวน 1 ชุด (4) หลักฐานหรื อเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้ องที่อธิบดีกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีกําหนดเพิ่มเติม


415

ข้ อ 20 ท่าเรื อที่ได้ ผ่านการประเมินผลการปฏิบตั ิตามแผนรักษาความปลอดภัยของท่าเรื อที่ได้ รับการอนุมตั ิ กรมการขนส่ ง ทางนํ า้ และพาณิ ช ยนาวี จ ะออกหนัง สื อ รั บ รองการปฏิ บัติ ข องท่ า เรื อ เพื่ อ การรั ก ษาความปลอดภัย (Statement of Compliance of a Port Facility) ให้ แก่ผ้ ขู ออนุญาตโดยมีอายุไม่เกิน 5 ปี และต้ องได้ รับการตรวจสอบ ประจําปี ภายในระยะเวลา 1 เดือน ก่อนหรื อหลังครบรอบปี ของหนังสือรับรองนัน้ ยกเว้ นในปี สุดท้ ายของหนังสือรับรอง ต้ องผ่านการตรวจจากเจ้ าพนักงานก่อนหมดอายุ 3 เดือน ข้ อ 21 หนังสือรับรองการปฏิบตั ิของท่าเรื อเพื่อการรักษาความปลอดภัย และหนังสืออนุมตั ิแผนรักษาความ ปลอดภัยของท่าเรื อ เมื่อเจ้ าพนักงานผู้ตรวจสอบเห็นว่าท่าเรื อดังกล่าวไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือนี ้โดยความเห็นชอบจากอธิบดี อาจถูกยกเลิก เพิกถอนหรื อระงับ หมวดที่ 6 ระดับการรักษาความปลอดภัยและการปฏิบตั ิ ข้ อ 22 ระดับการรักษาความปลอดภัย (Security level) หมายถึง คุณสมบัติของระดับของความเสี่ยงที่จะมี ความพยายามก่อให้ เกิดหรื อจะเกิดเหตุการณ์คกุ คามความปลอดภัย กําหนดโดยกรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวี บนพื ้นฐานของข้ อมูลที่ได้ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องด้ านรักษาความปลอดภัย (1) ระดับการรักษาความปลอดภัยระดับที่ 1 หมายถึง เป็ นมาตรการรักษาความปลอดภัยขันพื ้ ้นฐานและ ้ ่าตลอดเวลา ระดับที่จะต้ องใช้ มาตรการรักษาความปลอดภัยเชิงป้องกันที่เหมาะสมขันตํ (2) ระดับการรักษาความปลอดภัยระดับที่ 2 หมายถึง เป็ นมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เรื อและท่าเรื อ จะต้ องป้องกันตนเองเพิ่มขึ ้นเนื่องจากความน่าจะเป็ นของภัยคุกคามเพิ่มมากขึ ้นตามความเหมาะสมในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อันเป็ นผลมาจากมีความเสี่ยงต่อการเกิดเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยสูงขึ ้น (3) ระดับการรักษาความปลอดภัยระดับที่ 3 หมายถึง เป็ นมาตรการเตรี ยมพร้ อมรักษาความปลอดภัย ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ของเจ้ าหน้ าที่ เนื่องจากภัยคุกคามค่อนข้ างแน่นอนและเจาะจง และเป็ นระดับที่จะต้ องใช้ มาตรการรักษา ความปลอดภัยเชิงป้องกันเป็ นการเฉพาะเพิ่มเติมในช่วงระยะเวลาที่จํากัด โดยมีความเป็ นไปได้ สงู ที่จะเกิดเหตุการณ์ ที่ อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยหรื อเกิดภัยคุกคาม แม้ วา่ จะไม่สามารถกําหนดเป้าหมายที่ชดั เจน ข้ อ 23 ท่าเรื อต้ องดําเนินการควบคุมและปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยของเรื อและท่าเรื อที่เหมาะสมเพื่อ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนระดับการรักษาความปลอดภัยที่กรมการขนส่งทางนํ ้าและพาณิชยนาวีกําหนดหรื อให้ คําแนะนํา 3) กฎหมายเกี ่ยวกับทรัพยากรที ม่ ี ชีวิต 3.1) พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยสิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พุทธศักราช 2482 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ “เขตการประมงไทย” หมายความถึงเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึง่ ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมีสิทธิที่จะใช้ ต่อไปในการจับสัตว์นํ ้า โดยที่น่านนํ ้าเหล่านันปรากฏโดยทั ้ ว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรมเนียมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรื อตามสนธิสญ ั ญา หรื อด้ วยประการใดๆ ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 5 ห้ ามมิให้ ออกใบอนุญาตสําหรับทําการประมงให้ แก่


416

(ก) คนต่างด้ าวคนใดคนหนึง่ หรื อ (ข) ห้ างหุ้นส่วนสามัญใดๆ เว้ นแต่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนทังหมดมี ้ สญ ั ชาติไทย หรื อ ั ชาติ (ค) ห้ างหุ้นส่วนจํากัดใดๆ เว้ นแต่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนทังหมดซึ ้ ง่ ต้ องรับผิดชอบร่วมกันโดยไม่จํากัดจํานวน มีสญ ไทยและทุนของห้ างหุ้นส่วนนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละเจ็ดสิบ ต้ องเป็ นของบุคคลธรรมดาซึง่ มีสญ ั ชาติไทย หรื อ (ง) บริ ษัทจํากัดใดๆ เว้ นแต่กรรมการส่วนมากมีสญ ั ชาติไทย และทุนของบริ ษัทนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละ เจ็ดสิบต้ องเป็ นของบุคคลธรรมดา ซึง่ มีสญ ั ชาติไทย และบริษัทนันต้ ้ องไม่มีข้อบังคับอนุญาตให้ ออกหุ้นผู้ถือ ห้ างหุ้นส่วนหรื อบริ ษัทที่มีสิทธิได้ รับอนุญาตดังกล่าวนันต้ ้ องจดทะเบียนตามกฎหมายไทยมีสํานักงานใหญ่ ของห้ างหุ้นส่วนหรื อบริษัทตังอยู ้ ใ่ นราชอาณาจักรไทยด้ วย มาตรา 7 นอกจากจะมีความตกลงกับต่างประเทศเป็ นอย่างอื่น ห้ ามมิให้ ใช้ เรื อต่อไปนี ้ทําการประมงในเขต การประมงไทย (1) เรื อที่มีสญ ั ชาติตา่ งประเทศ หรื อเรื อที่เป็ นของคนต่างด้ าว หรื อของนิติบคุ คลที่มีสญ ั ชาติตา่ งประเทศ (2) เรื อสยามซึง่ มีคนประจําเรื อไม่วา่ อยูใ่ นฐานะใดๆ เป็ นคนต่างด้ าวรวมอยูด่ ้ วย แต่ค นต่ า งด้ า วผู้ไ ด้ อ าศัย อยู่ใ นประเทศไทย เป็ นเวลาติ ด ต่ อ กัน ไม่ น้ อ ยกว่า ห้ า ปี ก่ อ นวัน ที่ 28 ตุล าคม ้ จดทะเบียนและปฏิบตั ิ พุทธศักราช 2477 ย่อมเป็ นคนประจําเรื อสยามสําหรับทําการประมงได้ ถ้าหากคนต่างด้ าวนันได้ ตามกฎหมายว่าด้ วยการทะเบียนคนต่างด้ าว และรวมกันไม่มากกว่าร้ อยละยี่สบิ ห้ าแห่งจํานวนคนประจําเรื อ เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี ้ มิให้ ถือว่าคนประจําเรื อเป็ นคนต่างด้ าว ถ้ าหากคนต่างด้ าวนันเป็ ้ นครูสอนวิชาการ ประมงซึ่งได้ รับการแต่งตังจากรั ้ ฐบาลให้ ทําการสอนในโรงเรี ยนรัฐบาล โรงเรี ยนประชาบาลหรื อเทศบาล ในกรณีที่เป็ นครู โรงเรี ยนประชาบาลหรื อเทศบาลต้ องไม่เกินโรงเรี ยนละห้ าคน และต้ องได้ รับอนุญาตจากรัฐมนตรี หรื อเจ้ าหน้ าที่ซงึ่ รัฐมนตรี ได้ แต่งตังเพื ้ ่อการนัน้ 3.2) พระราชบัญญัตกิ ารประมง พุทธศักราช 2490 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ (5) “ที่จบั สัตว์นํ ้า” หมายความว่า ที่ซงึ่ มีนํ ้าขังหรื อไหล เช่น ทะเล แม่นํ ้า ลําคลอง หนอง บึง บ่อ เป็ นต้ น และ หาดทังปวง ้ บรรดาซึ่งเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน รวมทังป่ ้ าไม้ และพื ้นดินซึ่งนํ ้าท่วมในฤดูนํ ้าไม่ว่าจะเป็ นที่สาธารณ สมบัติของแผ่นดินหรื อที่ดินอันบุคคลถือกรรมสิทธิ์ และภายในเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใด ซึง่ ประเทศไทยใช้ อยู่หรื อมี สิทธิที่จะใช้ ตอ่ ไปในการทําการประมง โดยที่น่านนํ ้าเหล่านัน้ ปรากฏโดยทัว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น หรื อธรรม เนียมประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อตามสนธิสญ ั ญาหรื อด้ วยประการใด ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 19 ห้ ามมิให้ บคุ คลใด เท ทิ ้ง ระบาย หรื อทําให้ วตั ถุมีพิษตามที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดในราชกิจจา นุเบกษาลงไปในที่จบั สัตว์นํ ้า หรื อกระทําการใดๆ อันทําให้ สตั ว์นํ ้ามึนเมา หรื อเท ทิ ้ง ระบาย หรื อทําให้ สิ่งใดลงไปในที่จบั สัตว์นํา้ ในลักษณะที่เป็ นอันตรายแก่สตั ว์นํา้ หรื อทําให้ ที่จับสัตว์นํา้ เกิดมลพิษ เว้ นแต่เป็ นการทดลองเพื่อประโยชน์ ทาง วิทยาศาสตร์ และได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ มาตรา 32 รัฐมนตรี หรื อข้ าหลวงประจําจังหวัดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี เฉพาะภายในเขตท้ องที่ของตน มีอํานาจ ประกาศกําหนดได้ ดงั ต่อไปนี ้


417

(1) กํ า หนดขนาดตาและระยะช่ อ งเครื่ อ งมื อ ทํ า การประมงทุก ชนิ ด กํ า หนดขนาด ชนิ ด จํ า นวนและ ส่วนประกอบของเครื่ องมือทําการประมงที่อนุญาตให้ ใช้ ในที่จบั สัตว์นํ ้า (2) กําหนดมิให้ ใช้ เครื่ องมือทําการประมงอย่างหนึง่ อย่างใดในที่จบั สัตว์นํ ้าโดยเด็ดขาด (3) กําหนดระยะที่ตงเครื ั ้ ่ องมือประจําที่ให้ หา่ งกันเพียงใด (4) กําหนดวิธีใช้ เครื่ องมือทําการประมงต่างๆ (5) กําหนดฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่เลี ้ยงลูก กําหนดเครื่ องมือที่ให้ ใช้ และกําหนดวิธีทําการประมงในที่จับ สัตว์นํ ้าใดๆ ในฤดูดงั กล่าว (6) กําหนดชนิด ขนาด และจํานวนอย่างสูงของสัตว์นํ ้าที่อนุญาตให้ ทําการประมง (7) กําหนดมิให้ ทําการประมงสัตว์นํ ้าชนิดหนึง่ ชนิดใดโดยเด็ดขาด มาตรา 52 โดยอนุมตั ิรัฐมนตรี ให้ คณะกรมการจังหวัดมีอํานาจประกาศห้ ามมิให้ บคุ คลอื่นนอกจากผู้รับอนุญาต เข้ าไปในที่จบั สัตว์นํ ้าแห่งหนึง่ แห่งใด เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตจากผู้รับอนุญาต หรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ก่อน มาตรา 53 ห้ ามมิให้ บคุ คลใดมีไว้ ในครอบครองซึ่งสัตว์นํ ้าหรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้าชนิดใดชนิดหนึ่งตามที่ระบุ ไว้ ในพระราชกฤษฎีกา หรื อมีไว้ ในครอบครองซึ่งสัตว์นํ ้าหรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้าชนิดใดชนิดหนึ่งเกินจํานวนหรื อปริ มาณ หรื อเล็กกว่าขนาดที่ระบุไว้ ในพระราชกฤษฎีกา เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ในกรณีที่สตั ว์นํ ้าที่ห้ามบุคคลมีไว้ ในครอบครองเป็ นชนิดที่อาจก่อให้ เกิดอันตรายต่อร่างกายหรื อทรัพย์สินของ บุคคลหรื อสาธารณชน ให้ กําหนดลักษณะของสัตว์นํ ้านันว่ ้ าจะมีอนั ตรายอย่างใด และกําหนดเวลาสําหรับผู้ซึ่งมีสตั ว์นํ ้า นันในครอบครองอยู ้ แ่ ล้ วส่งมอบสัตว์นํ ้านันให้ ้ แก่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ไว้ ในพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึง่ ด้ วย การขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดใน กฎกระทรวง บุคคลใดมีไว้ ในครอบครองซึ่งสัตว์นํ ้าหรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้าในวันที่พระราชกฤษฎีกาออกตามความในวรรค ้ อไป ต้ องยื่นคําขออนุญาตตามวรรค หนึ่งใช้ บงั คับ ถ้ าประสงค์จะมีไว้ ในครอบครองซึ่งสัตว์นํ ้าหรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้านันต่ สามภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวใช้ บงั คับ เว้ นแต่ในกรณีสตั ว์นํ ้าตามวรรคสอง จะขออนุญาต หรื ออนุญาตมิได้ และในระหว่างเวลาที่กําหนดไว้ สําหรับการขออนุญาตจนถึงวันที่ได้ รับคําสัง่ ไม่อนุญาตจากพนักงาน เจ้ าหน้ าที่มิให้ นํามาตรา 67 ทวิ มาใช้ บงั คับ ในกรณีที่บคุ คลตามวรรคสี่ยื่นคําขออนุญาตแล้ วแต่ไม่ได้ รับอนุญาต อธิบดีมีอํานาจสัง่ ให้ บคุ คลดังกล่าวส่ง ้ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ได้ รับคําสัง่ มอบสัตว์นํ ้าหรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้านันต่ ในกรณีมีการส่งมอบสัตว์นํ ้าหรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้าตามวรรคสองหรื อวรรคห้ า ให้ กรมประมงคิดราคาสัตว์นํ ้า หรื อผลิตภัณฑ์สตั ว์นํ ้าดังกล่าวตามสมควรแก่ผ้ สู ง่ มอบ ความในวรรคหนึ่ ง วรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ วรรคห้ า และวรรคหก มิ ใ ห้ ใ ช้ บัง คับ แก่ ส่ ว นราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อกิจการอื่นเฉพาะที่รัฐมนตรี กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3.3) พระราชบัญญัตจิ ัดระเบียบกิจการแพปลา พ.ศ. 2496 (ควบคุมการขายสัตว์นํ ้าที่สะพานปลา) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 29 ห้ า มมิ ใ ห้ ผ้ ูใ ดประกอบกิ จ การแพปลา เว้ น แต่ ไ ด้ รั บ ใบอนุญ าตและเสี ย ค่ า ธรรมเนี ย มตาม พระราชบัญญัตินี ้


418

มาตรา 30 ห้ า มมิ ใ ห้ ผ้ ูใ ดกระทํ า การเป็ นผู้ข ายทอดตลาดสิ น ค้ า สัต ว์ นํ า้ ที่ ส ะพานปลา เว้ น แต่ จ ะได้ รั บ ใบอนุญาตและเสียค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี ้ มาตรา 31 ให้ อ ธิ บ ดี โดยอนุมัติรัฐมนตรี มี อํ า นาจออกข้ อ กํ า หนดดัง ต่อ ไปนี ้ โดยประกาศในราชกิ จ จา นุเบกษา (1) ให้ ผ้ ปู ระกอบกิจการแพปลาประกอบกิจการที่สะพานปลา และปฏิบตั ิตามระเบียบและเงื่อนไขที่กําหนด (2) อัตราอย่างสูงสําหรับค่านายหน้ า ค่าขนส่ง และค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ที่ผ้ ปู ระกอบกิจการแพปลาจะพึงเรี ยกจาก เจ้ าของสินค้ าสัตว์นํ ้าและผู้ซื ้อสินค้ าสัตว์นํ ้า (3) วิธีการขายทอดตลาด และการกําหนดหน่วยของนํ ้าหนักหรื อปริมาณสินค้ าสัตว์นํ ้า (4) การจอดเรื อ การขนส่ง และการจราจรที่สะพานปลา (5) ให้ ผ้ ปู ระกอบกิจการแพปลาทําบัญชีและเอกสารเป็ นภาษาไทยตามแบบซึง่ กําหนดไว้ 3.4) พระราชบัญญัตพ ิ ันธุ์พืช พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 12 ให้ รัฐมนตรี มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดชนิดและชื่อพันธุ์ของพืชชนิดใดให้ เป็ น เมล็ดพันธุ์ควบคุม มาตรา 14 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดรวบรวม ขาย นําเข้ า ส่งออก หรื อนําผ่านซึ่งเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้ า เว้ นแต่ ได้ รับใบอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ และต้ องเก็บเมล็ดพันธุ์ควบคุมไว้ ในสถานที่เก็บเมล็ดพันธุ์ควบคุมตามที่ระบุไว้ ใน ใบอนุญาต การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง บทบัญญัติมาตรานี ้มิให้ ใช้ บงั คับแก่ผ้ ปู ลูกเมล็ดพันธุ์ควบคุมซึง่ ขายเมล็ดพันธุ์ควบคุมที่ตนปลูกเองให้ แก่ผ้ รู ับ ใบอนุญาตรวบรวมเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้ า หรื อผู้รับใบอนุญาตส่งออกซึ่งเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้ า หรื อผู้ปลูก เมล็ดพันธุ์รายอื่นเพื่อใช้ เพาะปลูกเองโดยมิได้ มีการโฆษณา มาตรา 29 ให้ รัฐมนตรี มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดชนิดและชื่อพันธุ์ของพืชชนิดใดให้ เป็ น พืชสงวน มาตรา 29 ทวิ ให้ พืชที่กําหนดไว้ ในบัญชีแนบท้ ายอนุสญ ั ญาว่าด้ วยการค้ าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่า และพืชป่ าที่กําลังจะสูญพันธุ์ ซึง่ รัฐมนตรี ประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา เป็ นพืชอนุรักษ์ ตามพระราชบัญญัตินี ้ มาตรา 29 ตรี ห้ ามมิให้ ผ้ ูใดนําเข้ า ส่งออก หรื อนําผ่านพืชอนุรักษ์ และซากของพืชอนุรักษ์ เว้ นแต่ได้ รับ หนังสืออนุญาตจากอธิบดีหรื อผู้ซงึ่ อธิบดีมอบหมาย การขออนุญาต การออกหนังสืออนุญาต และการปฏิบัติในการนําเข้ า ส่งออก หรื อนําผ่านพืชอนุรักษ์ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา หนังสืออนุญาตนําเข้ า ส่งออก หรื อนําผ่านพืชอนุรักษ์ ให้ ใช้ ได้ ไม่เกินหกเดือนนับแต่วนั ที่ออกหนังสืออนุญาต มาตรา 30 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดส่งออกซึ่งพืชสงวน เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตเป็ นหนังสือจากรัฐมนตรี และเฉพาะเพื่อ ประโยชน์ในการทดลอง หรื อวิจยั ในทางวิชาการเท่านัน้ มาตรา 32 ให้ รัฐมนตรี มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนดชนิด และชื่อพันธุ์ของพืชชนิดใดให้ เป็ น พืชต้ องห้ าม มาตรา 33 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดนําเข้ าซึง่ พืชต้ องห้ าม 3.5) พระราชบัญญัตสิ งวนและคุ้มครองสัตว์ ป่า พ.ศ. 2535 (รวมถึงสัตว์นํ ้าด้ วย)


419

พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ ฯลฯ ฯลฯ “สัตว์ป่า” หมายความว่า สัตว์ทกุ ชนิดไม่ว่าสัตว์บก สัตว์นํ ้า สัตว์ปีก แมลงหรื อแมง ซึ่งโดยสภาพธรรมชาติ ย่อมเกิดและดํารงชีวิตอยู่ในป่ าหรื อในนํ ้า และให้ หมายความรวมถึงไข่ของสัตว์ป่าเหล่านันทุ ้ กชนิดด้ วย แต่ไม่หมายความ รวมถึงสัตว์พาหนะที่ได้ จดทะเบียนทําตัว๋ รู ปพรรณตามกฎหมายว่าด้ วยสัตว์พาหนะแล้ ว และสัตว์พาหนะที่ได้ มาจากการ สืบพันธุ์ของสัตว์พาหนะดังกล่าว ฯลฯ ฯลฯ “สัตว์ป่าสงวน” หมายความว่า สัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี ้ และตามที่จะกําหนด โดย ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา (สัตว์ทะเล ได้ แก่ พะยูน) ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 6 การกํ าหนดให้ สัตว์ ป่ าชนิ ดใดเป็ นสัตว์ ป่ าคุ้มครอง ให้ กระทํา โดยกฎกระทรวง และโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการ กฎกระทรวงที่ออกตามวรรคหนึ่งจะใช้ บงั คับตังแต่ ้ วนั ใด ให้ กําหนดไว้ ในกฎกระทรวงนัน้ แต่จะกําหนดให้ ใช้ บังคับก่อนหกสิบวันนับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษามิได้ มาตรา 16 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดล่า หรื อพยายามล่าสัตว์ป่าสงวนหรื อสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้ นแต่เป็ นการกระทําโดยทาง ราชการที่ได้ รับยกเว้ นตามมาตรา 26 มาตรา 19 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดมีไว้ ในครอบครองซึ่งสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวน หรื อซาก ของสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้ นแต่จะเป็ นสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่กําหนดตามมาตรา ๑๗ ที่ได้ มาจากการเพาะพันธุ์ หรื อซากของ สัตว์ป่าดังกล่าว และโดยต้ องได้ รับอนุญาตจากอธิบดี และต้ องปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในกฎกระทรวงและเงื่อนไขที่กําหนด ไว้ ในใบอนุญาต การขออนุญาตและการอนุญาต ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ความในวรรคหนึง่ และวรรคสอง มิให้ ใช้ บงั คับแก่ (1) การครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองของผู้รับใบอนุญาตเพาะพันธุ์ตามมาตรา 18 (1) ที่มีไว้ เพื่อการเพาะพันธุ์ หรื อได้ มาจากการเพาะพันธุ์ หรื อซากของสัตว์ป่าดังกล่าว (2) การครอบครองสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวนหรื อซากของสัตว์ป่าคุ้มครองเพื่อกิจการ สวนสัตว์สาธารณะของผู้รับใบอนุญาตให้ จดั ตังและดํ ้ าเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะตามมาตรา ๒๙ และได้ จดั แสดงไว้ ใน สวนสัตว์สาธารณะที่ได้ รับอนุญาตให้ จดั ตังขึ ้ ้น มาตรา 20 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดค้ าสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวน ซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง หรื อผลิตภัณฑ์ที่ทําจากซากของสัตว์ป่าดังกล่าว เว้ นแต่เป็ นการค้ าสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่กําหนดตามมาตรา ๑๗ ที่ได้ มา ้ ้ โดยได้ รับใบอนุญาต จากการเพาะพันธุ์ ซากของสัตว์ป่าดังกล่าว หรื อผลิตภัณฑ์ที่ทําจากซากของสัตว์ป่าดังกล่าว ทังนี จากอธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาต ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง


420

มาตรา 23 ภายใต้ บงั คับมาตรา 24 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดนําเข้ าหรื อส่งออกซึ่งสัตว์ป่าหรื อซากของสัตว์ ป่าชนิดที่ รัฐมนตรี ประกาศกํ าหนด หรื อนํ าผ่านซึ่งสัตว์ ป่าสงวน สัตว์ ป่าคุ้มครอง หรื อซากของสัตว์ ป่าดังกล่าว เว้ นแต่จะได้ รับ อนุญาตจากอธิบดี การนําเข้ าหรื อส่งออกซึ่งสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง หรื อซากของสัตว์ป่าดังกล่าวจะกระทํามิได้ เว้ นแต่ เป็ นการนําเข้ าหรื อส่งออกซึง่ สัตว์ป่าคุ้มครองที่ได้ มาจากการเพาะพันธุ์ตามมาตรา 18 (1) หรื อซากของสัตว์ป่าคุ้มครองที่ ได้ มาจากการเพาะพันธุ์และโดยได้ รับใบอนุญาตจากอธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 33 เมื่ อ คณะรั ฐ มนตรี เ ห็น สมควรกํ า หนดบริ เ วณที่ ดิน แห่ง ใดให้ เ ป็ นที่ อ ยู่อ าศัยของสัตว์ ป่ าโดย ปลอดภัยเพื่อรักษาไว้ ซงึ่ พันธุ์สตั ว์ป่า ก็ให้ กระทําได้ โดยตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา และให้ มีแผนที่แสดงแนวเขตแห่งบริ เวณ ที่กําหนดนันแนบท้ ้ ายพระราชกฤษฎีกาด้ วย บริ เวณที่กําหนดนี ้เรี ยกว่า “เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า” ที่ดินที่กําหนดให้ เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่านัน้ ต้ องเป็ นที่ดินที่มิได้ อยู่ในกรรมสิทธิ์หรื อสิทธิครอบครองตาม ประมวลกฎหมายที่ดินของบุคคลใดซึง่ มิใช่ทบวงการเมือง 3.6) พระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 (พืชรวมถึงสาหร่าย รับจดทะเบียนคุ้มครองพืชที่ปรับปรุง พันธุ์และพันธุ์พืชพื ้นเมืองเฉพาะถิ่น) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “พืช” หมายความว่า สิง่ มีชีวิตในอาณาจักรพืชและให้ หมายความรวมถึงเห็ด และสาหร่ายแต่ไม่รวมถึงจุลชีพ อื่น ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 12 พันธุ์พืชที่จะขอจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ตามพระราชบัญญัตินี ้ ต้ องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี ้ (1) เป็ นพันธุ์พืชที่ไม่มีการนําส่วนขยายพันธุ์มาใช้ ประโยชน์ไม่ว่าจะเป็ นการขายหรื อจําหน่ายด้ วยประการใด อนอกราชอาณาจักรโดยนักปรับปรุ งพันธุ์ หรื อด้ วยความยินยอมของนักปรับปรุ งพันธุ์เกินกว่าหนึ่งปี ก่อนวันยื่นขอ ทังในหรื ้ จดทะเบียน (2) มีความแตกต่างจากพันธุ์พืชอื่นที่ปรากฏอยู่ในวันยื่นขอจดทะเบียน โดยความแตกต่างนันเกี ้ ่ยวข้ องกับ ลักษณะที่เป็ นประโยชน์ต่อการเพาะปลูก การบริ โภค เภสัชกรรม การผลิต หรื อการแปรรู ป และให้ หมายความรวมถึงมี ความแตกต่างจากพันธุ์พืช ดังต่อไปนี ้ด้ วย (ก) พันธุ์พืชที่ได้ รับการจดทะเบียนคุ้มครองไว้ แล้ ว ไม่ว่าในหรื อนอกราชอาณาจักรก่อนวันยื่นขอจด ทะเบียน (ข) พันธุ์พืชที่มีการยื่นขอจดทะเบียนในราชอาณาจักรไว้ แล้ ว และได้ รับการจดทะเบียนในเวลาต่อมา มาตรา 33 ผู้ทรงสิทธิ ในพันธุ์พืชใหม่มีสิทธิ แต่เพียงผู้เดียวในการผลิต ขาย หรื อจําหน่ายด้ วยประการใด นําเข้ ามาในราชอาณาจักร ส่งออกนอกราชอาณาจักร หรื อมีไว้ เพื่อกระทําการอย่างหนึ่งอย่างใดดังกล่าวซึง่ ส่วนขยายพันธุ์ ของพันธุ์พืชใหม่ ความในวรรคหนึง่ ไม่ใช้ บงั คับแก่กรณีดงั ต่อไปนี ้ (1) การกระทําเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ที่ได้ รับความคุ้มครอง โดยไม่มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ เป็ นส่วนขยายพันธุ์


421

(2) การศึกษา ค้ นคว้ า ทดลอง หรื อวิจัยเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ที่ได้ รับความคุ้มครองเพื่อปรับปรุ งพันธุ์หรื อ พัฒนาพันธุ์พืช (3) การกระทําเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ที่ได้ รับความคุ้มครองซึง่ กระทําโดยสุจริ ต (4) การเพาะปลูกหรื อขยายพันธุ์สําหรับพันธุ์พืชใหม่ที่ได้ รับความคุ้มครองโดยเกษตรกรด้ วยการใช้ ส่วน ขยายพันธุ์ที่ตนเองเป็ นผู้ผลิต แต่ในกรณีที่รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศให้ พนั ธุ์พืชใหม่นนเป็ ั้ น พันธุ์พืชที่ควรส่งเสริ มการปรับปรุงพันธุ์ให้ เกษตรกรสามารถเพาะปลูกหรื อขยายพันธุ์ได้ ไม่เกินสามเท่าของปริ มาณที่ได้ มา (5) การกระทําเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ที่ได้ รับความคุ้มครอง โดยไม่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการค้ า (6) การขายหรื อจําหน่ายด้ วยประการใด นําเข้ ามาในราชอาณาจักร ส่งออกนอกราชอาณาจักรหรื อมีไว้ เพื่อ กระทําการอย่างหนึง่ อย่างใดดังกล่าว ซึง่ ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ที่ได้ รับความคุ้มครองซึง่ ถูกนําออกจําหน่าย โดยผู้ ทรงสิทธิหรื อด้ วยความยินยอมของผู้ทรงสิทธิ มาตรา 43 พั น ธุ์ พื ช ที่ จ ะขอจดทะเบี ย นเป็ นพั น ธุ์ พื ช พื น้ เมื อ งเฉพาะถิ่ น ตามพระราชบัญ ญั ติ นี ต้ ้ อง ประกอบด้ วยลักษณะดังต่อไปนี ้ (1) เป็ นพันธุ์พืชที่มีอยูเ่ ฉพาะในท้ องที่ใดท้ องที่หนึง่ ภายในราชอาณาจักรเท่านัน้ (2) เป็ นพันธุ์พืชที่ไม่เคยจดทะเบียนเป็ นพันธุ์พืชใหม่ ้ สิทธิ แต่ผ้ ู มาตรา 47 เมื่อได้ จดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชพื ้นเมืองเฉพาะถิ่นของชุมชนใดแล้ วให้ ชุมชนนันมี เดียวในการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา ค้ นคว้ า ทดลอง วิจยั ผลิต ขาย ส่งออกนอกราชอาณาจักร หรื อจําหน่ายด้ วยประการใดซึง่ ้ ้ ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น กลุ่มเกษตรกรหรื อสหกรณ์ ที่ได้ รับ ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชพื ้นเมืองเฉพาะถิ่น ทังนี หนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนพันธุ์พืชพื ้นเมืองเฉพาะถิ่นเป็ นผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชพื ้นเมืองเฉพาะถิ่นนันแทนชุ ้ มชน ดังกล่าว 4) กฎหมายเกี ่ยวกับทรัพยากรที ไ่ ม่มีชีวิต 4.1) พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 (รวมถึงเขตเหมืองแร่ในทะเล) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 9 อัฏฐ ในเขตควบคุมแร่ ให้ ผ้ อู ํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตควบคุมแร่ ประจํา เขตมีอํานาจหน้ าที่กําหนดมาตรการในเรื่ องดังต่อไปนี ้ (1) เรื อขุดหาแร่ (ก) กําหนดท้ องที่ที่ห้ามมิให้ ตอ่ หรื อสร้ างเรื อขุดหาแร่ หรื อประกอบหรื อสร้ างส่วนหนึ่งส่วนใดของเรื อขุด หาแร่ (ข) กําหนดท้ องที่ที่ห้ามมิให้ นําเรื อขุดหาแร่ เข้ าไป เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากผู้อํานวยการหรื อ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ที่ผ้ อู ํานวยการมอบหมาย (ค) กําหนดท้ องที่ที่ห้ามมิให้ ต่อเติม แก้ ไข หรื อซ่อมแซมเรื อขุดหาแร่ เว้ นแต่เป็ นเรื อที่ได้ ปฏิบตั ิตาม (ฉ) แล้ ว และเป็ นการต่อเติมแก้ ไข หรื อซ่อมแซมเล็กน้ อย ตามลักษณะและวิธีการที่ผ้ อู ํานวยการกําหนด (ง) กําหนดลักษณะ ชนิด และขนาดของเครื่ องมือ เครื่ องใช้ เครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์ สําหรับใช้ ในการทํา ้ ในเรื อขุดหาแร่ เหมืองหรื อแต่งแร่ ที่อนุญาตให้ ใช้ หรื อติดตังไว้


422

(จ) กําหนดสภาพและคุณภาพของแร่รวมทังปริ ้ มาณสูงสุดของแร่ที่จะเก็บหรื อมีไว้ ในครอบครองในเรื อ ขุดหาแร่ โดยจะกําหนดให้ แตกต่างกันตามขนาดและคุณภาพของเรื อและเงื่อนไขอื่นๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้ (ฉ) กําหนดให้ มีการจดแจ้ งประเภท ขนาด และสมรรถนะของเรื อขุดหาแร่ ต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ้ ้ ตลอดจนกําหนดให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองทําเครื่ องหมายเพื่อแสดงประเภทเรื อให้ เป็ นที่สงั เกตเห็นได้ จากภายนอก ทังนี ตามวิธีการและหลักเกณฑ์ที่ผ้ อู ํานวยการกําหนด (ช) กําหนดเส้ นทางการเดินเรื อ ท่าจอดเรื อ และท่าพักเรื อของเรื อขุดหาแร่ (2) เขตเหมืองแร่และเขตแต่งแร่ (ก) กําหนดประเภทและสภาพของเครื่ องมือ เครื่ องใช้ เครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์ สําหรับใช้ ในการทําเหมือง หรื อในการแต่งแร่ที่จะนํามาใช้ ในเขตเหมืองแร่หรื อในเขตแต่งแร่ (ข) กําหนดสภาพและคุณภาพของแร่รวมทังปริ ้ มาณสูงสุดของแร่ที่จะเก็บหรื อมีไว้ ในครอบครองในเขต เหมืองแร่หรื อในเขตแต่งแร่ (ค) กําหนดที่ตงหรื ั ้ อสภาพของอาคารหรื อที่ซงึ่ ใช้ ในการเก็บแร่ แต่งแร่ หรื อมีแร่ไว้ ในครอบครอง (3) มาตรการอื่นๆ (ก) กําหนดเงื่อนไขและวิธีการในการขนแร่หรื อเคลื่อนย้ ายแร่ทงทางบกและทางนํ ั้ ้า กําหนดเส้ นทางของ ยานพาหนะที่ใช้ ในการขนแร่ หรื อเคลื่อนย้ ายแร่ ท่าจอดและท่าพักยานพาหนะ ตลอดจนเวลาและระยะเวลาที่จะอนุญาต ให้ ทําการขนแร่หรื อเคลื่อนย้ ายแร่ (ข) กําหนดสภาพและคุณภาพของแร่รวมทังปริ ้ มาณสูงสุดของแร่ที่ผ้ ถู ืออาชญาบัตร ผู้ถือประทานบัตร ผู้รับใบอนุญาต หรื อผู้ได้ รับหนังสืออนุญาต จะเก็บหรื อมีไว้ ในครอบครองตลอดจนเงื่อนไขหรื อระยะเวลาที่บคุ คลดังกล่าว จะเก็บหรื อมีแร่ไว้ ในครอบครอง (ค) กําหนดให้ ผ้ ถู ืออาชญาบัตร ผู้ถือประทานบัตร ผู้รับใบอนุญาตหรื อผู้ได้ รับหนังสืออนุญาต ทําบัญชี และหรื อทํารายงานเกี่ยวกับปริ มาณแร่ ที่เก็บหรื อมีไว้ ในครอบครอง ทังนี ้ ้ ตามแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาที่ ผู้อํานวยการกําหนด (ง) กําหนดสถานที่ตงั ้ หรื อสภาพของอาคารหรื อสถานที่ ที่ใช้ ในการเก็บแร่ พักแร่ หรื อมีแร่ ไว้ ใน ครอบครอง ของผู้รับใบอนุญาตตังสถานที ้ ่เก็บแร่ ผู้รับใบอนุญาตซื ้อแร่หรื อผู้รับใบอนุญาตมีแร่ไว้ ในครอบครอง (จ) กําหนดให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองยานพาหนะที่ใช้ ในการขนแร่ หรื อเคลื่อนย้ ายแร่ ต้ องติด เครื่ องหมายที่ผ้ อู ํานวยการประกาศกําหนดไว้ ที่ยานพาหนะนัน้ เพื่อแสดงให้ บคุ คลภายนอกเห็นได้ ว่ายานพาหนะดังกล่าว กําลังใช้ ในการขนแร่หรื อเคลื่อนย้ ายแร่ ทังนี ้ ้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ผ้ อู ํานวยการกําหนด การใช้ อํานาจตามมาตรานี ้ จะกําหนดโดยมีเงื่อนไขอย่างใดๆ ก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร เมื่อมีการใช้ อํานาจตามมาตรานี ้ เงื่อนไขในการอนุญาตใดๆ ที่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ อนุญาตไว้ แล้ วตาม พระราชบัญ ญัติ นี ห้ รื อ ตามกฎหมายอื่ น ให้ ยัง คงใช้ บัง คับ ได้ เท่า ที่ ไ ม่ขัดหรื อ แย้ ง กับ ข้ อ กํ า หนดตามมาตรานี ้ เว้ น แต่ ผู้อํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตควบคุมแร่ประจําเขตจะกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น ข้ อกําหนดตามมาตรานี ้ ให้ ทําเป็ นประกาศและปิ ดไว้ ที่ศาลากลางจังหวัดที่ว่าการอําเภอ และสํานักงานเจ้ า พนั ก งานอุต สาหกรรมแร่ ป ระจํ า ท้ อ งที่ * ทุ ก แห่ ง ที่ อ ยู่ใ นเขตควบคุ ม แร่ ก่ อ นวัน ใช้ บัง คับ ไม่ น้ อยกว่ า สามวัน และถ้ า คณะกรรมการเขตควบคุมแร่ ป ระจํ าเขตเห็นสมควรจะให้ ประกาศในหนัง สือ พิมพ์ รายวัน ที่ มีจํ าหน่า ยในท้ อ งถิ่ น ตาม


423

ระยะเวลาที่เห็นสมควรก็ได้ เว้ นแต่เป็ นกรณีจําเป็ นเร่ งด่วน ผู้อํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตควบคุม แร่ประจําเขตจะให้ ข้อกําหนดมีผลใช้ บงั คับทันทีที่ประกาศก็ได้ มาตรา 9 นว ในเขตควบคุมแร่ ให้ ผ้ อู ํานวยการและพนักงานเจ้ าหน้ าที่ที่ผ้ อู ํานวยการมอบหมายมีอํานาจ ดังต่อไปนี ้ (1) เข้ าไปในสถานที่ใดๆ ในเรื อขุดหาแร่ หรื อในยานพาหนะที่อยู่ในเขตควบคุมแร่ หรื อที่จะเข้ ามาในเขต ควบคุ ม แร่ เ พื่ อ ตรวจค้ น ได้ ทุก เวลา เมื่ อ มี เ หตุอัน ควรสงสัย ว่ า มี ก ารกระทํ า ความผิ ด หรื อ จะกระทํ า ความผิ ด ตาม พระราชบัญญัตินี ้ (2) สัง่ เจ้ าของหรื อผู้ควบคุมเรื อขุดหาแร่หรื อยานพาหนะที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการกระทําความผิดหรื อจะ กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ หยุด จอด หรื อนําเรื อขุดหาแร่ หรื อยานพาหนะไปยังที่หนึ่งที่ใดเพื่อทําการตรวจ ค้ น หรื อให้ ออกไปจากเขตควบคุมแร่ (3) มีหนังสือเรี ยกบุคคลใดมาให้ ถ้อยคํา หรื อสัง่ เป็ นหนังสือให้ ผ้ ูประกอบธุรกิจที่มีเหตุอนั ควรเชื่อได้ ว่า เกี่ยวข้ องกับธุรกิจแร่ โดยมิชอบด้ วยกฎหมาย ส่งบัญชีเอกสารหรื อพยานหลักฐานอื่นเพื่อประโยชน์ในการดําเนินการตาม พระราชบัญญัตินี ้ (4) สัง่ เป็ นหนังสือให้ เจ้ าของหรื อผู้ควบคุมเรื อขุดหาแร่หรื อผู้ที่ฝ่าฝื นข้ อกําหนดตามมาตรา 9 อัฏฐ ปฏิบตั ิการตาม กฎหมายหรื อตามข้ อกําหนดภายในระยะเวลาที่ผ้ อู ํานวยการหรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ที่ผ้ อู ํานวยการมอบหมายกําหนด ถ้ าเจ้ าของหรื อผู้ควบคุมเรื อขุดหาแร่ หรื อผู้ฝ่าฝื นข้ อกําหนดตามมาตรา 9 อัฏฐ ไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ที่สงั่ การ ตาม (2) (3) หรื อ (4) โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรื อบุคคลดังกล่าวกระทําความผิดซํ ้าอีกภายในระยะเวลาที่ผ้ อู ํานวยการ กําหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตควบคุมแร่ ประจําเขต ให้ ผ้ อู ํานวยการหรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่สงั่ ยึดหรื อ อายัดเรื อขุดหาแร่ ส่วนใดส่วนหนึ่งของเรื อขุดหาแร่ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ เครื่ องจักร อุปกรณ์ หรื อแร่ ที่ใช้ หรื อเก็บไว้ หรื อมีไว้ ในครอบครองโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย หรื อสัง่ ยึด หรื ออายัดอาคาร สถานที่ หรื อยานพาหนะ อันเป็ นเครื่ องมือหรื อเป็ น สาเหตุแห่งการกระทําความผิดในทันที ทัง้ นี ้ เว้ นแต่ผ้ ูอํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตควบคุมแร่ ประจําเขตจะพิจารณาเห็นว่ามีเหตุผลอันสมควรที่จะสัง่ เป็ นอย่างอื่น มาตรา 11 ในการสํารวจแร่ หรื อทําเหมือง ถ้ าได้ พบโบราณวัตถุ ซากดึกดําบรรพ์ หรื อแร่ พิเศษอันมีคณ ุ ค่า ั้ ว เกี่ยวกับการศึกษาในทางธรณีวิทยา นอกจากจะต้ องปฏิบตั ิตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเกี่ยวกับการเก็บได้ ซงึ่ วัตถุนนแล้ ผู้ถืออาชญาบัตร ผู้ถือประทานบัตรชัว่ คราว หรื อผู้ถือประทานบัตรจะต้ องแจ้ งการพบนันต่ ้ อเจ้ าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจําท้ องที่*โดยพลัน ั้ นสิทธิของบุคคลใดหรื อไม่ เว้ นแต่จะ มาตรา 25 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดสํารวจแร่ ในที่ใด ไม่ว่าที่ซึ่งสํารวจแร่ นนจะเป็ ได้ รับอาชญาบัตรสํารวจแร่ อาชญาบัตรผูกขาดสํารวจแร่ หรื ออาชญาบัตรพิเศษ ้ นสิทธิของบุคคลใดหรื อไม่ เว้ นแต่จะได้ มาตรา 43 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดทําเหมืองในที่ใดไม่วา่ ที่ซงึ่ ทําเหมืองนันจะเป็ รับประทานบัตรชัว่ คราวหรื อประทานบัตร มาตรา 45 รัฐมนตรี มีอํานาจกําหนดเขตเหมืองแร่ ให้ แก่ผ้ ขู อประทานบัตรสําหรับทําเหมืองใต้ ดินได้ ไม่เกิน รายละหนึง่ หมื่นไร่ และสําหรับทําเหมืองในทะเลได้ ไม่เกินรายละห้ าหมื่นไร่ ในกรณีเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ รัฐมนตรี โดยอนุมตั ิของคณะรัฐมนตรี จะกําหนดเขตเหมืองแร่ให้ แก่ผ้ ขู อประทาน บัตรสําหรับทําเหมืองใต้ ดิน หรื อสําหรับทําเหมืองในทะเลเกินที่กําหนดในวรรคหนึง่ ก็ได้ การกําหนดเขตเหมืองแร่ตามวรรคหนึง่ และวรรคสองต้ องอยูภ่ ายใต้ เงื่อนไข ดังต่อไปนี ้


424

(1) ถ้ าการขอประทานบัตรนันเป็ ้ นผลจากการสํารวจแร่ตามอาชญาบัตรพิเศษ ซึง่ ผู้ขอประทานบัตรได้ สํารวจ ตามเงื่อนไขของอาชญาบัตรพิเศษดังกล่าวจนพบแหล่งแร่ ภายในพื ้นที่ที่สํารวจ รัฐมนตรี ต้องกําหนดเขตเหมืองแร่ ตาม แหล่งแร่ และจํานวนพื ้นที่ตามที่ผ้ ขู อระบุไว้ ในคําขอประทานบัตร ้ นกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้ รัฐมนตรี กําหนดเขตเหมืองแร่ ตามคําแนะนําของ (2) ถ้ าการขอประทานบัตรนันเป็ คณะกรรมการ การออกประทานบัต รตามวรรคหนึ่ ง และวรรคสอง รั ฐ มนตรี จ ะกํ า หนดเงื่ อ นไขใดๆ เป็ นพิ เ ศษตามที่ เห็นสมควรให้ ผ้ ถู ือประทานบัตรปฏิบตั ิก็ได้ มาตรา 128 การนําเข้ าหรื อการส่งออกนอกราชอาณาจักรซึง่ แร่ชนิดใดในสภาพอย่างใดปริ มาณเท่าใด จะให้ อยู่ใน ความควบคุมตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ กําหนดโดยกฎกระทรวง มาตรา 129 ห้ ามมิให้ ผ้ ูใดนํ าเข้ าหรื อ ส่งออกนอกราชอาณาจักรซึ่งแร่ ที่อยู่ในความควบคุมตาม พระราชบัญญัตินี ้ เว้ นแต่จะได้ รับใบอนุญาตนําแร่เข้ าในราชอาณาจักร หรื อใบอนุญาตส่งแร่ออกนอกราชอาณาจักร 4.2) พระราชบัญญัตปิ ิ โตรเลียม พ.ศ. 2514 (ควบคุมกิจการปิ โตรเลียมซึง่ อาจอยูใ่ นเขตไหล่ทวีป) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 14 ให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงานรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้ และให้ มีอํานาจแต่งตัง้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่และออกกฎกระทรวง (1) กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการสํารวจ ผลิต และอนุรักษ์ ปิโตรเลียม (2) กําหนดเขตปลอดภัยและเครื่ องหมายในบริ เวณที่มีสิ่งติดตังและกลอุ ้ ปกรณ์ ที่ใช้ ในการสํารวจและผลิต ปิ โตรเลียม (3) กําหนดวิธีการให้ ความคุ้มครองแก่คนงานและความปลอดภัยแก่บคุ คลภายนอก (4) กําหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ ายพระราชบัญญัตินี ้ (5) กําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้ กฎกระทรวงนัน้ เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ วให้ ใช้ บงั คับได้ มาตรา 23 ปิ โตรเลียมเป็ นของรัฐ ผู้ใดสํารวจหรื อผลิตปิ โตรเลียมในที่ใดไม่ว่าที่นนเป็ ั ้ นของตนเองหรื อของ บุคคลอื่น ต้ องได้ รับสัมปทาน การขอสัมปทานให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง แบบสัมปทานให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 73 ในการสํารวจหรื อผลิตปิ โตรเลียม ถ้ าพบโบราณวัตถุ ซากดึกดําบรรพ์ หรื อแร่ ที่มีคุณค่าทาง เศรษฐกิจ หรื อทางการศึกษาในด้ านธรณีวิทยา ผู้รับสัมปทาน ต้ องรายงานให้ กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ*ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วนั พบ มาตรา 74 ในการประกอบกิจการปิ โตรเลียมในทะเล ผู้รับสัมปทานต้ องไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบกระเทือนโดย ปราศจากเหตุอนั สมควรต่อการเดินเรื อ การเดินอากาศ การอนุรักษ์ ทรัพยากรมีชีวิตในทะเล หรื อการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ และต้ องไม่ทําการอันเป็ นการกีดขวางต่อการวางสายเคเบิลหรื อท่อใต้ นํ ้า หรื อก่อให้ เกิดความเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อท่อ ใต้ นํ ้า มาตรา 75 ในการประกอบกิจการปิ โตรเลียม ผู้รับสัมปทานต้ องป้องกันโดยมาตรการอันเหมาะสมตาม วิธีการปฏิบตั ิงานปิ โตรเลียมที่ดีเพื่อมิให้ ที่ใดโสโครกด้ วยนํ ้ามัน โคลนหรื อสิง่ อื่นใด


425

ในกรณีที่ที่ใดเกิดความโสโครกด้ วยนํ ้ามัน โคลน หรื อสิ่งอื่นใดเนื่องจากการประกอบกิจการปิ โตรเลียมโดย ผู้รับสัมปทาน ผู้รับสัมปทานต้ องบําบัดปั ดป้องความโสโครกนันโดยเร็ ้ วที่สดุ มาตรา 80 ในการประกอบกิจการปิ โตรเลียม ไม่ว่าสิทธิสํารวจหรื อผลิตปิ โตรเลียมตามสัมปทานจะสิ ้นอายุ แล้ วหรื อไม่ ผู้รับสัมปทานต้ องดําเนินการให้ ถูกต้ องตามหลักเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานปิ โตรเลียมที่ดี สําหรั บการ ประกอบกิจการปิ โตรเลียมและการอนุรักษ์ ทรัพยากรปิ โตรเลียม 4.3) พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 20 ภายใต้ บงั คับมาตรา 43 ทวิ บริ ษัทมีหน้ าที่เสียภาษี เงินได้ เป็ นรายรอบระยะเวลาบัญชี ในอัตราที่ กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ซึง่ ต้ องไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 แต่ไม่เกินร้ อยละ 60 ของกําไรสุทธิที่ได้ จากกิจการปิ โตรเลียม 4.4) พระราชบั ญ ญั ติก ารปิ โตรเลี ย มแห่ ง ประเทศไทย พ.ศ. 2521 (ปตท.มี อํ า นาจสํ า รวจและผลิ ต ปิ โตรเลียม รวมทังจั ้ ดหา ขนส่ง แก้ ไขมลภาวะจากปิ โตรเลียมในกิจกรรม ปตท.ซึง่ อาจสํารวจฯ ในเขตไหล่ทวีปได้ ) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 7 ให้ ปตท.มีอํานาจกระทํากิจการต่างๆ ภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา 5 และอํานาจเช่น ว่านี ้ให้ รวมถึง ฯลฯ ฯลฯ (2) จัดหา สํารวจ พัฒนา และผลิตปิ โตรเลียม ฯลฯ ฯลฯ (4) ดําเนินการขนส่งปิ โตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมภายในประเทศและระหว่างประเทศ ฯลฯ ฯลฯ (7) กําหนดมาตรการป้องกันแก้ ไขสภาวะสิง่ แวดล้ อมเป็ นพิษเนื่องจากปิ โตรเลียมภายในกิจกรรมของ ปตท. ฯลฯ ฯลฯ มาตรา 33 ในเขตระบบการขนส่งปิ โตรเลียมทางท่อ ไม่ว่าบนบกหรื อในนํ า้ หรื อใต้ พื ้นท้ องนํ า้ หรื อพื ้นท้ อง ้ ่งใด เจาะหรื อขุดพื ้นดิน ถมดิน ทิ ้งสิ่งของ หรื อ ทะเล ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดปลูกสร้ างอาคาร โรงเรื อน ต้ นไม้ หรื อสิ่งอื่นใด ติดตังสิ กระทําด้ วยประการใดๆ ที่อาจทําให้ เกิดอันตรายหรื อเป็ นอุปสรรคแก่ระบบการขนส่งปิ โตรเลียมทางท่อ เว้ นแต่จะได้ รับ อนุญาตเป็ นหนังสือจาก ปตท. และในการอนุญาตนัน้ ปตท.จะกําหนดเงื่อนไขอย่างใดด้ วยก็ได้ ถ้ ามีการฝ่ าฝื นให้ ปตท.มี ั ้ ปฏิบตั ิ อํานาจสัง่ ให้ ผ้ ฝู ่ าฝื นรื อ้ ถอน ขนย้ าย ตัดฟั น ทําลาย หรื อกระทําการใดๆ ได้ ภายในระยะเวลาที่กําหนด ถ้ าผู้นนไม่ ตามหรื อในกรณีที่หาตัวผู้ฝ่าฝื นไม่ได้ เมื่อได้ ประกาศคําสัง่ ไว้ ณ บริเวณนัน้ และ ณ ที่ทําการเขตหรื ออําเภอ ที่ทําการกํานัน และที่ทําการผู้ใหญ่บ้านแห่งท้ องที่นนเป็ ั ้ นเวลาอันสมควรแล้ ว และไม่มีการปฏิบตั ิตามคําสัง่ นัน้ ให้ ปตท.มีอํานาจรื อ้ ถอน ขน ย้ าย ตัดฟั น ทําลาย หรื อกระทําการใดๆ ได้ ตามควรแก่กรณี โดยผู้ใดจะเรี ยกร้ องค่าเสียหายมิได้ และผู้ฝ่าฝื นต้ องเป็ นผู้เสีย ้ วย ค่าใช้ จ่ายในการนันด้ มาตรา 34 ในกรณีมีการประกาศกําหนดเขตระบบการขนส่งปิ โตรเลียมทางท่อของ ปตท.ในแม่นํ ้า ลําคลอง ทะเล หรื อทางสัญจรทางนํ ้าแห่งใด ไม่วา่ จะอยูใ่ นราชอาณาจักรหรื อไม่ ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดทอดสมอเรื อหรื อเกาสมอ หรื อลากแห อวน หรื อเครื่ องจับสัตว์นํ ้าอย่างใดๆ ในเขตเหล่านัน้ เมื่อใดเรื อใดแล่นข้ ามเขตระบบการขนส่งปิ โตรเลียมทางท่อ ถ้ ามิได้ ชกั สมอขึ ้นพ้ นจากนํ ้าจนแลเห็นได้ ให้ ถือ ว่าการกระทํานันมี ้ ผลเป็ นการเกาสมอแล้ ว


426

มาตรา 38 เมื่อ ปตท.มีความจําเป็ นที่จะต้ องได้ มาซึ่งอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อให้ ได้ มาซึ่งแหล่งปิ โตรเลียม เพื่อ จัดสร้ างโรงกลัน่ ปิ โตรเลียม โรงแยกก๊ าซ ท่าเรื อ คลังปิ โตรเลียม หรื อเพื่อใช้ ในการวางระบบการขนส่งปิ โตรเลียมทางท่อ หรื อสิ่งปลูกสร้ างอื่นอันจําเป็ นและเกี่ยวเนื่องกับกิจการดังกล่าว ให้ ดําเนินการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้ วยการเวนคืน อสังหาริ มทรัพย์ 4.5) พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 5 ให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพลังงาน*มีอํานาจประกาศ (1) กําหนดหรื อยกเลิกเขตที่ตงและเขตปลอดภั ั้ ยของสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล (2) กํ าหนดหรื อยกเลิกเขตท่อรวมทัง้ อุปกรณ์ ของท่อที่ ใช้ ในกระบวนการผลิตปิ โตรเลียมซึ่งเชื่อมโยงกัน ระหว่างสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลที่อยูน่ อกเขตปลอดภัย การประกาศตามวรรคหนึง่ ให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 6 สถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลและเขตปลอดภัยให้ ถือว่าอยูใ่ นราชอาณาจักร การกระทําความผิดตามกฎหมายไทยที่เกิดขึ ้นบน เหนือ หรื อใต้ สถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล หรื อในเขต ปลอดภัย ให้ ถือว่าได้ กระทําในราชอาณาจักร ้ ให้ พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอํานาจสอบสวนคดีอาญาทังปวงตาม วรรคสอง พนักงานสอบสวนท้ องที่ใดเป็ นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในการสอบสวนให้ เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงมหาดไทยประกาศกําหนด มาตรา 7 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจสืบสวนสอบสวนเบื ้องต้ น เพื่อป้องกันและระงับการกระทําที่เป็ นการ ก่อวินาศกรรมสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเล มาตรา 8 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามมาตรา 7 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจสืบสวนสอบสวน เบื อ้ งต้ น เกี่ ยวกับ การกระทํ า ที่ เป็ นความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญาที่ ไ ด้ ก ระทํ า บน เหนื อ หรื อ ใต้ สถานที่ ผลิต ปิ โตรเลียมในทะเล หรื อในเขตปลอดภัยตามความผิดดังต่อไปนี ้ ั ญัติไว้ ในมาตรา 136 ถึงมาตรา 146 (1) ความผิดเกี่ยวกับการปกครองตามที่บญ (2) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชนตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 209 ถึงมาตรา 216 (3) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชนตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 217 ถึงมาตรา 226 และมาตรา 231 (4) ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกายตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 288 ถึงมาตรา 290 และมาตรา 295 ถึง มาตรา 298 (5) ความผิดเกี่ยวกับเสรี ภาพและชื่อเสียงตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 313 ถึงมาตรา 315 และมาตรา 322 ถึงมาตรา 324 (6) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 334 มาตรา 335 มาตรา 336 ถึงมาตรา 339 มาตรา 340 มาตรา 340 ตรี มาตรา 357 ถึงมาตรา 360 มาตรา 362 มาตรา 364 และมาตรา 365 มาตรา 9 การเดินเรื อในเขตปลอดภัยต้ องได้ รับอนุญาตเป็ นหนังสือจากอธิ บดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ* หรื อผู้ซึ่ง อธิบดีกรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ*มอบหมาย เว้ นแต่มีความจําเป็ นเพราะเหตุสดุ วิสยั หรื อประสบภยันตรายร้ ายแรง ในการอนุญาตนัน้ จะกําหนดเงื่อนไขอย่างใดด้ วยก็ได้


427

ความในวรรคหนึ่งมิให้ ใช้ บงั คับแก่เรื อของทางราชการ เรื อของผู้รับสัมปทานปิ โตรเลียมในเขตท้ องที่นนั ้ และเรื อของผู้ รับจ้ างซึง่ ได้ ทําสัญญาจ้ างเหมากับผู้รับสัมปทานปิ โตรเลียมในเขตท้ องที่นนั ้ มาตรา 10 ในกรณีที่มีการประกาศกําหนดเขตท่อรวมทังอุ ้ ปกรณ์ ของท่อที่ใช้ ในกระบวนการผลิตปิ โตรเลียม ตามมาตรา 5 (2) หรื อมีการประกาศกําหนดเขตระบบการขนส่งปิ โตรเลียมทางท่อตามกฎหมายว่าด้ วยการปิ โตรเลียมแห่ง ประเทศไทย ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดทอดสมอเรื อหรื อเกาสมอหรื อกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งอันอาจเป็ นอันตรายต่อท่อที่ใช้ ใน กระบวนการผลิตปิ โตรเลียม หรื อท่อที่ใช้ ในระบบการขนส่งปิ โตรเลียมจากสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลมาถึงชายฝั่ งหรื อ ท่อที่ใช้ หรื อเป็ นส่วนหนึง่ ในกระบวนการผลิตปิ โตรเลียมซึง่ เชื่อมโยงกันระหว่างสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลที่อยู่นอกเขต ปลอดภัยรวมทังอุ ้ ปกรณ์ของท่อดังกล่าว ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดเดินเรื อข้ ามท่อหรื ออุปกรณ์ของท่อตามวรรคหนึง่ โดยมิได้ ชกั สมอขึ ้นพ้ นจากนํ ้าจนแลเห็นได้ การกระทําผิดตามมาตรานี ้ให้ ถือว่าได้ กระทําในราชอาณาจักร ในการสอบสวนการกระทําความผิดตามมาตรานี ้ ให้ นําความในมาตรา 6 วรรคสาม มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม มาตรา 12 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจสัง่ หรื อบังคับให้ เรื อหรื ออากาศยานที่ใช้ หรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะใช้ หรื อได้ ใช้ ในการก่อวินาศกรรมสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลหรื อเรื อหรื ออากาศยานที่ได้ ใช้ ในการกระทําความผิดหรื อมี เหตุอนั ควรสงสัยว่าได้ ใช้ ในการกระทําความผิดตามมาตรา 8 หรื อเรื อที่ฝ่าฝื นหรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าได้ ฝ่าฝื นมาตรา 9 หรื อมาตรา 10 หยุดหรื อไปยังที่แห่งใดแห่งหนึง่ หรื อลงยังสนามบิน หรื อที่ขึ ้นลงชัว่ คราวแห่งใดแห่งหนึง่ ในกรณีจําเป็ นเพื่อดําเนินการตามวรรคหนึง่ ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจใช้ อาวุธประจําเรื อหรื ออากาศยาน บังคับได้ มาตรา 13 เมื่อเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อสัง่ หรื อบังคับให้ เรื อหรื ออากาศยานหยุดหรื อไปยังที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรื อ ลงยังสนามบินหรื อที่ขึ ้นลงชัว่ คราวแห่งใดแห่งหนึ่งตามมาตรา 12 แล้ ว ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจปฏิบตั ิต่อเรื อหรื อ อากาศยาน ผู้ควบคุมเรื อหรื ออากาศยาน และบุคคลในเรื อหรื ออากาศยานดังต่อไปนี ้ (1) ตรวจและค้ นเรื อหรื ออากาศยาน (2) สอบสวนผู้ควบคุมเรื อหรื ออากาศยานและบุคคลในเรื อหรื ออากาศยาน (3) ถ้ าการตรวจค้ นเรื อหรื ออากาศยานหรื อการสอบสวนมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีการก่อวินาศกรรม หรื อได้ มีการก่อวินาศกรรม หรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการกระทําความผิดตามมาตรา 8 หรื อฝ่ าฝื นมาตรา 9 หรื อมาตรา 10 ให้ ้ เพื่อสอบสวนตลอดจนยึดเรื อหรื ออากาศยาน และ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจควบคุมผู้ต้องหาว่ากระทําความผิดนันไว้ สิง่ ของที่จะใช้ หรื อได้ ใช้ ในการกระทําความผิด ห้ ามมิให้ ควบคุมเรื อหรื ออากาศยาน ผู้ควบคุมเรื อหรื ออากาศยานหรื อบุคคลในเรื อหรื ออากาศยาน เกินความ จําเป็ นตามพฤติการณ์แห่งคดี ้ ใช้ มาตรา 14 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจไล่ติดตามเรื อต่างประเทศได้ เมื่อมีเหตุอนั ควรเชื่อได้ ว่าเรื อนันได้ ในการก่อวินาศกรรมสถานที่ผลิตปิ โตรเลียมในทะเลหรื อได้ ใช้ ในการกระทําความผิดตามมาตรา 8 หรื อฝ่ าฝื นมาตรา 9 หรื อมาตรา 10 เรื อ รบหรื อ อากาศยานทหาร หรื อ เรื อ หรื อ อากาศยานที่ ท างราชการนํ า มาใช้ ใ นราชการของรั ฐ บาลที่ มี เครื่ องหมายชัดแจ้ งและได้ รับมอบหมายจากผู้บญ ั ชาการทหารเรื อหรื อผู้ซึ่งผู้บญ ั ชาการทหารเรื อมอบหมายเพื่อการไล่ ติดตามเท่านันที ้ ่จะใช้ สทิ ธิไล่ติดตามได้ การมอบหมายตามวรรคสองจะทําเป็ นหนังสือหรื อด้ วยวาจา หรื อจะกําหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้


428

มาตรา 15 การไล่ติดตามโดยเรื อรบหรื อเรื อตามมาตรา 14 วรรคสอง ต้ องเป็ นไปเพื่อบังคับให้ เรื อนันหยุ ้ ด หรื อไปยังที่แห่งใดแห่งหนึง่ ทังนี ้ ้ ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี ้ (1) การไล่ติดตามจะเริ่มต้ นได้ ในเมื่อเรื อต่างประเทศ หรื อเรื อเล็กลําใดลําหนึ่งของเรื อต่างประเทศ หรื อเรื ออื่น ที่ทํางานร่วมกับเรื อต่างประเทศโดยใช้ เรื อต่างประเทศเป็ นเรื อพี่เลี ้ยงอยูภ่ ายในเขตปลอดภัย (2) เรื อที่ไล่ติดตามได้ ให้ สญ ั ญาณหยุดที่เห็นได้ ด้วยตา หรื อฟั งได้ ด้วยหูในระยะทางที่เรื อต่างประเทศจะ สามารถเห็นหรื อได้ ยินสัญญาณได้ แต่ไม่จําเป็ นว่าในขณะที่มีคําสัง่ ให้ หยุดเรื อที่ออกคําสัง่ จะต้ องอยู่ภายในเขตทางทะเล ของราชอาณาจักร (3) การไล่ติดตามสามารถกระทําต่อไปได้ ถึงภายนอกเขตทางทะเลของราชอาณาจักร ถ้ าการไล่ติดตามนัน้ มิได้ ขาดตอนลง แต่จะต้ องสิ ้นสุดลงทันทีที่เรื อที่ถกู ไล่ติดตามนันเข้ ้ าไปในทะเลอาณาเขตของประเทศอื่น มาตรา 17 ในกรณีจําเป็ นเพื่อประโยชน์ในการสอบสวน เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อหรื อพนักงานสอบสวนมีอํานาจ ควบคุมเรื อที่ถกู ควบคุมผ่านเขตเศรษฐกิจจําเพาะไม่ว่าจะเป็ นของประเทศใด หรื อทะเลหลวงไปยังที่ใดที่หนึ่งได้ โดยไม่ ก่อให้ เกิดสิทธิร้องขอให้ ปล่อยเรื อที่ถกู ควบคุมนัน้ 5) กฎหมายเกี ย่ วกับสิ ทธิ ในเขตต่อเนือ่ ง 5.1) พระราชบัญญัตศิ ุลกากร พุทธศักราช 2469 (ป้องกันการเลี่ยงภาษี ศลุ กากรในเขตต่อเนื่อง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ ้ มาตรา 15 พนักงานศุลกากรอาจขึ ้นไปบนเรื อลําใดๆ ก็ได้ ภายในพระราชอาณาเขต และอาจอยู่ในเรื อนันได้ ตลอดเวลาที่ทําการบรรทุกสินค้ าลงหรื อขนสินค้ าขึน้ หรื อจนกว่าเรื อนันออกไป ้ ไม่ว่าในที่ส่วนใดๆ ของเรื อ และไม่ว่าใน เวลาใดๆ ให้ พนักงานศุลกากรเข้ าถึงและตรวจค้ นได้ และอาจตรวจดูสมุดหนังสือหรื อบันทึกเรื่ องราว หรื อเอกสารไม่ว่า อย่างใดๆ ที่เกี่ยวกับสินค้ าในเรื อได้ อาจสัง่ ให้ เปิ ดห้ องส่วนใดๆ ของเรื อ หรื อให้ เปิ ดหีบห่อ หรื อที่บรรจุของอย่างใดๆ ได้ หรื อถ้ าจําเป็ นจะให้ หกั เปิ ดสิ่งนันๆ ้ ก็ได้ อาจประจําเครื่ องหมายหรื อประทับตรา หรื อลัน่ กุญแจ หรื อผูกมัดของใดๆ ที่อยู่ใน เรื อ หรื อที่ใด หรื อหีบห่อใดๆ ก็ได้ และถ้ าเครื่ องหมาย ดวงตรา กุญแจ หรื อเครื่ องผูกมัดนันได้ ้ มีผ้ ถู อนไป หรื อเปิ ดออก หรื อ หักต่อย หรื อเปลี่ยนแปลงไปโดยจงใจไซร้ ท่านว่านายเรื อมีต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าหมื่นบาท มาตรา 15 ทวิ ผู้ใดขึ ้นไปบนเรื อเดินต่างประเทศขณะที่อยู่ในราชอาณาจักรโดยมิได้ รับอนุญาตจากพนักงาน เจ้ าหน้ าที่ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าหมื่นบาท ความในวรรคหนึง่ มิให้ ใช้ บงั คับแก่นายเรื อ ลูกเรื อ ผู้โดยสารและผู้มีหน้ าที่ต้องปฏิบตั ิบนเรื อนัน้ มาตรา 18 พนักงานศุลกากรอาจตรวจค้ นบุคคลใดๆ ในเรื อกําปั่ นลําใดๆ ในเขตท่า หรื อบุคคลที่ขึ ้นจากเรื อ กําปั่ นลําใดๆ ก็ได้ แต่ต้องมีเหตุอนั สมควรสงสัยว่าบุคคลนันๆ ้ มีหรื อพาไปกับตนซึง่ ของอันยังมิได้ เสียค่าภาษี หรื อของต้ อง จํากัด หรื อของต้ องห้ าม จึงให้ ตรวจค้ นได้ อนึ่ง ก่อนที่จะตรวจค้ นบุคคลผู้ใด บุคคลผู้นนอาจร้ ั้ องขอให้ นําตนอย่างเร็ วตาม ควรแก่เหตุไปยังพนักงานศุลกากรผู้ใหญ่มีตําแหน่งไม่ตํ่ากว่าสารวัตรหรื อนายด่าน นายอําเภอ หรื อปลัดอําเภอผู้เป็ นหัวหน้ า ประจํากิ่งอําเภอ หรื อหัวหน้ าสถานีตํารวจที่ใกล้ ที่สดุ ส่วนพนักงานที่มีผ้ นู ําบุคคลเช่นนี ้มาส่งนันจะต้ ้ องวินิจฉัยว่ามีเหตุอนั ้ นหญิงก็ให้ ใช้ หญิงเป็ นผู้ตรวจค้ น ควรสงสัยเพียงพอ หรื อไม่ และจะควรให้ ตรวจค้ นหรื อไม่ถ้าบุคคลนันเป็ ถ้ าพนักงานผู้ใดตรวจค้ นบุคคลใดโดยไม่มีเหตุอนั สมควร ท่านว่าพนักงานผู้นนมี ั ้ ความผิดต้ องระวางโทษปรับ ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท


429

มาตรา 23 ถ้ าเรื อลําใดที่จะพึงต้ องถูกยึดหรื อตรวจตามพระราชบัญญัตินี ้ ไม่หยุดลอยลําเมื่อได้ สงั่ ให้ หยุด และมีเรื อในราชการของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว หรื อของกรมศุลกากร ชักธงหมายตําแหน่งธงหมายราชการไล่ ติดตามไป เมื่อได้ ให้ ยิงปื นเป็ นอาณัติสญ ั ญานัดหนึ่งก่อนแล้ ว ท่านว่าพนักงานควบคุมเรื อที่ไล่ติดตามนัน้ มีอํานาจตาม กฎหมายที่จะยิงเรื อซึง่ กําลังหนีนนได้ ั้ มาตรา 24 สิ่งใดๆ อันจะพึงต้ องริ บตามพระราชบัญญัตินี ้ พนักงานศุลกากร พนักงานฝ่ ายปกครอง หรื อตํารวจ มี อํานาจยึดในเวลาใดๆ และ ณ ที่ใดๆ ก็ได้ สิ่งที่ยึดไว้ นนั ้ ถ้ าเจ้ าของหรื อผู้มีสิทธิไม่มายื่นคําร้ องเรี ยกเอาภายในกําหนด หกสิบวัน สําหรับยานพาหนะที่ ใช้ ในการกระทําผิด หรื อสามสิบวันสําหรับสิ่งอื่น นับแต่วนั ที่ยึด ให้ ถือว่าเป็ นสิ่งที่ไม่มีเจ้ าของ และ ให้ ตกเป็ นของแผ่นดิน โดยมิพกั ต้ องคํานึงว่าจะมีการฟ้องคดีอาญานันหรื ้ อไม่ มาตรา 29 ถ้ าปรากฏว่าเรื อลําใดมีที่ปิดบังหรื อที่พราง หรื อเครื่ องกลอุบายอย่างใดๆ ทําขึ ้นไว้ เพื่อลักลอบหนี ้ ความผิดต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าแสนบาท แต่นายเรื อไม่พงึ ต้ องรับโทษ นอกจากจะมี ศุลกากร ท่านว่า นายเรื อ นันมี เหตุอนั ควรเชื่อว่าได้ ละเลยไม่ระวังให้ เข้ มงวดตามควรที่จะป้องกัน หรื อว่าได้ เกี่ยวข้ อง หรื อรู้ เห็นด้ วยในการสร้ าง หรื อทํา หรื อวาง หรื อใช้ ที่ หรื อเครื่ องกลอุบายนันๆ ้ อนึ่ง ที่หรื อเครื่ องกลอุบายนี ้ให้ ทําลายเสีย หรื อทําเสียให้ เป็ นของไร้ โทษทุจริ ตจน เป็ นที่พอใจของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ มาตรา 30 ถ้ าปรากฏว่าเรื อลําใดมีของเป็ นหีบห่อซึ่งมีขนาด หรื อลักษณะขัดต่อบทพระราชบัญญัตินี ้ หรื อบท กฎหมาย หรื อประกาศอื่น ท่านว่านายเรื อมีความผิดต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าแสนบาท และของนันให้ ้ ริบเสีย มาตรา 32 เรื อชนิดใดๆ อันมีระวางบรรทุกไม่เกินสองร้ อยห้ าสิบตัน รถ เกวียน ยานพาหนะ หีบห่อ หรื อ ภาชนะใดๆ หากได้ ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ ในการย้ าย ซ่อนเร้ น หรื อขนของที่มิได้ เสียค่าภาษี หรื อที่ต้องจํากัดหรื อต้ องห้ าม ให้ ริบ เสียสิ ้น โดยไม่พกั ต้ องคํานึงว่าบุคคลผู้ใดจะต้ องรับโทษหรื อไม่ และถ้ ามีของอื่นรวมอยู่ในหีบห่อหรื อภาชนะอื่น หรื อในเรื อ รถ เกวียน หรื อยานพาหนะอันปรากฏว่ามีของที่ยงั มิได้ เสียค่าภาษี หรื อที่ต้องจํากัดหรื อต้ องห้ าม ก็ให้ ริบของนันๆ ้ เสียดุจ กัน ถ้ าเรื อที่ได้ ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ ในการกระทําตามวรรคหนึ่งมีระวางบรรทุกเกินสองร้ อยห้ าสิบตันให้ ศาลมีอํานาจ สัง่ ริ บเรื อนันได้ ้ ตามควรแก่การกระทําความผิด มาตรา 37 ทวิ เรื อทุกลําที่เข้ ามาหรื อหยุดลอยลําหรื อจอดเรื อในเขตต่อ เนื่ องต้ องตอบคํ าถามใดๆ ของ พนักงานศุลกากรเกี่ยวแก่เรื อ คนประจําเรื อ คนโดยสาร การเดินทาง ลักษณะของสินค้ าในเรื อ และสิ่งที่นํามาในเรื อตามที่ พนักงานศุลกากรถาม และต้ องปฏิบตั ิตามคําสัง่ อันควรของพนักงานศุลกากร ถ้ านายเรื อไม่ตอบคําถามหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม มีความผิดต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท มาตรา 37 ตรี ห้ ามมิใ ห้ เรื อ ที่อ ยู่ใ นเขตต่อ เนื่ องขนถ่า ยสิ่งของใดๆ โดยไม่มีเ หตุอันสมควรหรื อ ไม่ไ ด้ รับ อนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ถ้ านายเรื อหรื อบุคคลใดฝ่ าฝื นมีความผิดต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับเป็ น เงินสองเท่าของราคาของหรื อปรับเป็ นเงินห้ าหมื่นบาทแล้ วแต่จํานวนใดจะมากกว่า หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ ของใดๆ อันเนื่องด้ วยความผิดตามมาตรานี ้ให้ ริบเสียสิ ้นโดยไม่พกั ต้ องคํานึงถึงว่าบุคคลผู้ใดจะต้ องรับโทษ หรื อไม่ มาตรา 37 จัตวา ให้ นําความในมาตรา 15 มาตรา 15 ทวิ มาตรา 18 มาตรา 20 มาตรา 23 มาตรา 24 มาตรา 25 มาตรา 26 มาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 32 มาตรา 32 ทวิ และมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติศลุ กากร พระ


430

พุทธศักราช 2469 มาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติศลุ กากร (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2482 มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติศลุ กากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2497 และบทกําหนดโทษอันเกี่ยวกับบทบัญญัติดงั กล่าว มาใช้ บงั คับในเขตต่อเนื่องโดยอนุโลม มาตรา 37 เบญจ ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการลักลอบหรื อจะลักลอบหนีศลุ กากรหรื อมีการกระทํา ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ในเขตต่อเนื่อง ให้ พนักงานศุลกากรมีอํานาจสัง่ หรื อบังคับให้ นายเรื อหยุดหรื อนําเรื อไปยังที่ แห่งหนึง่ แห่งใด เพื่อการตรวจค้ นจับกุมหรื อดําเนินคดีได้ เมื่อพนักงานศุลกากรได้ จบั ผู้ต้องหาและส่งให้ พนักงานสอบสวนแห่งท้ องที่ใดแล้ ว ให้ พนักงานสอบสวนแห่ง ท้ องที่นนมี ั ้ อํานาจสอบสวนในระหว่างรอคําสัง่ แต่งตังพนั ้ กงานสอบสวน ผู้รับผิดชอบจากอัยการสูงสุด หรื อผู้รักษาการแทน ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจ ารณาความอาญา ทัง้ นี ้ มิ ใ ห้ นับ เวลาเดิ น ทางตามปกติ ที่ นํ า ตัว ผู้ต้ อ งหาส่ง ให้ พ นักงาน สอบสวนดังกล่าว เป็ นเวลาควบคุมผู้ต้องหาของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 37 ฉ ในหมวดนี ้ “พื ้นที่พฒ ั นาร่วม” หมายความว่า พื ้นที่พฒ ั นาร่วมตามกฎหมายว่าด้ วยองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ้ “ของที่ได้ รับความเห็นชอบทางศุลกากร” หมายความว่า ของที่ได้ รับยกเว้ นอากรศุลกากร ทังตามกฎหมาย ของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียที่เกี่ยวกับศุลกากร มาตรา 37 สัตต การจัดระเบียบการเคลื่อนย้ ายของที่นําเข้ ามาในหรื อส่งออกไปจากพืน้ ที่พัฒนาร่ วมให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี และให้ ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา 37 อัฏฐ ภายใต้ บงั คับมาตรา 37 นว มาตรา 37 ทศ และมาตรา 37 เตรส (4) กรมศุลกากรยังคงใช้ อํานาจทางศุลกากรทังปวงที ้ ่เกี่ยวกับของที่นําเข้ ามาในหรื อส่งออกไปจากพื ้นที่พฒ ั นาร่วม มาตรา 37 นว การเคลื่ อ นย้ า ยของใดๆ เข้ า มาในหรื อ ส่ง ออกไปจากพื น้ ที่ พัฒ นาร่ ว ม ให้ เ ป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ดงั นี ้ (1) ของใดๆ ที่เข้ ามาในพื ้นที่พฒ ั นาร่วมจาก (ก) ประเทศอื่นใดนอกจากราชอาณาจักรไทยหรื อมาเลเซีย คลังสินค้ าใดๆ ที่ได้ รับใบอนุญาต หรื อ บริเวณทัณฑ์บนของราชอาณาจักรไทยหรื อมาเลเซีย ให้ ถือว่าเป็ นของนําเข้ า ้ ้ ของนันจะต้ ้ อง (ข) ราชอาณาจักรไทยหรื อมาเลเซีย ให้ ถือว่าเป็ นการเคลื่อนย้ ายภายในประเทศ ทังนี เป็ นของที่ได้ รับความเห็นชอบทางศุลกากร เครื่ องมือเครื่ องใช้ และวัสดุสงิ่ ของสําหรับใช้ ในพื ้นที่พฒ ั นาร่วม (2) ของที่ผลิตในพื ้นที่พฒ ั นาร่วมที่เข้ ามาในราชอาณาจักรไทย หรื อไปยังมาเลเซีย หรื อประเทศ ที่สาม ให้ ถือ ว่าเป็ นของส่งออก (3) ของที่เคลื่อนย้ ายเข้ าไปในพื ้นที่พฒ ั นาร่วมตาม (1) (ข) และต่อมาของนันเข้ ้ ามาในราชอาณาจักรไทยหรื อ มาเลเซีย ให้ อยูภ่ ายใต้ บงั คับของกฎหมายของราชอาณาจักรไทยหรื อมาเลเซีย แล้ วแต่กรณี มาตรา 37 ทศ ของใดๆ ที่จดั อยู่ในบัญชีของต้ องห้ ามตามกฎหมายของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย จะ ไม่ได้ รับอนุญาตให้ นําเข้ าไปในพื ้นที่พฒ ั นาร่วม เว้ นแต่ในกรณีที่จําเป็ นจะต้ องมีการยกเว้ นในส่วนที่เกี่ยวกับการนําเข้ าราย ใดรายหนึง่ โดยเฉพาะ การยกเว้ นนันจะกระทํ ้ าได้ ก็ด้วยความตกลงระหว่างหน่วยงานที่มีอํานาจของราชอาณาจักรไทยและ มาเลเซีย มาตรา 37 เอกาทศ การนําเข้ า การส่งออก และการเคลื่อนย้ ายภายในสําหรับของในพื ้นที่พฒ ั นาร่ วมให้ ใช้ แบบศุลกากรตามที่อธิบดีประกาศกําหนด


431

มาตรา 37 ทวาทศ พนักงานและพนักงานเจ้ าหน้ าที่ย่อมมีอํานาจในส่วนที่เกี่ยวกับการผ่านพิธีการศุลกากร รวมทังการเก็ ้ บภาษี อากรในเรื่ องที่บญ ั ญัติไว้ ในพระราชบัญญัตินี ้ และใช้ อํานาจนันได้ ้ ภายในบริเวณที่ทําการศุลกากรร่วม คํ า ว่า “ที่ ทํ า การศุล กากรร่ ว ม” หมายความว่า ที่ ทํ า การของคณะกรรมการศุล กากรร่ ว ม ที่ จัด ตัง้ ขึ น้ ใน สํานักงานใหญ่ ขององค์ กรร่ วม เพื่อวัตถุประสงค์ ของการประสานงานด้ านการดําเนิ นการตามกฎหมายศุลกากรและ สรรพสามิตในพื ้นที่พฒ ั นาร่วม คําว่า “คณะกรรมการศุลกากรร่วม” หมายความว่า คณะกรรมการที่ประกอบด้ วยเจ้ าหน้ าที่ของกรมศุลกากร ้ ้นเพื่อวัตถุประสงค์ของการประสานงานด้ าน และเจ้ าหน้ าที่ของหน่วยงานศุลกากรและสรรพสามิตของมาเลเซีย ที่จดั ตังขึ การดําเนินการตามกฎหมายศุลกากรและสรรพสามิตในพื ้นที่พฒ ั นาร่วม มาตรา 37 เตรส การกระทําที่ได้ ทําลงในพื ้นที่พฒ ั นาร่วม (1) หากการกระทํานัน้ เป็ นความผิดตามกฎหมายที่เกี่ยวกับศุลกากรของราชอาณาจักรไทยหรื อมาเลเซีย ประเทศใดประเทศหนึง่ ประเทศที่มีการอ้ างว่ากฎหมายของตนถูกละเมิดมีสทิ ธิเข้ าใช้ เขตอํานาจเหนือความผิดนัน้ (2) หากการกระทํานัน้ เป็ นความผิดตามกฎหมายที่เกี่ยวกับศุลกากรของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย ประเทศที่เจ้ าพนักงานของตนเป็ นผู้ทําการจับกุมหรื อยึดเป็ นคนแรกในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดดังกล่าวมีสิทธิ เข้ าใช้ เขต อํานาจเหนือความผิดนัน้ (3) หากการกระทํานัน้ เป็ นความผิดตามกฎหมายที่เกี่ยวกับศุลกากรของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย และเป็ นกรณี ที่มีการจับกุมหรื อยึดพร้ อมๆ กันโดยกรมศุลกากรและหน่วยงานศุลกากรและ สรรพสามิตของมาเลเซีย ใน ส่วนที่เกี่ยวกับความผิดดังกล่าว ประเทศที่มีสิทธิเข้ าใช้ เขตอํานาจเหนือความผิดนันให้ ้ กําหนดโดยการหารื อระหว่างกรม ศุลกากร และหน่วยงานศุลกากรและสรรพสามิตของมาเลเซีย (4) เงิ น ที่ ไ ด้ จากการขายของซึ่ ง เป็ นผลิ ต ผลของพื น้ ที่ พัฒ นาร่ ว มที่ ถู ก ริ บ ให้ แบ่ ง เท่ า ๆ กั น ระหว่ า ง ราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย มาตรา 37 จตุทศ เพื่ อประโยชน์ แห่งหมวดนี ้ คํ าว่า “พระราชอาณาจักรสยาม” “พระราชอาณาเขต” และ “ราชอาณาจักร” ในพระราชบัญญัตินี ้ให้ หมายความถึง “พื ้นที่พฒ ั นาร่วม” มาตรา 37 ปั ญจทศ ให้ ศาลภาษี อากรกลาง ศาลจังหวัดสงขลา หรื อศาลอาญา มีเขตอํานาจที่จะพิจารณา พิพากษาคดีศลุ กากรที่เกี่ยวกับพื ้นที่พฒ ั นาร่วม 5.2) พระราชบัญญัตโิ รคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 (ควบคุมโรคในเขตต่อเนื่อง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 21 ห้ ามมิให้ บคุ คลใดทําการค้ า ช้ าง ม้ า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรื อสัตว์ชนิดอื่นตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง หรื อทําการค้ าซากสัตว์ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เว้ นแต่จะได้ รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน มาตรา 27 สําหรับสัตว์ที่เจ้ าของนําไปมา หรื อขนส่งโดยยานพาหนะ หากปรากฏว่าเป็ นโรคระบาดหรื อเป็ น พาหะของโรคระบาด หรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็ นโรคระบาดหรื อเป็ นพาหะของโรคระบาด ให้ สตั ว์แพทย์มีอํานาจสัง่ กัก ั ้ ณ ที่ที่เห็นสมควรตามความจําเป็ นได้ สัตว์นนไว้ ค่าใช้ จ่ายในการนี ้ให้ เจ้ าของสัตว์เป็ นผู้ออก มาตรา 30 ให้ รัฐมนตรี มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา (1) กําหนดท่าเข้ าและท่าออก


432

(2) ห้ ามการนําเข้ า หรื อนําผ่านราชอาณาจักรซึ่งสัตว์ หรื อซากสัตว์จากท้ องที่ภายนอกราชอาณาจักร ใน กรณีปรากฏว่า ท้ องที่นนมี ั ้ หรื อสงสัยว่ามีโรคระบาด และ (3) วางระเบียบการยึด ทําลาย หรื อส่งกลับซึง่ สัตว์ หรื อซากสัตว์ โดยไม่มีคา่ ชดใช้ ในกรณี (ก) นําเข้ า หรื อ นําผ่านราชอาณาจักรโดยฝ่ าฝื นต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี ้ หรื อ (ข) นําเข้ า หรื อนําผ่านราชอาณาจักรโดยถูกต้ องตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี ้ เมื่อสัตว์นนเป็ ั ้ นโรค ั ้ นพาหะของโรคระบาดในขณะนัน้ หรื อภายหลังนําเข้ า หรื อนําผ่านราชอาณาจักร ระบาด หรื อสัตว์ หรื อซากสัตว์นนเป็ มาตรา 31 ห้ ามมิให้ บุคคลใดนําเข้ า นําออก หรื อนําผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรื อซากสัตว์ เว้ นแต่จะได้ รับ ใบอนุญาตจากอธิบดี หรื อผู้ซงึ่ อธิบดีมอบหมาย อธิบดี หรื อผู้ซงึ่ อธิบดีมอบหมาย จะกําหนดเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรไว้ ในใบอนุญาตก็ได้ การนําเข้ า นําออก หรื อนําผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรื อซากสัตว์ตามมาตรานีใ้ ห้ นําเข้ า นําออก หรื อนํา ผ่าน ท่าเข้ า หรื อท่าออก แล้ วแต่กรณี เว้ นแต่อธิบดี หรื อผู้ซงึ่ อธิบดีมอบหมาย จะสัง่ เป็ นอย่างอื่น มาตรา 32 ผู้ใดนําเข้ า นําออก หรื อนําผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์ หรื อซากสัตว์ต้องปฏิบตั ิการตามที่กําหนด ในกฎกระทรวง มาตรา 33 ให้ อธิบดีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา (1) แต่งตังสารวั ้ ตรเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้ (2) กําหนดด่านกักสัตว์และสถานีขนส่งสัตว์ (3) วางระเบียบการทําลายสัตว์ ที่เป็ นโรคระบาด หรื อการทําลายสัตว์ หรื อซากสัตว์ ที่เป็ นพาหะของโรค ระบาด และ (4) วางระเบียบการตรวจโรคและทําลายเชือ้ โรคจากสัตว์หรื อซากสัตว์ที่มีการนําเข้ า นําออก หรื อนําผ่าน ราชอาณาจักร หรื อเคลื่อนย้ ายภายในราชอาณาจักร 5.3) พระราชบัญญัตคิ นเข้ าเมือง พ.ศ. 2522 (ป้องกันการเข้ าเมืองในเขตต่อเนื่อง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 11 บุคคลซึ่งเดินทางเข้ ามาในหรื อออกไปนอกราชอาณาจักรจะต้ องเดินทางเข้ ามาหรื อออกไปตาม ช่องทาง ด่านตรวจคนเข้ าเมือง เขตท่า สถานี หรื อท้ องที่และตามกําหนดเวลา ทังนี ้ ้ ตามที่รัฐมนตรี จะได้ ประกาศในราช กิจจานุเบกษา มาตรา 12 ห้ ามมิให้ คนต่างด้ าวซึง่ มีลกั ษณะอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้เข้ ามาในราชอาณาจักร (1) ไม่มีหนังสือเดินทางหรื อเอกสารใช้ แทนหนังสือเดินทางอันถูกต้ องและยังสมบูรณ์ อยู่ หรื อมีแต่ไม่ได้ รับ การตรวจลงตราในหนังสือเดินทางหรื อเอกสารใช้ แทนหนังสือเดินทางเช่นว่านัน้ จากสถานทูตหรื อสถานกงสุลไทยใน ต่างประเทศหรื อจากกระทรวงการต่างประเทศ เว้ นแต่กรณีที่ไม่ต้องมีการตรวจลงตราสําหรับคนต่างด้ าวบางประเภทเป็ น กรณีพิเศษ การตรวจลงตราและการยกเว้ นการตรวจลงตราให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดใน กฎกระทรวง การตรวจลงตราตาม (1) ให้ เสียค่าธรรมเนียมตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (2) ไม่มีปัจจัยในการยังชีพตามควรแก่กรณีที่เข้ ามาในราชอาณาจักร


433

(3) เข้ ามาเพื่อมีอาชีพเป็ นกรรมกร หรื อเข้ ามาเพื่อรับจ้ างทํางานด้ วยกําลังกาย โดยไม่ได้ อาศัยวิชาความรู้ หรื อการฝึ กทางวิชาการ หรื อเข้ ามาเพื่อทํางานอื่นอันเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้ วยการทํางานของคนต่างด้ าว (4) วิกลจริตหรื อมีโรคอย่างใดอย่างหนึง่ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (5) ยังมิได้ ปลูกฝี ป้องกันไข้ ทรพิษ หรื อฉี ดวัคซีน หรื อปฏิบัติการอย่างอื่นตามวิชาการแพทย์เพื่อป้องกัน โรคติดต่อตามที่กฎหมายบัญญัติและไม่ยอมให้ แพทย์ตรวจคนเข้ าเมืองกระทําการเช่นว่านัน้ (6) เคยได้ รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาของศาลไทยหรื อคําสัง่ ที่ชอบด้ วยกฎหมายหรื อคําพิพากษาของศาล ต่างประเทศ เว้ นแต่เป็ นโทษสําหรับความผิดลหุโทษหรื อความผิดอันได้ กระทําโดยประมาท หรื อความผิดที่ยกเว้ นไว้ ใน กฎกระทรวง (7) มีพฤติการณ์เป็ นที่น่าเชื่อว่าเป็ นบุคคลที่เป็ นภัยต่อสังคม หรื อจะก่อเหตุร้ายให้ เกิดอันตรายต่อความสงบ สุขหรื อความปลอดภัยของประชาชน หรื อความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร หรื อบุคคลซึ่งเจ้ าหน้ าที่รัฐบาลต่างประเทศได้ ออกหมายจับ (8) มีพฤติการณ์เป็ นที่น่าเชื่อว่าเข้ ามาเพื่อการค้ าประเวณี การค้ าหญิงหรื อเด็กการค้ ายาเสพติดให้ โทษ การ ลักลอบหนีภาษี ศลุ กากรหรื อเพื่อประกอบกิจการอื่นที่ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน (9) ไม่มีเงินติดตัวหรื อไม่มีประกันตามที่รัฐมนตรี ประกาศตามมาตรา 14 (10) รัฐมนตรี ไม่อนุญาตให้ เข้ ามาในราชอาณาจักรตามมาตรา 16 (11) ถูกรัฐบาลไทยหรื อรัฐบาลต่างประเทศเนรเทศ หรื อถูกเพิกถอนสิทธิการอยู่อาศัยในราชอาณาจักรหรื อ ้ ้ เว้ น ในต่างประเทศมาแล้ ว หรื อถูกพนักงานเจ้ าหน้ าที่สง่ กลับออกไปนอกราชอาณาจักร โดยรัฐบาลไทยเสียค่าใช้ จ่าย ทังนี แต่รัฐมนตรี ได้ พิจารณายกเว้ นให้ เป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย การตรวจวินิจฉัยโรค ร่างกายหรื อจิต ตลอดจนการปฏิบตั ิการเพื่อป้องกันโรคติดต่อ ให้ ใช้ แพทย์ตรวจคนเข้ า เมือง มาตรา 15 คนต่างด้ าวซึง่ เข้ ามาในราชอาณาจักรตราบเท่าที่อยู่ในฐานะดังต่อไปนี ้ให้ ได้ รับการยกเว้ นไม่ต้อง ปฏิบัติการตามหน้ าที่ของคนต่างด้ าวตามที่กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี ้ นอกจากการปฏิบัติหรื อการต้ องห้ ามตาม มาตรา 11 มาตรา 12 (1) (4) และ (5) และมาตรา 18 วรรคสอง (1) บุคคลในคณะผู้แทนทางทูตซึ่งรัฐบาลต่างประเทศส่งเข้ ามาปฏิบตั ิหน้ าที่ในราชอาณาจักรหรื อซึ่งเดิน ทางผ่านราชอาณาจักร เพื่อไปปฏิบตั ิหน้ าที่ในประเทศอื่น (2) พนักงานฝ่ ายกงสุลและลูกจ้ างฝ่ ายกงสุลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศส่งเข้ ามาปฏิบตั ิหน้ าที่ในราชอาณาจักร หรื อซึง่ เดินทางผ่านราชอาณาจักรเพื่อไปปฏิบตั ิหน้ าที่ในประเทศอื่น (3) บุคคลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศโดยความเห็นชอบของรัฐบาลไทยให้ เข้ ามาปฏิบัติหน้ าที่หรื อภารกิจใน ราชอาณาจักร (4) บุคคลซึง่ ปฏิบตั ิหน้ าที่หรื อภารกิจในราชอาณาจักร เพื่อรัฐบาลไทยตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ ทําไว้ กับรัฐบาลต่างประเทศ (5) หัวหน้ าสํานักงานขององค์การหรื อทบวงการระหว่างประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองการดําเนินงานใน ประเทศไทย หรื อซึง่ รัฐบาลไทยได้ ให้ ความเห็นชอบด้ วยแล้ ว และรวมถึงพนักงานหรื อผู้เชี่ยวชาญหรื อบุคคลอื่นซึง่ องค์การ หรื อทบวงการเช่นว่านัน้ แต่งตังหรื ้ อมอบหมายให้ ปฏิบตั ิหน้ าที่หรื อภารกิจในราชอาณาจักร เพื่อองค์การหรื อทบวงการ ดังกล่าว หรื อเพื่อรัฐบาลไทยตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ ทําไว้ กบั องค์การหรื อทบวงการระหว่างประเทศนัน้


434

(6) คู่สมรส หรื อบุตร ซึ่งอยู่ในความอุปการะและเป็ นส่วนแห่งครัวเรื อนของบุคคลตาม (1) (2) (3) (4) หรื อ (5) (7) คนรับใช้ ส่วนตัวซึ่งเดินทางจากต่างประเทศเพื่อมาทํางานประจําเป็ นปกติ ณ ที่พกั อาศัยของบุคคลตาม (1) หรื อ บุค คลซึ่ง ได้ รั บ เอกสิท ธิ เ ท่า เที ย มกัน กับ บุค คลซึ่ง มี ตํ า แหน่ ง ทางทูต ตามความตกลงที่ รั ฐ บาลไทยได้ ทํ า ไว้ กับ รั ฐ บาล ต่างประเทศหรื อกับองค์การหรื อทบวงการระหว่างประเทศ ในกรณีตาม (1) (2) (6) หรื อ (7) ให้ เป็ นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศและหลักถ้ อยทีถ้อยปฏิบตั ิตอ่ กัน ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจสอบถามและขอดูหลักฐานเพื่อสอบสวนว่าบุคคลซึ่งเข้ ามาในราชอาณาจักร นันเป็ ้ นผู้ได้ รับยกเว้ นตามมาตรานี ้ มาตรา 18 พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจตรวจบุคคลซึง่ เดินทางเข้ ามาในหรื อออกไปนอกราชอาณาจักร เพื่อการนี ้ บุคคลซึ่งเดินทางเข้ ามาในหรื อออกไปนอกราชอาณาจักร ต้ องยื่นรายการตามแบบที่กําหนดใน กฎกระทรวง และผ่านการตรวจอนุญาตของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของด่านตรวจคนเข้ าเมืองประจําเส้ นทางนัน้ มาตรา 23 เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะ จะต้ องนําพาหนะเข้ ามาในหรื อออกไปนอกราชอาณาจักร ตามช่องทาง ด่านตรวจคนเข้ าเมือง เขตท่าสถานี หรื อท้ องที่และตามกําหนดเวลา ทังนี ้ ้ ตามที่รัฐมนตรี จะได้ ประกาศในราช กิจจานุเบกษา มาตรา 24 พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจตรวจพาหนะที่เข้ ามาในหรื อที่จะออกไปนอกราชอาณาจักร หรื อ พาหนะที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่ารับคนโดยสารเข้ ามาในหรื อออกไปนอกราชอาณาจักร เว้ นแต่ในกรณีที่พาหนะนันได้ ้ ใช้ ใน ราชการโดยเฉพาะของรัฐบาลไทยหรื อของรัฐบาลต่างประเทศที่ได้ รับอนุญาตจากรัฐบาลไทยแล้ ว มาตรา 30 ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่า มีการฝ่ าฝื นพระราชบัญญัตินี ้ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจสัง่ ให้ เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะ หยุดพาหนะหรื อนําพาหนะไปยังที่ใดที่หนึง่ ตามที่จําเป็ นเพื่อการตรวจ การสัง่ ตามวรรคหนึง่ จะกระทําโดยใช้ สญ ั ญาณหรื อวิธีอื่นใดอันเป็ นที่เข้ าใจกันก็ได้ 5.4 พระราชบัญญัตโิ รคติดต่ อ พ.ศ. 2523 (ควบคุมโรคในเขตต่อเนื่อง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 5 โรคใดจะเป็ นโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย หรื อโรคติดต่อต้ องแจ้ งความ ให้ รัฐมนตรี ประกาศชื่อ และอาการสําคัญของโรคไว้ ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 8 เมื่อปรากฏแก่เจ้ าพนักงานสาธารณสุขว่าได้ เกิด หรื อมีเหตุสงสัยว่าได้ เกิดโรคติดต่ออันตรายอย่าง ใดเกิดขึ ้นในบ้ าน โรงเรื อน สถานที่ หรื อพาหนะใด ให้ เจ้ าพนักงานสาธารณสุขมีอํานาจที่จะดําเนินการเอง ประกาศหรื อ ออกคําสัง่ เป็ นหนังสือให้ ผ้ ใู ดดําเนินการดังต่อไปนี ้ได้ (1) ให้ คนหรื อสัตว์ซึ่งป่ วยหรื อมีเหตุสงสัยว่าป่ วยเป็ นโรคติดต่ออันตราย เป็ นผู้สมั ผัสโรค หรื อเป็ นพาหะของ โรคติดต่ออันตราย มารั บการตรวจ การชันสูตรทางแพทย์ หรื อการรักษา หรื อคุมไว้ สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้ าพนักงาน สาธารณสุขกําหนด ในกรณีที่เจ้ าพนักงานสาธารณสุขเห็นว่า คนซึง่ ป่ วยหรื อมีเหตุสงสัยว่าป่ วยเป็ นโรคอยู่ในภาวะซึง่ อาจเป็ นเหตุ ให้ เชื ้อโรคแพร่หลายจนเป็ นอันตรายร้ ายแรงแก่ประชาชนได้ ให้ มีอํานาจแยกกักผู้นนไปรั ั ้ บการรักษาในสถานพยาบาลหรื อ ในที่เอกเทศ จนกว่าจะได้ รับการตรวจและการชันสูตรทางแพทย์วา่ พ้ นระยะติดต่อของโรคหรื อหมดเหตุสงสัย (2) กักกันหรื อคุมไว้ สงั เกตซึง่ คนหรื อสัตว์ซงึ่ เป็ นหรื อมีเหตุสงสัยว่าเป็ นผู้สมั ผัสโรคหรื อพาหะ (3) ให้ คนหรื อสัตว์รับการป้องกัน ตามวัน เวลา และสถานที่ซงึ่ เจ้ าพนักงานสาธารณสุขกําหนด


435

(4) ดําเนินการหรื อให้ เจ้ าของหรื อผู้อยูใ่ นบ้ าน โรงเรื อน สถานที่ หรื อพาหนะใดที่โรคติดต่ออันตรายได้ เกิดขึ ้น จัดการกําจัดความติดโรคหรื อทําลายสิ่งใดๆ หรื อสัตว์ที่มีเหตุเชื่อได้ ว่าเป็ นสิ่งติดโรค จนกว่าเจ้ าพนักงานสาธารณสุขจะ ้ ว เห็นว่าปราศจากความติดโรคและได้ ถอนคําสัง่ นันแล้ (5) ดําเนินการหรื อให้ เจ้ าของหรื อผู้อยูใ่ นบ้ าน โรงเรื อน สถานที่ หรื อพาหนะใดที่โรคติดต่ออันตรายได้ เกิดขึ ้น จัดการ แก้ ไข ปรับปรุงการสุขาภิบาล หรื อรื อ้ ถอนสิง่ ที่ไม่ถกู สุขลักษณะหรื อจัดให้ มีขึ ้นใหม่ให้ ถกู สุขลักษณะ (6) ให้ นําศพหรื อซากสัตว์ซึ่งปรากฏหรื อมีเหตุสงสัยว่าตายด้ วยโรคติดต่ออันตรายไปรับการตรวจ หรื อจัดการทาง แพทย์ หรื อจัดการแก่ศพหรื อซากสัตว์นนด้ ั ้ วยประการอื่นใด เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค (7) ดําเนินการหรื อกําหนดให้ ปฏิบตั ิการเพื่อป้องกัน กําจัด สัตว์หรื อแมลง หรื อตัวอ่อนของแมลงที่เป็ นเหตุให้ เกิด โรค (8) ดําเนินการหรื อกําหนดให้ ปฏิบัติในการ ทํา ประกอบ ปรุ ง จับต้ อง บรรจุ เก็บ สะสม จําหน่ายอาหาร นํ ้าแข็ง เครื่ องดื่มหรื อนํ ้าเพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค (9) จัดหาและให้ เครื่ องอุปโภคบริโภค รวมทังเวชภั ้ ณฑ์หรื อเคมีภณ ั ฑ์ เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค (10) จัดหานํ ้าที่ถกู สุขลักษณะไว้ ในบ้ าน โรงเรื อน สถานที่ หรื อพาหนะ (11) ห้ ามกระทําการใดๆ อันน่าจะเป็ นเหตุให้ เกิดภาวะไม่ถูกสุขลักษณะแก่ถนนหนทาง บ้ าน โรงเรื อน สถานที่ พาหนะ หรื อที่สาธารณะอื่นใด (12) ห้ ามกระทําการใดๆ อันอาจจะเป็ นเหตุให้ โรคแพร่หลาย มาตรา 10 เมื่อมีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ ้นหรื อน่าจะเกิดขึ ้นในท้ องที่ใด รัฐมนตรี หรื อผู้ว่าราชการจังหวัดเฉพาะในเขตของตน มีอํานาจประกาศโดยระบุชื่อและอาการสําคัญของโรค ตําบล หมูบ่ ้ านหรื อสถานที่ใดเป็ นเขตติดโรค และจะกําหนดปริมณฑลโดยรอบไว้ เป็ นเขตติดโรคด้ วยก็ได้ เมื่อได้ มีประกาศดังกล่าวแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานสาธารณสุขมีอํานาจดําเนินการเอง ประกาศหรื อออกคําสัง่ เป็ น หนังสือให้ ผ้ ใู ดดําเนินการใดๆ ในเขตหรื อในบริเวณปริมณฑลนัน้ ดังต่อไปนี ้ (1) ปฏิบตั ิการใดๆ ตามที่กําหนดไว้ ในมาตรา 8 (2) ห้ า มผู้ใ ดเข้ า ไปในหรื อ ออกจากเขตติ ด โรค หรื อ ที่ เ อกเทศ เว้ น แต่ ไ ด้ รั บ อนุญ าตจากเจ้ า พนัก งาน สาธารณสุข (3) เข้ าไปในบ้ าน โรงเรื อน สถานที่ หรื อพาหนะใด ที่เกิดหรื อมีเหตุสงสัยว่าเกิดโรคได้ โดยมิต้องแจ้ งให้ ทราบ ล่วงหน้ าแต่ต้องกระทําในภาวะอันสมควร (4) รื อ้ ถอน ทําลาย หรื อแก้ ไขเปลี่ยนแปลงตามความจําเป็ น ซึ่งบ้ าน โรงเรื อนสิ่งปลูกสร้ าง สถานที่ พาหนะ หรื อสิง่ ของใดๆ เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค (5) ปิ ดตลาด โรงมหรสพ สถานศึก ษา สถานที่ ป ระกอบหรื อ จํ า หน่า ยอาหารสถานที่ ผลิตหรื อ จํ า หน่า ย เครื่ องดื่ม โรงงาน สถานที่ชมุ นุมชน หรื อสถานที่อื่นใดไว้ ชวั่ คราวตามที่เห็นสมควรเพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค (6) ห้ า มคนซึ่ง ป่ วยหรื อ มี เ หตุส งสัย ว่ า ป่ วยเป็ นโรคติ ด ต่ อ อัน ตราย ประกอบอาชี พ ใดๆ หรื อ เข้ า ไปใน สถานศึกษา สถานที่ชมุ นุมชน หรื อสถานที่อื่นใด เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าพนักงานสาธารณสุข เมื่อโรคติดต่ออันตรายที่เกิดขึ ้นสงบลงแล้ ว และรัฐมนตรี หรื อผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นเป็ นการสมควรก็ให้ ถอน ประกาศนัน้


436

มาตรา 11 เมื่อโรคติดต่อต้ องแจ้ งความเกิดขึ ้นในบ้ าน โรงเรื อน สถานที่พาหนะ หรื อท้ องที่ใด ถ้ าเจ้ าพนักงาน สาธารณสุขเห็นว่าโรคติดต่อดังกล่าวจะระบาดต่อไป ให้ มีอํานาจปฏิบตั ิการใดๆ ตามที่กําหนดไว้ ในมาตรา 8 และมาตรา 10 ได้ โดยอนุโลม มาตรา 13 ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศให้ ช่องทางและด่านตรวจคนเข้ าเมืองตามกฎหมาย ว่าด้ วยคนเข้ าเมืองเป็ นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เมื่อมีเหตุอนั สมควรให้ เจ้ าพนักงานสาธารณสุขประจําด่าน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจ ดังต่อไปนี ้ (1) ให้ เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะแจ้ งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ที่พาหนะนันๆ ้ จะเข้ ามาถึงท่า อากาศยาน ท่าเรื อ หรื อท่าขนส่งทางบก ต่อเจ้ าพนักงานสาธารณสุขประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตาม วิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง (2) ให้ เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ ามาในราชอาณาจักรยื่นเอกสารต่อเจ้ าพนักงานสาธารณสุข ประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตามแบบและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง (3) ห้ ามผู้ใดนําพาหนะอื่นใดเข้ าเทียบพาหนะที่เดินทางเข้ ามาในราชอาณาจักรซึ่งยังไม่ได้ รับการตรวจจาก เจ้ าพนักงานสาธารณสุข และห้ ามผู้ใดเข้ าไปในหรื อออกจากพาหนะนัน้ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าพนักงานสาธารณสุข ประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (4) เข้ าไปในพาหนะและตรวจผู้เดินทาง สิ่งของหรื อสัตว์ที่มากับพาหนะ ตรวจตราและควบคุมให้ เจ้ าของ พาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะแก้ ไขการสุขาภิบาลของพาหนะให้ ถูกสุขลักษณะ รวมทังกํ ้ าจัดสิ่งอันอาจเป็ นอันตรายต่อ สุขภาพในพาหนะ ในการนี ้ให้ เจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะอํานวยความสะดวกแก่เจ้ าพนักงานสาธารณสุขประจํา ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (5) ห้ ามเจ้ าของพาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะนําผู้เดินทางซึ่งไม่ได้ รับการสร้ างเสริ มภูมิค้ มุ กันโรคตามที่รัฐมนตรี ประกาศเข้ ามาในราชอาณาจักร (6) ตรวจตรา ควบคุม ให้ ผ้ มู ีหน้ าที่รับผิดชอบท่าอากาศยาน ท่าเรื อหรื อท่าขนส่งทางบก แก้ ไขการสุขาภิบาล ให้ ถกู สุขลักษณะ รวมทังกํ ้ าจัดสิง่ อันอาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพในสถานที่และบริเวณดังกล่าว (7) ตรวจตรา ควบคุม ให้ ผ้ ูมีหน้ าที่รับผิดชอบท่าอากาศยาน ท่าเรื อ หรื อท่าขนส่งทางบกทําการควบคุม กําจัดยุง และพาหะนําโรค ในสถานที่และบริ เวณรอบท่าอากาศยาน ท่าเรื อหรื อ ท่าขนส่งทางบก ในรัศมีสี่ร้อยเมตร ใน การนี ้ ให้ เจ้ าของหรื อผู้อยู่ในบ้ าน โรงเรื อน หรื อสถานที่ในบริ เวณดังกล่าวอํานวยความสะดวกในการควบคุมกําจัดยุงและ พาหะนําโรค (8) ตรวจตรา ควบคุมการสุขาภิบาลเกี่ยวกับอาหาร นํ ้าแข็ง เครื่ องดื่มหรื อนํ ้าให้ ผ้ มู ีหน้ าที่รับผิดชอบสถานที่ ทํา ประกอบ ปรุ ง จับต้ อง บรรจุ เก็บ สะสม จําหน่ายอาหาร นํ ้าแข็งเครื่ องดื่ม หรื อนํ ้าที่นําเข้ าไป หรื อจะนําเข้ าไปในบริ เวณท่า อากาศยาน ท่าเรื อ หรื อท่าขนส่งทางบกให้ ถกู สุขลักษณะ หรื อแก้ ไขการสุขาภิบาลเกี่ยวกับอาหาร นํ ้าแข็ง เครื่ องดื่มหรื อนํ ้า ตลอดถึงสถานที่ดงั กล่าวให้ ถกู สุขลักษณะ มาตรา 14 เมื่อมี โรคติดต่ออันตรายเกิดขึน้ ในท้ องที่หรื อเมืองท่าใดในต่างประเทศ ให้ รัฐมนตรี หรื อผู้ซึ่ง รั ฐ มนตรี ม อบหมายมี อํ า นาจประกาศให้ ท้ อ งที่ ห รื อ เมื อ งท่ า นัน้ เป็ นเขตติ ด โรค เมื่ อ ได้ ป ระกาศแล้ ว ให้ เ จ้ า พนัก งาน สาธารณสุขประจําด่านควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจดําเนินการเอง หรื อออกคําสัง่ เป็ นหนังสือให้ เจ้ าของ พาหนะหรื อผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ ามาในราชอาณาจักรจากท้ องที่หรื อเมืองท่านัน้ ดําเนินการดังต่อไปนี ้ (1) ดําเนินการหรื อกําหนดให้ ปฏิบตั ิการใดๆ เพื่อกําจัดความติดโรค และเพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค


437

(2) จัดให้ พาหนะจอดอยู่ ณ สถานที่ที่กําหนดให้ จนกว่าเจ้ าพนักงานสาธารณสุขจะอนุญาตให้ ไปได้ (3) ให้ ผ้ เู ดินทางซึ่งมากับพาหนะนันรั ้ บการตรวจในทางแพทย์ และอาจให้ แยกกัก กักกัน คุมไว้ สงั เกต หรื อรับการ สร้ างเสริมภูมิค้ มุ กันโรค ณ สถานที่ที่กําหนดให้ (4) ห้ า มผู้ใ ดเข้ า ไปในหรื อ ออกจากพาหนะนัน้ หรื อ ที่ เ อกเทศ เว้ น แต่ ไ ด้ รั บ อนุญ าตจากเจ้ า พนัก งาน สาธารณสุข (5) ห้ ามผู้ใดนําเครื่ องอุปโภคบริ โภค นํ ้าดื่ม หรื อ นํ ้าใช้ ซึ่งเป็ นหรื อมีเหตุสงสัยว่าเป็ นสิ่งติดโรคเข้ าไปในหรื อ ออกจากพาหนะนัน้ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าพนักงานสาธารณสุข 5.5 ประมวลรั ษฎากร (ป้องกันการเลี่ยงภาษี รัษฎากรในเขตต่อเนื่อง) ประมวลฉบับนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 2 ในประมวลรัษฎากรนี ้ เว้ นแต่ข้อความจะแสดงให้ เห็นเป็ นอย่างอื่น ฯลฯ ฯลฯ “ประเทศไทย” หรื อ “ราชอาณาจักร” หมายความรวมถึงเขตไหล่ทวีปที่เป็ นสิทธิของประเทศไทยตามหลักกฎหมาย ระหว่างประเทศที่ยอมรับนับถือกันโดยทัว่ ไป และตามความตกลงกับต่างประเทศด้ วย มาตรา 3 เบญจ เมื่อมีเหตุอนั ควรเชื่อว่ามีการหลีกเลี่ยงการเสียภาษี อากร ให้ อธิบดีมีอํานาจเข้ าไปหรื อออกคําสัง่ เป็ นหนังสือให้ เจ้ าพนักงานสรรพากรเข้ าไปในสถานที่หรื อยานพาหนะใดเพื่อทําการตรวจค้ น ยึดหรื ออายัดบัญชี เอกสาร หรื อ หลักฐานอื่น ที่เกี่ยวกับ หรื อสันนิษฐานว่าเกี่ยวกับภาษี อากรที่จะต้ องเสียได้ ทวั่ ราชอาณาจักร ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ ผ้ วู ่าราชการจังหวัดหรื อสรรพากรเขต มีอํานาจเช่นเดียวกับอธิบดี ตามวรรคหนึง่ สําหรับในเขตท้ องที่จงั หวัดหรื อเขตนัน้ การทําการตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสอง ต้ องทําในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึน้ ถึงพระอาทิตย์ ตก หรื อใน ระหว่างเวลาทําการของผู้ประกอบกิจการนัน้ มาตรา 4 ทวิ คนต่างด้ าวผู้ใดจะเดินทางออกจากประเทศไทยต้ องเสียภาษี อากรที่ค้างชําระและหรื อที่จะต้ อง ชําระ แม้ จะยังไม่ถึงกําหนดชําระ หรื อจัดหาประกันเงินภาษี อากรให้ เสร็ จสิ ้นตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรนี ้ก่อน ออกเดินทาง มาตรา 4 ตรี ให้ คนต่างด้ าวซึง่ จะเดินทางออกจากประเทศไทยยื่นคําร้ องตามแบบที่อธิบดีกําหนด เพื่อขอรับ ใบผ่านภาษี อากรภายในกําหนดเวลาไม่เกินสิบห้ าวันก่อนออกเดินทาง ไม่วา่ มีเงินภาษี อากรที่ต้องชําระหรื อไม่ การยื่นคําร้ องตามความในวรรคก่อน ถ้ าผู้ยื่นคําร้ องมีภมู ิลําเนาหรื อพักอยู่ในเขตจังหวัดพระนครหรื อจังหวัด ธนบุรี ให้ ยื่นต่ออธิบดีหรื อผู้ที่ได้ รับมอบหมาย ถ้ ามีภูมิลําเนาหรื อพักอยู่ในเขตจังหวัดอื่นให้ ยื่นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดนัน้ หรื อผู้ที่ได้ รับมอบหมาย คนต่างด้ าวผู้ใดไม่ยื่นคําร้ องขอรับใบผ่านภาษี อากรตามความในวรรคก่อน หรื อยื่นคําร้ องแล้ วแต่ยงั ไม่ได้ รับ ใบผ่านภาษี อากร เดินทางออกจากประเทศไทยหรื อพยายามเดินทางออกจากประเทศ นอกจากจะมีความผิดตามบัญญัติ แห่งประมวลรัษฎากรนี ้ ให้ คนต่างด้ าวผู้นนเสี ั ้ ยเงินเพิ่มร้ อยละ 20 ของเงินภาษี อากรที่จะต้ องเสียทังสิ ้ ้นอีกด้ วย เงินเพิ่ม ตามมาตรานี ้ให้ ถือเป็ นค่าภาษี อากร 6) กฎหมายเกี ่ยวกับความมัน่ คงหรื อความสงบเรี ยบร้อยทางทะเล 6.1) พระราชบัญญัตใิ ห้ อาํ นาจทหารเรื อปราบปรามการกระทําผิดบางอย่ างทางทะเล พ.ศ. 2490 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ


438

มาตรา 4 เมื่อปรากฏว่ามีการกระทําหรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการกระทําเกี่ยวกับการนําข้ าวหรื อสินค้ าอื่น หรื อ ยาเสพติ ด ออกไปนอกหรื อ เข้ า มาในราชอาณาจัก ร หรื อ การที่ ค นต่ า งด้ า วเข้ า มาหรื อ นํ า คนต่ า งด้ า วเข้ า มาใน ราชอาณาจักร ทังนี ้ ้ โดยทางทะเล ทางลํานํ ้าซึง่ ติดต่อกับต่างประเทศ หรื อทางลํานํ ้าซึง่ ออกไปสูท่ ะเลได้ หรื อทําการประมง ทางทะเลอันเป็ นความผิดต่อกฎหมายว่าด้ วยการสํารวจและห้ ามกักกันข้ าว กฎหมายว่าด้ วยการควบคุมเครื่ องอุปโภค บริ โภคและของอื่ นๆ ในภาวะคับ ขัน กฎหมายว่าด้ วยการส่งออกไปนอกและการนํ า เข้ ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้ า กฎหมายว่า ด้ ว ยแร่ กฎหมายเกี่ ย วกับ ยาเสพติ ด กฎหมายว่า ด้ ว ยคนเข้ า เมื อ ง หรื อ กฎหมายเกี่ ย วกับ การประมง ให้ เจ้ า หน้ า ที่ ท หารเรื อ มี อํ า นาจสื บ สวนและสอบสวนได้ และมี อํ า นาจทํ า การหรื อ สั่ง ให้ ทํ า การเฉพาะหน้ า เท่า ที่ จํ า เป็ น ดังต่อไปนี ้ (1) ตรวจ ค้ น และบังคับผู้ควบคุมเรื อและคนประจําเรื อให้ รือ้ หรื อขนสิง่ ของในเรื อเพื่อการตรวจค้ น (2) จับเรื อ และบังคับผู้ควบคุมเรื อและคนประจําเรื อให้ พ่วงเรื อ หรื อให้ ทําการอื่นเพื่อให้ เรื อนัน้ ไปยังที่ซึ่ง สะดวกแก่การตรวจค้ น การสอบสวน หรื อการดําเนินคดี (3) ยึดเรื อที่จบั ไว้ จนกว่าจะมีคําสัง่ เด็ดขาดไม่ฟ้องผู้ต้องหา หรื อจนกว่าศาลจะมีคําสัง่ เป็ นอย่างอื่นในกรณีที่ ฟ้องผู้ต้องหา (4) จับและควบคุมผู้ต้องหาว่ากระทําความผิดไว้ ได้ ไม่เกินเจ็ดวัน เมื่อพ้ นกําหนดต้ องปล่อยหรื อส่งตัวให้ พนักงาน สอบสวนพร้ อมด้ วยสํานวนการสอบสวนเท่าที่ทําไว้ มาตรา 5 เพื่อปฏิบตั ิการตามความในมาตรา 4 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจสัง่ และบังคับให้ ผ้ คู วบคุมเรื อ และคนประจําเรื อลําที่ใช้ หรื อสงสัยว่าใช้ ในการกระทําความผิดหรื อที่ความผิดเกิดขึ ้นหรื อสงสัยว่าเกิดขึ ้น หยุดเรื อหรื อนํา เรื อไปยังที่ ใดที่หนึ่ง ถ้ าไม่ปฏิบัติตามก็ให้ มีอํานาจดําเนินการใดๆ เพื่อบังคับให้ ปฏิบัติตามหรื อเพื่อนํ าเรื อไปหรื อเพื่อ ป้องกันการหลบหนี การสั่ง หรื อ บัง คับ ให้ หยุดเรื อ หรื อ ให้ นํ า เรื อ ไปยัง ที่ ใ ดที่ ห นึ่งตามความในวรรคก่อ น อาจทํ า โดยใช้ อ าณัติ ั ญาณที่จะใช้ นนั ้ ผู้บญ ั ชาการทหารเรื อต้ องประกาศกําหนด สัญญาณอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่างก็ได้ แต่อาณัติสญ ไว้ ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 6 นอกจากอํานาจที่ให้ ไว้ ตามมาตรา 4 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ าย ปกครองหรื อตํารวจชันผู ้ ้ ใหญ่ตามความในประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา 7 ในกรณี ที่เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อทําการสอบสวนตามมาตรา 4 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจและ หน้ าที่เช่นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 8 การแย้ งคําสัง่ ไม่ฟ้องของพนักงานอัยการตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ั ชาการทหารเรื อ ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อเป็ นผู้ส่งสํานวนและมีความเห็นควรสัง่ ฟ้องไปยังพนักงานอัยการนัน้ ให้ ผ้ บู ญ เป็ นผู้ใช้ อํานาจของอธิบดีกรมตํารวจหรื อข้ าหลวงประจําจังหวัดแล้ วแต่กรณี 6.2) พระราชบัญญั ติเพิ่มอํานาจตํารวจในการป้องกันและปราบปรามการกระทําผิดทางนํ้า พุทธศักราช 2496 (ควบคุมการกระทําผิดในเรื อหรื ออากาศยานทางนํ ้า) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 4 ในการปฏิบตั ิหน้ าที่เกี่ยวกับการค้ นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในยานพาหนะ ให้ นายตํารวจชันสั ้ ญญาบัตรในกองตํารวจนํ ้า กรมตํารวจ ทําการค้ นได้ ทกุ เวลาโดยไม่ต้องมีหมาย มาตรา 5 ในเมื่อมีพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่าจะมีหรื อได้ มีการกระทําความผิดเกิดขึ ้นในยานพาหนะใด ให้ นายตํารวจชันสั ้ ญญาบัตรในกองตํารวจนํ ้า กรมตํารวจ มีอํานาจสัง่ ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดซึ่งมิใช่เจ้ าพนักงานที่กฎหมายบัญญัติให้


439

มีอํานาจและหน้ าที่เกี่ยวกับยานพาหนะขึ ้นไป หรื อนําเรื อ แพ หรื อพาหนะชนิดใดๆ เข้ าเทียบยานพาหนะนัน้ เว้ นแต่จะได้ รับ อนุญาต ในการสัง่ ห้ ามเช่นว่านี ้จะต้ องแจ้ งให้ ผ้ คู วบคุมยานพาหนะนันทราบด้ ้ วย การสัง่ ห้ ามดัง่ กล่าวในวรรคก่อน จะกระทําโดยวิธีใดให้ เป็ นไปตามระเบียบซึ่งอธิบดีกรมตํารวจกําหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในระเบียบเช่นว่านี ้จะกําหนดให้ ผ้ คู วบคุมยานพาหนะแสดงเครื่ องหมายอย่างใด เพื่อให้ ทราบ ว่าได้ มีการห้ ามดัง่ กล่าวแล้ ว ตลอดจนกําหนดวิธีการขออนุญาตและเงื่อนไขในการอนุญาตไว้ ด้วยก็ได้ มาตรา 6 ในการสั่ง ให้ ผ้ ูค วบคุม ยานพาหนะหยุด ยานพาหนะ หรื อ นํ า ยานพาหนะไปยัง ที่ ใ ด เพราะมี พฤติการณ์ อัน ควรสงสัยว่า มี ก ารใช้ ย านพาหนะนัน้ ในการกระทํ า ความผิ ด หรื อ มี ค วามผิดเกิ ดขึน้ ในยานพาหนะนัน้ นายตํารวจชันสั ้ ญญาบัตรในกองตํารวจนํ ้า กรมตํารวจ อาจใช้ สญ ั ญาณอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่าง ตามที่อธิบดี กรมตํารวจกํ าหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และผู้ควบคุมยานพาหนะจะต้ องให้ ความสะดวกตามสมควรแก่ ตํารวจในการที่จะขึ ้นไปบนยานพาหนะนัน้ 6.3) พระราชบัญญัตปิ ้ องกันและปราบปรามการกระทําอันเป็ นโจรสลัด พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเล คือ มาตรา 5 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจดําเนินการตามความจําเป็ นเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทํา อันเป็ นโจรสลัด รวมทังมี ้ อํานาจสืบสวนสอบสวนเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการกระทําอันเป็ นโจรสลัด และให้ ถือว่าการสืบสวน สอบสวนเบื ้องต้ นที่ทําไว้ เป็ นส่วนหนึง่ ของการสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 6 ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจตรวจสอบเรื อหรื ออากาศยานที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีหรื อได้ มี การกระทําอันเป็ นโจรสลัด โดยให้ มีอํานาจดําเนินการ ดังต่อไปนี ้ (1) ส่งเรื อหรื ออากาศยานในบังคับบัญชาไปยังเรื อที่ต้องสงสัยนันเพื ้ ่อตรวจสอบเอกสารที่แสดงสิทธิในการ ้ อไปได้ เท่าที่จําเป็ น ชักธง หากยังมีความสงสัยอยู่ ก็ให้ ดําเนินการตรวจค้ นบนเรื อนันต่ (2) สอบถามและตรวจพิ สูจน์ สัญ ชาติ แ ละทะเบี ย นของอากาศยานที่ ต้อ งสงสัย รวมทัง้ การปฏิ บัติต าม แผนการบินและรายละเอียดเกี่ยวกับอากาศยานนัน้ เพื่อประโยชน์ ในการดําเนินการตาม (1) หรื อ (2) ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจสัง่ หรื อบังคับให้ เรื อหรื อ อากาศยานที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีหรื อได้ มีการกระทําอันเป็ นโจรสลัด หยุดหรื อไปยังที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรื อลงยัง สนามบินหรื อที่ขึ ้นลงชัว่ คราวแห่งใดแห่งหนึง่ และในกรณีจําเป็ นอาจใช้ อาวุธบังคับได้ ั ชาติและทะเบียนของอากาศยาน การตรวจสอบสิทธิ ในการชักธงของเรื อ การสอบถามและตรวจพิสจู น์สญ การสัง่ หรื อบังคับให้ เรื อหรื ออากาศยานหยุดหรื อไปยังที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรื อลงยังสนามบินหรื อที่ขึ ้นลงชัว่ คราวแห่งใดแห่ง หนึง่ ให้ กระทําโดยใช้ อาณัติสญ ั ญาณตามที่ผ้ บู ญ ั ชาการทหารเรื อประกาศกําหนดใน ราชกิจจานุเบกษา มาตรา 7 เมื่อเจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อสัง่ หรื อบังคับให้ เรื อหรื ออากาศยานหยุดหรื อไปยังที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรื อลง ยังสนามบินหรื อที่ขึ ้นลงชัว่ คราวแห่งใดแห่งหนึง่ ตามมาตรา 6 แล้ ว ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจปฏิบตั ิต่อเรื อหรื ออากาศ ยานและบุคคลในเรื อหรื ออากาศยานนัน้ ดังต่อไปนี ้ (1) ตรวจค้ นเรื อหรื ออากาศยาน (2) สืบสวนสอบสวนเบื ้องต้ นผู้ควบคุมเรื อหรื ออากาศยานและบุคคลในเรื อหรื ออากาศยาน (3) ถ้ าการตรวจค้ นเรื อหรื ออากาศยาน หรื อการสืบสวนสอบสวนเบื ้องต้ นมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีหรื อได้ มี การกระทําอันเป็ นโจรสลัด ให้ เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อมีอํานาจจับกุมและควบคุมผู้ต้องสงสัย ตลอดจนควบคุมเรื อหรื ออากาศ ยานและสิง่ ของที่จะใช้ หรื อได้ ใช้ ในการกระทําความผิด หรื อได้ มาจากการกระทําความผิด


440

ห้ ามมิให้ ควบคุมเรื อหรื ออากาศยาน ผู้ควบคุมเรื อหรื ออากาศยานหรื อบุคคลในเรื อหรื ออากาศยานไว้ เกิน ความจําเป็ นตามพฤติการณ์แห่งคดี มาตรา 8 ในกรณีจําเป็ นเพื่อประโยชน์ในการสืบสวนสอบสวนเบื ้องต้ นหรื อการสอบสวน เจ้ าหน้ าที่ทหารเรื อ หรื อพนักงานสอบสวนมีอํานาจควบคุมเรื อหรื ออากาศยานที่ถกู ควบคุมผ่านเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ไม่ว่าจะเป็ นของประเทศ ใด หรื อทะเลหลวงไปยังที่แห่งใดแห่งหนึง่ ได้ โดยผู้ใดจะอ้ างเหตุดงั กล่าวมาร้ องขอให้ ปล่อยเรื อหรื ออากาศยานที่ถกู ควบคุม นันไม่ ้ ได้ มาตรา 15 ผู้ใดกระทําการอันเป็ นโจรสลัด โดยยึดหรื อเข้ าควบคุมเรื อโดยใช้ กําลังหรื อโดยขู่เข็ญว่าจะกระทํา อันตรายต่อเรื อ หรื อโดยใช้ กําลังประทุษร้ ายหรื อโดยขู่เข็ญว่าจะใช้ กําลังประทุษร้ ายต่อบุคคลในเรื อนัน้ ต้ องระวางโทษ จําคุกตังแต่ ้ ห้าปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ ห้าหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนบาท 7) กฎหมายเกี ่ยวกับกิ จกรรมทางทะเลอืน่ ๆ 7.1) พระราชบัญญัตกิ าํ หนดเขตจังหวัดในอ่ าวไทยตอนใน พ.ศ. 2502 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 3 ให้ กําหนดเขตจังหวัดทางทะเลในอ่าวไทยตอนใน ดังต่อไปนี ้ (1) จังหวัดเพชรบุรี จากจุดอักษร ก. ตําบลห้ วยทรายเหนือ อําเภอชะอํา ละติจูด 12 องศา-35 ลิปดา-45 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 99 องศา-57 ลิปดา-30 ฟิ ลิปดาตะวันออก ขนานกับเส้ นละติจดู ไปถึงจุดหมายเลข (1) ละติจดู 12 องศา-35 ลิปดา-45 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดอักษร ข. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดเพชรบุรีกบั จังหวัดสมุทรสงครามไปถึง จุดหมายเลข (2) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-10 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาตะวันออก แล้ วขนานกับเส้ น ละติจูดไปถึงจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลิปดา ตะวันออก จากจุดหมายเลข (3) ละติจูด 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลิปดา ตะวันออก ขนานกับเส้ นลองจิจดู ไปบรรจบกันที่จุดหมายเลข (1) ละติจูด 12 องศา-35 ลิปดา-45 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก (2) จังหวัดสมุทรสงคราม จากจุดอักษร ข. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดเพชรบุรีกบั จังหวัดสมุทรสงครามไปถึงจุดหมายเลข (2) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-10 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดอักษร ค. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดสมุทรสงครามกับจังหวัดสมุทรสาคร ไปบรรจบกันที่ จุดหมายเลข (2) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-10 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก (3) จังหวัดสมุทรสาคร จากจุด อัก ษร ค. บนเส้ น แบ่ ง เขตจัง หวัด ระหว่า งจัง หวัด สมุท รสงครามกับ จัง หวัด สมุท รสาครไปถึง จุด หมายเลข (2) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-10 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดอักษร ง. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดธนบุรีไปถึงจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก


441

จากจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลิปดา ตะวันออก ขนานกับเส้ นละติจูดไปบรรจบกันที่จุดหมายเลข (2) ละติจูด 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 100 องศา-10 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก (4) จังหวัดธนบุรี จากจุดอักษร ง. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดธนบุรีไปถึงจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดอักษร จ. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดธนบุรีกบั จังหวัดสมุทรปราการขนานกับเส้ นลองจิจูด ไปบรรจบกันที่จดุ หมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลิปดา ตะวันออก (5) จังหวัดสมุทรปราการ จากจุดอักษร จ. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดธนบุรีกบั จังหวัดสมุทรปราการขนานกับเส้ นลองจิจูด ไปถึงจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดอักษร ฉ. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดสมุทรปราการกับจังหวัดฉะเชิงเทราไปถึงจุดหมายเลข (4) ละติจดุ 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-45 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดหมายเลข (4) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-45 ลิปดา-00 ฟิ ลิป ดาตะวันออก ขนานกับเส้ นละติจดู ไปบรรจบกันที่จดุ หมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก (6) จังหวัดฉะเชิงเทรา จากจุดอักษร ฉ. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดสมุทรปราการกับจังหวัดฉะเชิงเทราไปถึงจุดหมายเลข (4) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-45 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุด อัก ษร ช. บนเส้ น แบ่ ง เขตจัง หวัด ระหว่ า งจัง หวัด ฉะเชิ ง เทรากับ จัง หวัด ชลบุรี ไ ปบรรจบกัน ที่ จุด หมายเลข (4) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-45 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก (7) จังหวัดชลบุรี จากจุดอักษร ช. บนเส้ นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดฉะเชิงเทรากับจังหวัดชลบุรีไปถึงจุดหมายเลข (4) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-45 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดอักษร ซ. แหลมบ้ านช่องแสมสาน ตําบลสัตหีบ อําเภอสัตหีบ ละติจดู 12 องศา-35 ลิปดา-45 ฟิ ลิปดา เหนือ ลองจิจดู 100 องศา-57 ลิปดา-45 ฟิ ลิปดาตะวันออก ขนานกับเส้ นละติจดู ไปถึงจุดหมายเลข (1) ละติจดู 12 องศา35 ลิปดา-45 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดหมายเลข (1) ละติจูด 12 องศา-35 ลิปดา-45 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 100 องศา-27ปดา-30 ฟิ ลิปดา ตะวันออก ขนานกับเส้ นลองจิจดู ไปถึงจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา27 ลิปดา-30 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก จากจุดหมายเลข (3) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิ ลิป ดาตะวันออก ขนานกับเส้ นละติจดู ไปบรรจบกันที่จดุ หมายเลข (4) ละติจดู 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู 100 องศา-45 ลิปดา-00 ฟิ ลปิ ดาตะวันออก ดังปรากฏในแผนที่ท้ายพระราชบัญญัตินี ้ 7.2) พระราชบัญญัตโิ บราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพธิ ภัณฑสถานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504


442

พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 14 เมื่ออธิบดีเห็นว่าโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุใดที่มิได้ อยู่ในความครอบครองของกรมศิลปากร มี ประโยชน์หรื อมีคณ ุ ค่าในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรื อโบราณคดีเป็ นพิเศษ อธิบดีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา ขึ ้นทะเบียนโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุนนั ้ ในกรณีที่อธิบดีเห็นว่าโบราณวัตถุใดไม่ว่าจะได้ ขึ ้นทะเบียนแล้ วหรื อไม่หรื อศิลปวัตถุใดที่ได้ ขึ ้นทะเบียนแล้ ว สมควรสวงนไว้ เป็ นสมบัติของชาติ อธิบดีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้ โบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุนนั ้ เป็ นโบราณวัตถุรือศิลปวัตถุที่ห้ามทําการค้ า และหากเห็นสมควรเก็บรักษาไว้ เป็ นสมบัติของชาติ ให้ อธิบดีมีอํานาจจัดซื ้อ ั ้ ได้ โบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุนนไว้ มาตรา 14 ทวิ เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์ และการจัดทําทะเบียนโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุที่มีอายุตงแต่ ั้ สมัยอยุธยาขึ ้นไป ให้ อธิบดีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้ เขตท้ องที่ใดเป็ นเขตสํารวจโบราณวัตถุหรื อ ศิลปวัตถุนนต่ ั ้ ออธิบดีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด เมื่อได้ มีประกาศตามวรรคหนึง่ แล้ ว อธิบดีหรื อผู้ซงึ่ อธิบดีมอบหมายมีอํานาจเข้ าไปในเคหะสถานของเจ้ าของ หรื อผุ้ครอบครอง หรื อสถานที่เก็บรักษาโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุนนระหว่ ั้ างพระอาทิตย์ขึ ้นถึงพระอาทิตย์ตกหรื อระหว่าง เวลาทําการเพื่อประโยชน์ในการจัดทําทะเบียน และในกรณี ที่เห็นว่าโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุใดมีประโยชน์หรื อคุณค่า ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรื อโบราณคดีเป็ นพิเศษ ให้ อธิบดีมีอํานาจดําเนินการตามมาตรา 14 ได้ มาตรา 24 โบราณวัต ถุห รื อ ศิ ล ปวัต ถุที่ ซ่อ นหรื อ ฝั ง หรื อ ทอดทิ ง้ ไว้ ใ นราชอาณาจัก รหรื อ ในบริ เ วณเขต เศรษฐกิจจํ าเพาะโดยพฤติการณ์ ที่ไม่มีผ้ ูใดสามารถอ้ างได้ ว่าเป็ นเจ้ าของได้ ไม่ว่าที่ซ่อนหรื อฝั งหรื อทอดทิ ง้ จะอยู่ใ น กรรมสิทธิ์ หรื อความครอบครองของบุคคลใดหรื อไม่ ให้ ตกเป็ นทรัพย์ สินของแผ่นดิน ผู้เก็บได้ ต้องส่งมอบแก่พนักงาน เจ้ าหน้ าที่หรื อพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แล้ วมีสิทธิได้ รับรางวัลไม่ เกินหนึง่ ในสามแห่งค่าของทรัพย์สนิ นัน้ ให้ อธิบดีตงคณะกรรมการขึ ั้ ้นคณะหนึ่งมีจํานวนไม่น้อยกว่าสามคนเป็ นผู้พิจารณากําหนดค่าของทรัพย์สิน และเงินรางวัลตามวรรคหนึง่ ผู้เก็บได้ มีสทิ ธิอทุ ธรณ์การกําหนดของคณะกรรมการเป็ นหนังสือต่ออธิบดีภายในสิบห้ าวันนับ แต่วนั ทราบการกําหนด คําวินิจฉัยของอธิบดีให้ เป็ นที่สดุ 7.3) พระราชบัญญัตกิ ารทํางานของคนต่ างด้ าว พ.ศ. 2521 (ห้ ามคนต่างด้ าวทําการประมงยกเว้ นที่ต้องให้ ความเชี่ยวชาญหรื องานกรรมการในเรื อประมง) พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมใช้ ทะเล คือ มาตรา 6 ภายใต้ บงั คับมาตรา 12 งานใดที่ห้ามคนต่างด้ าวทําในท้ องที่ใด เมื่อใดโดยเด็ดขาด หรื อห้ ามโดยมี เงื่อนไขอย่างใดเพียงใดให้ กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกากําหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้ าวทํา พ.ศ. 2522 ได้ บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 4 ประกอบกับในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาห้ ามคนต่างด้ าวทํางานประมง ยกเว้ นงานที่ใช้ ความชํานาญเฉพาะสาขา งาน ควบคุมดูแลฟาร์ ม หรื องานกรรมการในเรื อประมงทะเลในทุกท้ องที่ทวั่ ราชอาณาจักร 7.4) พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 30 แผนการกระจายอํานาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นให้ ดําเนินการ ดังนี ้ (1) ให้ ดําเนินการถ่ายโอนภารกิจให้ บริ การสาธารณะที่รัฐดําเนินการอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับแก่


443

องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นภายในกําหนดเวลา ดังนี ้ (ก) ภารกิจที่เป็ นการดําเนินการซํ ้าซ้ อนระหว่างรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น หรื อภารกิจที่รัฐจัด ให้ บริการในเขตองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ให้ ดําเนินการให้ เสร็จสิ ้นภายในสี่ปี (ข) ภารกิจที่รัฐจัดให้ บริ การในเขตองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นและกระทบถึงองค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่น ให้ ดําเนินการให้ เสร็จสิ ้นภายในสี่ปี (ค) ภารกิจที่เป็ นการดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล ให้ ดําเนินการให้ เสร็จสิ ้นภายในสี่ปี (2) กําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการให้ บริ การสาธารณะของรัฐและขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นด้ วยกันเองตามอํานาจและหน้ าที่ที่กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี ้ให้ ชดั เจน โดยใน ระยะแรกอาจกําหนดภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นแตกต่างกันได้ โดยให้ เป็ นไปตามความพร้ อมขององค์กร ปกครองส่วนท้ องถิ่นแต่ละแห่ง ซึ่งต้ องพิจารณาจากรายได้ และบุคลากรขององค์ กรปกครองส่วนท้ องถิ่น นัน้ จํ านวน ประชากร ค่าใช้ จ่ายในการดําเนินงาน ตลอดจนคุณภาพในการให้ บริ การที่ประชาชนจะได้ รับ ทังนี ้ ้ ต้ องไม่เกินระยะเวลา สิบปี (3) กําหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ให้ รัฐทําหน้ าที่ประสานความร่ วมมือและช่วยเหลือการดําเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นให้ มีประสิทธิภาพ (4) กํ า หนดการจัด สรรภาษี อ ากร เงิ น อุด หนุน และรายได้ อื่ น ให้ แ ก่ อ งค์ ก รปกครองส่ว นท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ให้ สอดคล้ องกับการดําเนินการตามอํานาจและหน้ าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นแต่ละประเภทอย่างเหมาะสม 7.5) ประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิ ช ย์ ลั ก ษณะ 5 ละเมิ ด (กรณี ก่ อ ให้ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ สภาพแวดล้ อมทางทะเล) ประมวลฉบับนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรื อประมาทเลินเล่อ ทําต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้ เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ ร่ างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรี ภาพก็ดี ทรัพย์สินหรื อสิทธิ อย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นนั ้ ทําละเมิดจําต้ องใช้ ค่าสินไหม ทดแทนเพื่อการนัน้ มาตรา 437 บุคคลใดครอบครองหรื อควบคุมดูแลยานพาหนะอย่างใดๆ อันเดินด้ วยกําลังเครื่ องจักรกล บุคคลนัน้ จะต้ องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่ยานพาหนะนัน้ เว้ นแต่จะพิสจู น์ได้ ว่าการเสียหายนัน้ เกิดแต่เหตุ สุดวิสยั หรื อเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหายนันเอง ้ ความข้ อนี ้ให้ ใช้ บงั คับได้ ตลอดถึงผู้มีไว้ ในครอบครองของตน ซึ่งทรัพย์อนั เป็ นของเกิดอันตรายได้ โดยสภาพ ั ้ วย หรื อโดยความมุง่ หมายที่จะใช้ หรื อโดยอาการกลไกของทรัพย์นนด้ มาตรา 448 สิทธิเรี ยกร้ องค่าเสียหายอันเกิดแต่มลู ละเมิดนัน้ ท่านว่าขาดอายุความเมื่อพ้ นปี หนึ่งนับแต่วนั ที่ ผู้ต้องเสียหายรู้ถงึ การละเมิดและรู้ตวั ผู้จะพึงต้ องใช้ คา่ สินไหมทดแทน หรื อเมื่อพ้ นสิบปี นับแต่วนั ทําละเมิด แต่ถ้าเรี ยกร้ องค่าเสียหายในมูลอันเป็ นความผิดมีโทษตามกฎหมายลักษณะอาญา และมีกําหนดอายุความ ทางอาญายาวกว่าที่กล่าวมานันไซร้ ้ ท่านให้ เอาอายุความที่ยาวกว่านันมาบั ้ งคับ 7.6) ประมวลกฎหมายอาญา (ความผิดที่ถือว่า กระทําในราชอาญาจักรตามมาตรา 4 (เรื อไทย) มาตรา 5(ผลเกิดขึ ้นใน ราชอาณาจักร) มาตรา 6 (ผู้สนับสนุนหรื อผู้ใช้ อยู่นอกราชอาณาจักร แต่ตวั การกระทําผิดในราชอาณาจักร) มาตรา 7 (ความผิดที่แม้ กระทํานอกราชอาณาจักรก็จะต้ องรับโทษในราชอาณาจักร) มาตรา 8 (ผู้กระทําผิดเป็ นคนไทยหรื อรัฐบาล ไทยหรื อคนไทยเป็ นผู้เสียหาย สําหรับความผิดที่กําหนดในมาตรานี ้) มาตรา 9 (เจ้ าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทําผิด)


444

ประมวลฉบับนี ้มีบทบัญญัติที่ใช้ บงั คับเกี่ยวกับกิจกรรมการใช้ ทะเลคือ มาตรา 4 ผู้ใดกระทําความผิดในราชอาณาจักร ต้ องรับโทษตามกฎหมาย การกระทํ า ความผิ ด ในเรื อ ไทยหรื อ อากาศยานไทยไม่ ว่ า จะอยู่ ณ ที่ ใ ด ให้ ถื อ ว่ า กระทํ า ความผิ ด ใน ราชอาณาจักร มาตรา 5 ความผิดใดที่การกระทําแม้ แต่ส่วนหนึ่งส่วนใดได้ กระทําในราชอาณาจักรก็ดี ผลแห่งการกระทํา เกิดในราชอาณาจักรโดยผู้กระทําประสงค์ให้ ผลนันเกิ ้ ดในราชอาณาจักร หรื อโดยลักษณะแห่งการกระทํา ผลที่เกิดขึ ้นควร เกิดในราชอาณาจักรหรื อย่อมจะเล็งเห็นได้ วา่ ผลนันจะเกิ ้ ดในราชอาณาจักรก็ดี ให้ ถือว่าความผิดนันได้ ้ กระทําในราชอาณาจักร ในกรณีการตระเตรี ยมการ หรื อพยายามกระทําการใดซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด แม้ การกระทํานันจะ ้ ได้ ก ระทํ า นอกราชอาณาจัก ร ถ้ า หากการกระทํ า นัน้ จะได้ ก ระทํ า ตลอดไปจนถึง ขัน้ ความผิ ด สํ า เร็ จ ผลจะเกิ ด ขึ น้ ใน ราชอาณาจักร ให้ ถือว่า การตระเตรี ยมการหรื อพยายามกระทําความผิดนันได้ ้ กระทําในราชอาณาจักร มาตรา 6 ความผิดใดที่ได้ กระทําในราชอาณาจักรหรื อที่ประมวลกฎหมายนี ้ถือว่าได้ กระทําในราชอาณาจักร แม้ การกระทําของผู้เป็ นตัวการด้ วยกัน ของผู้สนับสนุน หรื อของผู้ใช้ ให้ กระทําความผิดนันจะได้ ้ กระทํานอกราชอาณาจักร ก็ให้ ถือว่าตัวการ ผู้สนับสนุน หรื อผู้ใช้ ให้ กระทําได้ กระทําในราชอาณาจักร มาตรา 7 ผู้ใดกระทําความผิดดังระบุไว้ ตอ่ ไปนี ้นอกราชอาณาจักร จะต้ องรับโทษในราชอาณาจักร คือ (1) ความผิดเกี่ยวกับความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 107 ถึงมาตรา 129 (1/1) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ ายตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 135/1 มาตรา 135/2 มาตรา 135/3 และมาตรา 135/4 (2) ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 240 ถึงมาตรา 249 มาตรา 254 มาตรา 256 มาตรา 257 และมาตรา 266 (3) และ (4) (2 ทวิ) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 282 และมาตรา 283 (3) ความผิดฐานชิงทรัพย์ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 339 และความผิดฐานปล้ นทรัพย์ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ใน มาตรา 340 ซึง่ ได้ กระทําในทะเลหลวง มาตรา 8 ผู้ใดกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และ (ก) ผู้กระทําความผิดนันเป็ ้ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้ เกิดขึ ้น หรื อผู้เสียหายได้ ร้อง ขอให้ ลงโทษ หรื อ (ข) ผู้กระทําความผิดนันเป็ ้ นคนต่างด้ าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผู้เสียหาย และผู้เสียหายได้ ร้อง ขอให้ ลงโทษ ถ้ าความผิดนันเป็ ้ นความผิดดังระบุไว้ ตอ่ ไปนี ้ จะต้ องรับโทษภายในราชอาณาจักร คือ (1) ความผิดเกี่ ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา 217 มาตรา 218 ้ ้เว้ นแต่กรณีเกี่ยวกับมาตรา 220 วรรคแรก และมาตรา 224 มาตรา 226 มาตรา 228 ถึง มาตรา 221 ถึงมาตรา 223 ทังนี มาตรา 232 มาตรา 237 และมาตรา 233 ถึงมาตรา 236 ทังนี ้ ้เฉพาะเมื่อเป็ นกรณีต้องระวางโทษตามมาตรา 238 (2) ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 264 มาตรา 265 มาตรา 266(1) และ (2) มาตรา 268 ทังนี ้ ้เว้ นแต่กรณีเกี่ยวกับมาตรา 267 และมาตรา 269 (2/1) ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 269/1 ถึงมาตรา 269/7 (3) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 276 มาตรา 280 และมาตรา 285 ทังนี ้ ้เฉพาะที่เกี่ยวกับ


445

มาตรา 276 (4) ความผิดต่อชีวิต ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 288 ถึงมาตรา 290 (5) ความผิดต่อร่างกาย ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 295 ถึงมาตรา 298 (6) ความผิดฐานทอดทิ ้งเด็กคนป่ วยเจ็บหรื อคนชราตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 306 ถึงมาตรา 308 (7) ความผิดต่อเสรี ภาพ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 312 ถึงมาตรา 315 และมาตรา 317 ถึงมาตรา 320 (8) ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 334 ถึงมาตรา 336 (9) ความผิดฐานกรรโชก รี ดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปล้ นทรัพย์ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 337 ถึงมาตรา 340 (10) ความผิดฐานฉ้ อโกง ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 341 ถึงมาตรา 344 มาตรา 346 และมาตรา 347 (11) ความผิดฐานยักยอก ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 352 ถึงมาตรา 354 (12) ความผิดฐานรับของโจร ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 357 (13) ความผิดฐานทําให้ เสียทรัพย์ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 358 ถึงมาตรา 360 มาตรา 9 เจ้ าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทําความผิดตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 147 ถึงมาตรา 166 และมาตรา 200 ถึงมาตรา 205 นอกราชอาณาจักร จะต้ องรับโทษในราชอาณาจักร


ภาคผนวก ง


449

ร่าง ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยคณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ....

เพื่อให้ การกําหนดนโยบาย มาตรการ แผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้ องกับการรักษา ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลในทุกๆ ด้ านของหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และองค์กรต่างๆ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีการบูรณาการในการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ทําให้ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลเป็ นไปอย่างยัง่ ยืน สอดคล้ องกับหลักสากล และพัฒนาไปสูค่ วามมัน่ คง ในการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติของทะเลในทุกๆ ด้ านของประเทศ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไว้ ดงั ต่อไปนี ้ ข้ อ ๑ ระเบียบนี ้เรียกว่า “ระเบียบสํานักนายกรัฐรัฐมนตรี วา่ ด้ วยคณะกรรมการ นโยบายผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ....” ข้ อ ๒ ระเบียบนี ้ให้ ใช้ บงั คับตังแต่ ้ วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป ข้ อ ๓ ในระเบียบนี ้ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล “ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล” หมายความว่า ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยพึงได้ รับ จากทะเลหรื อเกี่ยวเนื่องกับทะเลทังภายในน่ ้ านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่น รวมทังชายฝั ้ ่ งทะเล เกาะ พื ้นดิน ท้ องทะเลหรื อใต้ พื ้นดินท้ องทะเล หรื ออากาศเหนือท้ องทะเลด้ วย ทังนี ้ ้ ไม่วา่ กิจกรรมใดในทุกๆ ด้ าน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้ อมทางทะเล การขนส่ง การท่องเที่ยว ความมัน่ คง ความสงบเรี ยบร้ อย หรื อ อื่นๆ ข้ อ ๔ ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึง่ เรี ยกว่า “คณะกรรมการนโยบายผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเล” เรี ยกโดยย่อว่า กผท. ประกอบด้ วย


450

(๑) นายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย เป็ นประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม เป็ นรองประธาน กรรมการ (๓) กรรมการโดยตําแหน่ง ได้ แก่ ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ปลัดกระทรวง มหาดไทย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บญ ั ชาการทหารเรื อ ผู้บญ ั ชาการ ตํารวจแห่งชาติ เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อธิบดีกรมการขนส่งทางนํ ้าและ พาณิชยนาวี อธิบดีกรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง อธิบดีกรมสนธิสญ ั าและกฎหมาย อธิบดีกรมศุลกากร อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ผู้แทนบริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ผู้แทนสภาผู้สง่ สินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย และผู้แทนสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (๔) กรรมการผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชนหรื อองค์กรประชาชนจํานวนสามคนซึง่ ประธานกรรมการแต่งตังจากองค์ ้ กรพัฒนาเอกชนหรื อองค์กรประชาชนด้ านสิง่ แวดล้ อมทางทะเล การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล หรื อการช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเล ้ ้ ซงึ่ มีความรู้ (๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนห้ าคนซึง่ ประธานกรรมการแต่งตังจากผู ความเชี่ยวชาญในสถาบันการศึกษาหรื อสถาบันทางวิชาการด้ านทรัพยากรประมง ทรัพยากรที่ไม่มีชีวิต ทางทะเล การขนส่งทางนํ ้าและพาณิชย์นาวี สิง่ แวดล้ อมทางทะเล และการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเล หรื อสมุทรศาสตร์ หรื ออุทกศาสตร์ ด้ านละหนึง่ คน ให้ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมเป็ นกรรมการและเลขานุการ และ ให้ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมแต่งตังข้ ้ าราชการในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้ อมเป็ นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการสองคน ข้ อ ๕ คณะกรรมการมีอํานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (๑) เสนอแนะและให้ คําแนะนําเกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แผนงาน หรื อโครงการใดๆ ที่เกี่ยวข้ องกับผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน หรื อองค์กรประชาชน เพื่อให้ การปฏิบตั ติ ามนโยบาย มาตรการ แผนงาน หรื อโครงการนันเป็ ้ นไปอย่างสอดคล้ องกันหรื อมีการ ประสานงานกันและมีประสิทธิภาพยิง่ ขึ ้น (๒) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน หรื อองค์กรประชาชนที่เกี่ยวข้ องกับ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลเพื่อขอข้ อมูลเกี่ยวกับนโยชาย มาตรการ แผนงาน หรือโครงการใดๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๓) ติดตามและประเมินผลในการปฏิบตั ติ ามนโยบาย มาตรการ แผนงาน หรื อโครงการ ใดๆ ที่เกี่ยวข้ องกับผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล


451

(๔) จัดทํากรอบนโยบายทางทะเลเพื่อคุ้มครองและรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทาง ทะเลในทุกๆ ด้ าน รวมทังแผนยุ ้ ทธศาสตร์ และแผนปฏิบตั กิ าร เพื่อให้ นโยบายและยุทธศาสตร์ บรรลุผลสําเร็ จ (๕) จัดทํากรอบนโยบายด้ านกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลทังหมด ้ ไม่วา่ การแก้ ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่มีอยูแ่ ล้ วหรื อตรากฎหมายขึ ้นใหม่ เพื่อให้ มีกฎหมายที่บงั คับใช้ กบั กิจกรรมทางทะเลทุกๆ ด้ านอย่างมีประสิทธิภาพและบังคับใช้ ได้ แม้ ในทะเลที่อยูน่ อกราชอาณาจักร แต่ประเทศไทยพึงมีสทิ ธิเสรีภาพที่จะได้ รับประโยชน์จากทะเลนัน้ (๖) เร่งรัดให้ มีการจัดตังองค์ ้ กรอิสระหรื อองค์กรที่ขึ ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อทําหน้ าที่ กํากับดูแลผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลทังหมดอย่ ้ างบูรณาการและขจัดปั ญหาหรื ออุปสรรคในการ ปฏิบตั หิ น้ าที่ของแต่ละหน่วยงานที่ซํ ้าซ้ อน ไม่ประสานงานกัน ไม่มีประสิทธิภาพ หรื อไม่ชดั เจนในอํานาจ หน้ าที่เกี่ยวกับการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๗) เร่งรัดให้ มีการตรากฎหมายกลางขึ ้นใช้ บงั คับเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทาง ทะเลไปพลางก่อนในระหว่างการดําเนินการตาม (๕) (๘) แต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการเพื่อปฎิบตั กิ ารตามระเบียบนี ้หรื อตามที่คณะกรรมการ มอบหมาย (๙) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดเพื่อให้ เป็ นไปตามระเบียบนี ้หรื อตามที่นายกรัฐมนตรี หรื อ คณะรัฐมนตรี มอบหมาย ข้ อ ๖ กรรมการตามข้ อ ๔ (๔) และ (๕) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี นับแต่ วันที่ได้ รับแต่งตัง้ ้ ดํารง ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึง่ พ้ นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้ ผ้ ไู ด้ รับแต่งตังให้ ตําแหน่งแทนอยูใ่ นตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยูข่ องกรรมการซึง่ ตนแทน เมื่อครบกําหนดวาระตามวรรคหนึง่ แล้ ว หากยังมิได้ มีการแต่งตังกรรมการขึ ้ ้นใหม่ ให้ กรรมการซึง่ พ้ นจากตําแหน่งตามวาระนันอยู ้ ใ่ นตําแหน่งเพื่อปฏิบตั หิ น้ าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการ แต่งตังกรรมการใหม่ ้ ้ กได้ กรรมการตามวรรคหนึง่ ซึง่ พ้ นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้ รับแต่งตังอี ข้ อ ๗ นอกจากการพ้ นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามข้ อ ๔ (๔) และ (๕) พ้ นจาก ตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก


452

(๓) ประธานกรรมการให้ ออก เพราะบกพร่องต่อหน้ าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรื อ หย่อนความสามารถ (๔) เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ (๕) ได้ รับโทษจําคุกโดยพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จําคุก เว้ นแต่เป็ นโทษสําหรับความผิดที่ได้ กระทําโดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ ข้ อ ๘ การประชุมของคณะกรรมการต้ องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทังหมด ้ จึงจะเป็ นองค์ประชุม ให้ ประธานกรรมการเป็ นประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่มาประชุม หรื อไม่อาจปฏิบตั หิ น้ าที่ได้ ให้ รองประธานกรรมการเป็ นประธานในที่ประชุม ถ้ าประธานกรรมการและ รองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรื อไม่อาจปฏิบตั หิ น้ าที่ได้ ให้ ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึง่ เป็ น ประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี ้ขาดของที่ประชุมให้ ถือเสียงข้ างมาก กรรมการคนหนึง่ ให้ มีเสียงหนึง่ ในการ ลงคะแนน ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชี ้ขาด การประชุมของคณะอนุกรรมการซึง่ คณะกรรมการแต่งตังตามข้ ้ อ ๕ (๘) ให้ นําความใน วรรคหนึง่ วรคสอง และวรรคสาม มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม ข้ อ ๙ ให้ สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมทําหน้ าที่เป็ น สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ รับผิดชอบในงานธุรการ งานประชุม การศึกษาข้ อมูล และ กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ข้ อ ๑๐ ให้ นายกรัฐมนตรี รักษาการตามระเบียบนี ้

ประกาศ ณ วันที่ ......................... พ.ศ. .... ................................. นายกรัฐมนตรี


ภาคผนวก จ


455

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติค้ มุ ครอง ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ....

หลักการ ให้ มีกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล เหตุผล โดยที่ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลในปั จจุบนั ไม่วา่ สิทธิหรื อเสรี ภาพทางทะเลหรื อการรักษา คุณภาพสิง่ แวดล้ อมทางทะเล เช่น สิทธิในการกําหนดมาตรการความปลอดภัยของการสัญจรทางทะเล การอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล การรักษาสิง่ แวดล้ อมหรื อควบคุมมลพิษทางทะเลโดยเฉพาะในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ หรื อ เสรี ภาพในการทําประมง การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ หรื อการเดินเรื อในทะเลหลวง เป็ นผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่ ประเทศไทยมีสิทธิหรื อเสรี ภาพดังกล่าว ตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อจารี ตประเพณีระหว่างประเทศที่สมควร รักษาไว้ และใช้ ประโยชน์ทงทางเศรษฐกิ ั้ จ การเมือง และสังคมอย่างสูงสุดและยัง่ ยืน แม้ วา่ จะมีกฎหมายบางฉบับรักษา ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลดังกล่าว แต่จะรักษาผลประโยชน์เฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ ตามวัตถุประสงค์ของกฎหมาย นันๆ ้ ในปั จจุบนั จึงยังไม่มีกฎหมายที่ค้ มุ ครองและรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลเป็ นการทัว่ ไปในทุกๆ เรื่ อง ประกอบกับกฎหมายที่มีอยูห่ ลายฉบับมุง่ ที่จะคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลภายในราชอาณาจักรเท่านันโดย ้ ไม่ได้ คํานึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลที่มีอยูม่ ากมายนอกราชอาณาจักร สมควรกําหนดให้ มีกฎหมายว่าด้ วย การคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลเป็ นการทั่วไปขึน้ เพื่อให้ ประเทศไทยบริ หารจัดการผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีความเป็ นเอกภาพ รวมทังได้ ้ รับผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลอย่าง สูงสุดและยัง่ ยืน จึงจําเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


456

ร่าง พระราชบัญญัติ คุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ....

................................... ................................... ................................... ......................................................................................................... .................................... โดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ......................................................................................................... ..................................... มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี ้เรี ยกว่า “พระราชบัญญัติค้ มุ ครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ....” ้ วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป มาตรา ๒ พระราชบัญญัตนิ ี ้ให้ ใช้ บงั คับตังแต่ มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี ้ “ทะเล” หมายความว่า ทะเลในเขตน่านนํ ้าไทยหรื อน่านนํ ้าอื่นใดที่ประเทศไทยใช้ อยูห่ รื อมีสทิ ธิ ้ ว่ ไปว่ามีขอบเขตตามกฎหมายท้ องถิ่น เสรี ภาพในการใช้ หรื อจะใช้ หรื อมีหน้ าที่รับผิดชอบ โดยที่น่านนํ ้าเหล่านันปรากฏโดยทั หรื อจารี ตประเพณี หรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อตามสนธิสญ ั ญาหรื อด้ วยประการใด เช่น น่านนํ ้าภายใน ทะเล อาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ ไหล่ทวีป หรื อทะเลหลวง และให้ หมายความรวมถึงเกาะ ชายฝั่ ง หรื อหาดทัง้ ปวงด้ วย “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการสํานักงานคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล “หน่วยงานที่รับผิดชอบ” หมายความว่า หน่วยงานที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการกําหนด ้ ปฏิบตั ิการตาม “พนักงานเจ้ าหน้ าที่” หมายความว่า ผู้ซงึ่ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบแต่งตังให้ พระราชบัญญัตินี ้

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


457

“รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบ” หมายความว่า รัฐมนตรี เจ้ าสังกัดของหน่วยงานผู้รับผิดชอบตามที่ คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๔ ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้ วยการใดบัญญัติเรื่ องใดไว้ โดยเฉพาะแล้ วให้ บงั คับตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้ วยการนัน้ แต่ถ้ามีเหตุอนั ควรคณะกรรมการโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี ผ้ รู ักษาการ ตามกฎหมายว่าด้ วยการนันอาจมี ้ มติให้ นําบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี ้ไปใช้ บงั คับเป็ นการเพิ่มเติมหรื อแทนที่ กฎหมายว่าด้ วยการนันได้ ้ ทังนี ้ ้ โดยจะกําหนดระยะเวลาหรื อเงื่อนไขอย่างใดไว้ ในมตินนก็ ั ้ ได้ ้ จจา มติตามวรรคหนึ่ง เมื่อรัฐมนตรี ผ้ รู ักษาการตามกฎหมายว่าด้ วยการนันประกาศในราชกิ นุเบกษาแล้ ว ให้ ใช้ บงั คับได้ มาตรา ๕ ให้ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง คมนาคม รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแรงงาน รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวง ้ กงาน สาธารณสุข และรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม รักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้ และให้ มีอํานาจแต่งตังพนั เจ้ าหน้ าที่เพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้ กับออกกฎกระทรวงหรื อประกาศเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้ ทังนี ้ ้ เฉพาะในส่วนที่ตนได้ รับการกําหนดให้ เป็ นรัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบหรื อหน่วยงานในสังกัดของตนได้ รับการกําหนดให้ เป็ นหน่วยงานผู้รับผิดชอบ กฎกระทรวงและประกาศนัน้ เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ วให้ ใช้ บงั คับได้ หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ________________ มาตรา ๖ ให้ มีคณะกรรมการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ประกอบด้ วย นายกรัฐมนตรี หรื อผู้ซงึ่ นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธานกรรมการ ผู้บญ ั ชาการทหารเรื อ ผู้บญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ อัยการ สูงสุด ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการขนส่งทางนํ ้าและ พาณิชยนาวี อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ อธิบดีกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ ง อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมป่ าไม้ อธิบดีกรมสนธิสญ ั ญาและกฎหมาย และอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ ้ เกินเจ็ดคน และเลขาธิการเป็ นกรรมการ พันธุ์พืช เป็ นกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ นายกรัฐมนตรี แต่งตังไม่ และเลขานุการ ให้ เลขาธิการมอบหมายเจ้ าหน้ าที่สํานักงานเป็ นผู้ช่วยเลขานุการไม่เกินสองคน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ นายกรัฐมนตรี แต่งตังตามวรรคหนึ ้ ง่ ต้ องเป็ นผู้ที่มีความรู้

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


458

ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้ องกับทะเล และอย่างน้ อยสองคนให้ แต่งตังจากผู ้ ้ แทนสถาบัน การศึกษาของรัฐใน ระดับมหาวิทยาลัย มาตรา ๗ ให้ คณะกรรมการมีอํานาจหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (๑) ให้ คําแนะนําหรื อคําปรึกษาแก่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ หรื อพนักงาน เจ้ าหน้ าที่ในเรื่ องใดๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๒) สอดส่องดูแลและเร่งรัดพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อหน่วยงานที่รับผิดชอบที่มีอํานาจหน้ าที่เกี่ยวกับ การคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลให้ ปฏิบตั ิการตามอํานาจและหน้ าที่ที่กฎหมายกําหนด (๓) กําหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อรัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบตามพระราชบัญญัตินี ้ (๔) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบ หรื อหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ มาตรการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล หรื อการป้องกันหรื อเยียวยาความเสียหายอันเกิดจากการกระทําใดๆ ซึง่ กระทบต่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๕) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี ้หรื อกฎหมายอื่นกําหนดให้ เป็ นอํานาจหน้ าที่ของ คณะกรรมการ หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อรัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบตาม (๓) จะกําหนดให้ มีมากกว่าหนึง่ แห่งหรื อหนึง่ คนก็ได้ มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยูใ่ นตําแหน่งคราวละสี่ปี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ พ้ นจาก ตําแหน่งอาจได้ รับแต่งตังอี ้ กได้ มาตรา ๙ นอกจากการพ้ นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ตําแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) นายกรัฐมนตรี ให้ ออก เพราะบกพร่องหรื อไม่สจุ ริ ตต่อหน้ าที่ มีความประพฤติ เสื่อมเสีย หรื อหย่อนความสามารถ (๔) เป็ นบุคคลล้ มละลาย (๕) เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ (๖) ได้ รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จําคุก เว้ นแต่เป็ นโทษสําหรับความผิด ที่ได้ กระทําโดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ มาตรา ๑๐ ในกรณีที่มีการแต่งตังกรรมการผู ้ ้ ทรงคุณวุฒิในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ ้ อมให้ ผ้ ไู ด้ รับแต่งตังอยู ้ ใ่ นตําแหน่ง แต่งตังไว้ ้ แล้ วยังมีวาระอยูใ่ นตําแหน่ง ไม่วา่ จะเป็ นการแต่งตังเพิ ้ ่มขึ ้นหรื อแต่งตังซ่ เท่ากับวาระที่เหลืออยูข่ องกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ แต่งตังไว้ ้ แล้ วนัน้

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


459

มาตรา ๑๑ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดํารงตําแหน่งครบวาระแล้ ว แต่ยงั มิได้ มีการแต่งตัง้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ ้นใหม่ ให้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ พ้ นจากตําแหน่งตามวาระปฏิบตั ิหน้ าที่ไปพลางก่อนจนกว่า จะมีการแต่งตังกรรมการผู ้ ้ ทรงคุณวุฒิขึ ้นใหม่ มาตรา ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการต้ องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่ ของจํานวน กรรมการทังหมด ้ จึงจะเป็ นองค์ประชุม ถ้ าประธานกรรมการไม่อยูใ่ นที่ประชุมหรื อไม่อาจปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ให้ กรรมการซึง่ มาประชุม เลือก กรรมการคนหนึ่งเป็ นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี ้ขาดของที่ประชุมให้ ถือเสียงข้ างมาก กรรมการคนหนึง่ ให้ มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชี ้ขาด มาตรา ๑๓ ให้ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการเพื่อพิจารณาหรื อปฏิบตั ิการอย่าง ้ ้ คณะกรรมการจะแต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการ หนึง่ อย่างใดแทนคณะกรรมการหรื อตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ ทังนี ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้ านเพื่อทําหน้ าที่วินิจฉัยตามมาตรา ๔๓ วรรคสาม หรื อทําหน้ าที่ออกประกาศตามมาตรา ๔๕ (๑๓) มาตรา ๔๖ (๖) มาตรา ๔๗ (๓) หรื อ (๔) มาตรา ๖๙ หรื อมาตรา ๗๑ วรรคสอง หรื อกําหนดแบบตามมาตรา ๘๕ วรรคสอง หรื อมาตรา ๘๒ วรรคหนึง่ หรื อออกระเบียบตามมาตรา ๘๕ หรื อวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๘๘ แทนคณะกรรมการก็ได้ ให้ คณะกรรมการกําหนดองค์ประชุมและวิธีดําเนินงานของคณะอนุกรรมการได้ ตามความเหมาะสม มาตรา ๑๔ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ ให้ คณะกรรมการหรื อคณะอนุกรรมการมีอํานาจออกคําสัง่ เป็ น หนังสือเรี ยกบุคคลใดมาให้ ถ้อยคําหรื อให้ สง่ เอกสารหรื อวัตถุใดๆ มาเพื่อประกอบการพิจารณาได้ ตามความจําเป็ น หมวด ๒ สํานักงานคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ________________ มาตรา ๑๕ ให้ จดั ตังสํ ้ านักงานคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลขึ ้นเป็ นหน่วยงานของรัฐที่ไม่ เป็ นส่วนราชการและไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจมีฐานะเป็ นนิติบคุ คลและอยูภ่ ายใต้ การกํากับดูแลของนายกรัฐมนตรี ้ มาตรา ๑๖ ให้ สํานักงานมีสํานักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานครหรื อจังหวัดใกล้ เคียงและจะตังสาขา ขึ ้น ณ ที่อื่นใดก็ได้ มาตรา ๑๗ กิจการของสํานักงานไม่อยูภ่ ายใต้ บงั คับแห่งกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้ วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้ วยประกันสังคม และกฎหมายว่าด้ วยเงินทดแทน แต่พนักงานและ ลูกจ้ างของสํานักงานต้ องได้ รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ ในกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้ วยประกันสังคม และกฎหมายว่าด้ วยเงินทดแทน

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


460

มาตรา ๑๘ ให้ สํานักงานมีอํานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (๑) ดําเนินการให้ เป็ นไปตามมติคณะกรรมการหรื อคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการแต่งตังขึ ้ ้น และปฏิบตั ิงานธุรการอื่น (๒) ดําเนินการเฝ้าระวัง และติดตามเกี่ยวกับการกระทําความผิดตามมาตรการคุ้มครอง ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลตามพระราชบัญญัตินี ้ (๓) ประสานงานกับหน่วยงานผู้รับผิดชอบในกรณีที่พบว่ามีการกระทําความผิดตามมาตรการ คุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลตามพระราชบัญญัตินี ้เพื่อให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบดําเนินคดีในเรื่ องดังกล่าว (๔) ดําเนินคดีกบั ผู้กระทําความผิดตามมาตรการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติ ทางทะเลตาม พระราชบัญญัตินี ้ ในกรณีที่ไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อหน่วยงานที่รับผิดชอบร้ องขอความช่วยเหลือ (๕) เป็ นศูนย์กลางในการดําเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ไม่วา่ การ ประสานงานเพื่อการขออนุญาตกระทําการใดๆ หรื อการประสานงานเพื่อสนับสนุนมาตรการใดๆ ตามพระราชบัญญัตินี ้ รวมทังรั้ บรายงานการดําเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบในการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๖) ดําเนินการรวบรวมสถิติหรื อข้ อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล รวมทังการศึ ้ กษา ค้ นคว้ า และวิจยั เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๗) ถือกรรมสิทธิ์ มีสทิ ธิครอบครอง และมีทรัพยสิทธิตา่ งๆ (๘) ก่อตังสิ ้ ทธิหรื อทํานิติกรรมใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สนิ (๙) ทําความตกลงและร่วมมือกับองค์การหรื อหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศในกิจการที่ เกี่ยวกับการดําเนินงานของสํานักงาน (๑๐) จัดให้ มีและให้ ทนุ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของสํานักงาน (๑๑) ลงทุนหาผลประโยชน์ในกิจการทางทะเลเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลตาม ข้ อบังคับที่คณะกรรมการกําหนด (๑๒) ดําเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการหรื อคณะอนุกรรมการมอบหมาย (๑๓) ปฏิบตั ิงานอื่นใดที่กฎหมายกําหนดให้ เป็ นอํานาจหน้ าที่ของสํานักงาน มาตรา ๑๙ ทุนและทรัพย์สนิ ในการดําเนินงานของสํานักงานประกอบด้ วย (๑) เงินที่รัฐบาลจ่ายให้ เป็ นทุนประเดิม (๒) เงินอุดหนุนทัว่ ไปที่รัฐบาลจัดสรรให้ (๓) รายได้ หรื อผลประโยชน์อนั ได้ มาจากการดําเนินงานตามอํานาจหน้ าที่ของสํานักงาน (๔) ค่าธรรมเนียมหรื อค่าบริการจากการดําเนินงานของสํานักงาน (๕) เงินและทรัพย์สนิ ที่มีผ้ อู ทุ ิศให้ (๖) เงินค่าปรับจากการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ (๗) ดอกผลของเงินหรื อรายได้ จากทรัพย์สนิ ของสํานักงาน มาตรา ๒๐ บรรดารายได้ ทงปวงที ั้ ่สํานักงานได้ รับจากการดําเนินงานในปี หนึง่ ๆ ให้ ตกเป็ นของสํานักงานเพื่อเป็ นค่าใช้ จ่ายสําหรับการดําเนินงานและค่าภาระต่างๆ ที่เหมาะสม เช่น

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


461

ค่าบํารุงรักษาและค่าเสื่อมราคา ประโยชน์ตอบแทนของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เลขาธิการ พนักงาน และ ลูกจ้ าง และเงินสํารองเพื่อใช้ จ่ายในกิจการของสํานักงานหรื อเพื่อการอื่น ทังนี ้ ้ ในกรณีรายได้ ของสํานักงานมีจํานวนไม่ พอสําหรับค่าใช้ จ่ายในการดําเนินงาน และไม่สามารถหาเงินจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินให้ แก่ สํานักงานเท่าจํานวนที่จําเป็ น รายได้ ตามวรรคหนึง่ ไม่ต้องนําส่งคลังเป็ นรายได้ แผ่นดิน มาตรา ๒๑ ทรัพย์สนิ ของสํานักงานไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดีและบุคคลใดจะยกอายุ ความขึ ้นเป็ นข้ อต่อสู้กบั สํานักงานในเรื่ องทรัพย์สินของสํานักงานมิได้ มาตรา ๒๒ ให้ สํานักงานมีเลขาธิการคนหนึง่ ซึง่ นายกรัฐมนตรี แต่งตังจากบุ ้ คคลที่คณะกรรมการ บริ หารสํานักงานคัดเลือก มาตรา ๒๓ ผู้ที่จะได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นเลขาธิการต้ องมีคณ ุ สมบัติ ดังต่อไปนี ้ (๑) มีสญ ั ชาติไทย (๒) มีอายุไม่เกินหกสิบห้ าปี บริ บรู ณ์ (๓) สามารถทํางานให้ แก่สํานักงานได้ เต็มเวลา มาตรา ๒๔ ผู้มีลกั ษณะอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ต้ องห้ ามมิให้ เป็ นเลขาธิการ (๑) เป็ นบุคคลล้ มละลาย (๒) เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ (๓) เคยต้ องคําพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จําคุกไม่วา่ จะได้ รับโทษจําคุกจริงหรื อไม่ เว้ นแต่เป็ นโทษสําหรับ ความผิดที่ได้ กระทําโดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ (๔) เป็ นกรรมการ ผู้จดั การ หรื อบุคคลผู้มีอํานาจในการบริหารหรื อจัดการกิจการที่เกี่ยวข้ องกับ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (๕) เป็ นข้ าราชการ พนักงานหรื อลูกจ้ างของส่วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานอื่นของรัฐ หรื อของราชการส่วนท้ องถิ่น (๖) เป็ นหรื อเคยเป็ นข้ าราชการการเมือง ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้ องถิ่นหรื อ ผู้บริหารท้ องถิ่น เว้ นแต่จะได้ พ้นจากตําแหน่งมาแล้ วไม่น้อยกว่าหนึง่ ปี (๗) เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการหรื อผู้ดํารงตําแหน่งอื่นในพรรคการเมืองหรื อเจ้ าหน้ าที่ของพรรค การเมือง เว้ นแต่จะได้ พ้นจากตําแหน่งมาแล้ วไม่น้อยกว่าหนึง่ ปี (๘) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรื อให้ ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรื อรัฐวิสาหกิจหรื อจาก หน่วยงานของเอกชน เพราะทุจริ ตต่อหน้ าที่หรื อประพฤติชวั่ อย่างร้ ายแรง มาตรา ๒๕ ให้ คณะกรรมการบริหารสํานักงานเป็ นผู้กําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทน อื่นของเลขาธิการโดยความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี มาตรา ๒๖ เลขาธิการอยูใ่ นตําแหน่งคราวละสี่ปี จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


462

เลขาธิการซึง่ พ้ นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้ รับแต่งตังอี ้ กได้ มาตรา ๒๗ นอกจากการพ้ นจากตําแหน่งตามวาระ เลขาธิการพ้ นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๒๓ หรื อมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๒๔ (๔) เป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียตามมาตรา ๓๔ (๕) คณะกรรมการบริหารสํานักงานมีมติให้ ออกเพราะบกพร่องหรื อทุจริ ตต่อหน้ าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรื อหย่อนความสามารถ มาตรา ๒๘ ให้ เลขาธิการเป็ นผู้บงั คับบัญชาพนักงานและลูกจ้ าง และรับผิดชอบในการดําเนิน กิจการทังปวงของสํ ้ านักงาน ในการบริ หารกิจการของสํานักงาน เลขาธิการต้ องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ หารสํานักงาน มาตรา ๒๙ ให้ มีรองเลขาธิการตามจํานวนที่คณะกรรมการบริ หารสํานักงานกําหนด เพื่อช่วย เลขาธิการในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่เลขาธิการมอบหมาย มาตรา ๓๐ เลขาธิการมีอํานาจหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (๑) บรรจุ แต่งตัง้ ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรื อค่าจ้ าง ลงโทษทางวินยั พนักงานและลูกจ้ าง ตลอดจนให้ พนักงานหรื อลูกจ้ างออกจากตําแหน่ง ทังนี ้ ้ ตามข้ อบังคับที่คณะกรรมการบริหารสํานักงานกําหนดแต่ถ้า เป็ นพนักงานตําแหน่งรองเลขาธิการ ผู้บริ หารระดับสูง และผู้ตรวจสอบภายใน ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสํานักงานก่อน (๒) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของสํานักงานโดยไม่ขดั หรื อแย้ งกับข้ อบังคับหรื อมติที่ คณะกรรมการบริ หารสํานักงานกําหนด (๓) แต่งตังเจ้ ้ าหน้ าที่ของสํานักงานซึง่ มีคณ ุ สมบัติตามที่สํานักงานกําหนดเป็ นพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอํานาจสอบสวนความผิดอาญาตามพระราชบัญญัตินี ้และกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้ องกับการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล มาตรา ๓๑ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ เลขาธิการจะมอบอํานาจให้ พนักงานกระทําการใด แทนก็ได้ ตาม ข้ อบังคับที่คณะกรรมการบริหารสํานักงานกําหนด ให้ ผ้ ไู ด้ รับมอบอํานาจตามวรรคหนึง่ มีอํานาจหน้ าที่อย่างเดียวกับเลขาธิการในเรื่ องที่ได้ รับมอบ อํานาจนัน้ มาตรา ๓๒ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ เลขาธิการเป็ นผู้แทนสํานักงาน เพื่อการนี ้ เลขาธิการจะมอบอํานาจให้ บคุ คลใดกระทําการแทนก็ได้ ตามข้ อบังคับที่คณะกรรมการบริ หารสํานักงานกําหนด

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


463

มาตรา ๓๓ ในกรณีที่ไม่มีผ้ ดู ํารงตําแหน่งเลขาธิการหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ให้ คณะกรรมการบริ หารสํานักงานแต่งตังรองเลขาธิ ้ การคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาการแทนเลขาธิการ ในกรณีที่ไม่มีรอง ้ กงานของสํานักงานคนหนึ่งเป็ น เลขาธิการหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ให้ คณะกรรมการบริหารสํานักงานแต่งตังพนั ผู้รักษาการแทนเลขาธิการ ให้ ผ้ รู ักษาการแทนเลขาธิการตามวรรคหนึง่ มีอํานาจหน้ าที่อย่างเดียวกับเลขาธิการ มาตรา ๓๔ เลขาธิการต้ องไม่เป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียในสัญญากับสํานักงานหรื อในกิจการที่กระทํา ให้ แก่สํานักงาน ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้ อม เว้ นแต่เป็ นเพียงผู้ถือหุ้นเพื่อประโยชน์ในการลงทุนโดยสุจริ ตในบริษัทจํากัด หรื อบริษัทมหาชนจํากัดที่กระทําการอันมีสว่ นได้ เสียเช่นว่านันไม่ ้ เกินอัตราตามข้ อบังคับที่คณะกรรมการบริหาร สํานักงานกําหนด ในกรณีที่บพุ การี คู่สมรส ผู้สืบสันดาน หรื อบุพการี ของคูส่ มรสของเลขาธิการกระทําการตามวรรค หนึง่ ให้ ถือว่าเลขาธิการมีสว่ นได้ เสียในกิจการของสํานักงาน ความในวรรคหนึง่ ไม่ใช้ บงั คับกับกรณีที่เลขาธิการได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร สํานักงานให้ เป็ นกรรมการในบริษัทจํากัดหรื อบริษัทมหาชนจํากัดที่สํานักงานเป็ นผู้ถือหุ้น มาตรา ๓๕ นิติกรรมใดที่ทําขึ ้นโดยไม่ถกู ต้ องตามมาตรา ๓๔ ไม่มีผลผูกพันสํานักงาน มาตรา ๓๖ ให้ มีคณะกรรมการบริ หารสํานักงาน ประกอบด้ วย นายกรัฐมนตรี หรื อผู้ซงึ่ ั ชาการทหารเรื อ ผู้บญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธานกรรมการ ผู้บญ อัยการสูงสุด ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม และปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็ นกรรมการ และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ นายกรัฐมนตรี แต่งตังจํ ้ านวนเจ็ดคน มีอํานาจออกข้ อบังคับหรื อประกาศเกี่ยวกับการ บริ หารงานทัว่ ไป การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การเงินและทรัพย์สนิ และการดําเนินการอื่นของสํานักงาน โดยเฉพาะในเรื่ องดังต่อไปนี ้ (๑) การแบ่งส่วนงานภายในของสํานักงานและขอบเขตหน้ าที่ของส่วนงานดังกล่าว (๒) การกําหนดตําแหน่ง อัตราเงินเดือน และค่าตอบแทนอื่นของพนักงานและลูกจ้ างของสํานักงาน รวมทังการให้ ้ ได้ รับเงินเดือนและค่าตอบแทนอื่น (๓) การกําหนดคุณสมบัติ การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตัง้ การทดลองปฏิบตั ิงาน การย้ าย การ เลื่อนตําแหน่ง การเลื่อนขันเงิ ้ นเดือน การออกจากตําแหน่ง การสัง่ พักงาน วินยั การสอบสวนและการลงโทษทางวินยั การ ้ ธีการและเงื่อนไขในการจ้ าง ร้ องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษ สําหรับเลขาธิการและพนักงานของสํานักงาน รวมทังวิ ลูกจ้ างของสํานักงาน (๔) การกําหนดเครื่ องแบบและการแต่งกายของเลขาธิการ พนักงาน และลูกจ้ างของสํานักงาน (๕) การจ้ างและการแต่งตังบุ ้ คคลเพื่อเป็ นผู้เชี่ยวชาญหรื อเป็ นผู้ชํานาญการเฉพาะด้ านอันจะเป็ น ้ ตราค่าตอบแทนการจ้ าง ประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั ิหน้ าที่ของสํานักงาน รวมทังอั (๖) การบริหารและจัดการงบประมาณ ทรัพย์สิน และการพัสดุของสํานักงาน (๗) การจัดสวัสดิการหรื อการสงเคราะห์อื่นแก่เลขาธิการ พนักงานและลูกจ้ างของสํานักงาน

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


464

มาตรา ๓๗ ให้ นําความในมาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑ มาใช้ บงั คับแก่กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ นายกรัฐมนตรี แต่งตังตามมาตรา ้ ๓๖ โดยอนุโลม การประชุมของคณะกรรมการบริหารสํานักงานให้ นําความในมาตรา ๑๒ มาใช้ บงั คับ โดยอนุโลม มาตรา ๓๘ ให้ สํานักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริ หารสํานักงานจัดทํารายงานผลการ ดําเนินงานประจําปี เสนอต่อคณะกรรมการ รายงานผลการดําเนินงานประจําปี อย่างน้ อยให้ มีสาระสําคัญ ดังต่อไปนี ้ (๑) การดําเนินการต่างๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของสํานักงานและ ของหน่วยงานที่รับผิดชอบ (๒) ปั ญหาและอุปสรรคจากการดําเนินงาน ้ นและข้ อเสนอแนะ (๓) รายงานข้ อเท็จจริ งหรื อข้ อสังเกตจากการดําเนินงาน พร้ อมทังความเห็ รายงานตามวรรคหนึง่ ให้ คณะกรรมการพิจารณาดําเนินการตามมาตรา ๗ (๑) (๒) หรื อ (๔) ต่อไป มาตรา ๓๙ ให้ สํานักงานวางและรักษาไว้ ซงึ่ บัญชีที่เป็ นไปตามหลักสากลและสอดคล้ องกับระบบ การบัญชีที่กระทรวงการคลังได้ วางไว้ มาตรา ๔๐ ให้ สํานักงานจัดให้ มีการตรวจสอบภายในเป็ นประจํา ให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารสํา นัก งานแต่ ง ตัง้ กรรมการผู้ท รงคุณ วุฒิ จํา นวนไม่ น้ อ ยกว่ า สามคน เป็ นคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อเสนอความเห็นเกี่ยวกับผลการตรวจสอบภายในต่อคณะกรรมการบริ หารสํานักงาน ในการตรวจสอบภายใน ให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ ให้ นําบทบัญญัติวา่ ด้ วยคณะกรรมการที่มีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่า ด้ วยวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองมาใช้ บงั คับกับการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบโดยอนุโลม มาตรา ๔๑ ให้ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรื อผู้สอบบัญชีอิสระที่สํานักงานการตรวจเงิน แผ่นดินให้ ความเห็นชอบเป็ นผู้สอบบัญชีของสํานักงาน มาตรา ๔๒ ให้ ผ้ สู อบบัญชีรายงานผลการสอบบัญชีตอ่ คณะกรรมการบริหารสํานักงานเพื่อเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรี ภายในหนึง่ ร้ อยยี่สบิ วันนับแต่วนั สิ ้นปี บัญชี และให้ สํานักงานเผยแพร่งบการเงินที่ผ้ สู อบบัญชีรับรอง แล้ วภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่คณะรัฐมนตรี รับทราบ มาตรา ๔๓ ให้ นายกรัฐมนตรี มีอํานาจกํากับดูแลโดยทัว่ ไปซึง่ กิจการของสํานักงาน เพื่อการนี ้จะสัง่ ให้ สํานักงานชี ้แจงข้ อเท็จจริง แสดงความคิดเห็นหรื อทํารายงานเสนอ และมีอํานาจสัง่ ยับยังการกระทํ ้ า ของสํานักงานที่เห็นว่าขัดต่อนโยบายของรัฐบาล ในกรณีที่คณะกรรมการบริหารสํานักงานหรื อสํานักงานต้ องเสนอเรื่ องไปยังคณะรัฐมนตรี ให้ สํานักงานนําเรื่ องเสนอนายกรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อไปยังคณะรัฐมนตรี วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


465

หมวด ๓ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ______________ มาตรา ๔๔ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลแบ่งออกเป็ น (๑) สิทธิทางทะเล (๒) เสรี ภาพทางทะเล (๓) หน้ าที่ในการส่งเสริมและรักษาทะเลไม่ให้ ได้ รับผลกระทบจากกิจกรรมใดๆ ในทะเล และการ ส่งเสริ มกิจการใดๆ ทางทะเล มาตรา ๔๕ สิทธิทางทะเลมีดงั ต่อไปนี ้ (๑) สิทธิในการกําหนดมาตรการความปลอดภัยในการเดินเรื อ หรื อข้ อบังคับในการสัญจรทางทะเล รวมทังการคุ ้ ้ มครองเครื่ องช่วยเหลือทางทะเลหรื อสิง่ อํานวยความสะดวกในการเดินเรื อหรื อสิง่ ติดตังอื ้ ่ นๆ (๒) สิทธิในการคุ้มครองสายเคเบิลหรื อทางท่อ (๓) สิทธิในการอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล รวมทังการป ้ ้ องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับการ ประมง (๔) สิทธิในการรักษาสิง่ แวดล้ อมหรื อการควบคุมมลพิษในทะเล (๕) สิทธิในการควบคุมการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลหรื อการสํารวจทางอุทกศาสตร์ (๖) สิทธิในการป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับการศุลกากร การรัษฎากร การเข้ าเมือง หรื อการ สาธารณสุข (๗) สิทธิในการป้องกันการผ่านทะเลของเรื อหรื ออากาศยานโดยไม่สจุ ริต (๘) สิทธิในการเรี ยกเก็บค่าบริการเฉพาะอย่างตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนดแก่เรื อ หรื ออากาศยานที่ผา่ นทะเลโดยสุจริ ต (๙) สิทธิในการป้องกันหรื อปราบปรามการกระทําความผิดบางอย่างตามที่กฎหมายกําหนดหรื อ ตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนดบนเรื อหรื ออากาศยานในทะเลโดยไม่ขดั ต่อจารี ตประเพณีหรื อกฎหมาย ระหว่างประเทศ (๑๐) สิทธิในการดําเนินคดีทางแพ่งกับเรื อหรื ออากาศยานที่ก่อให้ เกิดความเสียหายในทะเลตามที่ กฎหมายกําหนดหรื อตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนดโดยไม่ขดั ต่อจารี ตประเพณีหรื อกฎหมายระหว่าง ประเทศ (๑๑) สิทธิในการกําหนดมาตรการเพื่อความมัน่ คงของประเทศต่อเรื อหรื ออากาศยานในทะเล (๑๒) สิทธิในการสํารวจ การแสวงประโยชน์ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรไม่วา่ จะเป็ นสิง่ ที่ มีชีวิตหรื อไม่มีชีวิตก็ตาม ในนํ ้าเหนือพื ้นดินท้ องทะเล ในพื ้นดินท้ องทะเล ในดินใต้ ผิวดินของพื ้นดินท้ องทะเล หรื อใน อากาศเหนือทะเล และกิจกรรมอื่นๆ ในทางเศรษฐกิจ เช่น การก่อสร้ าง การอนุญาตให้ ก่อสร้ าง การควบคุม หรื อการ ใช้ ซงึ่ เกาะเทียม สิง่ ติดตัง้ หรื อสิง่ ก่อสร้ างในทางเศรษฐกิจในทะเล รวมทังการบั ้ งคับใช้ กฎหมายที่จําเป็ นเพื่อคุ้มครองสิทธิ ดังกล่าวและการกําหนดมาตรการความปลอดภัย จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


466

(๑๓) สิทธิอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด มาตรา ๔๖ เสรี ภาพทางทะเลในทะเลหลวงมีดงั ต่อไปนี ้ (๑) เสรี ภาพในการเดินเรื อหรื อการบินผ่าน (๒) เสรี ภาพที่จะวางสายเคเบิลและทางท่อใต้ ทะเล (๓) เสรี ภาพที่จะสร้ างเกาะเทียมและสิง่ ติดตังอื ้ ่นๆ ที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตให้ ทําได้ (๔) เสรี ภาพในการทําประมง (๕) เสรี ภาพในการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ (๖) เสรี ภาพอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด เสรี ภาพทางทะเลในทะเลหลวงตามวรรคหนึง่ ให้ ใช้ โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของรัฐอื่นๆ ด้ วย มาตรา ๔๗ หน้ าที่ในการป้องกันและรักษาทะเลไม่ให้ ได้ รับผลกระทบจากกิจกรรมใดๆ ในทะเลและการส่งเสริ มกิจการใดๆ ทางทะเลมีดงั ต่อไปนี ้ (๑) หน้ าที่ในการกําหนดมาตรฐานการดําเนินกิจกรรมใดๆ ในทะเลไม่ให้ สง่ ผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้ อมทางทะเล (๒) หน้ าที่ในการตรวจสอบและดําเนินคดีกบั ผู้ซงึ่ ดําเนินกิจกรรมหรื อกระทําการใดๆ อันส่งผล กระทบต่อสิง่ แวดล้ อมทางทะเล (๓) หน้ าที่ในการส่งเสริ มกิจการใดๆ ทางทะเลตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด (๔) หน้ าที่อื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตาม (๓) สํานักงานจะเข้ าร่วมงานหรื อดําเนินกิจการใดๆ ทาง ทะเลก็ได้ ตามที่คณะกรรมการกําหนด หมวด ๔ มาตรการคุ้มครองสิทธิทางทะเล

ส่วนที่ ๑ บททัว่ ไป

มาตรา ๔๘ เพื่อส่งเสริ มให้ เกิดความปลอดภัยในการเดินเรื อหรื อกิจกรรมอื่นๆ ทางทะเลหรื อเพื่อ คุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล คณะกรรมการจะเสนอให้ มีการจัดตังศู ้ นย์เฝ้าระวังผลประโยชน์แห่งชาติทาง ทะเล กู้ภยั และอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมทางทะเลขึ ้นในสํานักงานก็ได้ ในกรณีที่ศนู ย์ตามวรรคหนึง่ ทําการช่วยเหลือกู้ภยั ให้ แก่เรื อหรื อยานพาหนะใด ให้ ศนู ย์ มีบรุ ิมสิทธิ ทางทะเลเหนือเรื อหรื อยานพาหนะนันและมี ้ สทิ ธิเรี ยกร้ องค่าใช้ จ่ายในการช่วยเหลือกู้ภยั จากเจ้ าของหรื อผู้ครอบครอง เรื อหรื อยานพาหนะนัน้ ทังนี ้ ้ ในกรณีที่มีการฟื น้ ฟูสงิ่ แวดล้ อมทางทะเลอันเนื่องมาจากเรื อหรื อยานพาหนะนัน้ ให้ ศนู ย์มี

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


467

สิทธิเรี ยกค่าใช้ จ่ายในการฟื น้ ฟูสิ่งแวดล้ อมทางทะเลและค่าเสียหายอื่นจากเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองเรื อหรื อ ยานพาหนะนันด้ ้ วย ในกรณีที่ศนู ย์ตามวรรคหนึง่ พบว่ามีการกระทําผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ศูนย์จะเข้ าไปดําเนินการ กับผู้กระทําความผิดเองหรื อแจ้ งให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบเป็ นผู้ดําเนินการก็ได้ ในกรณีที่ศนู ย์ตามวรรคหนึง่ ทําการช่วยเหลือบุคคลใดจากเรื อ ยานพาหนะ หรื อสิง่ ก่อสร้ างใดๆ ที่ อับปางหรื อเกิดภัยพิบตั ิอื่นใด ไม่วา่ จะเป็ นภัยธรรมชาติหรื อไม่ก็ตาม ให้ ศนู ย์มีสทิ ธิเรี ยกค่าใช้ จ่ายในการช่วยเหลือจาก เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองเรื อ ยานพาหนะ หรื อสิ่งก่อสร้ างนันได้ ้ การเรี ยกค่าใช้ จ่ายตามวรรคสองหรื อวรรคสี่ ให้ นํามาตรา ๗๖ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม โดยให้ ถือว่า เลขาธิการเป็ นผู้เสียหายมีอํานาจฟ้องเรี ยกค่าใช้ จ่ายต่อศาลแพ่ง และให้ พนักงานอัยการที่อยั การสูงสุดมอบหมายรับว่า ต่างให้ แก่เลขาธิการ ส่วนที่ ๒ มาตรการความปลอดภัยในการสัญจรทางทะเล

มาตรา ๔๙ ให้ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจออกกฎกระทรวง ดังต่อไปนี ้ (๑) กําหนดแนวแม่นํ ้าลําคลอง ทางนํ ้า หรื อเขตทางทะเลอื่นใดเป็ นเขตท่าเรื อหรื อ เขตจอดเรื อ (๒) กําหนดทางเดินเรื อในแม่นํ ้าลําคลอง ทางนํ ้า หรื อเขตทางทะเลอื่นใด (๓) กําหนดทางสัญจรทางทะเลสําหรับยานพาหนะอื่นนอกเหนือจากเรื อ รวมทังท่ ้ าเรื อหรื อเขตจอด ยานพาหนะนัน้ (๔) กําหนดมาตรการความปลอดภัยในการเดินเรื อหรื อการสัญจรทางทะเลอื่น เว้ นแต่ พระราชบัญญัตินี ้หรื อกฎหมายอื่นจะกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น (๕) กําหนดมาตรการคุ้มครองเครื่ องช่วยเหลือทางทะเลหรื อสิง่ อํานวยความสะดวกในการเดินเรื อ หรื อการสัญจรทางทะเลอื่น หรื อสิง่ ติดตังอื ้ ่นๆ ทางทะเล กฎกระทรวงตามวรรคหนึง่ จะกําหนดให้ เรื่ องที่เป็ นรายละเอียดทางด้ านเทคนิคหรื อเป็ นเรื่ องที่อาจ เปลี่ยนแปลงรวดเร็วให้ เป็ นไปตามรัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนดก็ได้ มาตรา ๕๐ เรื อหรื อยานพาหนะใดทางทะเลต้ องมีความปลอดภัยตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบประกาศกําหนด ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดนําเรื อหรื อยานพาหนะใดทางทะเลที่ไม่มีความปลอดภัยตามวรรคหนึง่ ไปใช้ ในทะเล เรื อหรื อยานพาหนะทางทะเล ถ้ ามีความปลอดภัยตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดตามวรรคหนึง่ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ออกใบสําคัญรับรองการตรวจเรื อเพื่ออนุญาตให้ ใช้ เรื อ ยกเว้ นเรื อหรื อยานพาหนะที่รัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบประกาศกําหนด ใบสําคัญรับรองการตรวจเรื อและใบอนุญาตให้ ใช้ เรื อตามวรรคสามให้ มีอายุหนึง่ ปี นับแต่วนั ที่ออก ใบสําคัญหรื อใบอนุญาตนัน้

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


468

หลักเกณฑ์และวิธีการ รวมทังอั ้ ตราค่าธรรมเนียมการตรวจเรื อ การขอและออกใบสําคัญรับรองการ ตรวจเรื อและใบอนุญาตให้ ใช้ เรื อและอัตราค่าธรรมเนียมใบสําคัญหรื อใบอนุญาตให้ เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบ ประกาศกําหนด มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมหรื อทรัพยากรธรรมชาติ หรื อ ประโยชน์สาธารณะอื่นใด รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจประกาศดังต่อไปนี ้ (๑) กําหนดจํานวนของเรื อหรื อยานพาหนะอื่นใดในแต่ประเภทที่จะให้ สญ ั จรทางทะเลได้ ทังนี ้ ้ เฉพาะเรื อหรื อยานพาหนะที่มีผ้ ถู ือกรรมสิทธิ์เป็ นคนสัญชาติไทย (๒) กําหนดแนวเขตทางทะเลเพื่อการสํารวจ ศึกษาวิจยั หรื อการอื่นใด เช่น การขุดลอก การจัดให้ มี เครื่ องหมายแสดงความปลอดภัย การติดตังเครื ้ ่ องช่วยเหลือทางทะเลหรื อสิง่ อํานวยความสะดวกในการเดินเรื อหรื อการ สัญจรทางทะเลอื่นหรื อสิง่ ติดตังอื ้ ่นๆ ทางทะเล เมื่อได้ มีประกาศตาม (๑) หรื อ (๒) ห้ ามเรื อหรื อยานพาหนะที่เกินจํานวนที่กําหนดตาม (๑) สัญจร ทางทะเลหรื อห้ ามเรื อหรื อยานพาหนะอื่นใดเข้ าไปในแนวเขตทางทะเลตาม (๒) ตามที่กําหนดไว้ ในประกาศ แล้ วแต่ กรณี มาตรา ๕๒ ผู้ใดประสงค์จะประกอบกิจการท่าเรื อตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนดต้ อง ได้ รับอนุญาตจากรัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบ การขออนุญาต การอนุญาต และอัตราค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด มาตรา ๕๓ ให้ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประกอบ กิจการท่าเรื อหรื อการรักษาความปลอดภัยสําหรับท่าเรื อตามมาตรา ๕๒ หลักเกณฑ์ตามวรรคหนึง่ ให้ รวมถึงหน้ าที่ความรับผิดชอบของท่าเรื อ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ประจําท่าเรื อ การป้องกันจากการก่อการร้ ายหรื อโจรสลัด และการประกอบกิจการหรื อ การรักษาความปลอดภัยอื่นๆ ส่วนที่ ๓ มาตรการคุ้มครองสายเคเบิลหรื อทางท่อ

มาตรา ๕๔ สายเคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเล หรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดใต้ ทะเล เจ้ าของหรื อผู้ ครอบครองต้ องจัดทําเครื่ องหมายแสดงไว้ ณ ที่ซงึ่ สายเคเบิลหรื อทางท่อ หรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดนันทอดหรื ้ อวาง หรื อติดตังอยู ้ ่เพื่อให้ เรื อหรื อยานพาหนะทางทะเลใดๆ รู้ได้ วา่ มีสายเคเบิลหรื อทางท่อ หรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดนัน้ อยู่ ทังนี ้ ้ จะจัดให้ มีเครื่ องป้องกันใดๆ ไว้ ด้วยก็ได้ ห้ ามมิให้ เรื อหรื อยานพาหนะทางทะเลใดๆ ทอดสมอเรื อหรื อจอดหรื อเข้ าไปในบริเวณที่มีสายเคเบิล หรื อทางท่อหรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างใดๆ ตามวรรคหนึง่ ภายในระยะตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด เว้ นแต่ เข้ าไปเพื่อติดตัง้ ซ่อมแซม หรื อบํารุงรักษา

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


469

มาตรา ๕๕ ให้ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์การวางหรื อติดตังสาย ้ เคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเล หรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดใต้ ทะเล หลักเกณฑ์ตามวรรคหนึง่ ให้ รวมถึงเส้ นทางในการวางหรื อติดตัง้ การควบคุมมลพิษ หรื อการอนุรักษ์ ้ องกันความเสียหายแก่สายเคเบิลหรื อทางท่อใต้ ทะเล หรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดใต้ สิง่ แวดล้ อม รวมทังมาตรการป ้ ทะเลที่มีอยูแ่ ล้ ว ส่วนที่ ๔ การอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตและสิง่ แวดล้ อม

มาตรา ๕๖ ให้ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจออกกฎกระทรวง ดังต่อไปนี ้ (๑) กําหนดมาตรการอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล รวมทังมาตรการป ้ ้ องกันการ ฝ่ าฝื นการทํา ประมงโดยผิดกฎหมายหรื อป้องกันกิจกรรมใดๆ ทางทะเลที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล (๒) กําหนดมาตรการในการรักษาสิง่ แวดล้ อมทางทะเลหรื อการควบคุมมลพิษในทะเล มาตรการ ดังกล่าวให้ รวมถึงการห้ ามทิ ้งของเสียหรื อวัตถุอนั ตรายใดๆ ในทะเล หรื อห้ ามการขนส่งของเสียหรื อวัตถุอนั ตรายใดๆ ผ่านทะเล ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อมทางทะเลหรื ออาจก่อให้ เกิดมลพิษในทะเล มาตรการตาม (๑) หรื อ (๒) ให้ รวมถึงการกําหนดเขตอนุรักษ์ พื ้นที่ชายฝั่ งทะเลเพื่อห้ ามก่อสร้ างสิ่ง ้ มชนชายฝั่ งทะเลเพื่อดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อมชายฝั่ งทะเลและบริ เวณทะเลใกล้ เคียง ใดๆ หรื อทํากิจกรรมใดๆ การจัดตังชุ ตามที่กําหนด และการกําหนดเขตทางทะเลใดๆ ที่ห้ามทําการประมงหรื อกิจกรรมอื่นที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรที่มีชีวิต ในทะเลหรื อสิง่ แวดล้ อมทางทะเล มาตรา ๕๗ ห้ ามคนต่างด้ าวตามกฎหมายว่าด้ วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้ าวทําการประมง ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต การอนุญาต รวมทังหลั ้ กเกณฑ์หรื อเงื่อนไขในการทํา ประมง และอัตราค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด เรื อประมงของคนต่างด้ าวตามวรรคหนึง่ ซึง่ จะผ่านหรื อเข้ ามาในเขตเศรษฐกิจจําเพาะต้ องแจ้ งให้ สํานักงานทราบล่วงหน้ าก่อน และต้ องเก็บเครื่ องมือทําการประมงไม่ให้ อยูใ่ นสภาพที่พร้ อม จะทําการประมงได้ ในกรณีที่คนต่างด้ าวตามวรรคหนึง่ ไม่ปฏิบตั ิตามวรรคสามให้ ถือว่าคนต่างด้ าวผู้นนฝ่ ั ้ าฝื นวรรคหนึง่ เว้ นแต่จะพิสจู น์ได้ วา่ ตนไม่ได้ ทําการประมงในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในกรณีที่มีการจับกุม กัก หรื อยึดเรื อประมงของคนต่างด้ าวตามวรรคหนึง่ ให้ สํานักงานแจ้ งประเทศ เจ้ าของธงของเรื อประมงนันทราบในทั ้ นที ทังนี ้ ้ ให้ ปล่อยเรื อและลูกเรื อที่ถกู จับกุม กัก หรื อยึดไว้ ในทันทีที่ได้ มีการวาง ประกันตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบกําหนด คนต่างด้ าวที่ได้ รับอนุญาตตามวรรคหนึง่ ต้ องปฏิบตั ิตามมาตรการที่กําหนดไว้ ในมาตรา ๕๖ หรื อ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ องกับการประมงหรื อการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อม ส่วนที่ ๕ จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


470

การวิจยั สํารวจ และแสวงประโยชน์ในกิจกรรมอื่น

มาตรา ๕๘ การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลหรื อการสํารวจทางอุทกศาสตร์ ทางทะเลในเขตทาง ทะเลที่ประเทศไทยมีอํานาจอธิปไตยหรื อสิทธิอธิปไตย แล้ วแต่กรณี จะกระทํามิได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจาก หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ้ กเกณฑ์หรื อเงื่อนไขในการวิจยั หลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต การอนุญาต รวมทังหลั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลหรื อการสํารวจทางอุทกศาสตร์ และอัตราค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ เป็ นไปตามที่หน่วยงานที่ รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๙ การสํารวจหรื อแสวงประโยชน์จากทรัพยากรที่ไม่มีชีวิตในทะเลโดยเฉพาะในเขตไหล่ ทวีปหรื อเขตเศรษฐกิจจําเพาะจะกระทํามิได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่ กรณี หลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต การอนุญาต รวมทังหลั ้ กเกณฑ์ในการสํารวจหรื อแสวง ประโยชน์จากทรัพยากรที่ไม่มีชีวิตในทะเล และอัตราค่าธรรมเนียมการอนุญาต ให้ เป็ นไปตามที่หน่วยงานรับผิดชอบ หรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ประกาศกําหนด มาตรา ๖๐ เรื อหรื อยานพาหนะใดจะสํารวจ แสวงประโยชน์ หรื อดําเนินการใดๆ ในทางเศรษฐกิจ ต่อทรัพยากรที่มีชีวิตหรื อที่ไม่มีชีวิตในทะเลมิได้ ไม่วา่ ในนํ ้าเหนือพื ้นดินท้ องทะเลบนพื ้นดินท้ องทะเล ในดินใต้ พื ้นดิน ท้ องทะเล หรื อในอากาศเหนือทะเล เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ความในวรรคหนึง่ ให้ ใช้ บงั คับแก่กิจกรรมอื่นๆ เช่น การสร้ างหรื อใช้ เกาะเทียม สิง่ ติดตัง้ หรื อ สิง่ ก่อสร้ างอื่นๆ ด้ วย หลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาต การอนุญาต รวมทังเงื ้ ่อนไขในการดําเนินงานหรื อมาตรการใน การป้องกันความปลอดภัยหรื อการอนุรักษ์ ตอ่ ทรัพยากรหรื อสิง่ แวดล้ อมทางทะเล และอัตราค่าธรรมเนียมการอนุญาต ให้ เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด ส่วนที่ ๖ มาตรการคุ้มครองสิทธิทางทะเลอื่น

มาตรา ๖๑ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันการฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับการศุลกากร การรัษฎากร การ เข้ าเมือง หรื อการสาธารณสุข ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจ ดังต่อไปนี ้ (๑) สัง่ ให้ หยุดและขึ ้นไปบนเรื อหรื อยานพาหนะใดๆ ในทะเลภายใต้ อธิปไตยของประเทศไทยหรื อใน เขตต่อเนื่อง เพื่อตรวจสอบสินค้ า เอกสาร วัตถุ สิ่งของ บุคคล หรื อสิง่ ใดๆ ที่สงสัยว่าจะฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับการ ศุลกากร การรัษฎากร การเข้ าเมือง หรื อการสาธารณสุข

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


471

(๒) จับกุม ค้ น กัก ยึด อายัดหรื อกระทําการใดตามที่เห็นสมควรต่อเรื อ ยานพาหนะ สินค้ า เอกสาร วัตถุ สิง่ ของ บุคคล หรื อสิง่ ใดๆ ที่ต้องสงสัยตาม (๑) ทังนี ้ ้ การควบคุมบุคคลที่ถกู จับกุมให้ เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบประกาศกําหนด (๓) สัง่ ให้ บคุ คลใดบนเรื อหรื อยานพาหนะให้ ถ้อยคําหรื อให้ สง่ เอกสารหรื อพยานหลักฐานใดๆ ที่ เกี่ยวข้ องหรื อต้ องสงสัยตาม (๑) (๔) ในกรณีที่เรื อหรื อยานพาหนะต่อสู้ ขัดขวาง หรื อหลบหนี ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจสัง่ ยิง ทําลาย หรื อดําเนินการใด เพื่อคุ้มครองป้องกันตนเองหรื อป้องกันการหลบหนีได้ ทังนี ้ ้ การสัง่ ยิงหรื อทําลายเพื่อ ป้องกันการหลบหนีให้ มีการแจ้ งหรื อให้ สญ ั ญาณใดๆ อันเป็ นการเตือนให้ ทราบล่วงหน้ าว่าจะดําเนินการดังกล่าว (๕) สัง่ ให้ เรื อหรื อยานพาหนะใดไปอยูย่ งั บริเวณหรื อสถานที่ที่พนักงานเจ้ าหน้ าที่กําหนดในกรณีที่มี การสัง่ กัก ยึด หรื ออายัดหรื อยานพาหนะนันตาม ้ (๒) ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรเชื่อได้ วา่ เรื อหรื อยานพาหนะใดกระทําการฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับการ ศุลกากร การรัษฎากร การเข้ าเมือง หรื อการสาธารณสุข ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่แจ้ งพนักงานสอบสวนเพื่อดําเนินคดี ต่อไป ในระหว่างนันพนั ้ กงานเจ้ าหน้ าที่หรื อพนักงานสอบสวนจะกําหนดมาตรการใดๆ เพื่อประโยชน์ในการสอบสวน หรื อเพื่อป้องกันด้ านการสาธารณสุขได้ ตามที่เห็นสมควร มาตรา ๖๒ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันการผ่านทะเลภายใต้ อํานาจอธิปไตยของประเทศไทยของ เรื อหรื อยานพาหนะใดโดยไม่สจุ ริต ให้ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจประกาศกําหนดมาตรการเพื่อป้องกันการกระทํา ดังกล่าวได้ ตามที่เห็นสมควร ทังนี ้ ้ ให้ นํามาตรา ๖๑ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม ในกรณีที่เรื อหรื อยานพาหนะใดๆ ผ่านทะเลโดยสุจริต ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่อํานวยความสะดวกหรื อ ให้ บริการตามที่เรื อหรื อยานพาหนะนันร้ ้ องขอตามที่เห็นสมควร ในกรณีที่ให้ บริการใดๆ ให้ เรี ยกเก็บค่าบริการได้ ตามอัตราที่ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด มาตรา ๖๓ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันหรื อปราบปรามการกระทําความผิดตามที่รัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบประกาศกําหนดหรื อเพื่อป้องกันความมัน่ คงของประเทศ ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่ กรณี มีอํานาจกําหนดมาตรการใดๆ เพื่อป้องกันหรื อปราบปรามการกระทําความผิดนันบนเรื ้ อหรื อยานพาหนะใดๆ หรื อเพื่อป้องกันความมัน่ คงของประเทศในทะเลได้ ทังนี ้ ้ ให้ นํามาตรา ๖๑ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม มาตรการตามวรรคหนึง่ ต้ องไม่ขดั หรื อแย้ งต่อจารี ตประเพณีหรื อกฎหมายระหว่างประเทศที่กําหนด ในเรื่ องนี ้ มาตรา ๖๔ ในกรณีที่คณะกรรมการประกาศกําหนดสิทธิอื่นในทะเล ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อ สํานักงาน แล้ วแต่กรณี มีอํานาจกําหนดมาตรการใดๆ เพื่อการคุ้มครองหรื อป้องกันสิทธิ ทางทะเลดังกล่าวได้

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


472

หมวด ๕ มาตรการคุ้มครองเสรี ภาพทางทะเล

มาตรา ๖๕ ให้ หน่วยงานผู้รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี กําหนดมาตรการในการเดินเรื อ หรื อการบินผ่านทะเลหลวง หรื อการผ่านทะเลหลวงโดยยานพาหนะอื่นจากประเทศไทย มาตรการตามวรรคหนึง่ ให้ รวมถึงการแจ้ งเพื่อการผ่านทะเลหลวงไปยังจุดหมายใดๆ การแจ้ งสิง่ ที่ บรรทุก รวมทังบุ ้ คคลประจําเรื อหรื อผู้โดยสาร หรื อการแสดงใบรับรองความปลอดภัยของเรื อหรื อยานพาหนะ หรื อ อากาศยานที่จะใช้ ผา่ นทะเลหลวง มาตรา ๖๖ ให้ นําความในมาตรา ๕๔ และมาตรา ๕๕ มาใช้ บงั คับแก่การวางสายเคเบิล ทางท่อ หรื อสายหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดในทะเลหลวงของบุคคลซึง่ มีสญ ั ชาติไทยด้ วย ้ ่นๆ ในทะเลหลวงโดยบุคคลซึง่ มีสญ ั ชาติไทยจะ มาตรา ๖๗ การสร้ างเกาะเทียมหรื อสิง่ ติดตังอื กระทํามิได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี หลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาต การอนุญาต เงื่อนไขในการดําเนินงานและอัตรา ค่าธรรมเนียม การอนุญาต ให้ เป็ นตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด มาตรา ๖๘ การทําประมงในทะเลหลวงโดยบุคคลซึง่ มีสญ ั ชาติไทย ให้ แจ้ งต่อหน่วยงานที่ รับผิดชอบก่อนจึงจะทําการประมงในทะเลหลวงได้ หน่วยงานที่รับผิดชอบตามวรรคหนึง่ จะกําหนดเงื่อนไขในการทําประมงในทะเลหลวงก็ได้ ตามความ เหมาะสม เงื่อนไขดังกล่าวให้ คํานึงถึงจารี ตประเพณีหรื อกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้ องกับการทําการประมงใน ทะเลหลวงหรื อการอนุรักษ์ ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวงหรื อการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมหรื อความหลากหลายทาง ชีวภาพ รวมทังคํ ้ านึงถึงความปลอดภัยในการทําประมงในทะเลหลวงด้ วย หน่วยงานที่รับผิดชอบตามวรรคหนึง่ อาจส่งเสริมให้ มีการทําประมงในทะเลหลวงโดยบุคคลซึง่ มี สัญชาติไทยได้ ไม่วา่ จะเป็ นมาตรการด้ านภาษี หรื อการอํานวยความสะดวกใดๆ หรื อการส่งเสริ มเทคโนโลยีในการทํา ประมงในทะเลหลวง การส่งเสริมตามวรรคสาม ให้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อมีมติให้ ความเห็นชอบก่อน ในการนี ้ หาก คณะรัฐมนตรี ให้ ความเห็นชอบแล้ ว ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นได้ ตามมติคณะรัฐมนตรี ดังกล่าว มาตรา ๖๙ การวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลในทะเลหลวง หรื อการอื่นตามที่คณะกรรมการ กําหนดให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด มาตรา ๗๐ บุคคลซึง่ มีสญ ั ชาติไทยตามหมวดนี ้ให้ รวมถึงนิติบคุ คลซึง่ จดทะเบียนตามกฎหมายไทย หรื อมีฐานะเป็ นนิติบคุ คลตามกฎหมายไทยด้ วย วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


473

ความในหมวดนี ้ให้ ใช้ บงั คับแก่คนต่างด้ าวตามกฎหมายว่าด้ วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้ าว ด้ วย ทังนี ้ ้ เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้ งต่อจารี ตประเพณีหรื อกฎหมายระหว่างประเทศ หมวด ๖ หน้ าที่ในการป้องกันและรักษาทะเล

มาตรา ๗๑ ห้ ามมิให้ เรื อ ยานพาหนะอื่นทางทะเล เกาะเทียม สิ่งก่อสร้ าง หรื อการทํากิจกรรมใดๆ ของบุคคลใดในทะเลทิ ้งของเสีย วัตถุอนั ตราย หรื อสิง่ อื่นใดในทะเลที่ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรื อ สิง่ แวดล้ อมในทะเล การสร้ างเกาะเทียม สิง่ ก่อสร้ าง หรื อสิง่ ติดตังใดๆ ้ ของบุคคลใดในทะเล เมื่อเลิกกิจการหรื อกิจกรรม ้ ว บุคคลนันต้ ้ องกําจัดหรื อทําลายเกาะเทียม สิง่ ก่อสร้ าง หรื อสิง่ ติดตังใดๆ ้ นัน้ โดยมิให้ สง่ ผลกระทบต่อ นันแล้ ทรัพยากรธรรมชาติหรื อสิง่ แวดล้ อมในทะเลหรื อดําเนินการอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนดเพื่อให้ เกิดความ ปลอดภัยต่อการเดินเรื อหรื อการสัญจรทางทะเล มาตรา ๗๒ การทําประมงโดยเรื อหรื อยานพาหนะใดๆ ของบุคคลใดต้ องไม่กระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติหรื อสิง่ แวดล้ อมในทะเล การทําประมงตามวรรคหนึ่งให้ หมายถึงการทําประมงตามจํานวนหรื อปริ มาณสัตว์นํ ้าหรื อพืชนํา้ หรื อเรื อประมงที่หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ประกาศกําหนดให้ ทําการประมงได้ โดยไม่ส่งผล กระทบต่อระบบนิเวศของสัตว์นํ ้าหรื อพืชนํ ้า เพื่อให้ มีสตั ว์นํ ้าหรื อพืชนํ ้านันได้ ้ อย่างยัง่ ยืน การห้ ามทําการประมงแก่สตั ว์ นํ ้าหรื อพืชนํ ้าที่หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ประกาศกําหนด หรื อห้ ามทําการประมงด้ วยเครื่ องมือ หรื อวิธีการใดตามที่หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี ประกาศกําหนด มาตรา ๗๓ ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี กําหนดมาตรฐานในการทํา กิจกรรมทางทะเลใดๆ เพื่อมิให้ สง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรื อสิง่ แวดล้ อมทางทะเล การกําหนดมาตรฐานตามวรรคหนึง่ หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี จะใช้ มาตรฐานของต่างประเทศหรื อมาตรฐานระหว่างประเทศ หรื อขอให้ หน่วยงานอื่นใดให้ ความร่วมมือเพื่อกําหนด มาตรฐานนันก็ ้ ได้ คณะกรรมการจะมอบหมายให้ ศนู ย์ตามมาตรา ๔๘ มีหน้ าที่เฝ้าระวังการกระทําผิดในหมวดนี ้ หรื อ มอบหมายหน่วยงานที่รับผิดชอบอื่นใดทําหน้ าที่ดงั กล่าวด้ วยก็ได้ บทบัญญัติในหมวดนี ้ให้ ใช้ บงั คับแก่บคุ คลซึง่ มีสญ ั ชาติไทยหากกระทําในทะเลหลวงหรื อทะเลที่อยู่ ภายใต้ อํานาจอธิปไตยหรื อสิทธิอธิปไตยของต่างประเทศ และให้ นํามาตรา ๗๐ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม มาตรา ๗๔ ในกรณีคณะกรรมการกําหนดให้ สง่ เสริมกิจการหนึ่งกิจการใดหรื อประกาศกําหนด หน้ าที่อื่นตามมาตรา ๔๗ (๓) หรื อ (๔) ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อสํานักงาน แล้ วแต่กรณี มีอํานาจกําหนดมาตรการ ใดๆ เพื่อส่งเสริมกิจการหรื อหน้ าที่นนได้ ั้ จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


474

หมวด ๗ ความรับผิดทางแพ่งและการดําเนินคดี _______________ มาตรา ๗๕ ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงหรื อประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี ้หรื อ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี ้หรื อกระทําการใดเป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหายต่อทรัพยากร สิง่ แวดล้ อม หรื อระบบ นิเวศทางทะเล ผู้นนต้ ั ้ องรับผิดและชดใช้ คา่ สินไหมทดแทนเพื่อการนัน้ ค่าสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่ง ให้ หมายความรวมถึงค่าใช้ จ่ายทังหมดที ้ ่หน่วยงาน ของรัฐหรื อผู้ใด ต้ องจ่ายไปหรื อจะต้ องจ่ายเพื่อขจัดความเสียหายที่เกิดขึ ้น รวมทังการฟื ้ น้ ฟูทรัพยากร สิง่ แวดล้ อม หรื อระบบนิเวศทาง ทะเลให้ กลับคืนดังเดิมด้ วย ความเสียหายตามวรรคหนึง่ ให้ หมายความรวมถึงความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย ทรัพย์สนิ หรื อสิทธิที่จะได้ รับประโยชน์จากทรัพยากร สิง่ แวดล้ อม หรื อระบบนิเวศทางทะเลด้ วย ในกรณีนี ้ค่าสินไหมทดแทน ตามวรรคหนึง่ ให้ รวมถึงค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายดังกล่าวด้ วย มาตรา ๗๖ ในกรณีที่ปรากฏว่ามีการกระทําความผิดอย่างหนึง่ อย่างใดตามพระราชบัญญัตินี ้ให้ ถือว่า หน่วยงานที่รับผิดชอบเป็ นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และในคดีอาญานันให้ ้ พนักงานอัยการมี อํานาจเรี ยกทรัพย์สนิ หรื อราคา หรื อค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแทนผู้เสียหายที่แท้ จริ งได้ ในการนี ้ให้ นําบทบัญญัติวา่ ด้ วยการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้ บงั คับโดยอนุโลม บทบัญญัติมาตรานี ้ไม่เป็ นการตัดสิทธิผ้ เู สียหายที่แท้ จริงในการใช้ สทิ ธิฟ้องร้ องหรื อดําเนินการใดๆ ตาม กฎหมายต่อผู้กระทําความผิดนัน้ ในกรณีที่มีปัญหาว่าหน่วยงานใดเป็ นหน่วยงานที่รับผิดชอบตามวรรคหนึง่ ให้ คณะกรรมการเป็ นผู้วินิจฉัย คําวินิจฉัยของคณะกรรมการให้ ถือเป็ นที่สดุ ทังนี ้ ้ หน่วยงานที่รับผิดชอบจะมีมากกว่า หนึง่ แห่งก็ได้ มาตรา ๗๗ ให้ นําความในมาตรา ๗๖ มาใช้ บงั คับกับการฟ้องร้ องเรี ยกค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา ๗๕ โดยอนุโลม โดยให้ ถือว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบเป็ นผู้เสียหายมีอํานาจฟ้องเรี ยกค่าสินไหมทดแทนต่อศาลแพ่งและให้ พนักงาน อัยการที่อยั การสูงสุดมอบหมายรับว่าต่างให้ แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบ มาตรา ๗๘ ในการดําเนินคดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ ถ้ าการกระทําความผิดใดไม่ปรากฏ อย่างชัดเจนว่าอยูใ่ นเขตอํานาจของพนักงานสอบสวนผู้ใด ให้ พนักงานสอบสวนซึง่ เลขาธิการแต่งตังตามมาตรา ้ ๓๐ (๓) เป็ นพนักงานสอบสวนในคดีนนตามที ั้ ่เลขาธิการมอบหมาย ในกรณีที่มีคดีดงั กล่าวจํานวนมากหรื อมีเหตุอื่น ให้ เลขาธิการแจ้ งให้ อยั การสูงสุดมอบหมายพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาผู้หนึง่ ตาม ความเหมาะสมเป็ นพนักงานสอบสวนในคดีที่ได้ รับแจ้ งและให้ นํามาตรา ๒๐ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญามาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


475

มาตรา ๗๙ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ให้ อยูใ่ นเขตอํานาจของศาลอาญา แต่ถ้าการสอบสวน ได้ กระทําในเขตอํานาจของศาลใด ให้ ความผิดนันอยู ้ ใ่ นเขตอํานาจของศาลนัน้ เว้ นแต่คดีอยูใ่ นเขตอํานาจของศาล ทหารหรื อศาลอื่น หมวด ๘ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ ______________ มาตรา ๘๐ เพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจดําเนินการ ดังต่อไปนี ้ (๑) สอบถามไม่วา่ ด้ วยวิธีการใดๆ กับเจ้ าของ ผู้ครอบครอง หรื อบุคคลใดซึง่ รับผิดชอบหรื อมีหน้ าที่ เกี่ยวข้ องกับเรื อ ยานพาหนะ หรื อสิง่ ก่อสร้ างใดๆ ในทะเล เพื่อให้ ทราบข้ อมูลหรื อสิทธิในการใช้ ธงหรื อสิทธิอื่นของเรื อ ยานพาหนะ เกาะเทียม หรื อสิง่ ก่อสร้ างนันอั ้ นเป็ นการตรวจสอบเพื่อมิให้ มีการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม พระราชบัญญัตินี ้ (๒) สัง่ ให้ หยุดและขึ ้นไปบนเรื อหรื อยานพาหนะใดๆ ในทะเล ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรเชื่อได้ วา่ เรื อ หรื อยานพาหนะนันกระทํ ้ าการใดให้ เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลหรื อฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตาม พระราชบัญญัตินี ้ ทังนี ้ ้ เพื่อตรวจสอบหาพยานหลักฐานอันเป็ นประโยชน์ในการดําเนินคดีกบั เรื อหรื อยานพาหนะนัน้ (๓) จับกุม คัน กัก ยึด อายัด หรื อกระทําการใดตามที่เห็นสมควรและเท่าที่จําเป็ นซึง่ เรื อ ยานพาหนะ สิง่ ก่อสร้ างใดๆ พยานหลักฐาน หรื อบุคคลใดที่มีเหตุอนั ควรเชื่อว่าได้ กระทําการใดให้ เกิดความเสียหายต่อ ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลหรื อฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ (๔) สัง่ ให้ บคุ คลใดบนเรื อ ยานพาหนะ เกาะเทียม หรื อสิง่ ก่อสร้ างใดๆ ให้ ถ้อยคําหรื อส่งเอกสารหรื อ พยานหลักฐานใดๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการกระทําที่ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลหรื อฝ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ (๕) ในกรณีที่เรื อหรื อยานพาหนะต่อสู้ ขัดขวาง หรื อหลบหนีให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่อํานาจสัง่ ยิง ทําลาย หรื อดําเนินการใดเพื่อคุ้มครองป้องกันตนเองหรื อป้องกันการหลบหนีได้ ทังนี ้ ้ การสัง่ ยิงหรื อทําลายเพื่อป้องกัน การหลบหนีนนให้ ั ้ มีการแจ้ งหรื อให้ สญ ั ญาณใดๆ อันเป็ นการเตือนให้ ทราบล่วงหน้ าว่าจะดําเนินการดังกล่าว (๖) สัง่ ให้ เรื อหรื อยานพาหนะใดไปอยูย่ งั บริเวณหรื อสถานที่ที่พนักงานเจ้ าหน้ าที่กําหนด ในกรณีที่มี ้ (๓) การสัง่ กัก ยึด หรื ออายัดเรื อหรื อยานพาหนะนันตาม (๗) กําหนดมาตรการใดกับเรื อ ยานพาหนะ หรื อบุคคลใดที่มีเหตุอนั ควรเชื่อว่าได้ กระทําการใดให้ เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลหรื อฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ตามความเหมาะสม และเท่าที่จําเป็ น การดําเนินการใดๆ ของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามวรรคหนึง่ ให้ คํานึงถึงความสอดคล้ องกับจารี ต ประเพณีหรื อกฎหมายระหว่างประเทศด้ วย ในการนี ้คณะกรรมการจะออกระเบียบเพื่อให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ปฏิบตั ิ ตามก็ได้ เช่น การสัง่ ให้ หยุดการกระทําตาม (๒) หรื อการสัง่ ให้ แก้ ไขการกระทําอันเป็ นมาตรการตาม (๗) ในกรณีที่มีการจับกุมบุคคลใดตาม (๓) การควบคุมตัวบุคคลนันและการนํ ้ าส่งพนักงานสอบสวนให้ เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


476

มาตรา ๘๑ เรื อหรื อยานพาหนะใดของพนักงานเจ้ าหน้ าที่จะต้ องมีสญ ั ลักษณ์หรื อเครื่ องหมายใดๆ แสดงไว้ ให้ เห็นได้ อย่างชัดเจนว่าเป็ นเรื อหรื อยานพาหนะของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ และพนักงานเจ้ าหน้ าที่จะต้ องใส่ เครื่ องแบบที่มีสญ ั ลักษณ์หรื อเครื่ องหมายใดๆ แสดงไว้ ให้ เห็นได้ ชดั เจนว่าเป็ นพนักงานเจ้ าหน้ าที่ด้วย สัญลักษณ์ เครื่ องหมาย หรื อเครื่ องแบบของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามวรรคหนึง่ ให้ เป็ นไปตามแบบที่ คณะกรรมการกําหนด เว้ นแต่สญ ั ลักษณ์ เครื่ องหมาย หรื อเครื่ องแบบของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ที่ได้ มีการกําหนดไว้ แล้ วก็ให้ เป็ นไปตามนัน้ มาตรา ๘๒ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องมีบตั รประจําตัวพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามแบบที่คณะกรรมการ กําหนด เว้ นแต่บตั รประจําตัวของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบที่ได้ มีการกําหนดไว้ แล้ วก็ให้ เป็ นไป ตามนัน้ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามมาตรา ๘๐ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่แสดงบัตรประจําตัวเมื่อบุคคลซึง่ เกี่ยวข้ องร้ องขอ มาตรา ๘๓ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามพระราชบัญญัตินี ้เป็ นเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา ๘๔ ให้ รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์การจับกุม ค้ น กัก ยึด อายัด หรื อกระทําการใดของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามมาตรา ๘๐ และการเก็บรักษาสิง่ ที่ยดึ อายัด หรื อกักไว้ รวมทังการ ้ คํานวณค่าใช้ จ่ายในการเก็บรักษา ถ้ าไม่อาจเก็บรักษาไว้ ได้ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอํานาจนําออกขายทอดตลาดตาม หลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนดหรื อดําเนินการใดๆ ตามที่รัฐมนตรี ผ้ รู ับผิดชอบประกาศกําหนด การเรี ยกค่าใช้ จ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้ นํามาตรา ๗๖ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม โดยให้ ถือว่าหน่วยงานที่ รับผิดชอบเป็ นผู้เสียหายมีอํานาจฟ้องเรี ยกค่าใช้ จ่ายต่อศาลแพ่ง และให้ พนักงานอัยการที่อยั การสูงสุดมอบหมายรับว่า ต่างให้ แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมวด ๙ การควบคุม มาตรา ๘๕ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิการของหน่วยงานที่รับผิดชอบและพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตาม พระราชบัญญัตินี ้ ให้ คณะกรรมการมีอํานาจออกระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้ าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ เพื่อให้ การปฏิบตั ิหน้ าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบหรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของหน่วยงานทุกแห่งมี การประสานความร่ วมมือให้ การปฏิบัติหน้ าที่มีมาตรฐานเดียวกันและมีประสิทธิ ภาพในการคุ้มครองผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเล รวมทังการอํ ้ านวยความสะดวกแก่ผ้ ปู ระกอบการหรื อดําเนินกิจกรรมทางทะเลอย่างถูกต้ องตาม กฎหมาย

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


477

มาตรา ๘๖ ในกรณี ที่ผ้ ูรับอนุญาตให้ ดําเนินกิจกรรมใดๆ ในทะเลตามพระราชบัญญัตินีฝ้ ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิ บัติตามกฎกระทรวงหรื อประกาศที่ ออกตามพระราชบัญญัตินี ้ หรื อบทบัญ ญัติห รื อมาตรการใดๆ ตาม พระราชบัญญัตินีห้ รื อเงื่อนไขการอนุญาต ให้ ผ้ อู นุญาตหรื อผู้ซึ่งผู้อนุญาตมอบหมายมีอํานาจสัง่ เป็ นหนังสือให้ ผ้ รู ับ อนุญาตปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ องหรื อแก้ ไขให้ ถกู ต้ องภายในเวลาที่กําหนด โดยจะให้ หยุดดําเนินกิจกรรมทังหมดหรื ้ อบางส่วน ้ อบางส่วนไว้ ก่อน ถ้ าผู้รับอนุญาตได้ ปฏิบัติให้ ถูกต้ องหรื อ ไว้ ก่อนก็ได้ ในกรณี ที่สงั่ ให้ หยุดดําเนินกิจกรรมทังหมดหรื จัดการแก้ ไขให้ ถกู ต้ องภายในเวลาที่กําหนดแล้ ว ให้ ผ้ อู นุญาตหรื อผู้ซึ่งผู้อนุญาตมอบหมายสัง่ ให้ ดําเนินกิจกรรมต่อไป ั ้ นผู้ซงึ่ ไม่ได้ รับอนุญาตให้ ดําเนินกิจกรรม ได้ ทังนี ้ ้ ในระหว่างที่ผ้ รู ับอนุญาตถูกสัง่ ให้ หยุดดําเนินกิจกรรม ให้ ถือว่าผู้นนเป็ ตามพระราชบัญญัตินี ้ มาตรา ๘๗ ในกรณี ที่ผ้ ูรับอนุญาตไม่ปฏิบัติให้ ถูกต้ องหรื อจัดการแก้ ไขให้ ถูกต้ องภายในเวลาที่ กําหนดตามมาตรา ๘๖ หรื อไม่สามารถจะแก้ ไขให้ ถูกต้ องได้ หรื อเมื่อปรากฏว่าการฝ่ าฝื นหรื อไม่ ปฏิบัติของผู้รับ อนุญ าตเป็ นการกระทบกระเทื อ นอย่า งร้ ายแรงต่อ ผลประโยชน์ แ ห่ง ชาติ ท างทะเลหรื อ ต่อ ความมั่น คงหรื อ ความ ปลอดภัยของประเทศ ให้ ผ้ อู นุญาตหรื อผู้ซึ่งผู้อนุญาตมอบหมายมีอํานาจสัง่ พักใช้ หรื อเพิกถอนการอนุญาตได้ ตาม ความร้ ายแรงแห่งกรณี ในกรณีที่สงั่ พักใช้ การอนุญาต ให้ สงั่ พักใช้ ได้ ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งคําสัง่ พักใช้ และให้ สงั่ พักใช้ ได้ ไม่เกินสองครัง้ ทัง้ นี ้ ในระหว่างที่ถูกสัง่ พักใช้ การอนุญาตให้ ถือว่าผู้รับอนุญาตเป็ นผู้ซึ่งไม่ได้ รับ อนุญาตให้ ดําเนินกิจกรรมตามพระราชบัญญัตินี ้ มาตรา ๘๘ คําสัง่ ให้ หยุดดําเนินกิจกรรมทังหมดหรื ้ อบางส่วนตามมาตรา ๘๖ หรื อคําสัง่ พักใช้ หรื อ เพิกถอนการอนุญาตตามมาตรา ๘๗ ให้ แจ้ งสิทธิอทุ ธรณ์คําสัง่ ต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ ง คําสัง่ และวิธีการยื่นอุทธรณ์คําสัง่ ต่อคณะกรรมการโดยวิธีการยื่นอุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อสํานักงานไว้ ด้วย เมื่อสํานักงานได้ รับหนังสืออุทธรณ์ ให้ สํานักงานออกใบรับหนังสืออุทธรณ์ให้ แก่ผ้ ยู ื่นอุทธรณ์ไว้ เป็ น หลักฐานด้ วย และให้ สํานักงานแจ้ งผู้อนุญาตเพื่อจัดทําความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการภายใน สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับหนังสืออุทธรณ์ ให้ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ให้ แล้ วเสร็ จภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับความเห็นของผู้ อนุญาตตามวรรคสอง ในกรณีที่ไม่อาจพิจารณาอุทธรณ์ให้ แล้ วเสร็ จภายในเวลาดังกล่าว ให้ ขยายระยะเวลาพิจารณา อุท ธรณ์ ไ ด้ ไ ม่เ กิ น สามสิบ วัน นับ แต่ วัน ที่ ค รบกํ า หนดดัง กล่า วโดยต้ อ งมี ห นัง สื อ แจ้ งให้ ผ้ ูยื่ นอุทธรณ์ ทราบก่ อนครบ กําหนดเวลาดังกล่าวด้ วย คําวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการให้ ถือเป็ นที่สดุ บทบัญญัติมาตรานี ้ไม่ใช้ บงั คับกับการอุทธรณ์ที่มีกฎหมายเฉพาะกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น หมวด ๑๐ บทกําหนดโทษ ______________ มาตรา ๘๙ ผู้ใดไม่มาให้ ถ้อยคําหรื อส่งเอกสารหรื อวัตถุใดๆ ตามมาตรา ๑๔ หรื อไม่อํานวยความ สะดวก ให้ ถ้อยคํา หรื อส่งเอกสาร หรื อพยานหลักฐานใดๆ แก่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ซงึ่ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามมาตรา ๖๑ (๑) หรื อ (๓) มาตรา ๘๐ (๑) หรื อ (๔) หรือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๖๘ วรรคหนึง่ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าหมื่นบาท จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


478

มาตรา ๙๐ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๔๙ หรื อมาตรา ๕๖ ต้ องระวางโทษ จําคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินสามแสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ มาตรา ๙๑ ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา ๕๐ วรรคสอง หรื อมาตรา ๕๑ วรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ยึด หรื ออายัดเรื อ ยานพาหนะ สินค้ า เอกสาร วัตถุ สิง่ ของ หรื อสิ่งใดๆ ตามมาตรา ๖๑ (๒) หรื อมาตรา ๘๐ (๓) หรื อ ทําลาย ย้ ายไปเสีย ซ่อนเร้ น หรื อโอนไปให้ แก่บคุ คลอื่นซึง่ สิง่ ที่ถกู ยึดหรื ออายัดดังกล่าว หรื อไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ตาม มาตรา ๖๑ (๕) หรื อมาตรา ๘๐ (๖) หรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการที่พนักงานเจ้ าหน้ าที่กําหนดตามมาตรา ๖๑ วรรคสอง หรื อมาตรา ๘๐ (๗) ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท มาตรา ๙๒ ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๕๒ วรรคหนึง่ มาตรา ๕๘ วรรคหนึง่ มาตรา ๕๙ วรรค หนึง่ มาตรา ๖๐ วรรคหนึง่ มาตรา ๖๗ วรรคหนึง่ หรื อมาตรา ๗๑ วรรคหนึง่ หรื อ ไม่ปฏิบตั ิตามประกาศที่ออกตามมาตรา ้ าทังปรั ้ บ ๗๑ วรรคสอง ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินห้ าแสนบาท หรื อทังจํ มาตรา ๙๓ ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๕๔ วรรคหนึง่ หรื อวรรคสอง หรื อมาตรา ๖๖ หรื อไม่ปฏิบตั ิตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๕๓ วรรคหนึง่ หรื อมาตรา ๕๕ วรรคหนึง่ หรื อไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ หรื อเงื่อนไขในการวิจยั วิทยาศาสตร์ ทางทะเลหรื อสํารวจทางอุทกศาสตร์ ตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๕๘ วรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ในการสํารวจหรื อแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรที่ไม่มีชีวิตในทะเลตามประกาศที่ออก ตามมาตรา ๕๙ วรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขในการดําเนินงานหรื อมาตรการในการป้องกันความปลอดภัยหรื อ การอนุรักษ์ ตอ่ ทรัพยากรและสิง่ แวดล้ อมทางทะเลตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๖๐ วรรคสาม หรื อไม่ปฏิบตั ิตาม เงื่อนไขในการดําเนินงานตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๖๙ ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ มาตรา ๙๔ ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๕๔ วรรคหนึง่ หรื อวรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตาม ประกาศที่ออกตามมาตรา ๕๕ วรรคหนึง่ ซึง่ ได้ นํามาใช้ บงั คับโดยอนุโลมตามมาตรา ๖๖ ต้ องระวางโทษตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๙๓ มาตรา ๙๕ ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา ๕๗ วรรคหนึง่ หรื อไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์หรื อเงื่อนไขในการทํา ประมงตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๕๗ วรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กําหนดตามมาตรา ๖๘ วรรคสอง หรื อ การทําประมงโดยไม่ปฏิบตั ิตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๗๒ วรรคสอง หรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่กําหนดตามมาตรา ๗๓ วรรคหนึง่ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าล้ านบาท มาตรา ๙๖ ผู้ใดต่อสู้หรื อขัดขวางการปฏิบตั ิหน้ าที่ของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามมาตรา ๖๑ หรื อมาตรา ๘๐ หรื อไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ให้ หยุดตามมาตรา ๖๑ (๑) หรื อมาตรา ๘๐ (๒) ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อ ปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ ถ้ าการต่อสู้หรื อขัดขวางนัน้ ได้ กระทําโดยใช้ กําลังประทุษร้ ายหรื อขู่เข็ญว่าจะใช้ กําลังประทุษร้ าย ผู้กระทําต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสองแสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


479

มาตรา ๙๗ ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการตามมาตรา ๖๒ วรรคหนึง่ หรื อมาตรา ๖๔ หรื อ ประกาศที่ออกตามมาตรา ๖๙ ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสองแสนบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ ้ หนึง่ มาตรา ๙๘ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการตามมาตรา ๖๓ วรรคหนึง่ ต้ องระวางโทษจําคุกตังแต่ ปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงหนึง่ ล้ านบาท มาตรา ๙๙ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการตามมาตรา ๖๕ วรรคหนึง่ ต้ องระวางโทษจําคุกไม่เกินสาม ้ บ เดือน หรื อปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั มาตรา ๑๐๐ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ถ้ าเป็ นกรณีกระทําความผิดต่อเนื่องให้ ปรับอีกไม่เกิน วันละสองหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยงั ฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ อง มาตรา ๑๐๑ ในกรณีที่ผ้ กู ระทําความผิดซึง่ ต้ องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี ้เป็ นนิติบคุ คล กรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การ หรื อบุคคลใดซึง่ รับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบคุ คลนัน้ ต้ องระวางโทษตามที่บญ ั ญัติ ไว้ สําหรับความผิดนันๆ ้ ด้ วย เว้ นแต่พิสจู น์ได้ วา่ ตนมิได้ มีสว่ นในการกระทําความผิดนัน้ มาตรา ๑๐๒ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ที่มีโทษปรับสถานเดียว หรื อความผิดตามมาตรา ๙๓ มาตรา ๙๔ หรื อมาตรา ๙๙ ให้ เลขาธิการหรื อคณะกรรมการซึง่ เลขาธิการแต่งตังจํ ้ านวนสามคนมีอํานาจเปรี ยบเทียบ ได้ เมื่อผู้กระทําความผิดได้ ชําระค่าปรับตามที่เปรี ยบเทียบแล้ ว ให้ คดีเป็ นอันเลิกกันตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา บทเฉพาะกาล ______________ มาตรา ๑๐๓ ในวาระเริ่มแรกให้ คณะกรรมการคุ้มครองผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ประกอบด้ วยกรรมการโดยตําแหน่ง ให้ สํานักงานดําเนินการให้ มีการแต่งตังกรรมการผู ้ ้ ทรงคุณวุฒิภายในเก้ าสิบวันนับแต่วนั ที่ พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับ มาตรา ๑๐๔ ในวาระเริ่มแรกให้ กองทัพเรื อปฏิบตั ิหน้ าที่สํานักงานไปพลางก่อนจนกว่าจะได้ จดั ตัง้ สํานักงานตามพระราชบัญญัตินี ้ และให้ ผ้ ซู งึ่ ผู้บญ ั ชาการทหารเรื อมอบหมายปฏิบตั ิหน้ าที่เลขาธิการไปพลางก่อน จนกว่าจะได้ แต่งตังเลขาธิ ้ การตามพระราชบัญญัตินี ้

จัดทําร่ างโดย นายโกมล จิรชัยสุทธิกลุ ผู้อํานวยการสํานักกฎหมายปกครอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


480

มาตรา ๑๐๕ ผู้ใดดําเนินกิจการหรื อกิจกรรมตามที่มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ วรรคหนึง่ หรื อวรรคสอง หรื อมาตรา ๖๗ วรรคหนึง่ กําหนดให้ ต้องขออนุญาตอยูก่ ่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับ ให้ ผ้ นู นยื ั ้ ่น ั ้ นผู้ได้ รับอนุญาตจนกว่าจะมี คําขออนุญาตภายในหกสิบวันนับแต่วนั ที่พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับ และให้ ถือว่าผู้นนเป็ คําสัง่ ไม่อนุญาตให้ ดําเนินกิจการหรื อกิจกรรมนัน้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ................................... นายกรัฐมนตรี

วันที่ปรับปรุง 4 มิ.ย. 2551


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.