เอกสารที่ให้คุณสุวิทย์ไปแจกที่บราซิลแต่กระทรวงต่างประเทศไม่ให้แจก ( ฉบับภาษาไทย )

Page 1

การอนุมัติขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก: การกระทําผิดอยางนาละอายที่คณะกรรมการมรดกโลกตองแกไข

โดย ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหาร และ ประชาชนชาวไทยผูพิทักษแผนดินไทย


คํานํา เอกสารนี้จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรใหรัฐภาคีตางๆ ของอนุสญ ั ญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและ ทางธรรมชาติ (Convention concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage) ไดทราบถึง ขอเท็จจริงเบือ้ งหลังการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร (เปรียะวิเฮียร ในภาษากัมพูชา) เปนมรดกโลกของประเทศกัมพูชา โดยมีการดําเนินการของผูซงึ่ เกีย่ วของที่ผิดปกติ ไมโปรงใส เอนเอียงเขาขางประเทศกัมพูชา และไมเปนไปตาม ขอกําหนดของอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ แนวทางปฏิบัติสําหรับการ ดําเนินการตามอนุสัญญามรดกโลก (Operational Guidelines for the Implementation of World Heritage Convention) และระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติของคณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee Rules of Procedure) รวมทั้งเพื่อใหรัฐภาคีตางๆ ไดเกิดความเขาใจถึงสาเหตุและเหตุผลที่ประชาชนชาวไทยและรัฐบาลไทยตอง ดําเนินการคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ภายหลังจากคณะกรรมการมรดกโลกไดอนุมตั ิใหขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกในสมัยประชุม ที่ 32 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ความขัดแยงเรื่องเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาไดทวีความรุนแรง มากขึ้น ไดมีการสูร บกันระหวางทหารไทยกับทหารกัมพูชาหลายครัง้ ในพื้นที่พพิ าทบริเวณใกลปราสาทพะวิหาร ทําใหทหาร ทั้งสองฝายเสียชีวิตและไดรับบาดเจ็บ นอกจากนั้นยังทําใหเกิดความไมพอใจและโกรธแคนกันระหวางประชาชนของทัง้ สอง ประเทศ การขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของประเทศกัมพูชาที่ทําใหเกิดความขัดแยงระหวางประเทศไทย กับประเทศกัมพูชา ไมเปนไปตามเจตนารมณของอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ที่มุงเนนใหเกิดความรวมมือและความเขาใจอันดีในระดับชาติและระดับนานาชาติในการรวมกันคุมครองมรดกโลกทาง วัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ผูจัดทําเอกสารหวังเปนอยางยิ่งวาเมื่อรัฐภาคีตางๆ ไดรับทราบถึงขอเท็จจริงในเรื่องนีแ้ ลว จะไดชวยกัน ผลักดันใหผูที่เกีย่ วของกับการขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก อาทิเชน ICOMOS ศูนยมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลก และยูเนสโก ไดแกไขการกระทําผิดที่นาละอายนี้ รวมทั้งปองกันไมใหเกิดซ้ําอีกกับทรัพยสิน ที่จะถูกเสนอขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกโดยรัฐภาคีใดๆ ในอนาคตอีก

ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหาร และ ประชาชนชาวไทยผูพิทักษแผนดินไทย 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

1


1. ขอพิพาทระหวางไทยกับกัมพูชาเกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหาร กอนหนาที่ฝรั่งเศสจะเขามาลาอาณานิคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดินแดนทั้งหมดของประเทศกัมพูชาและ ประเทศลาวในปจจุบันอยูภายใตการปกครองของสยาม (ชื่อของประเทศไทยในขณะนั้น) ตอมาเมื่อ พ.ศ. 2410 (ค.ศ. 1867) ฝรั่งเศสไดใชกําลังขูบ ังคับจนสยามตองทําสนธิสัญญายอมใหฝรั่งเศสเปนผูอารักขากัมพูชา ยกเวนเสียมเรียบ พระตะบอง และศรีโสภณ หลังจากนั้นเมื่อ พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) เกิดกรณีพิพาทระหวางสยามกับฝรั่งเศส ฝรั่งเศส สงเรือปนเขามาในแมน้ําเจาพระยาของสยาม และบังคับใหสยามยกดินแดนฝงซายของแมน้ําโขงใหฝรัง่ เศส ทําใหสยาม ตองยอมทําสนธิสัญญายกลาวใหฝรั่งเศส ในชวงเวลานั้นฝรั่งเศสสามารถยึดครองดินแดนในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม ไดโดยสมบูรณ และรวมดินแดนทั้งสามนี้จัดตั้งเปน “อินโดจีนฝรั่งเศส” ตอมาฝรั่งเศสไดฉวยโอกาสสงกองกําลังทหาร เขาไปยึดจันทบุรีเพื่อเปนหลักประกันวาสยามจะปฏิบัติตามสนธิสัญญาดังกลาว ถึงแมนสยามจะปฏิบัติตามสนธิสัญญา โดยไมบิดพลิ้ว แตฝรั่งเศสยังคงกําลังทหารไวทจี่ ันทบุรีเปนเวลาถึง 10 ป จนในที่สุดสยามตองทําสนธิสัญญาในป พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) ยกดินแดนฝงขวาของแมน้ําโขงใหฝรัง่ เศสเพื่อแลกกับการไดจันทบุรีคืนมา แมฝรั่งเศสจะยอม ถอนทหารออกจากจันทบุรี แตกลับนํากําลังทหารดังกลาวเขาไปยึดตราด เกาะกง และดานซาย โดยอางวาเพื่อเปน หลักประกันวาสยามจะปฏิบัตติ ามสนธิสัญญาอีกเชนเคย ในป พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) สยามตองยอมทําสนธิสัญญา ยกเสียมเรียบ พระตะบอง และศรีโสภณ ใหฝรั่งเศสเพื่อแลกกับการไดตราด เกาะกง และดานซาย คืนมา แต ฝรั่งเศสก็ยังบิดพลิ้วไมคืนเกาะกงใหจนกลายเปนของกัมพูชาในปจจุบัน ปราสาทพระวิหาร (เปรียะวิเฮียร ในภาษากัมพูชา) ตั้งอยูบนเขาพระวิหารซึ่งเปนเขายอดหนึ่งในเทือกเขาพนม ดงรัก เทือกเขาพนมดงรักเปนแนวพรมแดนระหวางไทยกับกัมพูชา โดยเสนเขตแดนเปนไปตามแนวสันปนน้ําตามที่ กําหนดไวในสนธิสัญญา พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) (สันปนน้ําคือแนวสูงสุดของเทือกเขา เวลาฝนตก น้ําฝนจะแยกตัว ไหลลงสูพื้นที่ที่ต่ํากวาทั้งสองดาน เปนการแบงเขตแดนโดยธรรมชาติตามหลักสากล อนึ่งสันปนน้ําเปนสวนหนึ่งของภูเขา ที่เปนหินแกรงและคงทนยืนยงอยูไดตลอดไป) และสนธิสัญญาดังกลาวยังกําหนดใหมีคณะกรรมการปกปนเขตแดน ผสมระหวางอินโดจีนกับสยาม ตอมาฝายฝรั่งเศสในคณะกรรมการผสมดังกลาวไดจัดทําแผนที่มาตราสวน 1: 200,000 ซึ่งตอไปเรียกวา “แผนที่ภาคผนวก 1 (Annex I map)” เพื่อแสดงเสนเขตแดนระหวางอินโดจีนกับสยาม โดยการรอง ขอของฝายไทยในคณะกรรมการปกปนเขตแดนผสม แตมีขอตกลงกันวาจะไดมีการกําหนดเสนเขตแดนขึ้นแนนอน เมื่อไดใหสมาชิกคณะกรรมการปกปนเขตแดนผสมทั้งสองฝายลงนามในแผนที่ที่แสดงเสนเขตแดนนั้นแลว แตปรากฏ วาคณะกรรมการปกปนเขตแดนผสมไมเคยใหความเห็นชอบและลงนามรับรองในแผนที่ภาคผนวก 1 เลย นอกจากนี้ ฝายฝรั่งเศสยังดําเนินการเองแตโดยลําพังในการพิมพแผนที่ดังกลาวเผยแพร และแจกจายแผนทีโ่ ดยมิไดขอความเห็นหรือ ความเห็นชอบดวยจากฝายไทย ยิ่งไปกวานั้นแผนที่ดังกลาวยังสามารถพิสูจนไดวาไมถูกตองตามภูมิประเทศของพื้นที่จริง เสนเขตแดนที่ลากในแผนที่ดังกลาวไดหันเหเปนอยางมากจากเสนสันปนน้ําจริงเนื่องจากขอผิดพลาดที่เกิดจากการกําหนด ที่ตั้งอยางผิดๆ ของแมน้ําโอตาเซม สงผลใหเสนเขตแดนที่แสดงผิดและออกไปนอกแนวเสนสันปนน้ําจริง โดยทําให ปราสาทพระวิหารอยูในดินแดนกัมพูชา ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการทําแผนที่ดังกลาว เปนที่นาเชื่อไดวาเปนการจงใจทํา ของฝายฝรั่งเศสเพื่อประโยชนของฝายตน ในป พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) ประเทศกัมพูชาไดรับเอกราชจากฝรั่งเศส ตอมาจึงมีการเจรจาปญหาเขตแดน ระหวางไทยกับกัมพูชา และเกิดกรณีพิพาทโดยกัมพูชาอางวาปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา ประเทศกัมพูชาไดยื่น

2


ฟองประเทศไทยตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศ โดยศาลไดรับฟองในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2502 ตามคําแถลงสรุป สุดทายของกัมพูชาเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2505 กัมพูชาไดขอใหศาลพิจารณาวินิจฉัยทั้งหมด 5 ขอดังนี้ จากเดิมที่ เคยขอใหศาลพิจารณาวินิจฉัยเพียง 2 ขอคือ ขอ 3) และ 4) เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2502 1) พิพากษาชี้ขาดวา แผนที่ตอนเขาดงรัก (ภาคผนวก 1 ตอทายคําฟองของประเทศกัมพูชา) นั้นไดถูกจัดทํา และพิมพขึ้นเผยแพรในนามของคณะกรรมการปกปนเขตแดนผสมที่ตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาลงวันที่ 13 กุมภาพันธ ค.ศ. 1905 และวาแผนที่นี้แสดงรายละเอียดตรงตามมติของคณะกรรมการดังกลาว โดยเหตุผลจากความจริงขอนี้และดวย ความตกลงและการปฏิบัติตอมาของภาคีในสัญญา แผนที่นี้จึงมีลักษณะเปนสนธิสัญญาอยางหนึ่ง 2) พิพากษาชี้ขาดวา เสนเขตแดนระหวางกัมพูชากับไทยในเขตพิพาทกันในบริเวณปราสาทพระวิหารเปนเสน เขตแดนที่ลากไวบนแผนที่ของคณะกรรมการปกปนเขตแดนผสมระหวางอินโดจีนกับสยาม (ภาคผนวก 1 ตอทายคํา ฟองของประเทศกัมพูชา) 3) พิพากษาชี้ขาดวา ปราสาทพระวิหารตั้งอยูในดินแดนที่อยูภายใตอํานาจอธิปไตยของราชอาณาจักรกัมพูชา 4) พิพากษาชี้ขาดวา ราชอาณาจักรไทยมีพันธะกรณีที่จะตองถอนหนวยทหารที่ไดสงไปตั้งประจํา ณ บริเวณ สิ่งหักพังของปราสาทพระวิหารภายในดินแดนกัมพูชาตั้งแต ค.ศ. 1954 5) พิ พ ากษาชี้ ข าดว า สิ่ ง ปฏิ ม ากรรม แผ น ศิ ล า ส ว นสลั ก หั ก พั ง ของอนุ ส าวรี ย รู ป หิ น ทราย และ เครื่องปนดินเผาโบราณ ซึ่งไดถูกโยกยายไปจากปราสาทพระวิหารโดยเจาหนาที่ไทยนับตั้งแต ค.ศ. 1954 นั้น รัฐบาล ไทยจะตองสงคืนใหแกรัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชา หลังจากการพิจารณาคดีถึง 73 ครั้งในระยะเวลา 2 ป 8 เดือน ในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ศาล ยุติธรรมระหวางประเทศโดยผูพิพากษาที่รวมการพิจารณาจํานวน 12 ทาน ไดมีคําพิพากษาดังนี้ “ในประการสุดทาย เมื่อพิจารณาถึงคําแถลงสรุปที่คูความไดยื่นตอศาลเมื่อตอนจบกระบวนพิจารณาภาควาจา ศาลมีความเห็นดังเหตุผลที่ไดบงไวในตอนตนของคําพิพากษานี้วาคําแถลงสรุปขอที่หนึ่งและขอที่สองของกัมพูชาที่ขอให ศาลพิพากษาชี้ขาดในเรื่องสภาพทางกฎหมายของแผนที่ภาคผนวก 1 และในเรื่องเสนเขตแดนในอาณาบริเวณที่พิพาท จะรับฟงไดก็แตเพียงในฐานที่เปนการแสดงเหตุผล และมิใชเปนขอเรียกรองที่จะตองกลาวถึงในบทปฏิบัติการขอคํา พิพากษา ในทางตรงกันขาม ศาลเห็นวาประเทศไทยนั้นหลังจากที่ไดแถลงขอเรียกรองของตนเกี่ยวกับอธิปไตยเหนือพระ วิหารแลว ไดจํากัดการตอสูคดีตามคําแถลงสรุปของตนในตอนจบกระบวนพิจารณาภาควาจาอยูแตเพียงการโตแยงและ ปฏิเสธเพื่อลบลางขอตอสูของคูความฝายตรงขามเทานั้น โดยปลอยใหเปนหนาที่ของศาลที่จะเลือกหาเหตุผลที่ศาลเห็น เหมาะสมซึ่งคําพิพากษาอาศัยเปนมูลฐาน ในการพิจารณาขอเรียกรองซึ่งไดเสนอตอศาลโดยกัมพูชาและไทยตามลําดับเกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยเหนือพระ วิหารอันเปนขอพิพาทระหวางรัฐทั้งสอง ศาลพิพากษามีความเห็นอันเปนคุณแกกัมพูชาตามคําแถลงสรุปขอที่สาม นอกจากนั้นศาลยังพิพากษาเปนคุณแกกัมพูชาตามคําแถลงสรุปขอที่สี่ เกี่ยวกับการถอนหนวยทหารออกไปดวย ในสวนที่เกี่ยวกับคําแถลงสรุปขอที่หาของกัมพูชาเกี่ยวกับการคืนสิ่งของศาลพิจารณาเห็นวาคําขอในขอนี้มิได เปนการขยายขอเรียกรองเดิมของกัมพูชา (ซึ่งถากรณีเปนเชนนั้นคําขอนี้จะรับฟงมิไดตั้งแตแรกเสนอแลว) หากแต ปรากฏอยูโดยปริยายและเปนผลสืบเนื่องมาจากขอเรียกรองเกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยเชนเดียวกับคําแถลงสรุปขอที่สี่ ใน อีกทางหนึ่งไมมีพยานหลักฐานแนชัดที่ไดยื่นตอศาลแสดงใหเห็นอยางแนนอนวาวัตถุชนิดที่กลาวไวในคําแถลงสรุปนี้

3


ประเทศไทยไดเคลื่อนยายไปจากปราสาทพระวิหารหรือบริเวณปราสาทนับแตประเทศไทยไดเขาครอบครองเมื่อ ค.ศ. 1954 เปนความจริงที่ประเทศไทยก็มิไดปฏิเสธมากมายนักในขอกลาวหานี้ นอกจากจะอางวาคําขอนี้รับฟงไมได ถึง อยางไรก็ดีในพฤติการณเชนนี้ การมอบคืนสิ่งของจึงเปนปญหาที่ศาลจะวินิจฉัยไดแตเพียงในหลักการใหเปนไปตามคํา ขอของกัมพูชาโดยไมกลาวถึงวัตถุสิ่งใดโดยเจาะจง ดวยเหตุผลดังกลาวแลวนี้ ศาลโดยคะแนนเสียง 9 ตอ 3 ลงความเห็นวาปราสาทพระวิหารตั้งอยูในอาณาเขตภายใตอธิปไตยของกัมพูชา โดยเหตุนี้ จึงพิพากษา โดยคะแนนเสียง 9 ตอ 3 วาประเทศไทยมีพันธะที่จะตองถอนกําลังทหารหรือตํารวจ ผูเฝารักษาหรือผูดูแลซึ่ง ประเทศไทยสงไปประจําอยูที่ปราสาทพระวิหารหรือบริเวณใกลเคียงบนอาณาเขตของกัมพูชา โดยคะแนนเสียง 7 ตอ 5 วาประเทศไทยมีพันธะที่จะตองคืนใหแกกัมพูชา บรรดาวัตถุชนิดที่ไดระบุไวในคํา แถลงสรุปขอหาของกัมพูชาซึ่งเจาหนาที่ไทยอาจจะไดโยกยายออกจากปราสาทหรือบริเวณพระวิหาร นับแตวันที่ประเทศ ไทยเขาครอบครองพระวิหารเมื่อ ค.ศ. 1954” เนื่องจากคําแถลงสรุปขอที่หนึ่งและสองของกัมพูชา ศาลไมไดพิพากษาใหตามคําขอ โดยศาลใหเหตุผลวาคําขอ ทั้งสองขอนี้เปนเพียงเหตุผลที่จะนําไปสูการพิจารณาสนับสนุนคําแถลงสรุปขอที่เหลือ ดังนั้นในทางกฎหมายจึงตองถือ วาศาลไมไดพิพากษารับรองแผนที่ภาคผนวก 1 ตอทายคําฟองของประเทศกัมพูชาวาถูกตองหรือมีสถานะทางกฎหมาย อยางใด ทั้งไมไดพิพากษาใหใชเสนเขตแดนที่ปรากฏบนแผนที่ดังกลาว ดังนั้นไทยและกัมพูชาจะตองเจรจาเพื่อตกลง เขตแดนระหวางกัน นอกจากนี้สําหรับแผนที่ภาคผนวก 1 และเสนสันปนน้ําจริง มีผูพิพากษา 4 ทานไดใหความเห็นไวดังนี้ ผูพิพากษา เซอร เจรัลด ฟทซมอริส (Sir Gerald Fitzmaurice) ซึ่งเปนผูพิพากษาเสียงขางมาก ไดให ความเห็นตางหากตอนทายไวดังนี้ “ขาพเจาก็ใครจะกลาวดวยวา พยานผูเชี่ยวชาญในปญหาเรื่องนี้ทั้งที่เปนลายลักษณ อักษรและดวยวาจาไดทําใหขาพเจาเชื่อเห็นจริงวา เสนสันปนน้ําเปน (และไดเปนเชนนี้ในระยะระหวาง ค.ศ. 19041908) ดังที่ฝายไทยไดอาง” ผูพิพากษา ลูซิโอ เอ็ม. มอเรโน กินตานา (Lucio M. Moreno Quintana) ซึ่งเปนผูพิพากษาเสียงขางนอย ได ใหความเห็นแยงตอนทายไวดังนี้ “เทาที่กลาวมาขางตนนี้ ทําใหลงขอยุติไดดังตอไปนี้ (1) ปญหาสารัตถะสําคัญที่ศาลจะตองตัดสินเพราะไมมีฝายใดสามารถพิสูจนไดโดยเด็ดขาดถึงการใชอํานาจ อธิปไตยของตนเหนือบริเวณปราสาทไดแกการตีความขอ 1 ของสนธิสัญญาฉบับวันที่ 13 กุมภาพันธ ค.ศ. 1904 ระหวางประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทย (2) การตีความนี้เปนผลมาจากการพิจารณากําหนดสันปนน้ําระหวางสองลุมน้ํา ซึ่งไดระบุไววาใหเปนเขตแดน ระหวางประเทศกัมพูชากับประเทศไทยในอาณาบริเวณดงรัก (3) หลักฐานทางวิชาการที่ประเทศไทยไดเสนอมา และซึ่งการซักคานโดยกัมพูชาไดมีสวนชวยอยางมากนั้น เปนพยานหลักฐานที่แมยําและเปนที่ยุติไดอยางมากมายในการพิสูจนวาสันปนน้ําเดินไปตามขอบของชะโงกผาซึ่งพระ วิหารตั้งอยู (4) ผลอันนี้วินิจฉัยคดีไปในทางวา สวนของอาณาเขตซึ่งปราสาทตั้งอยูนั้นอยูในอาณาเขตไทย”

4


ผูพิพากษา เวลลิงตัน คู (Wellington Koo) ซึ่งเปนผูพิพากษาเสียงขางนอย ไดใหความเห็นแยงบางตอนไว ดังนี้ “จากการตรวจพิจารณาขอขอเท็จจริงที่เกี่ยวของในคดีนี้ดังกลาวขางตนและการพิจารณาถึงกฎหมายที่อาจใชบังคับ แกคดีนี้ ขาพเจาขอสรุปความเห็นเปน 2 ดังนี้ (1) กัมพูชาไมไดพิสูจนลักษณะผูกพันของแผนที่ภาคผนวก 1 ตามที่อางได และ (2) ขอตอสูของกัมพูชาที่วาการนิ่งเฉยของประเทศไทยเปนการยอมรับโดยปริยาย ซึ่งเสนเขตแดนตามที่ หมายไวบนแผนที่ภาคผนวก 1 ฟงไมไดในขอเท็จจริงและไมมีขอสนับสนุนในทางกฎหมาย” ผูพิพากษา เซอร เพอรซี่ สเปนเดอร (Sir Percy Spender) ซึ่งเปนผูพิพากษาเสียงขางนอย ไดใหความเห็น แยงบางตอนไวดังนี้ “ในประการสุดทาย เมื่อไดคํานึงถึงหลักฐานทางเทคนิคที่ไดยื่นตอศาล ทั้งโดยกัมพูชาและไทย ขาพเจาไมมีขอสงสัยเลยวาเสนสันปนน้ําในปจจุบัน และใน ค.ศ. 1904 จะตองผานไปตามขอบใตของเขาพระวิหาร ดังนั้นจึงตองกําหนดใหปราสาทพระวิหารอยูทางดานไทยของเสนเขตแดน” และไดใหความเห็นแยงในตอนทายไวดังนี้ “ขาพเจาเสียใจอยางเหลือลนที่เห็นเปนการจําเปนตองแสดงทัศนะของขาพเจาอยางยืดยาวเชนนี้ คดีนี้ถึงแมจะ มีความสําคัญแกรัฐทั้งสองที่เกี่ยวของโดยตรง แตอยางไรก็ดี ยังมีความสําคัญซึ่งแผขยายเกินขอบเขตของการฟองรอง นี้ออกไปดวย คณะกรรมการผสมจะปกปนเขตแดนเขาดงรักหรือไมปกปนก็ตาม ตามความเห็นของขาพเจาแลว ความจริง จะตองเปนวาเสนเขตแดนปจจุบันบนทิวเขานี้คือเสนสันปนน้ํา อยางไรก็ดี ศาลไดถือเอาเสนเขตแดนซึ่งมิใชเสนสันปนน้ําอันเปนเสนอีกเสนหนึ่งซึ่งอยูในบริเวณที่สําคัญของ ปราสาทพระวิหารที่แตกตางไปจากเสนสันปนน้ําอยางสิ้นเชิง ความเห็นนี้อางเห็นผลสนับสนุนดวยการใชหลักความคิดในเรื่องการยอมรับนับถือและการใหความยินยอมโดย นิ่งเฉย ดวยความเคารพอยางสุดซึ้งตอศาล ขาพเจาจําใจที่จะกลาววา ตามการวินิจฉัยของขาพเจา ในฐานที่เปนผล สืบเนื่องมาจากการใชหลักความคิดเหลานี้อยางผิดๆ และขยายขอบเขตหลักความคิดเหลานี้ออกไปอยางยอมรับไมได ดินแดนซึ่งอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นเปนของประเทศไทยทั้งโดยสนธิสัญญาและโดยองคกรซึ่งไดรับการแตงตั้งขึ้น ตามสนธิสัญญาเพื่อพิจารณากําหนดเสนเขตแดนนั้น ในบัดนี้ไดกลับกลายไปเปนของกัมพูชา” คณะรัฐมนตรีของไทยซึ่งมีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายรัฐมนตรีในขณะนั้น มีมติในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เห็นชอบตามที่กระทรวงการตางประเทศเสนอใหปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลยุติธรรมระหวางประเทศใน คดีปราสาทพระวิหาร คําปราศรัยของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต แกประชาชนชาวไทยทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศนเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 มีขอความในคําปราศรัยดังกลาวตอนหนึ่งวา “แมวากัมพูชาจะไดปราสาท พระวิหารนี้ไป ก็คงไดไปแตซากสลักหักพังและแผนดินเฉพาะที่รองรับพระวิหารนี้เทานั้น” และในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 คณะรัฐมนตรีของไทยมีมติกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหารเพื่อกัมพูชาจักไดมีอํานาจอธิปไตยตอปราสาท พระวิหารตามคําพิพากษา โดยกําหนดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาครอบปราสาทพระวิหาร มีแนวเขตจากปกขวาของตัว ปราสาทพระวิหารตั้งแตชองบันใดหัก (ชองบันไดหักอยูในบริเวณปราสาทพระวิหาร) ลากเสนตรงผานชิดบันไดนาคตรงไป จนถึงตัวปราสาทพระวิหาร แลวลากเสนตรงขนานกับตัวปราสาทพระวิหารไปสุดที่หนาผาชันดานหลังปราสาทพระวิหาร ซึ่ง

5


เปนเนื้อที่บริเวณปราสาทพระวิหารประมาณ 0.25 ตารางกิโลเมตร พรอมทั้งจัดทําปายแสดงเขตบริเวณปราสาทพระวิหาร และทํารั้วลวดหนามกั้น ตอมานายถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของไทยในขณะนั้น ไดสงหนังสือลงวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ถึงนายอู ถั่น รักษาการเลขาธิการสหประชาชาติ มีใจความที่สําคัญแจงวา รัฐบาลไทยเห็นวาคํา พิพากษาขัดตอขอกําหนดอันชัดแจงของบทที่เกี่ยวเนื่องของสนธิสัญญา ค.ศ. 1904 และ ค.ศ. 1907 และขัดตอหลัก กฎหมาย และความยุติธรรม แตอยางไรก็ดีประเทศไทยในฐานะที่เปนสมาชิกสหประชาชาติ จะปฏิบัติตามพันธกรณีที่ มีอยูตามคําพิพากษาดังกลาว แตรัฐบาลไทยขอตั้งขอสงวนเกี่ยวกับสิทธิใดๆ ที่ประเทศไทยมีหรืออาจมีในอนาคตเพื่อเอา ปราสาทพระวิหารกลับคืนมา โดยอาศัยกระบวนการกฎหมายที่มีอยูหรือที่จะพึงนํามาใชในภายหลัง และตั้งขอประทวง ตอคําพิพากษาของศาลยุติธรรมระหวางประเทศที่ตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา

รูปที่ 1: เสนเขตแดนบริเวณเขาพระวิหาร

2. การกระทําผิดของผูที่เกี่ยวของในการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ประเทศกัมพูชาไดยื่นเอกสารตอศูนยมรดกโลกเพื่อขอจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตั้งแตเดือน มกราคม พ.ศ. 2548 ประเทศไทยและประเทศกัมพูชาไดมีการหารือกันในเรื่องดังกลาวหลายครั้ง โดยประเทศไทยได

6


แสดงขอหวงกังวลเกี่ยวกับเขตแดนในบริเวณเขาพระวิหาร และเสนอใหจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก รวมกันในลักษณะขามพรมแดน (Transboundary nomination) แตประเทศกัมพูชายังคงดําเนินการที่จะขอจด ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตฝายเดียว ตอมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการ มรดกโลก สมัยที่ 31 ณ เมืองไครสเชิรช ประเทศนิวซีแลนด ไดมีมติรับรองวาปราสาทพระวิหารมีคุณคาสากลที่โดดเดน (Outstanding Universal Value) ตามเกณฑมรดกโลก และเห็นชอบในหลักการวาปราสาทพระวิหารควรไดรับการขึ้น ทะเบียนเปนมรดกโลก หลังจากนั้นประเทศไทยและประเทศกัมพูชาไดมีการหารือกันในเรื่องการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลกหลายครั้ง แตยังคงมีประเด็นเขตแดนในบริเวณเขาพระวิหารที่ไมสามารถตกลงกันได ตอมาใน เดือนเมษายน พ.ศ. 2551 กระทรวงการตางประเทศของไทยไดยื่นหนังสือชวยจําเพื่อประทวงตอประเทศกัมพูชาที่ ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแหงดินแดนของไทย อันเนื่องจากมีชุมชนกัมพูชาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่บริเวณบนเขาพระวิหาร ซึ่งเปนดินแดนของประเทศไทยและใกลกับปราสาทพระวิหาร รวมทั้งขอใหกัมพูชาถอนกําลังทหารและตํารวจที่ตั้งอยูใน พื้นที่ดังกลาว แตประเทศกัมพูชาปฏิเสธคําประทวงของไทย โดยยืนยันวาพื้นที่ดังกลาวเปนของกัมพูชา จากนั้นในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551 นายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของไทยในขณะนั้นไดหารือกับ นายสก อาน รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชาที่สํานักงานใหญยูเนสโก กรุงปารีส โดยไดขอสรุปวากัมพูชาตกลงจะขอขึ้น ทะเบียนมรดกโลกเฉพาะตัวปราสาทพระวิหาร และจะเสนอแผนผังแสดงพื้นที่ใหมใหไทยพิจารณาใหความเห็นชอบ กอนที่จะยื่นตอคณะกรรมการมรดกโลก ตอมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 กัมพูชาไดเสนอรางแผนผังแสดงพื้นที่ ใหมใหไทยพิจารณา และในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 คณะรัฐมนตรีไทยมีมติเห็นชอบรางคําแถลงการณรวมไทยกัมพูชา (Joint Communiqué) เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก รวมทั้งแผนผังแสดงพื้นที่ ใหมดังกลาว จากนั้นในวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ไดมีการลงนามรับรองคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาดังกลาว ต อ มาได มี ป ระชาชนไทยจํ า นวนหนึ่ ง ได ยื่ น ฟ อ งรั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงการต า งประเทศของไทยและ คณะรัฐมนตรีไทยตอศาลปกครองกลางของไทยวาการลงนามรับรองคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาดังกลาวมีเจตนาไม สุจริตและไมคํานึงถึงความเสียหายดานอาณาเขตดินแดนและอํานาจอธิปไตยของประเทศไทย ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ศาลปกครองกลางของไทยไดมีคําสั่งคุมครองชั่วคราว หามมิใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของ ไทยและคณะรัฐมนตรีไทย ดําเนินการใดๆ ที่เปนการอางหรือใชประโยชนจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ที่เห็นชอบคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา และการดําเนินการตามมติดังกลาว จนกวาคดีจะถึงที่สุดหรือ ศาลจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น แตในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 32 ณ เมือง ควิเบก ประเทศแคนนาดา ไดมีมติใหขึ้นทะเบียนเฉพาะตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดก ทั้งๆ ที่กัมพูชายังไมมีการ กําหนดเขตกันชนที่แนชัด โดยละเลยและไมคํานึงถึงความขัดแยงเกี่ยวกับเขตแดนบริเวณรอบๆ ประสาทพระวิหารที่ เกิดขึ้นระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา หลังจากนั้นไมกี่วัน ทหารทั้งสองประเทศไดเคลื่อนกําลังมาใกลพื้นที่ ปราสาทพระวิหาร และปราสาทพระวิหารไดถูกปดสําหรับนักทองเที่ยว ระหวางเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน 2551 ทั้ง สองฝายไดมีความพยายามเพื่อเจรจา แตไมมีความกาวหนาที่สําคัญ ในชวงเดือนตุลาคม 2551 และเดือนเมษายน 2552 มีการสูรบกันระหวางทหารไทยกับทหารกัมพูชาในบริเวณใกลปราสาทพระวิหาร มีทหารทั้งสองฝายไดรับบาดเจ็บ และเสียชีวิต เหตุการณดังกลาวเปนการยืนยันใหเห็นถึงความขัดแยงในพื้นที่พิพาทบริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหารที่มี อยูระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา และยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อมีการอนุมัติการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลกโดยคณะกรรมการมรดกโลก

7


ในวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ศาลรัฐธรรมนูญไทยไดมีคําวินิจฉัยชี้ขาดวา คําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เปนหนังสือสัญญาที่อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ทั้งยังมี ผลกระทบตอความมั่นคงทางสังคมของประเทศอยางกวางขวางอีกดวย ซึ่งตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาตาม รัฐธรรมนูญไทย มาตรา 190 วรรคสอง และในวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคําตัดสินใหเพิก ถอนมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ที่เห็นชอบคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา และใหคงคําสั่ง คุมครองชั่วคราวที่มีเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ใหมีผลตอไปจนกวาคดีจะถึงที่สุด ยิ่งไปกวานั้นในวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2552 คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติของ ไทยไดมีมติวา นายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย และนายนายนพดล ปทมะ อดีตรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศของไทย กระทําผิดปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบกรณีรวมกันดําเนินการใหมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เพื่อการลงนามในคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ในการสนับสนุนการขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา โดยมีการดําเนินการเพื่อชวยเหลือนายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีของกัมพูชา ในการเลือกตั้งของประเทศกัมพูชาที่จัดใหมีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งใชการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลกเปนประเด็นหนึ่งในการหาเสียง อันเปนการนําผลประโยชนของประเทศไทยมาใชเปนเครื่องมือหา เสียงของพรรคการเมืองประเทศกัมพูชา สําหรับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชานั้น มีการดําเนินการในเรื่องนี้ที่ผิดปกติ ไม โปรงใส เอนเอียงเขาขางกัมพูชา และไมเปนไปตามขอกําหนดของอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรม และทางธรรมชาติ (Convention concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage) แนวทางปฏิบัติสําหรับการดําเนินการตามอนุสัญญามรดกโลก (Operational Guidelines for the Implementation of World Heritage Convention) และระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติของคณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee Rules of Procedure) โดยมีรายละเอียดตั้งแตการประเมินปราสาทพระวิหารเพื่อการขอขึ้นทะเบียนมรดก โลกของกัมพูชาโดย ICOMOS (the International Council on Monuments and Sites) จนถึงหลังมีการมติอนุมัติ การขึ้นทะเบียนมรดกโลกปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชาโดยคณะกรรมการมรดกโลก พอสรุปไดดังนี้ 2.1 การประเมินปราสาทพระวิหารเพื่อการขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกของกัมพูชาโดย ICOMOS หลังไดยื่นเอกสารตอศูนยมรดกโลกเพื่อขอจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2548 กัมพูชาไดสงเอกสารเพื่อขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกสําหรับปราสาทพระวิหารใหศูนยมรดกโลกใหมอีกครั้งตามคําขอ ของศูนยมรดกโลกที่มีขอสังเกตเกี่ยวกับแผนที่เขตกันชนซึ่งกําหนดพื้นที่ครอบคลุมทั้งของประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ในเดือน มกราคม พ.ศ. 2549 เมื่อเรื่องไดสงตอมาถึง ICOMOS จึงไดมีการพิจารณาหาผูที่เหมาะสมที่จะมาประเมินโดย ไดมีการเชิญ ICOMOS ประเทศไทย ตั้งแต มิถุนายน พ.ศ. 2549 ใหเสนอชื่อผูเชี่ยวชาญเพื่อประเมินปราสาทพระวิหารใน นาม ICOMOS แตยังไมมีการสงเอกสารรายละเอียดมาให ICOMOS ประเทศไทย และในที่สุดก็ไดขาดการติดตอจาก ICOMOS ไปอยางไมทราบสาเหตุ ตอมา Nomination File No. 1224 ในชื่อวา “The Sacred Site of the Temple of Preah Vihear” ไดผานการประเมินโดย ICOMOS ตามเอกสาร WHC-07/31.COM/INF.8B.1 ทําใหไดรับการบรรจุเขา วาระการประชุมของคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 31 ณ เมืองไครสทเชิรช ประเทศนิวซีแลนด ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยขอมูลที่ทางกัมพูชานําเสนอไดแสดงใหเห็นวาองคประกอบทั้งหมดของปราสาทพระวิหารนั้นพื้นที่ที่เปนสวนของ

8


การบริหารจัดการเพื่อรักษาคุณคาของแหลงตั้งอยูในเขตของกัมพูชาเทานั้น ไมยอมรับขอเท็จจริงในเรื่องพื้นที่พิพาทกับ ประเทศไทยในบริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหาร และสรางขอมูลทางวิชาการเกี่ยวกับโบราณสถานขึ้นมาเพื่อเอื้อประโยชนใน การนี้ โดยไดผานการประเมินของ ICOMOS ไปอยางนาสงสัย อยางไรก็ตามในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก สมัย ที่ 31 ไดมีมติ 31 COM 8B.24 ใหเลื่อนการพิจารณาการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของปราสาทพระวิหารไปในการประชุมสมัยที่ 32 ในป 2551 เนื่องจากแผนผังกําหนดพื้นที่ขอขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกของปราสาทพระวิหารมีพื้นที่บางสวนอยูในบริเวณ พื้นที่พิพาทระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ทางกัมพูชาไดเชิญใหผูแทนฝายไทยเขารวมประชุมกับผูเชี่ยวชาญนานาชาติในการ จัดทําแผนบริหารจัดการโดยมอบใหทําแผนในเขตกันชนในประเทศไทย ผูแทนฝายไทยไดกลาวย้ําในที่ประชุมถึงความ จําเปนที่จะตองมีการตกลงกันในเรื่องเขตแดนกอน และเสนอทางออกวาควรเสนอเปนมรดกโลกรวมกันระหวางกัมพูชากับ ไทย แตก็ไมเปนที่รับฟงของที่ประชุมรวมทั้งไมไดบันทึกความเห็นนี้ในรายงานความกาวหนา นอกจากนั้นยังประกาศวาการ แกไขขอมูลใดๆ หลังจากที่ ICOMOS ประเมินแลวไมสามารถทําไดนอกจากจะถอนเรื่องออกมากอน เหตุการณนที้ าํ ใหฝา ย ไทยตองประกาศถอนตัวไมรวมทํางานรวมดวย หลังจากนั้น ICOMOS ประเทศไทย ไดมีหนังสือไปถึง Mr. Michael Petzet ประธาน ICOMOS เพื่อโตแยงการประเมินปราสาทพระวิหารโดย ICOMOS ใน 5 ประเด็นดังนี้ 1) เกณฑที่ใชในการพิจารณาคุณคาสากลที่โดดเดน ในความเปนมรดกโลกของประสาทพระวิหาร ในรายงาน ของ ICOMOS มีความแตกตางไปจากเอกสารเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกโลก (Nomination File) ของกัมพูชา โดยไมมี เหตุผลชี้แจงการเปลี่ยนแปลง 2) ICOMOS มีความเห็นสอดคลองตามเอกสารขอมูลนําเสนอของกัมพูชาวา ปราสาทพระวิหารเปนผลงาน ชิ้นเอกที่มีความโดดเดนของสถาปตยกรรมเขมร ทั้งในการวางผังและรายละเอียดการตกแตง ทั้ง ๆ ที่ยังมีองคประกอบ อื่น ๆ ที่มีความสําคัญ แสดงถึงภูมิปญญาในการออกแบบวางผัง การใชประโยชนจากสภาพแวดลอม ที่ตอเนื่องสัมพันธ กับปราสาทพระวิหาร แตไมไดมีการนํามาพิจารณาในฐานะโบราณสถานและพื้นที่ที่อยูเชื่อมตอกัน ซึ่งถือวาเปนการ นําเสนอพื้นที่โบราณสถานที่ไมสมบูรณ 3) การพิจารณาของ ICOMOS ไมไดคํานึงถึงปราสาทพระวิหารในมิติของความสัมพันธระหวางศาสนสถาน และชุมชนที่อยูใ นบริเวณใกลเคียง ทั้งในแงของการเปนผูดูแลเทวาลัย และความผูกพันทางจิตใจ ซึ่งถือเปนคุณคาแบบที่ สัมผัสจับตองไมได (Intangible) และเปนหัวใจสําคัญที่บงชี้ถงึ จิตวิญญาณของสถานที่ (Spirit of the place) 4) การบรรยายลักษณะทางสถาปตยกรรมของปราสาทพระวิหารที่ปรากฏอยูในรายงานของ ICOMOS แสดง ใหเห็นถึงการตีความและการนําเสนอขอมูลที่คลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริงหลายประการ ที่ชวนใหสงสัยถึงความไม ตรงไปตรงมาทางวิชาการเพื่อเหตุผลบางประการ 5) รายงานของ ICOMOS ใหความเห็นชอบกับการกําหนดเขตในการปกปอง คุมครอง อนุรักษ และจัดการ พื้นที่ของปราสาทพระวิหาร โดยใหขอแมเกี่ยวกับการตกลงรวมกันระหวางประเทศไทยและกัมพูชาในเรื่องเสนเขตแดน แตความจริงแลวปญหามิไดมีเพียงแตเฉพาะเรื่องพื้นที่อางสิทธิท์ ับซอนเทานั้น เนื่องจากยังมีความไมเหมาะสมทาง วิชาการที่ควรใหมีการปรับปรุงการกําหนดเขตดวย

9


แตทาง ICOMOS ไมไดทบทวนการประเมินดังกลาวแตอยางใด ICOMOS ประเทศไทย จึงไดแถลงถึงความไม โปรงใสของการดําเนินการประเมินของ ICOMOS ในเรื่องดังกลาว โดยเห็นวาไดมีปจจัยอื่นเขามามีอทิ ธิพลเหนือเหตุผลทาง วิชาการ ซึ่งอาจนําไปสูการขาดความนาเชื่อถือของ ICOMOS ในที่สุด ในที่สุดเพื่อไมใหมีปญหาเรื่องเขตแดนกับไทย กัมพูชาจึงยอมรับการตอรองของฝายไทยและเปลี่ยนเปนการ ขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกเฉพาะตัวปราสาทพระวิหารเทานั้นตามคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน 2551 ซึ่งถือเปนการเปลี่ยนขอมูลหลังจากที่ผานการประเมินโดย ICOMOS แลว แตกรณีนี้กลับทําได สําหรับการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 32 ICOMOS ไดทํารายงานการประเมินใหมตามเอกสาร WHC08/32.COM/INF.8B1.Add.2 โดยมีการอางความตกลงระหวางกัมพูชากับไทยในการเปลี่ยนขอบเขตของการขึ้น ทะเบียนมรดกโลกซึ่งทําใหตองเปลี่ยนผลการประเมินใหผานเกณฑมรดกโลกทางวัฒนธรรมเฉพาะขอ 1 เทานั้น จากเดิม ที่เคยใหผานเกณฑมรดกโลกทางวัฒนธรรมขอ 1 ขอ 2 และขอ 4 ในรายงานการประเมินใหมโดย ICOMOS ตามเอกสาร WHC-08/32.COM/INF.8B1.Add.2 ระบุวาศูนย มรดกโลกไดรับเอกสารเสนอขอขึ้นทะเบียนประสาทพระวิหารมรดกโลกของกัมพูชาที่ปรับปรุงใหมเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2551 และมีการอางอิงคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกซึ่งที่จริงแลว มีการลงนามในวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ซึ่งเปนเวลาเพียง 13 วันกอนที่จะเริ่มมีการประชุมคณะกรรมการมรดก โลก สมัยที่ 32 ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 แต ICOMOS กลับอางเปนวันที่ 22 พฤษภาคม 2551 อันแสดงใหเห็นถึง ความผิดปกติการดําเนินการประเมินโดย ICOMOS นอกจากนี้ในรายงานการประเมินดังกลาว ICOMOS ยังรายงานใน ประเด็นที่สําคัญและมีผลตอการพิจารณาการขึ้นทะเบียนมรดกโลกดังนี้ 1) ในสวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน (Basic Data) ระบุวา “แผนที่ที่อา งถึงในคําแถลงการณรวมขางตนไดรับเมื่อ วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ในแผนที่นั้น เพียงพื้นที่ทั่วไปโดยไมมขี อบเขตเทานั้นที่ถูกระบุสําหรับเขตกันชนและ พื้นที่บริหารจัดการรวม ไมเปนการชัดเจนวาเขตกันชนทางทิศใตและตะวันออกจะกวางขวางตามทีเ่ คยเสนอมาใน เอกสารการขอขึน้ ทะเบียนฉบับเริ่มแรกหรือไม โดยที่แผนที่ใหมนี้ไมไดคอบคลุมขอบเขตของพื้นที่ดังกลาว ไมมีการ ปรับปรุงเอกสารที่รวบรวมขอมูลการขอขึ้นทะเบียนเพื่อสะทอนใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงขอบเขตดังกลาว” 2) ในสวนที่ 4 ปจจัยที่สงผลกระทบตอทรัพยสิน (Factors Affecting the Property) หัวขอพรมแดนที่ พิพาท (Disputed frontier) ระบุวา “ICOMOS สังเกตในการประเมินป 2007 วา ตามขอมูลที่ไดจัดให ICOMOS โดย ศูนยมรดกโลก ตําแหนงทีถ่ ูกตองแนนอนของพรมแดนระหวางประเทศกัมพูชากับประเทศไทยทางเหนือของที่ทถี่ ูกเสนอขึ้น ทะเบียน ปจจุบนั เปนประเด็นของการพิพาทระหวางรัฐภาคีทั้งสอง ทรัพยสินทีถ่ ูกเสนอขึ้นทะเบียนป 2007 และสวนของ เขตกันชนบางสวนอยูภายในพื้นที่พิพาท ทรัพยสนิ ที่ถูกเสนอขึ้นทะเบียนในปจจุบันทั้งหมดอยูใ นดินแดนของประเทศ กัมพูชาซึ่งไมมีกรณีพิพาทกับประเทศไทย ประเด็นของเขตกันชนที่เกีย่ วกับเรื่องนี้ซับซอนมากและจะกลาวถึงในสวนที่ 5 ของรายงานนี”้ 3) ในสวนที่ 5 การคุมครอง อนุรักษ และการบริหารจัดการ (Protection, Conservation and Management) หัวขอขอบเขตของทรัพยสินที่ถูกเสนอและเขตกันชน (Boundaries of the nominated property and buffer zone) ระบุวา “เขตกันชนทางทิศใตและตะวันออกไดถูกเสนอ แตขอบเขตไมไดถูกเขียนไว มันจึงไมชัดเจนวา เขตนี้จะไปไกลเทาไร ทางทิศเหนือและตะวันตก เขตบริหารจัดการรวมระหวางประเทศกัมพูชากับประเทศไทยไดถูกเสนอ แตไมไดถูกเขียนไวเหมือนกัน” และในตอนทายไดสรุปวา “ICOMOS พิจารณาเห็นวาขอบเขตไดลอมรอบสิง่ กอสรางหลัก

10


ที่เหลือของปราสาทอยางเพียงพอ แตไมรวมการจัดพื้นที่ภูมิประเทศ ICOMOS ไมสามารถกลาวถึงขอบเขตของเขตกันชน หรือเขตบริหารจัดการรวมโดยไมมีเอกสารเพิ่มเติม” 4) ในสวนที่ 7 ขอสรุป (Conclusions) หัวขอแนะนําเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียน (Recommendations with respect to inscription) ระบุในตอนหนึ่งไววา “ICOMOS ปรารถนาที่จะแจงใหทราบและนําไปสูความสนใจของคณะกรรมการมรดกโลกวาแผนที่ที่ถูกสงมา โดยที่เขตกันชนและเขตบริหารจัดการรวมไมมีการเขียนลงไว เปนสิ่งที่นาเปนหวงในเทอมของการอนุรกั ษและคุมครอง ของทรัพยสินในระยะยาว ตามที่คณะกรรมการมรดกโลกไดตกลงแลววาปราสาทพระวิหารควรไดรับการขึ้นทะเบียน ในทัศนะที่ได พิจารณาแลวของ ICOMOS เห็นวาการนี้จะมีเหตุผลสมควรในปจจุบันก็เพียงแตเฉพาะเกณฑมรดกโลกทางวัฒนธรรม ขอ 1 คณะกรรมการมรดกโลกอาจตัดสินใจที่จะขึ้นทะเบียนทรัพยสินตามพื้นฐานของเกณฑขอ 1 ICOMOS พิจารณาเห็นวาการนี้จะเกิดขึ้นโดยไมมีแผนที่ที่เพียงพอและขอบเขตที่ไมไดเขียนลงไว และจะจํากัดการยอมรับที่ เหมาะสมของคุณคาทั้งหมดของทรัพยสิน บนพื้นฐานนั้น ICOMOS ไมปรารถนาอยางเปนทางการที่จะแนะนําสิ่งนี้กับ คณะกรรมการมรดกโลก” จากรายละเอียดขางตนแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา ICOMOS ทราบเปนอยางดีถงึ ความไมสมบูรณของการ กําหนดเขตกันชนและเขตบริหารจัดการรวม โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศกัมพูชายังไมไดกําหนดเขตกันชนที่แนชัดทางทิศ เหนือและทิศตะวันตกของปราสาท รวมทั้งเขตกันชนและเขตบริหารจัดการรวมดังกลาวบางสวนอยูในพื้นที่พิพาททางเขต แดนระหวางประเทศกัมพูชากับประเทศไทย ซึ่งอาจเกิดปญหาเรื่องเขตแดนในบริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหารขึ้น ภายหลังการอนุมัติการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกได แต ICOMOS กลับไมแนะนําอยางชัดเจนให คณะกรรมการมรดกโลกขอใหประเทศกัมพูชามีการกําหนดเขตกันชนและเขตบริหารจัดการรวมใหเรียบรอยชัดเจนกอนการ อนุมัติขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก นอกจากนี้ในรายงานการประเมินโดย ICOMOS ไดระบุวันที่การ อนุมัติรายงานนี้ของ ICOMOS เปน วันที่ 25 มิถุนายน 2551 ซึ่งเปนเวลาเพียง 6 วันกอนที่จะเริ่มมีการประชุม คณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 32 ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 ขัดตอขอกําหนดที่ 168 ของแนวทางปฏิบัติสําหรับ การดําเนินการตามอนุสัญญามรดกโลก ที่กําหนดวา ICOMOS ตองสงรายงานการประเมินดังกลาวใหศูนยมรดกโลกเพื่อ การจัดสงไปยังคณะกรรมการมรดกโลกและรัฐภาคีอยางนอย 6 สัปดาหกอนการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก และขัด ตอระเบียบขอที่ 45 ของระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติของคณะกรรมการมรดกโลก ที่กําหนดวาเอกสารที่เกี่ยวของกับ วาระการประชุมของแตละสมัยการประชุมของคณะกรรมการมรดกโลกจะตองถูกแจกจายไปยังกรรมการมรดกโลกและ หนวยงานที่เกีย่ วของอยางนอย 6 สัปดาหกอนการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก และเอกสารดังกลาวตองจัดใหใน รูปแบบอีเล็กทรอนิกสแกรัฐภาคีซึ่งไมเปนกรรมการมรดกโลกในรูปแบบอีเล็กทรอนิกส 2.2 การพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลกที่ไมปฏิบัติตามกฎเกณฑที่กําหนดและเขาขางกัมพูชา สําหรับการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลกเกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้น ตามแนวทางปฏิบัติสําหรับการดําเนินการตามอนุสัญญามรดกโลก ไดกําหนดตามขอ 148 h) วาเอกสารที่สงหลังจากวันที่

11


28 กุมภาพันธ ของปนั้นๆ จะไมนํามาพิจารณาในการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของปดังกลาว และกําหนดเวลาดังกลาวควรถือ ปฏิบัติอยางเครงคัด แตที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกในสมัยประชุมที่ 32 ป พ.ศ. 2551 กลับมีการยกเวนพิจารณา เอกสารเพิ่มเติมที่กัมพูชาสงในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 นอกจากนี้รายงานการประเมินโดย ICOMOS ที่ ICOMOS อนุมัติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2551 ซึ่งเปนเวลาเพียง 6 วันกอนที่จะเริ่มมีการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 32 ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 อันขัดตอขอกําหนดที่ 168 ของแนวทางปฏิบัติสําหรับการดําเนินการตามอนุสัญญา มรดกโลก และขัดตอระเบียบขอที่ 45 ของระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติของคณะกรรมการมรดกโลกตามที่กลาวมาแลว แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวามีเหตุผลเบื้องหลังการอนุมัติการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชาโดย คณะกรรมการมรดกโลกเพื่อใหประโยชนและเอนเอียงเขาขางประเทศกัมพูชา จากรายละเอียดของขอมติ 32 COM 8B.102 ในสมัยประชุมที่ 32 ของคณะกรรมการมรดกโลกนี้ จะเห็นได วาคณะกรรมการมรดกโลกไดมีมติใหขึ้นทะเบียนมรดกโลกเฉพาะตัวปราสาทพระวิหารได ทั้งๆ ที่ทราบดีจากรายงานการ ประเมิน WHC-08/32.COM/INF.8B1.Add.2 โดย ICOMOS วา กัมพูชายังไมมีการกําหนดเขตกันชนและแผนบริหาร จัดการพื้นที่อยางชัดเจน ยิ่งไปกวานั้นยังไมคํานึงวาเขตกันชนที่จะตองถูกกําหนดขึ้นจะอยูในพื้นที่พิพาทที่ไทยและกัมพูชา ยังไมสามารถตกลงเรื่องเขตแดนระหวางกันได ซึ่งเปนการขัดอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและ ทางธรรมชาติ ในมาตรา 11 ขอ 3. ที่กําหนดวาการบรรจุสิ่งใดในทะเบียนมรดกโลกตองไดรับการยินยอมจากรัฐภาคีที่ เกี่ยวของ รวมทั้งขั ดตอแนวทางปฏิ บัติ สํ าหรับการดําเนินการตามอนุสั ญญามรดกโลก ในขอบัญญัติตางๆ ดั งนี้ ขอบัญญัติ 103 และ 104 ที่กําหนดวาตองมีการกําหนดเขตกันชนที่พอเพียงและมีความละเอียดถูกตองชัดเจนสําหรับ ทรัพยสินที่ถูกเสนอเพื่อขึ้นทะเบียนมรดกโลก ขอบัญญัติ 108 ที่กําหนดใหมีแผนบริหารจัดการที่เหมาะสม ขอบัญญัติ 132 ที่กําหนดวาการเสนอขึ้นทะเบียนมรดกโลกจะถือวาครบถวนสมบรูณก็ตอเมื่อเปนไปตามขอกําหนดตางๆ ใน ขอบัญญัตินี้ และขอบัญญัติ 140 และ 141 ที่กําหนดใหสํานักเลขาตองตรวจสอบความครบถวนสมบรูณของการเสนอ ขึ้นทะเบียนมรดกโลกตามขอกําหนดตางๆ ในขอบัญญัติ 132 ภายหลังจากคณะกรรมการมรดกโลกอนุมัติใหขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ไดมีการสูรบกันระหวางทหารไทยกับทหารกัมพูชาหลายครั้งในพื้นที่พิพาท บริเวณใกลปราสาทพะวิหาร ทําใหทหารทั้งสองฝายเสียชีวิตและไดรับบาดเจ็บ ซึ่งเปนการยืนยันถึงความขัดแยงในพื้นที่ พิพาทบริเวณใกลปราสาทพะวิหารที่กัมพูชาจะตองกําหนดเปนเขตกันชน ในเอกสาร WHC-09/33.COM/7B.Add ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2552 สําหรับการประชุมคณะกรรมการ มรดกโลก สมัยประชุมที่ 33 มีการรายงานการสูรบระหวางทหารไทยกับทหารกัมพูชาในบริเวณใกลปราสาทพระวิหาร ในชวงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2251 และเมษายน พ.ศ. 2552 ซึ่งทําใหทหารทั้งสองฝายไดรับบาดเจ็บและเสียชีวิต แตเปนที่ นาแปลกใจวาคณะกรรมการมรดกโลกกลับนิ่งเฉยไมมีการพิจารณาทบทวนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดก โลกเพื่อแกปญหาความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นอีกสําหรับกรณีพิพาททางเขตแดนระหวางไทยกับกัมพูชา ยังคงใหกัมพูชา ดําเนินการไดตามปกติ รวมทั้งไมมีการพิจารณาจัดปราสาทพระวิหารอยูในรายการมรดกโลกในอันตราย (List of World Heritage in Danger) เนื่องการมีการเกิดความขัดแยงที่มีการใชอาวุธระหวางทหารไทยกับทหารกัมพูชาใน บริเวณใกลปราสาทพระวิหาร ตามมาตรา 11 ขอ 4. ของอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทาง ธรรมชาติ และตามขอบัญญัติ 177-179 ของแนวทางปฏิบัติสําหรับการดําเนินการตามอนุสัญญามรดกโลก

12


รูปที่ 2: ภาพเหตุการณการสูรบระหวางทหารไทยกับกัมพูชาบริเวณใกลปราสาทพระวิหาร

2.3 การไมปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการมรดกโลกของกัมพูชา คณะกรรมการมรดกโลกในสมัยประชุมที่ 32 ณ เมืองควิเบก ประเทศแคนาดา ไดอนุมัติใหขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตามขอมติ 32 COM 8B.102 ซึ่งคณะกรรมการมรดกโลกไดใหประเทศกัมพูชา ดําเนินการดังนี้ 1) ใหรัฐภาคีกัมพูชา โดยการประสานงานกับยูเนสโก ใหจัดการประชุมคณะกรรมการประสานงานระหวาง ประเทศ (International Coordinating Committee) เพื่อรักษาและพัฒนาทรัพยสินภายในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2009 โดยเชิญใหรัฐบาลไทยและผูมีสว นระหวางประเทศที่เหมาะสมอื่นอีกไมเกิน 7 ประเทศ เขารวม เพื่อตรวจสอบนโยบาย ทั่วไปเกี่ยวกับการรักษาคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของทรัพยสนิ โดยสอดคลองกับมาตรฐานการอนุรักษสากล 2) ใหรัฐภาคีกัมพูชาสงเอกสารตอไปนี้ใหศูนยมรดกโลกภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ ค.ศ. 2009: ก) แผนที่ชั่วคราวซึง่ ใหรายละเอียดเพิ่มเติมของทรัพยสินที่ไดขึ้นทะเบียน และแผนที่กําหนดขอบเขตกัน ชนที่ระบุใน RGPP (Revised Graphic Plan of the Property) ข) เอกสารคําขอขึน้ ทะเบียนที่ปรับปรุงแลวเพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงขอบเขตของทรัพยสิน

13


ค) คํายืนยันวาพื้นที่บริหารจัดการของทรัพยสินจะรวมทรัพยสินทีข่ ึ้นทะเบียนและเขตกันชนที่ระบุใน RGPP ง) รายงานความคืบหนาเกี่ยวกับการเตรียมแผนบริหารจัดการ 3) รองขอเพิ่มเติมให รัฐภาคีกัมพูชาใหสงแผนบริหารจัดการที่สมบูรณสําหรับทรัพยสินที่ไดรับการขึ้น ทะเบียนพรอมทั้งแผนที่ที่แลวเสร็จใหศูนยมรดกโลกภายในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2010 เพื่อสงใหแก คณะกรรมการมรดกโลกในสมัยประชุมที่ 34 ใน ค.ศ. 2010 แตปรากฏวากัมพูชาปฏิบัติโดยไมเปนไปตามขอมติ 32 COM 8B.102 ดังนี้ 1) กัมพูชาไมใหจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการประสานงานระหวางประเทศภายในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2009 ตามที่คณะกรรมการมรดกโลกกําหนด จนกระทั้งถึงปจจุบันก็ยังไมมีการจัดการประชุมคณะกรรมการดังกลาว 2) กัมพูชาไมไดส งเอกสารตางๆ ใหศูนยมรดกโลกภายในวันที่ 1 กุมภาพั นธ ค.ศ. 2009 ตามที่ คณะกรรมการมรดกโลกกําหนด โดยสงเอกสารดังกลาวใหศูนยมรดกโลกเมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 2009 ยิ่งไปกวา นั้นเอกสารดังกลาวก็ไมมีความครบถวนสมบูรณ เขตกันชนในแผนที่ที่เสนอมาไมรวมพื้นที่ทางทิศเหนือและทิศ ตะวันตกของปราสาทพระวิหาร ซึ่งอยูภายใตการพิพาททางเขตแดนกับไทย โดยกัมพูชาไดระบุวาการกําหนดเขตนี้เปน เพียงชั่วคราว การกําหนดเขตขั้นสุดทายจะถูกปรับตามผลของปกปนเขตแดนของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมระหวาง กัมพูชากับไทย (Joint Boundary Commission between Cambodia and Thailand: JBC) 3) กัมพูชาไมไดสงแผนบริหารจัดการที่สมบูรณสําหรับทรัพยสินที่ไดรับการขึ้นทะเบียนพรอมทั้งแผนที่ที่แลว เสร็จใหศูนยมรดกโลกภายในกุมภาพันธ ค.ศ. 2010 ตามที่คณะกรรมการมรดกโลกกําหนด การที่กัมพูชาปฏิบัติโดยไมเปนไปตามขอมติ 32 COM 8B.102 ดังกลาวขางตนนั้น คณะกรรมการมรดกโลก ควรทบทวนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชาอยางจริงจังและตรงไปตรงมา เพื่อไมใหเปน ตัวอยางที่ไมดีตอรัฐภาคีอื่นสําหรับการขึ้นทะเบียนมรดกโลกในอนาคต

3. การเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในประเทศไทยเพื่อคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกของกัมพูชา การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ไดทําใหเกิดความหวงกังวลในประชาชนชาวไทย จํานวนมากในเรื่องที่ประเทศไทยอาจเสียดินแดนบริเวณเขาพระวิหารใหกับประเทศกัมพูชา รวมทั้งความเคลือบแคลง สงสัยในการดําเนินการขอรัฐบาลไทยในสมัยทีน่ ายสมัคร สุนทรเวช เปนนายยกรัฐมนตรี ที่เอื้อประโยชนใหนายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีของกัมพูชา ในการเลือกตั้งของประเทศกัมพูชาที่จัดใหมีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งใชการ ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนประเด็นหนึ่งในการหาเสียง ตลอดจนความเคลือบแคลงสงสัยในการเขา มาชวยประเทศกัมพูชาในการขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของนางฟรังซัวส ริวีเอียร (Mrs. Francoise Riviere) ชาวฝรั่งเศส ซึ่งเปนผูชวยผูอ ํานวยการใหญของยูเนสโกฝายวัฒนธรรม รวมทั้งการดําเนินการของ ICOMOS ศูนยมรดกโลก และคณะกรรมการมรดกโลกที่สอไปในทางเอนเอียงเขาขางประเทศกัมพูชา สิ่งเหลานี้ทําใหเกิดการ เคลื่อนไหวของภาคประชาชนในประเทศไทยเพื่อคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา

14


การเคลื่อนไหวของภาคประชาชนในประเทศไทยเพื่อคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ของกัมพูชา มีลําดับเหตุการณที่สําคัญพอสรุปไดดังนี้ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2551 กลุมนักวิชาการและประชาชนไทยสงหนังสือถึงคณะกรรมาธิการ ตางประเทศ วุฒิสภาไทย เพื่อขอใหดําเนินการคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชาหรือ แมแตการเสนอขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกในลักษณะขามพรมแดน วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ดังมีการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนดังนี้ กลุมประชาชนไทยไดยื่นฟองรัฐมนตรีตางประเทศและคณะรัฐมนตรีของไทยตอศาลปกครองกลางของไทย เพื่อใหศาลมีคําสั่งใหเพิกถอนมติคณะรัฐมนตรีไทยเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ที่เห็นชอบใหลงนามใน แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา เพื่อสนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ซึง่ ตอมาในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ศาลปกครองกลางของไทยไดมีคําสั่งคุมครองชัว่ คราว หามมิใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศและคณะรัฐมนตรีของไทย ดําเนินการใดๆ ที่เปนการอางหรือใชประโยชนจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ที่เห็นชอบคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา และการดําเนินการตามมติดังกลาว จนกวาคดีจะถึง ที่สุดหรือศาลจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น กลุมประชาชนไทยอีกกลุมหนึ่งยื่นหนังสือถึงคณะกรรมการมรดกโลกผานสํานักงานยูเนสโกในประเทศไทย เพื่อคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 กลุมประชาชนซึง่ ไดไปยื่นหนังสือถึงคณะกรรมการมรดกโลกผาน สํานักงานยูเนสโกในประเทศไทย เพื่อคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ไดยื่นหนังสือ ถึงนายกรัฐมนตรีไทยเพื่อทราบและตระหนักในเจตนารมณของประชาชนไทยในการคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ประธานวุฒิสภาไทยยื่นคํารองทีส่ มาชิกวุฒสิ ภาไทยจํานวน 77 คนเขาชื่อ กันใหศาลรัฐธรรมนูญไทยวินิจฉัยวาคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เพื่อ สนับสนุนการขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ซึ่งยังไมไดผานความเห็นชอบของรัฐสภาไทย ขัด รัฐธรรมนูญไทยหรือไม วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ประธานสภาผูแทนราษฎรไทยยื่นคํารองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไทย จํานวน 151 คนเขาชื่อกันใหศาลรัฐธรรมนูญไทยวินิจฉัยวาคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เพื่อสนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ซึ่งยังไมไดผานความเห็นชอบของ รัฐสภาไทย ขัดรัฐธรรมนูญไทยหรือไม ตอมาในวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ศาลรัฐธรรมนูญไทยไดมีคําวินิจฉัยชี้ ขาดวา คําแถลงการณรว มไทย-กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เปนหนังสือสัญญาที่อาจมีบท เปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ทั้งยังมีผลกระทบตอความมั่นคงทางสังคมของประเทศอยางกวางขวางอีกดวย ซึ่ง ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญไทย มาตรา 190 วรรคสอง วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ประชาชนไทยผูม ีสิทธิเลือกตั้งจํานวนกวา 45,000 คน เขาชื่อกันรองขอ ตอประธานวุฒิสภาไทยเพื่อถอดถอนคณะรัฐมนตรีทั้งคณะกรณีรวมกันดําเนินการใหมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เพื่อการลงนามในคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ในการสนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ

15


วิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ตอมาในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ ทุจริตแหงชาติของไทยไดมีมติวาเฉพาะ นายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย และนายนายนพดล ปทมะ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของไทย กระทําผิดปฏิบัติหนาที่ในกรณีดังกลาว โดยมีการดําเนินการเพื่อ ชวยเหลือนายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีของกัมพูชา ในการเลือกตั้งของประเทศกัมพูชาที่จัดใหมีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งใชการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนประเด็นหนึ่งในการหาเสียง อันเปนการนํา ผลประโยชนของประเทศไทยมาใชเปนเครื่องมือหาเสียงของพรรคการเมืองประเทศกัมพูชา วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหาร ออก แถลงการณเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลไทยไมยอมรับและไมใหความรวมมือใดๆ ในการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการมรดก โลกสมัยประชุมที่ 32 อันเปนมติที่ไมโปรงใส มุงสนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา อยางเรงรีบและรวบรัด จนเปนที่นากังขาวามีมูลเหตุจูงใจซอนเรน รวมทั้งเรียกรองใหรัฐบาลไทยไมเขารวม คณะกรรมการประสานงานระหวางประเทศ วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหารยื่นหนังสือถึง ผูอํานวยการใหญของยูเนสโกผานสํานักงานยูเอ็นในประเทศไทย เพื่อใหทราบถึงความไมเปนกลาง ความไมมีเหตุผลที่ อธิบายได และความไมรับผิดชอบของ ICOMOS คณะกรรมการมรดกโลก และนางฟรังซัวส ริวีเอียร ซึ่งเปนผูชวย ผูอํานวยการใหญของยูเนสโกฝายวัฒนธรรม ในการดําเนินการที่เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดก โลกของกัมพูชา และขอใหผูอํานวยการใหญของยูเนสโกดําเนินการแกไขในเรื่องนีแ้ ละใหมีการทบทวนมติของ คณะกรรมการมรดกโลกในการอนุมัติการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ประชาชนชาวไทยกวา 500 คนรวมเดินขบวนไปยังบริเวณเขาพระวิหารเพื่อ ตรวจสอบยืนยันวาพื้นที่บริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหารเปนของประเทศไทย วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552 กลุมวุฒิสมาชิกไทยยื่นหนังสือถึงเลขาธิการยูเอ็นผานสํานักงานยูเอ็นใน ประเทศไทย เพื่อใหตั้งคณะกรรมการสอบสวนยูเนสโก คณะกรรมการมรดกโลก และนางฟรังซัวส ริวีเอียร ซึ่งเปน ผูชวยผูอํานวยการใหญของยูเนสโกฝายวัฒนธรรม เกี่ยวกับการดําเนินการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553 ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหารไดยื่นหนังสือถึง นายกรัฐมนตรีไทยขอใหรัฐบาลไทยแจงไปยังยูเนสโกและศูนยมรดกโลกใหทราบถึงคําพิพากษาของศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ที่ใหเพิกถอนมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ที่เห็นชอบคํา แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ซึง่ สนับสนุนการขึน้ ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา และใหคงคําสั่ง คุมครองชั่วคราวที่มีเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ใหมผี ลตอไปจนกวาคดีจะถึงที่สุด อันจะเปนการยืนยันอยาง แข็งขันในทาทีของรัฐบาลไทยในคัดคานการดําเนินการที่ไมยึดหลักธรรมาภิบาลในการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลก วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553 ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหารยื่นหนังสือถึง ผูอํานวยการใหญของยูเนสโกผานผูแทนยูเนสโกในกรุงเทพ เพื่อประทวงและคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกของกัมพูชา และขอใหยูเนสโกดําเนินการยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของ กัมพูชา

16


วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2553 ภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหารยื่นหนังสือถึง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติของไทยเพือ่ ขอใหตรวจสอบการปฏิบัติหรือการละเวนการปฏิบัติหนาที่ของรัฐอัน เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนซึ่งมีผลกระทบตอวัฒนธรรม ความมั่นคงทางดานเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งอธิปไตย และดินแดน กรณีปราสาทพระวิหารและกลุมปราสาทตาเมือน วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ภาคีเครือขายผูติดตาม สถานการณปราสาท เขา พระวิหาร และสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมจัดเสวนาวิชาการเรื่อง “ขบวนการ ภาคประชาชนกับการตอสูเพื่อปองกันการเสียดินแดน: เหตุเกิดจากการสนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลกของกัมพูชาและยูเนสโก ของรัฐบาลไทย” และนิทรรศการจากหนังสือชื่อ “บันทึกภาคประชาชนเรื่องการพิทักษ ดินแดน: จากกรณีปราสาทพระวิหารโมเดล” โดย ม.ล. วัลยวิภา จรูญโรจน ซึ่งเปนผูประสานงานภาคีเครือขาย ผูติดตามสถานการณปราสาท เขา พระวิหาร

รูปที่ 3: ภาพกิจกรรมการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.