ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา

Page 1


ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา

จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ธรรมสถาน สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


"ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ พิมพ์ครัง้ ที่ 1 : พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 4,500 เล่ม หลวงพ่อปฏิจจะ สัมมัตตะ10 (พระวินยั สิรธิ โร) จำนวน 500 เล่ ฒโน ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ สุรพล ไกรสราวุฒ.ิ ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา.-- กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2556. 64 หน้า. 1. พุทธศาสนา--หัวข้อธรรม. I. ชือ่ เรือ่ ง. 294.315 ISBN : 978-616-551-719-5 บรรณาธิการอำนวยการ : ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล, รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์, นายกรรชิต จิตระทาน บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายพงศ์ศกั ดิ์ สุวรรณมณี พิสจู น์อกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นายมาโนช กลิน่ ทรัพย,์ นางสาวปทุมรัตน์ กิจจานนท์, นางนิตพิ ร ใบเตย พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3018 Website : http://www.dharma-centre.chula.ac.th Email : dharma-centre@chula.ac.th


คำนำ โดย ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ดร.ระวี ภาวิไล ศาสนเมธีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย **********************************************


คำนิยม โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ์ ผูช้ ว่ ยอธิการบดี (กำกับงานด้านศิลปวัฒนธรรม) ****************************************************


р╕кр╕▓р╕гр╕Ър╕▒р╕Н р╕Др╕│р╕Щр╕│ р╣Вр╕Фр╕в р╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╕▓р╕Ир╕▓р╕гр╕вр╣Мр╕Бр╕Хр╕┤ р╕Хр╕┤р╕Др╕У р╕╕ р╕Фр╕г.р╕гр╕░р╕зр╕╡ р╕ар╕▓р╕зр╕┤р╣Др╕е р╕ир╕▓р╕кр╕Щр╣Ар╕бр╕Шр╕╡р╣Бр╕лр╣Ир╕Зр╕Ир╕╕р╕мр╕▓р╕ер╕Зр╕Бр╕гр╕Ур╣Мр╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕в р╕Др╕│р╕Щр╕┤р╕вр╕б р╣Вр╕Фр╕в р╕гр╕нр╕Зр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╕▓р╕Ир╕▓р╕гр╕вр╣М р╕Фр╕г.р╕кр╕▒р╕Щр╕Хр╕┤ р╕Йр╕▒р╕Щр╕Чр╕зр╕┤р╕ер╕▓р╕кр╕зр╕Зр╕ир╣М р╕Ьр╕╣р╕Кр╣Й р╕зр╣И р╕вр╕нр╕Шр╕┤р╕Бр╕▓р╕гр╕Ър╕Фр╕╡ (р╕Бр╕│р╕Бр╕▒р╕Ър╕Зр╕▓р╕Щр╕Фр╣Йр╕▓р╕Щр╕ир╕┤р╕ер╕Ыр╕зр╕▒р╕Тр╕Щр╕Шр╕гр╕гр╕б) р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Др╕╖р╕нр╕кр╕┤р╕Зр╣И р╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Ыр╣Зр╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕Ыр╕гр╕▓р╕гр╕Цр╕Щр╕▓р╕кр╕╣р╕Зр╕кр╕╕р╕Фр╕Вр╕нр╕Зр╕бр╕Щр╕╕р╕йр╕вр╣М р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕кр╕┤р╕Зр╣И р╕Бр╕│р╕лр╕Щр╕Фр╕зр╕┤р╕Цр╕Б р╕╡ р╕▓р╕гр╕Фр╕│р╣Ар╕Щр╕┤р╕Щр╕Кр╕╡р╕зр╕Хр╕┤ р╕Вр╕нр╕Зр╕бр╕Щр╕╕р╕йр╕вр╣М р╕Др╕│р╕кр╕нр╕Щр╣Гр╕Щр╕Юр╕гр╕░р╕Юр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓ р╕бр╕╡р╣Бр╕Хр╣Ир╣Ар╕гр╕╖р╕нр╣И р╕Зр╕Чр╕╕р╕Бр╕Вр╣Мр╣Бр╕ер╕░р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕Фр╕▒р╕Ъ р╕кр╕┤р╕Щр╣Й р╣Др╕Ыр╣Бр╕лр╣Ир╕Зр╕Чр╕╕р╕Бр╕Вр╣М р╣Др╕бр╣Ир╣Др╕Фр╣Йр╕кр╕нр╕Щр╣Ар╕гр╕╖р╕нр╣И р╕Зр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕В р╕Ир╕гр╕┤р╕Зр╕лр╕гр╕╖р╕н ? р╕Чр╕▒р╕ир╕Щр╕░р╣Ар╕гр╕╖р╕нр╣И р╕З тАЬр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕ВтАЭ р╣Гр╕Щр╕Юр╕гр╕░р╕Юр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓ р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕│р╣Бр╕Щр╕Б тАЬр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕ВтАЭ р╣Гр╕Щр╕Юр╕гр╕░р╕Юр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓ р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕В 10 р╕Вр╕▒р╕Щр╣Й р╣Ар╕зр╕Чр╕вр╕┤р╕Хр╕кр╕╕р╕В р╣Бр╕ер╕░ р╕нр╣Ар╕зр╕Чр╕вр╕┤р╕Хр╕кр╕╕р╕В р╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕в р╣Бр╕ер╕░р╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╣Гр╕И р╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓ / р╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕╡р╕бр╣И р╕нр╕╡ р╕▓р╕бр╕┤р╕к / р╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕╡р╣Др╣И р╕бр╣Ир╕бр╕нр╕╡ р╕▓р╕бр╕┤р╕к р╕кр╕гр╕╕р╕Ы р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Чр╕╕р╕Бр╕бр╕┤р╕Хр╕┤ р╣Гр╕Щр╕Юр╕гр╕░р╕Юр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓ р╕Ыр╕гр╕░р╕бр╕зр╕ер╣Ар╕гр╕╖р╕нр╣И р╕Зр╕гр╕▓р╕зр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Чр╕╕р╕Бр╕бр╕┤р╕Хр╣Гр╕┤ р╕Щр╕Юр╕гр╕░р╕Юр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓ р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕в тЩж р╕зр╕┤р╕Шр╕Ъ р╕╡ р╕гр╕┤р╕лр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕в р╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕нр╕▓р╕вр╕╕р╕зр╕Т р╕▒ р╕Щр╕Шр╕гр╕гр╕б 5 р╣Ар╕Юр╕╖р╕нр╣И р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕бр╕╡р╕нр╕▓р╕вр╕╕р╕вр╕Щр╕╖ р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╣Гр╕Ир╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Щр╕╖р╕нр╣И р╕Зр╕Бр╕▒р╕Ър╕Ыр╕гр╕░р╕кр╕▓р╕Ч 5 р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕╡р╕бр╣И р╕нр╕╡ р╕▓р╕бр╕┤р╕к р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕Бр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕В тЩж р╕зр╕┤р╕Шр╕Ъ р╕╡ р╕гр╕┤р╕лр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕г р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕Вр╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╣Гр╕Ир╕Чр╕╡р╣Ар╣И р╕Щр╕╖р╕нр╣И р╕Зр╕Бр╕▒р╕Ъ р╕Ыр╕гр╕░р╕кр╕▓р╕Ч 5 р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕кр╕╕р╕Вр╣Ар╕зр╕Чр╕Щр╕▓р╕Чр╕╡р╕бр╣И р╕нр╕╡ р╕▓р╕бр╕┤р╕к р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕Бр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕В р╕ир╕╡р╕е р╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕▒р╕Щр╕Вр╕нр╕З р╕Бр╕▓р╕бр╕кр╕╕р╕В

р╕лр╕Щр╣Йр╕▓

1 2 3 5 10 10 12 13 14 15 16 16 18 20 21 28 30


สารบัญ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่เนือ่ งกับประสาท 5 หรือสุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส หรือ ฌานสุข ♦ ฌานสุข คือความสุขทีเ่ กิดจากสมาธิ ♦สมาธิทำให้เกิดความสุขได้อย่างไร ? ♦ ประโยชน์ในด้านอืน ่ ๆ ของการทำสมาธิ การทำสมาธิ เป็นการฝึกหัดควบคุมจิตให้อยูใ่ นอำนาจ การทำสมาธิ เป็นการปรับปรุงจิตให้มคี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม การทำสมาธิ เป็นการเสริมสร้างพลังให้กบั จิต การทำสมาธิ เป็นการสร้างบ้านทางจิต การทำสมาธิ เป็นการออกกำลังกายทางจิต ♦ วิธบ ี ริหารจัดการ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่เนือ่ งกับ ประสาท 5 หรือสุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส หรือ ฌานสุข ความดับทุกข์ หรือ วิมตุ ติสขุ : ความสุขทีเ่ ป็นอุดมคติ ♦ วิมต ุ ติสขุ หรือความดับทุกข์ คือความสุขทีเ่ กิดจากปัญญา ♦ ความสุขทีเ่ กิดจากปัญญา 3 ระดับ ปัญญารูเ้ ข้าใจในธรรมชาติชวี ติ ทัง้ ฝ่ายกายและจิต ตลอดจนแนวทางในการดำเนินชีวติ ปัญญารูแ้ จ้งในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยรูปธรรม ปัญญารูแ้ จ้งในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยนามธรรม บทสรุป ดรรชนีคน ้ คำ รายชือ่ หนังสือทีไ่ ด้จด ั พิมพ์มาแล้วของผูเ้ รียบเรียง ก่อนจบเล่ม โดย นายกรรชิต จิตระทาน ผูอ้ ำนวยการสำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม

หน้า 31 32 37 38 38 39 39 40 42 42 44 44 46 49 52 54 55 56 57 58


ความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา

ความสุขคือสิง่ ทีเ่ ป็นความปรารถนาสูงสุดของมนุษย์

ากจะตัง้ คำถามว่า..... “อะไรคือสิง่ ทีเ่ ป็นความปรารถนาสูงสุดของมนุษย์ ?” ก็เชื่อว่าคงจะได้รับคำตอบแทบจะเหมือนกันจากทุกคนว่า คือ “ความสุข” แต่หากมีคำถามต่อไปว่า..... “ความสุข ทีว่ า่ นัน้ คืออะไร ?” ก็นา่ แปลกใจมากว่า คำตอบทีไ่ ด้รบั จากแต่ละคน ไม่เหมือนกัน และไม่ใช่สง่ิ เดียวกันเสียทีเดียว และหากจะถามต่อไปอีกว่า ท่านแน่ใจว่า “ความสุข คือเป้าหมายหรืออุดมคติสงู สุดของชีวติ จริงหรือ ?” ก็อาจทำให้ตอ้ งหยุด เพือ่ คิดและพิจารณาทบทวน ก่อนจะตอบไปเหมือนกัน 1


ความสุขเป็นสิง่ กำหนดวิถกี ารดำเนินชีวติ ของมนุษย์

ในเมือ่ ความสุขเป็นสิง่ ทีเ่ ป็นความปรารถนาสูงสุดของมนุษย์ ดังนัน้ “ความสุข” จึงเป็นเรือ่ งสำคัญทีส่ ดุ ในชีวติ ของมนุษย์เช่นกัน กล่าวได้ว่า วิถีการดำเนินชีวิตทั้งหมดของมนุษย์แต่ละบุคคล จะเป็นอย่างไร ขึน้ อยูก่ บั ว่าบุคคลมีความรูค้ วามเข้าใจหรือทัศนะ ต่อความสุขอย่างไร และเห็นว่าความสุขอะไรทีเ่ ป็นยอดปรารถนา ของตน ดังนัน้ การเรียนรูเ้ พือ่ ให้รจู้ กั เรือ่ ง “ความสุข” ของมนุษย์ให้ ถ่องแท้และรอบด้าน นอกจากจะทำให้เข้าใจวิถกี ารดำเนินชีวติ ทัง้ ของ ตนเองและเพื่อนมนุษย์ และเกิดความเข้าอกเข้าใจในระหว่างเพื่อน มนุษย์ด้วยกันมากขึ้นแล้ว ยังจะทำให้รู้ถึงคุณและโทษของความสุข ประเภทต่าง ๆ ทีม่ นุษย์มคี วามพอใจและแสวงหากันอยู่ เพือ่ จะได้รจู้ กั ป้องกันไม่ให้โทษต่าง ๆ เกิดขึน้ และรูจ้ กั พัฒนาความสุขทีม่ อี ยูแ่ ล้วนัน้ ให้ละเอียดและประณีตยิง่ ขึน้ ๆ ตลอดจนได้รจู้ กั ว่ายังมีความสุขอืน่ ที่ เรายังไม่รจู้ กั และเมือ่ ได้รจู้ กั แล้ว อาจพบว่าเป็นความสุขทีด่ กี ว่า สุขมุ ลุม่ ลึกกว่า น่าพอใจยิง่ กว่า และทีส่ ดุ ได้มองเห็นว่า ความสุขอะไรทีเ่ ป็น อุดมคติ ทีม่ นุษย์ทกุ คนควรรูจ้ กั และแสวงหา ซึง่ จะเป็นความสุขทีน่ ำ สันติสุขและสันติภาพ มาให้ทั้งแก่บุคคลและสังคมอย่างแท้จริงและ ยัง่ ยืน ตลอดจนสามารถนำมนุษย์ออกจากวิกฤตการณ์ตา่ ง ๆ ทัง้ ปวง ได้ หนังสือนี้ เรียบเรียงขึน้ เพือ่ เชิญชวนท่านผูอ้ า่ น มาร่วมกัน เรียนรูแ้ ละทำความเข้าใจเรือ่ งความสุข ในบริบททางพระพุทธศาสนาอย่างกว้างขวาง 2


คำสอนในพระพุทธศาสนา มีแต่เรือ ่ งทุกข์และความดับ

สิน้ ไปแห่งทุกข์ ไม่ได้สอนเรือ่ งความสุข จริงหรือ ? มีผู้สนใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาบางท่าน เมื่อได้ อ่านมาถึงตรงนี้ อาจเกิดคำถามขึน้ มาว่า..... “พระพุทธศาสนาสอนแต่เรื่องทุกข์และความดับสิ้นไปแห่ง ทุกข์เท่านัน้ ตามทีพ่ ระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ มิใช่หรือ ? แต่ทำไมหนังสือ นีจ้ งึ มาเขียนถึงเรือ่ งความสุขทุกมิติ ตามหลักพระพุทธศาสนา?” คำตอบในทีน่ ้ี คือ..... พระพุทธเจ้าตรัสสอนทัง้ เรือ่ งความสุขและความดับทุกข์ แต่ให้คา่ หรือน้ำหนักของทัง้ 2 เรือ่ งแตกต่างกัน เรือ่ ง ทุกข์และความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์ ตรัสสอนว่า เป็นหัวใจ คำสอนในพระพุทธศาสนา ตามทีม่ พี ระพุทธพจน์ตรัสไว้ในพระไตรปิฎก1 เล่มที่ 18 ข้อที่ 770 ว่า “ในกาลก่อนด้วย ในบัดนีด้ ว้ ย เราย่อมบัญญัติ ทุกข์และความดับแห่งทุกข์ ฯ” ดังนัน้ เรือ่ งทุกข์และความดับทุกข์ จึงเป็น เรื่องที่เป็นปัญหาและอุดมคติที่แท้จริงของชีวิต กล่าวได้ว่า หากใน ธรรมชาติของชีวติ ไม่มเี รือ่ งทุกข์แล้ว คำสอนใด ๆ ก็เป็นอันเปล่าประโยชน์ และบุคคลก็ไม่มคี วามจำเป็นทีจ่ ะต้องมาศึกษาและปฏิบตั ธิ รรมแต่อย่างใด แต่ในความเป็นจริง ทุกเรือ่ งทีบ่ คุ คลคิด พูด และทำ ย่อมมีเรือ่ งของ ความทุกข์เป็นผลเกิดขึน้ ติดตามมาเสมอ ความสำคัญทีแ่ ท้จริงของการ ปฏิบตั ธิ รรมก็อยูต่ รงนีเ้ อง คือทำอย่างไรความทุกข์จงึ จะไม่เกิดขึน้ และ ภาวะใดทีค่ วามทุกข์ยงั สามารถเกิดขึน้ บีบคัน้ และเสียดแทงบุคคลได้ หลักพระพุทธศาสนาแสดงว่าภาวะนัน้ ยังไม่ใช่อดุ มคติทแ่ี ท้จริง 1

พระไตรปิฎกทีใ่ ช้อา้ งอิงในหนังสือนี้ คือพระไตรปิฎก ฉบับหลวง

3


ภาวะ “ความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์” นี้ หากจะใช้ชอ่ื เรียกโดยอนุโลม ให้เป็นความสุข ก็เรียกว่า “วิมุตติสุข” แต่มีความแตกต่างจากเรื่อง ความสุขทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอนอย่างสิน้ เชิง กล่าวคือ ไม่ใช่ความสุข ทีบ่ คุ คลจะปรุงแต่ง สร้างสรรค์ หรือทำให้เกิดขึน้ ได้โดยตรง แต่ เป็นความสุขทีจ่ ะปรากฏขึน้ เอง ภายหลังจากทีบ่ คุ คลสามารถปฏิบตั ิ จนละเหตุแห่งทุกข์ คือ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หรือสังโยชน์ อันเป็นเครือ่ งร้อยรัดให้ตดิ จมอยูใ่ นกองทุกข์ ได้จนหมดสิน้ ซึง่ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ยังได้จำแนกลึกลงไปอีกว่า มีความ หยาบ-ละเอียดของการละให้หมดสิ้นไป เป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับอีก ด้วย ส่วนเรือ่ ง ความสุข นัน้ พระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสสอนเช่นเดียวกัน แต่เป็นเรือ่ งทีแ่ ตกต่างจาก “ความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์” ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว โดยเรือ่ งของความสุข เป็นสิง่ ทีบ่ คุ คลสามารถปรุงแต่ง สร้างสรรค์ หรือทำให้เกิดขึน้ ได้โดยตรง แม้บคุ คลทีม่ กี เิ ลส ก็สามารถทำได้ และ ยังไม่ใช่สิ่งที่จัดว่าเป็นอุดมคติของชีวิตแต่อย่างใด ฐานะสูงสุดของ เรื่องความสุขจริงๆ แล้วเป็นองค์ประกอบสำคัญประการหนึ่ง ของจิตทีจ่ ะขาดเสียมิได้ ทัง้ ในการดำเนินชีวติ เพือ่ ความเป็นปกติ สุขในวิถขี องปุถชุ นทัว่ ไป และแม้ในวิถชี วี ติ ของบุคคลทีม่ งุ่ หวัง การปฏิบตั เิ พือ่ ให้บรรลุถงึ ความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์ นอกจากนั้น เรือ่ งความสุขยังจัดได้วา่ เป็นเรือ่ งใหญ่ทส่ี ดุ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำเนินชีวติ ของมนุษย์ เป็นสิง่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรมและความเป็นไปของชีวติ และสังคมทัง้ หมด ทัง้ ในด้านทีท่ ำให้เกิดคุณและทำให้เกิดโทษ อย่าง กว้างขวางและลึกซึง้ ซึง่ จะได้กล่าวอย่างละเอียดต่อไป 4


ทัศนะเรือ่ ง “ความสุข” ในพระพุทธศาสนา

ความสุข ตามทัศนะในพระพุทธศาสนามีความหมายกว้าง ขวาง แต่หากกล่าวเฉพาะความสุขทีบ่ คุ คลทัว่ ไปรูจ้ กั และสามารถเข้า ถึงได้ เป็นความรูส้ กึ (=เวทนา) สบายกายหรือสบายใจ ทีท่ ำให้ เกิดความยินดีและพอใจ เมือ่ มีการสัมผัสรับรูต้ อ่ สิง่ ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นบุคคล สัตว์ สิง่ ของ รวมไปถึง รูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ต้องกาย และ ค่านิยม ความคิด ความจำ หรือความรับรูต้ า่ ง ๆ ทีป่ รากฏในใจ ฯลฯ ซึง่ ทัง้ หมดนี้ ภาษาทางศาสนา เรียกว่า “อารมณ์” (=สิง่ ทีจ่ ติ รับรู)้ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า หลักธรรมในพระพุทธศาสนามองเรือ่ ง “ความสุข” ว่าไม่ใช่เป้าหมายหรืออุดมคติของชีวิตที่แท้จริง ; “วิมตุ ติ หรือ ความหลุดพ้น (จากทุกข์)” ต่างหากทีเ่ ป็นเป้าหมาย หรืออุดมคติทแ่ี ท้จริง ความสุขเป็นเพียงองค์ประกอบหนึง่ ทีส่ ำคัญ ยิง่ ของจิตทีจ่ ะขาดไปเสียมิได้เท่านัน้ ทัศนะดังกล่าวนีม้ คี วามสำคัญ มาก ทำให้บคุ คลมีทา่ ทีและการปฏิสมั พันธ์กบั เรือ่ งความสุขได้ถกู ต้อง ในทางตรงกันข้าม เพราะเข้าใจผิดว่า “ความสุข” เป็นสิง่ ปรารถนาสูงสุด เป็นเป้าหมายหรืออุดมคติของชีวติ ความสุขจึง กลับกลายมาเป็นที่ตั้งของทุกข์หรือปัญหาได้อย่างที่นึกไม่ถึง จนกล่าวได้วา่ ปัญหาแทบทัง้ หมดของมนุษย์ เกิดขึน้ จากความ หลงใหล และการแสวงหาความสุขของมนุษย์นเ่ี อง ดังพระพุทธพจน์ ที ่ ต รั ส ว่ า “เวทนาเป็ น ปั จ จั ย ให้ เ กิ ด ตั ณ หา” และตั ณ หาหรื อ ความทะยานอยากนี้ตรัสว่าเป็นสาเหตุของทุกข์และปัญหาทั้งปวง จะเห็นได้วา่ สิง่ ทีเ่ ป็นความต้องการของตัณหาจริง ๆ ไม่ใช่อะไรอืน่ เลย คือเวทนานีเ้ อง โดยเฉพาะรสชาติของเวทนาทีเ่ ป็นสุข ยิง่ สุขทีล่ ะเอียด 5


ประณีตเท่าใด ก็ยง่ิ ทำให้เกิดตัณหาทีล่ ะเอียด ประณีต และเหนียวแน่น ยิง่ ขึน้ เท่านัน้ เพื่อยืนยันความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของ “ความสุข”ตามทีไ่ ด้กล่าว จะขอนำพระพุทธพจน์ทต่ี รัสไว้ในบางแห่ง มานำเสนอเพือ่ ประกอบการพิจารณา ..... ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 11 ข้อที่ 455 มีพระพุทธพจน์ตรัสว่า “จิตของผูม้ สี ขุ ย่อมตัง้ มัน่ ” และในพระไตรปิฎก เล่มที่ 24 ข้อที่ 1 มีพระพุทธพจน์ตรัสไว้ เป็นกระบวนธรรมว่า ศีลทีเ่ ป็นกุศล ---> อวิปปฏิสาร ---> ปราโมทย์ --> ปีติ ---> ปัสสัทธิ ---> สุข ---> สมาธิ ---> ยถาภูตญาณทัสสนะ --> นิพพิทา ---> วิราคะ ---> วิมตุ ติ ---> วิมตุ ติญาณทัสสนะ กล่าวโดยสรุป พระพุทธพจน์ทง้ั 2 บททีย่ กมานี้ ได้ชใ้ี ห้เห็นถึง ความสำคัญและเป้าหมายทีแ่ ท้จริงของ “ความสุข” ทีม่ ตี อ่ จิต ว่าโดย ธรรมชาติแล้ว จิตจะต้องมีความสุขประกอบอยู่ จึงจะมีความตัง้ มัน่ หรือเป็นสมาธิ กล่าวคือ มีความสงบ นิง่ มัน่ คง แน่วแน่ เป็นปกติ และพร้อมทีจ่ ะทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ ด้วยดี ในทางตรงกันข้าม หากจิตขาดความสุขแล้ว จิตจะไม่ตง้ั มัน่ หรือตัง้ มัน่ ได้ยาก จะเกิดความหวัน่ ไหว ดิน้ รน ซัดส่าย ไม่พร้อมทีจ่ ะทำ หน้าทีต่ า่ ง ๆ และหากขาดความสุขไปนาน ๆ จิตก็จะแห้ง เฉา ซึม ขาด พลังความคิดสร้างสรรค์ หรืออาจออกอาการไปในทางตรงข้าม คือ ก้าวร้าว เกรีย้ วกราด และนำไปสูโ่ รคซึมเศร้า โรคจิต และโรคประสาทได้ ความสุขจึงเปรียบได้เป็นเสมือนอาหารของจิต ที่ทำหน้าที่ หล่อเลีย้ งและบำรุงชีวติ ฝ่ายจิต ซึง่ อันทีจ่ ริงมีผลมาถึงชีวติ ฝ่ายกายด้วย 6


ทำให้จติ ตัง้ มัน่ มีพลัง เกิดความแช่มชืน่ เบิกบาน และสามารถดำรงอยู่ ได้อย่างเป็นปกติสุข เช่นเดียวกันกับปัจจัย 4 ที่เป็นอาหารของกาย ทำหน้าที่หล่อเลี้ยงชีวิตฝ่ายกายให้แข็งแรงและดำรงอยู่ได้อย่างเป็น ปกติสขุ ซึง่ ชีวติ จะขาดเสียมิได้ การเปรียบความสุขเป็นเสมือนกับอาหารนี้ น่าจะทำให้เห็น คุณค่าของความสุขได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในกรณีการรับประทานอาหาร ทางกาย เป้าหมายสูงสุดไม่ได้อยู่ที่ตัวอาหารหรือรสชาติความอร่อย ของอาหาร แต่อยูท่ ค่ี วามตัง้ มัน่ ความแข็งแรง และความเป็นปกติสขุ ของร่างกายต่างหาก ในทำนองเดียวกัน เรือ่ งของจิตทีม่ คี วามสุขเป็น อาหาร เป้าหมายสูงสุดก็ไม่ได้อยูท่ ต่ี วั ความสุขหรือรสชาติของความสุข แต่ประการใด แต่เพื่อให้จิตมีความตั้งมั่นต่างหาก และอาศัยจิตที่ ตั้งมั่นนี้ เป็นฐานทำให้เกิดปัญญารู้ความจริง นำไปสู่ความหลุดพ้น ของจิต ซึ่งเป็นอุดมคติแท้จริงในที่สุด ดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ใน พระไตรปิฎก เล่มที่ 11 ข้อที่ 455 ว่า “ผูม้ จี ติ ตัง้ มัน่ ย่อมรูเ้ ห็นตาม เป็นจริง ผูร้ เู้ ห็นตามเป็นจริง ตนเองย่อมหน่าย เมือ่ หน่าย ย่อม คลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัดย่อมหลุดพ้น...” ดังนัน้ เป้าหมายของเรือ่ ง “ความสุข” ทีแ่ ท้จริง คือเพือ่ ทำให้จติ ตัง้ มัน่ ซึง่ เป้าหมายดังทีก่ ล่าวนี้ แม้จะไม่ใช่เป้าหมายทีเ่ ป็น อุดมคติของชีวติ ก็จริง แต่กม็ คี วามสำคัญมาก และเป็นสิง่ ทีท่ กุ ชีวติ จะ ขาดไปไม่ได้เลย แม้ในการดำรงชีวิตของบุคคลทั่วไป เพื่อทำให้การ ดำเนินชีวติ ของบุคคลเป็นปกติสขุ อยูไ่ ด้ สำหรับบุคคลผู้ประสงค์ฝึกฝนปฏิบัติตนเพื่อจุดมุ่งหมายคือ “ความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์” ความสุขก็เป็นเรือ่ งสำคัญทีจ่ ะขาดไม่ได้เช่นกัน 7


แต่จะอาศัยใช้เป็นสิง่ ทีท่ ำให้จติ ตัง้ มัน่ เพือ่ เป็นฐานทำให้เกิดปัญญารู้ เห็นสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนบรรลุถึงความหลุดพ้นหรือ ความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์ ซึง่ เป็นอุดมคติในทีส่ ดุ การเรียนรู้เรื่องความสุขให้เกิดความแจ่มแจ้ง ตลอดจนรู้จัก บริหารจัดการให้ดีและถูกต้อง จึงเป็นเรื่องสำคัญและเป็นประโยชน์ อย่างยิง่ ต่อการดำเนินชีวติ ของทุกคนอย่างประมาณมิได้ ทัศนะอีกนัยหนึง่ หลักธรรมในพระพุทธศาสนามองความ สุขและความทุกข์ ว่าเป็นเครือ่ งบอกหรือตัวชีว้ ดั สำคัญทีท่ ำให้รู้ ว่าสิง่ ต่าง ๆ ในชีวติ กำลังดำเนินไปเป็นอย่างไร เช่น หากเกิดสุขเวทนา ก็เป็นเครือ่ งบอกว่าสิง่ ต่าง ๆ กำลังดำเนินไปในทิศทางทีป่ ระสงค์ แต่ก็ ยังไม่แน่นกั ว่าจะเป็นไปในทิศทางทีถ่ กู ต้องหรือไม่ เพราะในหลักธรรม ได้แสดงไว้วา่ จิตของบุคคลในขณะทีม่ คี วามโลภเกิดขึน้ ก็สามารถทำให้ เกิดสุขเวทนาได้เช่นกัน ; หากเกิดทุกขเวทนา ก็เป็นเครือ่ งบอกว่ามีปญ ั หา หรืออุปสรรคเกิดขึน้ และหากเกิดอทุกขมสุขเวทนาหรือความรูส้ กึ เฉย ๆ ก็ยงั ไม่มนี ยั ทีบ่ อกอะไรชัดเจนนัก หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ให้คณ ุ ค่าและความสำคัญแก่ ทุกขเวทนามากกว่า โดยเห็นว่าทุกขเวทนาเป็นเครือ่ งบอกเหตุทม่ี ี ความแม่นยำและแน่นอน กล่าวคือ หากเกิดทุกขเวทนาทางกาย ก็เป็นสิง่ บอกให้รวู้ า่ มีปญ ั หาหรือโรคภัยไข้เจ็บอะไรบางอย่างเกิดขึน้ ทีก่ าย ส่วนนัน้ และหากเกิดทุกขเวทนาทางใจ ก็เป็นสิง่ บอกให้รวู้ า่ มีปญ ั หา การรับรูอ้ ะไรบางอย่างทีไ่ ม่ถกู ต้อง เกิดขึน้ ทีใ่ จ และทีส่ ดุ ได้นำเอาทุกขเวทนาทางใจ มาเป็นเครือ่ งตัดสินภาวะทีเ่ ป็นอุดมคติสงู สุด ว่าคือ ภาวะที่ไม่มี ทุกขเวทนาทางใจ เกิดขึ้นในชีวิตอีกต่อไปอย่าง เด็ดขาด 8


ปัญหาทัง้ หมดของมนุษย์ทเ่ี กิดขึน้ กล่าวได้วา่ มีสาเหตุมาจาก ทัศนะหรือการรับรูท้ ผ่ี ดิ ๆ ต่อเรือ่ ง “ความสุข” นีเ้ อง โดยเฉพาะการเห็น ว่าความสุขเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวติ และมีความหลงใหลในรสชาติ สัมผัสของความสุขทีเ่ กิดขึน้ (=เวทนา) จึงเป็นเหตุทำให้เกิดความทะยาน อยาก (=ตัณหา) และความยึดมัน่ ถือมัน่ ขึน้ (=อุปาทาน) เมือ่ มีความ ยึดมัน่ ถือมัน่ เกิดขึน้ จิตของบุคคลจะตกอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลและถูกร้อยรัด เสียดแทงจากสิง่ ทีย่ ดึ มัน่ ถือมัน่ นัน้ เอง จนทำให้เกิดปัญหาและความ ทุกข์ขน้ึ มากมายทัง้ ต่อตนเองและสังคม ดังทีม่ พี ระพุทธพจน์ตรัสไว้ใน พระไตรปิฎก เล่มที่ 16 ข้อที่ 6 ถึง 17 ว่า ..... .....--> เวทนา --> ตัณหา --> อุปาทาน --> ภพ --> ชาติ --> ชรา มรณะ โสกะปริเทวะทุกข์โทมนัสอุปายาส (เพราะหลงใหลใน เวทนาโดยเฉพาะสุขเวทนา จึงทำให้เกิดความทุกข์ในส่วนบุคคล) และในพระไตรปิฎก เล่มที่ 10 ข้อที่ 59 ..... .....--> เวทนา --> ตัณหา --> ปริเยสนา (การแสวงหา) --> ลาภะ (การได้) --> วินิจฉัย (การกะกำหนด) --> ฉันทราคะ (ความชอบชิดติดพัน) --> อัชโฌสาน (ความหมกมุน่ ฝังใจ) --> ปริคคหะ (การยึดถือครอบครอง) --> มัจฉริยะ (ความตระหนี)่ --> อารักขะ (ความหวงกั้น) อาศัยอารักขะ จึงมีการถือไม้ ถือมีด การทะเลาะ แก่งแย่ง วิวาท การด่าว่า การส่อเสียด มุสาวาท บาปอกุศลธรรมทั้งหลายเป็นอเนก ย่อมเกิดมีพรั่งพร้อมด้วย อาการอย่างนี้ (เพราะหลงใหลในเวทนาโดยเฉพาะสุขเวทนา จึงทำให้ เกิดความทุกข์ในส่วนสังคมอย่างมากมายมหาศาล)

9


การจำแนก “ความสุข” ในพระพุทธศาสนา

การจะเข้าใจคำสอนเรือ่ ง “ความสุข” ในพระพุทธศาสนาได้ อย่างถ่องแท้ ขอเสนอว่าให้พจิ ารณาการจำแนกประเภทความสุขในแง่ มุมต่าง ๆ ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนไว้อย่างกว้างขวางก่อน ก็จะ ทำให้เข้าใจมุมมองเรือ่ งความสุขในมิตทิ างพระพุทธศาสนาได้ดยี ง่ิ ขึน้ ในทีน่ จ้ี ะขอหยิบยกมาพิจารณาเพียง 4 หมวดทีส่ ำคัญ คือ 1. ความสุข 10 ขัน้ 2. เวทยิตสุข และอเวทยิตสุข 3. สุขเวทนาทางกาย และสุขเวทนาทางใจ 4. สุขเวทนา / สุขเวทนาทีม่ อี ามิส / สุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส ความสุข 10 ขัน้ ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 13 ข้อที่ 100 - 102 พระพุทธเจ้าได้ตรัส แสดงเรือ่ งความสุขไว้เป็น 10 ขัน้ ด้วยกันคือ 1. สุขเนื่องด้วยกามคุณ 5 (คือ รูป เสียง กลิ่น รส และ สิง่ ต้องกาย) 2. สุขเนือ่ งด้วยปฐมฌาน 3. สุขเนือ่ งด้วยทุตยิ ฌาน 4. สุขเนือ่ งด้วยตติยฌาน 5. สุขเนือ่ งด้วยจตุตถฌาน 6. สุขเนือ่ งด้วยอากาสานัญจายตนฌาน 7. สุขเนือ่ งด้วยวิญญาณัญจายตนฌาน 8. สุขเนือ่ งด้วยอากิญจัญญายตนฌาน 10


9. สุขเนือ่ งด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน 10. สุขเนือ่ งด้วยสัญญาเวทยิตนิโรธ ความสุขทัง้ 10 ขัน้ นี้ เป็นความสุขทีบ่ คุ คลสามารถปรุงแต่ง หรือทำให้เกิดขึน้ ได้ดว้ ยตนเอง โดยความสุขในขัน้ ที่ 1 ให้ชอ่ื เรียกว่า “กามสุข” ; ความสุขในขัน้ ที่ 2 - 9 ให้ชอ่ื เรียกว่า “ฌานสุข” และความสุข ในขัน้ ที่ 10 อนุโลมให้ชอ่ื เรียกว่า “นิพพานสุข” ความสุขในประเภทสุดท้าย เป็นความสุขประเภทพิเศษ บุคคล ทัว่ ไปไม่สามารถกระทำให้เกิดขึน้ ได้ บุคคลผูส้ ามารถเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธได้ ต้องเป็นผูบ้ รรลุ “วิมตุ ติสขุ ” มาแล้ว กล่าวคือ สามารถดับทุกข์ ดับกิเลสมาได้แล้วอย่างน้อยในระดับพระอนาคามี นอกจากนัน้ ยังต้อง มีความสามารถเจริญฌานได้จนถึงอรูปฌานขัน้ สูงสุดมาแล้วอีกด้วย และเนือ่ งจากได้พจิ ารณาเห็นว่า แม้แต่พระอริยบุคคลผูบ้ รรลุเป็นพระอรหันต์แล้วก็ตาม ก็ใช่ว่าทุกรูปจะสามารถปฏิบัติให้เกิดความสุขใน ระดับนีไ้ ด้ ดังนัน้ จึงจะไม่กล่าวถึงรายละเอียดของความสุขประเภทนี้ ในหนังสือนี้ การจำแนกความสุขตามนัยนี้ เป็นการจำแนกความสุข โดยถือเอาอารมณ์หรือสิง่ ทีจ่ ติ รับรูแ้ ล้วทำให้เกิดความสุข เป็น ทีต่ ง้ั ซึง่ กล่าวโดยสรุป อารมณ์ทร่ี บั รูแ้ ล้วสามารถทำให้เกิดความสุขได้ มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. อารมณ์ทเ่ี ป็น กามคุณ 5 (คือ รูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ต้องกาย ทีน่ า่ ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ชักให้ใคร่ ชวนให้กำหนัด ฯลฯ) 2. อารมณ์ทเ่ี ป็น รูปสัญญา หรือ ปฏิภาคนิมติ ในรูปฌาน มี 4 ระดับ คือรูปฌานที่ 1 ถึงรูปฌานที่ 4 11


3. อารมณ์ทเ่ี ป็น อรูปสัญญา ทีพ่ น้ ไปจากปฏิภาคนิมติ ในอรูปฌาน มี 4 ระดับ คือ อากาสานัญจายตนะ, วิญญานัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ 4. ภาวะทีไ่ ม่มอี ารมณ์ใด ๆ ปรากฏ คือ สัญญาเวทยิตนิโรธ การจำแนกความสุขตามนัยนี้ แสดงให้รวู้ า่ อารมณ์หรือสิง่ ทีจ่ ติ รับรู้ มีผลต่อจิต และทำให้จติ เกิดความสุขขึน้ ได้ อารมณ์ทง้ั หมดทีแ่ สดง ในความสุข 10 ขัน้ อันทีจ่ ริงเป็นการแสดงให้รถู้ งึ ลักษณะของอารมณ์ ทัง้ หมดทีท่ ำให้เกิดความสุขได้นน่ั เอง เวทยิตสุข และ อเวทยิตสุข ในคัมภีรอ์ รรถกถา ได้จำแนกประเภทของความสุขไว้อกี ลักษณะ หนึง่ ทีน่ า่ สนใจ คือ 1. เวทยิตสุข คือ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนา หรือสุขทีม่ กี าร เสวยอารมณ์ 2. อเวทยิตสุข คือ ความสุขทีไ่ ม่เป็นเวทนา หรือสุขทีไ่ ม่มี การเสวยอารมณ์ เมือ่ นำมาเชือ่ มโยงกับความสุข 10 ขัน้ ในหัวข้อทีผ่ า่ นมา ก็ สามารถจัดได้วา่ ความสุขในขัน้ ที่ 1-9 เป็น เวทยิตสุข และความสุขใน ขัน้ ที่ 10 เป็นอเวทยิตสุข การจำแนกความสุขตามนัยในหมวดนี้ ทำให้เห็นความพิเศษ ของคำสอนเรือ่ งความสุขในพระพุทธศาสนา ซึง่ มีลกั ษณะพิเศษแตกต่าง จากทีส่ อนกันโดยทัว่ ไป มีทง้ั ความสุขทีเ่ ป็นความรูส้ กึ หรือเวทนา ทีจ่ ะต้องมีการรับรูอ้ ยูก่ บั สิง่ ใดสิง่ หนึง่ หรืออารมณ์ใดอารมณ์หนึง่ กับ 12


ความสุขทีไ่ ม่มคี วามรูส้ กึ หรือไม่มเี วทนา หรือทำให้เวทนาหมดไป เป็นความสุขทีม่ สี อนเฉพาะในพระพุทธศาสนา ความสุขใดก็ตามทีเ่ ป็นเรือ่ งของเวทนา หรือมาจากเวทนา กล่าวได้วา่ เป็นความสุขทีย่ งั ไม่ใช่อดุ มคติจริง สุขเวทนาทางกาย และสุขเวทนาทางใจ ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 18 ข้อที่ 431 พระพุทธเจ้าได้ตรัสจำแนก เวทนา ออกเป็น 2 อย่าง คือ เวทนาทางกาย และเวทนาทางใจ ดังนัน้ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนา จึงจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางกาย และความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจ การจำแนกความสุขตามนัยนี้ เป็นการจำแนกความสุข โดยถือเอาช่องทางทีม่ าของเวทนาเป็นทีต่ ง้ั โดยสรุปมี 2 ช่องทาง คือ ช่องทางกาย และช่องทางใจ สาระของการจำแนกเวทนาเป็นทางกายและทางใจ เพือ่ ให้รวู้ า่ เวทนาทางกายทัง้ สุข ทุกข์ และอทุกขมสุข เกิดขึน้ ได้เสมอกันหมด ไม่วา่ จะในปุถชุ นหรือพระอริยบุคคล และไม่ใช่เวทนาทีจ่ ะต้องละหรือทำให้ หมดสิน้ แต่ประการใด ส่วนทีส่ ำคัญคือเวทนาทางใจ โดยเฉพาะทุกขเวทนาทางใจเท่านัน้ เป็นสิง่ ทีส่ ามารถละหรือทำให้หมดสิน้ ไปได้โดย เด็ดขาด นอกจากนัน้ ยังทำให้เห็นชัดอีกว่าความสุขในขัน้ ที่ 1 ทีเ่ รียกว่า กามสุข นัน้ แท้จริงแล้ว ยังสามารถจำแนกย่อยลงไปได้อกี ว่า เป็นสุข ทีเ่ ป็นเวทนาทางกาย และทีเ่ ป็นเวทนาทางใจ ซึง่ เวทนาทัง้ 2 นี้ แม้วา่ จะมีทม่ ี าจากการรับรูอ้ ารมณ์ คือ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกายเหมือนกัน แต่โดยเนือ้ แท้แล้วมีเรือ่ งราวและวิธบี ริหารจัดการทีแ่ ตกต่างกันมาก สำหรับ ความสุขในขัน้ ที่ 2 ถึง 9 จัดเป็นความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทัง้ สิน้ 13


ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจ มีลกั ษณะและเรือ่ งราวทีส่ ลับซับซ้อน มาก เพราะมีเรือ่ งการให้คณ ุ ค่าความหมาย การจินตนาการ และการปรุง แต่งของใจ เป็นตัวการสำคัญทีท่ ำให้เกิดขึน้ ซึง่ จะได้อธิบายต่อไป สุขเวทนา / สุขเวทนาทีม่ อี ามิส / สุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส ในมหาสติปัฏฐานสูตร (พระไตรปิฎก เล่มที่ 10 ข้อที่ 288) ในหมวดของเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ได้จำแนกเวทนาไว้เป็น 9 ประเภท แต่หากพิจารณาเฉพาะเวทนาทีเ่ ป็นสุข ก็สามารถจำแนกได้ เป็น 3 ประเภท คือ 1. สุขเวทนา คือ สุขเวทนาทางกาย 2. สุขเวทนาทีม่ อี ามิส คือ สุขเวทนาทางใจ ทีเ่ กิดขึน้ จากการ สัมผัสรับรูก้ บั สิง่ ทีเ่ รียกว่า “อามิส” ซึง่ แปลว่า “เหยือ่ ล่อ หรือวัตถุเครือ่ งล่อใจ” ในทีน่ ห้ี มายถึง รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือกามคุณ 5 3. สุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส คือ สุขเวทนาทางใจทีไ่ ม่อาศัย เหยือ่ ล่อ เป็นความสุขทีพ่ น้ ไปหรือไม่ตอ้ งอิงอาศัย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือกามคุณ 5 เป็นทีต่ ง้ั เป็นความสุขภายในทีเ่ กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูข้ องมโนหรือใจกับธรรมารมณ์ทเ่ี ป็นภายในโดยเฉพาะ การจำแนกความสุขตามนัยนี้ เป็นการจำแนกความสุข โดยถือเอาคุณและโทษทีม่ อี ยูใ่ นความสุขประเภทต่าง ๆ เป็นทีต่ ง้ั โดยเฉพาะคำว่า “อามิส” ซึง่ แปลว่า “เหยือ่ หรือวัตถุเครือ่ งล่อ” มีนยั สำคัญทีช่ ใ้ี ห้เห็นอะไรบางอย่างในความสุขชนิดนี้ ว่าแท้จริงแล้วเป็นเสมือน เหยือ่ ทีห่ ลอกล่อให้เข้าไปติดในกับดัก และเมือ่ ติดอยูใ่ นกับดักนี้แล้ว แน่นอนว่าบุคคลจะต้องถูกกระทำต่าง ๆ นานา ในทางทีไ่ ม่พงึ ปรารถนา ทำให้ตอ้ งเผชิญกับปัญหาหรือความทุกข์ตา่ ง ๆ มากมายติดตามมา 14


การได้ทราบว่าความสุขชนิดใดทีม่ อี ามิส และไม่มอี ามิส ทำให้ บุคคลได้รู้และตระหนักว่าความสุขใดที่มีโทษและไม่มีโทษ ความสุข ประเภทใดทีต่ อ้ งพึงระมัดระวังให้มาก เพือ่ ทีจ่ ะได้รจู้ กั เข้าไปเกีย่ วข้อง ให้ถกู ต้อง ซึง่ จะได้อธิบายให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ต่อไป สรุป ความสุขทุกมิติ ในพระพุทธศาสนา

จากการจำแนกความสุขนัยต่าง ๆ ในหัวข้อทีผ่ า่ นมา จึงขอนำมา ประมวลและสรุปเป็นความสุขในทุกมิตทิ จ่ี ะได้กล่าวถึงต่อไปในหนังสือนี้ อีกครัง้ หนึง่ ดังนี้ 1. ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางกาย หรือสุขในขัน้ ที่ 1 ทีม่ าจาก ทางกาย หรือสุขเวทนา ในเวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 2. ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีเ่ นือ่ งกับประสาท 5 หรือ สุขในขัน้ ที่ 1 ทีม่ าจากทางใจ หรือสุขเวทนาทีม่ อี ามิส ในเวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 3. ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่เนือ่ งกับประสาท 5 หรือความสุขในขัน้ ที่ 2-9 หรือสุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส ในเวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน 4. ความสุขทีไ่ ม่เป็นเวทนา หรือความสุขในขัน้ ที่ 10 หรือ ภาวะของสัญญาเวทยิตนิโรธ นอกจากความสุขประเภทต่าง ๆ ดังทีไ่ ด้จำแนกข้างต้น หากจะ กล่าวให้ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยนำเอาภาวะ“ความดับสิน้ ไปแห่งทุกข์” มายักเยือ้ งและใช้คำเรียกในนามของความสุขว่า “วิมตุ ติสขุ ” ก็อาจจัด เป็น ความสุขประเภทที่ 5 ซึง่ เป็นความสุขทีไ่ ม่ได้มงุ่ เอาสุขเวทนาใดใด 15


เป็นเป้าหมาย แต่มงุ่ เอา ความดับทุกข์ เป็นเป้าหมาย ซึง่ จะได้อธิบาย อย่างละเอียดต่อไป ประมวลเรือ ่ งราวความสุขทุกมิตใิ นพระพุทธศาสนา

ต่อจากนีไ้ ป จะได้อธิบายเรือ่ งราวความสุขในทุกมิตติ ามหลัก พระพุทธศาสนา ตามทีไ่ ด้จำแนกไว้ในบททีผ่ า่ นมา ให้กว้างขวางและ รอบด้านยิง่ ขึน้ เพือ่ จะได้รจู้ กั เรือ่ งราวของความสุขประเภทต่าง ๆ ใน แง่มมุ ต่าง ๆ อย่างแจ่มแจ้งและละเอียดละออ ตลอดจนรูจ้ กั วิธบี ริหาร จัดการและพัฒนา เพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์จากความสุขประเภทต่าง ๆ เป็นอย่างดี อีกทั้งไม่ต้องรับส่วนที่เป็นโทษหรือผลข้างเคียงจากเรื่อง ของความสุข ซึง่ ผูค้ นส่วนใหญ่อาจไม่ทราบ หรือไม่ได้เฉลียวใจว่ามีอยู่ อย่างลึกซึง้ และมากมายเช่นกัน ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางกาย เวทนาทางกาย เป็นความรู้สึกทางกายที่เกิดขึ้นจากการ สัมผัสรับรูข้ องอายตนะภายใน คือ ตา (จักขุประสาท) หู (โสตประสาท) จมูก (ฆานประสาท) ลิน้ (ชิวหาประสาท) กาย (กายประสาท) กับ อายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ (คือสิง่ ต้องกาย กล่าวโดยสรุปคือ สภาพ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว ทีม่ าสัมผัส กับประสาทกาย) หรือทีเ่ รียกว่า ปฏิฆสัมผัส หรือการสัมผัสทางรูป เป็นการสัมผัสรับรูข้ องชีวติ ฝ่ายกายล้วน ๆ โดยทีย่ งั ไม่มเี รือ่ งราวของ ฝ่ายมโนหรือใจ เช่น การคิด การให้คณ ุ ค่าความหมาย หรือจินตนาการ เข้าร่วมปรุงแต่งในการสัมผัสรับรูน้ แ้ี ต่ประการใด 16


การเกิดขึน้ ของเวทนาทางกาย หลักธรรมในพระพุทธศาสนา ได้แสดงไว้วา่ เวทนาทีเ่ กิดขึน้ จาก ตากระทบกับรูปหรือสี หูกระทบกับ เสียง จมูกกระทบกับกลิน่ และลิน้ กระทบกับรส ใน 4 ช่องทางนี้ จะเกิด แต่เวทนาทางกายทีเ่ ป็นอทุกขมสุขเวทนาหรือเฉย ๆ เท่านัน้ เฉพาะ เวทนาทีเ่ กิดจาก กายกระทบกับสิง่ ต้องกาย คือ สภาพของ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว จึงทำให้เกิดเวทนาทางกาย ทีเ่ ป็นสุข ทุกข์ และอทุกขมสุข ได้ครบทัง้ 3 ประเภท ยกตัวอย่าง เช่น การมองเห็นแสงสีตา่ ง ๆ ทางตา หลักธรรม ในพระพุทธศาสนาแสดงไว้ว่า ตาหรือจักขุประสาท รับรู้ได้เฉพาะสี เท่านัน้ การรับรูร้ ปู หรือรูปร่าง หรือรูปทรงต่าง ๆ เป็นเรือ่ งของการรับรู้ ทางใจ ดังนัน้ ไม่วา่ บุคคลจะเห็นสีอะไรก็ตาม จะทำให้เกิดเวทนาทีเ่ ป็น อทุกขมสุขเพียงอย่างเดียว ในกรณีทบ่ี คุ คลมองเห็นแสงสีตา่ ง ๆ ทีจ่ า้ แล้วทำให้เกิดปวดแสบปวดร้อนทีล่ กู ตา ทุกขเวทนาทีเ่ กิดขึน้ นี้ ไม่ได้ เกิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูข้ องจักขุประสาทกับรูปหรือสีโดยตรง แต่เกิด ขึน้ จากกายประสาทสัมผัสรับรูค้ วามร้อนของแสงต่างหาก ในกรณีการ สัมผัสรับรูท้ าง หู จมูก และลิน้ ก็มนี ยั เช่นเดียวกัน ไม่วา่ จะเป็น เสียง กลิน่ และรส อะไรก็ตาม จะทำให้เกิดเวทนาที่โสตประสาท ฆานประสาท และชิวหาประสาท เป็นอทุกขมสุขเพียงอย่างเดียว แต่หากเกิดทุกขเวทนา เช่น ปวดหูเนือ่ งจากได้ยนิ เสียงดัง แสบจมูกเนือ่ งจากกลิน่ ฉุน หรือเผ็ด ร้อนทีล่ น้ิ เนือ่ งจากรสเผ็ด ก็ให้รวู้ า่ เป็นทุกขเวทนาทีเ่ กิดขึน้ ทีก่ ายประสาท อันเนือ่ งมาจากการสัมผัสรับรูโ้ ผฏฐัพพะ คือเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว ความสุข ความทุกข์ และอทุกขมสุขที่เป็นเวทนาทางกาย เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เสมอกันทัง้ หมด ไม่วา่ จะในปุถชุ นหรือพระอริยบุคคล ไม่มผี ใู้ ดสามารถหลีกเลีย่ งเวทนาประเภทนีไ้ ปได้ เพราะเป็นเวทนาที่ 17


เกิดขึน้ เนือ่ งจากการสัมผัสรับรูข้ องประสาท 5 ล้วน ๆ กับอารมณ์ภาย นอก 5 ล้วน ๆ ซึง่ เป็นไปตามธรรมชาติของระบบประสาททางกายของ มนุษย์ทเ่ี หมือนกันทุกคน นัยสำคัญของการจำแนกเป็น เวทนาทางกาย ก็เพือ่ ให้ รู้ว่าเป็นเวทนาที่มีอยู่เป็นพื้นฐานของชีวิต ทุกคนต้องประสบ ไม่มใี ครทีส่ ามารถจะหลีกเลีย่ ง หรือทำให้หมดสิน้ ไปได้ เพราะ เป็นไปตามการสัมผัสรับรูท้ างประสาท 5 ล้วน ๆ และจะทำให้รจู้ กั บริหารจัดการหรือเกีย่ วข้องกับเวทนาประเภทนีไ้ ด้ถกู ต้อง ♦ วิธบ ี ริหารจัดการ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางกาย

ดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่า เวทนาทางกาย เป็นเวทนาที่เกิดขึ้น เนือ่ งจากการสัมผัสรับรูข้ องประสาท 5 ล้วน ๆ กับอารมณ์ภายนอก 5 ล้วน ๆ ดังนั้น การบริหารจัดการกับเวทนาทางกายนี้ จึงสามารถบริหาร จัดการได้ใน 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ส่วนทีเ่ ป็นอารมณ์ภายนอก กับส่วนที่ เป็นตัวประสาทโดยตรง สำหรับการบริหารจัดการเพือ่ ให้เกิดความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทาง กาย ในทางทีถ่ กู ต้องแล้ว ให้จดั การกับอารมณ์ภายนอก 5 ทีอ่ ยูภ่ ายนอก โดยเพ่งเล็งไปที่อารมณ์ภายนอกที่มาสัมผัสรับรู้ทางกายประสาท อย่างเดียวก็ได้ เพราะประสาทรับรูอ้ กี 4 อย่าง เมือ่ รับรูอ้ ารมณ์ภายนอก ทีต่ รงกับช่องทางทีร่ บั รูไ้ ด้แล้ว ทำให้เกิดอทุกขมสุขเวทนาเพียงอย่างเดียว ไม่เกิดเป็นสุขเวทนาหรือทุกขเวทนาเลย หรือกล่าวให้กระชับยิง่ ขึน้ คือ ปรับปรุงเรือ่ ง เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว ซึง่ เป็นอารมณ์ภายนอก ทัง้ หมดทีม่ าสัมผัสกับกายประสาท ให้มปี ริมาณและคุณภาพที่ พอเหมาะกับการรับรูข้ องกายประสาท ก็จะทำให้เกิดเป็นสุขเวทนา 18


ทางกายขึน้ เช่น อากาศหนาวทำให้เกิดทุกขเวทนาทางกาย ก็แก้ดว้ ย การสวมใส่เสือ้ ผ้าทีห่ นา เพือ่ ให้เกิดความอบอุน่ ทำให้ทกุ ขเวทนาทางกาย ได้รบั การบรรเทาลง และเกิดเป็นสุขเวทนาทางกายขึน้ แทน หรือหลัก 5 อ. ทีส่ อนกันอยูโ่ ดยทัว่ ไปในสังคม คือ การดูแลในเรือ่ ง อาหาร อากาศ ออกกำลังกาย อารมณ์ และอุจจาระ ก็เป็นวิธบี ริหารจัดการทีด่ ี ทีท่ ำให้ เกิดสุขเวทนาทางกาย ในอีกด้านหนึง่ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางกายสามารถเกิดขึน้ ได้ ด้วยการจัดการกับประสาท 5 โดยตรง ซึง่ ส่วนมากเป็นการใช้ยาหรือวัตถุ ทีอ่ อกฤทธิต์ อ่ ประสาท หรือพวกยาเสพติดต่าง ๆ วัตถุเหล่านีส้ ามารถช่วย บรรเทาอาการเจ็บและปวดหลายอย่างได้ หรือกล่อมประสาทให้เกิดความ รูส้ กึ เคลิบเคลิม้ และเป็นสุขได้ แต่การทำให้เกิดสุขเวทนาทางกายด้วยวิธนี ้ี ในกรณีบคุ คลปกติทว่ั ไป (ยกเว้นผูป้ ว่ ยบางประเภท) ไม่ใช่วธิ กี ารทีถ่ กู ต้อง จะก่อให้เกิดโทษและอันตรายต่อร่างกายได้มาก ทำให้ระบบประสาทที่ ทำหน้าทีร่ บั รูส้ ง่ิ ต่าง ๆ ผิดเพีย้ นไป ในระยะยาวทำให้สขุ ภาพเสือ่ มโทรม และทำให้เกิดเป็นโรคจิตและโรคประสาททีร่ นุ แรงต่อไปได้ กล่าวในด้านตรงข้าม ทุกขเวทนาทางกาย ก็เป็นสิง่ ทีไ่ ม่มใี คร สามารถหลีกเลี่ยง หรือทำให้หมดสิ้นไปได้อย่างเด็ดขาด ส่วนที่ สามารถทำให้หมดสิน้ ไปได้อย่างเด็ดขาดจริง ๆ คือ ทุกขเวทนาทางใจ หรือ โทมนัส เท่านัน้ ในพระไตรปิฎกได้แสดงเรือ่ งนีไ้ ว้ชดั เจน โดยเปรียบ ปุถชุ นเป็นผูท้ ถ่ี กู ยิงด้วยธนู 2 ดอก คือยังมีทกุ ขเวทนาทัง้ ทางกายและ ทางใจ ส่วนพระอรหันต์ถกู ยิงด้วยธนูเพียงดอกเดียว คือมีแต่ทกุ ขเวทนา ทางกายเท่านั้น ไม่มีทุกขเวทนาทางใจเลย สมดังที่มีพระพุทธพจน์ ตรัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 18 ข้อที่ 372 ว่า “พระอรหันต์ยอ่ มเสวย ทุกขเวทนาทางกายอย่างเดียว ไม่ได้เสวยทุกขเวทนาทางใจ” 19


สุขเวทนาทางกาย โดยเนือ้ แท้แล้วเป็นสิง่ สำคัญทีไ่ ม่ควร มองข้าม หรือละเลยอย่างเด็ดขาด เพราะเป็นเวทนาพืน้ ฐานที่ รองรับทำให้สขุ เวทนาทางใจอืน่ ๆ เกิดขึน้ ต่อไปได้ หากทางกาย ยังไม่มสี ขุ เวทนาหรือมีความเจ็บป่วยทีท่ ำให้เกิดทุกขเวทนาทางกาย อยูเ่ นืองๆ สุขเวทนาทางใจอืน่ ๆ ก็ยากทีจ่ ะทำให้เกิดขึน้ ได้ ดังนัน้ บุคคลจึงควรรูจ้ กั เรือ่ งราวและมูลฐานของความสุขประเภท นี้ ตลอดจนบริหารจัดการให้ถกู ต้องตามสมควร เพือ่ ให้มสี ขุ เวทนาทาง กายเป็นพืน้ ฐานของชีวติ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ ซึง่ ส่วนนีจ้ ะเป็นรากฐาน สำคัญทีท่ ำให้เกิดความสุขทางใจในระดับต่าง ๆ ต่อไปได้เป็นอย่างดี หลักอายุวฒ ั นธรรม 5 เพือ่ ความมีอายุยนื ในเรือ่ งนีข้ อนำ “หลักอายุวฒ ั นธรรม 5” หรือ ธรรมทีเ่ กือ้ กูล แก่อายุ, ธรรมทีส่ ง่ เสริมสุขภาพ, ธรรมทีช่ ว่ ยทำให้อายุยนื ซึง่ พระพุทธเจ้า ได้ตรัสสอนไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 22 ข้อที่ 125 มาเสนอเพือ่ เป็น แนวทางและวิธที จ่ี ะดำเนินชีวติ ให้มสี ขุ เวทนาทางกายเป็นปกติของชีวติ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ ดังต่อไปนี้ 1. สัปปายการี คือ การทำสิง่ ทีส่ บายทีเ่ อือ้ ต่อชีวติ ซึง่ ในทีน่ ้ี คือ การรูจ้ กั จัดการหรือปรับปรุงอารมณ์ภายนอก ให้มปี ริมาณและคุณภาพ ทีพ่ อเหมาะกับการรับรูข้ องประสาททัง้ 5 แล้วทำให้เกิดสุขเวทนาทาง กายขึน้ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว 2. สัปปายมัตตัญญุตา คือ การรูจ้ กั ประมาณในสิง่ ทีส่ บาย หมายความว่า แม้จะรูจ้ กั ทำความสบายให้เกิดขึน้ แก่ชวี ติ แล้ว ยังจะต้อง รูจ้ กั กระทำให้มคี วามพอดีดว้ ย กล่าวคือ ไม่มากเกินไป และไม่นอ้ ยเกินไป 20


เพราะหากมากเกินไป ก็จะกลายเป็นภาระให้วนุ่ วาย แต่หากน้อยเกินไป ก็ไม่เพียงพอทีจ่ ะทำให้เกิดเป็นสุขเวทนาทางกายได้อย่างยัง่ ยืน 3. ปริณตโภชี คือ การบริโภคสิง่ ทีย่ อ่ ยง่าย ซึง่ นอกจากให้รจู้ กั เลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม ไม่เป็นโทษต่อร่างกายแล้ว ผู้รู้ บางท่าน ยังได้ให้ความหมายเพิม่ เติมว่า หมายรวมไปถึงการเคีย้ วให้ ละเอียดด้วย 4. กาลจารี คือ การประพฤติเหมาะในเรือ่ งเวลา ซึง่ มีความหมาย ว่า ให้รจู้ กั จัดสรรหรือแบ่งเวลาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของชีวติ เช่น การทำงาน พักผ่อน และออกกำลังกาย ให้เหมาะสม 5. พรหมจารี คือ ถือพรหมจรรย์ หรือ รูจ้ กั ควบคุมกามารมณ์ และเว้นจากเมถุนบ้าง ในประเด็นสุดท้ายนี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนว่า ความรูส้ กึ ทีห่ มกมุน่ ในกามารมณ์มากเกินไป หรือการประกอบเมถุนทีม่ าก เกินไป เป็นสาเหตุประการหนึง่ ทีท่ ำให้อายุไม่ยนื ทีเ่ ป็นเช่นนี้ มีผรู้ บู้ างท่าน ได้ให้อรรถาธิบายว่า ทุกครัง้ ทีม่ คี วามรูส้ กึ กำหนัดเกิดขึน้ จะทำให้ธาตุไฟ ของร่างกายเกิดเพิม่ มากขึน้ และจะไปเผาเยือ่ ในกระดูกให้เกิดเป็นน้ำกาม ร่างกายจึงมีความทรุดโทรมไปทุกครัง้ เมือ่ มีความกำหนัดหรือประกอบ เมถุน การควบคุมในเรือ่ งเหล่านี้ ไม่ให้มมี ากจนเกินไป จะมีสว่ นช่วยให้ ร่างกายไม่ทรุดโทรมจนเกินไป ซึง่ มีผลในแง่ทท่ี ำให้อายุยนื ด้วย ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีเ่ นือ่ งกับประสาท 5 หรือสุขเวทนาทีม่ อี ามิส หรือกามสุข ความสุขทีจ่ ะกล่าวถึงในลำดับถัดไป คือ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนา ทางใจทีเ่ นือ่ งกับประสาท 5 หรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า ความสุขทีม่ อี ามิส 21


หรือ กามสุข เป็นความสุขทีเ่ นือ่ งด้วยอารมณ์ภายนอก 5 คือ รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะหรือสิง่ ต้องกาย แต่เป็นการสัมผัสรับรูท้ างใจ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว เมือ่ มีการสัมผัสรับรูท้ าง ตา หู จมูก ลิน้ และกายประสาท อย่างทีเ่ รียกว่าปฏิฆสัมผัส และเกิดเวทนาทางกายแล้ว กลไกของธรรมชาติยงั มีการส่งต่อความรับรูน้ ไ้ี ปให้มโนหรือใจรับรูอ้ กี ครัง้ หนึง่ เป็นการสัมผัสรับรูท้ างใจทีเ่ รียกว่า อธิวจนสัมผัส หรือสัมผัส ทางนาม ซึง่ ในขัน้ ตอนนีม้ เี รือ่ งของใจ คือ การคิดหรือดำริ การให้คณ ุ ค่า ความหมาย และการจินตนาการ (ต่อจากนีไ้ ปจะขอใช้คำว่า “จินตนาการ” เพียงคำเดียว เป็นคำแทน) เกิดขึน้ และปรุงแต่ง รูป เสียง กลิน่ รส และ สิง่ ต้องกาย ทีใ่ จรับรูอ้ ยูน่ น้ั ทำให้เกิดเป็นเวทนาทางใจขึน้ ซึง่ นอกจาก จะเกิดขึน้ ได้ในขณะทีก่ ำลังมีการสัมผัสรับรูก้ บั อารมณ์ภายนอก 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งต้องกาย แล้ว ยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการ นึกคิดถึงเรือ่ งอารมณ์ภายนอก 5 โดยไม่มกี ารสัมผัสรับรูอ้ ยูจ่ ริงในขณะ นัน้ เลยก็ได้ และสามารถเกิดเป็นเวทนาทางใจทีเ่ ป็นสุข ทุกข์ และอทุกขมสุข ได้ครบทัง้ 3 อย่าง ยกตัวอย่าง บุคคลได้รบั รสชาติของอาหารชนิดหนึง่ ในเบือ้ งแรก จะเกิดการสัมผัสรับรูร้ สชาติทล่ี น้ิ หรือชิวหาประสาทก่อน และทำให้เกิด เวทนาทางกายทีเ่ ป็นอทุกขมสุขขึน้ ตามทีไ่ ด้อธิบายไปแล้วในเรือ่ งของ เวทนาทีเ่ กิดทางกาย ต่อจากนัน้ จะมีกระบวนการรับรูส้ ง่ ต่อไปให้มโน หรือใจสัมผัสรับรูอ้ กี ครัง้ หนึง่ และทำให้เกิดเวทนาทางใจขึน้ ซึง่ ในขัน้ ตอนนี้ การจะเกิดเป็นเวทนาทางใจประเภทใด ขึน้ อยูก่ บั บุคคลว่าจะมี จินตนาการต่ออารมณ์ทส่ี มั ผัสรับรูน้ น้ั อย่างไร หรือในอีกตัวอย่าง แม้ว่าจะเป็นอาหารจานเดียวกันนั่นเอง หากบุคคลมีจินตนาการไปว่า เป็นอาหารจากบุคคลที่รักเป็นผู้ทำให้ 22


เมือ่ รับประทานก็จะทำให้เกิดเป็นสุขเวทนาทางใจ เหมือนอย่างคำพังเพย ทีว่ า่ ยามรักน้ำต้มผักก็วา่ หวาน ในทางตรงข้าม หากมีจนิ ตนาการไปว่า เป็นอาหารจากบุคคลทีเ่ กลียดเป็นผูท้ ำให้ แม้รสชาติของอาหารจะเป็น อย่างเดียวกัน แต่จะทำให้เกิดเป็นทุกขเวทนาทางใจขึน้ แทน และเกิด ความรูส้ กึ ผะอืดผะอมในการรับประทานอาหารนัน้ ได้ ตัวอารมณ์ลว้ น ๆ ทีเ่ ป็น รูป เสียง เป็นต้น ไม่ได้เป็นตัว การหลักทีก่ ำหนด และทำให้เกิดความสุขหรือความทุกข์ทางใจแก่ บุคคล แต่กเ็ ป็นสิง่ ทีท่ ำให้เกิดแนวโน้มทีจ่ ะทำให้เกิดจินตนาการไปใน ทางใดทางหนึง่ ได้มาก เพราะหากอารมณ์ทร่ี บั รูเ้ ป็นตัวการหลักทีก่ ำหนด จริงแล้ว นัน่ ย่อมหมายความว่าทุกคนทีไ่ ด้รบั อารมณ์อย่างเดียวกัน จะต้อง มีความรูส้ กึ เป็นแบบเดียวกัน คือ สุขเหมือนกัน หรือทุกข์เหมือนกัน เนือ้ แท้ของความสุขคือ กามสุข นี้ เกิดขึน้ จากการจินตนาการของบุคคล ทีม่ ตี อ่ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ทีส่ มั ผัส รับรูใ้ นทางใจเป็นสำคัญ ซึง่ อาจจะเป็นการจินตนาการแบบพืน้ ๆ โดยทัว่ ไป หรือเป็นจินตนาการทีม่ คี วามสลับซับซ้อนก็ได้ เช่น อาหารนีม้ รี สชาติอร่อย ได้รบั การจัดให้เป็นอาหารระดับ 5 ดาว นอกจากนัน้ ยังปรุงด้วยฝีมอื ของพ่อครัวกิตติมศักดิ์ เป็นต้น กล่าวให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ การจินตนาการต่ออารมณ์ภายนอก 5 ทีบ่ คุ คลทัว่ ไปสัมผัสรับรู้ มีอยู่ 2 แบบใหญ่ ๆ คือ โดยความเป็น “สุภนิมติ ” (นิมติ แปลว่าเครือ่ งหมาย) หรือ “เครือ่ งหมายว่างาม” และโดยความ เป็น “ปฏิฆนิมติ ” หรือ “เครือ่ งหมายว่าน่าขัดเคือง” หากบุคคลให้ ความหมายว่า “งาม” กล่าวคือ เห็นว่าเป็นสิง่ ทีน่ า่ รัก น่าใคร่ น่าปรารถนา จะทำให้เกิดความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นสุข ในทางตรงข้าม หากให้ความหมายว่า “น่าขัดเคือง” คือ เห็นว่าเป็นสิง่ น่าชัง น่ารังเกียจ หรือไม่นา่ ปรารถนา 23


ก็จะทำให้เกิดความรูส้ กึ เป็นทุกข์ แต่หากไม่ได้ให้ความหมายตามนัย ทัง้ 2 นี้ ก็จะทำให้เกิดความรูส้ กึ ทีเ่ รียกว่าอทุกขมสุข หรือเฉย ๆ ประเด็นเรือ่ งจินตนาการนี้ ถูกนำไปใช้แทบทุกเรือ่ งในชีวติ มนุษย์ โดยเฉพาะในด้านโฆษณา ซึง่ แท้จริงแล้ว คือการสร้างจินตนาการให้เกิดขึน้ ในสิง่ ทีป่ ระสงค์จะโฆษณานัน่ เอง ความสำเร็จในการทำโฆษณาก็คอื การทีส่ ามารถชักจูงบุคคลให้จนิ ตนาการตาม แล้วทำให้เกิดความรูส้ กึ ว่า เป็นสิง่ ทีน่ า่ รัก น่าปรารถนา และเกิดเป็นสุขเวทนาทางใจขึน้ จะเห็นได้วา่ สิง่ ต่าง ๆ ทีม่ นุษย์ประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ขน้ึ มา ล้วนถูกใส่จนิ ตนาการลงไป ทัง้ นัน้ ลองมองไปรอบตัวของเรา จะเห็นว่าวัตถุสง่ิ ของหรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกายทุกอย่าง มีเรือ่ งของจินตนาการฉาบทาอยูไ่ ม่มากก็นอ้ ย เช่น เรือ่ งของสีสนั รูปทรง รูปแบบหรือแฟชัน่ ต่าง ๆ รวมทัง้ การให้คณ ุ ค่า ความหมาย หรือค่านิยมของสังคม ฯลฯ สิง่ เหล่านีแ้ ท้จริงแล้วก็คอื เรือ่ ง ของจินตนาการ โดยมีจดุ มุง่ หมายสำคัญ คือเพือ่ ให้เกิดกามสุข กล่าวโดยสรุป การเกิดขึน้ ของความสุขประเภทนี้ ขึน้ อยู่ กับปัจจัยใหญ่ ๆ 3 ประการ คือ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ซึ่งเป็นที่ตั้งของความสุข จินตนาการของบุคคลที่เป็น “สุภนิมิต” หรือมีความหมายว่า “งาม” รวมทั้งการได้เสพหรือ ได้ครอบครองเป็นเจ้าของใน รูป เสียง เป็นต้นเหล่านัน้ ด้วย เรือ่ งของกามสุข หากมองให้ลกึ ซึง้ จะเห็นว่า แท้จริงแล้วเป็น เรือ่ งเดียวกันกับเรือ่ ง โลกธรรม โดยเฉพาะในฝ่ายเจริญ คือ ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ ซึง่ เป็นสิง่ ทีบ่ คุ คลในโลกต่างมุง่ มาดปรารถนา และเห็นว่า เป็นความสุขความสำเร็จของชีวติ เพราะสิง่ ทีเ่ ป็นเครือ่ งกำหนดความ เป็น ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ ทีแ่ ท้จริง ไม่ใช่อะไรอืน่ เลย คือความพรัง่ พร้อมหรือบริบรู ณ์ไปด้วย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ทีน่ า่ รัก 24


น่าปรารถนา หรือกามสุข นัน่ เอง กามสุขนี้ แม้จะเป็นความสุขขัน้ แรก หรือเป็นเพียงความสุข ในขัน้ ที่ 1 จากความสุข 10 ขัน้ ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสสอน แต่ตอ้ ง นับว่าเป็นความสุขทีส่ ำคัญมาก เพราะเป็นความสุขทางใจเพียงอย่างเดียว ที่มนุษย์ทั่วไปรู้จัก จึงมีอิทธิพลครอบงำความเป็นไปของชีวิตบุคคล และสังคมเป็นอย่างมาก กล่าวได้วา่ ชะตากรรมของชีวติ และโลก แทบทัง้ หมดมีกามสุขเป็นสิง่ ควบคุมและบงการอยูเ่ บือ้ งหลังแทบทัง้ สิน้ การเรียนรูเ้ พือ่ ให้เข้าใจหรือรูท้ นั และปฏิบตั ติ อ่ เรือ่ งของกามสุข ได้ถกู ต้อง จึงนับเป็นเรือ่ งสำคัญและจำเป็นอย่างยิง่ เพือ่ ความสุข และความสวัสดีของมนุษย์และโลกทัง้ มวล ต่อจากนีไ้ ป จะขอนำพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎก ทีไ่ ด้ตรัส ถึงกามสุขในแง่มมุ ต่าง ๆ มาเสนอ เพือ่ ช่วยทำให้รจู้ กั ความสุขประเภทนี้ อย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง และรอบด้านยิ่งขึ้น และเพื่อให้ประหยัดเนื้อที่ ของหนังสือนี้ จะขอนำเสนอแบบสรุปใจความสำคัญ โดยจะให้แหล่ง อ้างอิงเอาไว้ สำหรับท่านทีส่ นใจจะศึกษาค้นคว้าพระพุทธพจน์ซง่ึ เป็น ต้นตอทีม่ าของเรือ่ งเพิม่ เติม ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 13 ข้อที่ 182 ...มีพระพุทธพจน์ตรัส แสดงการเกิดขึน้ ของกามซึง่ หมายรวมไปถึงกามสุขไว้วา่ จะต้องมีการ ตอบสนองจากอารมณ์ภายนอก 5 คือ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ร่วมด้วยเสมอ ซึง่ จะมีการรับรูอ้ ยูจ่ ริงหรือเป็นเพียงปรากฏอยูใ่ น ความนึกคิดก็ได้ นอกจากนัน้ ยังต้องมีการจินตนาการของบุคคลเกิดขึน้ ร่วมด้วย จนทำให้รสู้ กึ ว่า เป็นสิง่ ทีน่ า่ รัก น่าใคร่ และน่าปรารถนา จึงจะ ทำให้เกิดความสุขชนิดนีข้ น้ึ ดังนัน้ จึงได้มพี ระพุทธพจน์ตรัสไว้ใน พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 25


ข้อที่ 81 ว่า กามและกามสุขนี้ เป็นของหลอกลวง เป็นของว่างเปล่า ไม่มแี ก่นสาร เพราะเกิดขึน้ จากการจินตนาการไปเองของบุคคล ไม่ใช่ เป็นสิง่ ทีม่ อี ยูจ่ ริงในธรรมชาติ ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 12 ข้อที่ 221... ได้มีพระพุทธพจน์ ตรัสแสดงไว้วา่ กามสุข ให้ความยินดีนอ้ ย เพราะให้ความสุขอยูเ่ พียง ชัว่ ครูช่ ว่ั ยาม และยังเป็นความสุขทีจ่ ดื จางได้งา่ ย หากมีการรับรูอ้ ารมณ์ นัน้ ๆ บ่อย ๆ และติดต่อกันเป็นเวลานาน ก็จะทำให้ไม่รสู้ กึ เป็นสุขอีก ต่อไป เช่น อาหารทีว่ า่ อร่อยทีบ่ คุ คลผูเ้ ป็นทีร่ กั ทำให้ หากให้รบั ประทาน หลาย ๆ มือ้ ติดต่อกัน ก็จะทำให้เกิดความเบือ่ หน่าย และไม่รสู้ กึ เป็นสุข อีกต่อไป จึงทำให้ชวี ติ ของบุคคลผูห้ ลงใหลในกามสุข ต้องดิน้ รนแสวง หาความสุขจากสิง่ อืน่ เรือ่ งอืน่ ทีแ่ ปลกใหม่เรือ่ ยไป ไม่สามารถหยุดนิง่ ได้เลย หรือไม่เช่นนัน้ ก็ตอ้ งเพิม่ ขนาดหรือคุณภาพของสิง่ ทีส่ มั ผัสรับรู้ นัน้ ให้มากขึน้ ไปกว่าเดิม จึงจะเกิดความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นความสุขได้ ทำให้ กลายเป็นผู้ “สุขยาก และทุกข์งา่ ย” ยิง่ ขึน้ ไปทุกที เปรียบได้กบั คนที่ ติดยาเสพติด ทีต่ อ้ งเพิม่ ขนาดของการเสพให้มากขึน้ อยูต่ ลอดเวลา นอกจากนัน้ ยังได้ตรัสไว้วา่ ...เป็นความสุข ทีม่ ผี ลสืบเนือ่ งที่ ก่อให้เกิดเป็นความทุกข์ ความคับแค้นใจ และโทษต่าง ๆ ติดตามมา มากมาย โดยได้แสดงรายละเอียดไว้อย่างน่าสนใจยิง่ ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 12 ข้อที่ 198 ว่า เนือ่ งจากกามสุข เป็นความสุขทีเ่ นือ่ งด้วย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ซึง่ เป็นสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายนอกตัว จึง ... ... ทำให้ต้องลำบากตรากตรำด้วยการแสวงหาเพื่อให้ได้มา ซึง่ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ทีเ่ ห็นว่าน่ารัก น่าใคร่ และน่า ปรารถนานัน้ ... เมือ่ แสวงหาแล้ว ไม่สำเร็จ ก็ผดิ หวัง เศร้าโศก เสียใจ 26


... เมือ่ แสวงหามาได้ ก็ยงั ต้องเป็นทุกข์กบั การปกป้องรักษา ไม่ให้สญ ู หาย หรือไม่ให้ใครมาแย่งชิง ... เมื่อถูกคนอื่นแย่งชิงไปได้ ก็ทุกข์เพราะความสูญเสียนั้น ... และหากบุคคลแสวงหาให้ได้มาในทางทุจริต ก็ทำให้ตอ้ ง คอยหวาดระแวง เกรงว่าใครจะจับได้ และหากจับได้ ก็ตอ้ งทุกข์เพราะ การถูกจองจำและลงโทษด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ... นอกจากนัน้ ยังเป็นสาเหตุสำคัญทีท่ ำให้เกิดการทะเลาะ วิวาท ทำร้ายต่อกันด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ไม่เว้นแม้กระทัง่ ระหว่างบุคคล ในครอบครัว หรือญาติมติ รผูใ้ กล้ชดิ และยังเป็นสาเหตุสำคัญทีก่ อ่ ให้ เกิดสงครามทำลายล้างกันในวงกว้าง ก่อทุกข์เข็ญแก่บคุ คลและสังคม อย่างกว้างขวางและสาหัส ดังนัน้ จึงมีพระพุทธพจน์ตรัสถึงกามและกามสุข ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 14 ข้อที่ 81 ว่า เป็นบ่วงแห่งมาร เป็นแดนแห่งมาร เป็นเหยือ่ แห่งมาร เป็นทีห่ ากินของมาร เพราะเป็นทีต่ ง้ั แห่งความปรารถนา หรือความหลงใหลของบุคคล แล้วทำให้เกิด อกุศลลามกเหล่านีท้ ใ่ี จ คืออภิชฌา (เพ่งจ้องด้วยความโลภ) บ้าง พยาบาท (ความผูกใจเจ็บ) บ้าง สารัมภะ (ความแข่งดี) บ้าง นำบุคคล สังคม และโลกไปสูค่ วามทุกข์ ความเดือดร้อน และหายนะอย่างใหญ่หลวง ด้วยเหตุน้ี จึงมีคำตรัสสรุปถึงกามและกามสุข ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 13 ข้อที่ 182 ว่า เป็นความสุขทีไ่ ม่สะอาด ความสุขของ ปุถุชน ไม่ใช่สุขของพระอริยะ อันบุคคลไม่ควรเสพ ไม่ควรให้เกิดมี ไม่ควรทำให้มาก ควรกลัวแต่สขุ นัน้ แต่อย่างไรก็ตาม มีพระพุทธพจน์ทต่ี รัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 12 ข้ อ ที ่ 211 ได้ แ สดงให้ เ ห็ น อิ ท ธิ พ ลของกามและกามสุ ข ที ่ ม ี 27


ต่อชีวติ และจิตใจของมนุษย์อย่างลึกซึง้ ว่า แม้บคุ คลจะรูจ้ ะเห็นแล้วว่า กามและกามสุขให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนีย้ ง่ิ แต่ตราบใดทีย่ งั ไม่บรรลุปตี แิ ละสุข หรือกุศลธรรมอืน่ ทีส่ งบยิง่ กว่า ก็ยงั ต้องเวียนกลับมาหากามและกามสุขอีก ทัง้ นีเ้ พราะ ธรรมชาติของชีวิตโดยเฉพาะฝ่ายจิตใจ อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วว่า จะต้องมีความสุขเป็นอาหาร จิตจึงจะตัง้ มัน่ แต่หากบุคคลรูจ้ กั ความสุข ชนิดนีเ้ พียงอย่างเดียว ก็เป็นอันแน่นอนว่า แม้จะรูว้ า่ ความสุขนี้ ก่อให้ เกิดทุกข์และโทษเป็นผลพวงมากเพียงใดก็ตาม ก็ยังจะต้องวนเวียน ข้องเกีย่ วและแสวงหาอยู่ ไม่สามารถทีจ่ ะก้าวข้ามไปได้เลย สุดท้ายได้ตรัสแนะนำไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 12 ข้อที่ 238 ว่าหากยังต้องเกีย่ วข้องกับกามหรือกามสุขอยู่ ก็ให้รจู้ กั เกีย่ วข้องอย่างที่ ตรัสไว้วา่ ไม่ใฝ่ฝนั ไม่ลมุ่ หลง ไม่ตดิ พัน เห็นโทษ มีปญ ั ญาทีจ่ ะคิดนำ ตนออก ก็ยงั พอทีจ่ ะทำให้บคุ คลมีความสุขและความปลอดภัยได้ตาม สมควร ไม่ลว่ งไปถึงความเสือ่ ม ความหายนะอันน่ากลัว หรือทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ ♦ วิธบ ี ริหารจัดการ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีเ่ นือ่ ง

กับประสาท 5 หรือสุขเวทนาทีม่ อี ามิส หรือกามสุข ในเมือ่ บุคคลยังไม่รจู้ กั หรือไม่มสี ขุ เวทนาอืน่ ทีล่ ะเอียดและประณีต ยิง่ กว่ากามสุข ก็จำเป็นอยูเ่ องทีต่ อ้ งอาศัยความสุขชนิดนีเ้ ป็นอาหาร เพื่อหล่อเลี้ยงจิต ให้มีความตั้งมั่น และมีพลังในการคิด สร้างสรรค์ ทีจ่ ะกระทำสิง่ ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ และเนือ่ งจากกามสุขโดย ธรรมชาติเป็นความสุขทีม่ โี ทษต่าง ๆ มากมายเกิดขึน้ เป็นผลสืบเนือ่ ง 28


ดังนัน้ จึงต้องมีความระมัดระวังเป็นอย่างมากในการเกีย่ วข้อง มีผรู้ บู้ าง ท่านเปรียบกามสุขเหมือนกับการกินปลาทีม่ กี า้ งมาก ต้องคอยระมัดระวัง อยูต่ ลอดเวลา จึงจะทำให้สามารถกินเนือ้ ปลาได้อย่างดี โดยไม่ถกู ก้าง ปลาทิม่ ตำเอา ดังทีพ่ ระพุทธองค์ตรัสแนะนำไว้วา่ “ไม่ใฝ่ฝนั ไม่ลมุ่ หลง ไม่ตดิ พัน เห็นโทษ มีปญ ั ญาทีจ่ ะคิดนำตนออก” การพิจารณาให้เกิดความรูเ้ รือ่ งราวและรายละเอียดต่าง ๆ ทัง้ ใน ส่วนทีเ่ ป็นคุณและโทษเกีย่ วกับกามสุขตามทีไ่ ด้กล่าวไปทัง้ หมดในบทที่ ผ่านมา เป็นเบือ้ งต้นหรือพืน้ ฐานสำคัญทีจ่ ะทำให้บคุ คลไม่ลมุ่ หลง ไม่ตดิ พัน เห็นโทษ มีปญ ั ญาทีจ่ ะคิดนำตนออก ตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสแนะนำไว้ ประเด็นสำคัญทีส่ ดุ ในเรือ่ งกามสุข อย่างทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า มีเรือ่ งของจินตนาการเป็นปัจจัยสำคัญทีท่ ำให้เกิดขึน้ ดังนัน้ บุคคลเมือ่ รับรูต้ อ่ สิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งอะไรก็ตาม หากสามารถ กำหนดรับรูโ้ ดยให้มนี มิ ติ หรือเครือ่ งหมายว่า “ดี” หรือ “งาม” แล้ว ก็จะ ทำให้เกิดกามสุขขึน้ ได้ ซึง่ ก็มาพ้องกับคำสอนทีม่ กี ารสอนกันอยูแ่ ล้วใน สังคมทัว่ ไป คือ การสอนให้มองแต่ในด้านดี หรือรับรูใ้ นทางบวก (Positive Thinking) ซึง่ อันทีจ่ ริงก็คอื เรือ่ งเดียวกันกับเรือ่ งจินตนาการทีพ่ ระพุทธเจ้า ได้ตรัสสอนไว้นเ้ี อง แต่กใ็ ห้รไู้ ว้วา่ การทำเช่นนี้ จะใช้ได้สำหรับกรณีหรือ เรือ่ งราวทีม่ คี วามหมายทัว่ ๆ ไป แต่หากกรณีทม่ี คี วามหมายต่อจิตอย่าง ลึกซึง้ เช่น ความหมายของพ่อ แม่ ลูก หรือเรือ่ งทีเ่ ป็นผลประโยชน์ใหญ่ ๆ หรือที่มีผลต่อความเป็นความตายของบุคคลและสังคม วิธีดังกล่าว ก็อาจใช้ไม่ได้ผล และเนือ่ งจากกามสุข เป็นความสุขทีจ่ ดื จางได้งา่ ย หากมีการ รับรูอ้ ารมณ์นน้ั ๆ บ่อย ๆ และติดต่อกันเป็นเวลานาน ดังนัน้ จึงต้องรูจ้ กั บริหารจัดการ โดยรูจ้ กั ปรับเปลีย่ นไปมาในเรือ่ งของรูป เสียง กลิน่ รส 29


และสิง่ ต้องกาย ตามสมควร ไม่ให้ซำ้ ซาก หรือจำเจกับรูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกายอันใดอันหนึง่ นานจนเกินไป ก็จะทำให้สามารถได้รบั ความสุข สดชืน่ จากความสุขประเภทนี้ และทำให้ชวี ติ ดำรงอยูไ่ ด้อย่าง เป็นปกติสขุ พอสมควร ศีล เป็นหลักประกันของ กามสุข ประการสุดท้าย เนือ่ งจากความสุขประเภทนี้ ต้องอิงกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งต้องกาย ที่อยู่ภายนอกตัว และต้องมีการแสวงหา เพือ่ ให้ได้มาซึง่ สิง่ ต่าง ๆ เหล่านีด้ ว้ ย ดังนัน้ บุคคลทีย่ งั อิงอยูก่ บั ความสุข ประเภทนี้ จึงต้องคำนึงถึงเรือ่ งต่าง ๆ อีกหลายเรือ่ ง เพือ่ ให้สามารถดำรง ความสุขนีใ้ ห้อยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนยิง่ ขึน้ เช่น การมีทรัพย์ การใช้ จ่ายทรัพย์ การไม่เป็นหนี้ และการทำงานทีไ่ ม่มโี ทษ ซึง่ พระพุทธเจ้าตรัส ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 21 ข้อ 62 หรือการขยันหมัน่ เพียรในการประกอบ อาชีพ การรูจ้ กั เก็บรักษา การคบเพือ่ นทีด่ ี และการใช้ชวี ติ ทีเ่ หมาะสม ซึง่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 23 ข้อ 144 นอกจากนัน้ ยังมีเรือ่ งของกฎเกณฑ์ทางสังคม ตลอดจนขนบ ประเพณี ศีลธรรมจรรยา และกฎหมาย เป็นต้น ทีจ่ ะต้องรูจ้ กั แสวงหาและ ครอบครอง รูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ต้องกาย ทีน่ า่ ยินดี ทีน่ า่ ปรารถนานัน้ ให้ ถูกต้องตามครรลองของกฎเกณฑ์ทางสังคมเหล่านัน้ ด้วย จึงจะสามารถ มีความสุขอยูก่ บั รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกายนัน้ ๆ ได้ อย่างปลอดภัย อุน่ ใจ และไม่ทำให้เกิดเรือ่ งเดือดร้อนใจติดตามมาในภายหลัง ดังนัน้ จึงอาจเรียกความสุขประเภทนีใ้ นอีกชือ่ หนึง่ ว่า “ความสุขทีเ่ กิดจากศีล” โดย “ศีล” จะเป็นหลักประกันสำคัญยิง่ ของความสุขประเภทนี้ 30


ดังทีไ่ ด้พรรณนามาทัง้ หมด จะเห็นได้วา่ กามสุข เป็นความสุขที่ ต้องพึง่ พาวัตถุหรือสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก ซึง่ มีความผันแปรสูง จึงเป็นความสุข ทีไ่ ม่ยง่ั ยืน ไม่แน่นอน มีความปรวนแปรมาก ขึน้ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ ตลอดเวลา ไว้วางใจได้ยาก มีโทษและผลข้างเคียงที่ต้องคอยระมัด ระวังมาก บุคคลที่มีความสุขประเภทนี้เพียงอย่างเดียวหล่อเลี้ยงใจ ชีวติ จึงมีความผันผวนมาก เหมือนการเดินเรืออยูใ่ นท่ามกลางมหาสมุทร ไม่สามารถวางใจให้สนิทได้จริง ต้องคอยระมัดระวังภัยต่าง ๆ ทีอ่ าจ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา จึงเป็นความสุขอย่างที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสว่า เป็นความสุขทีค่ วรกลัว ดังนัน้ ผูม้ ปี ญ ั ญา จึงต้องรูเ้ ท่าทันความเป็นไปของความสุข ชนิดนี้ และเพือ่ ความสุขสวัสดีของชีวติ อย่างแท้จริง จึงต้องเรียนรูจ้ กั และแสวงหาความสุขประเภทอืน่ ทีด่ กี ว่า ประณีตยิง่ กว่า มีความมัน่ คง และปลอดภัยยิง่ กว่า ให้กบั ชีวติ ของตน ซึง่ ก็คอื ความสุขในลำดับทีจ่ ะ กล่าวถึงต่อไป ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่เนือ่ งกับประสาท 5 หรือสุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส หรือ ฌานสุข ความสุขทีจ่ ะกล่าวถึงในลำดับต่อไป เรียกชือ่ สัน้ ๆ ว่าฌานสุข เป็นความสุขทีม่ ลี กั ษณะแตกต่างออกไปอย่างสิน้ เชิงจากความสุข 2 ประเภทแรกทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว กล่าวคือเป็นความสุขทีไ่ ม่เนือ่ งกับหรือ เกีย่ วข้องกับ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกายใด ๆ ทีเ่ ป็นอารมณ์ ภายนอกเลย แต่เป็นความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากอารมณ์ภายในโดยเฉพาะ จึงเป็นความสุขทีเ่ ป็นเอกเทศของบุคคล ไม่ตอ้ งไปแย่งชิงกับใคร และใคร ๆ 31


ก็ไม่อาจมาแย่งชิงได้ ไม่อาจจะไปซือ้ หากับใคร และใคร ๆ ก็ไม่สามารถ นำมาขายให้ได้ บุคคลจะต้องเพียรฝึกฝนและปฏิบตั ใิ ห้บงั เกิดขึน้ ด้วย ตนเอง เมือ่ ปฏิบตั ไิ ด้ผลจนชำนาญแล้ว จะสามารถทำให้ความสุขชนิดนี้ เกิดขึน้ เมือ่ ใดก็ได้ เป็นความสุขทีม่ น่ั คงและยัง่ ยืน จึงทำให้จติ ตัง้ มัน่ ได้ อย่างดี และที่พิเศษมากอีกประการหนึ่ง คือเป็นความสุขที่มีรสชาติ ประณีต สุขุม ไม่ทำให้เกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายแต่ประการใด แม้จะ เกิดขึน้ บ่อย ๆ หรือต่อเนือ่ งเป็นเวลานาน เป็นความสุขทีบ่ คุ คลทัว่ ไป ไม่รจู้ กั และนึกไม่ถงึ ว่าจะมีความสุขชนิดนีอ้ ยู่ เป็นความสุขทีพ่ ระพุทธเจ้า ตรัสสรรเสริญ และชีแ้ นะให้รจู้ กั และเพียรปฏิบตั ใิ ห้เกิดขึน้ ดังพระพุทธพจน์ ทีต่ รัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที1่ 3 ข้อที1่ 83 ว่าฌานทัง้ สีน่ เ้ี รากล่าวว่า ความสุขเกิดแต่ความออกจากกาม ความสุขเกิดแต่ความสงัด ความสุข เกิดแต่ความสงบ ความสุขเกิดแต่ความสัมโพธิ อันบุคคลควรเสพ ควรให้เกิดมี ควรทำให้มาก ไม่ควรกลัวแต่สขุ นัน้ ♦ ฌานสุข คือความสุขทีเ่ กิดจากสมาธิ

ความสุขในระดับนี้ หรือ ฌานสุข นี้ นอกจากจะไม่เกีย่ ว ข้องกับ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย แล้ว ยังเป็นความสุข ทีเ่ กิดขึน้ จากการหยุดจินตนาการอีกด้วย อาจเรียกความสุขประเภทนีใ้ นอีกชือ่ หนึง่ ว่า “ความสุขทีเ่ กิด จากสมาธิ” ความสุขประเภทนี้ หากกล่าวอย่างเคร่งครัดแล้ว หมายถึง ความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากจิตทีอ่ ยูใ่ นระดับฌานเท่านัน้ ดังทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ ตรัสจำแนกความสุขไว้เป็น 10 ขัน้ จากความสุขในขัน้ ที่ 1 คือ กามสุข ซึง่ ได้อธิบายไปแล้ว ความสุขในขัน้ ถัดไปทีต่ รัสถึง คือขัน้ ที่ 2 ถึง 9 ได้ 32


ตรัสไว้วา่ คือ ฌานสุข โดยจำแนกให้ละเอียดยิง่ ขึน้ ว่า ขัน้ ที่ 2 ถึง 5 เรียกว่า รูปฌานสุข และขัน้ ที่ 6 ถึง 9 เรียกว่า อรูปฌานสุข หรือหาก จำแนกตามอารมณ์หรือสิง่ ทีใ่ ช้เป็นอุปกรณ์ในการเจริญสมาธิ ก็จำแนก ได้เป็น 40 ประเภท หรือทีเ่ รียกว่า “กรรมฐาน 40” แต่หากกล่าวโดยอนุโลม ก็กล่าวได้วา่ ความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั สิ มาธิ แม้จะยังไม่ถงึ ระดับ ฌาน ก็อนุโลมจัดว่าเป็นความสุขในขั้นนี้ด้วย ซึ่งในคัมภีร์ชั้นหลังได้ จำแนกระดับของสมาธิไว้เป็น 3 ระดับ คือ 1. ขณิกสมาธิ (สมาธิชว่ั ขณะ) 2. อุปจารสมาธิ (สมาธิจวนจะแน่วแน่) 3. อัปปนาสมาธิ (สมาธิแน่วแน่ คือสมาธิในฌาน) ดังนัน้ ความสุขจากสมาธิในระดับขณิกะ และอุปจาระ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างทีก่ ำลังปฏิบตั สิ มาธิ แม้จะยังไม่ถงึ ระดับฌาน ก็อนุโลมจัด ว่าเป็นความสุขในระดับนีด้ ว้ ย การปฏิบตั สิ มาธิทกุ วิธี อันทีจ่ ริงมีหลักการอันเดียวกัน คือ การ มีสติประคองจิตให้ระลึกอยูก่ บั สิง่ ใดสิง่ หนึง่ หรือเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เพียงอย่างเดียว โดยสิง่ ทีใ่ ห้จติ ระลึกรูน้ น้ั จะต้องมีความหมาย เป็นกลาง ๆ ต่อจิต คือไม่ชกั นำให้จติ ฟูหรือแฟบ หรือมีความหมาย ทีช่ กั จูงจิตให้เกิดความสงบ จะขอสาธิตตัวอย่างการปฏิบตั สิ มาธิทไ่ี ด้รบั ความนิยมกันมาก สักวิธหี นึง่ คือ การปฏิบตั อิ านาปานสติ พอให้รเู้ ป็นแนวทางโดยสังเขป สำหรับผูส้ นใจทีป่ รารถนาจะลองฝึกปฏิบตั ดิ ู ซึง่ เป็นการสรุปจากคัมภีร์ และประสบการณ์ของอาจารย์ผสู้ อนบางท่าน ก่อนการปฏิบตั คิ วรตัดปลิโพธ หรือเครือ่ งกังวลใจต่าง ๆ ออกไป ก่อน หาสถานทีท่ ส่ี งบ ปลอดจากการรบกวนของผูค้ น จากนัน้ นัง่ ขัดสมาธิ 33


ทีเ่ รียกว่า “ท่าดอกบัว” หรือ “ท่าขัดสมาธิเพชร” ท่าเหล่านีท้ ำให้กายมี ความมัน่ คง ไม่เกิดการโยกคลอนอันจะส่งผลรบกวนจิต ทำให้ไม่สามารถ เข้าถึงภาวะของรูปฌานได้ เพราะเมือ่ เข้าถึงภาวะของรูปฌานแล้ว จะไม่มี การรับรูท้ างประสาทต่าง ๆ ทีเ่ นือ่ งกับกายทัง้ หมด คือ ตา หู จมูก ลิน้ และกายประสาท จะมีการรับรูแ้ ต่ทางใจหรือมโนเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ การโยกคลอนของกายจะรบกวนจิตให้ต้องคอยมารับรู้กาย ทำให้ไม่ สามารถรับรูอ้ ยูแ่ ต่เพียงทางใจอย่างเดียวได้ ต่อจากนัน้ ให้ตง้ั กายให้ตรง ดำรงสติอยูเ่ ฉพาะหน้า เมือ่ หายใจเข้าและหายใจออก ก็ให้มสี ติตามรู้ ลมหายใจทีเ่ ข้าและออกนัน้ ไปตามทีเ่ ป็นอยูจ่ ริง ไม่วา่ ลมหายใจจะยาว หรือสัน้ ก็ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ในตอนต้นของการปฏิบตั ิ เพือ่ ไม่ให้สง่ิ ต่าง ๆ ภายนอกรบกวน การทำสมาธิ ก็ขอแนะนำให้หลับตาเสียตัง้ แต่แรก และให้มสี ติตามรู้ ลมหายใจทีเ่ ข้าและออก โดยทำเหมือนวิง่ ตามลม ระหว่างปลายจมูก กับบริเวณหน้าท้อง เมือ่ สามารถตามรูไ้ ด้สม่ำเสมอพอสมควรแล้ว ก็ให้ เปลี่ยนมารับรู้เฉพาะตรงจุดสัมผัสของลมที่กระทบปลายจมูกเพียง อย่างเดียว ต่อจากนัน้ ก็ให้รกั ษาการรับรูเ้ ฉพาะสัมผัสของลมตรงปลาย จมูกนีเ้ ท่านัน้ สมาธิทเ่ี กิดขึน้ ในระดับนีเ้ รียกว่า ขณิกสมาธิ เมือ่ สามารถรับรูจ้ ดุ ทีล่ มกระทบสัมผัสได้ตอ่ เนือ่ ง ไม่วอกแวก ไปที่อื่น นั่นเป็นเครื่องหมายแสดงว่ากำลังของสมาธิดีขึ้นตามลำดับ จนถึงจุดหนึ่งที่สมาธิเริ่มมีความแนบแน่นขึ้น และถึงระดับที่จะเข้าสู่ ภาวะของรูปฌานได้ จะมีสิ่งที่เรียกว่า “อุคคหนิมิต” ปรากฏขึ้นเอง ตามธรรมชาติ เป็นการเห็นทางมโนหรือใจ ไม่ใช่ทางประสาทตา ซึง่ อาจมี ลักษณะเป็นดวงสว่าง เป็นรูปทรงกลม หรือรูปหยดน้ำ หรือคล้ายใย แมงมุม เป็นต้น ในกรณีน้ี อาจเปรียบได้กบั การใช้เลนส์นนู รับแสงจาก 34


ดวงอาทิตย์ เพือ่ รวมแสงอาทิตย์ทก่ี ระจัดกระจายให้มาอยูใ่ นจุดเดียว จะทำให้เห็นเป็นจุดหรือดวงสว่างเกิดขึน้ มีความร้อนสูงและสามารถ เผาไหม้ให้ลกุ เป็นไฟได้ การทำสมาธิกเ็ ช่นเดียวกัน เป็นการรวมกระแส จิตทีก่ ระจัดกระจายไปกับการรับรูอ้ ารมณ์ในช่องทางต่าง ๆ ให้มาอยูท่ ่ี จุดเดียว เมือ่ รวมได้แน่วแน่กจ็ ะเกิดเป็นดวงสว่างทีเ่ รียกว่า “อุคคหนิมติ ” ขึน้ ต่อจากนัน้ ให้รกั ษาการเห็นอุคคหนิมติ นีไ้ ว้ จนจิตมีความแนบ แน่น และเปลีย่ นการรับรูท้ ง้ั หมดจากสัมผัสของลมทีก่ ระทบปลายจมูก มารับรูท้ อ่ี คุ คหนิมติ เพียงอย่างเดียว และเพือ่ ทดสอบว่ากำลังสมาธิใน ขณะนีม้ คี วามมัน่ คง แนบแน่นเพียงพอสำหรับการเข้าสูภ่ าวะของรูปฌาน หรือยัง ก็ทำได้โดยการลองย่อ-ขยายอุคคหนิมติ หรือเลือ่ นให้ใกล้เข้ามา หรือให้ไกลออกไป ซึง่ หากสามารถทำได้ ก็จะเรียกชือ่ ใหม่วา่ “ปฏิภาคนิมติ ” สมาธิทเ่ี กิดขึน้ ในระดับนีเ้ รียกว่า อุปจารสมาธิ ต่อจากนี้ ให้เลือกปฏิภาคนิมิตที่มีขนาด-สีสัน-อยู่ในระยะ ใกล้หรือไกล ทีม่ คี วามรูส้ กึ พอดีกบั จิต มาให้จติ รับรูอ้ ยูแ่ ต่ในปฏิภาคนิมติ นัน้ เมือ่ องค์ฌาน คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา เกิดขึน้ ครบ ถ้วนสมบูรณ์เมือ่ ใด จิตก็จะเข้าถึงสมาธิในระดับทีเ่ รียกว่าอัปปนาสมาธิ ในระดับแรก คือรูปฌานที่ 1 ซึง่ สามารถตรวจสอบได้ตามพระพุทธพจน์ ทีต่ รัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 24 ข้อที่ 72 ว่า “เสียงเป็นปฏิปกั ษ์หรือ ข้าศึกแก่ปฐมฌาน” หมายความว่า ผูท้ เ่ี ข้าถึงรูปฌานที่ 1 จริง จะต้อง ไม่ได้ยินเสียงใด ๆ ทางประสาทหูอีก แม้ว่าเสียงนั้นจะดังสนั่นอย่าง เช่นเสียงของฟ้าผ่าก็ตาม และหากรักษาการรับรูป้ ฏิภาคนิมติ อยูต่ อ่ เนือ่ ง ไปเรือ่ ย ๆ ก็จะค่อย ๆ ละองค์ฌานทีห่ ยาบไปตามลำดับ จนเมือ่ เข้าถึง ภาวะของรูปฌานที่ 4 จะเหลือแต่องค์ฌาน คือ อุเบกขา และเอกัคคตา ซึง่ จะไม่มอี าการของการหายใจเข้าและออกอีกต่อไป 35


ภาวะของจิตทีเ่ ข้าถึงรูปฌานนัน้ เป็นจิตทีส่ งัดจากกาม สงัดจาก อกุศลธรรมทัง้ หลาย ไม่มนี วิ รณ์เกิดขึน้ รบกวน ไม่มดี ำริ และการรับรูใ้ ด ๆ เกีย่ วกับกาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย อีกต่อไป เวทนา ทัง้ หลายทีเ่ กิดขึน้ ในระดับนี้ เรียกว่า เวทนาทางใจทีไ่ ม่มอี ามิส หรือ ฌานสุข เป็นจิตทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 29 ข้อที่ 46 ว่าเป็น อธิจติ คือจิตทีม่ คี ณ ุ ภาพพร้อมและเหมาะสม ควรแก่การงาน ทุกอย่าง จิตทีอ่ ยูใ่ นฌาน เป็นจิตทีน่ ง่ิ และแน่วแน่อยูใ่ นอารมณ์เดียว ไม่มกี ารคิดหรือจินตนาการแต่อย่างใด หากมีการคิดหรือจินตนาการ เกิดขึน้ จิตก็จะหลุดออกจากภาวะของฌาน ดังนัน้ ฌานสุข จึงเป็น ความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการหยุดจินตนาการ และอย่างทีไ่ ด้กล่าวไว้วา่ ความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั สิ มาธิ แม้จะยังไม่ถงึ ระดับฌาน ซึง่ หมายความว่ายังมีเรือ่ งของจินตนาการเข้า มาเกี่ยวข้อง เช่น การปฏิบัติในเรื่องอนุสติ 10 จะเห็นได้วา่ มีเรือ่ งของ การจินตนาการค่อนข้างมาก ก็อนุโลมจัดว่าเป็นความสุขในขัน้ นีด้ ว้ ย จินตนาการทีท่ ำให้เกิดกามสุข กับจินตนาการทีท่ ำให้เกิด ฌานสุขโดยอนุโลม ตามทีก่ ล่าวถึงนี้ แตกต่างกันอย่างไร ? คำตอบ คือ ..... จินตนาการทีท่ ำให้เกิดกามสุข เป็นจินตนาการทีม่ งุ่ ปรุงแต่ง หรือประดิษฐ์ประดอยต่อ รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย ให้มคี วาม น่ารัก น่าใคร่ น่าปรารถนา โดยมุง่ หวังว่าเมือ่ บุคคลได้สมั ผัสรับรูแ้ ล้ว จะเกิดความสุขขึน้ ส่วน จินตนาการทีท่ ำให้เกิดฌานสุขโดยอนุโลม เป็นการ จินตนาการถึงคุณค่าหรือคุณประโยชน์ของสิ่งที่เป็นที่ตั้งของการ จินตนาการนัน้ เพือ่ จูงจิตไปสูค่ วามศรัทธา ความเพียร ความดีงาม ความ 36


ไม่ประมาท ความสงบ ความบริสทุ ธิ์ เป็นต้น ยกตัวอย่าง ใน กรรมฐาน 40 ทีม่ เี รือ่ งการจินตนาการในการทำสมาธิ เช่น อนุสติ 10 (ระลึกถึงคุณ ของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คุณของศีล เป็นต้น) การแผ่เมตตา และอาหาเรปฏิกลู สัญญา (พิจารณาความเป็นปฏิกลู ในอาหาร) ♦ สมาธิทำให้เกิดความสุขได้อย่างไร ?

อาจมีทา่ นผูอ้ า่ นหลายท่าน เกิดความสงสัยขึน้ มาว่า การทำ สมาธิ อย่างทีก่ ล่าวไป เช่น การตามรูล้ มหายใจเข้า-ออก หรือการเดินจงกรม ทีใ่ ห้ตามรูอ้ าการเคลือ่ นไหวของเท้า เพียงเท่านี้ จะมีประโยชน์อะไร ? และทำให้เกิดความสุขได้อย่างไร ? ในเรือ่ งนี้ ก็ดจู ะชวนให้เห็นเป็นเช่นทีว่ า่ นัน้ ได้มากเหมือนกัน หากบุคคลยังไม่ได้ลงมือปฏิบตั ิ หรือยังไม่ได้รบั ผลของการปฏิบตั บิ า้ ง ก็ยากทีจ่ ะเข้าใจ คำตอบในเรือ่ งนี้ อาจตอบด้วยอุปมาทีโ่ บราณอาจารย์ได้ผกู ไว้ ว่า การปฏิบตั สิ มาธิ โดยให้จติ มีสติระลึกอยูก่ บั สิง่ ใดสิง่ หนึง่ หรือเรือ่ งใด เรือ่ งหนึง่ เพียงอย่างเดียว เปรียบได้กบั การเอาเชือกผูกวัวไว้กบั หลัก ในตอนแรกวัวจะดิน้ ไปมา และอาจมีการฉุดกระชากบ้าง แต่ในทีส่ ดุ วัวก็ จะหมอบและสงบนิง่ อยูก่ บั หลักนัน้ เอง ธรรมชาติของจิตก็เช่นเดียวกัน หากสามารถประคองจิตให้มสี ติระลึกรูอ้ ยูก่ บั สิง่ ใดสิง่ หนึง่ ได้อย่างต่อ เนื่อง จิตก็จะสงบและนิ่งอยู่กับอารมณ์ของสมาธิที่กำหนดนั้นเอง ความสงบนิง่ ทีเ่ กิดขึน้ นี้ คือความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากสมาธิ อุปมาในทีน่ ้ี เปรียบเชือกคือสติ วัวคือจิต หลักทีล่ า่ มวัวคืออารมณ์กรรมฐาน และ อาการทีส่ งบนิง่ ของวัวคือความสุขทีเ่ กิดขึน้ 37


♦ ประโยชน์ในด้านอืน ่ ๆ ของการทำสมาธิ

การปฏิบตั สิ มาธินอกจากจะทำให้เกิดความสุขแล้ว ยังก่อให้ เกิดประโยชน์มากมายอย่างทีบ่ คุ คลอาจนึกไม่ถงึ ซึง่ จะขอถือโอกาสนี้ อธิบายเพิม่ เติม เพือ่ ให้เห็นความสำคัญของสมาธิ และเป็นกำลังใจแก่ ผูป้ ฏิบตั ใิ ห้มคี วามขวนขวายและตัง้ ใจปฏิบตั สิ มาธิให้มากยิง่ ขึน้ การทำสมาธิ เป็นการฝึกหัดควบคุมจิตให้อยูใ่ นอำนาจ การปฏิบัติสมาธิ มองอีกแง่มุมหนึ่ง เป็นการฝึกหัดควบคุม จิตให้อยูใ่ นอำนาจของสติ การทีบ่ คุ คลตัง้ ใจให้จติ ระลึกรูอ้ ยูใ่ นอารมณ์ ทีก่ ำหนด แต่จติ ก็เผลอไปรับรูห้ รือนึกคิดถึงอารมณ์อน่ื แทน นัน่ ย่อม แสดงว่า จิตของเรา ไม่อยู่ในอำนาจการควบคุมของสติ จึงทำให้ไม่ สามารถใช้จติ ไปทำกิจหรือหน้าทีต่ า่ ง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ ประสบผลด้วยดี ในการทำสมาธิ หากบุคคลสามารถประคองจิตให้ระลึก อยูแ่ ต่ในอารมณ์ทก่ี ำหนดได้อย่างต่อเนือ่ งมากเท่าใด และไม่เผลอไประลึก ถึงอารมณ์อน่ื ได้มากเท่าใด นัน่ ย่อมเป็นเครือ่ งหมายว่าบุคคลสามารถ ควบคุมจิตให้อยูใ่ นอำนาจของสติได้มากขึน้ เท่านัน้ จึงทำให้สามารถ ใช้จติ ไปทำกิจหรือหน้าทีต่ า่ ง ๆ ได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ ในทีน่ ้ี อาจเปรียบได้กบั การขีม่ า้ ป่าทีย่ งั ไม่ละพยศ ย่อมไม่สามารถขีเ่ พือ่ ใช้ทำ กิจต่าง ๆ ให้บงั เกิดผลดีได้ ต่อเมือ่ นำม้ามาฝึกจนละพยศ และมีความ เชือ่ งแล้ว ก็จะสามารถขีม่ า้ เพือ่ ทำกิจต่าง ๆ ให้ได้ผลตามทีต่ อ้ งการได้งา่ ย การฝึกสมาธิกเ็ ช่นเดียวกัน เป็นการฝึกจิตทีย่ งั ไม่ได้รบั การฝึก ซึง่ ยังพยศ เหมือนม้าป่า ให้กลายเป็นม้าทีเ่ ชือ่ ง ทีส่ ามารถรับคำสัง่ ให้ทำสิง่ ต่าง ๆ ได้ดงั ใจ 38


ปัญหาหรือความผิดพลาดของบุคคลที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มี สาเหตุมาจากจุดนี้ คือการทีบ่ คุ คลไม่สามารถควบคุมจิตให้ดำรงอยูใ่ น อารมณ์หรือในการกระทำทีถ่ กู ต้องและสมควร และปล่อยให้จติ เป็นไป ตามยถากรรม หรือตกไปอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของอารมณ์อน่ื โดยทีบ่ คุ คล ไม่สามารถควบคุมได้ การทำสมาธิ เป็นการปรับปรุงจิตให้มคี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม การปฏิบตั สิ มาธิ มองอีกแง่มมุ หนึง่ เป็นการปรับปรุงคุณภาพ จิตให้มคี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม ควรแก่การงาน กล่าวคือ ทำให้นวิ รณ์ซง่ึ เป็นสิง่ ทีท่ ำให้จติ เศร้าหมองและบัน่ ทอนปัญญา คือ กามฉันท์ (ความ พอใจในกาม) พยาบาท (ความขัดเคืองแค้นใจ) ถีนะมิทธะ (ความ หดหูเ่ ซือ่ งซึม) อุทธัจจะกุกกุจจะ (ความฟุง้ ซ่านและรำคาญใจ) และ วิจกิ จิ ฉา (ความลังเลสงสัย) สงบลง มีผลทำให้จติ มีคณ ุ ภาพที่ ปริสทุ โฺ ธ (บริสทุ ธิ-์ ผ่องใส) สมาหิโต (มัน่ คง) กมฺมนีโย (ควรแก่การงาน) ควร แก่การนำไปใช้ทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ ให้บรรลุผลด้วยดี กรณีนอ้ี าจเปรียบได้ กับการจับแก้วน้ำทีม่ ตี ะกอนลอยแขวนอยูใ่ ห้นง่ิ ไว้ หากสามารถทำได้ ต่อเนื่อง ในที่สุดตะกอนก็จะตกลงสู่ก้นแก้ว เหลือเป็นน้ำใสให้เห็น และน้ำที่ใสจึงเป็นน้ำที่มีคุณภาพที่เหมาะสมควรแก่การนำไปใช้ทำ อะไรต่าง ๆ ให้ได้ผลดี ในทีน่ เ้ี ปรียบการจับแก้วให้นง่ิ คือสติ ; น้ำที่ มีตะกอนลอยแขวนอยู่ คือจิตทีม่ นี วิ รณ์รบกวนอยู่ และน้ำใสทีเ่ กิดขึน้ คือจิตทีเ่ ป็นสมาธิ ซึง่ มีคณ ุ ภาพพร้อมและควรแก่การใช้งาน การทำสมาธิ เป็นการเสริมสร้างพลังให้กบั จิต การปฏิบัติสมาธิ มองอีกแง่มุมหนึ่ง เป็นการเพิ่มพลังให้กับ 39


จิต จะเห็นได้วา่ การทำสมาธิทกุ วิธี มีหลักการสำคัญเหมือนกันอยูป่ ระการ หนึง่ คือให้มสี ติระลึกอยูก่ บั สิง่ ใดสิง่ หนึง่ หรือเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เพียงเท่านัน้ การทำเช่นนี้ เป็นการรวมกระแสจิตทีก่ ระจัดกระจายไปในการรับรูใ้ นหลาย เรือ่ งและหลายช่องทางให้มารวมอยูท่ เ่ี ดียว คือทีอ่ ารมณ์ของการทำสมาธิ นัน้ ซึง่ จะทำให้จติ มีพลังมากยิง่ ขึน้ ในกรณีนเ้ี ปรียบได้กบั การนำเลนส์นนู มารับแสงอาทิตย์ แล้วปรับระยะการโฟกัสของเลนส์ เพือ่ รวมแสงอาทิตย์ ทีก่ ระจัดกระจายเข้ามา และเมือ่ รวมได้จนเป็นจุดเดียวแล้ว จะมีความ สว่างมากขึน้ มีพลังความร้อนมากขึน้ ด้วย จนถึงกับสามารถทำให้เกิดการ เผาไหม้ขน้ึ ได้ การทำสมาธิกเ็ ช่นเดียวกัน เป็นการรวมกระแสจิตทีก่ ระจัด กระจายไปกับการรับรูใ้ นช่องทางต่าง ๆ ให้มารับรูอ้ ยูใ่ นช่องทางเดียวและ ทีจ่ ดุ เดียว จะทำให้จติ มีความเข้มข้นขึน้ และมีพลังมากขึน้ ตามลำดับ จนถึง ระดับทีม่ พี ลังและความพร้อมสูงสุด ซึง่ พระพุทธเจ้าตรัสว่า คือ รูปฌาน 4 โดยมีชอ่ื เรียกว่า อธิจติ ซึง่ เป็นจิตทีค่ วรแก่การงานทุกอย่าง และสามารถ นำไปใช้พสิ จู น์ความจริงของธรรมชาติได้ทกุ เรือ่ งและทุกระดับ โดยเฉพาะ เรือ่ งอิทธิปาฏิหาริยห์ รืออภิญญา ซึง่ แม้ไม่ใช่สาระสำคัญของคำสอน ในพระพุทธศาสนา และมีปรากฏอยูบ่ า้ งในคัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา มีอปุ มาอีกเรือ่ งหนึง่ ในเรือ่ งของสมาธิในแง่ทเ่ี ป็นพลังทีน่ า่ สนใจ มาก โดยนำไปเปรียบกับมีดทีจ่ ะนำไปตัดต้นไม้ ซึง่ จะต้องมีทง้ั ความคม และน้ำหนักประกอบกัน จึงจะตัดต้นไม้ให้ขาดลงได้ มีดที่แม้จะมี ความคมมาก แต่หากมีนำ้ หนักน้อย เช่น มีดผ่าตัด หรือคัตเตอร์ ก็ไม่ สามารถนำไปใช้ตดั ต้นไม้ให้ขาดได้ ในกรณีนเ้ี ปรียบ “ความคม” ของมีด คือ “ปัญญา” และ “น้ำหนัก” ของมีดคือ “สมาธิ” ในการประหารกิเลส ก็เช่นเดียวกัน ต้องอาศัยน้ำหนักของสมาธิระดับหนึง่ เข้าประกอบ ปัญญา จึงจะมีอานุภาพตัดกิเลสทีม่ อี ยูใ่ นจิตอย่างหมดจดและสิน้ เชิงได้ 40


การทำสมาธิ เป็นการสร้างบ้านทางจิต การปฏิบัติสมาธิ มองอีกแง่มุมหนึ่ง เป็นการสร้างบ้านให้ กับจิต ซึง่ ในคัมภีรใ์ ช้คำว่า “วิหารธรรม” หรือหากใช้คำทัว่ ไปก็เรียกว่า “บ้านทางจิต” ชีวติ ในฝ่ายกายมีความจำเป็นทีจ่ ะต้องมีบา้ นทางกาย อย่างไร ชีวติ ในฝ่ายจิตก็มคี วามจำเป็นทีจ่ ะต้องมีบา้ นทางจิตอย่างนัน้ บุคคลหากไม่มบี า้ นทางกาย ก็หมายความว่า ชีวติ ต้องเร่รอ่ น ไม่มที อ่ี ยู่ ทีเ่ ป็นหลักแหล่ง เป็นคนอนาถา ไม่มสี ง่ิ ทีค่ อยคุม้ กันภัยและอันตราย ต่าง ๆ ทีจ่ ะเข้ามาถึงกาย หรือแม้แต่ฝนตก-แดดออก ก็มคี วามเดือดร้อน เกิดขึน้ กับกายมากแล้ว บุคคลทีม่ บี า้ นทางกาย หากเกิดเหตุการณ์หรือ เรือ่ งราวอะไรทีจ่ ะมีภยั มาถึงตัว เพียงแต่กลับเข้าไปอยูใ่ นบ้าน และปิด ประตูลงกลอนให้แน่นหนาเท่านัน้ ก็ทำให้รสู้ กึ ปลอดภัย และอุน่ ใจขึน้ มา ได้ในระดับหนึง่ ในทางจิตก็เช่นเดียวกัน หากไม่มบี า้ นทางจิต ก็มคี วามหมาย เช่นเดียวกับคนอนาถา ไม่มสี ง่ิ ทีค่ อยคุม้ กันภัยและอันตรายต่าง ๆ ทีเ่ ข้ามาถึงจิต โดยเฉพาะจากอารมณ์ตา่ ง ๆ ทีร่ บั รูผ้ า่ นเข้ามาทาง ตา หู จมูก ลิน้ กายประสาท และใจโดยตรง ทำให้ถกู อารมณ์ตา่ ง ๆ รบกวน และทำร้ายได้งา่ ยและตลอดเวลา การทำสมาธิเหมือนกับการสร้างบ้าน ให้กบั จิต เพราะหากจิตอยูใ่ นอารมณ์ของสมาธิทก่ี ำหนดไว้แล้ว อารมณ์ อืน่ ๆ จะเกิดขึน้ หรือเข้ามารบกวนจิตไม่ได้เลย เหมือนกับบุคคลทีเ่ ข้า บ้านของตนแล้ว ปิดประตูลงกลอนให้แน่นหนา บุคคลหรือสิง่ อืน่ ๆ ที่ อยูน่ อกบ้าน ก็ไม่สามารถจะเข้ามาทำอะไรได้ ดังนัน้ บุคคลทีม่ สี มาธิ เป็นบ้านทางจิต ชีวติ จะมีความมัน่ คงและปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ เพราะ นอกจากจะมีความสุขที่เกิดขึ้นจากสมาธิโดยตรงแล้ว ยังมีความ ปลอดภัยทางจิตสูง หากต้องเผชิญกับเหตุการณ์หรืออารมณ์ใดแล้ว 41


รูส้ กึ ว่ายังไม่ปลอดภัย หรือยังไม่พร้อมทีจ่ ะเผชิญกับอารมณ์นน้ั และไม่ ต้องการให้อารมณ์นน้ั รบกวนหรือทำร้ายจิตใจ ก็ให้หลบเข้าไปอยูใ่ น อารมณ์ของสมาธิที่เราคุ้นเคยและปฏิบัติจนเป็นบ้านทางจิตนั้นเสีย หลังจากทีเ่ หตุการณ์ผา่ นไปแล้ว หรือหากรูส้ กึ ว่าพลังจิตหรือพลังสมาธิ ของตนมีมากเพียงพอแล้ว ก็สามารถกลับออกไปเผชิญกับสิง่ ต่าง ๆ เหล่านัน้ และจัดการให้ลลุ ว่ งไปด้วยดีได้ การทำสมาธิ เป็นการออกกำลังกายทางจิต ชีวติ ในฝ่ายกาย มีความจำเป็นต้องได้รบั การบริหาร คือการออก กำลังกาย หรือการทำให้กายเกิดการเคลือ่ นไหวด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ธรรมชาติ ของกายต้องมีการเคลือ่ นไหว กายจึงจะมีความแข็งแรง กายเมือ่ ได้ออก กำลัง จะทำให้กายมีพลังหรือกำลังเพิม่ ขึน้ ชีวติ ในฝ่ายจิต ก็มคี วามจำเป็นต้องได้รบั การบริหารเช่นกัน จิตจึง จะมีความแข็งแรง แต่การบริหารจิต มีความแตกต่างจากการบริหารกาย อย่างตรงกันข้ามเลยทีเดียว จิตทีห่ ยุดนิง่ หรือจิตทีร่ วมเป็นสมาธิ จึงจะ ทำให้จติ มีกำลังเพิม่ ขึน้ จิตทีน่ กึ คิดหรือมีการรับรูเ้ รือ่ งราวต่าง ๆ มากมาย ในการรับรูห้ ลายช่องทาง จะทำให้พลังของจิตอ่อนลง ดังนัน้ การบริหาร ชีวติ ให้ถกู ต้องตามธรรมชาติทเ่ี ป็นอยู่ จึงต้องมีศลิ ปะและความละเอียด อ่อนยิง่ กล่าวคือ บริหารกายโดยให้เคลือ่ นไหว แต่บริหารจิตโดยให้หยุดนิง่ ♦

วิธบี ริหารจัดการ ความสุขทีเ่ ป็นเวทนาทางใจทีไ่ ม่เนือ่ ง กับประสาท 5 หรือสุขเวทนาทีไ่ ม่มอี ามิส หรือ ฌานสุข ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า ความสุขเป็นอาหารของจิต เป็นสิง่ ที่ 42


จิตจะขาดไปไม่ได้เลย เหมือนกับข้าวปลาเป็นอาหารของกาย ทีก่ ายจะ ขาดไปไม่ได้ ฌานสุขนี้แหละเป็นอาหารที่แท้ของจิต ให้แต่คุณและ ประโยชน์ทง้ั แก่ชวี ติ ฝ่ายจิตและฝ่ายกายโดยส่วนเดียว ไม่กอ่ ให้เกิดโทษ หรือผลข้างเคียงแก่ชวี ติ แต่ประการใด เป็นความสุขทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัส สรรเสริญไว้มาก และแนะนำให้ปฏิบตั ิ สมดังพระพุทธพจน์ทไ่ี ด้ยกมา อ้างไว้แล้วว่า เป็นความสุข ....อันบุคคลควรเสพ ควรให้เกิดมี ควรทำ ให้มาก ไม่ควรกลัวแต่สขุ นัน้ ... ผูม้ ฌ ี านสุขเป็นเครือ่ งหล่อเลีย้ ง จิตจะ มีความตัง้ มัน่ มัน่ คง เข้มแข็ง และทรงประสิทธิภาพมาก สามารถดำรง ตนได้เป็นอิสระ อยูเ่ หนืออิทธิพลความร้อยรัดเสียดแทงและความวุน่ วาย ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จาก รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือกามคุณ หรือโลกธรรมต่าง ๆ ได้ ชีวติ จึงเต็มเปีย่ มด้วยความเป็นปกติสขุ ไม่ขน้ึ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ เช่นทีเ่ ป็นไปในแบบทีม่ กี ามสุขเป็นอาหารหล่อเลีย้ งจิต ดังนัน้ ผูท้ ห่ี วังความเป็นปกติสขุ และความมัน่ คงของชีวติ จึง ควรเรียนรูแ้ ละฝึกฝนให้มคี วามสุขประเภทนีเ้ กิดขึน้ ด้วย แม้วา่ จะไม่ถงึ ระดับทีเ่ ป็นฌานสุขจริง อยูใ่ นระดับทีเ่ รียกว่าขณิกสมาธิหรืออุปจารสมาธิ ก็ยงั เป็นคุณและประโยชน์ไม่นอ้ ยเลย ปัญหาในเรือ่ งฌานสุข มีเพียงอย่างเดียว คือความยึดติดหรือ ติดใจในรสชาติของความสุขทีเ่ กิดจากฌาน ซึง่ มีรสชาติทป่ี ระณีตและ สุขมุ ลุม่ ลึกมาก จนทำให้บคุ คลไม่คดิ หรือไม่ตอ้ งการจะทำอะไรอย่างอืน่ นอกจากการเข้าฌานเพือ่ เสวยความสุขเพียงอย่างเดียว จึงทำให้ชวี ติ หยุดการพัฒนา ไม่กา้ วไปถึงอุดมคติทแ่ี ท้จริง ความสุข คือฌานสุขนี้ แม้จะเป็นความสุขที่ดีและประณีต เพียงใดก็ตาม แต่กย็ งั ไม่ใช่สง่ิ ทีเ่ ป็นอุดมคติสงู สุด เพราะฌานเป็นสิง่ ที่ 43


เสือ่ มได้ หากไม่ระมัดระวังและรักษาให้ดี โดยเฉพาะเมือ่ ไปสัมผัสรับรู้ กับอารมณ์ที่เป็นกามคุณที่มีความหมายต่อจิต นอกจากนั้นยังมีข้อ จำกัดในความสุขนี้ คือจิตจะมีความสุขอยูไ่ ด้ จะต้องมีอารมณ์ของฌาน ปรากฏอยู่ หากออกจากฌานเมือ่ ใด ก็จะไม่มคี วามสุขระดับนีอ้ กี ต่อไป ดังนัน้ จึงต้องรูจ้ กั และพัฒนาไปสูค่ วามสุขในขัน้ ถัดไป คือ วิมตุ ติสขุ ซึง่ เป็นความสุขทีแ่ ท้จริง เป็นความสุขในขัน้ สุดท้าย และเป็นความสุข ทีเ่ ป็นอุดมคติ ซึง่ จะกล่าวถึงอย่างละเอียดในบทต่อไป ความดับทุกข์ หรือ วิมตุ ติสขุ : ความสุขทีเ่ ป็นอุดมคติ ความสุขประเภทสุดท้ายที่จะกล่าวถึง คือ วิมุตติสุข ซึ่งได้ อธิบายไว้ตง้ั แต่ตน้ แล้วว่า เป็นการเรียกชือ่ โดยอนุโลมว่าเป็นความสุข เพราะมีความแตกต่างจากความสุขอย่างที่ได้แสดงไปแล้วทั้งหมด กล่าวคือ บุคคลไม่สามารถปรุงแต่ง หรือสร้างสรรค์ให้เกิดขึน้ ได้โดยตรง แต่จะปรากฏขึน้ เอง เมือ่ สามารถทำกิเลส คือ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หรือสังโยชน์ ให้หมดสิน้ ไปจากจิตได้อย่างเด็ดขาด ดังนัน้ หากกล่าว อย่างเคร่งครัดและเพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดความสับสน พระพุทธเจ้าได้ใช้ คำเรียกว่า นิโรธ หรือ ความดับทุกข์ แทน วิมตุ ติสขุ หรือ ความดับทุกข์ นีแ้ หละเป็นอุดมคติหรือเป้า หมายสูงสุดทีม่ นุษย์พงึ รูจ้ กั และปฏิบตั ใิ ห้เข้าถึง เป็นภาวะของจิตทีไ่ ม่มี อะไรที่จะสามารถครอบงำ หรือร้อยรัดเสียดแทงให้เกิดความทุกข์ได้ อย่างเด็ดขาด ลองพิจารณาดูวา่ จะมีอะไรทีเ่ ป็นอุดมคติไปยิง่ กว่านี้ ♦ วิมต ุ ติสขุ หรือความดับทุกข์

คือความสุขทีเ่ กิดจากปัญญา

ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า วิมตุ ติสขุ หรือ ความดับทุกข์ เป็น 44


ภาวะของจิตที่อยู่เหนืออิทธิพลของสิ่งทั้งปวง ที่จะร้อยรัดเสียดแทง ให้เกิดความทุกข์ (โดยเฉพาะความทุกข์ทางใจ) ได้อย่างเด็ดขาด ถามต่อว่า : สิง่ ทัง้ ปวงทีว่ า่ นัน้ คืออะไร ? คำตอบคือ : หลักธรรมในพระพุทธศาสนา จำแนกสิง่ ทัง้ ปวง ว่า คือ รูปธรรม และนามธรรม ถามว่า : แล้วสิง่ ทัง้ ปวงทำให้จติ เกิดความทุกข์ได้อย่างไร ? คำตอบคือ : โดยการไปรับรูต้ อ่ สิง่ ทัง้ ปวงนัน้ อย่างไม่ถกู ต้อง (=อวิชชา) หรือรับรูด้ ว้ ยความอยากจะให้สง่ิ ทัง้ ปวงเป็นไปตามความ ต้องการของตน (ตัณหา) หรือด้วยความยึดมัน่ ถือมัน่ (อุปาทาน) ถามว่า : ถ้าเช่นนัน้ จะทำให้จติ พ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร ? คำตอบคือ : ไม่รบั รูต้ อ่ สิง่ ทัง้ ปวงด้วยอวิชชา ตัณหา อุปาทาน ถามว่า : ทำอย่างไร จึงจะไม่รบั รูด้ ว้ ยอวิชชา ตัณหา อุปาทาน คำตอบคือ : ต้องมีปญ ั ญารับรูต้ อ่ สิง่ ทัง้ ปวงตามความเป็นจริง จนทำให้อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หมดสิน้ ไป เมือ่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หมดสิน้ ไปอย่างเด็ดขาด นัน่ ย่อม หมายความว่า สาเหตุแห่งทุกข์หมดสิน้ ไปอย่างเด็ดขาด บุคคลจึงบรรลุ วิมุตติสุข หรือความดับทุกข์ ซึ่งเป็นอุดมคติในพระพุทธศาสนา กลายเป็นพระอริยบุคคลทีอ่ ยูเ่ หนืออิทธิพลร้อยรัดเสียดแทงจากสิง่ ทัง้ ปวง ไม่มอี ะไร หรืออารมณ์ใด ๆ หรือสิง่ ทีร่ บั รูอ้ ะไรก็ตาม ทีจ่ ะทำให้เกิดทุกข์ ทางใจ และความหวัน่ ไหวใด ๆ ได้อกี ต่อไป ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ วิมตุ ติสขุ หรือความดับทุกข์ คือความ สุขทีเ่ กิดจากปัญญา เป็นความสุขพิเศษทีข่ น้ึ กับปัญญาของบุคคล โดยเฉพาะ ไม่ขน้ึ ต่ออารมณ์ทร่ี บั รูแ้ ต่อย่างไร ซึง่ แตกต่างจาก ความสุขทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วทัง้ หมด ทีต่ อ้ งขึน้ กับอารมณ์ทร่ี บั รูเ้ ป็น 45


สำคัญ จึงเป็นความสุขทีเ่ ป็นอุดมคติทแ่ี ท้จริง ทีไ่ ม่มสี ง่ิ รับรูห้ รือ อารมณ์อะไรทีจ่ ะมาครอบงำหรือร้อยรัดเสียดแทงให้เกิดความ ทุกข์ได้อกี ต่อไป ♦ ความสุขทีเ่ กิดจากปัญญา 3 ระดับ

ในหลักพุทธธรรม นอกจากจะได้แสดงให้เห็นถึงเหตุแห่งทุกข์ ว่า คือ อวิชชา ตัณหา และอุปาทาน แล้ว ยังได้จำแนกให้เห็นถึงความ หยาบและละเอียดของกิเลสเหล่านี้ ทีจ่ ะต้องถูกทำให้หมดสิน้ ไปตาม ลำดับอีกด้วย โดยได้แสดงไว้อย่างชัดเจนในหมวดธรรมที่เรียกว่า สังโยชน์ 10 ซึง่ มีความหมายว่า กิเลสเครื่องร้อยรัดให้จมอยู่ใน ความทุกข์ มี 10 ประการ ดังนี้ 1. สักกายทิฏฐิ (ความเห็นผิดในชีวติ หรือกายและจิตว่าเป็นตัวตน) 2. วิจกิ จิ ฉา (ความลังเลสงสัยในการดำเนินชีวติ ) 3. สีลพั พตปรามาส (ความงมงายในศีลและพรตทีใ่ ช้ในการ ดำเนินชีวติ ) 4. กามราคะ (ความติดใจในรสชาติของกามคุณ) 5. ปฏิฆะ (ความขัดเคืองใจ) 6. รูปราคะ (ความติดใจในรสชาติของรูปฌาน) 7. อรูปราคะ (ความติดใจในรสชาติของอรูปฌาน) 8. มานะ (ความถือตน) 9. อุทธัจจะ (ความฟุง้ ซ่าน) 10. อวิชชา (ความไม่รใู้ นอริยสัจ) สังโยชน์ใน 3 ข้อแรก กล่าวโดยสรุป เป็นกิเลสเครือ่ งร้อย รัดให้จมอยูใ่ นความทุกข์ อันเนือ่ งมาจากความเห็นผิดเกีย่ วกับ 46


ธรรมชาติของชีวติ ทัง้ ฝ่ายกายและจิต ตลอดจนแนวทางในการ ดำเนินชีวติ เป็นกิเลสเบือ้ งต้นทีจ่ ะต้องถูกทำให้หมดสิน้ ไปก่อน หาก บุคคลสามารถละได้อย่างเด็ดขาด จะทำให้กลายเป็นพระอริยบุคคล ขัน้ ต้น คือ พระโสดาบัน และหากสามารถทำราคะ โทสะ โมหะ ให้เบา บางลงไปได้อีก จะกลายเป็นพระอริยบุคคลระดับ พระสกทาคามี เป็นผูไ้ ม่มคี วามทุกข์อนั เนือ่ งมาจากความเห็นผิดใด ๆ ในเรือ่ งของชีวติ สังโยชน์ในข้อที่ 4 และ 5 กล่าวโดยสรุป เป็นกิเลสเครือ่ ง ร้อยรัดให้จมอยูใ่ นความทุกข์ อันเนือ่ งมาจากความยึดติดถือมัน่ ในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วย รูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือกามคุณ เป็นกิเลสลำดับถัดไปทีจ่ ะต้องถูกทำให้หมดสิน้ ไป หาก บุคคลสามารถละได้อย่างเด็ดขาด จะทำให้กลายเป็นพระอริยบุคคล ทีเ่ รียกว่า พระอนาคามี เป็นผูไ้ ม่มคี วามทุกข์อนั เนือ่ งมาจากการสัมผัส รับรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับเรือ่ งกามคุณหรือสิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรมทัง้ หมด สังโยชน์ในกลุม่ สุดท้าย คือข้อที่ 6 ถึง 10 กล่าวโดยสรุป เป็นกิเลสเครื่องร้อยรัดให้จมอยู่ในความทุกข์ อันเนื่องมาจาก ความยึดติดถือมัน่ ในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยนามธรรมล้วน ๆ หรือภาวะที่เป็นรูปฌานและอรูปฌาน ตลอดจนกิเลสในขั้นละเอียด ทั้งหมด เป็นกิเลสกลุ่มสุดท้ายที่จะต้องถูกทำให้หมดสิ้น หากบุคคล สามารถละได้อย่างเด็ดขาด จะทำให้กลายเป็นพระอริยบุคคลทีเ่ รียกว่า พระอรหันต์ เป็นผูไ้ ม่มคี วามทุกข์อนั เนือ่ งมาจากการสัมผัสรับรูใ้ นเรือ่ งที่ เป็นนามธรรมทัง้ หมดได้อย่างสิน้ เชิง และไม่มสี ง่ิ ใดทีเ่ มือ่ สัมผัสรับรูแ้ ล้ว จะสามารถร้อยรัดเสียดแทงให้เป็นทุกข์ได้อกี ต่อไปโดยเด็ดขาด เนื่องจากสังโยชน์ซึ่งเป็นเครื่องร้อยรัดให้จมอยู่ในความทุกข์ จำแนกได้เป็น 3 กลุม่ หรือ 3 ระดับใหญ่ ๆ ดังนัน้ ปัญญาทีเ่ ป็นเครือ่ งละ 47


หรือทำให้สงั โยชน์หมดไป จึงมี 3 กลุม่ หรือ 3 ระดับใหญ่ ๆ เช่นกัน คือ * ปัญญารู้เข้าใจในธรรมชาติชีวิตทั้งฝ่ายกายและจิต ตลอดจนแนวทางในการดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้อง * ปัญญารูแ้ จ้งในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยรูปธรรม * ปัญญารูแ้ จ้งในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยนามธรรม กล่าวโดยสรุป ปัญญาทัง้ หมดทีบ่ คุ คลจะต้องรูจ้ กั และพัฒนา ให้เกิดขึ้น อันดับแรกคือปัญญารู้เข้าใจในธรรมชาติชีวิตของตน ซึง่ เมือ่ เข้าใจแล้ว จะทำให้เห็นถึงเป้าหมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ ตลอดจน แนวทางในการดำเนินชีวติ ด้วย ปัญญาในเรือ่ งนีเ้ ป็นเบือ้ งต้นทีส่ ดุ หรือ พืน้ ฐานทีส่ ดุ ทีจ่ ะต้องรูก้ อ่ น หากยังไม่มคี วามรูใ้ นเรือ่ งนีอ้ ย่างถูกต้องและ เพียงพอแล้ว ก็ไม่สามารถเกิดปัญญารูถ้ กู ต้องในเรือ่ งอืน่ ๆ ต่อไปได้ มีผู้รู้บางท่านได้กล่าวคำที่น่าสนใจยิ่งไว้ว่า “การรู้จักตนเองเป็น จุดเริม่ ต้นของปรีชาญาณ” ปัญญาลำดับถัดไป คือปัญญารูเ้ ท่าทันความจริงของสิง่ ทีช่ วี ติ ต้องไปสัมผัสรับรูแ้ ละเกีย่ วข้องด้วย ซึง่ จำแนกได้เป็น 2 เรือ่ งใหญ่ ๆ คือ (1) เรือ่ งหรือสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก (ได้แก่ รูป เสียง กลิน่ รส สิง่ ต้องกาย หรือที่เนื่องด้วยรูป เสียง กลิ่น รส สิ่งต้องกาย หรือสิ่งที่เป็นรูปธรรม ทัง้ หมด) และ (2) เรือ่ งหรือสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายใน (ได้แก่ ความรูส้ กึ นึกคิด หรือสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรมทีพ่ น้ ไปจากเรือ่ งของรูป เสียง กลิน่ รส และสิง่ ต้องกาย หรือทีเ่ นือ่ งด้วยรูปธรรมทัง้ หมด) และเมือ่ พิจารณาพระพุทธ พจน์ทต่ี รัสไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 23 ข้อที่ 189 ทีว่ า่ “ธรรมทัง้ ปวง มีเวทนาเป็นทีป่ ระชุมลง” ซึง่ มีความหมายว่า ความเป็นไปของธรรม ต่าง ๆ ล้วนดำเนินไปสูจ่ ดุ หมายคือเวทนา หรือเพือ่ เวทนาเป็นสำคัญ จึงทำให้สรุปสาระสำคัญของสิง่ ทีช่ วี ติ จะต้องไปสัมผัสรับรูแ้ ละเกีย่ วข้อง 48


ด้วย ว่าคือ ความรูส้ กึ หรือเวทนา หรือรสชาติทเ่ี กิดขึน้ จากการไปสัมผัส รับรูก้ บั เรือ่ งหรือสิง่ ทัง้ ทีอ่ ยูภ่ ายนอกและภายในนัน่ เอง ดังนัน้ จึงต้องมี ปัญญาอีก 2 ระดับ คือ ปัญญาทีร่ เู้ ท่าทันในเรือ่ งรสชาติสมั ผัสที่ เนือ่ งด้วยรูปธรรม และปัญญาทีร่ เู้ ท่าทันในเรือ่ งรสชาติสมั ผัสที่ เนือ่ งด้วยนามธรรม ทีจ่ ะต้องฝึกฝนและพัฒนาให้บงั เกิดขึน้ เพือ่ ทำให้ ความทุกข์หมดสิน้ ไปได้เด็ดขาดอย่างแท้จริง ปัญญารูเ้ ข้าใจในธรรมชาติชวี ติ ทัง้ ฝ่ายกายและจิต ตลอดจนแนวทางในการดำเนินชีวติ ปัญญาประการแรกสุดทีบ่ คุ คลจะต้องรูจ้ กั และพัฒนาให้เกิด ขึน้ ก่อน ดังทีก่ ล่าวไปแล้ว คือปัญญารูเ้ ข้าใจตนเองหรือในธรรมชาติ ชีวติ ของตนเอง ตลอดจนแนวทางการดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้อง บุคคล เมือ่ มีปญ ั ญานีเ้ กิดขึน้ จะทำให้รจู้ กั และเข้าใจถึงชีวติ เป้าหมาย ของชีวติ ตลอดจนคุณค่าความหมายของสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ ชีวติ จึงทำให้สามารถรูว้ ธิ ใี ช้ชวี ติ หรือดำเนินชีวติ ได้อย่างถูกต้อง ปัญญาในพระพุทธศาสนาทีจ่ ะนับว่าเป็นปัญญาทีส่ ามารถส่งผล ให้บงั เกิดความสำเร็จอย่างแท้จริงนัน้ จะต้องเป็นปัญญาอย่างทีเ่ รียกว่า “ภาวนามยปัญญา” หรือ “ปัญญาทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั ิ จนประจักษ์แจ้ง ด้วยตนเอง” ไม่ใช่ปญ ั ญาทีเ่ กิดขึน้ จากการฟังหรือคิดพิจารณาเพียง แค่นน้ั ดังคำกล่าวทีว่ า่ “ไม้สอนช่างไม้” ซึง่ มีความหมายว่า ช่างไม้ทจ่ี ะเก่ง และมีฝมี อื จริงนัน้ เกิดขึน้ จากการลงมือปฏิบตั จิ ริงทีต่ วั ไม้นน้ั เอง โดยตัวไม้ จะสอนจนทำให้เกิดการเรียนรูแ้ ละพัฒนาฝีมอื แก่ชา่ งไม้อย่างแท้จริง การจะแสวงหาหรือเสริมสร้างเพือ่ ให้เกิดปัญญารูเ้ ข้าใจตนเองหรือใน ธรรมชาติชีวิตของตนเอง ตลอดจนแนวทางการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง 49


ก็เช่นเดียวกัน จะต้องเรียนรูแ้ ละลงมือปฏิบตั ไิ ปทีต่ วั ชีวติ โดยตรงเช่นกัน การปฏิบตั ทิ จ่ี ะทำให้เกิดปัญญาในขัน้ แรกนี้ ขอเสนอว่าให้สงั เกต เฝ้าดู และพิจารณาด้วยความแยบคายไปทีต่ วั ธรรมชาติของชีวติ โดยตรง ซึง่ หากบุคคลได้มกี ารสังเกตและเฝ้าดูให้มากพอแล้ว จะพบด้วยตนเองว่า แท้จริงแล้วธรรมชาติของชีวิต คือทั้งกายและจิตกำลังป่าวประกาศ ความจริงอยูต่ ลอดเวลา แต่เป็นทีน่ า่ เสียดายว่าเป็นเพราะบุคคลมัวแต่ไป คิดหรือแสวงหาคำตอบจากทีอ่ น่ื จึงทำให้ไม่เกิดปัญญารูแ้ จ้งเรือ่ งราวและ ความเป็นไปของธรรมชาติชวี ติ คือ กายและจิต ตามทีเ่ ป็นจริง และทำให้ไม่ สามารถดำเนินชีวติ หรือทำหน้าทีใ่ ห้ถกู ต้องต่อธรรมชาติชวี ติ จริง ๆ ได้ กล่าวโดยสรุป : เมือ่ บุคคลได้สงั เกต เฝ้าดู และพิจารณาตัว ธรรมชาติของชีวติ อย่างจริงจัง จะพบว่าธรรมชาติชวี ติ มีอยู่ 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายกาย และฝ่ายจิต นอกจากนัน้ ยังทำให้เกิดปัญญารูเ้ ห็นต่อไปอีกว่า “กาย” คือ ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากการประกอบกันเข้าของ ธาตุพน้ื ฐานทัง้ 4 คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ “กาย” มีความต้องการตามธรรมชาติ คือ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม และธาตุไฟ จากธรรมชาติภายนอกซึ่งอยู่ในรูปของปัจจัย 4 (= อาหาร, เครือ่ งนุง่ ห่ม, ทีอ่ ยูอ่ าศัย และยารักษาโรค) เพื่อ หล่อเลี้ยงและค้ำจุนชีวิตฝ่ายกาย ให้สามารถดำรงอยู่ และทำหน้าทีไ่ ด้เป็นปกติ “จิต” คือ ธรรมชาติรู้ “จิต” มีความต้องการตามธรรมชาติ คือ ความรูท้ ถ่ี กู ต้อง เพือ่ หยุดความสงสัย หยุดความดิน้ รนกระวนกระวาย หรือ หยุดปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากความไม่รขู้ องตัวจิตเอง เพราะตราบใดทีจ่ ติ ยังไม่รู้ถูกต้องหรือไม่รู้แจ้งในเรื่องใด เรื่องนั้นก็ยังมีอันพันพัวจิต 50


ให้ดน้ิ รนด้วยความงุนงงสงสัย ไม่สามารถสงบ นิง่ เป็นปกติได้ (โปรด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากหนังสือ “หลักธรรมพื้นฐานที่ชาวพุทธพึงรู้" หน้า 16 - 21 จัดพิมพ์โดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมือ่ พ.ศ.2551)

บุคคลเมือ่ เกิดปัญญารูเ้ ข้าใจธรรมชาติของชีวติ ทัง้ ฝ่ายกาย และฝ่ายจิตตามทีเ่ ป็นจริงดังทีก่ ล่าวมา จะทำให้รแู้ ละประจักษ์ชดั ถึง เรือ่ ง สัมมา มิจฉา วิชชา อวิชชา และ ตัณหา ตามทีพ่ ระพุทธองค์ ตรัสไว้ กล่าวคือ * ความรูท้ เ่ี ข้าใจชีวติ ฝ่ายกายและฝ่ายจิตทีถ่ กู ต้องตาม ธรรมชาติทเ่ี ป็นอยูจ่ ริง คือ สัมมา หรือ วิชชา * ความรู้ที่เข้าใจชีวิตฝ่ายกายและฝ่ายจิตที่ผิดไปจาก ธรรมชาติทเ่ี ป็นอยูจ่ ริง นัน่ คือ มิจฉา หรือ อวิชชา * ความต้องการทีไ่ ม่ใช่ความต้องการแท้ ๆ ของตัวชีวติ ความต้องการนัน้ คือ ตัณหา การมีปญ ั ญารูเ้ ข้าใจในธรรมชาติชวี ติ ทัง้ ฝ่ายกายและฝ่ายจิต ถูกต้องตามความเป็นจริง จะทำให้รู้เข้าใจถึงคุณค่าความหมายของ สิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ ตามความเป็นจริงไปด้วย จึงทำให้สามารถ เข้าไปทำหน้าทีต่ อ่ ทัง้ กายและจิต ตลอดจนสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับกายและ จิตได้ถกู ต้อง และได้รบั สิง่ ทีเ่ ป็นคุณค่าและสาระทีแ่ ท้จริงอย่างเต็มเปีย่ ม ไม่ดำเนินชีวติ ไปในทางทีผ่ ดิ ทีบ่ คุ คลหลงผิดไปเอง (อวิชชา) หรือตาม ความต้องการผิด ๆ ทีธ่ รรมชาติแท้ ๆ ไม่มคี วามต้องการ (ตัณหา) และทีส่ ำคัญ ปัญญาทีร่ เู้ ข้าใจในธรรมชาติของชีวติ ตลอดจน เห็นแนวทางการดำเนินชีวติ ทีถ่ กู ต้องนี้ ยังทำให้รวู้ า่ “เกิดมาทำไม ?” กล่าวโดยสรุป คือ เกิดมาเพือ่ ดูแลหล่อเลีย้ งกายให้มสี ขุ ภาพแข็งแรง เพือ่ เป็นฐานรองรับการแสวงหาความรูท้ ถ่ี กู ต้องของจิตจนกว่า 51


จิตจะรู้ถูกต้องอย่างสมบูรณ์ มีผลทำให้จิตมีภาวะปลอดโปร่ง จากความทุกข์หรือความดิน้ รนทัง้ ปวง ปัญญาทีเ่ กิดขึน้ นีแ้ หละทำให้สามารถละความเห็นผิดในเรือ่ ง ของชีวิต (=ละสักกายทิฏฐิ) ละความลังเลสงสัยในการดำเนินชีวิต (=ละวิจกิ ฉิ า) ทำให้ไม่ตอ้ งฝากชีวติ ไว้กบั สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือการกระทำ อะไรบางอย่างที่งมงายอีกต่อไป (=ละสีลัพพตปรามาส) เพราะมี ความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องนัน้ เป็นเครือ่ งนำทางแทน บุคคลจึงเป็นผู้ ไม่มที กุ ข์หรือปัญหาใด ๆ อันเกิดขึน้ เนือ่ งมาจากความเห็นผิดในเรือ่ ง ชีวติ และแนวทางดำเนินชีวติ ของตนอีกต่อไป ปัญญารูแ้ จ้งในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยรูปธรรม บุคคลเมือ่ มีปญ ั ญารูเ้ ข้าใจถูกต้องในธรรมชาติชวี ติ ทัง้ ฝ่ายกายและ จิต ตลอดจนแนวทางในการดำเนินชีวติ แล้ว จะเป็นผูร้ จู้ กั ตนเอง และรูช้ ดั ว่าการเกิดมามีชวี ติ นี้ เพือ่ อะไร และจะดำเนินชีวติ ต่อไปอย่างไร ปัญญาในลำดับถัดไปทีจ่ ะต้องฝึกฝนและพัฒนาให้เกิดขึน้ คือ ปัญญาทีร่ เู้ ท่าทันความจริงของเรือ่ งหรือสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายนอก ทีช่ วี ติ ต้องไปสัมผัสรับรูแ้ ละเกีย่ วข้องด้วย ซึง่ ทัง้ หมดเมือ่ ประมวลแล้ว ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งต้องกาย หรือสิ่งที่เป็นรูปธรรมที่จิตสัมผัสรับรู้ โดยตรง หรือแม้แต่ทอ่ี ยูใ่ นความจำได้หมายรู้ หรือในความคิดปรุงแต่ง ทีเ่ ป็นการสัมผัสรับรูท้ างใจก็ตาม ซึง่ สรุปรวบยอดมาอยูท่ ร่ี สชาติของการ สัมผัสรับรูท้ เ่ี นือ่ งกับ รูป เสียง เป็นต้น หรืออาจใช้คำแทนว่า ทีเ่ นือ่ งด้วย รูปธรรม หรือหากกล่าวให้ชดั ลงไป ก็คอื รสชาติของกามสุขนัน่ เอง หากไม่มปี ญ ั ญาในระดับนีเ้ กิดขึน้ จิตของบุคคลจะตกอยูภ่ ายใต้ ความร้อยรัดเสียดแทงจากรสชาติอนั เกิดจากการสัมผัสรับรู้ รูป เสียง กลิน่ รส 52


และสิง่ ต้องกาย ซึง่ เป็นไปทัง้ ในทางทีห่ ลงใหลมัวเมา (=กามราคะ) และ ในด้านขัดเคืองใจ (=ปฏิฆะ) ภาวะจิตของบุคคลจึงตกอยูใ่ นลักษณะขึน้ ๆ ลง ๆ ฟู ๆ แฟบ ๆ ไปตามอิทธิพลของสิง่ ทีส่ มั ผัสรับรูน้ น้ั ตลอดเวลา ปัญญาที่จะทำให้สังโยชน์กลุ่มนี้หมดสิ้นไป คือปัญญาที่ พิจารณาเห็นว่ารสชาติของกามสุขทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เป็นของหลอกทีเ่ กิดขึน้ จากจินตนาการไปเองของตนเอง และเห็นชัดว่าเป็นสาเหตุสำคัญทีก่ อ่ ให้เกิดความทุกข์ ความคับแค้นใจ และโทษต่าง ๆ ติดตามมามากมาย ทัง้ ต่อบุคคลและสังคม นอกจากนัน้ ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า การจะ ทำให้เกิดปัญญาละกามราคะและปฏิฆะให้หมดสิน้ ไปได้จริง ยังจะต้อง อาศัยความสุขจากฌานมาทดแทนด้วย เพราะธรรมชาติของจิตอย่างไร เสียจะต้องมีความสุขเป็นอาหารหล่อเลีย้ ง ดังนัน้ บุคคลทีจ่ ะปฏิบตั ใิ ห้ เกิดปัญญาในระดับนีไ้ ด้ จึงต้องเพียรฝึกสมาธิดว้ ย ภาวะของฌานเกี่ยวข้องกับการเกิดปัญญาละสังโยชน์ คือกามราคะ และปฏิฆะ ได้อย่างไร ? คำตอบในทีน่ ้ี คือ ในขณะทีจ่ ติ ดำรงอยูใ่ นฌานนัน้ ยังไม่มเี รือ่ ง ความดำริหรือจินตนาการใด ๆ เกิดขึน้ ภาวะของจิตทีอ่ ยูใ่ นฌาน เป็นภาวะ ที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ต่อเมื่อออกจากฌาน การรับรูต้ อ่ รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย จึงค่อยปรากฏขึน้ และจึง มีความดำริหรือจินตนาการทีท่ ำให้เกิดเรือ่ งของกามและกามสุขตามมา การทีบ่ คุ คลสามารถดำรงจิตให้อยูใ่ นฌานและออกจากฌานได้ ทำให้ ประจักษ์ถงึ ต้นตอการเกิดขึน้ ของความดำริหรือจินตนาการทีท่ ำให้เกิดกาม ว่าเกิดขึน้ เมือ่ ใด และเกิดขึน้ ได้อย่างไร เมือ่ ได้ประจักษ์ถงึ การเกิดขึน้ ของ ความดำริหรือจินตนาการนี้ จึงทำให้เกิดปัญญารูแ้ จ้งขึน้ และทำให้บคุ คล สามารถละ กามราคะ และปฏิฆะ ได้อย่างเด็ดขาดในทีส่ ดุ 53


บุคคลผูม้ ปี ญ ั ญารูแ้ จ้งถึงระดับนี้ จะเป็นผูห้ มดสิน้ ความทุกข์ อันเนือ่ งมาจากการครอบงำหรือเสียดแทงของรูป เสียง กลิน่ รส และ สิ่งต้องกาย หรือจากรสชาติอันเนื่องมาจากธรรมชาติฝ่ายรูปธรรม ทัง้ หมดได้อย่างเด็ดขาด เป็นผูห้ มดสิน้ ทุกขเวทนาทางใจโดยประการ ทัง้ ปวง จะไม่มกี ารสัมผัสรับรูใ้ ด ๆ ทีเ่ นือ่ งกับรูป เสียง กลิน่ รส และ สิง่ ต้องกาย ทีท่ ำให้เกิดความทุกข์ได้อกี ต่อไป ปัญญารูแ้ จ้งในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยนามธรรม ปัญญาในระดับสุดท้าย คือ ปัญญาทีร่ เู้ ท่าทันความจริงของ เรือ่ งหรือสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายในล้วน ๆ พ้นไปจากเรือ่ งของ รูป เสียง กลิน่ รส และสิ่งต้องกายอย่างสิ้นเชิง หากกล่าวอย่างเคร่งครัดคือภาวะของ รูปฌานและอรูปฌาน โดยเฉพาะรสชาติสัมผัสที่เนื่องด้วยรูปฌาน และอรูปฌาน หรือฌานสุขนัน่ เอง หากไม่มปี ญ ั ญาในระดับนีเ้ กิดขึน้ จิตของบุคคลจะยังมีความ หวัน่ ไหวและความสะดุง้ (เช่นขนลุก) ซึง่ เป็นทุกข์ทล่ี ะเอียด เกิดขึน้ ด้วย อำนาจของความยินดีพอใจในภาวะของรูปฌาน (รูปราคะ) หรือใน ภาวะของอรูปฌาน (อรูปราคะ) หรือด้วยความรูส้ กึ ทีถ่ อื ตัวถือตน ด้วยการ เปรียบเทียบกับผูอ้ น่ื (มานะ) หรือด้วยความฟุง้ ของจิตทีย่ งั ละได้ไม่สนิท (อุทธัจจะ) หรือด้วยความทีย่ งั รูไ้ ม่ถงึ ทีส่ ดุ ของทุกข์จริง (อวิชชา) ปัญญาที่จะทำให้สังโยชน์ในกลุ่มนี้หมดสิ้นไป คือปัญญาที่ พิจารณาเห็นว่ารสชาติของฌานสุขทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ก็ยงั ตกอยูใ่ นสภาพของ ไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา จนกว่าจะเกิดปัญญาสมบูรณ์ ทีเ่ รียกว่า สัมมาญาณะ มีผลทำให้ถอนความเพลิดเพลิน และความ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในรสชาติสมั ผัสทีเ่ นือ่ งด้วยนามธรรมทัง้ หมดได้ โดยเฉพาะ 54


กิเลสในระดับลึกทีส่ ดุ คือความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นตัวตนและของตน ละสังโยชน์ เบือ้ งสูงได้ทง้ั หมด บรรลุอดุ มคติสงู สุดในพระพุทธศาสนา เป็นพระอรหันต์ ผู้หมดสิ้นอุปาทานโดยประการทั้งปวง เป็นผู้ไม่มีความหวั่นไหวและ ความสะดุง้ อันเนือ่ งจากสิง่ ใด ๆ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็นผูด้ บั ทุกข์ในอริยสัจ ได้อย่างหมดจดและสิน้ เชิง ไม่มกี จิ อะไรทีจ่ ะต้องกระทำเพือ่ ความพ้น ทุกข์อกี ต่อไป บทสรุป

ดังที่ได้เรียบเรียงมา คงจะช่วยทำให้ท่านผู้อ่านได้เห็น เรือ่ งราวและแง่มมุ ของ “ความสุข” ในมิตติ า่ ง ๆ อย่างรอบด้าน อีกทัง้ สามารถนำไปฝึกหัดพัฒนา จนทำให้ทกุ ย่างก้าวของชีวติ ดำเนินไปด้วยรอยยิ้มแห่งความสุข และเพิ่มพูนความละเอียด ประณีตของความสุขยิง่ ขึน้ ๆ ตามลำดับ จนบรรลุความสุขทีเ่ ป็น อุดมคติ คือ วิมุตติสุข ซึ่งเป็นความสุขที่จะนำมนุษย์และโลก ทัง้ มวล ออกจากวิกฤตการณ์ทง้ั หลายได้อย่างแท้จริง ทัง้ นีเ้ พราะ วิกฤตการณ์ทง้ั หลายทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทำของมนุษย์ ล้วนมี สาเหตุมาจาก อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หรือสังโยชน์ทง้ั 10 นี้ นัน่ เอง สันติสุขและสันติภาพทั้งส่วนบุคคลและสังคม จะไม่ สามารถบังเกิดขึน้ ได้อย่างแท้จริงและยัง่ ยืน ตราบเท่าทีบ่ คุ คลยัง ไม่สามารถพัฒนาตนจนบรรลุถงึ ...วิมตุ ติสขุ

55


ดรรชนีคน้ คำ กรรมฐาน40 33, 37 กามคุณ 10, 11, 14, 47 กามฉันท์ 39 กามราคะ 46, 53 กามสุข 11, 13, 22, 23, 24, 25, 26, 28, 29, 30, 32, 36, 52 กามารมณ์ 21 กำหนัด 7, 21 กิเลส 4, 11 ขณิกสมาธิ 33, 34, 43 ความดับ(สิ้นไปแห่ง)ทุกข์ 3, 4, 7, 8, 15, 45 ความหลุดพ้น 5, 7, 8 จตุตถฌาน 10 จินตนาการ 14, 16, 22, 23, 24, 25, 29, 36, 37, 53 ฉันทราคะ 9 ชรา 9 ชาติ 9 ฌานสุข 11, 31, 32, 36, 42, 43, 54 ตติยฌาน 10 ตัณหา 4, 5, 9, 45, 51, 55 ถีนะมิทธะ 39 ทุกขเวทนาทางกาย 8, 19, 20 ทุกขเวทนาทางใจ 8, 19, 23 ทุกขัง 54 ทุติยฌาน 10 นิพพานสุข 11 นิพพิทา 6 นิวรณ์ 36, 39

เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน 11, 12 บาป 9 ปฏิฆนิมิต 23 ปฏิฆสัมผัส 16 ปฏิฆะ 46, 53 ปฏิภาคนิมิต 11, 12, 35 ปฐมฌาน 10, 35 ปราโมทย์ 6 ปริคคหะ 9 ปริเยสนา 9 ปลิโพธ 33 ปัจจัย 4 7, 50 ปัญญา 7, 8, 44, 45, 47, 48, 49, 51, 52, 53, 54 ปัสสัทธิ 6 ปีติ 6 ปุถุชน 4 พยาบาท 27, 39 พรหมจรรย์ 21 พระสกทาคามี 47 พระโสดาบัน 47 พระอนาคามี 11, 47 พระอรหันต์ 11, 19, 47, 55 พระอริยบุคคล 11, 13 พระอริยะ 27 ภพ 9 มรณะ 9 มัจฉริยะ 9 มานะ 46, 54 มาร 27 เมถุน 21 ยถาภูตญาณทัสสนะ 6 รสชาติ 5, 7, 9

รูปฌาน 11, 35, 47, 54 รูปราคะ 46, 54 รูปสัญญา 11 ลาภะ 9 โลกธรรม 24 วิกฤตการณ์ 2, 55 วิจิกิจฉา 39, 46, 52 วิชชา 51 วิญญานัญจายตนฌาน 10, 12 วินิจฉัย 9 วิมุตติ 6 วิมุตติญาณทัสสนะ 6 วิมุตติสุข 4, 11, 15, 44, 45, 55 วิราคะ 6 วิหารธรรม 41 เวทยิตสุข 10, 12 ศีล 6, 30 สมาธิ 6, 32, 33, 34, 35, 36, 37, 38, 39, 40, 41, 42 สักกายทิฏฐิ 46, 52 สังโยชน์ 4, 46, 47, 53, 54, 55 สัญญาเวทยิตนิโรธ 11, 12, 15 สันติภาพ 2, 55 สันติสุข 2, 55 สัมมาญาณะ 54 สารัมภะ 27 สีลัพพตปรามาส 46, 52 สุขเวทนาทางกาย 10, 14, 18, 20 สุขเวทนาทางใจ 10, 14, 20, 21, 23, 28, 42

56

สุขเวทนาที่มีอามิส 10, 14, 15, 21, 28 สุขเวทนาที่ไม่มีอามิส 10, 14, 15, 31, 42 สุภนิมิต 23, 24 อกุศลธรรม 9 อทุกขมสุขเวทนา 8, 17 อธิจิต 40 อธิวจนสัมผัส 22 อนัตตา 54 อนิจจัง 54 อนุสติ10 36, 37 อภิชฌา 27 อภิญญา 40 อรูปฌาน 11, 12, 47, 54 อรูปราคะ 46, 54 อรูปสัญญา 12 อวิชชา 4, 44, 45, 46, 51, 54 อวิปปฏิสาร 6 อเวทยิตสุข 10, 12 อัชโฌสาน 9 อัปปนาสมาธิ 33, 35 อากาสายตนฌาน 10, 12 อากิญจัญญายตนฌาน 10, 12 อารักขะ 9 อาหาเรปฏิกูลสัญญา 37 อิทธิปาฏิหาริย์ 40 อุคคหนิมิต 34, 35 อุดมคติ 1, 2, 3, 4, 5, 7, 8, 44, 55 อุทธัจจะ 46, 54 อุทธัจจะกุกกุจจะ 39 อุปจารสมาธิ 33, 34, 43 อุปาทาน 4, 9, 45, 55


รายชือ่ หนังสือทีไ่ ด้จดั พิมพ์มาแล้วของผูเ้ รียบเรียง พ.ศ. 2548 “ความหมายคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนาชีวติ ทีส่ มบูรณ์แบบ” พ.ศ. 2549 “ความพอเพียง คือทางรอดของมนุษย์และสังคม” พ.ศ. 2550 “หลักธรรมพืน้ ฐานทีช่ าวพุทธพึงรู”้ พ.ศ. 2551 “คูม่ อื บัณฑิตของแผ่นดิน” พ.ศ. 2552 “คูม่ อื ปัญญา ในพระพุทธศาสนา” พ.ศ. 2553 “ปฏิจจสมุปบาท ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์” พ.ศ. 2554 “สติปฏั ฐาน 4 ฉบับวิเคราะห์-สังเคราะห์” พ.ศ. 2555 “อริยสัจสำหรับทุกคน”

57


ก่อนจบเล่ม หวังว่าทุกท่านทีไ่ ด้เปิดอ่านหนังสือเล่มนีม้ าจนถึงหน้าสุดท้าย จะพบว่าหลักพระพุทธศาสนานัน้ เป็นของทีท่ นั สมัยอยูเ่ สมอ และสามารถนำมาปรับใช้เพือ่ ความสมบูรณ์ของชีวติ ได้ในทุกมิติ ทัง้ สำหรับผูศ้ กึ ษา ผูป้ ฏิบตั ธิ รรม หรือแม้แต่การดำเนินไป..ของชีวติ ต้องขอบคุณผูเ้ ขียนทีส่ ามารถถ่ายทอดหลักธรรมของพระพุทธองค์ ได้ละเอียด ลึกซึง้ แต่เข้าใจง่าย พอเหมาะแก่กาลเวลาและยุคสมัย ทำให้ผทู้ เ่ี ปิดผ่านหน้าสุดท้ายของหนังสือเล่มนี.้ .... ไปพบ“ความสุขในทุกมิต”ิ ได้จริง กรรชิต จิตระทาน ผูอ้ ำนวยการสำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม

58



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.