ไตรสิกขา ระบบการศึกษาของพระพุทธเจ้า

Page 1


: ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา

จัดพิมพและเผยแพรโดย ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ เอื้ อเฟ อมอบภาพดอกบัว


"ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา” เรียบเรียง : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ

พิมพครั้งที่ 1 : กุมภาพันธ พ.ศ. 2560 ธรรมสถาน สํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จํานวน 4,000 เลม หลวงพอปฏิจจะ สัมมัตตะ10 (พระวินัย สิริธโร) จํานวน

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒ.ิ ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา.-- กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2560. 78 หนา. 1. พุทธศาสนา -- หัวขอธรรม. I. ชื่อเรือ่ ง. 294.315 ISBN 978-616-407-121-68-616-551-989-2 บรรณาธิการอํานวยการ : ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.ระวี ภาวิไล, รองศาสตราจารย ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ, นายกรรชิต จิตระทาน บรรณาธิการ : เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ออกแบบปก : นายพงศศักดิ์ สุวรรณมณี พิสูจนอกั ษร : นางปาลิดา จิรภาธงชัย ประสานงาน : นายจาตุรนต กิตติสุรินทร นายมาโนช กลิ่นทรัพย, นางนิติพร ใบเตย พิมพที่ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.0-2215-1991-2 ลิขสิทธิ์ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3018 Website : http://www.dharma-centre.chula.ac.th Email : dharma-centre@chula.ac.th จัดทําโดย : ธรรมสถานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




คํานํา โดย รองศาสตราจารย ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ ที่ปรึกษาอธิการบดี (ดานศิลปวัฒนธรรม) **************************************************** “ไตรสิ กขา” ถือไดวาเปนหั วใจหลักของพระพุ ทธศาสนาที่ สําคัญ หากพิจารณาโดยผิวเผินอาจไมเห็นความลึกซึง้ และสาระสําคัญ อืน่ ๆ อันประกอบกันอยูก เ็ ปนได เป นเรื่ องที่ นายิ นดี อย างยิ่ งที่ ทานผู อํา นวยการธรรมสถาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เห็นความสําคัญและพิจารณานํา “ไตรสิกขา” ขึน้ มาเขียนขยายความใหเกิดความเขาใจทีก่ วางขวาง แกสาธุชนทีส่ นใจ ใครรู สาระทีเ่ รียบเรียงเขียนขึน้ นี้ กลายเปนหนังสือเลมกะทัดรัด พกพา สะดวก นับวาชวนหยิบอานเพือ่ การศึกษาไดเปนอยางดี “ไตรสิกขา” แมเปนประเด็นทีค่ ุนๆ กันโดยทั่วไป แตการทีจ่ ะ อธิบายใหรอบดานไมผดิ พลาด ทั้งมีความลึกซึง้ ยึดโยงกับสาระสําคัญ อื่ นๆ ทางศาสนา เอาเขาจริง ก็คงไม งายอย างที่ หลายคนคาดคิ ด ดวยเหตุทพี่ ระพุทธศาสนามีมติ อิ นั ลุม ลึก เปรียบไดดงั หาดทรายทีค่ อ ยๆ ลาดเอียงเทลงสูท อ งทะเลอันประหนึง่ วายากจะหยัง่ ไปใหไดถึงทีส่ ุด และโดยที่ทานผูเขียนมีจิตอันเปนกุศล ดวยการทํางานดาน ศาสนามานาน จึงยอมไดมโี อกาสพบปะพูดคุยและฟงการบรรยายจาก ปราชญ นักการศาสนา รวมถึงวิทยากรผูร อู ยางตอเนือ่ ง ทําใหไดเห็นถึง แงมุมตางๆ อีกทั้งทานยังมีโอกาสออกฝกปฏิบัติใหเกิดความแจมชัด ในโอกาสตางๆ ดวยตนเอง จนเกิดความมัน่ ใจ จึงลงมือเขียน เรียบเรียง สามารถยกหมวดธรรมทีเ่ กือ้ กัน สนับสนุนกัน มารอยเรียงเขาไว ยอมทําให


ผูอ า นเห็นและเขาใจไดทงั้ ภาพรวมและความลุม ลึกของพระพุทธศาสนา ไดเปนอยางดี จะโดยตัง้ ใจหรือไมก็ตาม หนังสือเลมนีย้ อมถือไดวาเปนความ พยายามสืบตออายุพระพุทธศาสนาใหยนื ยาวออกไป ในดินแดนทีเ่ ปน พระพุทธภูมิ คือประเทศไทยนี้ ใหพุทธศาสนิกไดอานไดเขาใจกันอยาง กวางขวาง โดยประการนี้ จึงขอถือโอกาสอนุโมทนาในความตัง้ ใจดีของ ผูเขียนไว ณ ที่นี้ และเชื่ออยางยิง่ วาเปนหนังสือที่เปยมไปดวยคุณคา สมควรทีเ่ ยาวชนผูใ ครศกึ ษา ควรไดอา นกัน 10 มกราคม 2560


คําบอกเลา ของผูเ รียบเรียงหนังสือ ***************************** หนัง สือ “ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุ ทธเจ า” ที่ เรียบเรียงนี้ มีจุ ดเริ่ มต นมาจากการสะดุ ดใจในคําวา “สิกขา” ซึ่งมี ความหมายเดียวกันกับ “ศึกษา” และเมือ่ พิจารณาหลักธรรมทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอนในหมวดตาง ๆ ทีน่ ําไปสูค วามหลุดพน ก็ไมพบวามีหมวดธรรม อืน่ ใดทีท่ รงใชคําวา “สิกขา” เลย ซึง่ เห็นวามีความนาสนใจมาก และเมื่ อไดพิจารณาตอไปว า โดยเนื้ อแทของไตรสิ กขานั้ น พระพุทธเจาไดทรงนํามาจากอริยมรรค มีองค 8 โดยไดนาํ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ จัดเปนศีลขันธ (กองศีล) นําสัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ จัดเปนสมาธิขันธ (กองสมาธิ) และนําสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จัดเปนปญญาขันธ (กองปญญา) ก็ยิ่งทําใหเกิดความนาสนใจมากยิ่งขึ้ นไปอีก ทั้ง ๆ ที่ในชวงตนของ การตรัสรู พระพุทธเจาสอนแตเรือ่ งของอริยมรรค มีองค 8 ในอริยสัจ 4 ซึง่ นับวาไดผลดี มีสาวกรูต ามและบรรลุเปนพระอริยบุคคลเปนจํานวนมาก แตตอมาในภายหลังทําไมจึงทรงนําอริยมรรค มีองค 8 มาจัดใหมเปน ไตรสิกขา ซึ่งโดยทัว่ ไปแลวหากเปนเรือ่ งเดียวกัน มีจุดมุง หมายอยาง เดียวกัน การจัดในระบบใหมยอมจะตองมีอะไรที่แปลกไปกวา มากไป กวา หรือพิเศษออกไปกวา หลังจากทีไ่ ดตงั้ ประเด็นทีเ่ ปนขอสังเกตขางตน จึงไดพยายาม พิจารณาหาขอมูล ซึ่งสวนใหญจากพระสูตรตาง ๆ ในพระไตรปฎกที่ พระพุทธเจาตรัสแสดงเกีย่ วกับเรือ่ งไตรสิกขา มาเพือ่ ศึกษาและวิเคราะห ทําใหไดพบวา การจัดระบบคําสอนใหมเปนไตรสิกขา ทําใหเห็นลําดับ


ขัน้ ตอนและวิธกี ารปฏิบตั ติ งั้ แตเบือ้ งตน จนถึงจุดหมายคือความหลุดพน จากทุกขอ ยางชั ดเจน นอกจากนั้ นยั งทําให เห็ นความเชื่ อมโยงและ สอดคลองกันของหลักธรรมในหมวดตาง ๆ หรือภาพรวมของระบบคําสอน ทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอนทัง้ หมด อยางทีไ่ มปรากฏในหมวดธรรมอืน่ ๆ ที่ นําไปสูค วามหลุดพนเชนเดียวกัน ในหนังสือนีไ้ ดวเิ คราะหไววา มีอยางนอย 5 ประเด็น ซึง่ ไดนําเสนอไวใหทา นผูอ านไดชว ยกันพิจารณาตอไป จากความรูค วามเขาใจทีไ่ ดรบั จากการศึกษาและวิเคราะหในการ เรียบเรียงหนังสือ ทําใหเกิดความเชือ่ มัน่ อยางสูงวา ไตรสิกขาทีพ่ ระพุทธเจา จัดขึน้ ใหมจากอริยมรรค มีองค 8 นี้ นาจะทรงมีจดุ มุง หมายใหเปนระบบ การศึกษาที่เปนมาตรฐาน หรือระบบกลางของการศึกษาคําสอนใน พระพุทธศาสนา ซึง่ เหมาะสําหรับบุคคลทัว่ ไป หรือผูเ ริม่ ตนสนใจ รวมทัง้ การนําไปเผยแผเพือ่ ใหบงั เกิดประโยชนและความสุขแกมหาชนอยาง กวางขวาง หนังสือ “ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา” ที่ เรียบเรียงนี้ นอกจากจะเนนในเรื่องการทําความเขาใจในหลักธรรม คําสอนแลว ยังมุง จะแสดงใหเห็นวาเรือ่ งไตรสิกขาเปนระบบการศึกษา และปฏิบตั ทิ คี่ รบถวนและสมบูรณแบบอยางไร มีความเหมาะสมสําหรับ การจัดเปนหลักสูตรการศึกษาและปฏิบัตธิ รรมสําหรับคนทัว่ ไปเพียงใด เพือ่ บรรลุอดุ มคติของชีวิตตามทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอน อนึ่ ง เนื่ องจากช วงเวลาที่เ ขียนหนัง สือ อยู ในชวงเวลาแหง การถวายราชสักการะและทําบุญอุทิศเพื่ อถวายเปนพระราชกุศลแด พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ซึง่ เสด็จสูส วรรคาลัย จึงขอนอมเกลานอมกระหมอมรวมถวายบุญใด ๆ ทัง้ หมดอันจะเกิดขึน้ จาก การเรียบเรียงหนังสือนี้ แดพระเจาอยูห วั ในพระบรมโกศพระองคนนั้ . 28 ธันวาคม 2559


สารบัญ

.............................................................. คํานํา โดย รองศาสตราจารย ดร.สันติ ฉันทวิลาสวงศ ที่ปรึกษาอธิการบดี (ดานศิลปวัฒนธรรม) คําบอกเลาของผูเรียบเรียงหนังสือ

 เรื่องทั่วไปเกีย่ วกับ “ไตรสิกขา”  ที่มาและความหมายของ “ไตรสิกขา” จาก “อริยมรรคมีองค 8” มาจัดระบบใหมเปน “ไตรสิกขา” มีขอดีหรือขอพิเศษอะไรเพิม่ ขึ้น ?  ไตรสิกขา ทําใหเห็น : การปฏิบตั ิธรรมที่เปนไปตามลําดับ  ไตรสิกขา ทําใหเห็น : เสนแบงของภพภูมิในวัฏสงสาร  ไตรสิกขา ทําใหเห็น : เครือ่ งมือและขั้นตอนในการละสังโยชน ไปตามลําดับ ไตรสิกขา ทําใหเห็น : การละกิเลสจากหยาบไปหาละเอียด ไตรสิกขา ทําให : เขาถึงความสุขที่ยั่งยืนในทุกระดับ การปฏิบตั ิ “ไตรสิกขา”  การปฏิบตั ิ “ศีล”  การปฏิบตั ิศีลไดอยางถูกตอง จะตองรูจักและจําแนกได ถึงความแตกตางระหวางศีลทีเ่ ปนวินัย กับศีลที่เปนธรรม  ศีลที่เปนวินัยและศีลทีเ่ ปนธรรม แตกตางกันอยางไร ?  ในกรณีศลี ที่เปนธรรม ยังจะตองรูจักปฏิบัตใิ หถูกตอง จึงจะไดรบั ผลที่นําไปสูค วามดับทุกขอยางแทจริง  กลาวโดยสรุป ศีลที่เปนธรรม และการปฏิบตั ิใหถกู ตอง ในแบบของธรรม จึงทําใหเกิดศีลในองคมรรค ทีเ่ ปน องคประกอบนําไปสูความดับทุกขไดจริง  สัมมาทิฏฐิเปนพื้นฐานของการปฏิบัตศิ ีลทีเ่ ปนธรรม

หนา

1 4 6 8 11 13 15 16 19 19 20 20 22 23 24


สารบัญ

หนา

 สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งชีวิต  สัมมาทิฏฐิในเรื่องปจจัย 4  สัมมาทิฏฐิในเรื่องสิง่ อํานวยความสะดวกสบาย  สัมมาทิฏฐิในเรื่องการเรียน  สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการมีครอบครัว  สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการทํางาน  สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งตําแหนง  สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งเกียรติ  เคล็ดวิธีปฏิบตั ิตอสัมมาทิฏฐิที่มากมาย  สรุปการปฏิบัติศีลใหครบถวน จะตองมีทั้งศีลที่เปนธรรม และศีลที่เปนวินัย  การปฏิบตั ิ “สมาธ”ิ  ทําไมจึงตองปฏิบตั ิสมาธิ  อานิสงสในดานตาง ๆ ของการปฏิบัติสมาธิ  เปรียบไดกับการใชเชือกผูกวัวปาไวกับหลัก วัวปาจะคอย ๆ สงบ และนิ่งอยูกับหลัก  เปรียบไดกับการจับแกวที่ภายในบรรจุน้ําทีม่ ีตะกอน ใหนงิ่ ไว จะไดน้ําใสในทีส่ ุด  เปรียบไดกับการใชเลนสนูนรับแสง ทําใหได จุดรวมแสง ทีส่ วางและมีพลังสูง  เปรียบไดกับการสรางบานใหกับจิต  เปรียบไดกับการฝกหัดควบคุมจิตใหอยูใ น อํานาจของสติ  เปรียบไดกับการพักผอนทางจิตทีด่ ีที่สดุ  เปรียบไดกับการสรางความสุขแกชวี ิต

24 30 30 30 31 31 32 32 33 34 35 35 37 37 38 39 40 41 42 43


สารบัญ

หนา

 วิธีปฏิบัติสมาธิ  การปฏิบตั ิ “ปญญา”  ปญญาในไตรสิกขา เปนปญญาที่มงุ ถอนอุปาทาน  พิจารณาปญญาในแงเพื่อละสังโยชน จะเห็นไดชัดเจนกวา  การปฏิบตั ิปญญา 3 ระดับ จําแนกตามระดับของการ ละสังโยชน   การปฏิบตั ิปญญาพอประมาณ ในระดับพระโสดาบัน และพระสกทาคามี  การปฏิบตั ิปญญาพอประมาณ ในระดับ พระอนาคามี  การปฏิบตั ิปญญาสมบูรณในระดับพระอรหันต  การปฏิบัติไตรสิกขาแบบประยุกต  การปฏิบัติโดยอาศัยสติเปนแกนนําในการปฏิบัติ  บทสรุป  ดรรชนีคนคํา  รายชื่อหนังสือที่ไดจดั พิมพแลวของผูเ รียบเรียง  ทายเลม โดย นายกรรชิต จิตระทาน ผูอํานวยการสํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม

44 47 47 48 49 50 56 58 60 60 63 64 65 67


เปนศูนยกิจกรรมทางศาสนาของมหาวิทยาลัย เปนแหลง รวมของศาสนิกในศาสนาตาง ๆ ที่สามารถอยูรวมกันโดยไมมี ความขัดแยง เพื่อนําพลังแหงคําสอนของพระศาสดาทั้งหลาย มาบูรณาการใหเกิดสันติสุขและสันติภาพแกบุคคลและสังคม มุงมั่นปฏิบัติภารกิจ เพื่อตอบสนองปณิธานจุฬาลงกรณมหาวิ ทยาลั ย ที่ เน นเรื่ องความรู แ ละคุ ณธรรม โดยอาศั ย หลักศาสนธรรม ตลอดจนจัดกิจกรรมผสมผสาน โดยไมจํากัด แบ งแยกพื้ นฐานความเชื่ อทางศาสนา และมุ งหวั งให เป น ที่พึ่งแกสังคมในด านการเสริมสรางสันติสุขและสันติภาพ


: ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา ******************************

เรือ่ งทัว่ ไปเกีย่ วกับ “ไตรสิกขา” “ไตรสิกขา” หรือ “ขอปฏิบตั ิทตี่ องศึกษา 3 ประการในพระพุทธศาสนา” คือเรือ่ ง ศีล สมาธิ และปญญา อยางทีร่ ูจกั กันโดยทั่วไป แตหากจะใหมคี วามหมายที่รัดกุมและเฉพาะเจาะจงวาเปน ศีล สมาธิ ปญญาทีส่ ามารถนําไปปฏิบัตเิ พือ่ ผลคือความดับทุกขดบั กิเลสไดอยาง เด็ดขาด ซึง่ เปนอุดมคติของพระพุทธศาสนาอยางแทจริงนัน้ พระพุทธเจาไดใชคําอีกชุดหนึ่งวา อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปญ  ญาสิกขา ดังทีป่ รากฏในพระไตรปฎก เลมที่ 20 ขอที่ 529 คําวา “สิกขา” เปนภาษาบาลี ตรงกับคําวา “ศึกษา” ในภาษา สันสกฤต แปลวา “ขอปฏิบตั ทิ ตี่ อ งศึกษา” มีความหมายแตกตางจาก คําวา “ศึกษา” ทีน่ ํามาใชในภาษาไทยปจจุบนั ซึง่ ใชจนกรอนลงมาเหลือ ความหมายเปนเพียงการเลาเรียนใหมีความรูตามหนังสือหรือตําราที่ เรียนเทานัน้ ในภาษาไทยจึงตองมีคาํ วา “ศึกษาและปฏิบตั ”ิ ใชควบคู กัน เพือ่ ใหมีเรือ่ งของการปฏิบัตริ วมเขามาดวย แตคํา “สิกขา” ที่ใชใน หมายเหตุ : พระไตรปฎกทีใ่ ชอางอิงในหนังสือนี้ คือ ฉบับหลวง ป 2521

1


พระพุทธศาสนาจริง ๆ มีความหมายเทากับการศึกษาและปฏิบัตติ ามที่ ใชในภาษาไทยรวมกัน กลาวคือ จะตองลงมือฝกฝนปฏิบัตจิ นสามารถ ทําอยางทีเ่ ลาเรียนมาไดดว ย เปนที่นา สังเกตวา คําสอนเกีย่ วกับระบบปฏิบัตทิ ี่พระพุทธเจา ตรัสสอน เพื่อใหเหมาะสมกับบุคคลหรือชุมชน ซึ่งเปนที่รจู ักกันอยาง แพรหลายในแวดวงพุทธบริษัท อาทิ อริยมรรค มีองค 8, ไตรสิกขา, สติปฏฐาน 4 และสมถวิปส สนา มีเพียงหมวดธรรม คือ ไตรสิกขา เทานัน้ ทีท่ รงใชคําวา “สิกขา” การที่ พระพุทธเจาทรงใชคําวา “สิกขา” ในหมวดธรรม คือ “ไตรสิกขา” ทําใหสนั นิษฐานไดวา ทรงมีจดุ มุง หมายตรัสสอน “ไตรสิกขา” ใหเปนระบบหรือหลักสูตรกลางหรือหลักสูตรมาตรฐานสําหรับการศึกษา และปฏิบตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนา อาจกลาวไดวา เปนระบบทีเ่ หมาะสม ที่สดุ ที่จะแนะนําแกบุคคลทั่วไปทีเ่ ริ่มสนใจและตองการศึกษาปฏิบัติ ธรรมในพระพุทธศาสนา ในระบบของ “ไตรสิกขา” นอกจากจะเปนหลักสูตรทีม่ ีเนือ้ หา ครบถวนและสมบูรณแบบแลว ยังไดแสดงวิธีการศึกษาและปฏิบัตใิ ห เห็นอยางเปนขัน้ เปนตอน ตั้งแตระดับเบื้องตนจนถึงระดับสูงสุด และ ยังเปนระบบทีแ่ สดงใหเห็นความเชือ่ มโยงกับหมวดธรรมทีส่ ําคัญอืน่ ๆ อยางกวางขวาง เชน สังโยชน 10, อริยบุคคล 4, เรือ่ งกิเลส, เรือ่ งภพภูม,ิ เรื่องความสุขประเภทตาง ๆ ทําใหผูศึกษาและปฏิบัติตามระบบของ ไตรสิกขา เกิดความเขาใจและชัดเจนในทุกขัน้ ตอน ตลอดจนเห็นความ เชื่อมโยงและสอดคลองกันในคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหมด ซึ่งจะ สงผลใหเกิดความราบรืน่ ความมัน่ ใจ และความกาวหนาในการศึกษา และปฏิบัตเิ ปนอยางดีและอยางมีประสิทธิภาพ 2


หนังสือ “ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา” ที่ เรียบเรียงขึน้ นี้ มีวตั ถุประสงคจะนําเสนอเรือ่ งของ “ไตรสิกขา” หรือ “ศีล สมาธิ ปญญา”ในแงมมุ ตาง ๆ อยางกวางขวาง ใหเหมาะกับคนรุน ใหม ที่ไดรับการฝกฝนอบรมมาในระบบการศึกษาปจจุ บัน ซึ่งเนนความ เปนเหตุเปนผล และชมชอบกระบวนวิธวี ิเคราะห - สังเคราะหใหเห็น ความสัมพันธและความเชือ่ มโยงกันของหลักธรรมตาง ๆ อยางรอบดาน เพื่อแสดงใหเห็นวา “ไตรสิกขา” ที่พระพุทธเจาตรัสสอนและจัดขึ้นนี้ เปนระบบการศึกษาและปฏิบัติที่ครบถวนและสมบูรณแบบอยางไร มีความเหมาะสมสําหรับการจัดเปนหลักสูตรการศึกษาและปฏิบัติธรรม สําหรับคนทัว่ ไปเพียงใด เพือ่ บรรลุอดุ มคติทพี่ ระพุทธเจาตรัสสอน ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิกขา ๓ นี้ ๓ เปนไฉน คือ อธิศลี สิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ อธิปญ  ญาสิกขา ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อธิศีลสิกขาเปนไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีศีล ฯลฯ สมาทานศึกษาอยูในสิกขาบท ทั้งหลาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกวาอธิศีลสิกขา ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ก็อธิจติ ตสิกขาเปนไฉน ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย นี้เรียกวาอธิจิตตสิกขา ดู กรภิ กษุ ทั้ งหลาย ก็ อธิ ป ญญาสิ กขาเป นไฉน ดู กรภิ กษุ ทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ทุกข ฯลฯ นี้ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย นี้เรียกวา อธิปญญาสิกขา ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิกขา ๓ นี้แล ฯ พระไตรปฎก เลมที่ ๒๐ ขอที่ ๕๒๙

3


ทีม่ าและความหมายของ “ไตรสิกขา” ไตรสิกขา เปนระบบการศึกษาและปฏิบัติที่พระพุทธเจาทรง จัดขึน้ ใหมภายหลังจากการตรัสรู ไดทรงนําเอาอริยมรรค มีองค 8 ใน อริยสัจ 4 กลาวคือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) สัมมาสังกัปปะ (ความ ดําริชอบ) สัมมาวาจา (วาจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (การกระทําชอบ) สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ) สัมมาวายามะ (ความเพียรชอบ) สัมมาสติ (ความระลึกชอบ) และสัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นชอบ) มาสรางเปนระบบใหมและใหคําเรียกวา “ไตรสิกขา” โดยไดนําอริยมรรค มีองค 8 มาจัดรวมกลุม ใหม เปน ศีล สมาธิ และปญญา ตามที่ ปรากฏในพระไตรปฎกเลมที่ 12 ขอที่ 508 ดังนี้ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ จัดเปนเรือ่ ง ปญญา สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ จัดเปนเรือ่ ง ศีล สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ จัดเปนเรือ่ ง สมาธิ การรูว า ไตรสิกขา มีทมี่ าจาก อริยมรรค มีองค 8 มีนยั สําคัญยิง่ ทําใหเขาใจชัดเจนถึงจุดมุงหมายของไตรสิกขา วามิไดจัดขึน้ เพือ่ วัตถุประสงคอื่นเลย แตมีจดุ มุงหมายใหเปนวิธปี ฏิบัติเพื่อเขาถึงความดับ ทุกขเปนหลัก แมวา ไตรสิกขาจะสามารถกอใหเกิดอานิสงสทพี่ เิ ศษอืน่ ๆ ไดมากมาย และในทางกลับกันการจัดอริยมรรค มีองค 8 ใหเปนกลุม และรวมลงเปนไตรสิกขา ทําใหรูชัดเจนยิ่งขึ้นวาการปฏิบัติองคมรรค ทัง้ หมดมีวตั ถุประสงคแทจริงเพือ่ อะไร ? ศีล มีทมี่ าจากสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ ในอริยมรรค มีองค 8 ซึ่งเกี่ยวของกับเรือ่ งคําพูด การกระทําทางกาย และการเลีย้ งชีวติ ดังนัน้ จึงสรุปไดวา ศีลเปนขอปฏิบตั เิ พือ่ การฝกฝน 4


พัฒนาพฤติกรรมการแสดงออกทางกายและทางวาจาทีไ่ ปกระทํา ตอสิง่ ตาง ๆ ภายนอก ทั้งทีเ่ ปนบุคคล สิง่ ของ และสิง่ แวดลอม ใหถูกตอง ความหมายของคําวา “ถูกตอง” ในที่นี้ คือ ไมกอใหเกิด ความเดือดรอน หรือความรอนใจทัง้ ตอตนเองและสังคม สมดังพระพุทธพจนที่ตรัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 24 ขอที่ 1 วา “ศีลมีอวิปปฏิสาร (คือความไมเดือดรอน, ความไมรอ นใจ) เปนอานิสงส” สมาธิ มีทมี่ าจากสัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ ใน อริยมรรค มีองค 8 และเมือ่ พิจารณาจากคําวา “อธิจติ ตสิกขา” ที่เปน คูเ ทียบของคําวา “สมาธิ” แลว ทําใหทราบชัดเจนยิง่ ขึน้ ถึงจุดมุงหมาย ของการปฏิบตั สิ มาธิวา เพือ่ ปรับปรุงพัฒนาใหเกิดคุณภาพของจิตทีพ่ ึง ประสงค ดังนั้ นจึงสรุปไดวา สมาธิเปนข อปฏิ บัติ เพื่อการฝกฝน พัฒนาจิตใหมี คุณภาพที่ เหมาะสม กล าวคือ มีพ ลัง มีค วาม รอบคอบ ไมประมาท มีความมั่นคง ทําใหจิ ตมีสภาวะดีงาม มีประสิทธิภาพ และมีสขุ ภาวะ ปญญา มีทมี่ าจากสัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ ในอริยมรรค มีองค 8 ซึง่ เปนเรือ่ งของความรูค วามเขาใจ การรูเ ทาทันความเปนจริง รวมถึงทาทีหรือความคิดตองการตอสิง่ ตาง ๆ ดังนัน้ จึงสรุปไดวา ปญญา เปนขอปฏิบตั เิ พือ่ การฝกฝนพัฒนาในดานการรอบรูแ ละรูเ ทาทัน ความเปนจริงของสิง่ ตาง ๆ จนสามารถนําความรูม าใชเปนเครือ่ ง นําทางในการดําเนินชีวิต ทําใหมคี วามคิดหรือความตองการตอ สิง่ ตาง ๆ อยางถูกตอง และทีเ่ ปนจุดมุง หมายสูงสุด คือการฝกฝน ใหมีทา ทีที่ถูกตองในการรับรูตอ สิง่ ตาง ๆ จนไมมสี ิ่งใดทีจ่ ิตรับรู แลว จะสามารถรอยรัดเสียดแทงจิต ทําใหจติ เกิดความทุกขได อีกตอไป 5


จาก “อริยมรรค มีองค 8” มาจัดระบบใหมเปน “ไตรสิกขา” มีขอ ดีหรือขอพิเศษอะไรเพิม่ ขึน้ ? ดังที่ไดกลาวไปแลววา อริยมรรค มีองค 8 คือขอปฏิบตั ิทเี่ ปน ไปเพือ่ ความดับทุกขดับกิเลส เปนหัวขอหนึง่ ในอริยสัจ 4 ทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสรู มีเรือ่ งทีน่ าสนใจและนาพิเคราะหมากวา อริยมรรค มีองค 8 ซึง่ เปนขอธรรมที่พระพุทธเจาตรัสรู และทรงตรัสสอนไดผลดีมา ตั้งแตแสดงปฐมเทศนา แตทําไมจึงมาทรงจัดระบบใหมขึ้นมา เปนไตรสิกขาอีก หรือวาการศึกษาและปฏิบัติในระบบไตรสิกขามี ขอดีหรือพิเศษกวาระบบของอริยมรรค มีองค 8 อยางไร ? ในระบบปฏิบตั ิ อริยมรรค มีองค 8 มีความสมบูรณในแงมมุ ทีว่ าใหปฏิบัตใิ นทุกเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับการกระทํา (ความเห็น ความคิด คําพูด การกระทําทางกาย การเลีย้ งชีพ ความเพียร การระลึก และการ ทําจิตใหตั้งมัน่ )ใหถูกตอง ซึ่งจะเห็นไดวา อริยมรรค มีองค 8 ทุกองค ขึน้ ตนดวย “สัมมา” แปลวา “ถูกตอง” แตในระบบของอริยมรรค มีองค 8 ไมไดแสดงใหเห็นถึงความเชือ่ มโยงหรือความสัมพันธกบั หลักธรรมใน หมวดตาง ๆ เทาใด นอกจากนั้นไมไดแสดงใหเห็นวาจะตองมีกําลัง หรือคุณภาพขององคมรรคแตละองค แก - ออน ตางกันอยางไร จึงจะ ทําใหสามารถละสังโยชนในแตละระดับ เพื่อใหบรรลุความเปนพระ อริยบุคคลไปตามลําดับได แมวาจะมีคําทีแ่ สดงใหเห็นถึงองคมรรคใน แตละระดับ กลาวคือ โสดาปตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค แตก็ไมไดแสดงใหเห็นถึงความแตกตางกันขององค ประกอบในมรรคแตละระดับเลย แมแตการปฏิบตั ิในระบบอืน่ ๆ เชน สติปฏฐาน 4 ก็เชนกัน 6


มีความสมบูรณในแงที่แสดงใหรวู ิธรี ะลึกรูต ออารมณหรือสิ่งตาง ๆ ให ถูกตอง ซึ่งทั้งหมดประมวลลงในการใหมีสติระลึ กใหถูกตองในกาย เวทนา จิต และธรรม ดังเชนพระพุทธพจนทตี่ รัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 19 ข อที่ 700 ว า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเที่ยวไปใน อารมณ ซึง่ เปนของบิดาตน อันเปนโคจร เมื่อเธอทั้งหลายเทีย่ วไปใน อารมณ ซึง่ เปนของบิดาตน อันเปนโคจร มารจักไมไดชอง มารจักไมได อารมณ ก็อารมณอนั เปนของบิดา อันเปนของโคจร คืออะไร? คือสติปฏฐาน 4” แตในระบบของสติปฏฐาน 4 ก็เชนเดียวกันกับในระบบของ อริยมรรค มีองค 8 คือ ไมไดบอกใหชัดวา จะตองปฏิบตั ิเทาใด หรือใหมี คุณภาพเพียงใด ทัง้ ในสวนของสติและอารมณของสติปฏ ฐานทัง้ 4 หมวด จึงจะทําใหสามารถละสังโยชนไปตามลําดับ และบรรลุเปนพระอริยบุคคลไปตามลําดับ ในกรณีของ สมถะและวิปสสนา ก็เชนเดียวกัน การปฏิบัติ สมถะมีจดุ มุง หมายใหจติ เกิดความสงบ ตัง้ มัน่ และแนวแน นําไปสูผ ลคือ สมาธิในระดับตาง ๆ ตัง้ แตขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิ สวนวิปสสนาซึง่ ในประเทศไทยนิยมการปฏิบัตใิ นระบบวิปสสนาญาณ 16 ไดแสดงใหเห็นการปฏิบตั ทิ เี่ ปนขัน้ ตอนไว 16 ขัน้ ตอน แตกไ็ มไดแสดง ใหเห็นวา การปฏิบัติเพื่อละสังโยชน และบรรลุเปนพระอริยบุคคลไป ตามลําดับ มีคณ ุ ภาพหรือความแกออนของการปฏิบัตใิ น 16 ขัน้ ตอน ในแตละรอบทีนํ่ าไปสูค วามเปนพระอริยบุคคลแตละระดับนัน้ แตกตางกัน อยางไร ตอจากนี้ไป จะไดแสดงใหเห็นถึงนัยตาง ๆ ที่เปนความพิเศษ ของไตรสิกขา วาเปนระบบที่มีความพิเศษและสมบูรณแบบ ทั้งใน สวนของการศึกษาและปฏิบัติ ทีเ่ ปนไปตามลําดับ ตัง้ แตระดับเบื้องตน 7


ไปจนถึงระดับสูงสุด รวมทั้งความสัมพันธและเชือ่ มโยงกับหมวดธรรม อืน่ ๆ อยางกวางขวาง ไตรสิกขา ทําใหเห็น : การปฏิบัติธรรมที่เปนไปตามลําดับ ขอพิเศษประการแรกของไตรสิกขา คือ แสดงใหเห็นถึง การปฏิบตั ธิ รรมทีเ่ ปนไปตามลําดับอยางชัดเจน กลาวคือ เริม่ จาก ศีลกอน จากนั้นจึงไปสูส มาธิ และปญญา สมดังพระพุทธพจนทตี่ รัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 10 ขอที่ 75 วา สมาธิอันศีลอบรมแลว ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ปญญา อันสมาธิอบรมแลว ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ และในพระไตรปฎกเลมที่ 22 ขอที่ 22 ที่วา “...ขอที่ภกิ ษุไม รักษาศีลขันธใหบริบรู ณแลว จักเจริญสมาธิขันธใหบริบรู ณไดนนั้ ไมใช ฐานะที่จะมีได ขอที่ภกิ ษุไมเจริญสมาธิขนั ธใหบริบรู ณแลว จักบําเพ็ญ ปญญาขันธใหบริบูรณไดนนั้ ไมใชฐานะทีจ่ ะมีได...” การเริม่ ตนที่ ศีล กอน มีความหมายวาการปฏิบัตธิ รรมในพระพุทธศาสนา เริม่ ตนจากการฝกฝนการกระทําทางกายและทางวาจาตอ สิ่งตาง ๆ ที่อยูภ ายนอกกอน ไมวา จะเปนบุคคล สิ่งมีชีวติ อืน่ สิ่งของ หรือแมแตสงิ่ แวดลอมในธรรมชาติ กลาวโดยสรุปคือสิ่งทีเ่ ปนรูปธรรม ภายนอกทั้งหลายใหถูกตอง ซึง่ อันที่จริงก็คือเรือ่ งราวในชีวติ ประจําวัน ทั่วไปของบุคคลนั่นเอง ตัง้ แตในเรือ่ งพืน้ ฐาน เชน การรูจ ักกิน - อยู ให ถูกตอง การเกีย่ วของกับปจจัย 4, สิง่ อํานวยความสะดวกสบาย ตลอดจน การทําหนาทีต่ อ กันระหวางบุคคลในสังคม รวมไปถึงกิจกรรมตาง ๆ เชน การเรียน, การทํางาน, การมีครอบครัว ฯลฯ 8


จะเห็นไดวา พระพุทธเจาทรงวางหลักการปฏิบตั ธิ รรมใน ลําดับแรก คือศีล โดยใหฝก หัดปฏิบตั ติ นกระทําสิง่ ตาง ๆ ในชีวติ ประจําวันใหถูกตองเสียกอน ซึง่ ชาวพุทธจํานวนมากอาจเขาใจ ผิดและมองขามเรื่องนี้ไป ไมเห็นวาการใชชีวิตประจําวันหรือ การทํากิจการงานตาง ๆ ใหถกู ตอง วาเปนการปฏิบตั ธิ รรม หากในขัน้ ตนคือศีลนีย้ งั ไมสามารถปฏิบตั หิ รือกระทําใหถกู ตอง ใหเกิดความเรียบรอยและราบรืน่ อยางเพียงพอแลว นัน่ ยอมเปนเครือ่ ง แสดงวา บุคคลนัน้ ยังไมพรอมหรือไมสามารถทีจ่ ะปฏิบัตธิ รรมในลําดับ ถัดไป คือ สมาธิและปญญาใหบงั เกิดผลสําเร็จตอไปได เพราะเปนเรือ่ ง ที่เกี่ยวเนื่องกับจิตที่เปนนามธรรมที่ ละเอียดและประณีตยิ่งกว า ใน พระไตรปฎก เลมที่ 19 ขอที่ 264 พระพุทธเจาจึงไดตรัส เปรียบศีลเปน เสมือนแผนดินทีเ่ ปนทีร่ องรับกุศลธรรมทัง้ หลาย หากไมมศี ลี เปนพืน้ ฐาน กอนแลว การปฏิบตั เิ พือ่ บรรลุกศุ ลธรรมอืน่ ๆ ทีล่ ะเอียดประณีตยิง่ ขึน้ ไป ยอมไมสามารถกระทําได เมือ่ ปฏิบตั ิในขัน้ ศีล คือเรือ่ งของกายและวาจาที่ไปกระทําตอ สิง่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูภ ายนอกไดถกู ตองและเรียบรอยพอสมควร กลาวคือไมทํา ใหเกิดผลของการกระทําทีเ่ ปนความเดือดรอน หรือความกระทบกระทัง่ จากภายนอกทีม่ ารบกวนจิตใจแลว จึงทําใหมพี นื้ ฐานหรือความพรอมที่ จะปฏิบตั ใิ หมคี วามกาวหนาในธรรมขัน้ สูงหรือประณีตยิง่ ขึน้ ตอไป ขั้นตอนปฏิบัติในขั้นถัดไป คือ สมาธิ ซึ่งเนนเขามาที่ตัวจิต โดยตรง มุงฝกฝนปรับปรุงจิตใหมีคุณภาพที่เหมาะสม คือมีลกั ษณะ ปริสุทโฺ ธ (ผองใส), สมาหิโต (ตั้งมั่น) และ กมฺมนีโย (คลองแคลวควร แกการงาน) มีสุขภาวะ และอยูในอํานาจการควบคุม จึงจะนําจิตที่ 9


ไดรับการฝกฝนอบรมแลวนี้ ไปใชงาน สรางสรรคหรือแกปญ  หาตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป ขั้นตอนการปฏิบตั ิในลําดับสุดทาย คือปญญา เปนขั้นตอน ฝกฝนการใชจิตที่ไดรบั การฝกอบรมในขัน้ ตอนของสมาธิ ไปเรียนรูเ พือ่ ใหรเู ทาทันความเปนจริงของสิง่ ตาง ๆ เพือ่ จะไดนําความรูน ั้นไปสรางสรรค แกปญ  หา และอุปสรรคตาง ๆ ของชีวติ และที่เปนเปาหมายหรือ อุดมคติในพระพุทธศาสนา คือการดับทุกขดบั กิเลสใหหมดสิน้ ไปอยาง เด็ดขาด หรือการทําใหจิตเปนอิสระอยูเหนืออิทธิพลรอยรัดเสียดแทง จากสิง่ ทัง้ ปวง มีอปุ มาทีท่ ําใหเห็นภาพและความเชือ่ มโยงของศีล สมาธิ และ ปญญา ที่ทาํ หนาทีต่ อเนือ่ งไปตามลําดับ ทีช่ ัดเจนยิง่ ขึน้ โดยเปรียบกับ การตัดตนไมใหขาด ซึง่ ในลําดับแรกจะตองหาทีย่ ืนใหเหมาะ ๆ หรือที่ มั่นคงเสียกอน จากนั้นก็ใหเลือกเครือ่ งมือใหเหมาะสม เชน ขวาน หรือ มีดพรา ซึง่ ตองมีขนาดหรือน้ําหนักใหมากพอ ไมใชมดี เล็กทีใ่ ชทําครัว หรือมีดผาตัดทีม่ ขี นาดเล็ก ในลําดับสุดทายเปนขัน้ ตอนทีจ่ ะใชเครือ่ งมือ ตัดหรือกรีดเขาไปในเนือ้ ไมเพือ่ ทําใหตน ไมขาดออกจากกันจริง ๆ ขึน้ กับ ความคมของเครือ่ งมือ ซึง่ หากยิง่ มีความคมมากเทาไร ก็ยงิ่ ทําใหขาด ออกจากกันไดงายขึน้ แตหากเปนเครือ่ งมือทีท่ อื่ ก็ยอมตัดตนไมใหขาด ไมได หรือไดกอ็ าจจะยาก อุปมาทีก่ ลาวนี้ เปรียบพืน้ ทีย่ ืนที่เหมาะ ๆ ไดกับศีล ; น้ําหนัก ของเครือ่ งมือเปรียบไดกับสมาธิ และความคมของเครือ่ งมือเปรียบได กับปญญา

10


ไตรสิกขา ทําใหเห็น : เสนแบงของภพภูมิในวัฏสงสาร ขอพิเศษประการที่ 2 การจัดระบบ “ไตรสิกขา” ทําใหเห็นแง มุมทีเ่ ชือ่ มโยงและสอดคลองกับหมวดธรรมอืน่ ๆ อีกหลายหมวด ซึง่ จะ ทําใหเขาใจถึงวัตถุประสงคของการปฏิบัตธิ รรมในระบบไตรสิกขาอยาง รอบดานยิง่ ขึน้ สําหรับในบทนี้จะชี้ใหเห็นถึงความเชื่อมโยงของระบบ ไตรสิกขากับการจัดแบงภพภูมใิ นพระพุทธศาสนา หลักธรรมในพระพุทธศาสนา จัดแบงภพภูมเิ ปน 3 ระดับใหญ ๆ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ แตหากแจกแจงใหละเอียดก็จัดไดเปน 31 ภพภูมิ ซึ่งภพภูมิในทีน่ ี้อาจหมายถึงทีเ่ ปนสถานทีใ่ นมิติตา ง ๆ หรือ เปนภาวะระดับตาง ๆ ของจิตก็ได ดังนี้ 1. กามภพ คือภพทีย่ นิ ดีพอใจในกามคุณ หรือ รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ที่นารักนาใคร จําแนกยอยเปน 2 ระดับ คือ กามภพที่เปนทุคติ (เรียกอีกชื่อวาอบายภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย และสัตวเดรัจฉาน) และกามภพทีเ่ ปนสุคติ (คือภพที่เปนมนุษย และ เทวดาซึง่ จําแนกเปน 6 ชัน้ ) 2. รูปภพ คือภพที่ยนิ ดีพอใจในภาวะของรูปฌาน หรือภพ ทีเ่ ปนรูปพรหม ซึง่ จําแนกเปน 16 ชัน้ 3. อรูปภพ คือภพทีย่ ินดีพอใจในภาวะของอรูปฌาน หรือ ภพทีเ่ ปนอรูปพรหม ซึง่ จําแนกเปน 4 ชัน้ ความหมายของคํา ว า “วั ฏ สงสาร” คื อจิ ตของบุ คคลยั ง เพลิดเพลินยินดีและติดของหรือเวียนวายอยูในภาวะของภพภูมิทงั้ 3 นีเ้ อง ไมสามารถหลุดพนหรือเปนอิสระจากภพภูมเิ หลานี้ 11


การจัดระบบไตรสิกขา ซึง่ จําแนกเปนศีล สมาธิ ปญญา ในแง ที่ เนื่ องดวยภพภูมินี้ ทําให เห็ นเสนแบ งหรื อเขตแดนที่ ชัดเจน ของสิ่งที่นําไปสูภ พภูมิตา ง ๆ แมกระทัง่ การจะหลุดพน ไปจากภพภูมติ า ง ๆ ไปตามลําดับ โดย ศีล เปนเสนแบงเขตแดนระหวางกามภพทีเ่ ปนทุคติ กับ กามภพทีเป ่ นสุคติ โดยศีลในทีน่ หี้ มายรวมถึงศีลทีเ่ ปนธรรมซึง่ มีสมั มาทิฏฐิ เปนพื้นฐาน และศีลที่เปนวินัย หรือสิกขาบททัง้ หลาย ซึง่ จะไดอธิบาย ใหชดั เจนตอไปในบททีว่ า ดวย การปฏิบตั ิ “ศีล” สมาธิ ในระดับทีเ่ ปนฌาน เปนเสนแบงเขตแดนระหวางกามภพทัง้ หมด กับภพในระดับของฌาน คือรูปภพและอรูปภพ ปญญา เปนเสนแบงเขตแดนระหวางภพในระดับของฌาน คือรูปภพและอรูปภพ กับนิพพาน หมายความวา ... : หากบุคคลกระทําผิดศีล โดยเฉพาะศีล 5 ซึ่งเปนศีลพืน้ ฐาน จะนําบุคคลใหตกไปสูภ พภูมิในระดับกามภพทีเ่ ปนทุคติ หรือภพภูมิที่ เปนอบาย : หากบุคคลไมกระทําผิดศีล หรือปฏิบัติตนอยูในศีล จะนํา บุคคลไปสูภ พภูมทิ เี่ ปนกามสุคติ คือภพทีเ่ ปนมนุษยและเทวดา : หากบุคคลสามารถทําสมาธิจนถึงระดับรูปฌานหรืออรูปฌาน ก็จะนําบุคคลใหพน จากกามภพทัง้ หมด ไปสูร ปู ภพและอรูปภพ กลายเปน รูปพรหมและอรูปพรหม : และทีส่ ดุ หากบุคคลเจริญปญญาจนรูแ จงในอริยสัจ ก็จะทําให พนจากทัง้ รูปภพและอรูปภพ คือพนจากภพภูมทิ ั้งหมด บรรลุนิพพาน ซึง่ เปนอุดมคติสงู สุดตามหลักพระพุทธศาสนา 12


ไตรสิกขา ทําใหเห็น : เครื่องมือและขั้นตอนในการละสังโยชนไปตามลําดับ ขอพิเศษประการที่ 3 ไตรสิกขาไดแสดงใหเห็นวาจะตอง ปฏิบตั ไิ ตรสิกขาอยางไร จึงจะทําใหสามารถละสังโยชนไปไดตาม ลําดับ ในพระไตรปฎก เลมที่ 20 ขอที่ 526 พระพุทธเจาไดตรัสสอน ไวอยางชัดเจนวา การจะละสังโยชนซงึ่ เปนเครือ่ งผูกมัดบุคคลใหจมอยู ในกองทุกข หรือเวียนวายอยูในวัฏสงสาร ซึง่ มี 10 ประการนัน้ จะตอง อาศัยกําลังของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา ทั้งหมดรวมกัน ไมใชเพียงอยางหนึง่ อยางใดเทานั้น นอกจากนั้นยังตองการคุณภาพที่ แตกตางกันไปตามความหยาบและละเอียดของสังโยชนที่จะละดวย โดยไดแสดงใหเห็นวา : การปฏิบตั ทิ ที่ ําให ศีลบริบรู ณ สมาธิพอประมาณ ปญญา พอประมาณ จะทําใหมีกําลังที่ ทําให สังโยชน 3 คือสักกายทิ ฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส หมดสิ้นไปได และทําใหบุคคลบรรลุ เปนพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน : การปฏิบตั ทิ ที่ ําให ศีลบริบรู ณ สมาธิพอประมาณ ปญญา พอประมาณ และหากสามารถทําใหราคะ โทสะ และโมหะ เบาบางลง จะทําใหมกี ําลังทีท่ ําใหสงั โยชน 3 หมดสิน้ ไปได และทําใหบคุ คลบรรลุ เปนพระอริยบุคคลระดับสกทาคามี : การปฏิบตั ทิ ที่ ําให ศีลบริบรู ณ สมาธิบริบรู ณ ปญญาพอ ประมาณ จะทําใหมีกาํ ลังทีท่ ําใหสังโยชน 5 หมดสิน้ ไปได กลาวคือ เพิม่ สังโยชนอกี 2 ขอ คือกามราคะ และปฏิฆะ และทําใหบคุ คลบรรลุ เปนพระอริยบุคคลระดับอนาคามี 13


: การปฏิบตั ทิ ที่ ําให ศีลบริบรู ณ สมาธิบริบรู ณ ปญญาบริบรู ณ จะทําใหมีกําลังที่ทาํ ใหสังโยชน 10 หมดสิน้ ไปได กลาวคือ เพิม่ สังโยชนอีก 5 ขอ คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา และทําใหบุคคลบรรลุเปนพระอริยบุคคลระดับอรหันต จะเห็นไดวาการปฏิบัตทิ จี่ ะทําใหเกิดคุณภาพจนถึงระดับทีล่ ะ สังโยชนใหหมดสิ้นนั้น จะตองฝกปฏิบัติใน ศีล สมาธิ และปญญา ทัง้ 3 เรือ่ งไปพรอม ๆ กัน แตในขัน้ แรกจะตองปฏิบตั ใิ นศีลใหบริบรู ณกอ น เพือ่ ละจากกามภพทีเ่ ปนทุคติหรืออบายภูมิ จากนัน้ จึงปฏิบตั ิสมาธิให บริบูรณ เพื่อละจากกามภพทั้งหมดแมที่เปนกามภพทีเ่ ปนสุคติ และ สุดทายคือปฏิบัตปิ ญญาใหบริบูรณ เพือ่ ละรูปภพและอรูปภพทัง้ หมด คําวา “บริบรู ณ” ของศีล สมาธิ และปญญา มีความสําคัญมาก มีความหมายวาจะต องทําใหไดถึงระดับที่ ไมมีความผิดพลาดใด ๆ เกิดขึน้ เชน - ศีลบริบรู ณ หมายความวา จะไมมกี ารปฏิบตั ิทผี่ ิดศีลใด ๆ เกิดขึน้ อีก - สมาธิบริบรู ณ หมายความวา จะไมมคี วามยินดีในกามใด ๆ เกิดขึน้ อีก - ปญญาบริบรู ณ หมายความวา จะไมมคี วามยินดีในรูปฌาน และอรูปฌานใด ๆ เกิดขึน้ อีก สําหรับวิธปี ฏิบัตเิ พือ่ ละสังโยชนแตละระดับนัน้ จะกลาวถึงอีก ครัง้ หนึง่ ในบททีว่ า ดวยการปฏิบตั ไิ ตรสิกขา

14


ไตรสิกขา ทําใหเห็น : การละกิเลสจากหยาบไปหาละเอียด ขอพิ เศษประการที่ 4 ของไตรสิกขา ทําใหเห็นความ เชือ่ มโยงของ ศีล สมาธิ และปญญา กับการละกิเลสระดับตาง ๆ ในคัมภีรชั้นอรรกถา ไดจําแนกกิเลสจากหยาบไปหาละเอียด เปน 3 ระดับ ดังนี้ 1. กิเลสอยางหยาบ มีชื่อเรียกวา “วีติกกมกิเลส” เปน กิเลสทีก่ าวลวงออกมา จนแสดงออกทางกายและวาจา ทําใหเกิดกายกรรมและวจีกรรมทีท่ ศุ ลี หรือลวงละเมิดศีล 2. กิเลสอยางกลาง มีชื่อเรียกวา “ปริยุฏฐานกิเลส” เปน กิเลสที่กําลังกลุมรุมจิตใจ ตัวอยางของกิเลสในระดับกลาง ในคัมภีร อรรถกถาไดแสดงไววา คือนิวรณ 5 ซึ่งจะอธิบายใหละเอียดในบทของ การปฏิบตั สิ มาธิ 3. กิเลสอยางละเอียด มีชื่อเรียกวา “อนุสยกิเลส” คัมภีร อรรถกถาแสดงไววา เปนกิเลสทีน่ อนเนือ่ งอยูใ นสันดานอันยังไมถกู กระตุน ใหพลุงขึน้ มา หรืออาจอธิบายใหเขาใจงายขึน้ วาแมในขณะทีจ่ ิตยังไม ถูกกิเลสกลุมรุม ก็ยังไมไดเปนเครื่องยืนยันวาจะไมมีกิเลสเกิดขึ้นอีก ในอนาคต กิเลสทีย่ ังไมไดเกิดกลุม รุมจิตในปจจุบัน แตยงั มีโอกาสเกิด ขึน้ อีกในอนาคต เรียกกิเลสประเภทนีว้ า กิเลสอยางละเอียด หรือ “อนุสยกิเลส” การจัดกิเลสเปน 3 ระดับ ทําใหเห็นนัยเกีย่ วกับการละกิเลส ทีส่ ําคัญยิง่ หมายความวาการจะละกิเลสใหหมดสิน้ ไปอยางแทจริงนัน้ จะตองละกิเลสไปจนถึงระดับ “อนุสยกิเลส” และยังจะตองละใหอยาง 15


หมดจดและสิ้ นเชิง จนไม มีโอกาสที่จะเกิดกิเลสในอนาคตอีกอยาง เด็ดขาด จึงจะนับวาเปนผูบ รรลุธรรมอยางแทจริง การทีค่ มั ภีรอ รรถกถาไดแสดงวา : - อาศัยศีลในการละวีติกกมกิเลส - อาศัยสมาธิในการละปริยฏุ ฐานกิเลส - อาศัยปญญาในการละอนุสยกิเลส มีความหมายวา กิเลสในระดับตาง ๆ สามารถอาศัยไตรสิกขา ในแตละขอทีเ่ ปนคูป รับในการละ หรือขม หรือทําใหไมเกิดขึน้ ในปจจุบนั ได แตจะละจนหมดจดและสิน้ เชิง จนไมมโี อกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ อีกตอไป ในอนาคต ยังทําไมได ในกรณีทอี่ รรถกถาแสดงไววา อาศัยปญญาในการ ละอนุสยกิเลสนั้น ตองทําความเขาใจใหดี แมวาปญญาจะเปนตัวทีล่ ะ หรือตัดกิเลสที่แทจริง แตมิไดหมายความวาอาศัยปญญาเพียงอยาง เดียวแลวจะละอนุ สยกิเลสไดอยางเด็ดขาด จะตองมี ศีลและสมาธิ เปนเครื่องสนับสนุนดวย นอกจากนัน้ ยังจะตองทําใหมคี ณ ุ ภาพถึงระดับ ทีบ่ ริบรู ณในแตละระดับดวย เชน ศีลบริบรู ณกอ นในขัน้ ตน สมาธิบริบรู ณ ในลําดับถัดไป และปญญาบริบูรณในขัน้ สุดทาย จึงจะทําให อนุสยกิเลสในแตละระดับหมดไป ๆ อยางสิน้ เชิงจริง ๆ ไตรสิกขา ทําให : เขาถึงความสุขที่ยั่งยืนในทุกระดับ ขอพิ เศษประการที่ 5 ของไตรสิกขา ทําใหเห็นความ เชือ่ มโยงกับความสุขระดับตาง ๆ และเปนพืน้ ฐานทีจ่ ะทําใหเกิด ความสุขทีย่ งั่ ยืนในทุกระดับ 16


หลักธรรมในพระพุทธศาสนา แสดงเรือ่ งความสุขไวหลายแงมุม แตในแงมมุ ทีเ่ กีย่ วของกับไตรสิกขาที่คอ นขางชัดเจน จําแนกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ คือ 1. กามสุข เปนความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูใ น รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ที่นา ใครนา พอใจ 2. ฌานสุข เปนความสุขทีไ่ มเนื่องดวยรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย แตเกิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูใ นอารมณของสมาธิ 3. วิมตุ ติสขุ เปนความสุขทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากความหลุดพน จากกิเลสและกองทุกข เปนความสุขที่เกิดขึ้นจากจิตที่เปนอิสระ ไมมี สิ่งใดที่จติ สัมผัสรับรูแลว สามารถมีอทิ ธิพลครอบงําหรือรอยรัดเสียด แทงจิตใหเกิดความทุกขได ศีล สมาธิ และปญญาในไตรสิกขาจริง ๆ มีจุดมุงหมายเพื่อ วิมุตติสุข โดยจะตองมีป ญญาเปนแกนและอาศัยศีลและสมาธิเปน เครือ่ งสนับสนุน แตก็สามารถนํามาปรับใชเพือ่ สนับสนุนสําหรับบุคคล ทัว่ ไปทีย่ งั มุง หวังความสุขในระดับตาง ๆ ทีก่ ลาวขางตนไดเปนอยางดี กามสุข เปนความสุขทีเ่ กิดขึน้ จากการสัมผัสรับรูใ น รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ที่นาใครนาพอใจ กลาวคือจะตองมีอารมณ หรือสิง่ ทีก่ ลาวนีใ้ หสมั ผัสรับรู จึงจะเกิดเปนกามสุขขึน้ มาได และเนือ่ งจาก สิง่ ทีเ่ ปนที่ตงั้ ของความสุขประเภทนี้ เปนสิง่ ทีอ่ ยูภ ายนอก ซึง่ ตองแสวง หาเพือ่ ใหไดมา ดังนั้น เรือ่ งของความสุขประเภทนี้ นอกจากจะขึน้ อยู กับ รูป เสียง ที่อยูภ ายนอกเปนตนแลว ยังขึน้ ตอวิธที ี่แสวงหาเพือ่ ใหได มาด วย กลาวไดว าความยั่งยืน มั่ นคง และปลอดภัยของความสุข ประเภทนี้ ขึ้นอยูก ับศีล หรือการกระทําทางกายและวาจาเพื่อใหไดมา ซึ่ งกามสุ ขเปนสําคัญ บุคคลหากแสวงหามาได ดวยการผิดศีลแล ว 17


ยอมไมสามารถมีกามสุขไดอยางสนิทใจ เพราะจะถูกรบกวนดวยความ เดือดรอนใจ และความระแวงถึงโทษหรือผลรายที่จะเกิดขึ้นจากการ ที่ทําผิดศีลนั้น จึงอาจเรียกกามสุขที่ยั่งยืน ดีงาม และพึงประสงควา เปน ความสุขทีเ่ กิดจากศีล สําหรับ ฌานสุข เปนความสุขทีไ่ มเนื่องดวยรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ใด ๆ แตเปนความสุขทีเ่ กิดจากการรับรูแ ละสัมผัส อารมณของสมาธิทเี่ กิดจากการฝกอบรมจิตโดยเฉพาะ ความสุขประเภทนี้ เมือ่ พิจารณาในแงของไตรสิกขาจึงอาจเรียกไดวา เปน ความสุขทีเ่ กิด จากสมาธิ ในสวนของ วิมตุ ติสขุ เปนความสุขที่เกิดขึน้ เนื่องจากความ หลุดพนจากกิเลสและกองทุกข เปนความสุขทีไ่ มไดเกิดจากการสัมผัส รับรูต ออารมณที่เปนทีต่ ั้งของความสุข ทั้งที่เปน รูป เสียง กลิน่ รส และ สิง่ ตองกาย ที่ทาํ ใหเกิดกามสุข หรืออารมณของสมาธิในระดับรูปฌาน และอรูปฌาน ที่ทําใหเกิดฌานสุข วิมุตติสุขนีเ้ ปนความสุขที่ไมไดขนึ้ ตออารมณหรือสิง่ ทีส่ มั ผัสรับรู แตขนึ้ กับปญญาหรือการมีทา ทีทถี่ กู ตอง ในการรับรูข องจิตตอสิง่ ตาง ๆ จนไมมสี งิ่ ใด ๆ ทีจ่ ิตรับรูแ ลวจะสามารถ ทําใหจติ เกิดกิเลสหรือความทุกขขนึ้ มาได ความสุขประเภทนีเ้ มือ่ พิจารณา ในแงของไตรสิกขา จึงอาจเรียกไดวา เปน ความสุขทีเ่ กิดจากปญญา กลาวไดวา ระบบไตรสิกขาทีพ่ ระพุทธเจาไดจดั ขึ้นนี้ มีความ เชือ่ มโยงกับเรือ่ งความสุขอยางแนบแนน และอันทีจ่ ริงเปนพืน้ ฐานของ ความสุขในทุกระดับอีกดวย บุคคลผูห วังในความสุขไมวา จะเปนประเภท ใดหรือระดับใด หากมุง หวังจะมีความสุขทีย่ งั่ ยืน มัน่ คง และปลอดภัย ที่นาพึงพอใจอยางแทจริงแลว ก็จะตองประพฤติปฏิบัตติ นอยูใ นหลัก ของไตรสิกขาอยางทีจ่ ะขาดเสียมิได 18


การปฏิบตั ิ ไตรสิกขา ตอจากนี้ไป จะไดอธิบายรายละเอียดของไตรสิกขาและการ ปฏิบัตไิ ตรสิกขาแตละหัวขอใหกวางขวางและรอบดาน เพื่อจะไดรูจกั และไดรับประโยชนจากไตรสิกขาใหมากทีส่ ุด ครอบคลุมไปในทุกเรือ่ ง ราวและทุกสถานการณของชีวติ การปฏิบตั ิ ศีล การปฏิบตั ศิ ลี ในพระพุทธศาสนา แมในแวดวงพุทธบริษทั เองยังมี ความเขาใจทีค่ ลาดเคลือ่ นอยูม าก สวนใหญเขาใจวาเปนเรือ่ งของขอหาม หรือการสํารวมระวังไมใหไปกระทําในสิงที ่ เ่ ปนขอหามเทานัน้ ดังเชนการสอน ในเรือ่ งของศีล 5 ทีห่ า มไมใหฆา สัตว ลักทรัพย ประพฤติผดิ ในกาม พูดเท็จ และดืม่ สุราหรือของมึนเมาตาง ๆ ซึง่ อันทีจ่ ริงก็เปนความเขาใจทีถ่ กู ตอง ในระดับหนึง่ แตยงั เปนการสอนทีไ่ มครบถวนและเปนระดับทีห่ ยาบทีส่ ดุ หรือเลวรายทีส่ ดุ เทานัน้ ยกตัวอยางเชนศีลในขอที่ 1 ทีห่ า มการฆาหรือทํา ชีวติ ใหตกลวงไป ตองนับวาเปนสิง่ ทีห่ ยาบทีส่ ดุ และเลวรายทีส่ ดุ อันทีจ่ ริง แมแตไมถงึ ขนาดฆา เพียงแตทาํ รายใหบาดเจ็บ หรือการกลัน่ แกลงในบริบท ตาง ๆ ทีเ่ นือ่ งดวยรางกาย ก็ควรจะไดสอนกัน และควรจะรวมการกระทํา เหลานี้ วาผิดศีลขอที่ 1 ดวย การสอนเรือ่ งศีลเพียงนัยดังทีก่ ลาวมา จึงเปน สาเหตุสาํ คัญประการหนึง่ ทีท่ าํ ใหการสอนในเรือ่ งศีลไมคอ ยไดผล และยังมี พฤติกรรมการผิดศีลในระดับตาง ๆ ปรากฏใหเห็นคอนขางบอยและมาก การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งศีล ทีย่ งั คลาดเคลือ่ นอยูน ี้ เพราะคําวา ศีลมีปรากฏใชอยูท ั้งในแงของ “วินยั ” และในแงของ “ธรรม” ซึง่ ทัง้ 2 นัยนี้ มีจดุ มุง หมายและวิธีปฏิบัตทิ แี่ ตกตางกัน 19


การปฏิบัตศิ ีลไดอยางถูกตอง จะตองรูจ ักและจําแนกได ถึงความแตกตางระหวางศีลทีเ่ ปนวินัย กับศีลทีเ่ ปนธรรม เพื่ อความเข าใจในประเด็นที่ กลาวนี้ ใหชัดเจนยิ่ งขึ้น ขอให พิจารณาพระพุทธพจนที่พระพุทธเจาตรัสแกพระสารีบุตร เมื่อทูลขอ ใหบญ ั ญัตพิ ระปาฏิโมกข ซึง่ เปนศีลทีเ่ ปนวินยั สําหรับกํากับความประพฤติ ของพระภิกษุ ภายหลังจากทีไ่ ดทราบจากพระพุทธองควา การบัญญัติ พระปาฏิโมกขเปนเหตุปจ จัยประการหนึง่ ทีจ่ ะทําใหพระศาสนาตังมั ้ น่ ยืนยาว ตามที่ปรากฏในพระไตรปฎก เลมที่ 1 ขอที่ 7 แตพระพุทธเจาไดตรัส ตอบเปนใจความโดยสรุปวา ในขณะนี้พระสงฆสาวกขั้นต่ําเปนพระ อริยบุคคลระดับโสดาบัน ซึง่ จะไมมีการกระทําผิดวินัยเปนปกติ จึงไมมี ความจําเปนใด ๆ ที่จะตองบัญญัติปาฏิโมกขในขณะนี้ แตตอไปใน ภายหนา เมื่อคณะสงฆมีจํานวนมากขึ้น มีลาภสักการะเกิดมากขึ้น และธรรมอันเปนอาสวะเริม่ ปรากฏ ทรงรูก าลอันควรทีจ่ ะบัญญัติ จะเห็นไดวาในสมัยตน ๆ ของการประกาศธรรม พระพุทธเจา ยังไมไดทรงบัญญัติศีลที่เปนวินัยเลย แตพระสาวกทัง้ หลายยอมตองมี ศีลทีเ่ ปนธรรมอยูแ ลว คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ ในอริยมรรค มีองค 8 จึงจะบรรลุเปนพระอริยบุคคลได ดังนั้นในสมัยที่ พระสงฆสาวกลวนเปนพระอริยบุคคลนัน้ จึงมีแตศีลทีเ่ ปนธรรม ยังไม จําเป นต องมีศี ลที่ เป นวิ นัยหรื อปาฏิ โมกข เพราะผู มีศีลที่ เป นธรรม โดยธรรมชาติแลวจะไมมีเจตนาใด ๆ ทีจ่ ะกระทําผิดศีลทีเ่ ปนวินัยเลย ศีลทีเ่ ปนวินัยและศีลทีเ่ ปนธรรม แตกตางกันอยางไร ? กลาวในแงของวัตถุประสงค ศีลที่เปนวินัย หรือเรียกอีกชือ่ 20


หนึง่ วา สิกขาบท มุงความเปนระเบียบเรียบรอยในการอยูร วมกันของ หมูค ณะเปนใหญ สวนศีลที่เปนธรรม มุงหมายใหเปนองคประกอบใน องคมรรค เพือ่ การดับทุกขดบั กิเลสในจิตเปนสําคัญ ในแงของวิธปี ฏิบตั ิ ศีลทีเ่ ปนวินยั จะถือตามขอทีบ่ ญ ั ญัตอิ ยาง เครงครัด โดยเอาขอหามตาง ๆ เปนตัวตัง้ และคอยระมัดระวังการกระทํา ทางกายและวาจา ไมใหกา วลวงหรือละเมิดขอหามนัน้ ๆ สวนการปฏิบตั ิ ศีลทีเ่ ปนธรรม มีวธิ กี ารปฏิบตั ทิ แี่ ตกตางออกไป จะอาศัยสัมมาทิฏฐิหรือ ความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตองตอสิง่ ตาง ๆ เปนหลักหรือตัวนําในการกระทํา กลาวอีกนัยหนึง่ การปฏิบตั ศิ ลี ทีเ่ ปนธรรมตองมีสมั มาทิฏฐิเปนพืน้ ฐาน นอกจากนัน้ ยังมีความแตกตางกันในเรื่องผลลัพธที่เกิดขึน้ ในกรณีของศีลทีเ่ ปนวินยั เรียกผลของการทําผิดศีลทีเ่ ปนวินยั วา “อาบัต”ิ และจะมีบทลงโทษตามขอบัญญัตทิ กี่ ําหนดไวหรือตกลงกันไวลว งหนา สวนในกรณีของศีลทีเ่ ปนธรรม เรียกผลของการทําผิดศีลทีเ่ ปนธรรมวา “วิบากกรรม” ซึง่ จะใหผลเปนไปตามกฎของธรรมชาติ พนจากกฎเกณฑ ทีม่ นุษยตงั้ ไว ยกตัวอยาง หากพระภิกษุฆา มนุษย ในแงทผี่ ิดศีลทางวินัย จะ ถูกกําหนดโทษไวเปนอาบัตทิ เี่ รียกวา “ปาราชิก” ตองถูกบังคับใหลาสิกขา ไป โดยไมมบี ทลงโทษอยางอืน่ แตในแงทผี่ ิดศีลทางธรรม จะเกิดเปน “วิบากกรรม” ทําใหอายุสนั้ และมีโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียนมาก ในเรือ่ งศีลทีเ่ ปนวินัย กับศีลทีเ่ ปนธรรม อาจยกตัวอยางใหเห็น งายขึน้ ชัดเจนขึน้ ดวยการเปรียบเทียบกับเรือ่ งของกฎหมาย จะเห็นวา ในกฎหมายไดตราไวชดั เจนวาหามไมใหทาํ อะไร และหากมีการกระทํา ลวงละเมิดในสิ่งที่หา ม จะถูกจับและนําตัวไปลงโทษ ตามบทลงโทษ ทีไ่ ดกาํ หนดไว (=ศีลทีเ่ ปนวินยั ) แตจะเห็นไดวา บุคคลทัว่ ไป ทีม่ จี ติ สํานึก 21


ที่ดี คือรูว าอะไรควร อะไรไมควร แมไมไดรตู ัวบทกฎหมาย หรือไมตอง เอาตัวบทกฎหมายทีบ่ ญ ั ญัตไิ วมากมาย มาทองหรือจดจํา แตกไ็ มไดทํา ผิดกฎหมาย หรือไมเกรงกลัววาจะทําผิดกฎหมาย (=ศีลทีเ่ ปนธรรม) ในกรณีศลี ทีเ่ ปนธรรม ยังจะตองรูจ ักปฏิบตั ิใหถกู ตอง จึงจะไดรับผลทีน่ ําไปสูค วามดับทุกขอยางแทจริง ในการปฏิบัติศลี ที่เปนธรรมนี้ หากไมไดพิจารณาใหละเอียด และแยบคายจริง ๆ แลว ก็ยงั อาจปฏิบตั ิไมถกู ตองตามทีพ่ ระพุทธเจา ตรัสสอน ทําใหไมไดรบั ผลทีจ่ ะนําไปสูค วามดับทุกข ทัง้ นี้ เพราะเวลาทีท่ รงใหอรรถาธิบายถึงศีล 5 ไดใหความหมาย ไววา คือการเวนจากการฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผดิ ในกาม พูดคําเท็จ และเสพสุราเมรัยของมึนเมาอันเปนทีต่ งั้ ทําใหเกิดความประมาท หรือ แมแตสัมมาวาจา และสัมมากัมมันตะ เปนตนในองคมรรค ก็ไดให อรรถาธิบายโดยใชคําชุดเดียวกับทีบ่ ัญญัตใิ นศีล 5 นั่นเอง กลาวคือ สัมมาวาจา ใหเวนจากการพูดคําเท็จ คําหยาบ คําสอเสียด คําเพอเจอ และสัมมากัมมันตะ ใหเวนจากการฆาสัตว ลักทรัพย และประพฤติผิด ในกาม ซึ่งบุคคลทัว่ ไปเมื่อไดยินไดฟง แลว มักจะเขาใจวาวิธีปฏิบัตใิ น เรื่องนี้ คือตั้งใจระมัดระวังไมใหกายและวาจาลวงละเมิดในสิ่งที่ตรัส หามเพียงแคนนั้ ซึง่ ไดอธิบายไปแลววาการปฏิบตั ศิ ลี แบบนีเ้ ปนการปฏิบตั ิ ในแบบของวินยั จะใหผลลัพธในแงทําใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย ในสังคมเทานั้น แตจะไมทําใหเกิดผลเปนศีลในองคมรรคทีจ่ ะนําไปสู ความดับทุกข การปฏิบัติศีลที่เปนธรรม ที่จะนําไปสูผ ลคือความดับทุกขได 22


อยางแทจริงนั้น ตองรูจ ักปฏิบัติใหถูกตองในแบบของธรรม กลาวคือ จะตองแสวงหาสัมมาทิฏฐิหรือความรูค วามเขาใจที่ถูกตอง โดยเฉพาะ เรือ่ งคุณคาความหมายทีแ่ ทจริงของสิง่ นัน้ ๆ ที่มตี อชีวติ ใหไดเสียกอน แลวจึงกระทําไปตามความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตองนัน้ จึงจะทําใหเกิดศีลที่ เปนธรรมขึ้น ซึ่งเปนศีลที่เปนองคประกอบในองคมรรค ที่จะสงผลให เกิดการดับทุกขได สวนขอหามทีร่ ะบุในสัมมาวาจา และสัมมากัมมันตะนั้น โดยนัยจริง ๆ แลว ไมใชเปนสิง่ ทีจ่ ะใหปฏิบัตติ ามโดยตรง แตจะใชเปน เครือ่ งมือตรวจสอบความถูกตองของการกระทําทีเ่ ปนไปตามสัมมาทิฏฐิ ตางหาก ซึ่งหากเปนการกระทําทีถ่ ูกตอง ที่จะสงผลใหเกิดเปนศีลใน องคมรรคจริง จะตองไมมีผลใด ๆ ออกมาตามทีร่ ะบุหามไวในสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะนัน้ เลย กลาวโดยสรุป ศีลทีเ่ ปนธรรม และการปฏิบตั ิใหถกู ตอง ในแบบของธรรม จึงทําใหเกิดศีลในองคมรรค ทีเ่ ปน องคประกอบนําไปสูค วามดับทุกขไดจริง กลาวโดยสรุป ศีล มี 2 ประเภท คือ ศีลทีเ่ ปนวินยั และศีลที่ เปนธรรม เฉพาะศีลทีเ่ ปนธรรมเทานั้น (คือศีลตามนัยของสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ) จึงเปนศีลในองคมรรค ที่เปนองค ประกอบนําไปสูค วามดับทุกข นอกจากนัน้ ยังจะตองรูจักปฏิบัติตอ ศีลที่เปนธรรมใหถูกตอง ดวย กลาวคือปฏิบัติในแบบของธรรม โดยจะตองมีสัมมาทิฏฐิหรือ ความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง โดยเฉพาะคุณคาความหมายของสิง่ ตาง ๆ ทีม่ ตี อ ชีวติ เปนพืน้ ฐาน จึงทําใหไมมคี วามคิดอานทีผ่ ดิ ๆ เกิดขึน้ จึงทําให 23


ไมมีการกระทําทีผ่ ดิ ๆ ปรากฏออกมาทางกายและวาจา จึงไมตองมีแม การมาคอยระวังหรือยับยัง้ ไมใหเกิดการกระทําผิดทีล่ ว งหรือละเมิดออก มาทางกายและวาจา ศีลที่เปนธรรมเชนทีว่ านีแ้ หละ คือศีลในองคมรรค ทีเ่ ปนองคประกอบทีจ่ ะนําไปสูค วามดับทุกขดบั กิเลสไดแทจริง สัมมาทิฏฐิเปนพืน้ ฐานของการปฏิบตั ศิ ลี ทีเ่ ปนธรรม เมือ่ ไดรจู ักศีลที่เปนธรรมแลว ตอจากนีไ้ ปจะไดอธิบายถึงการ ปฏิบัตศิ ลี ในแงนตี้ อ ไป ดังทีไ่ ดกลาวแลว ศีลทีเ่ ปนธรรม มีสมั มาทิฏฐิหรือความรูค วาม เขาใจทีถ่ กู ตองตอสิง่ ตาง ๆ เปนพืน้ ฐาน บุคคลจึงจะมีการกระทําทางกาย และวาจาที่ถูกตอง เปนสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ ที่เปนองคมรรค ดังนั้นการจะปฏิบตั ิศลี ทีเ่ ปนธรรมไดถูกตอง จึงจําเปน ตองแสวงหาสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งตาง ๆ ทีช่ ีวติ จะตองเขาไปเกีย่ วของกอน แลวปฏิบตั ไิ ปตามสัมมาทิฏฐินนั้ ศีลทีเ่ ปนธรรมก็จะปรากฏขึน้ สัมมาทิฏฐิ ในเรือ่ งชีวิต หลักการทั่วไป การจะทําหนาที่หรือเกี่ยวของกับอะไรก็ตาม เพื่อใหบรรลุผลดีและไมกอใหเกิดโทษหรือปญหาตาง ๆ ติดตามมา ประการแรกทีส่ ุด จะตองทําความรูค วามเขาใจถึงธรรมชาติตลอดจน เรื่องราวของสิ่งนั้น ๆ ใหถูกตองและเพียงพอเสียกอน โดยเฉพาะกฎ ธรรมชาติทคี่ วบคุมความเปนไปของสิง่ นัน้ ๆ ดังนัน้ เมือ่ บุคคลมีชีวติ ขึน้ มา ประการแรกสุดทีจ่ ะตองกระทํา กอน คือ การทําความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับธรรมชาติของชีวติ โดยเฉพาะ 24


ในประเด็นทีว่ า ชีวติ คืออะไร ตองการอะไร เพือ่ อะไร และเกิดมา ทําไม เพราะหากยังไมรูถูกตองในประเด็นเหลานี้อยางเพียงพอแลว ก็ยอ มไมสามารถทําหนาทีห่ รือปฏิบัตติ อตัวชีวติ ตลอดจนตอสิ่งตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ใหถกู ตองได กลาวโดยสรุปตามหลักพระพุทธศาสนา ชีวติ คือ กายและจิต ดังนัน้ จึงควรมาทําความเขาใจเปนเบือ้ งตนกอนวา กายคืออะไร ตองการอะไร เพือ่ อะไร และ จิตคืออะไร ตองการอะไร เพือ่ อะไร คําตอบในประเด็นขางตนนี้ ขอเสนอวา ไมสามารถหาไดดว ย การใชความคิด หรือใชกรอบของทฤษฎีตา ง ๆ มาอธิบาย แตคําตอบ นัน้ มีอยูแ ลวพรอมมูลในตัวธรรมชาติเอง กลาวคือ ตัวธรรมชาติทงั้ กาย และจิตนัน้ เอง กําลังปาวประกาศคําตอบนัน้ อยูท กุ ขณะ เพียงแตมนุษย เราอาจจะไมไดสงั เกตเพียงพอ หรือมัวแตไปสังเกตทีอ่ นื่ จึงไมพบคําตอบ ทีม่ าจากตัวธรรมชาติแท ๆ มาลองสังเกตและเฝาดูชวี ิตในสวนกายและชีวติ ในสวนจิต เริม่ จากชีวติ ในสวนกายกอน เมือ่ สังเกตและเฝาดูจะพบวา ธรรมชาติของกาย มีสว นทีแ่ ข็ง สวนทีเ่ หลว สวนทีเ่ คลือ่ นไหวลอยไปมาได และสวนทีร่ อน-เย็น ซึ่งใน ภาษาธรรมะเรียกวา ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม และธาตุไฟ ธรรมชาติ ของชีวติ ฝายกาย คือ การประกอบกันเขาของธาตุทั้ง 4 นีเ้ อง ชีวติ ฝายกายมีความตองการไหม ? เรายอมสามารถสังเกตไดดวยตนเองวา ชีวติ ฝายกายมีความ ตองการตามธรรมชาติแนนอน กลาวโดยสรุป คือ ตองการธาตุดนิ ธาตุนา้ํ ธาตุลม และธาตุไฟ จากธรรมชาติภายนอก ซึง่ อยูใ นรูปของปจจัย 4 25


(อาหาร, เครือ่ งนุง หม, ที่อยูอ าศัย และยารักษาโรค) เพือ่ อะไร ? เพือ่ หลอเลีย้ งและค้ําจุนชีวติ ฝายกาย ใหสามารถดํารงอยูแ ละ ทําหนาที่ไดเปนปกติ เพราะหากชีวิตฝายกายไมไดรับปจจัย 4 จาก ธรรมชาติภายนอกแลว ก็ไมสามารถดํารงอยูไ ด หรือดํารงอยูไ ดก็อยาง ยากลําบาก เมื่อเขาใจชีวิตฝายกายวา คืออะไร ตองการอะไร เพื่ออะไร ที่เปนจริงตามธรรมชาติแลว ประเด็นสําคัญก็มาอยูทตี่ ัวความตองการ นี้เอง และเนื่องจากชีวิตฝายกายมีความตองการดังกลาวที่เปนความ ตองการแท ๆ ของธรรมชาติ จึงบังคับใหเกิดสิง่ ทีเ่ รียกวา “หนาที”่ ขึน้ กลาวคือ มีหนาที่ทจี่ ะตองรูจ ัก แสวงหา บริโภค ใชสอย และเกีย่ วของ กับปจจัย 4 ใหถูกตอง คําวาถูกตองในที่นกี้ ็คือ ใหผลกับชีวิตฝายกาย ทําใหสามารถดํารงอยูแ ละทําหนาทีไ่ ดเปนปกติ ดังนัน้ คุณคาของชีวติ ฝายกายก็อยูที่ตรงนี้เอง คือ การมีกายที่สมบูรณแข็งแรงและ สามารถทําหนาทีไ่ ดเปนปกติ ในสวนของชีวติ ฝายจิตบาง เมื่ อสังเกตและเฝา ดูจะพบว า ในตัว ชีวิตยังมี ธรรมชาติ อีก ประเภทหนึง่ เปนธรรมชาติรู ทีส่ ามารถรูส งิ่ ตาง ๆ ได ธรรมชาติรนู ี้ ก็คือ จิต นัน่ เอง จิตหรือธรรมชาติรูนี้ มีความตองการแท ๆ ตามธรรมชาติ เชนเดียวกันกับชีวติ ฝายกายทีก่ ลาวไปแลวขางตนไหม? คําตอบในทีน่ กี้ ค็ อื มี ; แตจะคืออะไรนัน้ อาจสังเกตไดยากกวา ชีวิตในฝายกาย ในที่นี้จะขอกลาวโดยสรุปเลยวา เนื่องจากจิตเปน ธรรมชาติรู ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ติ ตองการก็คอื ความรูท ถี่ ูกตอง 26


เพือ่ อะไร ? เพื่อหยุดความสงสัย หยุดความดิ้นรนกระวนกระวาย หรือ หยุดปญหาที่เกิดขึ้นจากความไมรูของตัวจิตเอง เพราะตราบใดที่จิต ยังไมรถู กู ตองหรือไมรแู จงในเรือ่ งใด เรือ่ งนัน้ ก็ยงั มีอนั พันพัวจิตใหดนิ้ รน ดวยความงุนงงสงสัย ไมสามารถสงบ นิง่ เปนปกติได ตัวอยางในชีวติ จริงทีท่ ุกคนคงเคยประสบมาแลว คือ ในยาม ทีม่ ีปญ  หาทําใหเกิดความกังวลหรือหนักใจ ตราบใดทีจ่ ิตยังมองไมเห็น ทางออกหรือไมรคู ําตอบในการแกปญหานัน้ จิตก็จะยังทุกขและกังวล อยูตราบนั้ น แตในขณะใดที่ เห็ นทางออกและรู คําตอบในการแกไข ปญหาแลว จิตจะเกิดภาวะโลงใจ อยางที่มคี ํากลาววา เหมือนยกภูเขา ออกจากอก นี่ยอมเปนเครื่องแสดงวา สิ่งที่จิตตองการจริง ๆ คือ ความรูท ถี่ กู ตอง นัน่ เอง หรือหากจะพิจารณาจากพระพุทธประวัติ ซึ่งมีเรื่องเลาไววา พระพุทธเจาทรงบําเพ็ญบารมีนานถึง 4 อสงไขยกับแสนกัปป หลังจากที่ ไดรับพุทธพยากรณจากพระพุทธเจาทีปงกร ที่ทรงบําเพ็ญมาทั้งหมด ตองการอะไร ? คําตอบ คือ ตองการโพธิญาณหรือการตรัสรู รูแ จง เห็นจริงในสรรพสิง่ นีย่ อ มเปนสิง่ ยืนยันใหเห็นชัดเจนวา สิง่ ทีจ่ ติ ตองการ ตามธรรมชาติแท ๆ คือความรูแ จง หรือความรูท ถี่ กู ตอง ความตองการของชีวิตในฝายจิตนี้ เชนเดียวกับที่กลาวไวใน ฝายกาย คือ ทําใหเกิด “หนาที”่ ขึน้ กลาวคือ มีหนาทีต่ อ งศึกษาและแสวง หาความรูท ถี่ กู ตองใหกบั จิต ซึง่ หากนําหลักธรรมในพระพุทธศาสนาเปน เกณฑ ก็คอื การศึกษาและแสวงหาความรูอ ยางทีไ่ ดทรงแสดงไววา เปนใบไม ในกํามือ คือเรือ่ งของความทุกขและความสิน้ ไปแหงทุกขในชีวติ ไมจาํ เปน 27


ตองไปศึกษาและแสวงหาความรูอยางที่ทรงแสดงวาเปนใบไมทั้งปา ดังนัน้ คุณคาของชีวติ ฝายจิต ก็คอื การทีจ่ ติ มีความรูถ กู ตอง จน ความทุกขในจิตหมดสิน้ ไป หรือเกิดขึน้ รบกวนจิตไมไดอกี ตอไป เมือ่ รูเ ขาใจธรรมชาติของ “ชีวติ ” ถูกตอง ตามทีไ่ ดกลาว ไปแลว จะทําให :...รูว า การมีชวี ต ิ นัน้ ธรรมชาติไดกาํ หนดสิง่ ทีเ่ รียกวา “หนาที”่ มาใหพรอมแลวกับตัวชีวติ ซึง่ อันทีจริ ่ งก็คอื เรือ่ งเดียวกันกับ “ความตองการ” ของชีวิ ตในแตละฝายนั่นเอง กลาวคือ “ความตองการ” ที่วานี้เปน ความตองการแท ๆ ของธรรมชาติ ที่บงั คับบุคคลใหมี “หนาที”่ ที่ตอง กระทําเพื่อตอบสนอง ไมทําไมได หากไมทํา ชีวิตก็จะประสบปญหา และความยากลําบาก ทําใหไมสามารถดํารงอยูไ ดในทีส่ ดุ เมื่อรูถึง “ความตองการ” ที่แทจริงของธรรมชาติ จะทําให :...รูถ  ึง “ความตองการ” ของบุคคลที่คิดนึกไปเองดวยความ หลงหรือความเขาใจผิด อยางที่เรียกวา “ตัณหา” เรื่องนี้สําคัญมาก หลักธรรมในพระพุทธศาสนาแสดงไววา “ตัณหา” หรือ “ความทะยานอยาก” นีค้ อื “เหตุแหงทุกข” หมายความวาปญหาหรือความทุกขทมี่ นุษยประสบ ลวนมีสาเหตุสําคัญมาจาก “ตัณหา” หรือ “ความตองการ” ที่บุคคล เขาใจผิดไปเอง คือไปตองการในสิง่ ทีช่ ีวติ จริง ๆ ไมไดมคี วามตองการ จึงทําใหบุคคลรูจักกระทําและแสวงหาสิ่งตาง ๆ ตรงตอที่ธรรมชาติ ตองการจริง ๆ ไมไปหลงกระทําหรือมัวแสวงหาในสิง่ ทีธ่ รรมชาติแท ๆ ไมไดมคี วามตองการ เมือ่ ชีวติ ไดรบั สิง่ ทีธ่ รรมชาติของชีวติ ตองการจริง ๆ จึงทําใหชีวิตอิ่ม เต็ม สมบูรณ และบรรลุอุดมคติของชีวิต กลาวคือ มีสขุ ภาวะเต็มเปย มทัง้ ทางกายและทางใจอยางแทจริง 28


...การรูถ ึงความตองการทีแ่ ทจริงของธรรมชาติ ยังทําใหรถู ึง คุณคาและความหมายของสิง่ ตาง ๆ ที่มีตอชีวิตอยางถูกตองดวย เชน อาหารเปนสิ่งหลอเลีย้ งและค้ําจุนใหกายดํารงอยูไ ด ไมใชเปนสิง่ ตอบ สนองเพือ่ ความเอร็ดอรอย หรือความโกเก ซึ่งเปนคุณคาความหมายที่ ไมถกู ตอง ดังนัน้ ไมวา อาหารนัน้ จะมีรสชาติเปนอยางไร จะจัดวางอยางไร หรืออยูใ นบรรยากาศแบบใด ขอใหอาหารนัน้ เพียงแตไมเปนโทษหรือมี พิษตอกายแลว จะเห็นวามีคณ ุ คาความหมายเหมือนกันหมด จึงไมเกิด ความรูส กึ ฟูหรือแฟบไปกับอาหาร และจึงทําใหสามารถเขาไปทําหนาที่ และเกีย่ วของกับเรือ่ งของอาหารไดถูกตอง ไมกอใหเกิดปญหาใด ๆ ที่ เนือ่ งดวยกับเรือ่ งของอาหาร สําหรับเรือ่ งอืน่ ๆ ก็เปนเชนเดียวกัน นอกจากนัน้ ยังทําให :...รูและเขาใจเปาหมายของชีวต ิ อยางถูกตอง รูคําตอบของ ชีวติ ทีว่ า “เกิดมาทําไม” ซึง่ กลาวโดยสรุป ก็คือ “การมีสขุ ภาพทางกาย ที่สมบูรณ เพื่อใหเปนฐานรองรับการแสวงหาความรูที่ถูกตองของจิต จนกวาจิตจะรูถ ูกตองอยางสมบูรณ ทําใหจิตมีภาวะปลอดโปรงจาก ความทุกขหรือความบีบคัน้ จากสิง่ ทัง้ ปวง" สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งชีวติ นี้ เปนพืน้ ฐานสําคัญทีท่ ําใหรแู ละเขาใจ สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งอืน่ ๆ ตอไปไดงาย หากยังไมเขาใจสัมมาทิฏฐิในเรือ่ ง ชีวติ ใหถูกตองและเพียงพอแลว ก็ยากทีจ่ ะเขาใจสัมมาทิฏฐิในแงอื่น ๆ ทีจ่ ะกลาวตอไปใหถกู ตองได 

29


สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปจจัย 4 คือเรือ่ ง อาหาร เครือ่ งนุง หม ที่อยูอ าศัย และยารักษาโรค ซึง่ เปนสิง่ จําเปนพืน้ ฐานสําหรับการดํารงชีวติ สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งปจจัย 4 นี้ กลาวโดยสรุป คือความเห็นว า เป นธาตุ 4 จากภายนอกที่ นํา มา หลอเลี้ยงค้ําจุนธาตุ 4 ของชีวิตฝายกาย โดยใหผลสูงสุด คือทําให ดํารงอยูไ ดเปนปกติ ใหมีสขุ ภาพแข็งแรง ไมใหเจ็บปวย หรือเกิดความ พิกลพิการ ไมเห็นผิดหรือใหคุณคาความหมายผิด ๆ เกินเลยไปจาก ความจริงทีเ่ ปนอยู สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งสิง่ อํานวยความสะดวกสบาย เชน รถยนต อุปกรณเครือ่ งใชตาง ๆ มีสาระโดยสรุปไดวา เปน สิ่งที่ทําใหบุคคลไดรับความสะดวกสบายหรือรวดเร็วมากขึ้น ทําให เหน็ดเหนื่อยนอยลง ไมเห็นผิดวาเปนเครื่องวัดความสําเร็จ หรือวัด สถานภาพสูง - ต่ําของบุคคล เปนตน สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการเรียน มีสาระโดยสรุปคือ เพือ่ สรางเสริมความรูค วามสามารถทีจ่ ะไป ประกอบวิชาชีพ และสิง่ ทีเ่ ปนผลลัพธสงู สุดของการเรียนจริง ๆ คือการ เสริมสร างสติ สมาธิ และป ญญาของบุ คคลให แก กล าและมี มาก เพียงพอ ซึง่ ทัง้ 3 สิง่ นีเ้ ปนเครือ่ งมือสําคัญที่นาํ ไปใชในทุกสถานการณ ของชีวิ ต เพื่ อให ชีวิตดําเนินไปดว ยดี และบรรลุเ ปาหมายที่ แทจริง ไมเห็นผิดไปวาเรียนเพือ่ จะไดเปนเจาคนนายคน เปนตน 30


สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการมีครอบครัว ในกรณีของบุคคลทัว่ ไป มีความเขาใจวา เพือ่ ความสุข ความ อบอุน และความมัน่ คงของชีวติ แตในกรณีของบุคคลผูม เี ปาหมายชีวติ เพือ่ ความดับทุกขดบั กิเลส และยังประสงคจะมีครอบครัว ก็สามารถมี ครอบครัวได เพราะแมแตพระอริยบุคคลในระดับตน คือพระโสดาบัน และพระสกทาคามี ก็ไมมีขอ หามหรือขอจํากัดในเรื่องการมีครอบครัว แตประการใด แตบุคคลต องปรับความรู ความเขาใจถึ งคุณค าและ ความหมายของการมีครอบครัวใหม ดวยการยอมรับวาตนยังมีจิตใจ และปญญาไมเขมแข็งพอ ยังไมสามารถเอาชนะหรืออยูเ หนือสังโยชน เบื้องกลาง คือ กามราคะและปฏิฆะได ดังนั้น สาระสําคัญของการมี ครอบครัวในแบบหลังนี้ จึงไมไดมเี ปาหมายอยูท คี่ วามสุขและความมัน่ คง ของชีวติ เปนตน อยางในบุคคลทัว่ ไป แตกลับมี เปาหมายอยูท กี่ ารศึกษา และเรียนรูเ พือ่ ใหเกิดความรูแ จงในเรือ่ งกามราคะและปฏิฆะเปนสําคัญ จนเกิดปญญาและสามารถเอาชนะสังโยชนทงั้ 2 นี้ไดในทีส่ ุด สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งการทํางาน คุณคาความหมายในขัน้ พืน้ ฐานของการทํางานทีแ่ ทจริง เปน วิธแี สวงหาใหไดมาซึง่ ปจจัย 4 อันเปนปจจัยพืน้ ฐานสําหรับการดํารงชีวติ หากเปนคุณคาความหมายในขัน้ สูง “การทํางานคือการปฏิบตั ธิ รรม” กลาวคือ อาศัยการทํางานนี้เองเปนแบบฝกหัดเบือ้ งตนในการปฏิบัติ ธรรม หากบุคคลสามารถปฏิบัตงิ านไดเรียบรอยและใหลุลว งไปดวยดี ก็เปนเครือ่ งแสดงใหเห็นวาเปนผูม ีสติ สมาธิ ปญญา ในระดับเบือ้ งตน เพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั ธิ รรมในระดับสูงใหมคี วามกาวหนาไดตอ ไป 31


สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งตําแหนง ใหรเู ขาใจวา ตําแหนงเปนเพียงสิง่ ทีบ่ อกใหรวู า ใครมีหนาทีอ่ ะไร ตองทําอะไรในระบบงานเทานัน้ ซึง่ อันทีจ่ ริงทุกตําแหนงมีความสําคัญ ดวยกันทัง้ นัน้ เปนเสมือนฟนเฟองนอยใหญทชี่ ว ยกันทําใหงานทัง้ ระบบ ดําเนินไปได ไมเขาใจผิดตอเรือ่ ง “ตําแหนง” โดยไปเห็นวาเปนสิง่ หรือ เครือ่ งวัดทีบ่ อกใหรวู า ใครใหญกวาใคร หรือใครประสบความสําเร็จมากกวา ใคร ทั้ง ๆ ที่โดยความเปนจริงแลว จะขาดตําแหนงใด ๆ ไปไมไดเลย สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งเกียรติ ใหรแู ละเขาใจวา ไมไดมไี วเพือ่ ใหนําไปยกหูชูหาง หรือสําคัญ ผิดวาตนอยูส ูงกวาบุคคลอืน่ แตอยางใด แตเปนสิง่ ทีส่ ังคมแสดงความ ยกยองบุคคลใหเปนที่ปรากฏ เพื่อใหเปนตัวอยางแกบุคคลทัว่ ไป ที่จะ เอาแบบอยางและทําตาม สัมมาทิฏฐิทนี่ ํามาแสดงไวขา งตน เปนสัมมาทิฏฐิเกีย่ วกับเรือ่ ง ใหญ ๆ ในชีวิตของบุคคลที่จะตองพบเจอเปนประจํา เปนตัวอยางให เห็นถึงการทําหนาทีข่ องสัมมาทิฏฐิ ที่เปนเครือ่ งนําทางใหบคุ คลเขาไป ทําหนาทีแ่ ละเกีย่ วของกับสิง่ ตาง ๆ ดวยความถูกตอง โดยไมกอใหเกิด ความทุกขและความเดือดรอนทัง้ ตอตนเองและผูอ นื่ ในกรณีทเี่ ปนเรือ่ ง อืน่ ๆ นอกจากทีก่ ลาวไปแลวนีก้ ็เชนเดียวกัน กอนทีจ่ ะเขาไปทําหนาที่ และเกี่ยวของ ใหแสวงหาสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งนัน้ ๆ ใหถกู ตองเสียกอน จากนัน้ จึงคอยกระทําไปตามสัมมาทิฏฐิ ก็จะทําใหชีวติ ดําเนินอยูบน เสนทางที่ไมทุกข ปลอดพนจากความบีบคัน้ และรอยรัดเสียดแทงจิต อยางแทจริงได 32


เคล็ดวิธีปฏิบัตติ อ สัมมาทิฏฐิทมี่ ากมาย ในเรือ่ งการปฏิบตั ศิ ลี ทีเ่ ปนธรรม ดังทีไ่ ดอธิบายไปแลวนี้ อาจมี ทานผูอ า นบางทานมีความเห็นวา นาจะเปนเรือ่ งทีค่ อ นขางยุง ยาก เพราะ จะตองไปแสวงหาสัมมาทิฏฐิ หรือทําความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตองตอเรือ่ ง ตาง ๆ ทีเ่ ขาไปเกีย่ วของดวย ซึง่ มีมากมายอยางทีเ่ รียกวาครอบจักรวาล และอาจเห็นวาทําไดยาก ในประเด็นนี้ ขอชีแ้ จงวาโดยหลักการแลว การจะเขาไปเกีย่ วของ กับสิง่ ใดหรือเรื่องใดอยางไร ขึ้นอยูกบั ความรูความเขาใจของบุคคลที่ มีตอ สิง่ นัน้ หรือเรือ่ งนัน้ เปนสําคัญ โดยเฉพาะการใหคณ ุ คาความหมาย ของสิ่งนั้น ๆ ที่มีตอชีวิต ดังนั้นการแสดงออกทางกายและวาจาตอ สิง่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูภ ายนอกใหถกู ตอง ทีจ่ ะทําใหเกิดศีลทีเ่ ปนธรรม จึงจําเปน จะตองแสวงหาสัมมาทิฏฐิหรือทําความเขาใจที่ถูกตองตอสิ่งนั้นหรือ เรื่องนั้น ใหเพียงพอเสียกอน จึงจะทําใหสามารถเกี่ยวของไดถูกตอง และไดรับประโยชนอยางเต็มที่ โดยไมกอใหเกิดโทษ หรือผลเสียใด ๆ ติดตามมา เปรี ยบเสมือนการจะไขกุ ญแจเขาไปในห องใดหองหนึ่ง ก็จะตองรูจักเลือกใชลูกกุญแจที่ถูกตองและตรงกัน จึงจะไขและเปด เขาไปได แตนายชางกุญแจผูฉ ลาด สามารถทํากุญแจทีเ่ รียกวา Master Key เพียงดอกเดียว และสามารถไขเปดเขาไปในทุกหองได ในกรณีนี้ เปรียบการทําความเขาใจเรือ่ ง สัมมาทิฏฐิในเรือ่ งชีวิต (หนา 24 - 29 ) เปนเสมือนสัมมาทิฏฐิทเี่ ปน Master Key ซึง่ หากเขาใจในประเด็นนีด้ ี แลว สัมมาทิฏฐิในประเด็นอืน่ ๆ ก็จะพลอยเขาใจไดโดยปริยายไปดวย ทําใหการปฏิบตั ศิ ลี ทีเ่ ปนธรรมงายขึน้ สะดวกขึน้ 33


สรุปการปฏิบตั ิศลี ใหครบถวน จะตองมีทงั้ ศีลทีเ่ ปนธรรม และศีลทีเ่ ปนวินยั การปฏิบัติศลี ดังทีไ่ ดแสดงมา เพื่อใหครบถวนและไดผลของ การปฏิบัตศิ ีลอยางสมบูรณ จําเปนจะตองมีการปฏิบัตศิ ีลทัง้ 2 แบบ คือศีลทีเ่ ปนธรรม และศีลที่เปนวินัย โดยจะขาดอยางหนึง่ อยางใดไปไมได ในกรณีปกติ การปฏิบตั จิ ะเนนไปทีศ่ ลี ทีเ่ ปนธรรมเปนสําคัญ คือ การแสวงหาสัมมาทิฏฐิ หรือระลึกถึงสัมมาทิฏฐิในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของ แลว กระทําทางกายและวาจาไปตามแนวของสัมมทิฏฐินนั้ ก็จะทําใหการเกีย่ วของเปนไปโดยเรียบรอย ไมกอ ใหเกิดปญหาหรือความเดือดรอนใด ๆ ขึน้ สวนศีลทีเ่ ปนวินยั จะปฏิบตั ิในกรณีทจี่ ิตไมไดตงั้ อยูใ นสัมมาทิฏฐิ หรือในขณะทีจ่ ิตมีมจิ ฉาทิฏฐิหรืออกุศลครอบงํา และกําลังสงผล ออกมาเปนการกระทําทางกายหรือวาจาที่จะกาวลวงหรือละเมิดตอ ขอหามตาง ๆ ในกรณีนใี้ หตงั้ ใจระมัดระวังทีก่ ายและวาจาใหดี อยาให มีการกระทําที่กาวลวง หรือละเมิดตอขอหามตาง ๆ ที่บญ ั ญัติไว แลว แสดงออกมาทางกายและวาจา การทําเชนนี้ จะทําใหปญหาตาง ๆ ถูกจํากัดขอบเขตอยูแ ตภายในใจ ไมลกุ ลามออกมาสูภ ายนอก เพราะ หากศีลที่เปนวินัยไมสามารถควบคุมใหจํากัดอยูภายในใจ แลวลวง ออกมาเปนการกระทําทางกายและวาจา จะทําใหเรือ่ งราวบานปลาย ออกไป และยากที่จะจัดการใหเรียบรอยไดโดยงาย เรียกภาวะที่ลว ง ละเมิดแลวแสดงออกมาทางกายและวาจาที่ ทุศีลนี้ วา “อบายภูมิ” ปญหาความเดือดรอนและความเสือ่ มตาง ๆ ก็จะเกิดรุมเราเขามา

34


การปฏิบัติ “สมาธิ” บุคคลเมือ่ ปฏิบตั ิศลี คือการใชกายและวาจาในการทําหนาที่ เกี่ยวของหรือกระทําตอสิ่งภายนอกไดถูกตองแลว หมายความวาจะ ไมมกี ารกระทําใด ๆ จากกายและวาจาที่จะนําผลเปนความเดือดรอน มาสูชีวิตอีกตอไป ทําใหการดํารงชีวิตเปนไปดวยความราบรื่น หาก เปรียบเทียบก็เหมือนกับการขับรถอยูบ นถนนซุปเปอรไฮเวย ซึง่ ราบเรียบ กวางขวาง ไมมหี ลุมบอทีร่ บกวน หรือกอใหเกิดอันตรายในการขับแต ประการใด ทําให สามารถขับรถไดอยางสะดวกสบายและปลอดภั ย ชีวติ ทีไ่ มมีความเดือดรอน ไมถกู รบกวนจากผลของการกระทําดวยกาย และวาจาตอสิง่ ภายนอกอยางผิด ๆ หรือชีวติ ทีป่ ฏิบตั ถิ กู ตองในศีล จึงเปน ปจจัยอยางดีทจี่ ะเกือ้ กูลแกการปฏิบตั ิในขัน้ ตอไป คือสมาธิ ใหเปนไป ดวยความราบรืน่ มีความกาวหนา และบรรลุผลสําเร็จดวยดี ทําไมจึงตองปฏิบัตสิ มาธิ การปฏิบตั สิ มาธิ เปนการปฏิบตั ทิ ตี่ วั จิตโดยตรง เปนการ ปฏิ บัติเพื่ อตระเตรียมหรือฝกฝนจิตใหมี คุณภาพที่เหมาะสม ดังทีก่ ลาวไปแลว กลาวคือ มีพลัง มีความรอบคอบ ไมประมาท มีความมั่นคง ทําใหจิตมีสภาวะดีงาม มีประสิทธิภาพ และมีสขุ ภาวะ พรอมทีจ่ ะนําไปใชทําหนาทีต่ า ง ๆ ไดเปนอยางดี จิตที่ยงั ไมไดรบั การฝกฝนและอบรม เปรียบไดกับมาปาที่ยัง ไมไดรับการฝก ยอมจะยังไมสามารถใชขี่หรือทํางานตาง ๆ ใหเกิด ประโยชนไดเทาไร และยังอาจพยศทําใหผูขบั ขีเ่ กิดอันตรายได ตอเมือ่ ไดรบั การฝกจนเชื่องและเรียนรูที่จะรับและทําตามคําสัง่ ของผูฝ กแลว 35


จึงจะสามารถขับขี่และใชงานตาง ๆ ไดเปนอยางดี จิตก็เชนเดียวกัน โดยธรรมชาติ เป นสิ่ งที่ มีศักยภาพสูง สามารถกระทําสิ่ งต าง ๆ ได หลากหลายและมากมาย แตเนือ่ งจากยังไมไดรับการฝกฝนและอบรม อยางเพียงพอ จึงไมสามารถใชประโยชนจากจิตไดอยางเต็มที่ และยัง อาจถูกจิตของตนทํารายตัวเอง จนเกิดความทุกขแสนสาหัส สิ่งที่ เปนเครื่องกั้ นหรื อบั่ นทอนจิต ทําใหจิ ตไม มีคุ ณภาพที่ เหมาะสม หลักธรรมในพระพุทธศาสนาแสดงไววา คือนิวรณ 5 ซึ่ง จําแนกไดดงั นี้ 1. กามฉันท (ความพอใจใฝกาม) 2. พยาบาท (ความแคนเคืองคิดรายเขา) 3. ถีนมิทธะ (ความหดหูแ ละซึมเซา) 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ (ความฟุ งซานและรําคาญใจ คําวา “รําคาญใจ” มีความหมายวา หงุดหงิด กระสับกระสาย เปนตน) 5. วิจกิ ิจฉา (ความลังเลสงสัย) เพื่อที่จะใหเกิดความเขาใจเรื่องนิวรณ 5 ไดชดั เจนยิ่งขึ้น ขอ หยิบยกขอความจากพระไตรปฎก เลมที่ 19 ขอที่ 601 - 613 ทีไ่ ดแสดง นิวรณ 5 โดยเปรียบเทียบกับสิง่ เจือปนหรือสิง่ รบกวนน้าํ ทีบ่ รรจุในภาชนะ ซึง่ ทําใหบคุ คลมองเห็นสิง่ ตาง ๆ ที่อยูในน้ําผิดพลาดคลาดเคลือ่ นจาก ความเปนจริง ดังนี้ 1. กามฉันท เปรียบไดกบั สีตาง ๆ ที่เจือกับน้ํา 2. พยาบาท เปรียบไดกบั น้ําทีก่ ําลังเดือด 3. ถีนมิทธะ เปรียบไดกบั สาหรายหรือจอกแหนทีเ่ จือกับน้ํา 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ เปรียบไดกบั น้ําทีถ่ กู ลมพัดใหพริว้ ไหว 5. วิจกิ จิ ฉา เปรียบไดกบั เปอกตมทีเ่ จือกับน้ํา 36


หากน้ําในภาชนะ มีสงิ่ เจือปนหรือมีสงิ่ รบกวนอยางทีก่ ลาวมา ยอมทําใหไมสามารถเห็นสิง่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูใ นน้าํ ตามทีเ่ ปนจริงได การปฏิบตั ิ ุ ภาพทีเ่ หมาะสม สามารถ สมาธิจะทําใหนวิ รณ 5 สงบลง ทําใหจติ มีคณ รูเ ห็นสิง่ ตาง ๆ ไดตามความเปนจริง นอกจากนั้นยังเปนจิตที่เหมาะสม ทีจ่ ะนําไปใชในการกระทํากิจหรือการงานทุกอยาง เพือ่ ใหบงั เกิดผลดี ดังนัน้ วัตถุประสงคหลักของการปฏิบัตสิ มาธิ ก็คอื การทําให นิวรณ 5 สงบลง เมือ่ จิตไมมีนวิ รณ 5 รบกวน จิตจะอยูใ นสภาพผองใส (ปริสทุ โฺ ธ) ตัง้ มัน่ (สมาหิโต) และคลองแคลวควรแกการงาน (กมฺมนีโย) เปนจิตที่ตั้งมั่น แนวแน ประกอบอยูด วยความสุข เปนจิตที่พรอมจะนํา ไปใชในการกระทํากิจทัง้ ปวงเปนอยางดี อานิสงสในดานตาง ๆ ของการปฏิบตั ิสมาธิ การปฏิบตั ิสมาธิ อันทีจ่ ริงมีหลักในการปฏิบตั ิงา ย ๆ กลาวคือ ใหมสี ติรบั รูอ ยูก บั เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ หรือสิง่ ใดสิง่ หนึง่ และรับรูใ หตอ เนือ่ ง ในสิ่งที่กําหนดนั้น โดยไมไปรับรูในสิง่ อื่น การปฏิบัติสมาธิโดยทั่วไป นอกจากจะมีจดุ ประสงคหลักคือการทําใหนวิ รณ 5 สงบลงแลว อันทีจ่ ริง ยังมีอานิสงสอนื่ ๆ อีกมากมายทีจ่ ะบังเกิดขึน้ ซึง่ จะกลาวถึงในบทตอ ๆ ไป โดยจะนํามาแสดงในรูปแบบของการอุปมาเพือ่ ใหเห็นประโยชนในแงมมุ ตาง ๆ ของสมาธิไดชดั เจนยิง่ ขึน้ ซึง่ จะเปนเครือ่ งชักจูงใหเกิดความสนใจ และตัง้ ใจในการปฏิบตั สิ มาธิมากขึน้ เปรียบไดกบั การใชเชือกผูกวัวปาไวกับหลัก วัวปาจะคอย ๆ สงบ และนิง่ อยูก ับหลัก อุปมาแรกที่ จะกลาวตอไป เป นอุปมาหลักเพื่ อทําใหทราบ 37


หลักการ เขาใจวิธี การ ตลอดจนรูถึงอานิ สงส ของการปฏิ บัติ สมาธิ เปนอุปมาทีใ่ ชกนั มาก โดยเฉพาะในคัมภีรว สิ ทุ ธิมรรค อุปมาแรกนี้ เปรียบการปฏิบตั ิสมาธิ ไดกับการนําเอาเชือกมา ผูกวัวปาทีย่ งั ไมไดรบั การฝก ไวกบั เสาหลัก ในตอนตนวัวปาจะหงุดหงิด งุนงาน เดินกระชากเชือกไปมา แตในที่สุดก็จะคอย ๆ สงบลง และ หมอบนิง่ อยูก บั เสาหลักนัน้ เอง ในกรณีการปฏิบตั สิ มาธิกเ็ ชนเดียวกัน มีหลักการอยูว า ใหมีสติ กําหนดระลึกอยูใ นอารมณใดอารมณเดียว โดยจะเรียกอารมณนั้นวา “อารมณกรรมฐาน” ในตอนแรก ๆ จิตจะยังไมสงบ และจะมีอาการ หงุดหงิด ฟุง ไปกับการระลึกถึงอารมณอนื่ ๆ ทีไ่ มไดกาํ หนด หรือทีเ่ รียกวา มีนิวรณรบกวน แตเมือ่ มีความเพียรคอยตามระลึกถึงอารมณกรรมฐาน ไปเรือ่ ย ๆ ในทีส่ ุดจิตก็จะสงบ ตั้งมัน่ อยูก ับอารมณกรรมฐานนัน้ เอง ทําใหจติ สงบและเปนสมาธิ ในกรณีนี้ เปรียบวัวปาทีย่ ังไมไดรบั การฝก = จิตที่มนี ิวรณ 5 รบกวน ; เชือก = สติ ; เสาหลัก = อารมณของกรรมฐาน ; วัวทีห่ มอบ สงบนิง่ = จิตทีเ่ ปนสมาธิ เปรียบไดกับการจับแกวทีภ่ ายในบรรจุนา้ํ ทีม่ ีตะกอน ใหนงิ่ ไว จะไดนา้ํ ใสในทีส่ ุด อุปมาที่ 2 นี้ อันทีจ่ ริงมีนยั เชนเดียวกับอุปมาแรกทีไ่ ดอธิบายไป โดยเปรียบการปฏิบตั สิ มาธิไดกบั การจับแกวทีบ่ รรจุน้ําทีม่ ตี ะกอนฟุง อยู ใหนิ่งไว จะทําใหตะกอนคอย ๆ ตกลงไปอยูท ี่กนแกว ทําใหไดน้ําใสที่ อยูด านบน น้ําทีใ่ สนีจ้ ึงจะเปนน้ําทีเ่ หมาะสมในการนําไปใชในกิจการ 38


งานตาง ๆ ไดเปนอยางดี หรือทําใหมองเห็นสิ่งตาง ๆ ที่อยูในน้ําได ชัดเจนและตรงตามความเปนจริง ในกรณีนี้ เปรี ยบน้ําที่ มีตะกอนฟุ งอยู = จิตของบุคคลที่มี นิวรณ 5 รบกวน ; การจับแกวใหนงิ่ ไว = สติทตี่ งั้ มัน่ ในอารมณกรรมฐาน และน้ําทีใ่ ส = จิตทีเ่ ปนสมาธิ เปรียบไดกับการใชเลนสนนู รับแสง ทําใหไดจดุ รวมแสงทีส่ วางและมีพลังสูง สําหรับการอุปมาตามนัยนี้ เปนการชี้ใหเห็นถึงอานิสงสของ การปฏิบัตสิ มาธิในแงมุมอืน่ ๆ ทีน่ อกเหนือไปจากอานิสงสหลักคือการ ทํานิวรณใหสงบลง การปฏิบตั สิ มาธิแมมหี ลักการปฏิบตั พิ นื้ ฐานงาย ๆ สั้น ๆ คือการมีสติตั้งมัน่ ในอารมณกรรมฐานเพียงแคนั้น แตสามารถ กอใหเกิดอานิสงสทมี่ ากมายและหลากหลายอยางทีน่ กึ ไมถงึ อานิสงส ที่ ได รับจากการปฏิ บัติสมาธิที่ จะกล าวถึงใน หัวขอนี้ คือ การเสริมสรางจิตใหมพี ลัง การปฏิบัตสิ มาธิ ทําใหจติ มีพลังไดอยางไร ? เพื่อใหเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น เปรียบจิตไดกับแสงแดดที่สาด สองอยูท ั่วไป ซึ่งปกติก็มพี ลังงานอยูในระดับหนึง่ แตหากนําเลนสนูน มารับแสง แลวปรับโฟกัสใหมารวมอยูที่จุด ๆ เดียว จะทําใหไดจุด สวางทีเ่ ขมขึน้ และมีพลังงานความรอนเพิม่ มากขึน้ จนสามารถเผาไหม กระดาษได การปฏิบตั สิ มาธิกเ็ ชนเดียวกัน เปนการรวบรวมกระแสจิตทีแ่ ผ ซานไปรับรูอ ารมณทางชองทางการรับรูต าง ๆ กลาวคือ ตา หู จมูก ลิน้ 39


กายประสาท และใจ ใหรวมและมารับรูเ ฉพาะอารมณกรรมฐานทีก่ าํ หนด เพียงเรือ่ งเดียวและณ ทีจ่ ุดเดียว ซึง่ จะมีผลทําใหจิตมีพลังเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะหากสามารถปฏิบัตไิ ดจนถึงสมาธิในระดับทีเ่ รียกวารูปฌาน ซึ่ งพระพุ ทธเจาตรั สสรรเสริญว าเปนอธิจิต คือจิตที่ ควรแก การงาน ทุกอยาง จิตในระดับนีจ้ ะมีพลังเต็มเปย ม สามารถนําไปใชเรียนรูห รือ พิสจู นความจริงของธรรมชาติไดในทุกระดับ ทัง้ ในเรือ่ งทีเ่ หนือวิสยั ของ บุคคลทัว่ ไป เชน ตาทิพย หูทพิ ย อิทธิปาฏิหาริย ฯลฯ ตลอดจนใชเปน ฐานของการเจริญปญญา เพือ่ การบรรลุถงึ ความดับทุกขดบั กิเลส เปรียบไดกบั การสรางบานใหกบั จิต อุปมาตามนัยนี้ ทําใหเห็นอานิสงสของการปฏิบตั ิสมาธิในอีก แงมมุ หนึง่ โดยพิจารณาวาในขณะของการปฏิบัตสิ มาธิ จิตจะรับรูใ น อารมณทกี่ ําหนดเทานัน้ จะไมรับรูอ ารมณอื่น ๆ หรืออารมณอนื่ จะเกิด สอดแทรกเขามาใหจติ รับรูไ มไดเลย ดังนั้น จึงอาศัยผลของการปฏิบตั ิสมาธิในแงนี้ มาใชเพือ่ เสริม สรางความปลอดภัยใหกบั จิต กลาวคือ หากมีอารมณใดทีเ่ กิดขึน้ แลว รบกวนจิต ก็สามารถอาศัยการปฏิบัติสมาธิ โดยใหจติ รับรูในอารมณ กรรมฐานทีบ่ คุ คลคุน เคยหรือมีความชํานาญ อารมณอนื่ ๆ ก็ไมสามารถ เกิดแทรกเขามา ทําใหไมสามารถรบกวนจิตได จึงมีอุปมาถึงอานิสงส ในแงนขี้ องสมาธิวาเปน “บานทางจิต” หรือทีพ่ ระพุทธเจาทรงใชคําวา “วิหารธรรม” ซึง่ เปรียบไดกบั บานทางกายของชีวติ ในฝายกาย ทีจ่ าํ เปน ตองมีบานอาศัย เพื่อคอยปกปองคุมครองกายจากภยันตรายตาง ๆ ที่อยูภายนอก คราวใดที่กายไดกลับเขาไปอยูในบาน จะทําใหรูสึกมี 40


ความปลอดภัย ไมตอ งกลัววาจะถูกสิง่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูภ ายนอกทําอันตราย หากบุคคลไมมบี า นอยูอ าศัยเปนหลักแหลงแลว ยอมอยูเ ปนสุขไดยาก บุคคลที่ฝก สมาธิจนชํานาญ กลาวเปรียบไดวา ไดสรางบาน ทางจิตสําหรับตนไว หากมีอารมณใดที่เกิดขึ้นรบกวนจิต ทําใหจิตมี ความทุกขหรือความเดือดรอน และหากยังไมรูวาจะจัดการอยางไรดี ก็สามารถหลบเขาไปอยูใ นบานทางจิตคืออารมณของสมาธิเสีย อารมณ ตาง ๆ ทีเ่ ปนสิง่ รบกวนนัน้ ยอมปรากฏขึน้ ในจิตไมได จึงทําใหไมสามารถ รบกวนจิตหรือทําอันตรายตอจิตได และเมื่อจิตไดหลบมาอยูในบาน ทางจิต จนตัง้ มัน่ เปนสมาธิดแี ลว จึงออกจากบานทางจิตหรืออารมณ ของสมาธิ แลวมาเผชิญกับอารมณหรือเรื่องราวทีเ่ ปนปญหาทีเ่ ขามา รบกวนนัน้ เปรียบไดกบั การฝกหัดควบคุมจิตใหอยูใ นอํานาจของสติ อานิสงสของการปฏิ บัติสมาธิ ที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การฝกหัดควบคุมจิตใหอยูใ นอํานาจของตน หรือกลาวใหรัดกุมคืออยู ในอํานาจการควบคุมของสติ จิตที่ อยู ในอํานาจการควบคุมของสติ มีความหมายวาสติ ประสงคจะใหรบั รูอ ะไรหรือสิง่ ใด จิตก็จะรับรูเ รือ่ งนัน้ หรือสิง่ นัน้ ในทาง ตรงกันขาม หากไมประสงคจะใหรับรูอะไรหรือสิ่งใด จิตก็จะไมไปรับรู เรื่องนั้นหรือสิ่งนั้น สวนจิตที่ไมอยูในอํานาจการควบคุมของสติจะมี ลักษณะในทางตรงกันขาม การปฏิบตั ิสมาธิในทุกรูปแบบ มีหลักการอันเดียวกัน คือใหมี สติประคองจิตใหรับรูอ ยูใ นอารมณของสมาธิที่กําหนด เชนการปฏิบตั ิ 41


แบบอานาปานสติ จะมีสติประคองจิตใหรบั รูอ ยูแ ตกบั ลมหายใจเขาและ ออกเทานัน้ หากเผลอสติไปรับรูอ ารมณอนื่ ก็ใหมสี ติดงึ จิตกลับมารับรูอ ยู กับลมหายใจ การทีบ่ คุ คลสามารถมีสติกําหนดรูอ ยูก บั ลมหายใจไดมาก เทาใดและไดตอเนื่องเทาใด ยอมแสดงวาจิตของบุคคลอยูใ นอํานาจ การควบคุมของสติมากยิง่ ขึน้ เทานัน้ สวนบุคคลทีท่ ั้ง ๆ ที่ตงั้ ใจใหมีสติ กําหนดรูอยูที่ลมหายใจ แตจิตก็ยังเผลอออกไปรับรูในเรื่องอื่นสิ่งอื่น นั่นยอมแสดงวาจิตของบุคคลไมไดอยูในอํานาจการควบคุมของสติ จิตที่ไมอยูในอํานาจการควบคุมของสติ จึงทําใหไมสามารถใชจิตไป กระทําหรือทําหนาทีต่ อ สิง่ ตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ เมือ่ จิตไดรับการฝกปฏิบตั ิสมาธิ จะทําใหจิตอยูใ นอํานาจการ ควบคุมของสติ จึงทําใหบุคคลสามารถใชจิตไปกระทําหรือทําหนาที่ ตอเรื่องหรือสิง่ ตาง ๆ ไดเปนอยางดี จะใหจิตทําหรือไมทําอะไร จิตก็ พรอมจะทําตามดวยดี จึงทําใหจิตมีประสิทธิภาพ สมรรถภาพ และ พรอมหรือควรแกการนําไปใชในกิจงานทุกอยาง เปรียบไดกบั การพักผอนทางจิตทีด่ ีทสี่ ุด อานิสงสของการปฏิบัตสิ มาธิอีกแงหนึง่ คือ เปนการพักผอน ทางจิตทีด่ มี ากวิธหี นึง่ กลาวไดวา ดียงิ่ กวาการนอนหลับพักผอนเสียอีก ทัง้ นีเ้ พราะจิตทีอ่ ยูใ นสมาธิ จะไมถกู อารมณอนื่ ใดรบกวน ทัง้ อารมณที่ จะทําใหจติ ฟูหรือแฟบก็ตาม เพราะในขณะนัน้ จิตจะรับรูอ ยูแ ตอารมณของ สมาธิทกี่ ําหนดเทานั้น อารมณอื่น ๆ จะเกิดแทรกขึน้ มาในความรับรู ไมไดเลย และอารมณขณะทีอ่ ยูใ นสมาธินนั้ ก็เปนอารมณทสี่ ง เสริมจิตใหมี แตสภาวะของ ปราโมทย ปติ สุข มีความผองใส ตัง้ มัน่ และควรแกการงาน จึงทําใหจติ ทีอ่ ยูใ นสมาธิไดรบั การพักผอนอยางดีและอยางเต็มที่ 42


เปรียบไดกับการสรางความสุขแกชีวติ อานิสงสของการปฏิบตั สิ มาธิทสี่ ําคัญอีกประการหนึง่ คือทําให จิตเกิดความสุข ซึ่งมีคําเรียกความสุขที่เกิดจากสมาธิวา “ฌานสุข” หรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ วา “สุขเวทนาทีไ่ มมีอามิส” (อามิส แปลวา เหยือ่ ในทีน่ ี้มคี วามหมายวา ไมตองอิงอาศัย รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัส ทางกายใด ๆ) เปนความสุขที่เกิดขึน้ จากความสงบของจิตโดยเอกเทศ ดังที่มีพระพุทธพจนตรัสถึงภาวะของจิตที่ปฏิบัติจนไดบรรลุในฌาน ขั้นแรกหรือขั้นที่ 1 วา เปนภาวะที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ทัง้ หลาย และประกอบพรอมไปดวยวิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เรือ่ ง “ฌานสุข”เปนภาวะที่สําคัญมากในการปฏิบตั ิธรรมทาง พระพุทธศาสนา ในพระไตรปฎก เลมที่ 13 ขอที่ 183 พระพุทธเจาได ตรัสสรรเสริญวา เปนความสุขที่ควรเสพ เปนความสุขที่ไมควรกลัว ผูทไี่ ดฌาน เปนผูอ ยูใ กลพระนิพพาน ซึง่ แตกตางจาก “กามสุข” ที่อิง อยูกับรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสทางกาย ที่นาใครนายินดีพอใจ พระพุทธเจากลับตรัสสอนวาเปนความสุขทีม่ ีคณ ุ นอย มีโทษมาก เปน ความสุขทีไ่ มควรเสพ และเปนความสุขทีค่ วรกลัว นอกจากนั้น “ฌานสุข” ยังเปนความสุขทีส่ นับสนุนใหจิตของ บุคคลสามารถละหรืออยูเ หนือการครอบงําจากกามได ดังพระพุทธพจน ที่ตรัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 12 ขอที่ 211 วา เมื่อครั้งยังเปนพระ โพธิสตั ว ทรงรูอ ยูว ากามมีคณ ุ นอย มีโทษมาก แตตราบใดทีย่ ังไมบรรลุ ปตแิ ละสุขที่ละเอียดประณีตยิง่ กวากาม ก็ยงั ตองเวียนกลับมาหากาม อีก การทีบ่ ุคคลปฏิบัติสมาธิ จนไดรบั ความสุขอันเกิดจากสมาธิ 43


ซึ่งเปนความสุขที่ละเอียดประณีตยิ่งกวาความสุขที่มาจาก รูป เสียง ฯลฯ จึงทําใหจติ ไมหวัน่ ไหว และสามารถยืนหยัดตานทาน ไมถกู บีบคัน้ จากกระแสวัตถุและโลกธรรม หรือทีเ่ รียกรวมวากามคุณหรือกามสุขได อยางมัน่ คง วิธีการปฏิบัติ “สมาธิ” ตอจากนีไ้ ป จะขอแนะนําวิธีการปฏิบัตสิ มาธิ ในรูปแบบของ อานาปานสติ คือการมีสติกําหนดตามระลึกถึงลมหายใจเขาและออก ซึ่งเปนวิธีทรี่ ูจักและไดรบั ความนิยมอยางแพรหลายในหมูพุทธบริษทั เพือ่ การเขาถึงภาวะรูปฌาน 4 โดยสังเขป พอใหรเู ปนแนวทางคราว ๆ กอนการปฏิบตั คิ วรตัดปลิโพธ หรือเครือ่ งกังวลใจตาง ๆ ออกไป กอน หาสถานที่ทสี่ งบ ปลอดจากการรบกวนของผูคน จากนั้นนัง่ ขัด สมาธิที่เรียกวา “ทาดอกบัว” หรือ “ทาขัดสมาธิเพชร” ทาเหลานีท้ ําให กายมีความมัน่ คง ไมเกิดการโยกคลอนอันจะสงผลรบกวนจิต ทําใหไม สามารถเขาถึงภาวะของรูปฌานได เพราะเมือ่ เขาถึงภาวะของรูปฌาน แลว จะไมมกี ารรับรูท างประสาทตาง ๆ ทีเ่ นือ่ งกับกายทัง้ หมด คือ ตา หู จมู ก ลิ้ น และกายประสาท จะมี การรั บรู แต ทางใจหรื อมโนเพี ยง อยางเดียวเทานัน้ การโยกคลอนของกายจะทําใหจติ ตองมารับรูท างกาย และทําใหไมสามารถรับรูอ ยูแ ตเพียงทางใจอยางเดียวได ตอจากนั้นให ตั้งกายใหตรง ดํารงสติอยูเ ฉพาะหนา เมื่อหายใจเขาและหายใจออก ก็ใหมีสติตามรูลมหายใจที่เขาและออกนั้นไปตามที่เปนอยูจ ริง ไมวา ลมหายใจจะยาวหรือสัน้ ก็ปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติ ในตอนตนของการปฏิบตั ิ ใหมสี ติตามรูลมทีเ่ ขาและออก โดย 44


ทําเหมือนวิง่ ตามลม ระหวางปลายจมูกกับบริเวณหนาทอง เมือ่ สามารถ ตามรูไ ดสม่าํ เสมอพอสมควรแลว ใหเปลีย่ นมารับรูเ ฉพาะตรงจุดสัมผัส ของลมทีก่ ระทบปลายจมูกเพียงอยางเดียว ตอจากนีก้ ใ็ หรกั ษาการรับรู เฉพาะสัมผัสของลมตรงนีเ้ ทานั้น เมือ่ สามารถรับรูต รงจุดทีล่ มกระทบสัมผัสไดตอ เนือ่ ง ไมวอกแวก ไปทีอ่ นื่ หมายความวา กําลังของสมาธิดขี ึ้นตามลําดับ จนถึงจุดหนึง่ ที่ สมาธิเริม่ มีความแนบแนนขึน้ และถึงระดับทีจ่ ะเขาสูภ าวะของรูปฌานได จะมีสงิ่ ทีเ่ รียกวา “อุคคหนิมิต” ปรากฏขึน้ เองตามธรรมชาติ ซึง่ อาจมี ลักษณะเปนดวงสวาง เปนรูปทรงกลม หรือเปนรูปหยดน้าํ หรือคลาย ใยแมงมุม เปนตน ในกรณีนี้ อาจเปรียบไดกบั การใชเลนสนูนรับแสง จากดวงอาทิตย เพือ่ รวมแสงอาทิตยทกี่ ระจัดกระจายใหมาอยูใ นจุดเดียว จะทําใหเห็นเปนจุดหรือดวงสวางเกิดขึน้ มีความรอนสูงและสามารถเผา ไหมกระดาษใหลกุ เปนไฟได การทําสมาธิก็เชนเดียวกัน เปนการรวม กระแสจิตทีก่ ระจัดกระจายไปกับการรับรูอ ารมณในชองทางตาง ๆ ใหมาอยู ทีจ่ ดุ เดียว เมือ่ รวมไดแนวแนกจ็ ะเกิดเปนดวงสวางทีเ่ รียกวา “อุคคหนิมติ ” ขึ้น ตอจากนัน้ ใหรักษาการเห็นอุคคหนิมิตนีไ้ ว จนจิตมีความแนบ แนน และเปลีย่ นการรับรูท ั้งหมดจากสัมผัสของลมกระทบทีป่ ลายจมูก มารับรูท ี่อุคคหนิมิตเพียงอยางเดียว และเพือ่ ทดสอบวากําลังสมาธิใน ขณะนีม้ คี วามมัน่ คง แนบแนนเพียงพอสําหรับการเขาสูภ าวะของรูปฌาน หรือยัง ก็ทําไดโดยการลองยอ-ขยายอุคคหนิมิต หรือเลือ่ นใหใกลเขามา หรือใหไกลออกไป ซึง่ หากสามารถทําได ก็จะเรียกชือ่ ใหมวา “ปฏิภาคนิมติ ” ตอจากนีไ้ ป ใหเลือกปฏิภาคนิมติ ที่มขี นาด-สีสนั -อยูในระยะ ใกลหรือไกล ทีม่ คี วามรูส กึ พอดีกบั จิต มาใหจติ รับรูอ ยูแ ตในปฏิภาคนิมติ 45


นัน้ เมือ่ องคฌาน คือ วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา เกิดขึน้ ครบถวน สมบูรณเมือ่ ใด จิตก็จะเขาถึงสมาธิทเี่ รียกวารูปฌานที่ 1 และหากรักษา การกําหนดรูอ ยูในปฏิภาคนิมิตอยูตอเนือ่ งไปเรือ่ ย ๆ ก็จะคอย ๆ ละ องคฌานที่หยาบไปตามลําดับ จนเมื่อเขาถึงภาวะของรูปฌานที่ 4 จะเหลือแตองคฌาน คือ อุเบกขา และเอกัคคตา ภาวะของจิตทีเ่ ขาถึงรูปฌานนัน้ เปนจิตทีส่ งัดจากกาม สงัดจาก อกุศลธรรมทัง้ หลาย ไมมนี ิวรณเกิดขึ้นรบกวน ไมมดี ําริใด ๆ เกีย่ วกับ กาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย เกิดขึน้ เวทนาทั้งหลาย ที่เกิดขึน้ ในระดับนี้ เรียกวา เวทนาทางใจทีไ่ มมีอามิส เปนจิตที่พระ ุ ภาพพรอมและเหมาะสม ควรแกการงาน พุทธเจาตรัสวาเปน อธิจติ มีคณ และนําไปใชพิสจู นความจริงของธรรมชาติไดทุกอยางและทุกระดับ แต สิ่งทีเ่ ปนจุดมุงหมายสําคัญทีส่ ุดทีพ่ ระพุทธเจาตรัสสอนคือ นําไปเปน ฐานสําหรับการคนควาทางปญญา เพือ่ การลด ละ เลิก อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เพือ่ เขาถึงภาวะความดับทุกขดบั กิเลส ซึง่ เปนอุดมคติตามหลัก พระพุทธศาสนาตอไป

46


การปฏิบัติ “ปญญา” การปฏิบตั ิในลําดับสุดทายคือปญญา ดังที่ไดกลาวแลววา มี จุดหมายหลักเพือ่ ยกจิตใหอยูเ หนืออิทธิพลความรอยรัดเสียดแทงจาก สิ่งตาง ๆ ที่จะทําใหจิตเกิดความทุกข ดังนั้น หนังสือนี้จะเลือกกลาว แตการปฏิบตั ปิ ญ  ญาในแงมมุ นี้ การทีจ่ ติ ตกอยูภ ายใตอทิ ธิพลของสิง่ ใด หรือสิง่ ใดทีจ่ ะสามารถ รอยรัดเสียดแทงใหจติ เกิดความทุกขไดนนั้ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา แสดงไววา เกิดขึน้ เนือ่ งจาก “อุปาทาน” หรือความยึดมัน่ ถือมัน่ ดังที่ได แสดงทุกขในอริยสัจวา คืออุปาทานขันธ 5 ยึดมัน่ มาก.....ก็ทกุ ขมาก ยึดมัน่ นอย.....ก็ทกุ ขนอ ย ไมยดึ มัน่ .....ก็ไมทกุ ข ปญญาในไตรสิกขา เปนปญญาทีม่ งุ ถอนอุปาทาน ปญญาที่พระพุทธเจาตรัสสอน หรือปญญาในไตรสิกขา จึง เปนปญญาทีม่ ุงจะลด ละ เลิก อุปาทานโดยเฉพาะ ไมใชปญ  ญาทีเ่ ปน ไปเพือ่ คิดคน สรางสรรค เพือ่ การอืน่ ใดเลย ดังนัน้ การจะปฏิบตั ิปญ  ญา ในไตรสิกขาไดถกู ตอง จึงตองทําความรูค วามเขาใจในเรือ่ งของอุปาทาน เสียกอน ซึง่ พระพุทธเจาตรัสไววามี 4 ประการ ดังนี้ 1. กามุปาทาน เปนอุปาทานทีเ่ นือ่ งดวยกาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส สัมผัสทางกาย ที่นา ใครนา พอใจ 2. ทิฏุปาทาน เปนอุปาทานที่เนื่องดวยความเห็นผิด โดย เฉพาะในเรือ่ งของชีวติ และเปาหมายทีแ่ ทจริงของชีวติ 47


3. สีลัพพตุปาทาน เปนอุปาทานทีเ่ นื่องดวยศีลและพรต โดยเชือ่ วาดวยเพียงการกระทําตามศีลและพรตบางอยาง จะทําใหบรรลุ สิ่งสูงสุด 4. อัตตวาทุปาทาน เปนอุปาทานที่เนื่องดวยความรูสึกที่ เปนตัวตน หรือความรูส ึกวา “เรา” โดยมุงหวังทําใหตัวตนไดบรรลุใน สิง่ ทีด่ ีทสี่ ุด ประเสริฐสูงสุด พิจารณาปญญาในแงเพือ่ ละสังโยชน จะเห็นไดชัดเจนกวา ในพระไตรปฎก พระพุทธเจาไมไดตรัสถึงการละอุปาทานทีเ่ ปน ไปตามลําดับ แตไดแสดงไวชัดในเรือ่ งของสังโยชน 10 หรือสิง่ ทีผ่ ูกมัด บุคคลไวกับทุกข 10 ประการ ซึง่ อันทีจ่ ริงมีนัยอันเดียวกันกับอุปาทาน 4 ทําใหเห็นถึงการละสังโยชนจากระดับหยาบไปจนถึงระดับละเอียด และ ทําใหบุคคลบรรลุความเปนพระอริยบุคคลไปตามลําดับ ดังนั้น จึงเห็น วาควรนําเรือ่ งของสังโยชน มาแสดงไว ณ ทีน่ ดี้ วย พระพุทธเจาตรัสจําแนกสังโยชน เปน 10 ประการ คือ 1. สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิดวาเปนตัวของตน 2.วิ จิ กิ จฉา ความลั ง เลสงสั ย ในพระรั ต นตรั ย หรื อ ความลังเลสงสัยในชีวติ หรือขาดความมัน่ ใจในการดําเนินชีวติ 3. สีลพั พตปรามาส ความถือมัน่ ในศีลและพรตอยางงมงาย 4. กามราคะ ความกําหนัดในกาม หรือรูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกายทีน่ ารักนาพอใจ 5. ปฏิฆะ ความหงุดหงิดขัดเคือง 6. รูปราคะ ความติดใจในอารมณแหงรูปฌาน 48


7. อรูปราคะ ความติดใจในอารมณแหงอรูปฌาน 8. มานะ ความสําคัญตนดวยการเปรียบเทียบกับผูอ นื่ 9. อุทธัจจะ ความฟุง ซาน 10. อวิชชา ความไมรใู นอริยสัจ กลาวอยางถึงทีส่ ดุ ในระบบของไตรสิกขา ปญญาเปนสิง่ สําคัญ ที่สุดและเปนตัวการหลักในการละสังโยชนใหหมดสิน้ ไปอยางเด็ดขาด สวนศีลและสมาธิไมไดทําหนาที่เปนตัวการละสังโยชนโดยตรง แตก็ เปนสวนสนับสนุนซึง่ จะขาดเสียมิได เพือ่ ใหปญ  ญาสามารถละสังโยชน หมดสิน้ ไปไดอยางเด็ดขาด พระโสดาบัน เปนผูมีศีลบริบูรณ สมาธิพอประมาณ และ ปญญาพอประมาณ สามารถละสังโยชน 3 คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกจิ ฉา และสีลพั พตปรามาส ไดอยางเด็ดขาด และหากสามารถทําราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบางลง จะทําใหบรรลุระดับพระสกทาคามี พระอนาคามี เปนผูม ศี ลี บริบรู ณ สมาธิบริบรู ณ และปญญา พอประมาณ สามารถละสังโยชนไดเพิ่มขึ้นอีก 2 คือกามราคะ และ ปฏิฆะ ไดอยางเด็ดขาด พระอรหันต เปนผูม ีศลี บริบูรณ สมาธิบริบูรณ และปญญา บริบูรณ สามารถละสังโยชน ไดเพิม่ ขึน้ อีก 5 คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ไดอยางเด็ดขาด การปฏิบตั ิปญ  ญา 3 ระดับ จําแนกตามระดับของการละสังโยชน ดังนัน้ การปฏิบตั ปิ ญ  ญา จึงกลาวไดวา มีการปฏิบตั ใิ น 3 ระดับ 49


คือ

1. ป ญญาพอประมาณ ที่ สามารถละสั งโยชน 3 คื อ สักกายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา และสีลพั พตปรามาส ไดอยางเด็ดขาด 2. ปญญาพอประมาณ ที่สามารถละสังโยชน 5 ไดอยาง เด็ดขาด คือเพิม่ สังโยชนทเี่ ปน กามราคะ และปฏิฆะ 3. ปญญาบริบูรณ ที่สามารถละสังโยชน 10 หรือสังโยชน ทัง้ หมดไดอยางเด็ดขาด คือเพิม่ สังโยชนทเี่ ปน รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา การปฏิบตั ิปญ  ญาพอประมาณ ในระดับพระโสดาบันและพระสกทาคามี การจะปฏิบตั ิปญ  ญาในขัน้ ตนนี้ไดถกู ตอง จําเปนตองรูเ ขาใจ ใหชัดเจนกอนวา ปญญาพอประมาณในระดับพระโสดาบันและ พระสกทาคามี คืออะไร ? ในพระไตรปฎก เลมที่ 16 ขอที่ 90 มีพระพุทธพจนตรัสไวชดั วา พระโสดาบันเปนผูส มบูรณดว ยทิฏฐิ หรือมีสมั มาทิฏฐิสมบูรณ จึงทําให ไดความชัดเจนวาปญญาพอประมาณในระดับของพระโสดาบัน และพระสกทาคามี คือสัมมาทิฏฐิในองคมรรคขอแรก หรือความรู ความเขาใจหรือความเห็นทีถ่ กู ตองในเรือ่ งอริยสัจ 4 นัน่ เอง ดังนั้นปญญาในขั้นตนที่สดุ ทีจ่ ะตองปฏิบัตใิ หเกิดขึน้ กอน คือ ปญญาที่รูเขาใจถูกตองในอริยสัจ 4 ซึ่งวิธีการปฏิบัติก็คือการนําเอา อริยสัจ 4 ที่พระพุทธเจาตรัสสอนและใหอรรถาธิบายไว มาอาน ศึกษา พิจารณาและใครครวญตามจนเขาใจ เห็นตามและลงใจทุกประการ จนไมมอี ะไรทีข่ ดั แยงหรือไมเห็นดวยแตประการใด 50


อริยสัจ คือ ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ ความจริงทีท่ ําใหผเู ขาถึงกลายเปนพระอริยะ หรือความจริงทีท่ ําใหพน ไปจากขาศึกศัตรู ซึ่งในทีน่ ี้หมายถึงกิเลส หรือเครือ่ งเศราหมองทัง้ ปวง จําแนกไดเปน 4 ประการ คือ 1. ทุกข ทุกขในอริยสัจ กลาวโดยสรุปคืออุปาทานขันธ 5 หรือ ขันธ 5 ทีป่ ระกอบดวยอุปาทานหรือความยึดมัน่ ถือมัน่ (ขันธ 5 คือองค ประกอบของชีวติ จําแนกไดเปน 5 อยาง คือ (1)รูปขันธ หมายถึงรางกาย รวมถึงพฤติกรรมตาง ๆ ทีเ่ กิดจากกาย (2) เวทนาขันธ คือความรูสึ กสุข ทุกข หรือเฉย ๆ (3) สัญญาขันธ คือความจําไดหมายรู (4) สังขารขันธ คือความคิดปรุงแตงตอสิง่ ทีร่ บั รู (5) วิญญาณขันธ คือความรูแ จงอารมณ เชน รูร ูป เสียง กลิน่ รส สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ) ทุกขในอริยสัจเปนทุกขที่เกิดจากอุปาทาน หรือความยึดมั่น ถือมัน่ ในขันธ 5 กลาวใหชดั เปนทุกขทเี่ กิดขึน้ จากความขัดแยงของใจที่ ยึดมัน่ ถือมัน่ คือตองการใหสงิ่ ตาง ๆ ไมเปลีย่ นแปลง (นิจจัง) ใหดาํ รงอยู ในสภาพเดิมอยางทีต่ อ งการ (สุขงั ) และอยูใ นอํานาจการบังคับของตน (อัตตา) กับความจริงทีเ่ ปนอยู คือสิง่ ตาง ๆ อยูใ นสภาพทีเ่ ปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา (อนิจจัง) ทนอยูใ นสภาพเดิมไมได (ทุกขัง) และไมอยูใ น อํานาจการบังคับของใคร (อนัตตา) ดังนัน้ ทุกขในอริยสัจจึงเปนทุกขที่ บุคคลหลงสรางขึ้นมาเองและทํารายตนเอง เปนความทุกขทสี่ ามารถ ทําใหหมดสิน้ ไปไดอยางเด็ดขาดดวย มีกิจทีต่ องกระทํา คือ กําหนดรู หรือรูส ภาวะของทุกขในอริยสัจใหถกู ตอง เพือ่ ความเขาใจในเรือ่ งนี้ อาจเปรียบขันธ 5 ไดกับรางกายและ อุปาทานเหมือนกับเชือ้ โรค เมือ่ มีเชื้อโรคเขาสูร างกาย จึงทําใหเกิดโรค ตาง ๆ ขึน้ กับรางกาย ภาวะของกายทีเ่ กิดโรค เปรียบไดกบั อุปาทานขันธ5 51


หรืออาจอธิบายเพือ่ ความเขาใจ ดวยตัวอยางงาย ๆ เชน เรา จอดรถไวที่หนาบาน แลวไดยนิ เสียงโครมของรถถูกชน เมื่อออกไปดู แลวเห็นวาเปนรถของเราทีถ่ กู ชน จะเกิดความรูส กึ โกรธไมพอใจ แตหาก เห็นวาไมใชรถของเรา จะรูส ึกเฉย ๆ เปนตน 2. สมุทัย สมุทยั ในอริยสัจ หรือสาเหตุของทุกข กลาวโดยสรุป คือ ตัณหา หรือความทะยานอยาก ซึง่ จําแนกเปน 3 อยางคือ กามตัณหา (ความทะยานอยากใน รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย อันนาใคร นาพอใจ) ภวตัณหา (ความทะยานอยากในภพ อยากเปนนั่นเปนนี่ คัมภีรอ รรถกถาแสดงไววา คือความทะยานอยากทีป่ ระกอบดวยสัสสตทิฏฐิ ซึง่ เห็นผิดวาเทีย่ ง เห็นวามีอตั ตาและโลกทีเ่ ทีย่ งแท ยัง่ ยืน และคงอยู ตลอดไป) และวิภวตัณหา (ความทะยานอยากในวิภพ อยากไมเปนนัน่ ไมเปนนี่ อยากพรากพนดับสูญไปเสีย คัมภีรอ รรถกถาแสดงไววา คือ ความทะยานอยากที่ประกอบดวยอุจเฉททิฏฐิ ซึ่งเปนความเห็นผิดวา ขาดสูญ เห็นวาคนและสัตวจตุ ิจากอัตภาพนีแ้ ลวขาดสูญ) การอธิบายความหมายของตัณหา 3 ประการนี้ ยังมีวธิ อี ธิบายอีก แบบหนึง่ โดยเฉพาะความหมายของภวตัณหาและวิภวตัณหา ซึง่ เห็นวามี ความนาสนใจ จึงขอนําเอามาเขียนไว ณ ทีน่ ดี้ ว ย โดยไดอธิบายวาในแตละ คนลวนมีทงั้ ภวตัณหาและวิภวตัณหาประกอบอยูท งั้ 2 อยาง ตามภาวะ ของธรรมชาติทเี่ ปนอยู ซึง่ มีทงั้ ภาวะทีต่ อ งการและไมตอ งการ ซึง่ ภาวะที่ ตองการจะแตกตางกันไปในแตละบุคคล เชน ตองการเปนเศรษฐี พระราชา เทวดา รูปพรหม อรูปพรหม เปนตน สวนภาวะทีไ่ มตอ งการ คือไมตอ งการ ไปเกิดเปนสัตวในอบายภูมิ ไมตอ งการภาวะของความแก เจ็บ ตาย เปนตน หรืออยากจะเกิดเปนนัน่ เปนนี่(=ภวตัณหา) แตไมอยากจะแก เจ็บ และตาย จากภาวะนัน้ ๆ หรือไมอยากเกิดในอบายภูมิ เปนตน(=วิภวตัณหา) 52


เมื่ อมีตัณหาหรือความทะยานอยากเกิดขึ้ น ยอมทําใหเกิ ด อุปาทานหรือความยึดมั่นถือมั่นเกิดขึ้นตามมา สมดังที่พระพุทธเจา ตรัสแสดงไวในปฏิจจสมุปบาทวา “ตัณหาเปนปจจัยใหเกิดอุปาทาน” เมือ่ มีอปุ าทานเกิดขึน้ ยอมทําใหอปุ าทานขันธหรือทุกขอริยสัจเกิดขึน้ ดวย ั หาหมดสิน้ ไป มีกิจทีต่ อ งกระทํา คือ ใหละ หรือทําใหตณ การจะรูถ ึงสภาวะของตัณหาวาเปนอยางไร ในทีน่ ี้ขอเสนอวา จําเปนจะตองรูว า ความตองการทีแ่ ทจริงของธรรมชาติชวี ิต ทัง้ ฝายกาย และฝายจิต คืออะไรเสียกอน จึงจะสามารถจําแนกไดวาตัณหาหรือ ความทะยานอยากนั้นคืออะไร ซึ่งกลาวโดยสรุป คือความตองการที่ บุคคลคิดไปเองหรือใสลงไปเอง โดยทีธ่ รรมชาติแท ๆ ของชีวติ นัน้ ไมได มีความตองการนัน้ เลย ในประเด็นนี้ ขอใหอา นทบทวนเรือ่ งชีวติ คืออะไร ? ตองการอะไร ? เพือ่ อะไร ?ในหนา 24- 29 ของหนังสือนี้ 3. นิโรธ นิโรธในอริยสัจ คือ ภาวะที่ไมมที ุกข หรือภาวะที่ ตัณหาดับสิน้ ไป มีกจิ ทีต่ องกระทํา คือ ทําใหแจง หรือทําใหปรากฏ เปนภาวะทีจ่ ะปรากฏขึน้ มาเอง ภายหลังจากทีท่ ําใหตณ ั หาหมดสิน้ ไป 4. มรรค มรรคในอริยสัจคือ อริยมรรคมีองค 8 เปนขอปฏิบตั ิ ใหบรรลุภาวะทีไ่ มมที ุกข มีกจิ ที่ตองกระทํา คือ ใหเจริญ หรือฝกฝน ปฏิบตั ใิ หเกิดขึน้ โดยสาระสําคัญขององคมรรคทัง้ หมดคือ ความถูกตอง ในการกระทํา 8 เรือ่ ง ซึง่ สรุปรวมลงเปนไตรสิกขา หรือ ศีล สมาธิ และ ปญญา โดยไดอธิบายรายละเอียดวิธกี ารปฏิบัตไิ ปแลวในเรือ่ ง ศีล และ สมาธิ สําหรับในบทนีแ้ ละบทตอ ๆ ไป จะอธิบายวิธีปฏิบตั ใิ นเรือ่ งปญญา การรูเ ขาใจในอริยสัจ 4 ทําใหเกิดอะไรขึน้ ? กลาวโดยสรุป ทําใหเห็นเสนทางการดําเนินชีวิตทัง้ หมด ทัง้ สิน้ ของมนุษย วามี 2 เสนทางใหญ คือ 53


(1) เสนทางชีวิตทุกข (คือ ทุกข - สมุทัย) เปนเสนทาง การดําเนินชีวติ ทีเ่ อาตัณหาหรือความตองการของตนหรือตัวตนเปนหลัก จึงเปนการดําเนินชีวติ ทีข่ ัดแยงกับความเปนจริงของธรรมชาติ ดังที่ได อธิบายไปแลว ทําใหเกิดผลเปนอุปาทานขันธ หรือทุกขในอริยสัจ ซึง่ จะ ประสบทุกขทหี่ ยาบหรือละเอียดเพียงใด ขึน้ กับตัณหาหรือความตองการ นั้น วาจะหยาบหรือละเอียดอยางไร เปนเสนทางชีวติ ทีเ่ วียนวายอยูใ น วัฏสงสารหรือใน 31 ภพภูมิ อยางทีไ่ ดกลาวไปแลว (2) เสนทางชีวติ ทีไ่ มทกุ ข (คือ นิโรธ - มรรค) เปนเสนทาง การดําเนินชีวติ ทีเ่ อาสัมมาหรือความถูกตองเปนหลักในการดําเนินชีวติ (อริยมรรค มีองค 8 ซึง่ เปนวิธปี ฏิบตั ิเพื่อความดับทุกข ทุกองคขนึ้ ตน ดวยสัมมาทีแ่ ปลวา “ถูกตอง” โดยมีรายละเอียดตามที่พระพุทธเจาได ใหอรรถาธิบายไว หรือตามหลักของไตรสิกขาที่ไดอธิบายในหนังสือนี)้ บนเสนทางการดําเนินชีวิตนี้ จึงไมมีความขัดแยงระหวางสิ่งที่ตัวตน ตองการ กับความเปนจริงทีเ่ ปนอยู จึงไมมอี ปุ าทานขันธหรือทุกขในอริยสัจ เกิดขึ้ น เปนเสนทางที่ออกจากวัฏสงสาร และนําใหบรรลุความเปน พระอริยบุคคล และหมดสิน้ ทุกขในอริยสัจไปตามลําดับ บุคคลเมื่อรูชัดถึงเสนทางการดําเนินชีวิตทั้งหมดทั้งสิน้ เชนนี้ แลว จึงรูจ กั ทีจ่ ะละการดําเนินชีวติ ทีน่ ําไปสูท ุกข และเลือกดําเนินชีวติ ที่ จะนําไปสูค วามไมมีทกุ ข กลาวคือ จะไมดาํ เนินชีวิตดวยตัณหาไปตาม ความอยากของตัวตน เพือ่ ตอบสนองตัวตน แตจะดําเนินชีวิตไปตาม ความถูกตอง เอาความถูกตองเปนเครือ่ งนําในการดําเนินชีวติ แทน การทีบ่ คุ คลรูจ กั ละการดําเนินชีวติ ทีเ่ ปนไปตามตัณหาหรือ ความอยากเพือ่ ตอบสนองตัวตน นีแ้ หละคือการละสักกายทิฏฐิ ซึง่ จะเกิดขึน้ ไดเพราะรูแ ละเห็นแลววาเสนทางการดําเนินชีวติ ทีเ่ ปนไปโดย 54


สัมมาหรือถูกตองนั้น คืออะไร หากยังไมรูไมเห็น ก็ยังไมสามารถละ สักกายทิฏฐิได การรูแ ละเห็นเสนทางชีวติ ทีไ่ มทุกขนี้ ยังทําใหบคุ คลเกิดความ มั่นใจในการดําเนินชีวิตที่จะบรรลุถึงเปาหมายที่เปนอุดมคติทแี่ ทจริง อยางเต็มเปย ม จึงทําใหละวิจกิ จิ ฉา คือความลังเลสงสัยในการดําเนิน ชีวติ ใหหมดสิ้นไปดวย และที่สุดคือทําใหไมตองไปพึง่ สิง่ ศักดิส์ ิทธิ์หรือ หวังผลดลบันดาลจากสิ่งอืน่ ใดทัง้ หมด แตจะพึง่ ความรูค วามเขาใจใน เสนทางชีวติ ทีถ่ กู ตองนัน้ เองเปนเครือ่ งนําทางในการดําเนินชีวติ จึงทําให ละสีลพั พตปรามาสหรือความงมงายตาง ๆ ไปดวยทัง้ หมด การมีสมั มาทิฏฐิทรี่ เู สนทางการดําเนินชีวติ ทัง้ หมดนี้ อาจเปรียบ ไดกับการไดแผนที่ทถี่ ูกตองอยูใ นมือ และทําการศึกษาเสนทางตาง ๆ บนแผนที่ จนมีความรูความเขาใจในเสนทางบนแผนที่อยางช่ําชอง เมื่อถึงคราวที่จะตองเดินทางไปยังจุดหมายที่ใดที่หนึ่ง ก็จะรูจักที่จะ เลือกเฟนเดินทางบนเสนทางที่ถูกตองบนแผนที่ (=ละสักกายทิฏฐิ) ทําใหมคี วามมัน่ ใจในการเดินทางวาจะไมหลง ชาหรือเร็ว ยอมถึงจุดหมาย ปลายทางอยางแนนอน (ละวิจกิ จิ ฉา) และไมตอ งรูส กึ กลัวหรือระแวงตอ การเดินทางจนตองหาทีพ่ งึ่ ทางใจมาคอยปลอบใจ (=ละสีลพั พตปรามาส) เพราะมีและมัน่ ใจในแผนทีท่ เี่ ปนเครือ่ งนําทาง เปรียบเทียบกับบุคคลทีไ่ มมสี มั มาทิฏฐิ หรือไมมแี ผนทีท่ ถี่ กู ตอง อยูใ นมือ เมือ่ คิดจะเดินทางไปที่ใดทีห่ นึง่ ก็จะยึดเอาความรูส ึกของตน เปนทีต่ งั้ วานาจะเปนเสนทางนีเ้ สนทางนัน้ (=สักกายทิฏฐิ) เมือ่ เปนเชนนี้ ยอมทําใหมีความหวาดหวัน่ และไมมีความมัน่ ใจจริง ๆ ในการเดินทาง (=วิจิกิจฉา) และเพื่อที่จะขจัดความหวาดหวั่นหรือความกลัวที่คอย รบกวนจิตใจ จึงตองนึกพึ่งพิงและออนวอนตอสิง่ ศักดิส์ ิทธิ์ทตี่ นศรัทธา 55


ใหคอยคุมครอง และดลบันดาลใหการตัดสินใจเลือกเสนทางในการ เดินทาง เปนไปโดยถูกตอง (=สีลพั พตปรามาส) การมีสมั มาทิฏฐิในอริยสัจ 4 ทําใหบุคคลมีแผนที่ทถี่ ูกตองอยู ในมือ ซึง่ เปนเครือ่ งมือทีจ่ ะทําใหสงั โยชน 3 หมดสิน้ ไปได บุคคลเมื่อมีสัมมาทิฏฐิเปนเครือ่ งนําทาง ยอมทําใหเกิดศีลที่ เปนธรรมเกิดขึ้นไปดวยดังทีไ่ ดอธิบายไปแลว และเมื่อสามารถปฏิบตั ิ จนทําใหศีลบริบูรณไดเมื่อไร ก็จะทําใหบรรลุเปนพระโสดาบั นและ หากทําราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบาง ก็จะบรรลุพระสกทาคามีในทีส่ ุด การปฏิบตั ิปญ  ญาพอประมาณ ในระดับพระอนาคามี การปฏิบตั ิปญ  ญาในลําดับถัดไป คือ ปญญาพอประมาณใน ระดับพระอนาคามี เพือ่ ละกามราคะและปฏิฆะสังโยชน การจะเกิดปญญาพอประมาณในระดับอนาคามีไดนนั้ นอกจาก จะตองมีศีลที่บริบูรณในระดับพระโสดาบันแลว ยังจะตองมีสมาธิที่ บริบรู ณ เปนองคประกอบรวมทีส่ ําคัญอีกองคประกอบหนึง่ ดวย สมาธิที่บริบรู ณ เมือ่ พิจารณาในบริบททีพ่ ระพุทธเจาตรัสแลว นาจะหมายถึงภาวะของสมาธิในระดับฌาน ตัง้ แตปฐมฌานเปนตนไป เพราะเปนภาวะที่ “สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทัง้ ปวง” เรือ่ งของ กามไมสามารถแทรกซึมเขามาในภาวะจิตระดับนีไ้ ด ภาวะของจิตทีไ่ ดฌาน มีนยั สําคัญอยางนอย 2 ประการ ทีเ่ ปน เครื่องสนับสนุนจิตใหสามารถปฏิบัติจนเกิดปญญา แลวละสังโยชน คือกามราคะ และปฏิฆะได คือ 1. ความสุขจากฌาน ทีเ่ รียกวา “ฌานสุข” ทําใหจติ มีความ 56


แนวแน และมัน่ คง ไมเกิดความอาลัยอาวรณใน “กามสุข” อีกตอไป สมดังพระพุทธพจนทตี่ รัสไวในพระไตรปฎก เลมที่ 12 ขอที่ 211 วา “...ดูกรมหานาม ถา แม วา อริยสาวกเล็ งเห็นด วยปญญา โดยชอบตามเปนจริงวา กามใหความยินดีนอย มีทุกขมาก มีความ คับแคนมาก โทษในกามนีย้ งิ่ ดังนี้ แตอริยสาวกนัน้ เวนจากกาม เวนจาก อกุศลธรรม ยังไมบรรลุ ปติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบกวา นั้น เธอจะยังเปนผูไ มเวียนมาในกามไมไดกอน แตเมือ่ ใด อริยสาวกไดเล็ง เห็นดวยปญญาโดยชอบ ตามความเปนจริงอยางนี้วา กามใหความ ยินดีนอย มีทุกขมาก มีความคับแคนมาก โทษในกามนีย้ งิ่ ดังนี้ และเธอ ก็เวนจากกาม เวนจากอกุศลธรรม บรรลุปต ิและสุข หรือกุศลธรรมอืน่ ทีส่ งบกวานัน้ เมือ่ นัน้ เธอยอมเปนผูไ มเวียนมาในกามเปนแท...” 2. ภาวะของจิตในฌานโดยเฉพาะทีแ่ สดงไววา “สงัดจาก กาม” กลาวคือเปนภาวะทีไ่ มมเี รือ่ งของกามเกิดขึน้ รบกวนเลย การปฏิบตั ปิ ญ  ญาเพือ่ ละกามราคะและปฏิฆะนัน้ จะตองปฏิบตั ิ จนเกิดปญญาเห็นแจงตนตอการเกิดขึ้นของกามราคะและปฏิฆะนั้น ซึง่ พระพุทธเจาไดตรัสแนะแนวทางใหแลวในพระไตรปฎก เลมที่ 22 ขอ 334 วา “อารมณอนั วิจติ รทั้งหลายในโลกไมชื่อวากาม ความกําหนัด ทีเ่ กิดขึน้ ดวยสามารถแหงความดําริของบุคคล ชือ่ วากาม” ภาวะของจิตทีอ่ ยูใ นฌาน เปนภาวะทีย่ งั ไมมีดําริใด ๆ เกีย่ วกับ กาม เพราะเปนภาวะทีส่ งัดจากกาม จึงทําใหบคุ คลประจักษชดั วาภาวะ ที่ยังไมเกิดความรูสึกที่เปนกามนั้นเปนอยางไร ตอเมื่อออกจากฌาน จิตจึงเริม่ มารวมรับรูก บั ประสาท 5 คือ ตา หู จมูก ลิน้ และกายประสาท และเกิดความรับรู รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย ขึน้ ความดําริ ดวยความกําหนัดทีม่ ตี อ รูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสทางกาย จึงเกิดขึน้ 57


โดยเมือ่ ดําริวา เปนสิง่ ทีน่ ารักนาใคร จะทําใหเกิดกามราคะ หากดําริวา เปนสิง่ ทีน่ าขัดเคืองไมนาพอใจ ก็จะทําใหเกิดปฏิฆะ บุคคลเมื่อเกิดปญญาเห็นเชนนี้ จึงประจักษแจงวา ที่แททั้ง เรื่ องของกามและกามสุขเป นของหลอกที่ เกิดขึ้ นจากจิ ตของบุ คคล ดําริหรือจินตนาการไปเอง จึงทําใหไมหลงใหล ไมยนิ ดีรวมถึงไมยนิ ราย ในเรือ่ งของกามและกามสุขอีกตอไป ประกอบกับจิตทีไ่ ดฌานมีนริ ามิสสุข เกิดขึน้ ดวย จึงไดอาศัยความสุขทีเ่ กิดขึน้ นี้ ทดแทนความสุขทีเ่ ปนกามสุข ทําใหไมมคี วามอาลัยอาวรณตอ กามสุขอีกตอไป ทัง้ หมดทีไ่ ดกลาวไปนี้ จึงทําใหสามารถละสังโยชนคอื กามราคะและปฏิฆะ ไดอยางเด็ดขาด การปฏิบตั ิปญ  ญาสมบูรณในระดับพระอรหันต การปฏิบตั ิปญ  ญาในระดับสุดทาย คือระดับพระอรหันต เพือ่ ละสังโยชนทเี่ หลือทัง้ หมดอีก 5 ประการ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ซึง่ กลาวโดยสรุป คือความยินดีพอใจหรือความ ยึดติดถือมัน่ ในความสุขทีเ่ กิดจากฌาน และภาวะตางๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งใน ระดับฌาน ซึง่ รวบยอดมาอยูท เี่ รือ่ งของความรูส กึ วาเราทีอ่ ยูล กึ ทีส่ ดุ การปฏิบตั ิปญ  ญาในระดับนี้ เปนการปฏิบัตเิ พือ่ ทําปญญาให บริบูรณโดยตรง เพราะองคประกอบทีเ่ ปนสิกขา อีก 2 เรือ่ งคือศีลและ สมาธินั้น ไดปฏิบัติจนบริบูรณแลว การปฏิบัติปญญาใหบริบูรณใน ระดับนี้ จึงเนนการพิจารณาในไตรลักษณ คือพิจารณาใหเห็นอนิจจัง (ความไมเทีย่ ง) ทุกขัง (ความทีท่ นอยูใ นสภาพเดิมไมได) และอนัตตา (ความไมใชตวั ตน) ในภาวะของฌาน จนสามารถถอนความยินดีพอใจ และความยึดติดถือมั่นในฌานและภาวะตาง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องในระดับ 58


ฌาน รวมทั้งความรูส ึกที่เปนเราทีล่ ะเอียดทีส่ ุดไดอยางเด็ดขาด ทําให ละสังโยชนคอื รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชาไดหมดสิน้ บรรลุเปนพระอรหันต ซึ่งเปนอุดมคติสูงสุดตามคําสอนในพระพุทธศาสนา เปนผูที่สามารถดับทุกขดับกิเลสไดอยางหมดจดและสิ้นเชิง เปนพระอเสขะ ที่ไมมีกิจใด ๆ ที่จะตองปฏิบัติเพื่อความดับทุกขดับ กิเลสอีกตอไป

59


การปฏิบัติไตรสิกขาแบบประยุกต ตอจากนี้ จะขอนําเสนอการปฏิบัตไิ ตรสิกขาในแบบประยุกต เพือ่ ใหสามารถปฏิบตั ไิ ดตลอดเวลา ในทุกสถานการณ และเปนอันหนึง่ อันเดียวกันกับชีวติ ประจําวัน ซึง่ สามารถทําไดโดยอาศัย “สติ” เปนแกน ของการปฏิบตั ิ การปฏิบตั โิ ดยอาศัยสติเปนแกนกลางในการปฏิบตั ิ จากเรือ่ งของไตรสิกขาทีไ่ ดอธิบายไปแลว ทําใหเห็นรายละเอียด และหัวใจของสวนที่เปนแกนหรือแกนของไตรสิกขาในแตละเรื่อง จึง ทําใหสามารถประยุกตการปฏิบตั ิไตรสิกขา โดยอาศัย “สติ” เปนแกน กลางของการปฏิบตั ไิ ดดงั นี้ 1. ใหมี "สติ" ระลึกใน "สัมมาทิฏฐิ" (= ความรูค วามเขาใจ ในเรือ่ งของชีวติ ตลอดจนคุณคาความหมายของสิง่ ตางๆทีถ่ กู ตอง) แลวไปเกีย่ วของกับสิง่ ตางๆ เหลานั้นดวยกายและวาจาตามนัย ของ “สัมมาทิฏฐิ” นั้น จะทําใหเกิดสิ่งที่เรียกวา “ศีล” หรืออาจแตก ออกไปไดเปน สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ 2. ให มี "สติ" ระลึกตั้งมั่นแนวแนอยูใ นอารมณหรือสิง่ ที่ กําหนด จะทําใหเกิดสิง่ ทีเ่ รียกวา ”สมาธิ” หรืออาจแตกออกไปไดเปน สัมมาวายามะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ 3. ให มี "สติ" ระลึกพิจารณาหรือไตสวนอารมณหรือสิง่ ที่ รับรู เพือ่ ใหรูเทาทันความจริง โดยอาศัยอริยสัจ 4 เปนกรอบในการ พิจารณา วาการรับรูต อสิง่ ตางๆ อยางไรที่จะทําใหเกิดทุกข และรับรู อยางไร จึงจะไมเกิดทุกข จะทําใหเกิดสิง่ ทีเ่ รียกวา “ปญญา” หรืออาจ 60


แตกออกไปไดเปน สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ การจะปฏิบตั ิ สติ อยางไรใน 3 ลักษณะทีก่ ลาวขางตน ขึน้ อยู กับสถานการณของชีวติ ในขณะนัน้ เปนสําคัญ ในภาวะปกติ ทั่ วไป การปฏิ บั ติ จะหนั กไปในทางศี ล กลาวคือใหมีสติระลึกในสัมมาทิฏฐิ หรือความรูค วามเขาใจในคุณคา ความหมายที่ถูกตองของเรือ่ งตาง ๆ ทัง้ ทีเ่ ปนบุคคล สิง่ ของ กฎ กติกา มรรยาท ฯลฯ แลวจึงใชกายและวาจาไปทําหนาทีเ่ กีย่ วของใหถูกตอง ตามสัมมาทิฏฐินนั้ ๆ ก็จะทําใหเกิดผลเปนการกระทําถูกตอง ไมกอให เกิดปญหาหรือความทุกข ทีจ่ ะมาสรางความเดือดรอน ใหเกิดขึน้ ทัง้ แก ตนเองและสังคม ในภาวะทีจ่ ิตรูส ึกเหน็ดเหนือ่ ย ไมมีพลัง วุนวาย หรือมี อารมณตา ง ๆ รบกวนจิตใจ การปฏิบตั ิจะหนักไปในทางสมาธิ กลาวคือ ให มี "สติ" ระลึกตัง้ มัน่ แนวแนอยูใ นสิง่ หรืออารมณที่กําหนด ก็จะทําใหอารมณทั้งหลายที่รบกวนจิตสงบลง ทําใหจิตมีภาวะสงบ ผองใส ตั้งมั่น เต็มเปย มดวยพลัง และเมื่อจิตมีความพรอมเชนนี้แลว จึงออกจากสมาธิ แลวมาทําหนาทีต่ า ง ๆ ทีจ่ ะตองทําตอไป ในภาวะทีจ่ ติ ประสบปญหา ไมวา จะเปนปญหาอะไรก็ตาม ทัง้ ทีเ่ ปนปญหาเกีย่ วของกับบุคคล สังคม การงาน ฯลฯ หรือปญหา ของตัวจิตเอง เชน ความทุกข ความไมสบายใจ ความวิตกกังวล การปฏิบตั ใิ นสถานการณแบบนีจ้ ะหนักไปในทางปญญา ซึง่ ปญญา ในทีน่ ี้อยางทีไ่ ดกลาวไปแลว คือ เปนปญญาทีม่ ุงถอนหรือละอุปาทาน หรือยกจิตใหอยูเ หนืออิทธิพลรอยรัดเสียดแทงจากสิง่ ทีจ่ ติ รับรู ดังนัน้ “สติ” ในกรณีนจี้ ะทําหนาที่ตามระลึก พิจารณา ไตสวน วาจิตไปมีทาทีรับรู ตอสิ่งนั้นผิดอยางไร สิ่งนั้นจึงทําใหจิตเกิดทุกขได และจะตองมีทาที 61


รับรูใ หถกู ตองอยางไร จึงไมทําใหเกิดทุกข เมือ่ เกิดปญญารูเขาใจ ก็จะ คอย ๆ ปรับใหจติ มีทาทีการรับรูท ถี่ กู ตองยิง่ ขึน้ ๆ ความทุกขในชีวติ ก็จะ นอยลง ๆ ตามลําดับ กลาวโดยสรุป สถานการณตา ง ๆ ของชีวติ มีอยู 3 สถานการณ ใหญ ๆ ดังทีก่ ลาวมาแลว การปฏิบตั ธิ รรมของบุคคลจึงขึน้ อยูก บั สถานการณเปนหลัก แลวปรับเปลีย่ นไปมาอยูต ลอดเวลา ขึน้ กับวาสถานการณ ตาง ๆ จะแปรเปลีย่ นไปอยางไร หากบุคคลสามารถปฏิบตั สิ ติไดถกู ตอง และสอดคลองกับสถานการณจริง นัน่ หมายความวาจะทําใหทกุ สถานการณของชีวิต เปนไปดวยดี และยังทําใหกิเลสและทุกขในอริยสัจของ บุคคลไดรบั การบรรเทาและทําใหหมดสิน้ ไปพรอม ๆ กัน กลาวเพิ่มเติมในกรณีประสบปญหา หรือมีปญหาเกิดขึน้ และ บุคคลไดใชวิธปี ฏิบัติสติเพื่อใหเกิดปญญาตามที่ไดรับคําแนะนํานี้ แตในขณะนัน้ หากไมเกิดปญญา ปญหาตาง ๆ ก็ยงั เกิดขึน้ รบกวนจิต คราวนี้แนะนําใหปฏิบตั ิสติเพือ่ ใหเกิดสมาธิ ปญหาตาง ๆ ก็จะถูก ทําใหสงบลง ไมรบกวนจิตเปนการชัว่ คราว แตหากในขณะนัน้ ก็ยังไม สามารถทําสมาธิใหเกิดขึน้ ได ในขัน้ นี้ขอแนะนําใหปฏิบตั ิสติเพือ่ ให เกิดศีล ปญหาตาง ๆ จะถูกจํากัดใหอยูแ ตภายในใจ ไมลุกลามบาน ปลายออกมาภายนอกโดยทางกายและวาจา ทําใหสามารถจํากัดขอบเขต ของปญหา ใหอยูแ ตภายในใจ ทําใหแกไขไดงา ยขึน้ ในภายหลัง แตหาก ไมสามารถปฏิบตั ใิ หเกิดศีล ปญหาก็จะลุกลามออกมาภายนอกทางกาย และวาจา ทําใหยากตอการควบคุมและแกไขมากขึน้ สิง่ ทีเ่ รียกวาอบาย หรือความเสือ่ มตาง ๆ มากมายจะเกิดขึน้ ติดตามมา

62


บทสรุป หนังสือ “ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา” ขอยุติ ไวเพียงนี้ ดวยหวังเปนอยางยิง่ วา จะชวยใหทานผูอ านเขาใจและเห็น ประโยชนของไตรสิกขาในแงมมุ ตาง ๆ เพิม่ มากขึน้ จนทําใหเกิดความ มัน่ ใจในการศึกษาและปฏิบตั ติ ามหลักของไตรสิกขา เพือ่ บรรลุจดุ หมาย ที่เปนอุดมคติของชีวิตตามที่พระพุทธเจาตรัสสอนมากยิง่ ขึน้ ตลอดจน เห็นความสมบูรณแบบของระบบไตรสิกขาทีจ่ ะใชเปนหลักในการเผยแผ คําสอนของพระพุทธเจา เพื่อใหบังเกิดประโยชนแกมหาชนไดอยาง กวางขวางและมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ และทีม่ งุ หวังเปนพิเศษ คือสามารถ อาศัยนํามาใชเปนคูม อื ในการศึกษาและปฏิบตั แิ กผเู ริม่ ตนไดเปนอยางดี ขอความเจริญในธรรม จงมีแกทานผูอ า นทุกทาน.

63


ดรรชนีคนคํา Master Key 33 กมฺมนีโย 9, 37 กาม 43, 57, 58 กามคุณ 44 กามฉันท 36 กามตัณหา 52 กามภพ 11, 12 กามภพทีเ่ ปนทุคติ 11, 12 กามภพทีเ่ ปนสุคติ 11, 12 กามราคะ 13, 48, 49, 50, 56, 57, 58 กามสุข 17, 43, 44, 57, 58 กามุปาทาน 47 กิเลส 2 ขณิกสมาธิ 7 ขันธ5 51, ความสุ ข 2, 16, 17 ความสุขที่เกิดจากปญญา 18 ความสุขที่เกิดจากศีล 18 ความสุขที่เกิดจากสมาธิ 18 ฌานสุข 17, 18, 43, 56 ตัณหา 28, 52, 53 ไตรลักษณ 58 ไตรสิกขา 1, 2, 3, 6, 8, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 19, 53, 60 ถีนมิทธะ 36 ทิฏุปาทาน 47 ทุกขในอริยสัจ 51, 53, 54 ทุกขัง 51, 58 โทสะ 13, 49 ธาตุดิ น 25 ธาตุน้ํา 25 ธาตุไฟ 25 ธาตุลม 25 นรก 1 นิจจัง 51 นิพพาน 12, 43 นิโรธในอริยสัจ 52, 53

นิวรณ5 36, 37, 39 บานทางจิต 40, 41 ปฏิฆะ 13, 48, 49, 50, 56, 57, 58 ปฏิภาคนิมิต 45 ปริยุฏฐานกิเลส 15, 16 ปริสุทฺโธ 9, 37 ปลิโพธ 44 ปญญา 1, 4, 5, 8, 10, 12, 13, 14, 15,16, 47, 49, 53, 60, 61 ปญญาบริบูรณ 14, 49, 50 ปญญาพอประมาณ 13, 49, 50 ปาฏิโมกข 20 ปาราชิก 21 เปรต 11 พยาบาท 36 โพธิญาณ 27 ภพภูมิ 2, 11, 12, 54 ภวตัณหา 52 มรรคในอริยสัจ 53 มานะ 49, 50, 58 โมหะ 13, 49 ราคะ 13, 49 รูปราคะ 48, 49, 50, 58 รูปขันธ 51 รูปฌาน 11, 14, 44, 45 46 รูปพรหม 11, 12 รูปภพ 11, 12 วัฏสงสาร 11, 54 วิจิกิจฉา 13, 36, 48, 49, 50, 55 วิญญาณขันธ 51 วิติกกมกิเลส 15, 16 วินัย 12 วิบากกรรม 21 วิปสสนา 7 วิปสสนาญาณ16 7 วิภวตัณหา 52 วิมุตติสุข 17, 18

เวทนาขันธ 51 ศีล 1, 4, 5, 8, 9, 10, 12 13, 14, 15, 16, 19, 49, 53, 60, 61 ศีลที่เปนธรรม 20, 21, 22, 33, 34 ศีลที่เปนวินัย 20, 21, 23, 34 ศีลบริบูรณ 13, 14, 49, 56 สกทาคามิ มรรค 6 สกทาคามี 13, สติปฏ ฐาน 4 2, 6, 7 สมถวิปสสนา 2 สมถะ 7 สมาธิ 1, 4, 5, 8, 9, 10, 12, 13, 14, 15, 16, 49, 53, 60, 61 สมาธิบริบูรณ 13, 14, 49, 56 สมาธิพอประมาณ 13, 49 สมาหิโต 9, 37 สมุทัยในอริยสัจ 52, สักกายทิฏฐิ 13, 48, 49, 50, 54, 55 สังขารขั นธ 51 สังโยชน 2, 7, 13, 14, 48, 49, 50 สัญญาขันธ 51 สัตวเดรัจฉาน 11 สัมมากันมันตะ 4, 20, 60 สัมมาทิฏฐิ 4, 5, 21, 23 24-34, 55, 60, 61 สัมมาทิฏฐิสมบูรณ 50 สัมมาวาจา 4, 20, 60 สัมมาวายามะ 4, 5, 60 สัมมาสติ 4, 5, 60 สัมมาสมาธิ 4, 5, 35, 60 สัมมาสังกัปปะ 4, 5, 61 สัมมาอาชีวะ 4, 20, 60 สัสสตทิฏฐิ 52

64

สิกขาบท 12, 21 สีลัพพตปรามาส 13, 48, 50, 55, 56 สีลัพพตุปาทาน 48 สุขัง 51 โสดาบัน 13, 20, 49, 50 56 โสดาปตติมรรค 6 หนาที่ 26, 27, 28 อธิจิต 40, 46 อธิจิตตสิกขา 1, 3, 5 อธิปญญาสิกขา 1, 3 อธิศีลสิกขา 1, 3 อนัตตา 51, 58 อนาคามี 13, 49, 56 อนิจจัง 51, 58 อนุสยกิเลส 15, 16 อบายภูมิ 11, 52 อรหันต 13, 49 อริยบุคคล 2, 6, 7, 54 อริยมรรคมีองค8 2, 3, 5, 6, 53 อริยสัจ 3, 6, 12, 51, 53 อรูปฌาน 11, 14 อรูปพรหม 11, 12 อรูปภพ 11, 12 อรูปราคะ 49, 50, 58 อวิชชา 49, 50, 58 อสุรกาย 11 อัตตวาทุปาทาน 48 อัตตา 51 อัปปนาสมาธิ 7 อาบัติ 21 อารมณกรรมฐาน 38, 39, 40 อุคคหนิมิต 45 อุจเฉททิฏฐิ 52 อุทธัจจะ 49, 50, 58 อุทธัจจะกุกกุจจะ 36 อุปจารสมาธิ 7 อุปาทาน 47, 51, 53 อุปาทานขันธ5 51, 53


รายชือ่ หนังสือทีไ่ ดจดั พิมพมาแลวของผูเ รียบเรียง พ.ศ. 2548 “ความหมายคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และการพัฒนาชีวิ ตที่ สมบู รณ แบบ” พ.ศ. 2549 “ความพอเพียง คือทางรอดของมนุษยและสังคม”

พ.ศ. 2550 “หลั กธรรมพื้นฐานที่ ชาวพุทธพึงรู ”

พ.ศ. 2551 “คูมือบัณฑิตของแผนดิน”

พ.ศ. 2552 “คูมือปญญา ในพระพุทธศาสนา”

พ.ศ. 2553 “ปฏิจจสมุปบาท ฉบับวิเคราะห-สังเคราะห”

65


รายชือ่ หนังสือทีไ่ ดจดั พิมพมาแลวของผูเ รียบเรียง

พ.ศ. 2554 “สติปฏฐาน 4 ฉบับวิเคราะห-สังเคราะห”

พ.ศ. 2555 “อริ ยสัจสําหรับทุกคน”

พ.ศ. 2556 “ความสุขทุกมิตติ ามหลักพระพุทธศาสนา”

พ.ศ. 2557 “ชีวิตติ ดป ญญา”

พ.ศ. 2558 - 2559 “ปฏิบัติธรรม (ทําไม? - อยางไร?)”

66


ทายเลม หลักธรรม คําสัง่ สอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจานัน้ หากมองแบบผาน ๆ ไปอาจจะรูส กึ วาเขาถึงและเขาใจไดยาก แตถา ลองเพียรพยายามสักนิด จะพบวาเกิดความเขาใจไดงา ยกวาทีค่ ดิ ไวมาก เพราะธรรมทีท่ รงแสดงไว จริง ๆ แลวเปนเรือ่ งใกลตัว และเปนปจจุบนั ทัง้ สิน้ หวังวาเมือ่ ทุกทานไดอา น ไตรสิกขา : ระบบการศึกษาของพระพุทธเจา มาจนถึงหนาสุดทายนีแ้ ลว คงจะมีความเขาใจและสามารถนําไปปฏิบตั ิ เพือ่ การเริม่ ตนสูค วามหลุดพน หรือใชประคับประคองการดําเนินชีวติ อยางมีปกติสขุ ตามแนวทางของพระพุทธองค กรรชิต จิตระทาน ผูอ ํานวยการสํานักบริหารศิลปวัฒนธรรม

67



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.