สูจิบัตรออนไลน์ การแสดงดนตรี “90 ปี ชูชาติ พิทักษากร กล่อมนครด้วยดนตรี”

Page 1


สารจากอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีกับ ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอกชูชาติ พิทักษากร ศิลปนแห่งชาติ และศิลปนแห่งจุฬาฯ ในโอกาสครบรอบวันคล้ายวันเกิด ๙๐ ป ใน วันที ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๗ นี ท่านเปรียบเสมือนต้นไม้ใหญ่ทีหยังรากลึก สร้างรากฐานที สําคัญให้กับวงการดนตรีคลาสสิกในประเทศไทย

และสําคัญอย่างยิงคือองค์ความรูแ ้ ละ

ประสบการณ์ทีท่านได้มอบให้กับคณาจารย์และนิสต ิ รวมทังยังแผ่กิงก้านสาขาสร้างบุคลากร ทางด้านดนตรีไปเปนหลักในสถาบันต่าง ๆ และสังคม ทังครู อาจารย์ นักดนตรี และนักวิชา การทางด้านดนตรี มาก

ทีมีชอเสี ั ล้วนแต่ได้รบ ั การปลูกฝงจากท่านเปนจํานวน ื ยงอยูใ่ นปจจุบน

ท่านจึงเปนผูม ้ ค ี ณ ุ ป ู การต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

และการดนตรีในประเทศไทย

อย่างยิง วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็เปนผลผลิตทีท่านได้รว่ มก่อ ตังและวางแนวทาง และพัฒนาแตกแขนงออกเปนวงดนตรีต่าง ๆ ในปจจุบน ั ทําให้เกิดการ พัฒนาทักษะการบรรเลงดนตรีโดยเฉพาะ วง The Viola Lovers ซึงเปนวงดนตรีทีมี เอกลักษณ์เฉพาะและเปนหนึงในวงดนตรีทีออกไปเผยแพร่ในระดับนานาชาติอย่างกว้างขวาง การแสดงคอนเสิรต ์ ในครังนีจะได้เห็นบรรดาศิ ษย์ของท่ าน มารวมตั วกั นแสดง ดนตรี เพือแสดงความขอบพระคุณ แสดงความเคารพ และส่งความปรารถนาดีต่อท่ าน อาจารย์ชูชาติ ผู้มีส่วนสําคั ญต่ อความเจริญก้ าวหน้าและความสําเร็จของทุกคน ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเดชะพระบารมีแห่งสมเด็จพระปยมหาราช และสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ทรงคุ้มครอง และพระราชทานพรให้ท่านอาจารย์และครอบครัว ประสบแต่ความสุข ความเจริญ อุ ดมด้วยจตุรพิธพรชัย และสัมฤทธิผล ในสิงอันพึงปรารถนา จงทุกประการ

ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต เอืออาภรณ์



ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอกชูชาติ พิทักษากร ศิลปนแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) พุ ทธศักราช ๒๕๕๓



ุ คําประกาศเกียรติคณ ศิลปนแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ดนตรีสากล ป พ.ศ. ๒๕๕๓ พันเอก ชูชาติ พิทักษากร ปจจุบน ั อายุ ๗๗ ป เกิดวันที ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๗๗ เปน ชาวกรุงเทพมหานคร เรียนทังเครืองดนตรีไทยและเครืองดนตรีสากล สามารถบรรเลงซอด้วง ออร์แกน และไวโอลินได้ดี จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทด้านดนตรีจากประเทศ อังกฤษ เมือ พ.ศ.๒๕๐๕ เข้ารับราชการทีกองดุรย ิ างค์ทหารบก

ในฐานะนายทหารสังกัดกอง

ดุรย ิ างค์ทหารบก ได้ทําหน้าทีเปนครูผู้พฒ ั นาหลักสูตรวิชาการดนตรีในโรงเรียนดุรย ิ างค์ และ ผู้ควบคุมวงดุรย ิ างค์แสดงในวาระสําคัญของชาติ ทังในประเทศและ ต่างประเทศ มีผลงานเพลง เรียบเรียงเสียงประสานเปนจํานวนมากและเปนทีรูจ้ ก ั กันดี ผลงานชินประวัติศาสตร์คือ ผลงาน การเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยสําหรับเดียวเปยโน

ซึงใช้ไวยากรณ์เสียงประสานตาม

แบบแผนสากลโดยรักษาความวิจต ิ รของดนตรีไทยไว้ได้อย่างสมบูรณ์ ระหว่างรับราชการทีกองดุรย ิ างค์ทหารบก ได้เผยแพร่ความรูด ้ า้ นดนตรีทางสถานี โทรทัศน์ชอ ิ ารณ์” เปนเวลาถึง ๑๐ ป ได้รบ ั พระราชทานรางวัลแผ่น ่ ง ๗ ในรายการ “ดนตรีวจ เสียงทองคําในฐานะผูเ้ รียบเรียงเสียงประสานยอดเยียม ได้รบ ั เหรียญเชิดชูเกียรติ The Silver Cross of Merit of Distinguished Service to the Republic of Austria ซึงเปนรางวัลทรง คุณค่าในโลกดนตรีคลาสสิก ต่อมาใน พ.ศ.๒๕๑๙ ลาออกจากราชการ และกลับเข้ารับราชการอีก ครังทีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน พ.ศ.๒๕๒๕ ระหว่างรับราชการทีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ผลิตผลงานทางวิชาการหลายวิชา โดยเฉพาะด้านการเรียบเรียงเสียงประสานและการประพันธ์เพลง เปนครูสอนไวโอลินและวิโอลา สอนการอํานวยเพลง การประพันธ์เพลง และการเรียบเรียงเสียงประสาน ได้ก่อตังวงซิมโฟนี ออร์เคสตราและวงเครืองสายวิโอลาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดํารงตําแหน่งเปนศิลปนแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พันเอก ชูชาติ พิทักษากร เปนครูดนตรีในอุ ดมคติ เปนปูชนียบุคคลทางด้านดนตรีทีได้ รับการยกย่องอย่างมาก ตลอดระยะเวลาทีผ่านมาได้สร้างคุณป ู การใหญ่หลวงต่อวงการดนตรี คลาสสิกของประเทศ

โดยเฉพาะการสร้างบุคลากรดนตรีรน ุ ่ แล้วรุน ่ เล่าทีมีคณ ุ ภาพเปนจํานวน

มาก ซึงประสบความสําเร็จอย่างยิง และเปนกําลังสําคัญด้านดนตรีคลาสสิกออกไปรับใช้สง ั คม ไทยในปจจุบน ั ด้วยมีผลงานเปนทีประจักษ์และเปนทียอมรับอย่างสูงในวงการดนตรีทังด้านการแสดง ดนตรี การสอนดนตรี การบุกเบิกดนตรี และการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีอันทรงคุณค่าต่อเนือง ยาวนานถึง ๕๐ ป พันเอก ชูชาติ พิทักษากร จึงได้รบ ั การยกย่องเชิดชูเกียรติเปนศิลปนแห่งชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) พุ ทธศักราช ๒๕๕๓


รายการแสดง Flute Quartet Wolfgang Amadeus Mozart

Flute Quartet No. 1 in D major, K. 285 I. Allegro

วงดุรย ิ างค์สากล กรมศิลปากร National Symphony Orchestra (String Section) Johann Sebastian Bach

Air on G String from Suite No. 3, BWV 1068

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟากรมพระยานริศรานุวด ั ติวงศ์

฼ขมรเทร฾ยค༛

Josef Strauss and Johann Strauss II

Pizzicato Polka, Op. 234 Siboney

ธนู รักษาราษฎร์ ผูอ ้ ํานวยเพลง

Ernesto Lecuona

วงศิษย์เก่าครุศาสตร์จุฬาฯ CU Education Alumni Orchestra Richard Rodgers and Oscar Hammerstein II

The Sound of Music Selection for Orchestra

ชูวท ิ ย์ ยุระยง ผูอ ้ ํานวยเพลง ศิษย์เก่าบรรเลงเดียว Henryk Wieniawski

Légende, Op. 17

ณชพล ทิพย์ธญ ั ไวโอลิน อุ ษา นภาวรรณ เปยโน วงเครืองสายจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra

ประพันธ์ดนตรีโดย มนตรี ตราโมท

฾สมส຋อง฽สง

เรียบเรียงแนวเปยโนโดย ชูชาติ พิทักษากร เรียบเรียงดนตรีโดย นรอรรถ จันทร์กลํา ณัชชา พันธุเ์ จริญ เดียวเปยโน นรอรรถ จันทร์กลํา ผูอ ้ ํานวยเพลง The Viola Lovers Cavatina in D major, Op. 85, No. 3

Joachim Raff, Choochart Pitaksakorn, arr. ประพันธ์ดนตรีโดย ณรงค์ฤทธิ ธรรมบุตร

ชูชาติ༛พิทก ั ษากร

เนือร้องโดย ก้องภพ รืนศิร ิ

นรอรรถ จันทร์กลํา

ผูอ ้ ํานวยเพลง

ตรีทิพ กมลศิริ

ผูด ้ ําเนินรายการ


ประวัติผช ู้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอกชูชาติ พิทักษากร ศิลปนแห่งชาติ ด้านครอบครัว

ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอก ชูชาติ พิทก ั ษากร เปนชาวกรุงเทพมหานคร เกิดเมือวันที ๑๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๗๗ ทีบางลําพู เขตพระนคร เปนบุตรคนเดียว บิดาชือ เรือตรีชต ั ษากร ิ พิทก มารดาชือ ชัน พิทก ั ษากร ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอก ชูชาติ พิทักษากรสมรสกับนางเพ็ญศรี พิทักษากร ข้าราชการ บํานาญกระทรวงมหาดไทย มีบุตรด้วยกัน ๓ คน

อาจารย์ชูชาติและครอบครัว

ด้านการศึกษา

ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอก ชูชาติ พิทักษากร สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนอํานวยศิลป ในวัยเด็กได้รบ ั การสนับสนุนการเรียนดนตรีจากคุณพ่อซึงเปนสถาปนิก เมือ อายุ

๙ ป ได้เริมเล่นโทน-รํามะนาประกอบรําโทน คุณพ่อเปนผูพ ้ าไปฝากเรียนดนตรีกับ เรือตรี

ยรรยงค์ แดงกูร โดยเรียนทังไวโอลินและซอด้วง อันเปนแนวคิดของคุณพ่อทีว่าถ้าจะเปนนักดนตรี ต้องรูท ้ ังไทยและสากล ครูยรรยงค์หด ั ให้เรียนดนตรีไทยด้วยความจํา ส่วนดนตรีสากลครูหด ั ด้วย โน้ตสากล ในระหว่างนีได้ติดตามครูยรรยงค์ไปร่วมเล่นกับวงดุรย ิ ะบรรเลง ทีมีนก ั ดนตรีรว่ มวงรุน ่ อาวุ โส เช่น ครูแฉล้ม (ซอด้วง) ครูเจือ เสนีวงศ์ (ขิม) ต่อมาครูยรรยงค์เกรงว่าเทคนิคซอด้วงจะขัด กับเทคนิคของไวโอลินจึงให้เลิกเรียนซอด้วงและเปลียนไปเรียนออร์แกนแทน ในการเรียนออร์แกน ครูยรรยงค์แนะนําให้เรียนออร์แกนเพิมเติมจากครูสวุ รรณ ไพศาลศรี อย่างจริงจังจนสามารถเล่นเพลงเดียวออร์แกนขันสูงได้หลายเพลง เช่น นกขมิน สารถี พญาโศก ลาวแพน ซึงเปนฐานในการนําไปเรียบเรียงเปนเพลงเดียวสําหรับเปยโนในเวลาต่อมา


เมืออายุ ๑๓ ปสนใจอยากเรียนเปยโนและอยากเรียนแต่งเพลงอย่างจริงจังโดยเฉพาะการ ประพันธ์เพลง แต่ในสมัยนันหาครูยาก เมือหาทีเรียนไม่ได้ คุณพ่อจึงสังซือหนังสือแบบเรียนดนตรี ของ U.S. School of Music ชือ Teach Yourself Harmony และ Teach Yourself to Compose จากต่างประเทศมาให้เรียนด้วยตนเอง และได้อ่านหนังสือของครูดนตรีทีมีชอเสี ื ยงสมัย นันคือ Palmer โดยคุณพ่อช่วยแปลให้ทังเล่มทุกเล่ม พอเรียนจบก็ลองแต่งเพลงเองและสามารถ ทําได้ดี ในระหว่างป พ.ศ. ๒๔๙๒ - ๒๔๙๕ อาจารย์ชูชาติเข้าศึกษาต่อในระดับชันมัธยมศึกษาตอน ปลาย สายวิทยาศาสตร์ ทีโรงเรียนเตรียมอุ ดมศึกษา ในระยะนีอาจารย์ชูชาติได้พบเพือนดนตรีที ถูกคอกันคือ คุณสมศักดิ บุญมานิช จึงชวนกันมาตังวงดนตรี โดยในวงมีสมาชิกท่านหนึงคือ ดร.สายสุร ี จุตก ิ ล ุ ซึงเรียนสายอักษรศาสตร์ ทังหมดช่วยกันแต่งเพลงและเรียบเรียงเพลง โดย อาจารย์ชูชาติรบ ั เปนผูแ ้ ต่งทํานอง คุณสมศักดิแต่งเนือร้อง นอกจากนียังตังวงดนตรีสากลส่วนตัว ชือ คณะจันทรากร โดยอาจารย์ชูชาติทําหน้าทีเปนทังนักเปยโน ประพันธ์และเรียบเรียงเพลงเอง รับ บรรเลงตามงานทัวไปและออกอากาศตามสถานีวท ิ ยุเปนประจํา นักดนตรีในวงจันทรากรเปนเพือน ๆ ร่วมชันเรียนจากโรงเรียนเตรียมอุ ดมศึกษา ได้แก่ น.พ.ชินโอสถ หัศบําเรอ (ไวโอลิน) น.พ.สํานวน บัว พิมพ์ (ไวโอลิน) เพลงทีเล่นส่วนใหญ่เปนเพลงไทยสากลทีแต่งขึนใหม่และเรียบเรียงมาจากเพลงต่าง ประเทศ

ในช่วงนันได้แต่งเพลงและเรียบเรียงเพลงทังหมดหลายสิบเพลง

และยังเปนนักออร์แกน

ประจําให้กบ ั วงดุรย ิ บรรเลง ซึงเปนวงเครืองสายผสมออร์แกนของ ครูยรรยงค์ แดงกูร ในระหว่างเรียนทีโรงเรียนเตรียมอุ ดมศึกษา ด้วยความสนใจในเสน่หเ์ สียงไวโอลิน จึงได้ไป ุ น ิ เทศารักษ์ โดยใช้แบบ สมัครเปนศิษย์นก ั ไวโอลินคลาสสิกชันแนวหน้าของประเทศ คือ อาจารย์สท ฝกหัดตามตําราฝรังที ครูเติม เสนาสกุล ศิษย์พระเจนดุรย ิ างค์ (ปติ วาทยกร) ได้วางพืนฐานเอาไว้ อาจารย์ชูชาติทม ุ่ เทให้กบ ั การฝกซ้อมไวโอลินอย่างจริงจัง ออกจากบ้านไปเรียนไวโอลินทุกวัน ทางบ้าน คิดว่าไปติวหนังสือกับเพือน ในทีสุดสอบเข้าจุฬาฯ ไม่ได้ ทางบ้านตัดสินใจส่งไปเรียนเภสัชศาสตร์ที ประเทศอังกฤษด้วยทุนของบิดาในป พ.ศ.๒๔๙๕ ด้วยเห็นว่าคงเรียนไม่หนักเท่ากับการเรียนแพทย์ จะ ได้มเี วลาเรียนดนตรีเรียนไวโอลินด้วย

อาจารย์ยรรยงค์ แดงกูร และอาจารย์สท ุ ิน เทศารักษ์


เมือเดินทางไปถึงประเทศอังกฤษก็รบ ี มองหาโรงเรียนดนตรีทีดี แต่ก็ไม่ได้ละเลยเรืองการ เรียนในสาขาเภสัชศาสตร์ตามความต้องการของทางบ้าน เมือสอบผ่านข้อสอบระดับชาติทก ุ วิชาใน สายวิทยาศาสตร์ ทีเรียกว่า Advance GCE (General Certificate of Education) แล้วได้สมัคร เข้าเรียนสาขาเภสัชกรรมที Woolish Polytechnic ในขณะเดียวกันได้สมัครเรียนดนตรีคลาสสิก อย่างจริงจังที Blackheath College of Music ซึงตังอยูย ่ า่ น Greenwich กรุงลอนดอน โดย เลือกเรียนกับอาจารย์เซ้นต์ อาโมรี (Saint Amory) ใช้เวลาฝกซ้อมไวโอลินอย่างหนักพร้อม ๆ กับ วิชาเปยโนและฮาร์โมนี อาจารย์อาโมรีเห็นแววความสามารถ สนับสนุนให้สอบเทียบความรูไ้ วโอลิน ของ Royal Schools of Music ได้เกรด ๘ ในระดับ Distinction ต่อมาในป ค.ศ. ๑๙๕๓ ครูสง ่ เข้า ประกวดในการแข่งขันไวโอลินรุน ่ จูเนียร์ ซึงมีอายุไม่เกิน ๑๘ ป

ได้รบ ั รางวัลชนะเลิศเดียวเพลง

คอนแชร์โต ของ Mendelssohn และในป ค.ศ. ๑๙๕๔ ได้รบ ั รางวัลชนะเลิศเดียวเพลงคอนแชร์โต ของ Tchaikovsky ในรุน ่ ซีเนียร์ อายุไม่เกิน ๒๕ ป อาจารย์ชูชาติได้รบ ั ทุนเรียนดนตรี และได้ออกแสดงคอนเสิรต ์ สาธารณะเปนครังแรกที Greenwich Town Hall การได้รบ ั รางวัลชนะเลิศถึง ๒ ครังติดต่อกันทําให้มนใจว่ ั ามีความถนัด ด้านดนตรีและต้องการยึดดนตรีเปนอาชีพ

จึงขออนุญาตทางบ้านเรียนดนตรีและเลิกเรียนคณะ

เภสัชศาสตร์ซงเรี ึ ยนผ่านไปได้ปเดียว และคุณพ่อคุณแม่ก็อนุญาต ช่วงทีไปเรียนอังกฤษนันมีคน ไทยท่านอีกหลายท่านทีเรียนดนตรีคลาสสิกอย่างจริงจังอยู่

คือ

อาจารย์พึงจิตต์

สวามิภักดิ

อาจารย์ปยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ ดร.กําธร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ต่อมาในป ค.ศ. ๑๙๕๖ อาจารย์ชูชาติได้สมัครเข้าเรียนที The Royal College of Music ระหว่างทีกําลังจะเข้าเรียนนันก็ได้พบกับบรมครูไวโอลินชาวรัสเซีย

ซึงลีภัยสงครามมาอยูป ่ ระเทศ

อังกฤษ คือ แม็กซิม จาคอบเซ็น (Maestro Maxim Jakobsen) เดินทางมาทํา Master class ที กรุงลอนดอน และเปดรับสมัครนักเรียนทีมีความสามารถเพือคัดเลือกเปนผู้ติดตามเดินทางไปกับ อาจารย์จาคอบเซ็นยังประเทศต่าง

เนืองจากอาจารย์จาคอบเซ็นเปนคนยิว

ต้องเร่รอ ่ นลีภัย

การเมืองไม่สามารถลงหลักปกฐานได้ อาจารย์ชูชาติได้รบ ั คัดเลือกให้เปน ๑ ใน ๒ นักเรียนพิเศษ จึง ได้ออกตระเวนเดินทางไปเรียนกับท่านอาจารย์อย่างใกล้ชด ิ

โดยเดินทางไปมาระหว่างประเทศ

โปรตุเกส เยอรมัน และอังกฤษ เปนเวลา ๓ ป ประโยคแรกที อาจารย์จาคอบเซ็น พู ดกับอาจารย์ชูชาติ คือ “You don’t know how to play the violin.” ทําให้ตกใจ มากเพราะเพิงได้รบ ั รางวัลชนะเลิศในการแข่งขันไวโอลิน เสียใจที อาจารย์พูดเช่นนัน เกือบตัดสินใจไม่เรียนด้วยแล้ว แต่ในทีสุดก็ ยังคิดได้วา่ ถ้าเรามีโอกาสได้เรียนให้เล่นเปน เล่นให้ถก ู ต้องก็นา่ จะ ดี จะได้รวู ้ า่ เราเล่นผิดอย่างไร แม็กซิม จาคอบเซ็น (Maestro Maxim Jakobsen)


การสอนของอาจารย์จาคอบเซ็นมีทังการสอนตัวต่อตัวตรง ๆ และสอนทางอ้อม อาจารย์ ชูชาติได้รบ ั ความรูใ้ นด้าน Russian Virtuoso Techniques มากมาย ผ่านการอธิบาย การแก้ไข ้ ว่ ยอาจารย์จาคอบเซ็น ปญหาเทคนิค การให้การบ้าน การซ้อมดนตรีวน ั ละ ๑๒ ชัวโมง และได้เปนผูช ในการทํา Master Class ในประเทศโปรตุเกส ฝรังเศส ถือเปนโอกาสในชีวต ิ ทีดีมาก และได้รบ ั การ ยกย่องจากอาจารย์จาคอบเซ็นว่าเปน Star Pupil ในระหว่างทีเรียนกับอาจารย์จาคอบเซ็น ก็ได้รบ ั การแนะนําจากอาจารย์ให้เรียนวิชาการ ประพันธ์เพลงกับดุรย ิ กวีชาวฮังกาเรียน อาจารย์จอร์จ เบิรค ์ โควิช (George Berkovitz) ซึงเปน ศิษย์ของเบลา บาร์ทอก (Béla Bartók) และโซลตาล โคดาย (Zoltán Kodály) เปนประสบการณ์ ทีทําให้การเข้าใจดนตรีดีมากขึนและเปนประโยชน์ต่อวิชาชีพในเวลาต่อมา ในช่วง ๓ ปทีติดตามอาจารย์จาคอบเซ็น ได้เรียนรูว้ ช ิ ามหาศาล ได้เทคนิคไวโอลินขันสูง ได้ ประสบการณ์ลําค่าซึงหาทีไหนไม่ได้ แต่ไม่ได้ปริญญาบัตร เมือใช้ชวี ต ิ ในต่างประเทศแล้ว ๔ ปแต่ยง ั ไม่ได้ปริญญาบัตร คุณพ่อเตือนว่าถ้ากลับเมืองไทยแล้วไม่มป ี ริญญาจะทํางานอะไร จึงตัดสินใจลา จาก อาจารย์จาคอบเซ็น กลับไปเรียนดนตรีทีประเทศอังกฤษจนเรียนจบปริญญาตรี โดยได้เรียน กับครูชอ ื Eli Goren ซึงเปนครูทีเก่งมากเปนเวลา ๒ ป และสามารถสอบเทียบปริญญา A.R.C.M. พร้อมประกาศนียบัตรการสอนดนตรี (Teaching Diploma) จาก The Royal College of Music จากนันได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที London College of Music เรียนวิชาเอก ไวโอลินคู่กับการอํานวยเพลง และได้ศึกษาเพิมเติมกับ Prof. Joseph Pilbery ศิษย์ของ Adrian Bolt (Conducting), Guy Eldwich (Piano), Geoffry Sayers (Piano), Dr. William Pasfield (Harmony) เปนต้น ได้ฝกประสบการณ์ระหว่างการศึกษากับวงดนตรีอาชีพหลายวง อาทิ Hammersmith Orchestra เปนผูอ ้ ํานวยเพลงของวง North Kensington Orchestra เปน Concert Master ของวง London College of Music และวง Addison String Orchestra อาจารย์ชูชาติได้รบ ั ปริญญา G.L.C.M. และสําเร็จการศึกษาในป พ.ศ.๒๕๐๕ หลังจากนันได้ใช้เวลา ในการหาประสบการณ์ต่อในประเทศอังกฤษอีก ๑ ป การใช้ชวี ต ิ ในประเทศอังกฤษปสุดท้าย ได้เรียนโยคะกับชาวอินเดีย ชือนันทะ ก่อนหน้านี หลังจากทีชนะเลิศการแข่งขันไวโอลินใหม่ ๆ อาจารย์ชูชาติได้พบนักไวโอลินระดับโลกคือ เซอร์ เยฮูดี เมนูฮิน (Sir Yehudi Menuhin, ค.ศ.๑๙๑๖ - ๑๙๙๙) เคยถามว่าจะมีหนทางในการพัฒนาการเล่น ไวโอลินอย่างไร ซึงได้รบ ั คําแนะนําให้ฝกโยคะ จึงลองฝกเองอยู่ ๗ ป แล้วเพิงได้เรียนกับโยคาจารย์ ศรีนน ั ทะ ๑ ปก่อนกลับเมืองไทย รวมระยะเวลาทีใช้ชวี ต ิ อยูต ่ ่างประเทศ ๑๐ ปเศษ ตังแต่อายุ ๑๗ ป ถึง ๒๗ ป


ด้านการทํางาน อาจารย์ชูชาติเดินทางกลับประเทศไทยในป พ.ศ.๒๕๐๕ และสมัครเข้ารับราชการในกองทัพ บก สังกัดกองดุรย ิ างค์ (ขณะนันคือ กองดุรย ิ างค์มณฑลทหารบกที ๑) หมวดหัสดนตรีประมาณ หนึงป จากนันจึงย้ายไปประจําทีฝายการศึกษา ทําหน้าทีทังเปนผูบ ้ ริการการศึกษา และสอนดนตรีทัง ทฤษฎีและปฏิบต ั ิให้แก่ นักเรียนดุรย ิ างค์และนายทหารระดับผูบ ้ ริหารทุกคน นอกจากนียังได้ควบคุม วงดุรย ิ างค์ทําการแสดงในวาระสําคัญ ๆ ของชาติทังในและต่างประเทศ ในระยะนีอาจารย์ชูชาติมี นักเรียนส่วนตัว เช่น รองศาสตราจารย์โกวิทย์ ขันธศิร ิ เปนนักเรียนไวโอลินคนแรก และรอง ศาสตราจารย์อรวรรณ บรรจงศิลป เปนนักเรียนเปยโนคนแรก ตังแต่ป พ.ศ.๒๕๑๗ อาจารย์ชูชาติ ได้เข้าเปนอาจารย์พเิ ศษ ทีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ซึงมีหลักสูตรการเรียนการ

สอนวิชาโทดนตรี และเปดสอนเปนวิชาเอกในเวลาต่อมา อาจารย์ชูชาติรบ ั ราชการทหารได้ ๑๗ ป ก็ลาออกจากราชการในป พ.ศ.๒๕๑๙ ในยศพันเอก เพราะอยากเผยแพร่วช ิ าความรูด ้ า้ นดนตรีในวงกว้าง

จึงได้ไปศึกษาไวโอลินเพิมเติมเปนเวลา

เดือนทีประเทศอังกฤษ กับนักไวโอลินชาวฮังการี ชือ Kato Havas ซึงเชียวชาญการสอนไวโอลิน แผนใหม่

แล้วเดินทางกลับประเทศไทยมาเปนนักดนตรีอิสระจนถึง

พ.ศ.๒๕๒๕

จึงกลับเข้ารับ

ราชการอีกครังในตําแหน่งอาจารย์ประจํา สังกัดภาควิชาสารัตถศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย แทนตําแหน่งอาจารย์โกวิทย์ทีย้ายไปเปนอาจารย์ประจําคณะศิลปกรรมศาสตร์ โดยผู้ ทีได้ชก ึ จิตต์ สวามิภักดิ ั ชวนอาจารย์มาทํางานทีคณะครุศาสตร์ในเวลานัน คือ รองศาสตราจารย์พง ซึงเคยรูจ้ ก ั กันมาก่อนสมัยเรียนอยูท ่ ีอังกฤษ

รองศาสตราจารย์พง ึ จิตต์ สวามิภักดิ

Kato Havas


อาจารย์ชูชาติขณะทีเข้ารับราชการในกองทัพบก สังกัดกองดุรย ิ างค์ รับหน้าทีเปนผูอ ้ ํานวยเพลง และเรียบเรียงเสียงประสาน

เมือเปนอาจารย์เต็มเวลา ได้พัฒนาหลักสูตรดนตรีสากลจนเกิดความก้าวหน้าเข้มแข็ง ทังในทางทฤษฎีและปฏิบัติ โดยรับผิดชอบสอนวิชารายทักษะดนตรี (ไวโอลินและวิโอลา) การ เรียบเรียงเสียงประสาน การเรียบเรียงเสียงวงดนตรี การฝกโสตทักษะ การบรรเลงรวมวง และ การอํานวยเพลง นอกจากนียังเปนผู้ก่อตังวงดนตรี CU-Ed Orchestra ซึงพัฒนาต่อมาเปนวง ซิมโฟนีแห่งจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในพระอุ ปถัมภ์ของสมเด็จพระพีนางเธอเจ้าฟากัลยาณิ

วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยอาจารย์ได้รบ ั ตําแหน่งผู้อํานวยการดนตรี มีการจัด แสดงเปนประจําทุกป และได้บันทึกเสียงเพือออกเผยแพร่ตามสือต่าง ๆ อย่างต่อเนือง อาทิ รายการดนตรีคลาสสิก สถานีวิทยุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และรายการโทรทัศน์ดนตรีกวีศิลป สถานี Thai PBS

อาจารย์ชูชาติเมือครังเปนอาจารย์ประจํา สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ


CU Ed Orchestra

Chulalongkorn University Symphony Orchestra

ในการก่อตังวงซิมโฟนีออร์เคสตราอาจารย์ชูชาติได้ตระหนักถึงปญหาการขาดแคลนนัก ดนตรีเครืองสายโดยเฉพาะวิโอลา

ทําให้เกิดการบุกเบิกทีสําคัญคือการก่อตังวงเครืองสายวิโอลา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือทีรูจ้ ก ั กันในชือของ The Viola Lovers หรือ CU Viola Ensemble ในป พ.ศ.๒๕๔๗ ถือเปนวงแรกและวงเดียวในเมืองไทยทีทังวงล้วนแต่เล่นด้วยวิโอลาทังสิน ซึง เพลงทีคัดสรรมาบรรเลงมีตังแต่ยุคบาโรค

จนถึงเพลงแจ๊ส

และมีความน่าสนใจในเรืองของการ

เรียบเรียงเสียงประสานสําหรับเครืองดนตรีประเภทเดียวทังวง โดยอาจารย์เปนผูอ ้ ํานวยเพลงและ เปนร่วมบรรเลงวิโอลาด้วยตัวเอง และได้ผลักดันให้มก ี ารออกแสดงอย่างสมําเสมอ โดยได้รบ ั ความ นิยมมากขึนตามลําดับ

นอกจากนีอาจารย์ชูชาติยง ั เปนได้ผก ู้ ่อตังวงอิบค ิ ส ุ ออร์เคสตรา

และเปน

กรรมการบริหารวงไทยแลนด์ฟลฮาร์โมนิคอีกด้วย จุดเด่นของอาจารย์ชูชาตินอกเหนือจากการเปนนักดนตรีและผู้อํานวยเพลงคือ การ สร้างบุคลากรด้านดนตรีเปนจํานวนมาก

บุคคลเหล่านีเปนหลักให้กับสถาบันการศึกษาและหน่วย

งานต่าง ๆ ได้สร้างสรรค์ผลงานออกมาอย่างต่อเนืองนอกจากนี อาจารย์ชูชาติยังได้รบ ั เชิญให้ เปนอาจารย์พิเศษให้กับคณะศิลปกรรมศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต โรงเรียนดุรย ิ างค์ทหารบก และ โรงเรียนดุรย ิ างค์ทหารเรือ

ก่อนทีจะเกษียณอายุราชการในตําแหน่งผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ประจํา

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในป พ.ศ.๒๕๓๘


วงอิบค ิ ส ุ ออร์เคสตรา (Ibycus Chamber Orchestra)

อาจารย์ชูชาติอํานวยเพลงวงวงเครืองสายวิโอลาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือทีรูจ้ ก ั กันในชือของ The Viola Lovers (C.U. Viola Ensemble)


ผลงานและรางวัลทีได้รบ ั ในช่วงเวลาทีรับราชการกองดุรย ิ างค์กองทัพบกอยูน ่ น ั อาจารย์ชูชาติได้คด ิ รูปแบบการเผย แพร่ความรูท ้ างดนตรีผา่ นสถานีโทรทัศน์ชอ ิ ารณ์” ระหว่างป พ.ศ.๒๕๐๘-๒๕๑๙ ่ ง ๗ รายการ “ดนตรีวจ เปนรายการอธิบายความรูต ้ า่ งๆทางดนตรีสากลให้แก่ผช ู้ มทางบ้านด้วยการบรรยายและสาธิตตัวอย่าง ประกอบ โดยทีอาจารย์ชูชาติทําหน้าทีทังเปนผูอ ้ อกแบบเนือหา บรรยาย ประพันธ์และเรียบเรียงเสียง ประสาน ควบคุมการฝกซ้อม และอํานวยเพลง ร่วมกับวงดนตรี “พิทก ั ษากร” นอกจากนีในระหว่างที ทํางานกองดุรย ิ างค์ทหารบกยังได้ทําเพลงประกอบงานบันทึกเสียงของศิลปนลูกทุง ่ หลายท่าน ถือเปน ส่วนหนึงของการสร้างประวัตศ ิ าสตร์ดนตรีลก ู ทุง ่ เช่นกัน

รายการ “ดนตรีวจ ิ ารณ์” สถานีโทรทัศน์ชอ ่ ง๗

รับพระราชทานรางวัลแผ่นเสียงทองคํา เพลง “สุดแผ่นดิน” ในฐานะผูเ้ รียบเรียงเสียงประสานยอดเยียม


อาจารย์มผ ี ลงานทีสําคัญ เช่น การเรียบเรียงเสียงประสานเพลง “โอ เอเชียนเกมส์” ซึง อาจารย์เปนผูอ ้ ํานวยเพลงและมีการบันทึกลงแผ่นเสียง การเรียบเรียงเสียงประสาน เพลงสุดแผ่นดิน ซึงบรรเลงโดยวงดนตรีกองดุรย ิ างค์ทหารบก การเรียบเรียงเสียงประสาน เพลงเมืองน่ากังวล เนือ ร้องพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั

มาร์ชจงอางศึกของกรมทหารอาสา

สมัคร (Queen’s Cobra) และเพลงมาร์ชวันศึกษาประชาบาล ซึงอาจารย์ได้แต่งร่วมกับครูเอือ สุนทร สนาน และ สง่า อารัมภีร ์ ในป พ.ศ.๒๕๑๙ อาจารย์ชูชาติได้รบ ั รางวัลแผ่นเสียงทองคําพระราชทาน เพลง “สุดแผ่นดิน” ในฐานะผูเ้ รียบเรียง เสียงประสานยอดเยียม รวมถึงได้รบ ั เหรียญ Silver Cross of Merit ในฐานะเปนผูม ้ ค ี วามรูใ้ นการเผยแพร่ผลงานของดุรย ิ กวียุโรปจากประธานาธิบดีฟรานซ์ โจ นาส แห่งประเทศออสเตรีย ซึงโอกาสของผูท ้ จะได้ ี รบ ั การยกย่องในรางวัลนีมีจาํ นวนน้อยคนมากใน โลกดนตรีคลาสสิก

อาจารย์ชูชาติประดับเหรียญ Silver Cross of Merit จากประธานาธิบดีฟรานซ์ โจนาส แห่งประเทศออสเตรีย

ในทางดนตรีไทยเดิม อาจารย์ไม่เคยทิงความสนใจ โดยเฉพาะบทเพลงทีเคยศึกษามากับ ครูยรรยงค์ แดงกูร และ ครูสวุ รรณ ไพศาลศรี ได้นาํ มาเรียบเรียงเสียงประสานเปนทางเดียวสําหรับ เปยโน เช่น เพลงนกขมิน เพลงลาวแพน เพลงลาวคําหอม เพลงเขมรไทรโยค เพลงสารถี เพลง พญาโศก และเพลงโสมส่องแสง (เถา) ซึงอาจารย์ชูชาติได้ถ่ายทอดวิชาการเดียวเปยโนเพลงไทยให้ ไว้กับลูกศิษย์เปยโนด้วย ในฐานะของครู อาจารย์ชูชาติได้รบ ั “รางวัล รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข” ประจําป ๒๕๕๐ จาก มูลนิธต ิ ลาดหลักทรัพย์ฯ เพือเชิดชูเกียรติในฐานะเปนผูท ้ ําความดีเพือสังคม สาขาการส่งเสริมดนตรี เนืองจากเปนผูส ้ ร้างสรรค์งานดนตรี เสียสละ และอุ ทิศตนเองเพือพัฒนาดนตรีไทยมาตลอดระยะ เวลา ๔๐ ป


ในทางวิชาการ อาจารย์ชูชาติมผ ี ลงานเผยแพร่ในนิตยสาร วารสารต่าง ๆ อาทิ หนังสือ “เบืองหลังเพลงดัง” รวมข้อเขียนของ ๔๐ นักเพลง จัดพิมพ์โดย สมาคมนักแต่งเพลงแห่ง ประเทศไทย ในป พ.ศ. ๒๕๒๖ และ บทความเรือง “มาฝก ad-lib กันเถอะ” นอกจากนีอาจารย์ยง ั มี ผลงานหนังสือตําราวิชาการดนตรี ด้านทฤษฎีดนตรี และเอกสารประกอบการสอนจํานวนมาก โดย เฉพาะความรูท ้ าง Counterpoint Composition และ Harmony ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ พันเอก ชูชาติ พิทักษากร ได้รบ ั รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ เปนศิลปน แห่งชาติ ในปพุ ทธศักราช ๒๕๕๓ สาขาศิลปะการแสดงด้านดนตรีสากล รวมถึงได้รบ ั ปริญญาครุ ศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปพุ ทธศักราช ๒๕๕๔ ได้รบ ั การ ประกาศเกียรติคณ ุ เปนปูชนียาจารย์แห่งคณะครุศาสตร์ เข็มศิลปวิทยา สาขาศึกษาศาสตร์ ในปพุ ทธศักราช ๒๕๕๕

และได้รบ ั พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา


รายชือนักดนตรี Flute Quartet

กัลยาณ์ พงศธร รวยชัย แซ่โง้ว

Flute Violin

Viola Cello

ศุภพร สุวรรณภักดี รพีพฒ ั น์ มัญยานนท์

วงดุรย ิ างค์สากล กรมศิลปากร National Symphony Orchestra (String Section)

Violin I

โชติ บัวสุวรรณ วราทิตย์ วรินทรเวช ต้นไม้ ภัยชนะ ปณริตรา โกศลศิรพ ิ จน์

Violin II รวยชัย แซ่โง้ว มัลลิกา ธนัคฆเศรณี สุวด ิ า ทะละวงศ์ คัมภิจา ชลัมพร Viola

Cello

ปนัดดา เพิมพานิช สุนทร ทองประกอบ ทศพร โพธิทอง

Double Bass พงศธร สุรภาพ

ขจร โกศลศิรพ ิ จน์ อัจยุติ สังข์เกษม ณัฐนันท์ จูฑังคะ ขจรศักดิ ม้าละออเพชร ภัสฐิญา จิตรรังสรรค์ วงศิษย์เก่าครุศาสตร์จุฬาฯ CU Education ALumni Orchestra

Flute I Flute II Oboe I Oboe II Bb Clarinet I Bb Clarinet II Bassoon I Bassoon II

ธันวา ทุ่งทอง จิรายุ เตชะมานะพงษ์ ดําริห์ บรรณวิทยกิจ เชาวลิต เจริญชีพ อภิเชษฐ์ พยนต์เลิศ ณัฐวัฒน์ แสงศรีลา ธนวัฒน์ โงสว่าง นนทปรีชา อุ ่นเจริญ

ชนากร แปนเหมือน ประทีป เจตนากูล อานาคินทร์ สวันตรัจฉ์ นราทร ศรีประสงค์ ศศิศ จิตรรังสรรค์ ธนู รักษาราษฎร์ Bb Trumpet II วิศรุตม์ นวลแก้ว สมภพ พึงปรีดา Trombone I สมเจตน์ สุกอร่าม Trombone II สุภาวดี กาหลง Trombone III กิตติภัต ระตินย ั Tuba จิณณวัตร มันทรัพย์ Horn I Horn II Horn III Horn IV Bb Trumpet I


Violin I, II

Viola

ณชพล ทิพย์ธญ ั พาคร อุ ดมทรัพย์ มัลลิกา ธนัคฆเศรณี สุวด ิ า ทะละวงษ์ อ้อมพร โฆวินทะ ปณริตรา โกศลสิรพจน์ ิ นําฝน ศรีสมบูรณ์ ขจร โกศลสิรพจน์ ิ ระพี นภาวรรณ นาวิน เอมเปรมศิลป

Cello

ปนัดดา เพิมพานิช ประทีป วรศะริน พิเชฐ ลีลาขจรกิจ

Double Bass อดิศร บุญพา พีรภัค เฉลิมสุข Percussion สุรเดช ศรีวารีรต ั น์ ญาณกร ไล้ทอง รัชพล เฟองคอน

วงเครืองสายจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra

Violin

อ้อมพร โฆวินทะ รวยชัย แซ่โง้ว โชติ บัวสุวรรณ อติภา วิเศษโอภาส สุวด ิ า ทะละวงศ์ ปณริตรา โกศลสิรพจน์ ิ นิรฐั ศา อยูส ่ มบูรณ์ เพ็ญพัชร์ สุวรรณกิจ พิมพ์พรรณ ตันติวรวงศ์ ปญรัฏฐ์ วงศ์ปทมภาส รัชพล แสงจันทร์ พิยดา คงพรหม อาคม กิตินพคุณ ปยวรรณ แก้วใจเพชร อติกานต์ นาคเสน ณัฐชา หมวดทอง ณัฐชา วงศ์อริยะกวี สหชล ชัยศุภกิจการ ระพี นภาวรรณ ชินพงศ์ ไหลสกุล ณชพล ทิพย์ธญ ั

Viola

อัจยุติ สังข์เกษม จิตศมน ฉัตราคม ภัทรพล บุญฉิม ณภัทร พันธุสน ุ ทร ธนวรรณ ฤทธิเดชขจร สิรริ ก ั ษ์ ดีตะนะ วิชญาภรณ์ ถมปน พันธ์บุญ บุณยเกียรติ

Cello

กิตติคณ ุ สดประเสริฐ เสาวภา แจ่มโคกสูง กิงกาญจน์ แสงผล ปนัดดา เพิมพานิช สิรพ ิ งษ์ คีตศิลปสกุล ฟาใส บุรณศิร ิ

Double Bass พงศธร สุรภาพ ภูมริ พี วงศ์อนุสรณ์ ฉัทมน ปนประเสริฐ


The Viola Lovers

Viola

มิติ วิสท ุ ธิอัมพร สมเกียรติ ศรีคํา ชัยวัฒน์ บูรณมานัส อัจยุติ สังข์เกษม จักรพันธ์ ยุวรี จิตศมน ฉัตราคม ภัสฐิญา จิตรรังสรรค์ ยุทธนา น้อยนาค มณีรต ั น์ แสงเนตรสว่าง ขจรศักดิ ม้าละออเพชร ศุภพร สุวรรณภักดี สราวุ ฒ ิ ผลาชีวะ ขจร โกศลสิรพ ิ จน์ วสิฏฐี เตชานุกล ู พงษ์เทพ จิตดวงเปรม จงกล แสงผล ข้าวทิพย์ ตันติวรวงศ์ อัญชลี สิรวิ งษ์สวุ รรณ สิรริ ก ั ษ์ ดีตะนะ ปาณัสม์ ดํารงศิร ิ อาคม กิตินพคุณ พันธ์บุญ บุณยเกียรติ

ธนวรรณ ฤทธิเดชขจร ภานุวฒ ั น์ วัฒนจินดา ภัทรพล บุญฉิม ณภัทร พันธุสน ุ ทร พรนภัส ปนโฉมฉาย ปนบุญ ตันติวรวงศ์ ระพี นภาวรรณ ฉัตรชัย สุขนิยม ณัฐนันท์ จูฑังคะ Double Bass พงศธร สุรภาพ ภูมริ พี วงศ์อนุสรณ์ ฉัทมน ปนประเสริฐ Percussion

รัชพล เฟองคอน ภัทรพล อดุลยานุภาพ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.