สูจิบัตรออนไลน์ ฟังดนตรีที่จุฬาฯ: เพลงอภิรมย์ ดนตรีไทยเพื่อความชื่นชม และร่วมเฉลิมฉลอง 107 ปี จุฬาฯ

Page 1

ฟงดนตรีที่จุฬาฯ

“เพลงอภิรมย ดนตรีไทยเพื่อความชื่นชม และรวมเฉลิมฉลอง ๑๐๗ ป จุฬาฯ”

โดย

“ชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย”

วันศุกรที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗

ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑. เพลงมหาจุฬาลงกรณ ทางไทย

๒ เพลงสรภัญญะสรรเสริญพระผูทรงสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ครบรอบ ๑๐๗ ป

๓ เพลงเนื้อเย็น (จระเขหางยาว สามชั้น)

๔. เพลงนกนอย (เขมรปแกว สามชั้น)

๕. เพลงมัจฉา (จีนแส สองชั้น)

๖ เพลงโออกเอย (บังใบ สามชั้น)

๗ เพลงเรื่อยเรื่อยภุมริน (พระอาทิตยชิงดวง)

รายการแสดง

ชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การรวมกลุมนิสิตเปนชุมนุมดนตรีไทย สจม. ไมมีหลักฐานชัดเจนวาถือกำเนิดขึ้นเมื่อปใด ทราบแตเพียงวา ชุมนุมดนตรีไทยในระยะแรกนั้น บรรเลงเพียงวงเครื่องสาย จนกระทั่งถึงป พ.ศ. ๒๔๘๒ จึงไดนำระนาดเขารวมบรรเลง โดยฝกซอมดนตรีและทำกิจกรรมตาง ๆ ที่ชั้น ๒ ตึกจักรพงษ ครั้นถึง ป พ.ศ. ๒๕๐๘ ชุมนุมไดเชิญอาจารยเจริญใจ สุนทรวาทิน มาเปนผูสอน

และผูควบคุมวงยุคนี้ชุมนุมไดจัดการแสดงเผยแพรทางโทรทัศนและวิทยุ รวมทั้งงานที่ไดรับเชิญ ในโอกาสตาง ๆ ตอมาป พ.ศ. ๒๕๑๐ “ ชุมนุม ” ไดเปลี่ยนชื่อเปน “ ชมรม ” โดยมีชื่ออยางเปน ทางการวา “ ชมรมดนตรีไท ย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ” และไดใชชื่อนี้ตราบจน

ปจจุบัน ในวาระเดียวกันนี้ไดเชิญ อาจารยเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล เขามาสอนในชมรมฯ

และไดตอเพลงโหมโรงมหาจุฬาลงกรณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนำเพลงพระราชนิพนธ มหาจุฬาลงกรณ มาปรับปรุงใหเปนทางไทย ชมรมดนตรีไทย สจม. จึงใชเปนเพลงโหมโรง

ประจำชมรมนับแตนั้นมา

ป พ.ศ. ๒๕๑๖ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ

สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเปน สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา ฯ ทรงเขาศึกษาระดับปริญญาตรีที่คณะอักษรศาสตร และไดทรงพระกรุณาสมัคร เปนสมาชิกชมรมดนตรีไทย สจม. พระองคทรงรวมกิจกรรมของชมรมฯ ทุกครั้งที่ทรงวาง

จากพระราชกิจ ตอมาชมรมฯ ไดเชิญอาจารยเมธา หมูเย็น อาจารยเบ็ญจรงค ธนโกเศศและ อาจารยสมพงษ ภูสร เขามาสอนตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีพี่เกาของชมรมฯ กลับมาเปนผูสอน

คือ อาจารยประกิต สะเพียรชัย และอาจารยศักรินทร สูบุญ ตอมา ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดเชิญ อาจารยอุษา แสงไพโรจน เขามาสอนขับรองที่ชมรมฯ ดวย ปจจุบัน ชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีหองสำหรับจัดกิจกรรม การเรียนการสอน และฝกซอมดนตรีไทยอยูที่ชั้น ๖ จัตุรัสดนตรี อาคารจามจุรี ๙

เพลงมหาจุฬาลงกรณทางไทย ประวัติเพลง

เพลงมหาจุฬาลงกรณทางไทยนั้น สืบเนื่องมาจากเพลงมหาจุฬาลงกรณทางสากล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ทรงพระราชนิพนธขึ้นสำหรับพระราชทาน เปนเพลงประจำจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหคุณหญิงสมโรจน สวัสดิกุล ณ อยุธยา กับนายสุภร ผลชีวิน ประพันธเนื้อเพลงถวาย จนกระทั่งเมื่อตนป พ .ศ. ๒๔๙๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให อาจารย เทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล นำทำนองเพลงซึ่งเปนทางสากลมาแตงทำใหเปนทางไทย อาจารย เทวาประสิทธิ์ รับพระราชทานลงมาทำ และบรรเลงถวายดวยวงปพาทยสองครั้งดวยกัน จึงโปรดเกลาฯ ภายหลังเมื่อ อาจารย เทวาประสิทธิ์ มาสอนในชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดนำเพลงนี้มาปรับปรุงอีกครั้งหนึ่งใหเปนเพลงโหมโรง สำหรับใชโหมโรง ในการ บรรเลงดนตรีของชมรมมาจนทุกวันนี้ แมวาเพลงมหาจุฬาลงกรณจะกลายมาเปนทางไทยเดิมแลว ก็ตาม แตทางสากลซึ่งเปนบทพระราชนิพนธก็ยังหาไดสูญหายไปไม เพราะอาจารยเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล ยังคงรักษาทวงทำนองซึ่งเปนบทพระราชนิพนธไวในเพลงโหมโรงซึ่งทำขึ้นใหมนี้ดวย

บทขับรองเพลงมหาจุฬาลงกรณ น้ำใจนองพี่สีชมพู ทุกคนไมรูลืมบูชา พระคุณของแหลงเรียนมา จุฬาลงกรณ ขอทูนขอเทิดพระนามไท พระคุณแนบไวนิรันดร ขอองคพระเอื้ออาทร หลั่งพรคุมครอง

นิสิตพรอมหนา สัญญาประคอง

ความดีทุกอยางตางปอง ผยองพระเกียรติเกริกไกร

ขอตราพระเกี้ยวยั้งยืนยง นิสิตประสงคเปนธงชัย ถาวรยศอยูคูไทย

เชิดชัย ชโย

รายนามนักดนตรี

ขับรอง นายวัสสา ชาวคำเขต

นายนนทพันธ ชะรานรัมย

นางสาวกาญจนา แกวเกษ

นายจุฑาภัทร บุญศรี

นายธันวพัฒน จูดจันทร

นายสิทธินันท แสงอุทัย

นางสาวดารารัตน ปลอดโปรง

นางสาววิชญาพร ทาริยะชัย

นายอัครินทร ทองไม

นางสาวญาณิศา อุนจิตตพันธุ นายบุรวิชญ ดำเพ็ง

นายณฐวตร บุษประทุม

นายธีรวัฒน ยิ่งถาวร

นายธีรวัฒน จันชัยชิด

ซอสามสาย นายประสิทธิ์ ทิมสีคราม

นางสาวพิมดาว อินทะวงษ

ซออู นายสรสิช แจมอัมพร

นางสาวปาณิสรา บุญโยประการ

ขลุยเพียงออ นายธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์ นายทักษดนัย อูเอกิ

ขลุยอู นายนนทนันทร พลิ้งลูกอินทร

นายนราธิป เพียรทอง ระนาดเอก นางสาวภัทราพร กิขุนทด นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช ระนาดทุม นายพงศกร พูลเอม นางสาวกษมา ชวัยวัง

ระนาดทุมเหล็ก นายสิทธิโชติ บุญรอด นางสาวเบญญทิพย เหลาอินทร

ฆองวงใหญ นายปยวัฒน เขมาทานต นางสาวเกลียวกมล ทูลสันเทียะ

ตะโพน นายคณาธิป อวนล่ำ

ฉิ่ง นายภูรองกลา ลาภตระการ

กรับพวง นายพงษพิพัฒน โพธิบุตร นายศตายุ องอาจ

เพลงสรภัญญะสรรเสริญพระผูทรงสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติเพลง

เพื่อเปน การรวมสดุดีลนเกลารัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ พระผูทรงสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นางสาววิชญาพร ทาริยะชัย นิสิตคณะครุศาสตรจึงไดประพันธบทขับรองสรรเสริญ พระผูทรงสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่ยืนยาวมาถึง ๑๐๗ ป ในป พ.ศ. ๒๕๖๗

โดยอาจารยศักรินทร สูบุญ ไดบรรจุทำนองเพลงสรภัญญะไวทั้ง ๔ ทำนอง ซึ่งแตเดิมเปนทำนอง

สำหรับสวดดวยคำฉันทในทางศาสนา เมื่อสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงพระนิพนธและปรับปรุงละครดึกดำบรรพเรื่อง “คาวี” จึงทรงปรับทำนองสรภัญญะใหเปน

จังหวะ ๓/๔

บทขับรองเพลงสรภัญญะ สรรเสริญพระผูทรงสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยครบรอบ ๑๐๗ ป

บังคมบรมบาท สองจอมราชนฤบดี ครบหนึ่งรอยเจ็ดป ที่ทรงสถาปนา จุฬาลงกรณสถาน พระอภิบาลการศึกษา

ดำริดำรัสพา

พิพัฒนาศึกษาไทย

พระมหาปยะราช พระธีรราชสองภูวนัย สองรัชกาลรวมสมัย เปนหลักชัยของชาวจุฬา

ผองนิสิตนอมรฤก ดวยสำนึกพระกรุณา

เทิดพระเกียรติ ธ ราชา

ถวายบังคมพระทรงชัย

วิชญาพร ทาริยะชัย ประพันธ

อาจารยศักรินทร สูบุญ บรรจุเพลง

รายนามนักดนตรี

ขับรอง นายวัสสา ชาวคำเขต

นายนนทพันธ ชะรานรัมย

นางสาวกาญจนา แกวเกษ

นายจุฑาภัทร บุญศรี

นายธันวพัฒน จูดจันทร

นายสิทธินันท แสงอุทัย

นางสาวดารารัตน ปลอดโปรง

นางสาววิชญาพร ทาริยะชัย

นายอัครินทร ทองไม

นางสาวญาณิศา อุนจิตตพันธุ นายบุรวิชญ ดำเพ็ง

นายณฐวตร บุษประทุม

นายธีรวัฒน ยิ่งถาวร

นายธีรวัฒน จันชัยชิด

ซอสามสาย นายประสิทธิ์ ทิมสีคราม

นางสาวพิมดาว อินทะวงษ

ซออู นายสรสิช แจมอัมพร

นางสาวปาณิสรา บุญโยประการ

ขลุยเพียงออ นายธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์ นายทักษดนัย อูเอกิ

ขลุยอู นายนนทนันทร พลิ้งลูกอินทร

นายนราธิป เพียรทอง ระนาดเอก นางสาวภัทราพร กิขุนทด นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช ระนาดทุม นายพงศกร พูลเอม นางสาวกษมา ชวัยวัง

ระนาดทุมเหล็ก นายสิทธิโชติ บุญรอด นางสาวเบญญทิพย เหลาอินทร

ฆองวงใหญ นายปยวัฒน เขมาทานต นางสาวเกลียวกมล ทูลสันเทียะ

ตะโพน นายคณาธิป อวนล่ำ

ฉิ่ง นายภูรองกลา ลาภตระการ

กรับพวง นายพงษพิพัฒน โพธิบุตร นายศตายุ องอาจ

เพลงเนื้อเย็น (จระเขหางยาว สามชั้น)

ประวัติเพลง

“เพลงเนื้อเย็น” เปนบทพระราชนิพนธกลอนสุภาพที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเจาหลวง รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธในระหวางที่เสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป เมื่อ รศ. ๑๒๕รศ. ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๔๔๙-๒๔๕๐) ตามความจากพระราชนิพนธ “ไกลบาน” พระราชหัตถเลขาฉบับ ที่ ๗ คืนที่ ๓๐ เรือซักเซน ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ เมษายน

“เรือมาถึงเวลาเชา ๔ โมงครึ่ง ขึ้นบกบายสองโมง เสด็จขึ้นรถ

ไปแอคแควเรียม ( Aquarium) ที่เลี้ยงปลาทีเดียว แอคแควเรียมตั้งอยู

ที่สุดของสวนซึ่งตอกับโฮเตลรอยัลใกลทะเล”

แลวทรงพระราชทานลายพระราชหัตถมาใหเจาจอมสดับ ลดาวัลย ใหคิดบรรจุ

ทำนองเพลงไวสำหรับขับรองถวาย พระราชชายาเจาดารารัศมี ทรงชวยเลือกเฟนทำนอง เพลงจระเขหางยาว สามชั้น ไวไดอยางเหมาะสม เมื่อเสด็จพระราชดำเนินกลับจากยุโรปแลว จึงโปรดเกลาฯ ใหบรรเลงขับรองถวาย

บทขับรองเพลงเนื้อเย็น (จระเขหางยาว สามชั้น)

เนื้อเย็น

แมไดเห็นแอคแควเรียมเรี่ยมใจหาย

ฝากกระจกชังน้ำทำแยบคาย ทั้งขวาซายเลี้ยงมัจฉาในวารี

พื้นทรายขาวเอากาลังมาฝงกอ เปนชั้นชอหลายอยางลวนตางสี สาหรายกัลปงหาบรรดามี วางทวงทีหางเหมือนอยางเปน พระราชนิพนธเรื่องไกลบาน

รายนามนักดนตรี

ขับรอง สิทธินันท แสงอุทัย

ซอสามสาย นางสาวปญญดา เหลืองอรามกุล

นายธันวพัฒน จูดจันทร

นางสาวพิมดาว อินทะวงษ

ซอดวง นายปริญญา ทัศนมาศ

นายธนะพัฒ ฐานิตสรณ

นางสาวฐานิดา หรนจันทร

ซออู นายสรสิช แจมอัมพร

นายนนทนันทร พลิ้งลูกอินทร นายประสิทธิ์ ทิมสีคราม

จะเข นายนราธิป เพียรทอง

นายภูรองกลา ลาภตระการ

นางสาวรสิตา สิทธิเดชากุล

ขลุยเพียงออ นางสาวกษมา ชวัยวัง

ขลุยหลิบ นายทักษดนัย อูเอกิ

โทน รำมะนา นายพงศกร พูลเอม

ฉิ่ง นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช

กรับพวง นางสาววิชญาพร ทาริยะชัย

นายอัครินทร ทองไม

โหมง นายณฐวตร บุษประทุม

เพลงนกนอย (เขมรปแกว สามชั้น)

ประวัติเพลง

“ เพลงนกนอย ” เปนบทพระราชนิพนธกลอนสุภาพที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเจาหลวง รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธในระหวางเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป เชนเดียวกับ

บทเพลง “เนื้อเย็น” พระราชทานมายัง เจาจอมสดับ ลดาวัลย โดยตรง พระราชนิพนธกลอนบทนี้ พระราชทานพระราชหัตถเลขามาวาเปนนกคีรีบูนของกัปตันเรือซักซัน เมื่อเสด็จกลับไดทรงนำมา พระราชทานพรอมทั้งกรงทองเหลืองสวยงามมากพระองคคนละตัว พระราชชายาเจาดารารัศมี ทรงบรรจุทำนองเพลงเขมรปแกว สามชั้น ของครูชอย สุนทรวาทิน ไวอยางเหมาะสม

บทขับรองเพลงนกนอย (เขมรปแกว สามชั้น)

นกนอย ชางพูดจอยเจนหัดชัดภาษา

บรรเลงลานหวานหูชูวิญญา เหมือนจะพาใหสบายวายคำนึง

ยืนลำนำซ้ำทำนองแตสองอยาง ไมเปลี่ยนบางจนจะเบื่อเหลือคิดถึง

เคยยินขับจับจิตตติดทรวงตรึง ดูประหนึ่งกลบสำเนียงเสียงนกเอย พระราชนิพนธเรื่องไกลบาน

รายนามนักดนตรี

ขับรอง นายนนทพันธ ชะรานรัมย

ซอสามสาย นางสาวปญญดา เหลืองอรามกุล นางสาวพิมดาว อินทะวงษ

ซอดวง นายปริญญา ทัศนมาศ

นางสาวปาณิสรา บุญโยประการ

ซออู นายสรสิช แจมอัมพร นายนนทนันทร พลิ้งลูกอินทร

จะเข นายนราธิป เพียรทอง

นายพงษพิพัฒน โพธิบุตร

ขลุยเพียงออ นายทักษดนัย อูเอกิ

ขลุยหลิบ นายสิทธินันท แสงอุทัย

ระนาดเอก นายธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์

ระนาดเอกเหล็ก นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช

ระนาดทุม นายมณตมนัส ลือชัย

ระนาดทุมเหล็ก นายสิทธิโชติ บุญรอด

ฆองวงใหญ นายพงศกร พูลเอม

ฆองวงเล็ก นายนายอนุพงศ แกวรัตน

กลองแขก นายคณาธิป อวนล่ำ

นายธนะพัฒ ฐานิตสรณ

ฉิ่ง นางสาวนภัส กลาเกิด

กรับพวง นางสาวกษมา ชวัยวัง

นายศตายุ องอาจ

โหมง นางสาวเบญญทิพย เหลาอินทร

เพลงมัจฉา (จีนแส สองชั้น)

ประวัติเพลง

“เพลงมัจฉา” เปนบทพระราชนิพนธเรื่องเงาะปาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ บรรจุทำนองเพลงจีนแส สองชั้น โดยพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ในตอนตนของเรื่องที่นางลำหับนั่งดีดจะเขปาอยูหนาแผนผาถ้ำ ทรงพระราชนิพนธ เปนกลอนบทละครเปรียบเทียบสั่งสอนมนุษยไวอยางชาญฉลาด

เพลงจีนแส ทำนองสองชั้นที่นำมาบรรจุในเพลงมัจฉานี้ ของเดิมเปนอัตราความยาว ๔ จังหวะ มีอยู ๒ ทอน และมีสรอยตอทายเพลงในทอนที่ ๒ สำเนียงเปนทำนองของเพลงจีนแท ๆ

เพลงหนึ่ง ซึ่งเลากันวาพระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) ปรมาจารยดนตรีไทยสมัยรัตนโกสินทร ตอนตน จำทำนองเพลงมาจากนักดนตรีชาวจีน แลวแตงแยกออกเปนเพลงสำเนียงจีนหลายเพลง

ดวยกัน ซึ่งทำนองจีนแส สองชั้นนี้ โบราณจารยไดบรรจุไว ในอันดับแรกของเพลงเรื่องจีนแส นอกจากนั้นก็ยังปรากฏในการบรรเลงและขับรองประกอบการแสดงโขนละครโดยทั่วไป โดยตัดสรอยในทอนหลังออก

สวนการเดี่ยวจะเขเพลงจีนแส สองชั้นนั้น เกิดจากพระดำริของทานหญิงเหลือ (มจ.พัฒนายุ ดิศกุล พระธิดาของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ) ซึ่งเปนผูคุมและรับผิดชอบงาน จัดทำและบันทึกแผนเสียงเพลงไทยของราชบัณฑิตสภา

ในป พ.ศ. ๒๔๗๔ ไดมีพระดำริใหจัดทำขึ้นเพื่อใหสมกับ บทพระราชนิพนธเงาะปา ในรัชกาลที่ ๕ ตอนตนที่ทรงพระราชนิพนธไวใหนางลำหับดีดจะเขปาแลวขับรองดวยเพลงจีนแส สองชั้น ซึ่งในครั้งนั้นไดใหครูจาง แสงดาวเดน แหงกรมมหรสพ ศิษยเอกจะเขของหลวงวองจะเขรับ และเปนพระอาจารยสอนดนตรีใหแกวงมโหรีหลวงของรัชกาลที่ ๗ เปนผูเดี่ยวจะเข

โดยมีครูทวม ประสิทธิกุล เปนผูขับรอง

บทขับรองเพลงมัจฉา (จีนแส สองชั้น)

รายนอก

นั่งเหนือแผนผาที่หนาถ้ำ เทาราน้ำเอนอิงพิงพฤกษา ตะวันชายฉายน้ำอรามตา ตกตามซอกศิลาซากระจาย

ที่น้ำอับลับชองมองเห็นพื้น ปลานอยนอยลอยดื่นดูแหลงหลาย

พนน้ำฟูเปนละอองตองแมลงตาย ตกเรี่ยรายเปนภักษานาเอ็นดู

ยามลมตกนกรองซองแซเสียง เสนาะเพียงลำนำเฉื่อยฉ่ำหู ลำดวนดงสงกลิ่นประทิ่นชู นางโฉมตรูฟงเพลงวังเวงใจ

ประจงจับจะเขปามาลองเสียง ดีดสำเนียงไพเราะเสนาะใส

ลวนบรรเลงลำนำคำคมใน เงาะไมไผสดับเสียงนั่งเอียงคอ

จีนแส สองชั้น

มัจฉา

ไฉนไมปรีชากลาเพียงพอ

สกุณาตาดีฉะนี้แลว

ชางฉลาดเสาะหาอาหารหนอ

มาลอปกษาที่ถาลง

ยังไมแคลวบอเลาเจาชางหลง

อันมนุษยสุดฉลาดทั้งอาจอง อยางวยงงใหเหมือนสัตวบัดสีเอย พระราชนิพนธเรื่องเงาะปา

รายนามนักดนตรี

ขับรอง นายวัสสา ชาวคำเขต

นายนนทพันธ ชะรานรัมย

นางสาวกาญจนา แกวเกษ

นายจุฑาภัทร บุญศรี

นายธันวพัฒน จูดจันทร

นายสิทธินันท แสงอุทัย

นางสาว ดารารัตน ปลอดโปรง

นางสาววิชญาพร ทาริยะชัย

นายอัครินทร ทองไม

นางสาวญาณิศา อุนจิตตพันธุ

นายบุรวิชญ ดำเพ็ง

นายณฐวตร บุษประทุม

นายธีรวัฒน ยิ่งถาวร

ซอดวง นายธนะพัฒ ฐานิตสรณ

นางสาวปญญดา เหลืองอรามกุล

นายภูรองกลา ลาภตระการ

ซออู นายนนทนันทร พลิ้งลูกอินทร

นางสาวปาณิสรา บุญโยประการ

นายประสิทธิ์ ทิมสีคราม

จะเข นายนราธิป เพียรทอง

นายพงษพิพัฒน โพธิบุตร

นายศตายุ องอาจ

นางสาวชัญญา วุฒิธนานันท นายธีรวัฒน จันชัยชิด

ขลุยหลิบ นายมณตมนัส ลือชัย

ขลุยเพียงออ นายทักษดนัย อูเอกิ

ขิม นางสาวปวริศา สามารถ

นางสาวภัทราพร กิขุนทด นางสาวนภัส กลาเกิด

โทน รำมะนา นายปฏิพล ชำนาญกลาง

ฉิ่ง นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช

ตอก นายคณาธิป อวนล่ำ

แตว นายพงศกร พูลเอม

โหมง นางสาวเบญญทิพย เหลาอินทร

เพลงโออกเอย (บังใบ สามชั้น)

ประวัติเพลง

“เพลงโออกเอย” เปนบทพระราชนิพนธเรื่องศกุนตลาของพระบาทสมเด็จพระมงกฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ในตอนที่พระกัณวาจารยสงใหนางศกุนตลาเขาเมืองไปหาทาวทุ ษ ยันต ชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดบรรจุทำนองเพลงบังใบ สามชั้น ของจางวางทั่ว พาทยโกศล ลงบทพระราชนิพนธ “โออกเอย” ของลนเกลาฯ รัชกาลที่ ๖

บทขับรองเพลงโออกเอย (บังใบ สามชั้น)

โออกเอยอกฟกอนาถ จำนิราศจากแหลงเสนหา

จำจากพี่รักหักอุรา จำจากเคหาที่เคยนอน พระราชนิพนธเรื่องศกุนตลา

รายนามนักดนตรี

ขับรอง นางสาวกาญจนา แกวเกษ

ปนอก นายมณตมนัส ลือชัย

ปใน นายธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์

ระนาดเอก นายวีรปรัชญ พุมศุขโข

ระนาดเอกเหล็ก นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช

ระนาดทุม นายวัฒนวิชญ เจริญพงษ

ระนาดทุมเหล็ก นายสิทธิโชติ บุญรอด

ฆองวงใหญ นายธีรวิชชุ อรรถศิริ

ฆองวงเล็ก นางสาวภัทราพร กิขุนทด

กลองแขก นายคณาธิป อวนล่ำ

นายพงศกร พูลเอม

ฉิ่ง นายปยวัฒน เขมาทานต

ฉาบเล็ก นางสาวกษมา ชวัยวัง

กรับไม นางสาวนภัส กลาเกิด

โหมง นางสาวปญญดา เหลืองอรามกุล

แทมบูรีน นายปฏิพล ชำนาญกลาง

เพลงเรื่อยเรื่อยภุมริน (พระอาทิตยชิงดวง สองชั้น)

ประวัติเพลง

เพลงเรื่อย เรื่อย ภุมรินนี้ เมื่อราว พ.ศ. ๒๔๕๕ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระราชนิพนธบทเสภา เรื่อง พญาราชวังสัน ดัดแปลงจากบทละครที่ไดทรงพระราชนิพนธ แปลงจาก เรื่องโอเทลโล ของ เชกสเปยร ไวแลวเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ ใหเปนบทสำหรับขับถวาย เวลาทรงพระเครื่องใหญและในงานเลี้ยง บางโอกาส โดยมีพระยาประสานดุริยศัพท (แปลก ประสานศัพท) เปนผูถวายคำแนะนำในการบรรจุเพลงรอง ตามแบบแผนของเสภา

ในเรื่องพญาราชวังสันนี้ มีอยูตอนหนึ่งซึ่งเปนบท “อัศจรรย” ระหวางพระยาราชวังสัน (โอเทลโล)

กับนางบัวผัน (เด็สเดโมนา) พระยาประสานดุริยศัพทกรา บทูลถวายความเห็นวาควรบรรจุเพลง พระอาทิตยชิงดวงเชนเดียวกับบท “พระอาทิตยชิงดวงพระจันทรเดน ฯลฯ” ของเดิม ซึ่งเปนบท “อัศจรรย” เหมือนกัน แตเพลงนี้ตองมีดอกและสรอยตอทาย จึงไดทรงพระราชนิพนธดอก

และสรอยตอทายขึ้นตามแบบของเดิม

บทขับรองเพลงเรื่อย ๆ ภุมริน (พระอาทิตยชิงดวง สองชั้น)

ขับเสภา ครานั้นขุนทหารชาญประชิด แสนปลื้มจิตฟงนางชางเฉลย ตระกองกอดโฉมงามผูทรามเชย นองเอยชื่นจิตไมรูจาง

พี่จะเฝาถนอมกลอมเกลี้ยง บำรุงเลี้ยงมิใหเจาขัดขวาง พี่อยากกอดยอดมิ่งไมทิ้งวาง ไมขอหางเห็นรักสักเวลา

วาพลางทางแอบแนบสนิท แลวจุมพิตหอมรื่นชื่นนาสา หอมรำเพยเชยกลิ่นสุมาลา มากลั้วกลิ่นวนิดาผูยาใจ

พระอาทิตยชิงดวง สองชั้น

เรื่อยเรื่อยภุมรินบินวอน เกลือกเกสรบัวทองผองใส รินรื่นรสสุคนธปนไป สองใจจอจิตสนิทนอน ดอกเอยเจาดอกบัวผัน บุหงาสวรรคของเรียมนี่เอย

เจาหนานวลเอย

เจาหนานวลยวนใจใหพี่เชย

ไมละไมเลยไมลืมชม แมหางอินทรียอกพี่ระบม

อกตรอมอกตรม

เสียจริงเอย

เจาภุมรินเอยกลั้วกลิ่นบุปผา เกสรผกาไมราโรย

จะคลึงจะเคลาจะเฝาสงวน จะยั่วจะยวนเมื่อลมโชย

จะกอบจะโกย

ดอกเอยเจาดอกโกมุท

กลิ่นไปเอย

เจาแสนสวยสุดของเรียมนี่เอย

พระราชนิพนธบทเสภาเรื่องพญาราชวังสัน

รายนามนักดนตรี

ขับรอง นายจุฑาภัทร บุญศรี

ปนอก นายมณตมนัส ลือชัย

ปใน นายธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์

ระนาดเอก นายวีรปรัชญ พุมศุขโข

ระนาดเอกเหล็ก นายศุภวิชญ สุวรรณนิกวนิช

ระนาดทุม นายวัฒนวิชญ เจริญพงษ

ระนาดทุมเหล็ก นายสิทธิโชติ บุญรอด

ฆองวงใหญ นายอภิชาติ คำบุญเรือง

ฆองวงเล็ก นางสาวเกลียวกมล ทูลสันเทียะ

กลองสองหนา นายปฏิพล ชำนาญกลาง

เปงมาง นายคณาธิป อวนล่ำ

ฉิ่ง นายพงศกร พูลเอม

ฉาบเล็ก นางสาวภัทราพร กิขุนทด

กรับไม นางสาวกษมา ชวัยวัง

โหมง นางสาวปวริศา สามารถ

.

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.