สูจิบัตรออนไลน์ จุฬาวาทิตครั้งที่ 233 “ปี่พาทย์ไม้แข็ง คณะพาทยรัตน์” วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน 2567

Page 1

๒ จุฬาวาทิต ครั้งที่ ๒๓๓ ปี่พาทยไม้แข็ง พาทยรัตน์ บ้านใหม่หางกระเบน วันศุกร์ที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๗ ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๔ วงพาทยรัตน์ – บ้านใหม่หางกระเบน ประมาณปีพ.ศ.๒๔๐๐ - พ.ศ. ๒๔๘๑ วงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ ก่อตั้งขึ้นโดยนายวน เกิดผล เชื้อสายจีน เดิม “แซ่ตัน” ไม่ปรากฏว่า บิดา-มารดาเป็นใคร ด้านดนตรีสามารถเป่าปี่จีนได้ บรรพบุรุษต้นตระกูลเกิดผล ร่วมกับนางช้อน เกิดผล (ภรรยา) มีบุตรธิดารวม ๖ คน นอกจากท่านจะเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งวงปี่พาทย์แล้ว ยังเป็นผู้ก่อตั้งคณะหนังใหญ่ แตรวง ลิเก อังกะลุง และเพลงพื้นบ้าน ภายในตระกูลเกิดผล เพื่อสร้างรายได้แก่ ครอบครัว ณ บ้านเลขที่ ๕๗ หมู่ ๔ ตาบลบ้านใหม่ อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถาน ที่ตั้งติดริมแม่น้าเจ้าพระยา ซึ่งเป็นทั้งสถานที่พักอาศัยของครอบครัวตระกูลเกิดผล และเป็นสถานที่ตั้งของวง ปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ ผู้คนส่วนใหญ่มักเรียกชื่อวงปี่พาทย์ของนายวนว่า “วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน” “วง ปี่พาทย์นายวน ลิเกยายช้อน” หรือ“วงปี่พาทย์ตาวนหนังใหญ่ตาวน” ซึ่งคาว่า “บ้านใหม่หางกระเบน” นี้เป็น ชื่อเรียกอาณาบริเวณหมู่บ้านที่เป็นสถานที่ตั้งของบ้านนายวนนั่นเอง ด้านดนตรีปี่พาทย์ นายวน เกิดผล ได้ส่งบุตรชายทั้งสี่ไปศึกษาดนตรีปี่พาทย์กับครูเพชร จรรย์นาฏ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งยังมีโอกาสเดินทางไปศึกษาดนตรีปี่พาทย์
(ศร ศิลปบรรเลง) ที่วังบูรพาภิรมย์อีกด้วย ในเวลาต่อมาเมื่อนายวน และนางช้อน เกิดผลได้เสียชีวิต ภาระงานต่างๆ อันเกี่ยวเนื่องกับดนตรี และนาฏศิลป์จึงตกเป็นหน้าที่ของ บุตรชายทั้งสี่ ที่จะต้องดูแล และจัดการแทน แต่ก็เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้นเพราะเมื่อพี่ชายได้เสียชีวิตนาย สังเวียน
ห้วงระยะเวลานี้งานแตรวง หนังใหญ่ ลิเก และ เพลงพื้นบ้าน ที่ตระกูลเกิดผลดาเนินการอยู่ได้ซบเซา และล้มเลิกลงตามลาดับเนื่องจากสถานการณ์ บ้านเมือง ไม่ปกติ และเข้าสู่สภาวะสงคราม กอปรกับศิลปินที่เคยร่วมงานแสดงต่างมีอายุมาก บางท่านได้เสียชีวิต
- พ.ศ.๒๕๓๒ นายสังเวียน เกิดผล รับหน้าที่เป็นผู้นาวงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ ต่อจากบิดา ได้วางแนวทางการศึกษาดนตรีให้แก่ บุตร-หลาน ของตนโดยจัดให้มีการเรียนการสอนดนตรีขึ้น ภายในครอบครัว และที่สาคัญได้ส่งครูสาราญ เกิดผล (หลานชาย) ไปเรียนดนตรีปี่พาทย์ที่สานักพาทยโกศล กรุงเทพฯ โดยมีครูเทียบ คงลายทองเป็นผู้นาฝาก ถือเป็นก้าวแรกของความสัมพันธ์อันดี ระหว่างสานัก พาทยโกศล กับวงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ และนี่เป็นจุดหักเหที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงสาคัญ เพราะในเวลาต่อมา
ซึ่งพานักอยู่แถววัดสามวิหาร
กับครูหลวงประดิษฐไพเราะ
เกิดผลจึงเป็นผู้สานต่องานดังกล่าวแต่เพียงผู้เดียว
ภายหลังจึงคงไว้แต่งานดนตรีปี่พาทย์เพียงอย่างเดียว ระหว่างปีพ.ศ.๒๔๘๑

ให้มาถ่ายทอดความรู้ให้แก่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ

ซึ่งเป็นศิษย์คนสาคัญอีกท่านหนึ่งของจางวางทั่ว

ท่านได้มอบต้นฉบับโน้ตเพลงสานักพาทยโกศล

๕ องค์ความรู้และทางบรรเลงจากสานักพาทยโกศล อันเป็นแนวทาง และวิธีปฏิบัติของจางวางทั่ว พาทยโกศล ได้ถ่ายโอนสู่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ อย่างมั่นคงแทนที่ทางบรรเลงของครูเพชร จรรย์นาฏ และครูหลวงประดิษฐ ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) หรือที่เรียกขานว่า “ทางฝั่งพระนคร” ที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ เคยใช้บรรเลงในอดีต ประมาณปีพ.ศ.๒๔๘๔ - ๒๔๘๖ ครูฉัตร และครูช่อ สุนทรวาทิน รับคาเชิญจากนายสังเวียน
ในเวลาต่อมานายสังเวียน เกิดผลได้ไปเชิญครูอาจ สุนทร
พาทยโกศล มาถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกวงปี่พาทย์
สุนทรได้ถ่ายทอดให้แก่นักดนตรีวงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ
บ้านใหม่ฯ นอกเหนือจากองค์ความรู้ทั้งมวลที่ครูอาจ
เพลงตับ เพลงเรื่อง
เป็นโน้ตสากลอย่างละเอียดให้เป็นสมบัติแก่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ ในปีพ.ศ. ๒๔๘๕ ครูอาจ กับนายสังเวียน ไปขออนุมัติทางกรมศิลปากรขอจัดตั้งสถานที่อบรมและ ได้รับการอนุมัติให้จัดตั้งโดย ใช้ชื่อว่าสถานที่อบรมดุริยางคศิลปะตาบลบ้านใหม่ มีครูอาจ สุนทร เป็นผู้สอนดุริ ยางคศิลป์ ครูลมุล ยมะคุปต์เป็นผู้สอนนาฏศิลป์ ผู้ผ่านการอบรมได้รับใบประกาศและมีสิทธิเหมือนกับกรม ศิลปากรทุกประการ
มีบทเพลงทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นเพลงเถา
หรือเพลงหน้าพาทย์

ดนตรี และขับร้องเพลงไทยครั้งสาคัญที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯ ได้สนองพระบัญชาสมเด็จพระกนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

๖ เจ้านายพระองค์สาคัญอีกพระองค์หนึ่งที่มีพระเมตตาคุณ และเป็นพระมิ่งขวัญต่อต่อวงปี่พาทย์ บ้านใหม่ฯ เป็นอย่างยิ่งคือพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า “เสด็จองค์ ชายกลาง”พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และพระเจ้าว รวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล ก็ได้เสด็จมายังบ้านใหม่ ดังที่กล่าวมา วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๒ ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพัน ปีหลวง ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานคล้ายอุทยานสโมสรขึ้นที่พระราชวังบางประอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา นายสังเวียน เกิดผล ได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้นาวงปี่พาทย์บ้านใหม่ ไปบรรเลงถวายที่ศาลารูปวงกลม ใกล้กับพระที่นั่งเวหาสจารูญ ผลงานการบรรเลง
สยามบรมราชกุมารี ได้รับการจดบันทึกในหนังสือ“จดหมายเหตุดนตรี ๕ รัชกาล” ไว้ ปีพ.ศ. ๒๕๒๓ เริ่มเตรียมการจัดงานราลึก ๑๐๐ ปีวันประสูติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม พระนครสวรรค์วรพินิต สมเด็จพระกนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายสังเวียน เกิดผลนาวงฯเข้ามาบันทึกเสียงถวายด้วยวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ครู สาราญ เกิดผลเป็นผู้จัดการให้นักดนตรีทุกคนในวงซ้อมเพลงพระนิพนธ์ตามโน้ตสากลต้นฉบับเพลงที่บันทึกไว้ ระหว่างปี ๒๕๒๓ นั้น

และทรงพระราชนิพนธ์เนื้อร้องเพลงตับชมสวนขวัญ

๗ ปีพ.ศ. ๒๕๒๔ สมเด็จพระกนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีบัญชาให้วงดนตรีบ้านใหม่ฯ เข้าไปบันทึกเสียงที่ศาลาดุสิดาลัย ในพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
เก็บรักษาไว้ที่ห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมบริพัตรฯ เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๐สมเด็จพระกนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเยี่ยมบ้านนายสังเวียน เกิดผล ได้พระราชทานชื่อวงปี่พาทย์ให้ใหม่ว่า“พาทยรัตน์”
เพื่ออนุรักษ์ทางเพลงเก่าๆ
เพลงลอยประทีป เถา เพลงกาศรวลสุรางค์ เถา เพลง
เถา ฯลฯ นับเป็นมงคลนามแก่ตระกูลเกิดผล เป็นอย่างยิ่ง
เกิดผล ร่วมกับ ครูวิเชียรเกิดผลเป็นผู้ถ่ายทอด
และวัฒนธรรมดนตรีไทยในด้านต่างๆ ตามแบบโบราณได้อย่าง สมบูรณ์ พร้อมโดยยึดรูปแบบอย่างมั่นคง เคร่งครัด ตามที่บรรพบุรุษในตระกูลเกิดผลและสังคีตาจารย์สานัก พาทยโกศลได้เคยถ่ายทอดไว้ ไม่ว่าจะเป็นด้าน บทเพลง ทางขับร้องประเภทต่างๆ ระเบียบ และกลวิธีการ บรรเลง รวมถึงวัตรปฏิบัติทางด้านดนตรีไทยโดยเฉพาะ อาจกล่าวได้ว่าวงปี่พาทย์บ้านใหม่ฯเป็นวงปี่พาทย์ หนึ่งเดียวที่ไม่ยอมเปลี่ยนผันไปตามกระแสสมัยนิยมของโลก ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ครูสาราญ เกิดผล ครูผู้ใหญ่ใน บ้าน ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยประจาปีพ.ศ. ๒๕๔๘) และในปี
วิหคเหิน
วงปี่พาทย์พาทยรัตน์ภายใต้การนาวงโดยครูสาราญ
วิชาความรู้ที่ยังคงรักษารูปแบบขนบประเพณี

เจริญก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับจากสถาบันหน่วยงาน

ปี่พาทย์ในระดับแนวหน้าของประเทศวงหนึ่ง

๘ ครูวิเชียร เกิดผลได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ จาก มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจาปีพ.ศ. ๒๕๖๖ ปัจจุบัน การดนตรีของสานักบ้านใหม่ ในนามวงพาทยรัตน์ โดยมีนายเรืองศักดิ์ สุขเสียงศรี (บุตรครู มาลี สุขเสียงศรี (เกิดผล) ผู้นาวงฯ ยังคงดาเนินการสืบทอด อนุรักษ์ ให้การสนับสนุนส่งเสริม และพัฒนาให้
องค์กร ทั้งภาครัฐ และเอกชน ในแวดวงดนตรีไทย ให้เป็นวง
๑๐ รายการแสดง ๑ โหมโรงประเสบัน ๒ เพลงช้า เรื่องนกขมิ้น ๓. ถอนสมอ เถา ๔. เขมรโพธิสัตว์ เถา ๕. เดี่ยวระนาดทุ้ม เพลงกราวใน ๓ ชั้น ทางครูฉัตร สุนทรวาทิน ๖. อกทะเล ๓ ชั้น

เพลงนี้ในอัตราจังหวะสองชั้นเป็นเพลงจากเพลงช้าเรื่องต้น

แขกไทรเป็นเพลงบรรเลงไม่มีทานองทางร้อง

เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์

นิพนธ์เป็นเพลงโหมโรงเสภา

๑๑
๑.โหมโรงประเสบัน
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ
กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงพระราช
เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๑ โปรดให้นายเทวา ประสิทธิ์ พาทยโกศล ต่อไว้ เพลงนี้ทรงนิพนธ์ขณะมีพระชนมายุ ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน ซึ่งทรงมีพระชนมายุเสมอด้วยสมเด็จพระบรมชนก นาถ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะประทับ ณ พระตาหนักประเสบัน เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซีย ทรงหารือ นายเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล ว่าควรจะเรียกชื่อเพลงอย่างไร นายเท วาประสิทธิ์ พาทยโกศล ทูลเสนอชื่อว่า "เพลงโหมโรงประเสบัน"
ขอบพระคุณภาพต้นฉบับจากเพจ : สมเด็จครู แตงส : กปป กลป ขนาดภาพ : ๑๕x๑๘ นว ๒. เพลงช้า เรื่องนกขมิ้น เพลงเรื่องนกขมิ้น จัดอยู่ในประเภทเพลงช้า มีอยู่ด้วยกัน ๒ เพลง คือ เพลงนกขมิ้นตัวผู้ มี ๓ ท่อน และนกขมิ้นตัวเมีย มี ๔ ท่อน มีปรากฏตั้งแต่สมัยอยุธยา ไม่ทราบนามผู้แต่ง คาดว่าเป็นเพลงเกร็ดมาก่อนที่
จะนาเพลงนี้เข้ามาบรรจุอยู่ในเพลงเรื่องนกขมิ้น
ต่อมา
เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น เป็นตัวผู้-ตัวเมีย ประกอบด้วยเพลงช้า เพลงสองไม้ เพลงเร็ว และออกเพลงลา
จึงใช้เป็นชื่อเพลงตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ครูดนตรีสานักต่างๆ
ของเดิมมีแค่นกขมิ้นตัวผู้
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ

ตัดตอนมาจากพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาในรัชกาลที่

๑๒ ๓. ถอนสมอ เถา เพลงถอนสมอ เดิมเป็นเพลงอัตราจังหวะ ๒ ชั้น มีปรากฏตั้งแต่สมัยอยุธยา ไม่ทราบนามผู้แต่ง เดิมชื่อ "ฝรั่งถอนสมอ" อยู่ในเพลงเรื่องนางหงส์ ถอนสมอ พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) ได้ทาขึ้นเป็น เพลง ๓ ชั้น ทูลกระหม่อมทรงนาเพลงถอนสมอ ๓ ชั้น และ ๒ ชั้นมาประดิษฐ์เป็นเพลงสาหรับ แตรวงบรรเลง เพิ่มทั้งเที่ยวแรก และเที่ยวกลับในทุกอัตราจังหวะ จึงกลายเป็นอัตราจังหวะละ ๔ ท่อน
ฯ จึงยาวกว่าทางอื่นอีกเท่าตัว ต่อมาได้ทรงปรับขึ้นใหม่สาหรับพิณพาทย์ วังบางขุนพรหมบรรเลง เพลงถอนสมอทางวังบางขุนพรหมนี้ยาวมาก เล่นกันแต่เฉพาะบางวงเท่านั้น บทร้อง
เพลงถอนสมอของทูลกระหม่อม
๒ ตอนปันหยีลงเรือข้ามช่องแคบมะละกา เพื่อตามหา บุษบา ๓ ชั้น ลมดีพระก็ใช้ใบไป ภูวนัยอุ้มองค์ขนิษฐา ขึ้นนั่งยังท้ายเภตรา ชมหมู่มัจฉาในสายชล พิมพ์ทองล่องลอยแลคร่่า วาฬผุดพ่นน้่าดังฝอยฝน ฉนากฉลามว่ายตามวน โลมาหน้าคนนนทรี ๒ ชั้น ชี้ชมศิลาปะการัง เขียวดังมรกตสดสี ที่ลายก็คล้ายราชาวดี แดงเหลืองเลื่อมสีเหมือนโมรา ปริ่มน้่าร่าไรไคร่จับ งอกสลับจับกัลปังหา ชมพลางแล่นเลี้ยวเกาะมา ไม้หมู่มะละกาธานี ชั้นเดียว เมื่อนั้น เกนหลงหนึ่งหรัดรัศมี ชมหมู่มัจฉาในวารี
เหล่านางเชลยไม่เคยเห็น ก็ตื่นเต้นปรีเปรมเกษมสันต์ สี่พี่เลี้ยงนงเยาว์เหล่าก่านัล พากันชมไม้ในเกาะเกียน (จากบทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนา ในรัชกาลที่ ๒)
มากมีหลายอย่างต่างพันธุ์

โยธวาทิต มีความไพเราะน่าฟังมากเพลงหนึ่ง

๑๓ ๔. เขมรโพธิสัตว์ เถา เพลงเขมรโพธิสัตว์ เถา นี้ ของเดิม ครูช้อย สุนทรวาทิน เป็นผู้แต่งไว้ตั้งแต่สมัยต้นรัชกาลที่ ๕ มีทั้ง ทางปี่พาทย์ ทางมโหรีและทางเครื่องสาย ส่วนทางขับร้อง พระยาเสนาะดุริยางค์ได้ปรับปรุงใหม่ในสมัยรัชกาล ที่ ๖ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตได้ทรง ดัดแปลงทานอง ทั้งหมดเป็นทางสาหรับบรรเลงด้วยแตรวง โดยให้มีหยุดบ้าง เป็นทางยาวไม่เก็บบ้าง ประสาน
นับเป็นเพลงที่บรรเลงด้วยวง
เสียงตามหลักสากลบ้าง ปัจจุบันมีโน้ตอยู่ที่กองดุริยางค์ทหารบกและทหารเรือ
สาหรับบทร้องนั้น หม่อมเจริญ พาทยโกศล เป็นผู้ค้นคว้ามา
สันนิษฐานว่านามาจากบทประพันธ์ เรื่องพระอภัยมณี เขมรโพธิสัตว์ เถา ๓ ชั้น ทอดองค์ลงกับที่บรรจถรณ์ ยอกรก่ายพักตร์สะอื้นไห้ วิตกด้วยการศึกตรึกไตร สะท้อนถอนฤทัยอยู่ไปมา เพราะงวยงงหลงเชื่อสังฆราช สอนให้ขาดญาติวงศ์พงศา ถ้าทราบถึงทรงฤทธิ์พระบิดา จะโกรธาร้อนพระทัยดังไฟเลีย ๒ ชั้น การครั้งนี้ชนนีท่านทราบเรื่อง จะแค้นเคืองด่าว่าประดาเสีย เหมือนอัคคีติดตามลามเลีย เห็นจะเตี้ยตกต่่ากรรมของเรา จึงตรัสสั่งพนักงานข้างที่ จงขับล่าดนตรีขึ้นเถิดเจ้า
ให้พร้อมเหล่าสาวสรรค์ก่านัลใน ชั้นเดียว บัดนั้น พวกชาวพนักงานดนตรีน้อยใหญ่ ได้รับสั่งต่างเรียกกันทันใด ให้ร้องร่าท่าไปถวายองค์ พระทรงฟังวังเวงเพลงเสนาะ ไพเราะคลายทุกข์ที่ทับถม พอดาวเคลื่อนเดือนสว่างน้่าค้างพรหม เคลิ้มบรรทมอยู่ในห้องทองประไพ (สันนิษฐานว่าน่ามาจาก บทประพันธ์เรื่องพระอภัยมณี) หมายเหตุ ท่อนแรกของชั้นเดียว คาว่า “บัดนั้น” เวลาขับร้องจริง ๆ ไม่ต้องร้องใช้เอื้อนแทน
ถวายทูลกระหม่อมบริพัตรฯ
พอสบายคลายร้อนผ่อนบรรเทา

ได้แต่งทางดนตรีขึ้นสาหรับบรรเลงรับและใช้เป็นเพลงลา

สาหรับบทร้องในวันนี้จะเป็นบทพระราชนิพนธ์

๑๔ ๕. เดี่ยวระนาดทุ้ม เพลงกราวใน ๓ ชั้น ทางครูฉัตร สุนทรวาทิน เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน ๓ ชั้น เพลงกราวใน เป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง นิยมบรรเลงเพื่ออวด ฝีมือทั้งเครื่องสาย และปี่พาทย์ เป็นเพลงที่มีความพิเศษกว่าเพลงอื่น มีกลวิธีในการบรรเลงที่ยาก และซับซ้อน ซึ่งคุณครูฉัตร สุนทรวาทิน ได้ถ่ายทอดให้แก่ครูวิเชียร เกิดผล เพื่อใช้ในการสอนแก่ลูกศิษย์สานักพาทยรัตน์ กราวใน ๓ ชั้น ยักษ์รับกราบลาทะลึ่งโลด ข้ามโขดเขาเขินคีรีศรี ยูงยางหักลงเป็นผงคลี เหยียบเสือช้างบี้ด้วยบาทา (จากบทประพันธ์เรื่องขุนช้าง-ขุนแผน ตอน ขุนแผนส่องกระจก) สาหรับผู้ที่จะบรรเลงเดี่ยวในวันนี้ คือ นายเกียรติศักดิ์ ดีชัง ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากครูวิเชียร เกิดผล ๖. อกทะเล ๓ ชั้น เพลงอกทะเล ๓ ชั้น ขยายจากเพลงทะเลบ้า อัตราจังหวะ ๒ ชั้น ของเก่า เป็นเพลงประเภทหน้าทับ สองไม้ มี ๒ ท่อน มีผู้แต่งขยายทางร้องเป็นอัตรา ๓ ชั้น เพิ่มเติมดัดแปลงให้ต่างจากของเดิม ตามแบบ เพลงสักวา จนแทบจะเป็นคนละเพลง เรียกชื่อเพลงที่แต่งขยายนี้ว่า "เพลงอกทะเล" ต่อมาครูช้อย สุนทรวาทิน
กลายเป็นอีกเพลงหนึ่งแยกจากเพลงทะเลบ้า
ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๐ อกทะเล ๓ ชั้น นี่ก็ล่วงเวลาเห็นช้าแล้ว พระจันทร์แคล้วหลบลี้หนีหน้าหาย ได้ฟังเพลงร้องเล่นเย็นใจกาย เย็นพระพายพัดเอื่อยเรื่อยเรื่อยเรียง ได้อยู่ใกล้ใจคลายทุกข์เป็นสุขศรี จนดนตรีที่ได้ยินจะสิ้นเสียง ตัวจากไปใจยังอยู่เป็นคู่เคียง คอยมองเมียง พบกันวันหน้าเอย" (บทพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระกนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
๑๕ รายนามผู้บรรเลง และขับร้อง ปี่ใน นายพงศธร พลอยสีขา นายเมืองทอง เม้าราศี ระนาดเอก จ่าอากาศเอกชนาภัทร บุญเกิด นายชฤทธิ์ ตรีหิรัญ นายชิษณุพงศ์ พรมทา ระนาดทุ้ม นายเอกรินทร์ นิลตีบ นายนพรัตน์ ทองสุข ฆ้องวงใหญ่ นายกฤติน ศิริพุฒ นายธนวัฒน์ คงเปี่ยม ฆ้องวงเล็ก นายทรงสิทธิ์ ภู่ภักดี นางสาวปพิชญา ชานุชิต กลองสองหน้า นายณัฐพล ฝักคูณ กลองแขก นายธนานพ พุ่มวันเพ็ญ กลองภาษา นายเกียรติศักดิ์ ดีชัง ฉิ่ง นายณัทกร พุ่มวันเพ็ญ เครื่องประกอบจังหวะ นายวรพล ฤทธิสน ขับร้อง นางวิภาพร พุ่มพิพัฒน์ นายกิตติพล มั่นชาวนา ผู้อานวยการบรรเลงและขับร้อง ครูวิเชียร เกิดผล ผู้ควบคุมการบรรเลงและขับร้อง นายเรืองศักดิ์ สุขเสียงศรี

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.