สมาชิก
04600075 นางสาวชุติกาญจน์ มาตย์เทพ 04600076 นางสาวชุติกาญจน์ เลิศบุญครอง 04600084 นางสาวนีลรัตน์ เมธีพานิช 04600088 นางสาวปาณัสม์ อัศวเหม 04600100 นางสาวมนพร ตันวิมลรัตน์
คำนำ เนื่องจากวิชาศิลปะไทยปริทัศน์ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ภาควิชาออกแบบ นิเทศศิลป์ไปส�ำรวจลงพื้นที่ต่างจังหวัด เพื่อชมโบราณสถานต่างๆระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 จึงได้มีการจัดท�ำรายงานฉบับนี้ขึ้น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 360108 ศิลปะไทย ปริทัศน์ (Survey of Thai Art) โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้จัดท�ำได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสถาน ที่จริง และน�ำความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้ามารวบรวมและเรียบเรียงไว้เป็นองค์ความรู้ที่มีประโยชน์ แก่ทุกคน ซึ่งรายงานนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของจังหวัด ก�ำแพงเพชร พิษณุโลก และ สุโขทัย รวมทั้งโบราณสถาน พิพิธภัณท์สถานที่ส�ำคัญของแต่ละจังหวัด ทั้งยังมีการสรุปการ บรรยายของอาจารย์ที่ทรงคุณวุฒิ รวมถึงความพิเศษของรายงานเล่มนี้ที่รวมเอาภาพสเกตช์ โบราณสถาน และโบราณวัตถุตามสถานที่ต่างๆมาให้ทุกท่านได้รับชม นอกจากนี้ยังมีภาพความ ประทับใจอีกหลากหลายจากทางคณะผู้เดินทางภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์อีกด้วย ทางคณะผู้ จัดท�ำก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่านทุกท่านจะได้ทั้งประโยชน์ และความบันเทิงทั้งกายและใจ ไม่มาก ก็น้อย หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดท�ำ
day index
1 3
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กำแพงเพชร 11 วัดพระธาตุ 12 วัดพระแก้ว วัดพระสี่อิริยาบถ วัดช้างรอบ
2
วัดมหาธาตุสุโขทัย วัดศรีสวาย วัดพระเชตุพน วัดตระพังทองหลาง พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ รามคำแหง วัดศรีชุม วัดพระพายหลวง
วัดพระมหาธาตุเชลียง พิพิธภัณฑ์ผ้าทองค�ำ ชาวไทยพวน พิพิธภัณฑ์เครื่องเคลือบ วัดนางพญา วัดเจดีย์เจ็ดแถว วัดช้างล้อม วัดสุวรรณคีรี ศาลเจ้าแม่ละอองส�ำลี วัดเขาพนมเพลิง
4
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลก พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี
วันที่ 1 day 01
1
อุทยาน ประวัติศาสตร์ กำแพงเพชร >>
2
อุทยาน ประวัติศาสตร์ กำแพงเพชร
แม่น�้ำปิง ยม วัง รวมกันกลายเป็นแม่น�้ำ ปิง ปิงมาจากเชียงใหม่ วังมาจากล�ำปาง แล้วปิงกับวังมารวมกันที่จังหวัดตาก ละ ก็ไหลมาที่ก�ำแพงเพชร แล้วปิงก็ไหลไป นครสวรรค์ไปตรงปากน�้ำโพ ส่วนยม กับน่าน แม่น�้ำยมผ่านศรีสัชนาลัย ผ่าน สุโขทัย แม่น�้ำน่านจะมาอีกเส้นหนึ่ง แล้วยมก็มาเจอกับน่านที่พิจิตร จากนั้นก็กลายเป็นแม่น�้ำน่าน เพราะยมเส้นเล็กกว่าน่าน แม่น�้ำน่านกับปิงก็มารวมกันที่ แม่น�้ำน่านกับปิงก็มารวมกันที่ ปากน�้ำโพ แล้วก็เป็นเจ้าพระยา เพราะงั้น ปิง วัง ยม น่าน ที่เขา เรียกกันว่าเป็นสัตว์ผีน�้ำ เพราะ ว่ามันเป็นภูเขา แล้วน�้ำลงมาจาก ยอดเขาเป็นร่อง แล้วเป็นแม่น�้ำ แต่เป็นแม่น�้ำแขนงเล็กแล้วมา รวมกัน เมืองก�ำแพงเพชร ตอนนี้ตั้งอยู่บนแม่น�้ำปิง มีความส�ำคัญคือเป็นเมืองลูกหลวงของสุโขทัย แต่อยู่บนต�ำแหน่งแม่น�้ำ คนละสาย อันนี้อยู่แม่ปิง แต่สุโขทัยศรีสัชนาลัยอยู่แม่ยม มีความส�ำคัญเพราะว่าอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของสุโขทัย โบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ เป็นยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในยุคที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
3
เป็นยุคมีเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อนมาก เขาใช้ เ ป็ น ระบบหิ น เป็ น อาวุ ธ แต่ ว ่ า สมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจของเขา ที่ แ สดงถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาและอารยธรรมก็ คื อ เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาเครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาเกิ ด จาก ความบั ง เอิ ญ จากการใช้ พื้ น ที่ บ ริ เ วณนั้ น หา อาหารแล้วตอนที่หุงอาหารดินมันสูบ ในดินที่มันสูบเขายังพบปรากฏการณ์ดินปลก โลหะมันหลอม ก็เลยพบทองแดงด้วย ทีนี้ เครื่องปั้นดินเผาของเขาใช้ดินท้องนาธรรมดา ผสมข้าวแกรบ คือผสมกับเปลือกข้าวแล้วก็ คลุกกัน แล้วก็เผาโดยไม่มีเตา ขึ้นรูปโดยไม่มี แป้น เขาเรียก hand build คือไม่มีแป้นหมุน ใช้มือเอาดินมาก้อนนึงแล้วก็ปั้นแล้วก็คลี่ออก แล้วใช้หินดูดตี ตัวไม้ที่ตีมันเป็นตัวที่ท�ำให้ดินมันแน่นแล้วท�ำให้ขยาย ถ้าไม้ตีมันมีลายมันก็จะเป็นลายคาดเชือก แต่ไม่ได้เอา เชือกมาคาดจริงๆ มันเกิดจากตัวลายของไม้ที่ตี ทุกใบก้นกลมหมดยกเว้นภายหลัง ก้นกลมเพราะว่าระบบหุงอาหารของเขา เขาใช้หินสามสับ หรือหินสามก้อนแล้วก็ถูภาชนะตัวนี้ เป็นความบังเอิญที่ดินเผาตัวนี้เป็นไฟต�่ำ ใช้หุงอาหารแล้วดินไม่แตก เพราะไฟต�่ำแล้วมันก็มีรูพรุน มันระบายความร้อนดี ถ้าหากว่าเป็นไฟสูงอย่างสโตนแวร์ คือเนื้อเป็นหิน หรือพอร์ซเลนไป ตั้งไฟจะแตก เพราะมันขยายตัวไม่ทัน มันจะร้าว แต่ว่าระบบก้นกลมและหม้อกลมพวกนี้ยังเล่าเรื่องหรือท�ำให้เราสืบค้นว่า ระบบอาหารของเขามันคือต้ม เขาไม่รู้จักนึ่งแต่รู้จักตอนที่มีปากผาย พอปากผายจะมีอุปกรณ์ตั้งบนปากแล้วก็ใช้ไอน�้ำไปนึ่ง ข้างบน ก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในประเทศไทยไม่มีกระถาด ระบบกระถาดทอดน�้ำมันเป็นภูมิปัญญาเทคโนโลยีของจีน แล้ว ระบบพวกนี้ไม่มีผิง คือไม่ใช่ลักษณะเอาความร้อนจากข้างบนข้างล่างมาอบ เขาจะใช้ระบบต้มทั้งหมด คนไทยเราจะสังเกต ตรงค�ำว่าแกง แกงของเราคือต้ม แต่ระบบทั้งหมดนี้ก็ยังไม่มีแป้น ตราบใดที่มีแป้นมันจะเริ่มมีขา แต่ขาบางอันอาจจะไม่มี แป้น แต่ลักษณะที่เห็นจะเหมือนท�ำสองชิ้นแล้วมาเย็บต่อกัน
4
จากนั้นสมัยประวัติศาสตร์เทคโนโลยีจะสูงขึ้นมา อีกระดับนึง จะมีเครื่องประดับ ความมหัศจรรย์ ของมันคือท�ำรูเล็กมาก และสามารถร้อยเชือกได้ เชือกที่ร้อยอาจจะมาจากฝ้ายหรือไหมหรืออาจ จะเป็นหางม้า หินพวกนี้เป็นหินสี เป็นพรีเชียส สโตน หินมีค่าส่วนใหญ่จะพบสมัยทวารวดี เพราะ ในเหรียญมีค�ำว่าศรีทวารวดี พบหลายที่ เขาจึง สันนิษฐานว่าชื่อนี้เป็นชื่อกษัตริย์ เพราะสมัยก่อน เขาก็เอาชื่อกษัตริย์เป็นเมือง พบวัฒนธรรมที่พบ กับเหรียญตัวนี้ เป็นวัฒนธรรมของอินเดีย เพราะ เหรียญเป็นลายศิลปะแบบอินเดีย สมัยก่อนเขาคิด ว่านครปฐมคือศูนย์กลางของทวารวดี แต่ปัจจุบัน เขาเปลี่ยนความคิด เขาถือว่าเป็นกลุ่มวัฒนธรรม ไม่ใช่เป็นอาณาจักรคือมีวัฒนธรรมร่วมกัน โดยมี ครูของอินเดียเผยแพร่
5
ทวารวดีถือ เป็นสมัยก่อน ประวัติศาสตร์
ที่นับถือพุทธอย่างชัดเจน ใน ลุ่มน�้ำเจ้าพระยามักพบอยู่ ทั่วไป เขตที่ลุ่มภาคกลางแล้ว ลุ่มน�้ำในจีน ลพบุรี ป่าสัก พบถึงภาคใต้แล้วพบถึงภาค เหนือแล้วพบถึงประเทศลาว เพราะมันกว้างขวางมาก เขา เลยสันนิษฐานว่ามันไม่เป็น รูปอาณาจักร แต่มันเป็นรูป วัฒนธรรมที่มีครูอินเดียมาเผย แพร่แล้วครูอินเดียเขากระจาย ตัวในรูปของพ่อค้าหรือนักเดิน ทาง แล้วก็มีศาสนาตัวนี้เข้าไป ด้วย เพราะฉะนั้นลายชุดเป็น ลายอินเดียหมด
6
จุ ด เด่ น ของทวารวดี ที่ ไ ม่ พ บในเรื่ อ งของ
พระพุ ท ธรู ป อย่ า งเดี ย วคื อ ตรงนี้ คื อ ธรรมจั ก ร ธรรมจักรท�ำให้นักยุคโบราณคดียุคแรก ๆ หลงทาง คือให้ธรรมจักรตัวนีก้ ล่าวไปถึงยุคของพระเจ้าอโศก ว่าพระเจ้าอโศกเขามาเผยแพร่พุทธศาสนาตั้งแต่ พ.ศ. 300 แต่ว่าหลังจากที่เขาศึกษามาอย่างดีแล้ว เขาก็เชือ่ ว่าทวารวดีแค่ประมาณ พ.ศ.1100 หลังจาก สมัยพระเจ้าอโศกอีก 700 ปี เพราะฉะนั้นไม่ใช่ร่วม สมัยพระเจ้าอโศก พระเจ้าอโศกเป็นเพียงแค่ตำ� นาน ที่ว่าเคยส่งพุทธธรรมทูตมาเผยแพร่ศาสนาใน บริเวณที่สมัยนั้นจารึกว่าสุวรรณภูมิ แต่สุวรรณภูมิ ใน พ.ศ.300 ในประเทศไทยยังไม่มี บริเวณนี้เป็น อะไรก็ยังไม่ทราบ แต่ศิลปะของบริเวณนี้ที่ก�ำหนด อายุได้เก่าที่สุดคือ พ.ศ.700 แล้วที่เป็นรูปร่างของ วัฒนธรรมชัดเจนคือ พ.ศ.1000 เพราะฉะนั้นค�ำว่า ทวารวดีของพระเจ้าอโศกยังเป็นปริศนา มันอาจ จะเป็นอินโดนีเซีย ของไทย หรือพม่าก็ได้มีอยู่ 3 ประเทศนี้ที่น่าจะเป็นสุวรรณภูมิ ทุกวันนี้ยังตกลง กันไม่ได้ก็เลยเรียกทัั้งสามประเทศนี้ว่าสุวรรณภูมิ รูปนี้ ฉากหลังมีเจดีย์อยู่ อันนี้คือหลักฐานว่าเจดีย์ ของสมัยทวารวดีจะมีลักษณะคล้าย ๆ เป็น หม้อน�ำ้ แล้วก็มฉี ตั รเป็นชัน้ ซ้อนขึน้ ไป ซึง่ รูปร่างสมบูรณ์ตวั นีเ้ ราไม่พบ เราพบท่อนนีเ้ ยอะ แต่ ก็พบท่อนนึงประมาณแค่นี้อยู่ในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติที่กรุงเทพที่เป็นหิน อันนี้คือสทูป แล้วก็ พระพุทธรูปของเขาก็จะแสดงถึงชาติพันธุ์ของคนที่เป็นเจ้าของ คือชาติพันธุ์ที่ท�ำให้เรานึกถึง คนอีสาน หน้าเป็นเหลี่ยม คางแหลมแต่กามมน แล้วคิ้วไม่ตรง คิ้วเป็นปีกกา ตาโปน หน้าผาก แคบ จมูกใหญ่ ปากหนา อันนี้ใบหน้าแบบคนพื้นเมืองทั่วๆไปของทางแถบอีสาน ศิลปวัตถุที่ เราเห็นก็คดิ ว่าคนในยุคนัน้ หน้าตาประมาณนี้ แต่ถา้ เป็นลพบุรี ถ้าเป็นเขมรหน้าจะเหลีย่ ม กาม ไม่มน คางแหลม คิว้ ตรง ตาโปนน้อยกว่าแล้วเส้นของทวารวดีจะอ่อนหวาน ลพบุรจี ะแข็งแรง
7
เขมรที่ใช้ประดับตัว
ศาสนสถาน ตั ว ปู น ปั ้ น ของเขา เป็นสิ่งมหัศจรรย์มากคือเป็นสิ่ง ที่คงทนอยู่ได้นานเป็นพันปี ถัด จากทวารวดี สมัยก่อนเราเรียกว่า ศิลปะเขมรในประเทศไทย ความ จริ ง คื อ ศิ ล ปะของเขมร นครวั ด แถวนั้นกลายเป็นอาณานิคมของ ป ร ะ เ ท ศ ฝ รั่ ง เ ศ ส เ ป ็ น รัฐอารักษ์ขาของประเทศฝรั่งเศส
ก่อน ค�ำว่ารัฐอารักษ์ขาคือเสนอตัว เองให้ประเทศฝรั่งเศสมาคุ้มครอง ต่อมากลายเป็นอาณานิคมของ ประเทศฝรั่ ง เศส คื อ ฝรั่ ง เศส บันชาการได้ทุกอย่างแล้วเวลา นั้นประเทศไทยเราก็ก�ำลังมี ปัญหาเรื่องที่จะถูกฝรั่งเศสกับ อังกฤษขนาบซ้ายขวาจะเข้ามา ยึดประเทศไทย นักประวัติศาสตร์ ก็พยายามที่จะสร้างประเด็น ว่าศิลปะของเขมรที่อยู่ใน
ประเทศไทยไม่ใช่เป็นเขมรชุด เดียวกับที่อยู่ในเขมร เพราะไม่งั้น ฝรั่งเศสเขาจะอาศัยสิ่งบกชี้ทาง ภูมิศาสตร์ทางวัฒนธรรมเอามา อ้างว่าพื้นที่ตรงนี้เป็นพื้นที่ของ เขมรด้ ว ย หลั ง จากที่ เ ราศึ ก ษา สุดท้ายก็คือศิลปะของเขมร เพียง แต่วา่ เป็นศิลปะแบบบ้านนอกหรือ เป็นศิลปะที่เกิดจากราชวงศ์ของ เขมรที่เข้ามาตั้งถิ่นฐาน แต่สิ่งที่ น่าสนใจอย่างศิลปะเขมรที่อยู่ใน
ประเทศไทยในทางภูมิศาสตร์ ปรากฏว่าพื้นที่ตรงบริเวณอีสาน ของเราทั้งหมดตั้งแต่สุรินทร์เป็น พื้นที่ที่ยกระดับเหมือนกับเป็น ที่ดินสูงขึ้นมาแล้วก็ยุบตัวลงไป เป็นที่ราบพื้นที่ราบคือนครวัด นครธมไปจนออกปากแม่น�้ำโขง ต อ น ที่ เ ข ม ร กั บ ไ ท ย ต้ อ ง ท�ำ
สนธิสัญญาแบ่งเขตแดนก็เลย ใช้ ห ลั ก ของผี ป ั น น�้ ำ ก็ คื อ ถ้ า ฝน ตกลงมาน�้ำไหลไปทางนี้ก็เป็นที่ ของเขมร น�้ำไหลมาทางนี้ก็เป็น ที่ของไทย แล้วก็เขตแดนตรงนั้น เป็นเหมือนสันเขา แล้วก็น�้ำไหล มาทางนี้แต่น�้ำที่ไหลมาทางทิศ ตะวันตกมันเป็นที่สูง เป็นหน้าผา
อันนี้ลักษณะใบหน้าของเขมร คือคิ้วจะตรงกว่า ตาจะเล็กกว่า ทวารวดี แล้ ว เขาก็ นั บ ถื อ สอง ศาสนา คื อ นั บ ถื อ ฮิ น ดู กั บ พุ ท ธ ลั ก ษณะเด่ น คื อ ตาจะเปิ ด พุ ท ธ ตาจะเหลื อ บลง ปิ ด ตาครึ่ ง นึ ง
8
พุ ท ธศาสนาจะเน้ น ในเรื่ อ งท่ า ของ อนาปนสติ คือการท�ำสติก�ำหนดลมหายใจ เข้าหายใจออก ให้พระพุทธรูปอยู่ในท่านี้ ตลอด ท่าที่ปิดตาครึ่งหนึ่งเพื่อมองไม่ให้ เห็นเกินสามก้าว ไม่ว่าจะเดินหรือนั่ง ท่า สมาธิไม่หวั่นไหวเปรียบเสมือนองค์ชนะ พญามารส่วนองค์ที่ไม่ชนะคือพระเหมือน กลัน้ หายใจอยู่ แต่พระองค์นเี้ ป็นวัฒนธรรม ผสมทั้งฮินดูและพุทธคือจะเห็นว่าทรง เครื่องกษัตริย์และตาเปิด แต่ท่าทางจะเป็น ท่าทางของพุทธคือเป็นท่าปรางค์ให้อภัย
ท่าของพุทธศาสนามีอยู่ 5 ท่า คือท่ามาตรฐาน ท่าสมาธิ ท่ามารวิชัย ท่าประธานหมอบ ท่าห้ามญาติ และท่าแสดงฐาน ภายหลัง ประเทศที่รับพระพุทธศาสนาไปเขาจะคิด ท่าเพิ่มขึ้นเพราะท่าตัวนี้บอกสถานธรรมใน 5 ท่ า เป็ น บอกเรื่ อ งของระดั บ ของ การเข้ า ฌาน ท่ า นี้ เ ป็ น ท่ า ทางพุ ท ธ แต่การแต่งกายและตาเป็นเทวรูป
9
10
รูปปั้นพระอิศวร “เทวรู ป พระอิ ศ วร พบในศาลพระอิ ศ วรที่ ก� ำ แพงเพชร มี ค วามงดงามแบบสุ โ ขทั ย แต่ เ ป็ น เทวรู ป ตามคติ ข องฮิ น ดู ”
11
เทวรูปพระอิศวรองค์นี้อยู่ที่ก�ำแพงเพชร ที่ศาลพระอิศวร แต่องค์นี้เป็นเทวรูปของฮินดูที่ปั้นในศิลปะแบบสุโขทัย แต่ ว ่ า บุ ค ลิ ก หน้ า เป็ น ไปตามคติ ข องฮิ น ดู ความงามจะ เป็ น เหมื อ นสุ โ ขทั ย ไม่ ดุ แ ละมี ค วามงดงาม องค์ นี้ ส ร้ า ง ราวพ.ศ.2052 คื อ เป็ น ช่ ว งที่ ก� ำ แพงเพชรอยู ่ ใ นอ� ำ นาจ ของอยุ ธ ยา มี จ ารึ ก อยู ่ ที่ ข อม อยู ่ ที่ ฐ านตรงแป้ น แล้ ว ก็ ถอดจารึกข้อความออกมา เทวรูปองค์นี้สมัยรัชกาลที่ 5 เยอรมันเข้ามาสร้างทางรถไฟแล้วก็ลักลอบขนเทวรูปองค์ นี้ออกนอกประเทศ แต่ปรากฏว่ามีข่าวจึงยึดไว้ได้เลยยังอยู่
วันที่ 1 12
day 01
13
อุทยาน ประวัติศาตร์สุโขทัย
14
อุทยานประวัติ ศาตร์สุโขทัย เมืองก�ำแพงเพชรจะไม่เป็นจัตรุ สั ไม่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่จะเป็น ลักษณะยาวๆขนานกับแม่น�้ำปิง แล้ ว ด้ า นนี้ ทิ ศ ตะวั น ออก ถ้ า อยุธยามาก็จะมาทางด้านนี้ หรือ พม่ามามาทางนี้ก่อนจะข้ามแม่ น�้ำปิง ถ้าจะข้ามเขาไม่มาข้าม ตรงหน้าเมือง เขาจะข้ามทางอื่น ภายในเมืองมีโบราณสถานอยูแ่ ค่ นี้ เวลาเกิดศึกสงครามก็ระดมพล เข้ามา แต่ว่าสิ่งที่น่าสนใจก็คือ ที่เมืองก�ำแพงเพชรตรงนี้มันจะ มีกลุ่มนึงเขาเรียกว่า อรัญวาศรี คือเป็นเขตพระป่าอยู่ พราหมณ์ มวาศรี คื อ พราหมณ์ เ มื อ ง สุโขทัย จุดเด่นของเขาคือเครื่อง ประดับ แทนที่จะเป็นปูนปั้น เขา มีอีกตัวนึงเพิ่มเข้ามาคือเซรามิค เซรามิคของเขาไปตรงกับสมัย ราชวงศ์หยวน อยูร่ าว พ.ศ.18002000 แต่ว่าอิทธิพลของเซรามิค เขาก็มาจากถังด้วย แต่เหมือน ของหยวนมากกว่าโดยเฉพาะ พวกรูปทรงต่างๆ ลักษณะเฉพาะ ของก�ำแพงเพชรอันนี้เขาถือว่า เป็ น ทิ ป พิ เ คิ ล คื อ ใช้ เ ป็ น แบบ มาตรฐานหรือเป็นแบบเฉพาะ
ของก� ำ แพงเพชร คื อ หน้ า พระ ก�ำแพงเพชรจะเป็นหน้ารูปไข่ เวลาปั้นพระจะไม่มีโหนกแก้ม หน้าผากจะกว้างและแหลมนิด นึง แต่สังเกตคนที่ปั้นพระคนที่ ไม่ได้เรียนพุทธลักษณะอย่างดี ส่วนใหญ่จะปั้นแล้วมีโหนกแก้ม อยุธยา เวลาตกแต่งโบราณสถาน เขาใช้ดินเผาเหมือนกันแต่เป็น ดินเผาแบบไฟต�่ำของสุโขทัย เป็นไฟสูง เป็นเนื้อหินสโตน อัน นี้เป็นเทอราคอตต้า เอิร์ธเทิน แวร์ ไ ฟต�่ ำ เป็ น กระเบื้ อ งเชิ ง ชาย ตัวทวารวดีก็เป็นไฟต�่ำแต่ สุโขทัยเป็นสโตน เผาอยู่ที่ 1250 แต่ เ ทอราคอตต้ า อยู ่ ที่ 8001000 เวลาเผาอิฐอยู่ที่แค่ 800
15
มี จ ารึ ก อยู ่ ที่ ข อม อยู ่ ที่ ฐ าน ตรงแป้นแล้วก็ถอดจารึกข้อความ อ อ ก ม า แ ล ้ ว อ ง ค ์ นี้ ส มั ย รั ช กาลที่ 5 เยอรมั น เข้ า มา สร้างทางรถไฟแล้วก็ลักลอบขน เทวรูปองค์นี้ออกนอกประเทศ แต่ปรากฏว่ามีขา่ วจึงยึดไว้ได้เลย ยังอยู่ พวกนีไ้ ม่ใช่พระพุทธรูป แต่ เป็นแค่ชิ้นส่วน คือในวัฒนธรรม ของไทยทวารวดีเราไม่เห็นศิลปะ ของฮิ น ดู แต่ พ อเข้ า มาสู ่ ยุ ค สุโขทัย อยุธยา เราเห็นศิลปะของ ฮินดูกับพุทธอยู่ร่วมกัน สาเหตุ มาจากเขมรด้วยเพราะเขมรเขา นับถือทัง้ สองศาสนา เช่น นครวัด เป็นปราสาทหินที่สร้างเพื่อพระ วิษณุ ส่วนนครธมเป็นปราสาท ที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ พระโพธิ สั ต ว์ โลกิเตสวนเป็นพุทธศาสนา จะ ต่างกันแต่ทั้งสองอันยิ่งใหญ่เท่า กัน เหมือนกับทั้งสองศาสนานี้คู่ ขนาน ขึ้นอยู่กับกษัตริย์ที่ขึ้นมา ครองว่านับถือศาสนาไหนก็จะ อุปถัมภ์ศาสนานั้น แต่อีกศาสนา หนึ่ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก ท� ำ ลาย เพราะ ในเชื้อพระวงศ์ก็แบ่งเป็นสอง
สาย แต่ก็ให้เสรีภาพพวกนี้เป็น เทวรูปผูห้ ญิงทีจ่ ะเข้าคูก่ บั อ�ำนาจ อั น นี้ เ ป็ น อิ ท ธิ พ ลสุ โ ขทั ย แต่ ท�ำในยุคของอยุธยา เพราะงั้น อารมณ์ความเป็นสุโขทัยมันจะ เริ่มเปลี่ยนแล้วก็มีร่องรอยเป็น ศิ ล ปะแบบอยุ ธ ยา คื อ อยุ ธ ยา เขามีศิลปะของเขา โดยเฉพาะ เม็ดประสกของอยุธยาเขาเรียก ว่าหนามขนุน คือเป็นเล็กๆ ส่วน สุโขทัยเหมือนหนามทุเรียน มัน จะก้ อ นใหญ่ ขึ้ น แต่ ถ ้ า ปิ ด ข้ า ง บนเห็นแต่พระพักตร์เรานึกว่า เป็นสุโขทัย แต่ถ้าดูจริงๆก็ไม่ใช่ ชุดนี้ก็เป็นพระพุทธรูปสุโขทัย รุ่นอยุธยาแล้วก็มักจะมีเชิง คือ อยุธยาเริ่มน�ำพระพุทธรูปมานั่ง เก้าอี้ หน้าจะออกแนวหวานไม่ ยาว ถ้าเป็นสุโขทัยหน้าจะยาว รัตนโกสินทร์ไม่มีอะไรซับซ้อน เพราะว่าพระพุทธรูปท�ำต่อจาก สมั ย อยุ ธ ยา แต่ ว ่ า อารมณ์ ใ น เรื่องของความงามไม่มี เพราะ ส่วนใหญ่หน้าเป็นตุ๊กตา ยังคง อนุรักษ์ไว้แค่ความเชื่อ
16
ตรงกลาง ตรงกลาง ของเมื อง ของเมื อ ง คื อ วั ด คือพระธาตุ วัด พระธาตุ
17
18
วัดพระ ธาตุ
ทุกเมืองของสุโขทัยได้แนว ความคิดเรื่องการเอาพระธาตุ มาตั้งไว้กลางเมืองเพื่อเป็น ศิริมงคลของเมืองเหมือน กับว่ามีพระพุทธเจ้าเป็น โลกนาถมาอยู่ตรงกลางใจเมือง
19
แต่ว่าวัดพระแก้วที่มา ปรากฏอยู่ตรงนี้เพราะ ว่าพระแก้วมรกตเจอครั้ง แรกที่จังหวัดเชียงรายอยู่ ในเจดีย์แล้วถูกฟ้าผ่า ก็ เลยท�ำให้เห็นวัดพระ แก้วซ่อนอยู่ในเจดีย์ วัด นี้เลยชื่อว่าวัดพระแก้วที่ จังหวัดเชียงราย แต่ว่าวัด พระแก้วพระเจ้าเชียงราย ท่านหวง ท่านไม่ยอมให้ พระเจ้าเชียงใหม่ตอนหลัง เลยเกิดกรณีขัดแย้งกัน ท่านเลยเอาวัดพระแก้วมา อยู่ที่ก�ำแพงเพชร จากนั้น พระเจ้าเชียงใหม่ พระชัย ราชาอยู่ในช่วงราว 2000 มีพ่อตาเป็นพระเจ้าแผ่น ดินของหลวงพระบาง แล้วพ่อตาเสียก็ไปงาน ศพพ่อตา ทีนี้ทางหลวง พระบางก็อันเชิญขึ้นเป็น กษัตริย์ ท่านก็เลยตัดสินใจ สละราชสมบัติเชียงใหม่ ให้กับพระญาติของท่าน แล้วท่านก็ไปเป็นพระเจ้า แผ่นดินของหลวงพระบาง และเอาพระแก้วมรกต ไปด้วย ไปอยู่หลวงพระ บาง และจากหลวงพระ บางพระเจ้าแผ่นดินองค์ นี้ก็มาสร้างเวียงจันทน์ จากนั้นย้ายพระแก้ว มรกตมาอยู่ที่เวียงจันทน์ หลังจากนั้นเวียงจันทน์
ก็เกิดศึกสงครามกับ พระเจ้าตากสินเพราะว่า พระญาติของเวียงจันทน์ เกิดวิวาทกันกับพระวอ พระตา พระวอพระตาก็ ขนครอบครัวข้ามแม่น�้ำ โขงขอเป็นข้าแผ่นดิน ของพระเจ้าตากสิน พระเจ้าตากสินก็รับและ ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ ยโสธรกับอุบล แต่พระเจ้า เวียงจันทน์ไม่เลิกรา ยก กองทัพมาตามตี พอตามตี ทางนี้ก็ขอพระเจ้าตากสิน น�ำทัพขึ้นมาช่วย ช่วยแล้ว ก็ตามตีเวียงจันทน์ไปจนถึง เมืองเวียงจันทน์ แล้วก็ยึด เมืองได้เลยอันเชิญพระ แก้วมรกตไปไว้ที่ชลบุรี
20
หลังจากนั้นรัชกาลที่ 1 ขึ้นครอง ราชย์ ก็ย้ายพระแก้วมรกตมาไว้ที่วัด พระแก้ว เพราะฉะนั้นชื่อวัดพระแก้ว เพราะว่าเคยอยู่เคยเป็นที่ตั้งของพระ แก้วมรกต ธรรมเนียมของสุโขทัย เขา จะมีคณะสงค์อยู่ 2 ใหญ่คือคณะบ้าน กับคณะป่า คณะบ้านเรียกว่าคามวาสี คณะป่าคืออารัญวาสี เราจะเห็นว่า วัดป่ามีเยอะ วัดป่าเป็นวัดที่เน้นการ ปฏิบัติไม่ได้ให้ความส�ำคัญหรือศึกษา ปริยธรรมคือพระไตรปิฎกในภาค เอกสาร และวัดป่ามักจะอยู่ห่างจาก เมืองประมาณ 3 กิโลไม่เกินนี้ เพื่อให้ เดินเข้ามาบิณฑบาตได้ ไม่ได้อยู่ป่า แบบโดดเดี่ยว
21
1.วัดสร้างไว้กลางเมืองก่อนสร้างเมืองโบราณ เช่นวัดพระธาตุ 2.วัดจะสร้างไว้ที่สูงของเมืองถ้าเป็นอยุธยา จะเป็ น วั ด ภู เ ขาทอง ถ้ า สุ โ ขทั ย จะเป็ น สุ ว รรณคี รี ภู เ ขาทองเหมื อ นกั น วั ด ภู เ ขาทองของที่ นี่ คื อ วั ด ช้างรอบ ที่ส�ำคัญคือองค์พระธาตุเป็นใจกลางเมือง ธรรมเนียมของที่นี่เขาจะนิยมสร้างเจดีย์ไว้ข้างหน้า สองอั น มี ป ระตู เ ข้ า ทางเดี ย วเพื่ อ เป็ น การรั ก ษา ก�ำแพงแก้วจะท�ำไว้อย่างน้อยสองชั้น ก็คือก�ำแพง ด้ า นนอกและด้ า นใน ด้ า นในมี อ งค์ พ ระธาตุ ล ้ อ ม ไว้อีกที ถ้าเป็นวัดขนาดใหญ่จะมีวัดก�ำแพงถึง 3 ชั้น องค์เจดีย์ประธานคือเจดีย์ทรงลังกา ที่อยุธยา คือทรงระฆังคว�่ำ ถ้าเป็นสุโขทัยระฆังคว�่ำจะตั้งอยู่ ที่ พื้ น แต่ นี่ จ ะเสริ ม ฐาน6เหลี่ ย มขึ้ น มาแบบมอญ การสร้างเจดีย์ แบบต่าง ๆ คนโบราณจะไม่รื้อทิ้ง จะ ท�ำพิธกี ารสร้างคร่อมซ้อนขึน้ มา ฉะนัน้ จึงสูงและใหญ่ ขึน้ เนือ่ งจากฐานมีพนื้ ทีจ่ ำ� กัดไม่สามารถสร้างกว้างได้ เจดียจ์ งึ สูงขึน้ แทน เจดียเ์ ดิมเป็นศิลาแลงอยูด่ า้ นใน พอ จะบูรณะก็กอ่ ส่วนปิดคลุมเลย ข้างนอกจึงเป็นอิฐมอญ ฐานชุกชีคือฐานพระ ปกติจะตั้งพระอยู่ข้างใน เพราะ ฉะนัน้ จึงสามารถสันนิษฐานขนาดองค์พระได้จากฐาน ฐาน8เหลี่ยมจะนิยมสร้างทางเหนือ เช่น พม่า มอญ
22
23
วัด พระ แก้ว
ในสมัยพระ มหาธรรมราชาฤทัย 4 ที่เขียนไตรภูมิพระร่วง คือพระโอรสของพ่อขุน ราม เกิดเหตุการณ์บาง อย่างท�ำให้ย้ายเมือง สร้างเมืองนครใหม่คือ เมืองกาชังลาว เมื่อสมัย พระยาฤทัยสร้างเมือง แรกเริ่มจะเป็นเจดีย์ทรง เดียวกับสุโขทัยก็คือเป็น เจดีย์แบบทรงลังกาหรือ พุ่มข้าวบิณฑ์ ต่อมาเมื่อ สุโขทัยหมดอ�ำนาจ กา ชังลาวในสมัยอยุธยา ยังมีความส�ำคัญอยู่ จึง ส่งขุนนางมาปกครอง แล้วก็เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น
ก�ำแพงเพชร ทางนั้นไม่มี คนครอง แต่ฝั่งนี้ยังมีอยู่ ฉะนั้นการบูรณะสถาน ยังมีเรื่อยๆ สมัยก่อนคนจะขึ้นครอง ราชย์จะต้องมีการสร้าง วัดหรือบูรณาการวัดนั่น คือวัดหลวง เจ้าเมือง เดิมๆของก�ำแพงเพชร ยุคแรกๆจะเป็นเชื้อพระ วงศ์ของทางสุโขทัย ต่อ มาสมัยอยุธยามาบูรณ าการเจดีย์ตรงนี้จึง เป็นการผสมกันระหว่าง ศิลปะของอยุธยากับ สุโขทัย
24
เจดียท์ ี่อยุธยา
มักจะพังเพราะดินนิ่ม เพราะฉะนั้นบางเจดีย์เก่า ๆ ที่อยุธยาจะไม่มีการใช้ปูน สอ แต่ จ ะใช้ อิ ฐ วางสลั บ ให้ น�้ ำ หนั ก มั น กด แล้ ว ค่ อ ย ฉาบข้างนอกแล้วยึดเป็น ท ร ง พ อ มั น พั ง จึ ง ล ้ ม หมด สมัยนี้ล้มก็ไม่เป็นไร เพราะมี ปู น สอ ปู น สมั ย นี้กับสมัยใหม่ไม่เหมือน กัน สมัยก่อนเป็นปูนหอย
25
เสาเล็ก ๆ คือตัวระเบียงคด ท�ำเป็นก�ำแพงแล้วใช้ประโยชน์จาก ด้านก�ำแพงท�ำเป็นศาลาทางเดิน แล้วจะวางพระล้อมเหมือนวัดโพธิ์ ตามธรรมเนียม ต่อมาวัดพระแก้ว แต่ ก่อนใหญ่สุด ตัวมณฑปข้างบน สันนิษฐานว่ามีพระแก้วมรกตอยู่ การสร้างผังเมืองเขาจะสร้างตาม แนวแกนและตีเส้น ทุกประตูทุกวัด เป็นแนวตรง วัดของกษัตริย์คือวัด ที่ไม่มีพระจ�ำพรรษา มณฑปไม่ใช่ เจดีย์ แต่มีเสาขึ้นและมีทางเข้าสี่ ด้าน มีหลังคาเป็นทรงมณฑป วัดช้างรอบเป็นคติที่นิยม สร้างในสุโขทัย สุโขทัยมีหลายวัด
เนื่องจากตอนที่ต่อศาสนามาจาก ลังกาเขาท�ำสงครามชนะ จึงสร้าง เจดีย์รูปช้างให้เป็นอนุสรณ์ จนเป็น ธรรมเนียมเนื่องจากเราก็นับถือช้าง เพราะเป็นช้างทรงแล้วก็เป็นสัตว์ ชั้นสูง ช้างในทางศาสตร์ของฮวงจุ้ย เขาเรียกว่าเป็นก�ำลังแผ่นดิน เพราะ ฉะนั้นการสร้างช้างจึงเปรียบเสมือน การสร้างพละก�ำลังให้แผ่นดินให้มี ความแข็งแรง เจดีย์ทรงลังกา เจดีย์มณฑป เจดีย์ไหนสร้างก่อนสร้างหลังให้ดูที่ ตรงกลางก่อนคือสร้างมหาธาตุ อัน ที่สองสร้างวัดพระแก้ว อันที่สามถึง จะสร้างวัดจ�ำพวกนี้ ยังไม่ค่อยพัง เลยยังเป็นทรงเก่าอยู่ ส่วนใหญ่จึง
ไม่ค่อยมีอิฐเอามาเสริมเฉพาะหนุน เจดีย์ทรงลังกา เดิมเป็นทรงนี้หมด แต่ว่ามีการซ่อมแซมปรับปรุงก็เลย เปลี่ยนทรงไปเป็นทรงนั้น
TIPS : สันนิษฐานว่า ในโบราณก็มีช้างล้อม รอบอยู่ เป็นเจดีย์ที่ ย่อมุมเกิน 12 เรียกว่า ทรงมณฑปทางเหนือ
26
วัดพระสี่ อริยบถ
27
มีการก่อ ขึ้นมาจากฐาน ซากโบราณสถาน ส่วนหลังคาพัง จึง มาการจ�ำลองภาพ3มิติ คาดว่าอาคาร จริงเป็นอย่างไร ผลมาจากการศึกษา ฝ่ายกรมศิลป์ ยังไม่เป็นที่เชื่อถือ นัก วิชาการยังไม่เห็นด้วย เช่น ซุ้มด้าน หน้า ซุม้ ของสุโขทัยมี phototype รูป แบบอ้างอิง วิหารพระพุทธชินราช มี ทางขึ้นข้างหลัง ลักษณะผังช้าง มีหัว และงวงช้าง เป็นทรงหน้าตัดหรือทรง โรง ซึ่งนักวิชาการไม่เชื่อว่าลักษณะนี้
จะอยู่ในยุคนี้ เพราะพระพุทธชินราช เป็นสถาปัตยกรรมสุโขทัยที่เหลือเป็น หลั ก ฐานอยู ่ ที่ ก รุ ง เทพตอนสร้ า ง วัดพระแก้ว น้องชายของรัชการที่1 ได้ชายาเป็นน้องพระเจ้าแผ่นดิน เชียงใหม่ กรมพระราชวังสุรศรีหนาถ รับภาระในการสร้างวัดพระแก้ว วัด ชนะสงครามที่สร้างก็มีทรงเช่นนี้
28
บริเวณวัดมีหน้า ดินเกิน1เมตร ต้นไม้ไม่โต ตัง้ แต่ป0ี 9 ผ่านมา50ปี ยัง แคระแกน พื้นข้างล่างเป็น ศิลาแลง พระมีขนาดที่สูง ผนั ง ปิ ด หมด ไม่ มี ท างที่ แสงสามารถส่งเข้ามาได้ มี การคาดการณ์ตำ�แหน่งทีม ่ ี หลังคาค หากหลังคาคลุม และมีผนังจะมองไม่เห็น แต่ มีร่องรอยของเสาที่เสา ต้นนั้นยังมีสภาพสมบูรณ์ ที่มีช่องส�ำหรับสอดเต้า ไม้ มีการลดหลั่น ลักษณะ อาคารคือเป็นอาคาร โถง คือไม่มีผนัง มีแต่เสา กั บ หลั ง คา เสาสามารถ รองรับครึ่งบนหลังคาได้ ไม่ มี ผ นั ง สามารถเดิ น เข้ า ไปได้ ร อบ เวลาที่ เ รา ยืนมุมหนึ่งที่พระพุทธรูป ช่วงบนไปถึงขาสั้น ท�ำให้ ผิดสัดส่วน แสดงว่าไม่ใช่ มุมที่ควรมอง ความจริง คือมีอาคารบังบางส่วน จุดมองจึงต้องเข้าไปข้าง ใน ปิดทางเป็นที่ตั้ง พระพุทธรูป
มีซม ุ้ ด้านหน้า บังคับให้เข้า จากข้างหน้า จุดบังคับทางเข้าคือ ด้านข้างไม่มท ี างเข้า มีลก ั ษณะเป็น อิฐใหม่ไปเสริม มีลักษณะเชิงการ ออกแบบคือ บังคับทางเข้าให้ไป ในจุดที่สามารถมองพระพุทธรูป ได้สวยงามและสัดส่วนเหมาะสม แสงพระอาทิตย์ตกดินสามารถ เข้ า ไปถึ ง ฐานพระได้ เป็ น เรื่ อ ง perspective (ระยะ+มุ ม มอง) พระพุทธรูปบูชาเกือบทุกองค์หัว จะโต เพราะช่างจะชินกับการปั้น พระใหญ่ เวลาปั้นพระเล็กจึงหัว โต (สถาปั ต ยกรรม,ตกแต่ ง เกี่ยวข้องกับหลังคา โครงสร้าง)
29
รูปแบบที่สันนิษฐาน
สถาปั ต ยกรรมมี 2 ทรงมี ห น้ า ตั ด กั บ ทรงมีปีกนก ผังเป็นกระเปาะ ส่วนหลังคา นัก วิ ช าการก็ ไ ม่ เ ชื่ อ เช่ น เดี ย วกั น เพราะผนั ง ทึ บ และมีช่องแสง มีพระพุทธรูปยืน คนสมัยก่อน จะอาศัยประโยชน์จากแสงธรรมชาติ เอาแสง ไฟเสริ ม ทึ บ มากจะไม่ ส ามารถเห็ น พระพั ก ตร์ พระพุ ท ธรู ป หากประเทศพม่ า นั้ น จะเจาะ หน้ า บรรเป็ น ช่ อ งแสงให้ เ ห็ น หน้ า พระ ส่ ว นที่ ประเทศพุกามนั้นจะสร้างให้แสงเข้าทั้ง 2ทาง
30
เพราะเหตุใดจึงชื่อ วัดพระสี่อริยาบถ
คือ ส่วนที่เป็นประธานที่ต้องสร้าง สถู ป เจดี ย ์ แ ต่ ส ร้ า งเป็ น มณฑป มี พระ4องค์ พระนั่ง นอน ยืน เดิน ไม่เกี่ยวพระพุทธประวัติ เป็นการ ท� ำ วิ ป ั ส นา อานาปานสติ ทุ ก ท่ า ก�ำหนดสติไปที่การหายใจเข้าออก ตาเหลื อ บลง ไม่ เ กิ น 3ก้ า ว สมั ย พุทธกาลพระทุกองค์ท�ำแบบนี้หมด เป็นท่าปฎิบัติท�ำตลอด24ชั่วโมง ต้องท�ำประจ�ำ ไม่วอกแวก หลัก ฐานนั้นถูกขยายเป็นนิกายเซน เช่น การกวาดลานวัด ท�ำครัว ท�ำความ สะอาดวัด ถือเป็นการท�ำสมาธิหมด เจตนาของการท�ำสมาธิทำ� ให้เกิดสติ สติจะตามด้วยปัญญา ปัญญาเป็น เงาของสติ กลายเป็น ‘สติปัญญา’
31
32
33
วัดช้างรอบ
วัดนี้ไม่มีชื่อเรียกแต่เดิม ถูกตั้งชื่อตามโบราณ สถาน วัดตั้งอยู่ในเนินที่สูง ตัวฐานเหมือนวัดพระแก้ว มีเจดีย์อยู่ข้างบนแต่มีขนาดใหญ่กว่า เป็นวัดที่พบงาน ปูนปั้นในพิพิธภัณฑ์เยอะที่สุด เช่น ทศกัณฑ์ หงส์ อยู่ รอบองค์เจดีย์ รอบฐานด้านในและนอก วัดจะมีบ่อน�้ำ เป็นบ่อศิลาแลงอยู่ด้านหน้า ขุดไว้ใช้ตอนหน้าแล้ง ตัว ผังเป็นสี่เหลี่ยมมีเจดีย์ทรงลังกา ระฆังคว�่ำ ฐานทั้ง4ด้าน จะมีประติมากรรม มีตัวยักษ์และนางร�ำ มีเสมาคือโบสถ์
34
บริเวณบ่อน�ำ้ ทีเ่ รียกว่าบ่อ ศิลาแลง หน้าฝนฝนก็จะตกลงมากัก เก็บน�้ำใช้ตลอดหน้าแล้ง มีชั้นดินข้าง ในดินเดิม ขุดไปเป็นศิลาแลงคือดิน ผสมหิน ในส่วนขอบขัดจะเอาหินมา วางกั้นเป็นขอบข่อ
35
ความสำ�คัญคือ 1.ตั้ ง อยู ่ ที่ เ นิ น สู ง เป็ น วั ด ที่ อาจจะต้ อ งการวางแทนวั ด ภูเขาทอง ไม่มห ี ลักฐานชัดเจน 2.ลั ก ษณะพิ เ ศษมี ช ้ า งล้ อ ม รอบ พ่ อ ขุ น รามสื บ ศาสนา ลังกา ทางนั้นนิยมสร้างช้าง ล้อมรอบ วัดในสุโขทัยจึงมี ช้างเช่นเดียวกับลังกา รอบ ช้ า งจะมี รู ป ต้ น ไม้ ท างพุ ท ธ ศานาเช่น ต้นโพธิ์ ต้นสาระ โบราณสถานเป็นสุโขทัยแต่มี ลวดลายของอยุธยา บรรได จะชันเพราะมีจุดประสงค์เพื่อ คลานขึน ้ ลง สมัยก่อนผูห ้ ญิง ไม่มีสิทธิ์ขึ้นข้างบน
36
" มีแท่นตั้งรูปปั้นคู่ยักษ์และนางรำ�ำ หรือสิงห์ คือเทวบาล บางส่วนอยู่ ที่พิพิธภัณฑ์ ตัวคานทั้ง4ด้านเป็น แบบไม้ เดิมทีมีการฉาบและมีการ ตกแต่งลวดลายที่สวยงามยาวไป จนองค์ ฐ านเจดี ย ์ มี บ รรไดนาค เป็ น ราว มี ช ่ อ งคานมี ร าวขึ้ น มา เป็นบรรไดนาคปัจจุบันพังไปหมด เนือ ่ งจากการก่อสร้างทีไ่ ม่แข็งแรง "
37
วิธีการเดินรอบ วัดคือ เดินวนขวาคือเอา ขวาเราชิดเจดีย์ ปกติดา้ น หน้ากุฏิจะมีรูปปั้นพุทธ ประวัติหรือชาดกวนไป เรื่อยๆ และมีภาพประดับ เจดียล ์ ายมีไว้เก็บกระดูก จะวางไว้รอบๆเจดีย์ใหญ่
38
แต่มเี จดียม์ มุ เป็นกลีบมะเฟือง ทุกแห่งจะ ตัง้ เป็น5ยอด ยอดกลางเป็นเจดียป์ ระธาน มีมุมเจดีย์4มุม เป็นการจ�ำลองจักรวาล คือประกอบด้วย หุบเขา ตรงกลางเป็น ที่อยู่พระอินทร์แกนจักรวาล บนยอด พระอินทร์จะมีพระจุฬามณีคือ พระธาตุ บางแห่งมีเจดีย์ด้านเพิ่มอีก4ด้าน เป็น9 ความหมายเกี่ยวกับจักรวาลเหมือนกัน บังคับ5ยอด อีก4ทางเป็นทางขึ้น บาง แห่งเจดียท์ อี่ ยูโ่ ดดๆกลางๆ ก็อาจมี9ยอด ล้อมรอบเหมือนกับบุโรพุทโธล้อมรอบไปเรื่อยๆเป็นยอดเขา ต่างๆ เป็นวิมารชั้นๆ ไ่ล่ลงมา เป็นลักษณะเจดีย์ทรงวิมารหรือ ถ้าเป็นยอดเจดีย์หรือมณฑปจะเรียกว่าทรงวิมาร
39
วัดช้างรอบเกิดจากดอกบัวผุดขึ้นมาจาก สะดื อ ของพระวิ ษ ณุ พระวิ ษ ณุ ก็ น� ำ ไปให้ พระศิวะ พระศิวะจึงแบ่งกลีบบัว8กลีบกลาย เป็นช้างสวรรค์8ทิศ แบ่ง8กลีบให้พระวิษณุ กลายเป็นช้างรักษาสวรรค์อยู่รอบชั้นล่าง ให้อีก10กลีบให้พระพรหม จึงกลายเป็นช้าง ในป่าหิมพานต์ เรียกว่า พรหมพรหม (อิศวร พรหม วิษณุพรหม พรหมพรหม) ช้างในป่า หิมพานต์10พวก กลีบบัวที่เหลือก็น�ำไปให้ พระอัคนี ไปเนรมิตเป็นช้างบ้าน (อัคนีพรหม) ผูค้ นจึงน�ำช้างมาแบกเจดีย์ เป็นช้างรักษาทิศ เจดียถ์ อื เป็นแกนกลางตัง้ อยูบ่ นยอดเขา พระสุเมร ลักษณะการสร้างช้าง อาจจะฝังทั้งตัวยื่นมา2ขา หรือยืน4ขาล้อมรอบ ที่ ศรีลงั กาท�ำเป็นรูปช้างหมอบมีพระเจดียแ์ บกอยูร่ อบทิศ อาจจะ8ตัว ได้คติมาจากศรี ลังกา มีอทิ ธิพลจากเขมรบางส่วน อาณาจักรเขมรเริม่ ต้นทีป่ ี 1250 ขณะทีไ่ ทยเริม่ ต้น ที่ปี 1780 ช่วง500ปีเขมรขยายอิทธิพลไปหลายที่ สุโขทัยจึงพบศิลปะเขมรเหลืออยู่
40
วัดมหาธาตุ สุโขทัย
เมื่อก่อนภายในตัวโบราณสถานของวัดใน ประเทศไทยจะมีตน้ ไม้แซมอยูใ่ นตัวอาคาร กลับ กันที่ฝรั่งเศสปล่อยให้ต้นไม้โตในโบราณาถาน เกิดเป็น Sense of place เป็นลักษณะความ โบราณของสถานที่ ท�ำให้รู้สึกว่าที่นี้เคยร้างมา ก่อน เจดีย์เล็กๆต่างๆรอบโบราณสถานจะเอา ไว้เก็บบรมศพ กระดูก กษัตริย์ ราชวงศ์ มีคลอง แม่ร�ำพัน 11 กิโลเมตร ไปบรรจบกับแม่น�้ำ แม่ ยม เป็นทางคมนาคมทางน�ำ้ สุโขทัยช่วงตกภาย ใต้การปกครองของอยุธยา ท�ำให้โบราณสถาน บางส่วนถูกบูรณะมาในลักษณะแบบอยุธยา
41
เจดีย์ประธานทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ เจดี ย ์ ป ระธานวั ด มหาธาตุ มี ลั ก ษณะเป็ น เจดี ย ์ ท รงดอกบั ว ตู ม ถื อ ว่ า เป็ น สถาปั ต ยกรรมที่ แ สดงถึ ง เอกลั ก ษณ์ ข องศิ ล ปะสุ โ ขทั ย มี เ ฉพาะสุ โ ขทั ย หาก มี ที่ อื่ น เป็ น เพราะอิ ท ธิ พ ลขยายไป เช่ น ขยายไปถึ ง จั ง หวั ด ตาก เชี ย งใหม่ เป็ น ต้ น แต่ เ จดี ย ์ ป ระธานที่ เ ห็ น อยู ่ นี้ ค งมิ ไ ด้ เ ป็ น รู ป แบบแรกเมื่ อ มี ก ารสร้ า ง วัดมหาธาตุขึ้น เพราะถูกเปลี่ยนโดยพระยาลิไท ของเดิมน่าจะมีลักษณะเช่น เดี ย วกั บ เจดี ย ์ ทิ ศ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นฐานเดี ย วกั น และตั้ ง อยู ่ ต รงกลางของด้ า นทั้ ง สี่
42
" เจดีย์มุม อิทธิพลศิลปะหริ ภุญไชย ล้านนา และ เจดีย์ตรงกลางทรง ปราสาทยอดแบบ สุโขทัย "
รายรอบเจดีย์ประธานเป็นเจดีย์ทิศ จ� ำ นวน 8 องค์ องค์ ที่ อ ยู ่ ต รงมุ ม ทั้ ง สี่ เ ป็ น เจดี ย ์ ท่ี มี อิ ท ธิ พ ลของศิ ล ปะหริ ภุ ญ ไชย ล้ า น นา ส่ ว นเจดี ย ์ ที่ อ ยู ่ กึ่ ง กลางของด้ า นทั้ ง สี่ เป็ น เจดี ย ์ ท รงปราสาทยอดแบบสุ โ ขทั ย ซึ่ ง มีลวดลายปูนปั้นแบบอิทธิพลศิลปะลังกา
43
รูปพระสาวก เดินประทักษิณ มือทำ�อัญชุลี
รอบ ๆ เจดีย์ประธานมีรูปพระสาวก ในท่าอัญชุลี เดินประทักษิณโดยรอบ พระมหาธาตุ ถั ด จากวิ ห ารหลวงวั ด มหาธาตุ ไปทางตะวันออกเป็นวิหาร สูง เนื่องจากวิหารหลังนี้มีฐานก่ออิฐ เป็นลักษณะฐานบัว มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรม สมั ย อยุ ธ ยา ซึ่ ง สร้ า งขึ้ น ในภายหลั ง ท�ำให้พื้นที่ว่างระหว่างหน้าวิหารสูงกับ ก�ำแพงแก้วด้านหน้าเหลือเพียงพื้นที่
แคบ ๆ ไม่ได้สัดส่วนกับความสูงของ ตัวอาคาร นอกจากนีภ้ ายในวัดมหาธาตุ ยังมีกลุ่มเจดีย์จัดแยกออกเป็นกลุ่ม หนึ่งอยู่ทางทิศใต้ของเจดีย์พระธาตุ มี ศูนย์กลางอยู่ที่เจดีย์ 5 ยอด ซึ่งมีขนาด ใหญ่เป็นที่ 2 รองจากเจดีย์พระธาตุ
44
บริเวณโบราณ สถานนี้มีตำนาน ประกอบเรื่อง ขอมดำดิน
และเห็นพระร่วงไม่รู้ กล่าวคือ พระเจ้าแผ่นดินขอม จักจึงถามหานาย นั้นจะมาตามจับ ร่วงที่หนีมา พระร่วง รู้ถึงอันตรายที่จะ นายร่วงที่หนีมาจาก เกิ ด ขึ้ น กั บ ตน จึ ง ละโว้ พระร่วงบวช บอกให้ขอมรออยู่ เป็นพระ มีวาจาสิทธิ์ ที่ว่าจะคอยอยู่ตรง ที่ตรงนั้นจะไปบอก นี้ เมื่อรู้ข่าวพระเจ้า นายร่วงให้ และด้วย อ�ำนาจวาจาสิทธ์ของ แผ่นดินขอมจะให้ จั บ ตั ว นายร่ ว งจึ ง พระร่วง ขอมเลยถูก สาปให้กลายเป็นหินติดอยู่กับแผ่น หนีขึ้นไปบวชเป็นพระภิกษุอยู่ที่วัดแห่ง หนึ่ ง ในเมื อ งสุ โ ขทั ย วั น หนึ่ ง ในขณะที่ ดิ น นั บ แต่ นั้ น มา จึ ง กลายเป็ น ต� ำ นาน พระร่วงก�ำลังกวาดลานวัดอยู่นั้น ทันใด "ขอมด� ำ ดิ น " ที่ มี ชื่ อ เสี ย งในปั จ จุ บั น นั้นขอมด�ำดินก็โผล่ขึ้นมาต่อหน้าท่าน
45
46
- วันที่ 2
wat sri
DaY 02
47
48
ข้อมูลจากวิกิ
วั ด ศรี สวาย ตั้งอยู่ห่างออกไปทางตอนใต้ ข องวั ดมหาธาตุ ประมาณ 350 เมตร โบราณสถานส�ำคัญทีต่ งั้ อยูใ่ นก�ำแพงแก้ว ประกอบด้วยปรางค์ 3 องค์ รูปแบบศิลปะลพบุรี ลักษณะของ ปรางค์คอ่ นข้างเพรียว ตัง้ อยูบ่ นฐานเตีย้ ๆ ลวดลายปูนปัน้ บาง ส่วนเหมือนลายบนเครือ่ งถ้วยจีน สมัยราชวงศ์หยวน ได้พบทับ หลังสลักเป็นรูปนารายณ์บรรทมสินธุ์ ชิ้น ส่วนของเทวรูป และศิวลึงค์ทแี่ สดงให้เห็น เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า ว่าเคยเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดูมาก่อน เจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย แล้วแปลงเป็นพุทธสถานโดยต่อเติมวิหาร ทรงพบรูปพระอิศวรและและโบราณวัตถุ ขึ้นที่ด้านหน้า แล้วเป็นวัดในพุทธศาสนา หินจ�ำหลักเป็นทับหลังรูปพระนารายณ์ ภายหลัง วัดศรีสวายเดิมเป็นเทวสถานใน บรรทมสินธุ์ รูปพระนารายณ์สี่กร และ ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ลักษณะเป็น ชิ้นส่วนของเทวรูปและศิวลึงค์ท�ำด้วย ปรางค์สามยอดแบบขอม มีคูน�้ำล้อมรอบ ส�ำริด จึงทรงสันนิษฐานว่า วัดศรีสวายนี้ ปรางค์สามองค์ โบราณสถานดังกล่าวนี้มี คงเป็นสถานที่พวกพราหมณ์ใช้ท�ำพิธีโล้ ชิงช้า (ตรียัมปวาย) แต่ต่อมาเมื่อคนไทย ที่มาจากทรงปราสาทแบบขอม แต่ได้รับ เข้ามาครอบครองกรุงสุโขทัย วัดนี้จึงถูก การดัดแปลงแตกต่างจากต้นแบบ เช่น ดัดแปลงให้เป็นวัดทางพระพุทธศาสนา ส่วนประดับของปราสาทขอมที่เรียกว่า บันแถลง กลายเป็นรูปกลีบขนุน และปูน ปั้นประดับกลีบขนุนเป็นรูปครุฑยุดนาค และเทวดา ปรางค์วัดศรีสวายจึงแตกต่างจากปรางค์สมัยกรุง ศรีอยุธยาซึง่ มีตน้ แบบจาก ปรางค์ในศิลปะขอมและคล้ายคลึง แบบขอมมากกว่าปรางค์ในแบบของช่างสุโขทัย credit websites : https://th.wikipedia.org/wiki/วัดศรีสวาย
49
วัดนีถ้ กู ซ่อมเมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2500 เป็น สมัยที่เริ่มเกิดอุทยานประวัติศาสตร์ อาคารหลัง นี้ไม่มีผนัง เป็นอาคารโถง โดยพื้นของอาคารเดิม นั้นยุบลงกว่าโครงสร้างที่ถูกซ่อม โดยแต่ก่อนจะ มีพระเทวรูปแต่ได้ถูก ย้ายออกไป ช่องแคบๆ นัน้ คือหน้าต่าง แต่บริเวณ นี้อาจจะมีปัญหา เพราะเอาหินมาเป็น ตัวก�ำหนดขนาดของ หน้าต่าง โดยจะสร้าง ให้สนั้ 1 อันและยาวอีก 1 อัน เรียกว่า ระบบ โมดู ล าร์ (Modular System)
50
Modular System คือ ระบบที่ ประกอบด้วยหน่วยแยกต่างๆ ที่สามารถ รวมกั น เป็ น หน่ ว ยรวมได้ ขนาดหน่ ว ย แยกแต่ละส่วนจะมีระยะสัดส่วนที่มีความ สัมพันธ์กันเอง และสัมพันธ์กับหน่วย รวมด้วย ระบบโมดูลาร์ถูกน�ำมาใช้ในงาน ออกแบบ เพือ่ ช่วยในเรือ่ งของการลดระยะ เวลาในการท�ำงานในขัน้ ตอนของการผลิต ชิ้นงาน และการลดต้นทุนจากเศษวัสดุ ที่เหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต ท�ำการ ออกแบบโดยใช้ระยะสัดส่วนของวัสดุที่ สามารถหาได้และมีขนาดเป็นมาตรฐาน มาเป็นตัวก�ำหนดระยะสัดส่วนของชิน้ งาน การเรียงจะเป็นเรียงแบบขวางไป มาเพื่อที่จะถ่ายแรง แต่ว่าความหนาของ หินขึน้ อยูก่ บั ความสูง โดยช่องแสงตัวนีเ้ ป็น ตัวแก้ปัญหาโครงสร้างของอาคารและให้ แสงเข้ามาในตัวอาคาร
51
วัดนี้ยังเหลือร่องรอยของปูนปั้น ที่สวยงามอยู่ซึ่งเป็นตัวอย่างลวดลายของ สุโขทัย โดยสมัยสุโขทัยยังไม่มีการใช้ลาย กนก แต่ยังเป็นลายใบไม้แต่มีจังหวะของ ลายคล้ายลายกนก
52
53
54
DAY 0 2
wat sri sawai
55
56
DaY 0
02
57
wat che tu phon - วันที่ 2
58
วัดเชตุพล
อยู่ห่างจากเขตเมืองชั้นในประมาณ 2กม. เป็ น วั ด ที่ มี ข นาดใหญ่ มี คู น�้ ำ ล้ อ มรอบ สวยงามด้วยเทือกเขาหลวงซึ่งเห็นเป็นฉากหลัง ลักษณะเด่นของโบราณสถานแห่งนี้ คือ พระพุทธ รูปสีอ่ ริ ยิ าบทขนาดใหญ่ประดิษฐานอยูใ่ นมณฑป หินชนวน ซึ่งสามารถมองเห็นได้แต่ไกล ผนังด้าน ทิศเหนือของมณฑปเป็นพระพุทธรูปประทับนั่ง ด้านทิศใต้เป็นพระพุทธรูปประทับนอน ด้านทิศตะวันออกเป็นพระพุทธรูปลีลา ด้านทิศ ตะวันตกเป็นพระพุทธรูปประทับยืน ปัจจุบัน พระพุทธรูปประทับนั่งและพระพุทธรูปประทับ นอนปรักหักพังเสียหายหมด เหลือแต่พระพุทธ รูปประทับยืน และพระพุทธรูปปางลีลา ซึ่งก็ไม่ สมบูรณ์เต็มองค์ ส่วนอื่นของวัดประกอบด้วย ก�ำแพงแก้วล้อมมณฑปโดยท�ำจากหินชนวนที่มี ขนาดใหญ่และหนา โดยมีการสกัดและบากหิน เพื่อท�ำเป็นกรอบและซี่กรงเลียนแบบเครื่องไม้ ด้านหลังมณฑปใหญ่มีมณฑปขนาดเล็กย่อมุมไม้ ยี่สิบ มีหลังคาก่อซ้อนกันเป็นเสา แลใช้หินชนวน ขนาดใหญ่ท�ำเป็นเพดาน ยังปรากฏร่องรอยของ พระพุทธรูปปางมารวิชัย แต่ช�ำรุดมากแล้ว ที่ผนังด้านนอกมีร่องรอยภาพเขียนสีด�ำลาย พรรณพฤกษาอยู่บนกรอบประตู ด้านหน้าเป็น พระวิหารเสากลมสองแถวประกอบกับรูปแบบ ทางศิลปกรรม แสดงให้เห็นว่า วัดเชตุพนคงเป็น วัดทีม่ คี วามส�ำคัญและเจริญร่งุ เรืองในช่วงสุโขทัย ตอนปลาย หลักฐานอีกชิน้ หนึง่ คือ มีการพบจารึก วัดเชตุพน ที่วัดนี้กล่าวถึงเจ้าธรรมรังษีซึ่งบวชได้ 22 พรรษา เป็นผู้มีจิตศรัทธาสร้างพระพุทธรูป ขึ้นในพ.ศ. 2057
วัดนี้มีต�ำนานในทางพุทธประวัติอยู่ว่า ที่ เมืองมคธที่พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่นั้น มีเศรษฐี ที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยู่คนหนึ่ง เขา อยากจะสร้างวิหารให้พระพุทธเจ้าอยู่เพราะท่านไป พักทีอ่ ยูย่ อดเขาคิชกูฏ ต�ำนานเรือ่ งนีจ้ งึ กลายเป็นทีร่ ำ�่ ลือและเป็นทีย่ กย่องว่า ฆราวาสควรเอาเยีย่ งอย่างผูท้ ี่ >>
59
สละทรัพย์เพื่อมาสร้าง วัดอย่างปราณีตด้วย ความศรัทธา จึงมีการ อนุมานให้วัดใช้ชื่อว่า วัดเชตุพน
60
ธรรมเนียมของเขมรเวลาที่สร้างศาสนสถานตรงกรอบประตูเขาจะมีศิลาจารึก เช่น ปราสาทหินพิมาย เป็นต้น วัดนี้จะแปลกกว่าวัดอื่นเพราะมีการสร้างพระ 4 อิริยาบถ จะเกี่ยว การท�ำวิปัสสนากรรมฐานที่เราเรียกว่าอานาปานสติ (อานะ หายใจออก - ปานะ หายใจเข้า สะติ ความระลึก ) คตินี้นิยมสร้างในศรีลังกา วัดทีเ่ ราอยูน่ เี้ ป็นวัดป่าเพราะอยูน่ อกก�ำแพงเมือง โดยไม่ไกลเกินกว่า 3-4 กิโลเมตรเพราะพระ ไม่ลำ� บากเกินทีไ่ ปจะบิณฑบาตร และไม่ลำ� บากเกินไปทีฆ่ ราวาสจะเอาอาหารมาถวาย ซึง่ ระยะ ทาง 3 กิโลเมตรจริงๆ เดินประมาณ 1 ชม.เดินแบบไม่หยุดก็สามารถถึงได้
61
ที่วัดเชตุพนนี้ มีจุดเด่น
คือสมัยก่อนเขาเอาหินชนวนมา ตัดเป็นแผ่นเล็กๆ มาเป็นกระดานชนวน ปูพื้นวัด หินนี้เกิดจากดินละเอียดที่ถูก สายน�้ำผัดผ่านมากองที่หนองน�้ำและกอง ทับถมเป็นร้อยปีพันปีจนสะสมเป็นหิน หินนี้ควบแน่นด้วยความร้อนจนกลายเป็น หินที่มีลักษณะเป็นชั้นๆ ขึ้นไป ส่วนชื่อช่างที่สร้างวัดนี้ได้มารู้ภายหลัง ในรัชการที่ 5 เกิดไฟไหม้ที่วัดอรุณและ
รัชกาล 5 มีความรู้ทางตะวันตกจึงให้ไป ตามช่างมาบูรณะ ตั้งแต่นั้นมาจึงเป็นที่มา ท�ำให้เรารู้จักชื่อช่างที่ท�ำ บูรณะ ตั้งแต่นั้นมาจึงเป็นที่มาท�ำให้เรา รู้จักชื่อช่างที่ท�ำ
62
- วันที่ 2
63
wat taphang tong lang
64
อยู่ริมถนนจรดวิถีถ่อง เยื้องกับวัด ช้างล้อม วัดนี้มีมณฑปขนาดกลางที่มีสัดส่วน งดงามที่สุด ด้านหน้ามณฑปมีฐานวิหารเสา ศิลาแลง สิ่งที่น่าชมของวัดตระพังทองหลาง คือ ศิลปกรรมปูนปั้นบนผนังทั้งสามด้านของ มณฑปรูปสี่เหลี่ยม มณฑปด้านทิศตะวันออก เป็นซุ้มประตู อีกสามด้านเป็นผนังที่ประดับ ด้วยรูปปูนปั้นที่ช�ำรุดเกือบหมดแล้ว เป็นเรื่อง ตามพุทธประวัติ ดังนี้
ผนังด้านเหนือ เป็นภาพพุทธประวัตติ อนพระพุทธเจ้าทรมานช้าง ชือ่ นาฬาคีรี โดยปัน้ เป็นรูปพระพุทธองค์ประทับยืนเคียงข้างด้วยพระอัคร สาวก คือ พระอานนท์ ทีป่ ลายพระบาทของพระพุทธเจ้ามีรอ่ งรอยปูนปัน้ รูปหัวเข่าช้างคุกเข่ายอมแพ้
65
ผนั ง ด้ า นใต้ เป็ น ภาพพุ ท ธประวั ติ ต อน พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มี พระอินทร์ พระพรหม และทวยเทพตามเสด็จมา ส่ง ปัจจุบันภาพพิมพ์ที่ถอดจากภาพปูนปั้นนี้จัด แสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติรามค�ำแหง ผนั ง ด้ า นตะวั น ตก เป็ น ภาพพุ ท ธประวั ติ ตอนพระพุทธเจ้าประทานเทศนาโปรดพระ บิ ด ากั บ กษั ต ริ ย ์ ศ ากยวงศ์ ขณะทรงสั่ ง สอน ทรงแสดงยมกปาฏิ ห าริ ย ์ เป็ น รู ป รั ศ มี เ ปลว ไฟล้ อ มรอบพระพุ ท ธองค์ และมี รู ป บรรดา พระญาติแวดล้อมอยู่ภายนอกรูปรัศมีนั้น
ภาพปูนปั้นเหล่านี้แสดง ถึงลักษณะศิลปกรรม สมัยสุโขทัยที่เจริญสูงสุด หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ยุ ค ทอง ของศิลปะสมัยสุโขทัย ซึ่งมีอายุอยู่ในราวกลาง พุ ท ธ ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 0
66
ภาพพระพุทธรูปปางลีลา ลงจากดาวดึงส์
ชื่อตระพังทองหลางถูกพบอยู่ในศิลาจารึกหลักหนึ่ง เลยใช้ตระพังทองหลางเป็นชื่อเรียกวัดนี้ พระปางลีลามีความส�ำคัญอย่างหนึ่งคือมีความเกี่ยวของกับพุทธประวัติตอนเสด็จกลับจากดาวดึงส์คือ มีขั้นบันได และมีเทวดาสององค์อยู่ข้างๆ คือพระอินทร์ และพระพรหม เป็นเทวดาที่มีสองมือ จะไม่มี เทวดาสี่มือ ฉากนี้ยังมีร่องรอยของสีแดงชาดอยู่ เพิ่งจะมีการมาปิดทองในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ เพราะสมัยก่อนหน้ายังไม่มีความร�่ำรวยเหมือนสมัยปัจจุบันนี้
67
68
Th
69
DaY 02
he Ramkhamhaeng National Museum - วันที่ 2
70
บทพูด : ชิ้ น ส่ ว นที่ พ บ สั น นิ ฐ านว่ า เป็นรูปเหมือนของชัยว รมันที่ 7 แต่เมื่อเทียบราย ละเอียดแล้วเหมือนกัน
" กลอง มโหระทึก ทับหลัง ท�ำหน้าที่เป็นคานประตูและลายประดับ โดยสองชิ้นนี้ เป็นหลักฐานที่ว่าเขมรได้เข้ามาสู่พื้นที่นี้ ชิ้นต่อไปคนไทยเราเรียกว่ากลอง มโหระทึก ใช้ในพิธีการของพระเจ้าแผ่นดิน เวลาพระเจ้าแผ่นดินออกว่า ราชการ จะมีผ้าม่านปิดไว้ก่อนแล้วตอนตีกลองเปิดผ้าจะเปิดออก เหตุผลที่ ท�ำเช่นนั้นคือเขาต้องการสร้างความศักดิ์สิทธิ์ กลองตัวนี้ใช้ส�ำหรับพิธีกรรม เรียกฝนเพราะเป็นสัญลักษณ์แห่งกบ 4 ตัว ตรงกลางเป็นแผนที่จักรวาล การ ตีกลองตัวนี้เป็นพิธีกรรมเรียกฝน และเหมือนกับการเทิดพระเกียรติพระเจ้า แผ่นดินที่มาพร้อมกับความอุดมสมบรูณ์ กลองตัวนี้ภาษาอังกฤษเรียกว่า “กลองดองซอน” นักโบราณคดีของฝรั่งเศสเขาเรียกตามแหล่งที่พบโดยสันนิ ฐานว่ากลองดองซอนอยูบ่ ริเวณภาคเหนือของประเทศเวียดนามซึง่ เป็นแหล่ง ผลิตกลองชนิดนี้และแพร่หลายอยู่ที่ตะวันออกเฉียงใต้ มีคนศึกษาเรื่องลาย ของหน้ากลอง มันเป็นหลักฐานบอกถึงชีวิตความเป็นอยู่ลักษณะบ้านเรือน
"
71
"แท่นโยนี "
"โยนี" ของคู่กับ "ศิวลึงค์"เป็นที่ทราบกัน ดีว่า ศิวลึงค์ ลึงค์ หรือ ลิงค์ เป็นสัญลักษณะของ พระศิวะเทพเจ้าในศาสนาฮินดู ใช้ในการบูชาสัก การะในโบสถ์วิหารฮินดู แต่ที่อาจไม่รู้จักกันมาก นักคือ มี "โยนิ" เป็นสิ่งที่อยู่คู่กันด้วย ขณะที่ลึงค์ มีลกั ษณะเป็นสัญญลักษณ์ของเพศชาย โยนิกเ็ ป็น สัญลักษณ์ของเพศหญิง เรียกรวมกันว่า "ลึงค์-โยนี" ในคัมภีร์พระเวทโบราณของอินเดีย ปรากฏค�ำ "โยนิ" ในหลายบริบท โดยปรัชญาของ ฮินดูตามลัทธิตันตระ โยนีเป็นต้นก�ำเนิดของชีวิต และเป็นตัวแทนเชิงนามธรรมของศักติและเทวี
อันเป็นพลังสร้างสรรค์ที่เคลื่อนที่ ผ่านไปทั่วเอกภพ ลึงค์เป็นพลัง สร้างสรรค์ของธรรมชาติและเป็น ตัวแทนของพระศิวะ หินลึงค์มักวาง อยู่ในโยนี โยนีเป็นต้นก�ำเนิดของ สิ่งทั้งปวงซึ่งหากปราศจากโยนีแล้ว ความเป็นบุรุษก็ไร้ค่าและปราศจาก ความหมาย ลึงค์และโยนีอยู่ร่วมกัน เป็นตัวแทนนามธรรมของการสรรค์ สร้าง
72
"พระพุทธเจ้า ประทับ ยืนเหนือ พนัสบดี" พระพนั ส บดี คื อ ผู ้ เป็ น ใหญ่ แ ห่ ง ป่ า ชื่ อ นี้ ไ ม่ มี ความหมายเลย มี ก ารขุ ด พบไม่ได้แค่ชิ้นเดียวแต่ ค้นพบเป็นจ�ำนวนมาก
"ศิลปะ ทวารวดี ท่าตริภังค์"
อันนี้คือศิลปะทวารวดี เป็น ชิ้นส่วนที่ค่อนข้างแปลก เพราะโดย ปกติศิลปะในสมัยทวารวดีปกติจะ ยื น ตรงๆ แต่ ชิ้ น นี้ ยื น ในท่ า ตริ ภั ง ค์ คือเป็นท่ายืนโดยเอียงสามส่วนคือ สะโพก ไหล่ ศรีษะ มักพบเสมอในงาน ศิลปกรรมของอินเดียโบราณที่สร้าง ขึ้นทั้งในพระพุทธศาสนาและศาสนา พราหมณ์หรือฮินดู ซึง่ แพร่หลายเข้ามา ในประเทศไทยราวพุทธศตวรรษที่ 11 12 ในทางประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะยกให้ยคุ นีเ้ ป็นยุคทองของพุทธศาสนาในอินเดีย
73
"รูปปูนปั้น"
รู ป ปู น ปั ้ น เป็ น เทคนิ ค ที่ น ่ า สนใจ เพราะใช้ เทคนิค stucco ซึง่ ให้ความรูส้ กึ ความอ่อนหวานมากกว่า การสลักหิน แต่ข้อเสียคือมีอายุน้อยกว่าหิน มีการสึก และหักง่าย แต่ตัว stucco ตัวนี้เหมาะกับศิลปะยุค สุโขทัยเป็นศิลปะทีใ่ ห้ความรูส้ กึ อ่อนหวานอ่อนโยน ปูน ปั้นตัวนี้สามารถจับหักจับบิดได้ ฉะนั้นการปั้นสามารถ แสดงได้ถงึ ความอ่อนหวานได้ดกี ว่าการแกะสลักหินมาก เทวรูปฮินดูได้มาจากศาลฮินดูในสมัยสุโขทัย เทวรุปนี้มี 4 แขนคือพระนารายณ์ แต่เทวรูปนี้มีดวงตา ที่ 3 นั่นก็คือพระศิวะ ฉะนั้นเทวรูปองค์เป็นพระศิวะ กับพระนารายณ์ที่อยู่ด้วยกันในองค์เดียวกัน เรียกว่า “หริหรา” หริ คือชื่อของพระวิษณุ หรา คือชื่อของพระ ศิวะ ตัวรูปของท่านเหมือนพระพุทธรูป โดยพระเนตร ถ้าเป็นของฮินดูจะเปิดตาเต็มตา แต่องค์นเี้ ปิดตาแค่ครึง่ หนึ่งแล้วมองตรง บริเวณวัดพระพายหลวงมีศาสนสถานหลายช่วงเวลา รวมอยูต่ ง้ั แต่ยคุ ของพระ เจ้าชัยวรมันที่ 7 มาถึง ยุคสุโขทัย พระประธานองค์นี้เขาไปโบกปูนทับอีกที หน้าของ พระพุทธรูปองค์นี้ กลม พระพุทธรูปปางลีลา เป็นพระทีแ่ ปลกมาก เพราะสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ ไม่สร้าง มีแต่สมัยสุโขทัยที่สร้าง จึงเป็นพระปางที่หายาก
74
พระพุทธเจ้า ที่เดินเหมือน ลอยได้ วัดเจดีย์ช้างล้อม ข้างบนเหลือพระองค์เดียวที่ สมบรูณ์ ส่วนองค์อื่น เศียร หายหมด เขาจึงตัดสินใจย้าย มาไว้ที่พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ รามค�ำแหง
คุณสมบัติของพระพุทธรูป สุโขทัยคือ เบาและลอย ในสมัยก่อนคน ที่ไปเรียนในต่างประเทศมาจะมีค่านิยม จากทางฝั่งตะวันออกจึงบอกว่าพระองค์ นี้ไม่สามารถเดินได้เพราะขาลีบ เพราะ ช่างสร้างให้พระพุทธรูปเหมือนก�ำลังลอย ได้
75
เครื่องสังคโลก สุโขทัย
มาในส่วนของเครื่องปั่นดินเผาและเครื่องสังค โลก สุโขทัยจะมีสามสี สีขาว สีน�้ำตาล และสีเขียว โดย ทั้งหมดเขาเรียกว่าการการเคลือบขี้เถ้า เขาใช้อุณหภูมิ ที่ต่างกันจึงท�ำให้สีที่ผ่านการเผานั้นมีสีที่ต่างกัน เขา จะแยกเป็นสองอย่างคือ การเผาไหม้แบบรีดักชั่น ( Reduction Firing ) กับ การเผาไหม้แบบออกชิเดชั่น ( Oxidation Firing ) ตัวน�้ำเคลือบมีองค์ประกอบอยู่สามตัว คือตัว ทึบ(ตัวผงหิน) ตัวใส(ซิลิก้า)คือตัวท�ำแก้ว และตัวท�ำสี คือตัวโลหะที่ไปท�ำปฏิกิริยาเคมีท�ำให้เกิดสี ส่วนใหญ่ โลหะก็คือสนิมเหล็กเผาด้วยออกซิไดซ์ท�ำให้สนิมเหล็ก กลายเป็นสีน�้ำตาล แต่ถ้าเราเอาผงทองแดงที่เป็น สีเขียวมาเผาแบบออกชิเดชั่น สีที่ได้จะเป็นสีเขียว แต่ถ้าหากน�ำไปเผาแบบรีดักชั่นสีที่ได้จะเป็นสีแดง ชุดสีของความอุดมสมบรูณ์ตามความเชื่อของลัทธิ เต๋ามีอยู่ 5 สีคือ สีด�ำหรือสีขาว ตัวแทนของดิน สี เหลืองโลหะ สีฟ้าคือน�้ำ สีเขียวคือน�้ำ สีแดงคือไฟ
76
บรรยากาศการเผาไหม้แบบ ออกชิเดชั่น ( Oxidation Firing ) หมายถึงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ และต้องให้มีปริมาณแก๊สออกซิเจน ( Oxygen ) มากเกินพอที่จะท�ำ ปฏิกิริยา กับเชื้อเพลิง ซึ่งท�ำได้โดย การให้อากาศสามารถผ่านเข้าไปใน เตาได้อย่างเต็มที่ เมื่อเกิดการเผา ไหม้แล้วจะมีปริมาณแก๊สออกซิเจน เหลืออยู่ภายในเตา ขณะเกิดการเผา ไหม้ บรรยากาศการเผาไหม้แบบ รีดักชั่น ( Reduction Firing ) หมายถึงการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์และ ต้องให้มีปริมาณแก๊สออกซิเจน ( Oxygen ) น้อยกว่าหรือไม่มาก พอที่เกิดปฏิกิริยากับเชื้อเพลิง ซึ่ง ท�ำได้โดยการให้อากาศสามารถผ่าน เข้าไปในเตาได้อย่างเต็มที่ เมื่อเกิด การเผาไหม้แล้วจะมีปริมาณแก๊ส คาร์บอนมอนนอกไซด์ ( Carbonmonoxide :CO ) เหลืออยู่ภายในเตา ขณะเกิดการเผา ไหม้
77
พระพุทธเจ้าปางเสด็จฯ จากดาวดึงสืหลัง จากเสด็จฯ โปรดพุทะมารดาสองข้างคือ พระอินทร์ พระพรหมและเทวดาที่ตามมาส่ง เสด็จนจ�ำลองปูนปั้น (ศิลปะสุโขทัย พุทะศตวรรษที่ 20) ที่ผนังด้านใต้ของมณฑปวัดตระพังทองหลาง นอกเมืองโบราณสุโขทัยไปทางตะวันออก ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุด ขทัย พระพุทะรูปปางมารวิชัย ส�ำริด ศิลปะสุดขทัย พุทะสตวรรษที่ 19
78
wat sri chum
79
ปัจจุบันพระพุทธรูปมีแต่โกลน คือมีแต่รูป ร่างที่ช�ำรุด ในสมัยก่อนนายสดผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัด ตระพังทองมาร่วมกันซ่อมวัดนี้โดยน�ำพระพุทธรูป ขนาดเล็กมาองค์หนึ่งมาแล้วใช้ไม้ไผ่ตีตารางในการ วัดพิกัด เพื่อเทียบอัตราส่วน เพราะตัวพระมีขนาด ใหญ่มากยากต่อการกะระยะ ซึ่งพระอจนะ วัดศรีชุม เป็นที่เลื่องลือว่ามีเอกลักษณ์และมนต์เสน่ห์เฉพาะตัว วั ด ศรี ชุ ม เป็ น โบราณสถานในเขตอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ตัววัดเป็นโบราณ สถานตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ นอกก�ำแพง เมืองวัดนี้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย องค์ใหญ่ซึ่งมีนามว่า "พระอจนะ" องค์พระพุทธรูป ประดิษฐานอยูใ่ นมณฑป พระพุทธอจนะ เป็นทีเ่ ลือ่ งลือ ถึงความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละมีมนต์เสน่หแ์ ละเอกลักษณ์ชวนให้ นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชมและสักการะอย่างไม่ขาด สาย ในปัจจุบันทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ไม่ห่างจาก ตั ว โบราณสถานนั ก มี วั ด สร้ า งใหม่ มี พ ระภิ ก ษุ สงฆ์ จ� ำ พรรษา ใช้ ชื่ อ ว่ า วั ด ศรี ชุ ม เช่ น เดี ย วกั น
- วันที่ 2
80
ประวั ต ิ "วัดศรีชมุ " มาจากค�ำเรียกพืน้ เมืองเดิม ซึง่ หมาย
ถึง ต้นโพธิ์ ดังนั้นชื่อ ศรีชุม จึงหมายถึงดงของต้นโพธิ์ แต่ ในหนังสือพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาทีเ่ ขียนในสมัย อยุธยาตอนปลาย ไม่เข้าใจความหมายนี้แล้ว จึงเรียก สถานที่นั้นว่า "ฤๅษีชุม" วัดศรีชุมนั้น สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง โดยปรากฏอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 ว่า "เบื้องตีน นอนเมืองสุโขทัยนี้ มีพระอจนะ มีปราสาท" พระประธาน ในมณฑปจึงมีชื่อว่า "พระอจนะ" พระมณฑปกว้างด้านละ 32 เมตร สูง 15 เมตร ผนังหนา 3 เมตร ผนังด้านซ้ายเจาะเป็นทางท�ำบันได ในผนังขึ้นไป ถึงหลังคา ตามฝาผนังอุโมงค์มีภาพเขียนเก่าแก่แต่เลอะ เลือนเกือบหมด ภาพเขียนนี้มีอายุเกือบ 700 ปี เพดาน ผนังมีแผ่นหินชนวนสลักภาพลายเส้นเป็นเรื่องในชาดก ต่างๆ มีจำ� นวน 50 ภาพ เรียงประดับต่อเนือ่ งกัน ทัง้ หมด นี้ถือได้ว่าเป็นงานจิตรกรรมไทยที่เก่าแก่ที่สุด ในสมัยอยุธยา เมือ่ ครัง้ สมเด็จสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประกาศอิสรภาพในปี พ.ศ. 2127 ที่เมืองแครง ท�ำให้หัว เมืองต่าง ๆ ยกเลิกการส่งส่วยให้กับพม่า แต่ยังมีเมือง เชลียง ( สวรรคโลก) ทีไ่ ม่ยอมท�ำตามพระราชโองการของ พระองค์ พระองค์จงึ น�ำทัพเสด็จมาปราบเมืองเชลียง และ ได้มีการมาชุมนุมทัพที่วัดศรีชุมแห่งนี้ก่อนที่จะไปตีเมือง
81
เชลียง และด้วยการรบในครั้งนั้นเป็นการรบระหว่าง คนไทยกับคนไทยด้วยกัน ท�ำให้เหล่าทหารไม่มกี ำ� ลังใจ ในการรบไม่อยากรบ สมเด็จพระนเรศวรจึงได้วางแผน สร้างก�ำลังใจให้กับทหาร โดยการให้ทหารคนหนึ่งปีน บันไดขึ้นไปทางด้านหลังองค์พระ และพูดให้ก�ำลังใจ แก่เหล่าทหาร ท�ำให้ทหารเกิดก�ำลังใจที่จะต่อสู้ ด้วย เหตุนี้จึงท�ำให้เกิดต�ำนานพระพูดได้ที่วัดศรีชุมแห่งนี้ และพระนเรศวรยังได้มีการท�ำพิธีถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา ขึ้นที่วัดแห่งนี้ด้วย ตามหลักฐานระบุว่าวัดแห่งนี้ได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ ในสมัยพระเจ้าลิไท และมีการดูแล
บูรณะเรื่อยมา สันนิษฐานว่าวัดนี้ได้ถูกทิ้งร้างในสมัย อยุธยาตอนปลาย จนกระทั่งในสมัย รัชกาลที่ 9 ได้มี โครงการบูรณปฏิสังขรณ์ ในปี พ.ศ. 2495 โดยเริ่มมีการ บูรณะพระพุทธรูปพระอจนะ โดยศาสตราจารย์ศิลป์ พี ระศรี และอาจารย์เขียน ยิ้มสิริ วัดจึงอยู่ในสภาพที่เห็น ในปัจจุบัน
82
สภาพโบราณสถาน วัดศรี
ชุม เป็นโบราณสถานทีต่ งั้ อยูท่ างทิศตะวัน ตกเฉียงเหนือของเมืองสุโขทัย สันนิษฐาน ว่าสร้างในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง ในวัด ปรากฏโบราณสถานขนาดใหญ่ลักษณะ มณฑปรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสประดิษฐาน พระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่เต็มมณฑป ซึ่งสันนิษฐานว่าในอดีตตัวมณฑปน่าจะ มีหลังคาคล้ายโดม ตัวมณฑปนั้นตั้งอยู่ บนฐานสูง ด้านหน้าเปิดเป็นช่องเห็นพระ พักตร์พระพุทธรูปงดงามแต่ไกล ตัวโบราณสถานประกอบด้วยอาคารหลัก 2 หลัง หลังแรกเป็นมณฑปรูปสี่เหลี่ยม กว้าง 32 คูณ 32 ม. สูง 15 ม. ภายใน ประดิษฐานพระพุทธรูปที่มีชื่อว่า พระอ
จนะ ในด้านหน้า เป็นวิหารหลวงมี 6 ห้อง ปรากฏในศิลาจารึกว่า “เบื้องตีนนอน” อยู่ทางทิศเหนือ จะมีพระพุทธรูปใหญ่ “เบื้องหัวนอน” จะอยู่ทางทิศใต้ สมัย พ่อขุนรามค�ำแหงโปรดให้สร้างมณฑป ครอบพระพุทธรูปไว้ และในสมัยพระเจ้า ลิไทโปรดให้กอ่ ผนังใหม่อกี ข้างให้หา่ งจาก ผนังเดิม 1 เมตร 50 ซ.ม. โดยช่องว่างให้ ท�ำบันได ท�ำอุโมงค์ขึ้นไปทางด้านหลัง องค์พระ ผนังของอุโมงค์นโี้ ปรดให้ไปแกะ หินชนวนจากเจดีย์เก้ายอดที่วัดมหาธาตุ ที่แกะ สลักเป็นเรื่องราวชาดก 550 พระ ชาติ และในส่วนที่แกะหินชนวนโปรดให้ สร้างพระสาวกปางลีลากระท�ำอัญชลีขึ้น แทน ในการสร้างมณฑปที่มีผนัง 2 ชั้น
นั้นได้รับอิทธิพลศิลปะโปโลนนารวะของ ลังกา ซึง่ แพร่หลายมากในสมัยปรกมพาหุ ในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหงนิยมสร้างพระ อัฏฐารส และสมัยพระยาลิไทนิยมสร้าง พระสาวกลีลา
83
พระอจนะ
"พระอจนะ" ค�ำว่า อจนะ มีผู้ให้ความ หมายพระอจนะว่าหมายถึงค�ำในภาษาบาลีวา่ “อจละ” ซึง่ แปลว่า “ผูไ้ ม่หวัน่ ไหว มัน่ คง” “ผูท้ คี่ วรแก่การเคารพกราบ ไหว้” พระอจนะเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขัดสมาธิราบ วัสดุปูนปั้น แกนในก่ออิฐและศิลาแลง หน้าตักกว้าง 11.30 เมตร สูง 15 เมตร องค์พระพุทธรูปมีขนาดใหญ่เต็มวิหาร ศิลปะแบบสุโขทัย ศิลาจารึกวัดศรีชุม ศิลาจารึกวัดศรีชุมเรียกว่า ศิลาจารึกหลักที่ 2 ท�ำด้วย หินดินดานเป็นรูปใบเสมา กว้าง 67 เซนติเมตร สูง 275 เซนติเมตร หนา 8 เซนติเมตร ด้านที่หนึ่งจารึกอักษรไทย สุโขทัย ภาษาไทย มี 107 บรรทัด ด้านที่สองมี 95 บรรทัด มีอายุประมาณ ปี พ.ศ. 1880 - 1910 นายพลโทพระยา สโมสรสรรพการ เมื่อครั้งเป็นที่หลวงสโมสรพลการ พบที่ อุโมงค์วัดศรีชุม เมืองเก่าสุโขทัย เมื่อปี พ.ศ. 2430 ปัจจุบัน อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ความส�ำคัญของวัด วัดศรีชุมมีการวางผังที่แปลกกว่าวัดทั่วไป ที่ใช้มณฑปที่ มีพระพุทธรูปขนาดใหญ่ประดิษฐานเป็นประธานของวัด เปรียบเป็นอุเทสิกเจดีย์ และมีพระวิหารต่อออกมาแบบที่ เป็นที่นิยมในสมัยนั้น นักโบราณคดีให้ความเห็นว่ามณฑป พระอจนะน่าจะสร้างโดยมีคติเป็นพระคันธกุฎี คือทีป่ ระทับ ของพระพุทธเจ้าในสมัยพุทธกาล
1. วัดนี้เป็นสถานที่พบศิลาจารึกหลักที่ 2 หรือศิลา จารึกวัดศรีชมุ พูดถึงความเป็นมาของราชวงศ์พระร่วง และ ราชวงศ์ผาเมืองและการตั้งเมืองสุโขทัย ซึ่งเป็นหลักฐาน ส�ำคัญทีย่ นื ยันความเป็นของแท้ดงั้ เดิมของจารึกหลักทีห่ นึง่ ในคราวทีม่ กี รณีขอ้ กล่าวหาว่าจารึกหลักหนึง่ เป็นของปลอม 2. แผ่นหินที่แกะมาจากเจดีย์วัดมหาธาตุจารึกเป็นรูป บุคคล และรูปอาคาร เป็นหลักฐานชัน้ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เรารูว้ า่ อาคารและบุคคลในสุโขทัยเป็นอย่างไร
84
ข้อมูลเพิ่มเติม การวางรูปแบบสถานที่
โดยส่วนมากจะสร้างพระก่อนแล้วใช้ไม้กะระยะ แล้วจึงค่อยสร้างมณฑปมาล้อม แต่ทั้งนี้ก็ไม่มีสูตร ตายตัว ตัวอย่างเช่นปราสาทหินพนมรุ้ง จะมีวันหนึ่ง ที่แสงอาทิตย์ทะลุเข้ามาได้ ซึ่งนั่นคือวันที่เริ่มสร้าง แสงที่เข้ามาเกิดจากไม้ที่น�ำมากะระยะมาตั้งตรง กลาง แล้วตั้งไม้เป็นระยะๆ ท�ำให้แสงมันตรงแสดง ให้เห็นว่าศาสนสถานถูกสร้างในวันนั้น ลักษณะของพระพุทธรูปสุโขทัย พระของวัดสุโขทัยมีอยู่สองแบบ แบบนิ้วเท่ากันและ ไม่เท่ากัน การที่นิ้วเท่ากันและไม่เท่ากันเป็นลักษณะ ของมหาบุรุษ โดยบัญญัติไว้เป็นเชิงสัญลักษณ์แฝง ความหมายไว้ เช่นฝ่าเท้าพระพุทธเจ้าจะแนบพื้น ไม่มีร่องเท้าเข้าไป ลักษณะเฉพาะของพระพุทธเจ้า คือต้องมีดอกบัวและเปลวไฟ เป็นต้น
สายของพระพุทธศาสนา มีอยู่ทั้งหมด 2 สายด้วยกัน -สายปฎิบัติ เป็นสายที่สามารถเข้าถึงนิพพานได้ โด ยการปฎิบัติเริ่มจากศีล สมาธิ และปัญญา -สายปริยัติ ไม่สามารถเข้าถึงนิพพานได้ มีแต่การ จดจ�ำและจบด้วยความรู้ และเหตุผล
วัดศรีชุม
พระอจน เป็นภาษาบาลีแปลว่าพระทีไ่ ม่หวัน่ ไหว ไม่สามารถระบุได้วา่ ใครตัง้ ขึน้ แต่ชอื่ นีพ้ บในศิลาจารึก ค�ำว่าไม่หวั่นไหวในที่นี้หมายถึงไม่หวั่นไหวในกิเลส และความชั่วร้ายทั้งปวง ตัวพระจะอยู่ในท่าแห่พญา มารพิชัย ท่านได้เรียกพระแม่ธรณีมาเป็นพยานใน บารมีทที่ า่ นสะสม ซึง่ ในประเพณีแบบอินเดียโบราณ เป็นการกรวดน�ำ้ น�ำ้ ทีก่ รวดก็ได้ทว่ มกองทัพของพญา มารจนหมดสิ้น แล้วพระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้
ย่อมุมสิบสอง
มาจากโครงสร้างของผังวัด โดยมีเจดีย์ทิศสี่ทิศ เมื่อเจดีย์ซ้อนเข้ามาก็จะกลายเป็นมุมย่อมุม ซึ่งคือ การรวมเจดีย์เข้าไปกับโครงสร้างอาคารหลักนั่นเอง
tips:
จักรวาลมีเป็นอนันตะ หรือไม่สิ้นสุด แต่นับ โลกเป็นจุดศูนย์กลางเพราะถือว่าโลกมีพระพุทธเจ้า มาบังเกิด เมื่อพระพุทธเจ้าเผยแพร่ธรรม เทวดา จากดาวต่างๆ ก็ได้มาฟังธรรม ในขณะที่อีกแสนโลก เทวฤทธิ์ไม่มากพอจะมาฟังธรรมได้ จากข้อมูลตรงนี้ เป็นการแสดงให้เห็นว่าพุทธานุภาพของพระพุทธเจ้า รู้ไปถึงอนันตะเช่นเดียวกัน
85
86
87
DaY 02
Wat Phrapai Luang - วันที่ 2
88
วัด วัพระพายหลวง ดพระพายหลวงสร้างขึ้นก่อนที่จะก่อตั้ง
อาณาจักรสุโขทัย เดิมทีเป็นวัดพุทธในนิกายมหายานของ เขมร โดยสร้างขึ้นประมาณระหว่างพ.ศ. 1724 ถึง 1762 ซึ่งเห็นได้จากพระปรางค์ 3 องค์ที่มีศิลปะแบบเขมร ต่อ มาเมื่อชาวไทยอพยพมาอยู่และก่อตั้งกรุงสุโขทัยขึ้น จึง เปลี่ยนเป็นวัดพุทธนิกายเถรวาท วัดพระพายหลวงมีความส�ำคัญอย่างยิง่ ในเรือ่ งงานศิลปะ ปูนปั้น แม้ว่าวัดแห่งนี้จะเต็มไปด้วยงานศิลปะตกแต่ง ประดับประดามากมาย แต่งานปูนปัน้ ส่วนใหญ่ได้ย้ายไป จัดเก็บไว้ทพี่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติรามค�ำแหง จ.สุโขทัย ซึ่งมีส่วนจัดแสดงศิลปะปูนปั้นแห่งใหม่อยู่ใกล้ๆ กับ บริเวณสวน ตัววัดตั้งอยู่ใกล้กับประตูเมืองฝั่งเหนือ ล้อม รอบไปด้วยคูน�้ำความยาว 600 เมตรทั้งสองด้าน ซึ่งผัน น�้ำมาจากแม่น�้ำล�ำพัน
89
90
สถานที่สำ�คัญในวัดพระ พายหลวง ได้แก่ ปรางค์ศิลปะเขมร ซึ่งมีรูป ปูนปั้นประดับตกแต่ง บริเวณกลางวัด มี พระพุทธรูปปางไสยาสน์ซึ่งปรักหัก พังไปแล้ว โดยมีเสารายล้อม ในมณฑปมีพระพุทธ รูปขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ 4 องค์ แต่ละองค์หันหน้าไปคนละ ทิศ และมีพระพุทธรูปปางลีลาที่มี ลักษะค่อนข้างเด่นชัดหลงเหลืออยู่ พระวิหารศิลาแลง มีปรางค์ศิลปะเขมร 3 องค์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของวัด บริเวณฐานประดับ ลวดลายปูนปั้นเป็นรูปพระพุทธเจ้า นั่งขัดสมาธิอยู่ โดยมีผู้เคารพบูชา คุกเข่าอยู่ด้านหน้า โดยมีปูนปั้น ลวดลายเหมือนใบไม้ล้อมรอบ วัดพระพายหลวงมีทั้งหมด 3 โซน ด้วยกัน
91
โซนที่ 1 โซนดั้งเดิมก่อนสุโขทัย เป็นชุมชนที่อยู่ในอิทธิพลของ ขอมก่อนที่เชื้อพระวงศ์ของพระร่วงจะ ปฏิวัติออกมา ท�ำให้ยังมีร่องรอยศิลปะ ของขอมอยู่เช่น มีปรางค์สามองค์ที่ค้น พบเป็นหลักฐานแต่ของในปรางค์หายไป หมด ไม่สามารถหาค�ำตอบได้ว่าปรางค์ นี้เป็นฮินดูหรือเป็นพุทธ แต่ลายปูนปั้น ที่ปรากฏอยู่เป็นพุทธ ถึงอย่างไรก็ยังไม่ สามารถเชื่อได้เพราะตัวปูนปั้นสึกหรอ หมดแล้ว พุทธหินยาน พุทธหินยานที่ชาวสุโขทัยนับถือกัน เป็น พุทธที่ได้รับอิทธิพลมาจากลังกา จึง เรียกพระพุทธศาสนานี้ว่าพุทธศาสนา ลังกาวงศ์ ศัพท์ค�ำนี้ตามวิชาการใช้ เพื่อ ให้รู้ว่าครูบาอาจารย์ที่มาตั้งเป็นครูที่มา จากประเทศศรีลังกา ประเทศศรีลังกา มีอยู่ช่วงหนึ่งเกิดศึกสงครามไม่มีพระที่ จะบวช จึงมาเมืองไทยเพื่อขอคณะสงฆ์ จากไทยไปบวชที่นั่น จึงเรียกพระสงฆ์ คณะนั้นว่าคณะไทย และเรียกศาสนา พุทธที่นั่นว่า พุทธศาสนาสยามวงศ์ เมื่อ มีพม่าเข้ามาบวชพระที่ศรีลังกาก็เรียก เป็น พุทธศาสนารามันวงศ์ เป็นการ แลกเปลี่ยนค�ำสอนศาสนาพุทธแต่ละ ประเทศ
โซนที่ 2 โซนใหม่ เป็นการวางผังที่ซับซ้อน พระพุทธรูปที่ นี่โดนท�ำลายไปหมดแล้ว มีลักษณะเป็น เจดีย์ทรงปราสาทเป็นขั้นๆ มีเจดีย์พุ่ม ข้าวบิณฑ์เป็นหนึ่งในนั้นด้วย แต่ก็ยัง สรุปไม่ได้แน่ชัด ความเชื่อการสร้างวัด เชื่อว่า ถ้าสร้างวัดคนเดียวจะตายเร็วถ้าบุญไม่ ถึงจึงเกิดเป็นค่านิยมให้สร้างวัดเป็นกลุ่ม คนหลายๆ คนขึ้นมา ซึ่งจริงๆ แล้วเป็น กลอุบายให้คนสามัคคีกันและช่วยกัน ท�ำงาน หลวงปู่ชา มีชื่อเสียงด้านการปฏิบัติธรรมอย่างมาก มีเรื่องเล่าว่าพระภิกษุสงฆ์ชาวอเมริกัน ท่านหนึ่งนั่งรถไปกับหลวงปู่ชา แล้ว ท่านได้สังเกตท่าทางของพระสงฆ์ชาว อเมริกันคนนั้นว่าดูท่าทางมีเรื่องร้อนใจ คิดถึงแฟนของตนที่อยู่อเมริกา หลวงปู่ ชาได้บอกให้เขาส่งจดหมายไปหาแฟน ขอสิ่งที่รักที่สุดของแฟนมา โดยการให้ แฟนถ่ายอุจจาระแล้วส่งมาให้ดู จากตรง นี้ได้แสดงถึงอนิจจังว่าสิ่งที่เราว่างามสิ่ง ที่เราว่าสวยแท้จริงแล้วก็เหม็นทั้งสิ้น
92
วัdayน03ที่ 3 วัดพระ ศรีรัตน มหาธาตุ เชลียง
93
94
วัดเป็นเมืองเก่า เป็ น วั ด ของเมื อ งเก่ า มี ห ลั ก ฐานเก่ า ใน บันทึกการเดินทางของหลวงจิตร่มจันทร์ ซึง่ เธออัญเชิญพระไตรปิฎกผ่านมา จากจีน และอินเดียลงมายังประเทศไทย ต่อไปยัง อ่าวไทย จึงมาพบเมืองเชลียง หรือเฉลียง ที่ เป็นชือ่ นีเ้ พราะตัวเมืองยาวลง มาขนาบกับ แม่น�้ำ ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ขยายเมืองต่อไป ไม่ได้ ตอนหลังมีการย้ายไปที่ศรีสัชนาลัย ให้สามารถขยายเมืองได้ หลังจากนั้นมี การสร้างพระธาตุใหม่เป็นวัดช้างล้อม และ เจดีย์เจ็ดแถวในเมืองนั้น ผังของวัดจะเป็น ผังแบบสุโขทัยมีเจดีย์รับอยู่ซ้ายขวา ข้าง หลังจะมีวิหารย่อยๆ ไปอีก
พระประธาน ส่วนของพระประธานด้านในจะมีโถงที่ ไม่ได้เปิดข้าง พระประธานของวัดจะท�ำ แคบๆ เพราะหากน�ำพระเข้ามาจะอยู่ได้ เต็มๆ เพื่อให้รู้สึกว่าเป็นจุดเด่น โดยช่อง แสงด้านหน้าที่ส่องเข้ามาหาพระจากด้าน บนลงมาจะส่องที่หน้าพระพอดีท�ำให้เกิด ความสวยงาม
95
ลักษณะของซุ้มประตูทางเข้า ที่ มี ผู ้ เ คารพศรั ท ธามากที่ สุ ด และเป็ น
น�ำศิลาแลงมาเติมเพิ่มความแข็ง แรง น�ำศิลาแรงเป็นชิ้นๆ มาประกอบเป็น เสาใหญ่ๆ 3 เสาด้วยกัน ลักษณะหลังคา แบบรูปจั่ว มุงด้วยเครื่องไม้อีกทีหนึ่ง มี โคนหลังคาลงมาอีกชั้นหนึ่ง มีการต่อชาย หลังคาลงมา พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์องค์ ส�ำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน
บุคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของ พระพุ ท ธเจ้ า ทั้ ง ปวง เรื่ อ งราวของพระ อวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์ สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปรัชญาปาร มิตาสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และการั ณฑวยูหสูตรฺ นิยมสร้างแบบ 4 หน้า เพราะ เชื่อว่าท่านจะได้มองได้ทั่วทิศเพื่อช่วย เหลือจักรวาล
96
สุโขทัยทำ�ไมถึงมีพระปรางค์
พระปรางค์
มีการสันนิษฐานว่าพระปรางค์ในสุโขทัย ถูกสร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น ในช่วงนึงที่ พระบรมไตรโลกนาถเสด็จไปยังพิษณุโลกและ สร้างแนวต่อสู้กับแนวทางล้านนา ต่อสู้กัน หลายปีไม่จบไม่สิ้น จนพระบรมไตรโลกนาถ ต้องย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่สุโขทัย และให้ อุปราชครองเมืองฝั่งอยุธยาแทน ศึกจึงจบลง
เจดีย์ประทาน
เดิมควรจะเป็นทรงปรางค์ เพราะเป็นเจดีย์ที่ อยู่ยุคเก่ากว่าศรีสัชนาลัย ควรจะเป็นปรางค์ รุ่นเดียวกับปรางค์ศรีสวาย แต่ตอนหลังน่าจะ มีการบูรณะ มีการสร้างปรางค์คร่อมเป็นทรง ระฆังคว�่ำ เลยกลายเป็นปรางค์แบบอยุธยา เนื่ อ งจากเจดี ย ์ มี ฐ านสู ง มี ก ารท� ำ ลวดลาย ร่างแหลาดลงมาตามแบบนิยมของอยุธยา
***tips : ในฐานของพระปรางค์ จะมีช่องเอาไว้ใส่ของมีค่าไว้ข้าง ใน จะมีก�ำแพงแก้วกั้นไว้อยู่ ให้ เข้าออกได้ประตูเดียว เพื่อกันการ ขโมย
97
สัดส่วนของ คู่ในของ ชั้นรัดประคด แต่ละชั้นของพระปรางค์ พระปรางค์
-นพศูร คือส่วนยอดปลาย สุดของพระปรางค์ ท�ำด้วย โลหะหล่อเป็นรูป 4 แฉก คล้ายปลายดาบ ต่อซ้อน กัน 2-3 ชั้น ระหว่างกลาง แทรกด้วยแกนคล้ายปลาย หอก -บัวกลุ่ม คือส่วนของอาคาร ที่อยู่บนยอดสุดของพระ ปรางค์ ท�ำเป็นรูปกลีบบัว แย้ม ตั้งรับนภศูล -ชั้นรัดประคด คือส่วนชั้น ของยอดพระปรางค์ที่มี ลักษณะโค้งเข้า คล้ายรูป เอวพระภิกษุที่คอดเข้าอัน เนื่องมาจากการนุ่งสบงที่รัด ด้วยสายรัดประคด -กลีบขนุน คือส่วนตกแต่งที่ ประดับแทรกเข้าไปใต้ ชั้น รัดประคด ตรงต�ำแหน่งมุม ที่ย่อของแต่ละชั้น -บัณแถลง คือส่วนตกแต่ง ที่ท�ำเป็นรูปหน้าจั่วอาคาร ขนาดเล็ก ประดับอยู่ ระหว่างกลางของกลีบขนุน -ฐานเขียง คือส่วนของโครงสร้างที่เป็นฐานชั้นล่างสุด แต่สามารถแบ่งแบบคร่าวๆได้เป็น 3 ส่วนด้วยกันนับ จากส่วนเรือนธาตุ คือจากฐานล่างจนถึงตีนบันได ตีน บันได จนถึงส่วนที่เป็นคานรับหน้าบัน ส่วนที่สองคือ จากหน้าบันไปจนถึงยอด เพราะส่วนมากคนโบราณจะ ไม่เขียนแบบ จะแบ่ง สิ่งสร้างออกเป็นสัดส่วน 1:1:1 เพื่อง่ายต่อการสร้าง
-ชั้นอัสดง คือส่วนของเรือน ยอดพระปรางค์ส่วนที่ตั้งอยู่ เหนือเรือนธาตุ -เรือนธาตุ คือส่วนที่เป็น ตัวเรือนประธานของพระ ปรางค์ -ซุ้มจระน�ำ หรือ ซุ้มคูหา หรือ ซุ้มทิศ หรือ ซุ้มประตู คือส่วนที่ท�ำขึ้นประกอบ เข้ากับองค์พระปรางค์หรือ พระเจดีย์ บริเวณภายนอก อาคารส่วนที่เป็นเรือนธาตุ เพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูป มี 4 ด้าน เรียกว่า ซุ้มทิศ ถ้าพระ ปรางค์นั้น กลวงมีทางเข้า ออก จะเรียกและท�ำหน้าที่ เป็น ซุ้มประตู -ชุดฐานสิงห์ คือส่วนที่ท�ำ เป็นฐานสิงห์ 3 ชั้น เทิน เหนือ “ฐานปัทม์” เพื่อรับ องค์ “เรือนธาตุ” -ฐานปัทม์ คือส่วนที่เป็น ฐานอาคาร ใช้ตั้งรับองค์ เรือนธาตุอาคาร
98
ลักษณะพระพุทธรูป สมัยสุโขทัย
(ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๐) -หมวดแรก เป็นพระพุทธรูปที่มีอิทธิพล ของศิลปะปาละ ซึ่งรับผ่านมาจาก อาณาจักรพุกามในประเทศ พม่า มี ลักษณะพระพักตร์กลม พระโอษฐ์ยิ้ม พระวรกายอวบอ้วน ชายสังฆาฏิสั้นอยู่ เหนือ พระถัน หมวดใหญ่ หมายถึง หมวดที่มี การสร้างอย่างแพร่หลาย ได้รับอิทธิพล ในการสร้างจากศิลปะลังกา และพัฒนา รูปแบบจนมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง เกิดขึ้น ซึ่งถือกันว่างามที่สุดของศิลปะ ในประเทศไทย ลักษณะที่ส�ำคัญของ พระพุทธรูปหมวดใหญ่คือ นิยมแสดงปาง มารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิราบเหนือ ฐานหน้ากระดานเกลี้ยง มีพระพักตร์ รูปไข่ ขมวดพระเกศาเล็ก พระรัศมีเป็น เปลว พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบลงต�่ำ พระนาสิก โด่ง พระโอษฐ์ยิ้ม ชายสังฆาฏิ ยาวลงมาจรด พระนาภี
พระปางลีลา
หมวดก�ำแพงเพชร พบมากแถบ เมืองก�ำแพงเพชร มีลักษณะคล้ายหมวด ใหญ่ แต่มีส่วนที่ต่างกัน ได้แก่ พระนลาฏ (หน้าผาก) กว้าง พระหนุเสี้ยม ขมวดพระ เกศาเล็กมาก พระรัศมีเป็นเปลวสูง หมวดพระพุทธชินราช ได้แก่ พระพุทธรูปสกุลช่างเมืองพิษณุโลก ซึ่ง มีลักษณะที่ต่างจากหมวดใหญ่เล็กน้อย คือ พระพักตร์อวบอ้วนมากกว่า และที่ ส�ำคัญคือ การท�ำปลายนิ้วพระหัตถ์ทั้ง ๔ ยาวเสมอกัน ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของ พระพุทธรูปในหมวดนี้ ลักษณะพระของสุโขทัย ลักษณะหน้าพระจะเป็นรูปไข่ หรือหน้า นาง จีวรเป็นเขี้ยวตะขาบ เขี้ยวตะขาบจะ จรดถึงสะดือ
เป็นพระพุทธรูปมีลักษณะก�ำลังก้าว พระบาท (ก้าวเดิน) พุทธลักษณะทรงยก พระบาทขวาจะก้าว ห้อยพระหัตถ์ขวาท่า ไกว พระหัตถ์ซ้ายยกเสมอพระอุระป้องไป เบื้องหน้าเป็นกิริยาเดิน พระปางลีลาของสุโขทัยที่สวยเพราะไม่ได้
ค�ำนึงถึงสัดส่วนของร่างกายมากนัก แต่ใช้ ลายเส้นที่โค้ง ให้แสดงถึงน�้ำหนักที่รุนแรง และความรู้สึกที่ชัดเจน แม้แต่พระที่เป็น โลหะใหญ่ๆ ความแรงของเส้นก็ท�ำให้พระ ดูเบาลงได้
99
เจดีย์ทรงพม่า
ท�ำฐานใหญ่ ค่อนข้างเน้นฐาน ทรงเรียว สูง องค์ระฆังจะเล็ก ที่วัดนี้จะมีเจดีย์ทรง ทวารวดีของพม่าค่อนข้างเยอะ เนื่องจาก สุโขทัยติดพม่าจึงมีพม่าเข้ามาอาศัยอยู่ ที่นี่ ท�ำให้เป็นเมืองที่มีพม่ามากกว่าที่ อยุธยา ภายหลังพระนเรศวรต้องมาก วาดต้อนพม่ากลับไปหมด เพราะถ้าทิ้งไว้ ก็อาจจะเป็นเหตุให้เกิดความวุ่นวายใน ภายหลังได้
หลักการออกแบบ วัด
ต่างๆ นี้ไม่มีแบบแผนไม่มีหลัก การที่ชัดเจน และไม่สามารถ สัดส่วนที่สวยงาม และรูป หาหลักฐานที่แน่นอนได้ ทรงที่เป็นรสนิยม พวกหน้า เพราะเป็นการถ่ายทอดรุ่นต่อ บัน และของอย่างอื่นจะเอา รุ่น เมื่อไม่มีผู้สืบต่อ กรรมวิธี มาตกแต่งทีหลังตามรูปร่าง เหล่านี้จึงค่อยๆ หายไปหมด ของตัววัด หลังจากนั้นจะน�ำ คนรุ่นหลังๆ จึงท�ำตามเลียน คติ ความเชื่อมาใส่ลงไป เพื่อ แบบตามที่เคยเห็นกันมา ให้อธิบายได้ว่าหมายถึงอะไร มีที่มาจากอะไร เช่น เหรา พญานาค พญาครุฑ การใส่ ฉัตรให้กับพระพุทธเจ้าเพราะ เชื่อว่าพระพุทธเจ้าเป็นเชื้อ กษัตริย์แต่เป็นการเพิ่มคตินี้ขึ้น มาในภายหลังเนื่องจากในสมัย ก่อนไม่มีความเชื่อนี้ เป็นต้น สุดท้ายก็ใส่ลวดลายให้รับกับ คติที่ใส่ เช่นป่าไม้ เป็นต้น คติ
100
วัdayน03ที่ 3
พิพิธภัณฑ์ ผ้าทองคำ ชาวไทย พวน
101
มีชื่อเดิมคือ มีชื่อเดิมคือ
พิพิธภัณฑ์ผ้าเก่าบ้านหางเสี้ยว สถาน ที่รวมถึงของในส่วนของพิพิธภัณฑ์นี้ เป็นสมบัติส่วนตัวของคุณสาธร ซึ่ง เป็นลูกหลานของไทยพวนแท้รุ่นที่ 5 พิพิธภัณฑ์ผ้าทองค�ำมีเนื้อที่จ�ำนวน 4ไร่ เปิดให้เข้ารับชมฟรีมา 30 กว่าปี โดยมีพระบรมวงศนุวงศ์เสด็จมาเยือน หลายครั้งด้วยกันดังนี้ -พศ.2534 พระพี่นางเธอฯเสด็จมา เยือน -พ.ศ.2546 พระเทพฯเสด็จมาเยือน -พ.ศ.2554-2555 องค์พา และองค์ สมเสด็จมาเยือน
102
ผ้าซิ่นทอง
ซิ่นทองค�ำ ได้มาจากเมืองเชียงตุงใน ราคาแสนห้า และเป็นที่มาของชื่อ พิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน ผ้าซิ่นทองที่ได้ มาในตอนแรกเป็นซิ่นทองโบราณซึ่ง จะผสมเงิน 50% และทอง 50%ซึ่ง ท�ำให้ได้เหลืองสีนวลๆ ถัดมาคุณสาธร ได้จัดท�ำผ้าชนิดนี้ขึ้นมาอีกหนึ่งผืนโดย ใช้ทอง 90% ใช้ส�ำหรับตัดชุดแต่งงาน ให้ลูกสาวเพื่อเป็นจุดโฆษณาให้แก่ พิพิธภัณฑ์
ชาวไทยพวน
ชาวไทยแขนงหนึ่งที่อพยพมาจากเมืองเชียงขวางหรือหลวงพระบาง
ทอผ้าตีนจก
ในสมัยก่อนเว่ากันว่าผู้หญิงถ้าทอจกไม่ได้จะหาสามีไม่ได้ เช่นกันกับผู้ชายถ้าตีเหล็กไม่ได้จะหาภรรยาไม่ได้ จึงเกิดเป็น ส�ำนวน หญิงทอผ้าชายตีเหล็ก จก คือกริยา การเขี่ยขนเม่นขึ้นลง จกเสร็จน�ำมาต่อปลายน�ำมาต่อเชิงเรียกเป็นตีน เช่น ผ้าถุงมี 3 ท่อน หัว ตัว ตีน
ผ้าทอและตีนจกเก้าลายไทยพวนศรีสัชนาลัย
ผ้าทอไทยพวนศรีสัชนาลัยน้ันมี ๒ ประเภท คือ ผ้าทอเพื่อใช้สอยในชีวิตประจ�ำวัน ผ้าประเภทนี้จะไม่เน้นความ ประณีตสวยงามนักแต่จะเน้นความแน่นความหนาของเนื้อผ้า เพื่อให้คงทนให้ใช้ได้นานวัน ผ้าทอประเภทนี้ได้แก่ ผ้า ซิ่นลายต่างๆ ผ้าห่ม ผ้านวม ผ้าพื้นย้อมคราม หรือย้อมมะเกลือ ผ้าท�ำถุงย่าม เป็นต้น
ผ้าตีนจก >>
ส่วนผ้าทออีกประเภทหนึ่งนั้นทออย่างประณีต งดงาม เพื่อใช้ในโอกาสพิเศษหรือโอกาส ส�ำคัญ ผ้าทอประเภทนี้ได้แก่ ผ้าซิ่นตีนจก ซึ่ง สร้างชื่อเสียงและเกียรติภูมิให้กับชาวไทยพวน ศรีสัชนาลัย เป็นอย่างยิ่ง ลายตีนจกที่ นิยมทอมีเก้า ลาย ซึ่งมีชื่อเรียกขานว่า ลายเครือน้อย ลายเครือกลาง ลายเครือใหญ่ ลายมนสิบหก ลายสิบสองหน่วยตัด ลายน�้ำอ่าง ลายท้องสอง ลายแปดขอ และลายสี่ขอ
103
ผ้าซิ่นคนพวนศรีสัชนาลัย
นั้นจะจะมีส่วนประกอบอยู่สาม ส่วน คือ หัวซิ่น ตัวซิ่น และตีนซิ่น ทั้งนี้ เพราะสมัยโบราณนิยมทอด้วยฟืมหน้าแคบ "ตัวซิ่น" จะสั้นต้อง "ต่อหัว ต่อตีน" จึงจะ นุ่งได้ ตีนจกทั้งเก้าลายมีความวิจิตร งดงามแฝงไว้ด้วยแง่คิดอันทรงคุณค่า เป็น ลายตีนซิ่นที่หญิงชาวไทยพวนศรีสัชนาลัย ประดิดประดอยมาเป็นตีนซิ่นของตนเอง และด้วยภูมิปัญญาที่ชาญฉลาดจึงบังเกิด ตีนจกถึงเก้าลายอันควรค่าแก่การบันทึกไว้ มิให้ลืมหลง
104
วัdayน03ที่ 3 พิพิธภัณฑ์ เครื่องเคลือบ ที่กำแพงเพชรสุโขทัย
105
เตาเผาสังคโลก
แหล่งเตา บางทีจะเรียกว่าเตาตุ๊กตาหรือเตายักษ์ เพราะตอนขุด เจอแต่เตาใหญ่ๆ เและเตาที่เป็นรูปคนตัวเล็กๆ ลักษณะของเตา จะเป็นสองเตาซ้อนกัน ด้านหน้าจะมีน�้ำยาเคลือบติดอยู่ ตรงนี้คือ ที่ใส่ไฟมักจะเอาฟืนไปวาง ทรงของเตาจริงๆ จะมีประทุนโค้งขึ้น ไปเรียกว่าเตาประทุน เมื่อใส่ไฟเข้าไปตรงที่มีเซรามิคยาวๆ คือ ที่วางผลิตภัณฑ์ กี๋คือที่ใส่ภาชนะ เตาจะมีลักษณะเอียงลาด ทรง ประทุนท�ำให้มีอุณหภูมิขึ้นลง จึงท�ำให้มีองศาในการเผาสูง ตัวฟืน เมื่อเผาจะกลายเป็นขี้เถ้า เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นน�้ำเผาก็หายไป
106
ด้านในพิพิธภัณฑ์ เตาจะมีซ้อนทับกัน เตาแบบแรกที่ท�ำคือเตาผุด คล้าย อุโมงค์ทรงกลม แล้วเผา ใช้ทางเดินล้อม แล้วค่อยท�ำเป็นเตาประทุน มักใช้ดินเผาทุบ ตัวแล้วก่อขึ้นมา ยุคนั้นขนส่งโดยเรือ ชาวสุโขทัยมักเอาผลิตภัณฑ์ไปขายต่างประเทศ เรือที่ล่มด้านใต้มักพบภาชนะดินเผา ลายสมัยก่อนมักจะเป็นสิ่งที่เขาพบเห็น เช่น ปลา ซึ่งปลาอาจจะมีนัยยะแฝงเฉพาะในสมัยสุุโขทัย ลายไทยสมัยก่อนต่างกับลายไทยสมัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์ ในสุโขทัยส่วนใหญ่จะเป็นลายเรขาคณิต ลายพรรณพฤกษา ส่วนลายอยุธยาเป็นลายเปลว เตาตะและเตาประทุน เตาตะกับคล้ายกับเตาปิ้งย่าง เอาฟืนไว้ข้างล่าง ผลิตภัณฑ์ไว้ข้างบน ในการเผาความร้อนจะลอยขึ้นด้านบนทางเดียว ความร้อนของ การเผาในเตานี้จะไม่สูงเท่าเตาประทุนที่ความร้อนตีวนเป็นลูกคลื่น สามารถเผาได้ถึง 1200-1300 องศา แถวนี้เป็นชุมชนเครื่องปั้นดินเผาตลอดแนว
107
ลักษณะกี๋งบน�้ำอ้อยและกี๋ท่อ อันเล็กวางแล้วจะสามารถซ้อน ผลิตภัณฑ์ได้ เครื่องเซรามิคถ้ามีน�้ำ เคลือบอยู่ แล้ววางชนกันเวลาเผา เครื่องเซรามิคนั้นจะหลอมเป็นชิ้น เดียวกัน จึงเกิดภูมปิ ญ ั ญาในการวาง เทินให้มนั สูงขึน้ เรียกว่ากีง๋ บน�ำ้ อ้อย ลักษณะจะแบนๆ ในสมัยก่อนคน มักจะใช้แร่ธาตุมาท�ำให้ออกสีเขียว ป็นลวดลาย แร่มักจะตกตามร่องจึง ได้ออกมาเป็นสีนั้น แต่ในสมัยนี้ใช้ ออกไซด์ สาเหตุทสี่ ร้างเตาไว้บนเนินดินก็เพือ่ ป้องกันน�ำ้ ท่วม สร้างเตาไว้รมิ แม่นำ�้ เพือ่ ให้สะดวกในการขนส่ง เพราะในสมัยก่อนขนส่ง สินค้าทางเรือ ศรีสัชนาลัยมีลักษณะเครื่องเคลือบส่งไปทั่วโลก ถ้าขุดค้นตามทะเลก็จะเจอสินค้าจ�ำพวกถ้วย ลักษณะเตาความร้อนถาดตามแนวนอน ตัวเตาเป็นลักษณะของการบังคับลมร้อน กระถางดินสีแดงเผาด้วยอุณหภูมิ 800 องศา ไม่มีความแกร่ง ยังสามารถดูดซึมน�้ำได้อยู่ ส่วนกระถางที่มีลักษณะสีน�้ำตาลด�ำ เขียวไข่กา เผาที่ 1200 องศาขึ้นไป ท�ำให้ ภาชนะไม่ดูดซึมน�้ำเวลาเราไปใช้ใส่อาหาร สามารถน�ำไปล้างได้สะดวก ภูมิปัญญาเครื่องเคลือบของศรีสัชนาลัยถือเป็นรายได้หลัก ของอาณาจักรนี้ ลักษณะของเตาที่มีการบังคับทิศให้เป็นแนวนอน ท�ำให้ความร้อนคงอยู่ได้นานมากขึ้น เป็นภูมิปัญญา ในเรื่องของการสร้างสรรค์ผลงานเครื่องเคลือบดินเผา ในสมัยก่อนที่มีการติดต่อกับจีนอาจจะได้ภูมิปัญญา จากทางช่างจีน แหล่งเครื่องเคลือบที่นี่ถือว่าเป็นที่ที่มี จุดเด่นที่สุดของเครื่องเคลือบดินเผาไทย ในยุคใกล้กัน มีทางล้านนาที่มีแหล่งเตาสันก�ำแพง แหล่งเตาเวียง กาหลง มีการผลิตเครื่องปั้นดินเผาเหมือนกัน แต่ที่นี่มี ความละเอียดกว่าในเรื่องของลวดลายและเนื้อดิน ทรงกระบอกคือปล่องเตาเป็นทางระบายความร้อน หลังจากที่เผาเครื่องปั้น จะมีขี้เถ้า คนในยุคนั้นก็น�ำขี้ เถ้ามาเคลือบอีกทีหนึ่งโดยการกรองแล้วผสมน�้ำหรือ ดินนวล เวลาน�ำไปเผาตัวเคลือบจะหลอมเป็นแก้วอยู่ บนภาชนะท�ำให้ตัวแก้วมีความทนต่อกรดและด่าง จึง มีความเหมาะสมในการเป็นภาชนะในการหุงอาหาร ส่วนลวดลายที่น�ำมาตกแต่งก็มีเอกลักษณ์ แต่ละลาย จะมีความหมายเฉพาะตัว
108
วัdayน03ที่ 3
109
อุทยาน ศรีสัชนาลัย
การสร้างวัดตอนเริ่มเมือง – เจ้าแม่ละอองสำ�ลี วัดภูเขาทองต้องสร้างในจุดที่สูงที่สุดของ
เมืองนั้น เพื่อให้วัดใกล้สวรรค์ที่สุด ซึ่งจุฬามณีเป็นชื่อ ของพระเจดีย์ชั้นดาวดึงส์ของเทวดาที่บูชากัน เมื่อถึง วันพระเทวดาทุกองค์จะมาบูชากัน ฉะนั้นการสร้าง เมืองจะต้องตัง้ ชือ่ วัดว่าภูเขาทองเพือ่ ความเป็นศิรมิ งคล ส่วนยอดเขาทางขวาจะมีชอื่ ว่าพนมเพลิง คือบูชาไฟ ดัง นั้นเขาจึงสันนิษฐานว่าที่นี่เคยเป็นที่อยู่ของพระฤาษี สัชนาลัย จึงกลายเป็นที่มาของชื่อศรีสัชนาลัย นิกจาก นั้นบนยอดเขายังมีศาลเทพารักษ์ประจ�ำสุโขทัย ชื่อ ว่าศาลเจ้าแม่ละอองส�ำลี เป็นที่นับถือของคนสุโขทัย ตั้งแต่โบราณมา สถาปัตยกรรมน่าจะเป็นก่อนสุโขทัย บนเขาพนมเพลิงมีทั้งศิลปะจีนและไทย
110
วัดนางพญา บริเวณนี้มีแก่งหลวง เป็นแก่งน�ำ้ วน มักมีคนเสียชีวติ แม่ น�้ ำ ยมยั ง ไม่ มี เ ขื่ อ น เมื อ ง นี้ตั้งอยู่ที่ริมแม่น�้ำยมเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ข้อสังเกตคือ ภูเขา
เวลาสร้างชาวเมืองจะเอาก�ำแพงเมืองล้อม ภูเขาไว้ บนภูเขาเรียกว่าเขาพนมเพลิง สันนิษฐานว่า มาจากพิธีบูชาไฟของฮินดู เมืองนี้มีความน่าสนใจตรง ที่ตรงใจกลางเมืองเป็นวัดช้างล้อม นักประวัติศาสตร์ เคยตั้งข้อสันนิษฐานว่าวัดนี้คือวัดมหาธาตุ วัดนี้ไม่มี สุสานเหมือนวัดเจดีย์เจ็ดแถว เจดีย์ที่นี่เป็นเจดีย์ทรง ดอกบัวตูมและทรงระฆัง ซึ่งมีความเป็นศรีลังกาอย่าง ชัดเจน อีกอย่างหนึ่งคือได้อิทธิพลของการเอาช้างมา ล้อมเจดีย์ ช้างของวัดช้างล้อมนี้จะมีลักษณะลอยตัว แต่ช้างของก�ำแพงเพชรจะฝังครึ่งตัว แต่ที่ศรีลังกาจะ เป็นช้างหมอบแบกเจดีย์ไว้
111
ลวดลายปูนปั้นวัดนางพญา ที่ ม าของชื่ อ ก ำ แพงหั ก
เป็ น เรื่ อ งราว ประวัติศาสตร์ตอนสมัยสมเด็จพระนเรศวร ท่านประกาศ อิสรภาพจากพม่าในปีพ.ศ. 2128 ท่านมาอยู่ที่อยุธยาและได้ รับการยอมรับ แต่สุโขทัยและศรีสัชนาลัยไม่ส่งเครื่องแสดง บรรณาการมายอมรับ ท่านเลยต้องยกทัพขึ้นมาถึงสุโขทัย สุโขทัยจึงยอมแสดงความเคารพนับถือ ยอมไม่ท�ำศึกด้วย ยอมเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา แต่ศรีสัชนาลัยไม่ยอมเพราะ เหนือเมืองขึน้ ไปเป็นเมืองล�ำปาง เชียงใหม่ เวลานัน้ พระโอรส ของบุเรงนองมาเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ ศรีสัชนาลัยจึงกลัว
อ�ำนาจของพม่าและยอมขึ้นกับเมืองเชียงใหม่แทน พระ นเรศวรจึงยกทัพขึ้นไปตีศรีสัชนาลัย แต่การตีเมืองนี้ยากเพราะว่าพื้นที่บังคับ มีแต่ภูเขา อีกด้านก็มีแม่น�้ำ ทางเข้าจึงมีทางเดียว เวลารบตรงนี้จึงเสีย ผู้คนมาก เมื่อเข้าประตูไปแล้วเหมือนค่ายกล ทหารที่เข้าไป แล้วจะถูกยิงทั้งสองข้าง พระนเรศวรจึงตีจุดที่เสียหายน้อย สุด ทหารในเมืองก็เอาปืนใหญ่ยิงในจุดนั้นจนก�ำแพงพังลงมา ถึงเข้าไปรบ ตรงนี้จึงเรียกว่าก�ำแพงหัก
112
วัดนางพญา
วิธีป้องกันข้าศึกตรงประตูลานรงค์ ถ้าเอากองทัพมา รบ ถอยเข้าเส้นทางหน้าประตูลานรงค์นี้ จะมีสะพาน ชัก เพื่อไม่ให้ข้าศึกตาม สงครามสมัยก่อนใช้ความ กล้าหาญเสียหายเยอะ ส่วนคลองก็ไม่สามารถว่ายน�้ำ ข้ามได้เพราะมีเหล็กแหลมอยู่ในคลอง ประตูลานรงค์ นั้น ถ้าเป็นของจีนหรือญี่ปุ่น ช่วงด้านในประตูจะเป็น รูปตัวยูเพือ่ ต้อนคนเข้ามาและข้างบนจะยิงธนูอดั คนใน ออกไม่ได้ คนนอกก็เข้าไม่ได้เช่นกัน
ของในกรุ
มักจะเอาของจ�ำพวกเหรียญทองค�ำ เหรียญโบราณรวม ทั้งเครื่องเซ่นไปวางไว้บนเสาตะกั่วเพื่อให้เสาแต่ละต้น มีเทวดาอยู่
ความจริงแล้วชื่อวัดนางพญา นั้นเป็นชื่อสมมุติ เกิดจากรัชกาลที่ 6 ตั้ง ไว้ วัดนี้อยู่แนวเดียวกันกับวัดสวนแก้ว อุทยานใหญ่ เป็นวัดที่มีลวดลายปูนปั้น งดงามมาก ปรากฏอยู่บนซากผนังวิหาร ด้านตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งเป็นวิหาร ขนาดเจ็ดห้อง ภายในวิหารตามเสาทุก ด้านมีเทพนม และลวดลายต่างๆ ท�ำด้วย สั ง คโลกไม่ เ คลื อ บ เจดี ย ์ ป ระธาน ของวัดเป็นเจดีย์ทรงกลมตั้งอยู่บนฐาน ประทักษิณ ซุ้มด้านหน้ามีบันไดทางขึ้น จนถึงภายในโถงเจดีย์ ตรงกลางโถงมีแกน เจดียป์ ระดับด้วยลวดลายปูนปัน้ วิหารก่อ ด้วยศิลาแลงมีมุขหน้า และมุขหลัง ผนัง วิหารเจาะช่องแสง ผนังด้านใต้มีลวดลาย ปูนปั้น ลักษณะเด่นก็คือ ลวดลายปูนปั้น ท�ำเป็นกึ่งมนุษย์กึ่งวานรก�ำลังวิ่ง แต่ถูก ท�ำลายไปบางส่วน นอกจากนัน้ ยังท�ำเป็น รูปลวดลายพรรณพฤกษา และรูปเทพนม เป็นรูปแบบศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น
113
วัดเจดีย์เจ็ดแถว
วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่ วัดช้างล้อม เป็นชื่อที่ตั้งมา เรียกกันเอง ชื่อเก่าแท้ๆ ไม่มีใครรู้
114
วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่ เป็นชือ่ สมมุตทิ ี่ ตั้งขึ้นภายหลัง วัดนี้ตั้งอยู่ภายในก�ำแพง เมือง ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากวัดเจดีย์เจ็ดแถว นั ก โบราณสถานที่ ส� ำ คั ญ คื อ เจดี ย ์ ประธานทรงกลม ก่อด้วยศิลาแลง องค์ ระฆังได้พังทลายลง ด้านหน้ามีบันไดขึ้น ไปจากมุขหลังของวิหารไปถึง เรือนธาตุเพื่อสักการะพระพุทธรูป ด้าน เจดียป์ ระธานมีวหิ าร มีมขุ ด้านหน้า และ ด้านหลัง มีบันไดขึ้น 5 ทาง เสาวิหาร และก�ำแพงวัดก่อด้วยศิลาแลง
วัดสวนแก้วอุทยานน้อย หรือเรียกกันอีกชื่อว่า วัด สระแก้ว อยู่ห่างจากวัดช้างล้อม 200 เมตร กลุ่ม โบราณสถานนี้ มี ก� ำ แพงแก้ ว ล้ อ มรอบ มี ป ระตู ทางเข้าด้านหน้า และด้านหลังวัด มีโบราณสถาน ประกอบด้วย เจดีย์ประธานเป็นเจดีย์ทรงดอกบัว ตูมล้อมรอบด้วยก�ำแพงแก้ว วิหารมีซุ้มพระตั้งอยู่ ด้านหลังลักษณะเป็นมณฑป หลังคามณฑปเป็นรูป โค้งแหลม ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปประทับ นั่งปางมารวิชัย
เจดีย์ประธานทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ และเจดีย์ราย >> เจดียห์ ลักของวัดเจดียเ์ จ็ดแถวคือเจดียท์ รงพุม่ ข้าวบิณฑ์ ซ้ายขวาคือสุสานหลวง สอง ข้างเป็นเจดียร์ าย ทุกทีส่ ร้างพร้อมกับเจดียป์ ระธาน มี 4 มุม เจดียท์ เี่ กิดทีหลังคือเจดีย์ ราย รูปทรงแล้วแต่ความชอบของคนสร้างและกษัตริย์ บางคนไม่สร้างเป็นเจดียก์ ส็ ร้าง เป็นหอพัก ไว้เก็บกระดูกไว้ใต้ฐาน หอพักเหล่านี้ส่วนมากจะไม่มีหลังคาหลงเหลือไว้ เพราะส่วนใหญ่จะสร้างจากไม้ บางหลังก็มภี าพเขียน ข้างๆ จะมีลายพระพุทธเจ้าเป็น ภาพหมู่ มีสาวกเทวดาลอยอยู่ บางภาพก็เป็นพระพุทธเจ้านั่ง
115
วั ด เจดี ย ์ เ จ็ ด แถว มี เ จดี ย ์ เ ป็ น ทรงพุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ เหมือนเจดีย์ ในสุโขทัย คนรุ่นใหม่สันนิษฐานว่าที่นี่ อาจจะเป็นวัดพระธาตุ เพราะว่า 1.ตัวเจดีย์เป็นพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นทรงเดียวกับวัด พระธาตุในสมัยสุโขทัย 2. มีสุสานหลวง 3. ใกล้กับพระราชวัง แต่ยังไม่สามารถสรุปได้อย่าง ชัดเจน
116
วัดช้างล้อม
วัดเชตุพน เป็นชื่อวัดแรกในศาสนาพุทธ ตั้งชื่อตามเจ้าเชตุเขาเป็นเจ้าของที่ดิน พระ อนันต้องการซื้อที่ดินจึงขอซื้อ เท่าไหร่ก็ไม่ยอมขาย พระอนันบอกเท่าไหร่ก็จะซื้อ เจ้า เชตุบอกว่างั้นเอาทองมาปูให้เต็มเท่าไหร่แล้วก็ซื้อไป จึงเป็นที่มาของวัดนี้ ลานบัตรพลี ตรงนี้เขาขุดลงไปเจอแต่ตุ๊กตา ช้างเล็กช้างน้อย ตุ๊กตาแก้บน เป็นลาน ส�ำหรับตั้งพวกเครื่องเซ่นไว้ท�ำพิธีใหญ่ในสมัยนั้น เช่น บวงสรวงบรรพบุรุษ เทวดาเจ้า ที่เจ้าทาง คล้ายๆ กับศาลพระภูมิ ตุ๊กตาเมื่อใช้แล้วจะหักคอทิ้งเพราะว่าถวายแล้ว ไม่ วนน�ำมาใช้อีก
117
เจดีย์ประธานทรงองค์ระฆัง วัดช้างล้อม ตั้งชื่อตามนี้เพราะมีช้างล้อมรอบอยู่ ที่นี่พิเศษตรงที่เห็นช้างทั้งตัว ส่วนวิหารหลวง ของวัดช้างล้อมอยูภ่ ายในก�ำแพงเมืองศรีสชั นาลัย บนที่ราบเชิงเขาด้านทิศใต้ของเขาพนมเพลิง โบราณสถานที่ส�ำคัญคือ เจดีย์ประธาน ทรงลังกา ตั้งอยู่ภายในก�ำแพงแก้วสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตั้งอยู่บนฐานประทักษิณรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ฐาน เจดีย์มีช้างปูนปั้นยืนหันหลังชนผนังเจดีย์อยู่โดย รอบ จ�ำนวน 39 เชือก และช้างที่อยู่ตามมุมเจดีย์ ทั้ง 4 ทิศ ตกแต่งเป็นช้างทรงเครื่อง มีลวดลายปูน ปั้นประดับที่คอ ต้นขา และข้อเท้า ส่วนทางด้าน หน้าเจดีย์ประธานมีบันไดขึ้นสู่ลานประทักษิณ TIPS : ต้นไม้ที่มีแก่นสูงมากกว่า 10 เซนติเมตรจะ เป็นที่อยู่ของวิญญาณได้ เพราะฉะนั้นเขาจะไม่ถอน หรือท�ำลายเพราะอาจเข้าตัวเราได้
พระพุทธรูปในซุ้ม >> เหนือฐานประทักษิณมีซุ้มพระพุทธรูป ประทับนัง่ ปางมารวิชยั ผนังซุม้ มีรปู ประติมากรรม รูปต้นโพธิ์อยู่เบื้องหลังพระพุทธรูป แต่พระพุทธ รูปได้ถกู ท�ำลายไปคงเหลือเพียงองค์เดียวทางด้าน ทิศเหนือ บริเวณองค์ระฆังขึ้นไปเป็นบัลลังก์ ก้านฉัตรประดับด้วยรูปพระสาวกปูนปั้นลีลานูน ต�่ำจ�ำนวน 17 องค์ วัดช้างล้อมที่เมืองศรีสัชนาลัยนี้ ช้างจะ มีลักษณะที่เด่นกว่าช้างปูนปั้นที่วัดอื่นๆ คือ ยืน เต็มตัวแยกออกจากผนัง มีขนาดสูงใหญ่กว่าช้าง จริง และด้านหน้ามีพุ่มดอกบัวปูนปั้นประดับไว้ โบราณสถานภายในวัดทีย่ งั มีหลักฐาน คือ วิหารอยู่ด้านหน้าเจดีย์ประธาน นอกจากนั้นเป็น วิหารขนาดเล็กๆ 2 หลัง และเจดีย์ราย 2 องค์
118
วัดสุวรรณคีรี ชาวเมืองสมัยโบราณสร้างที่นี่ขึ้น เพราะต้องการจะแทนความเชื่อเรื่องเจดีย์ จุฬามณีที่อยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของ พระอินทร์ และเป็นเจดีย์ที่เก็บพระเกศา ธาตุซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพุทธประวัติของ พระพุทธเจ้า ในตอนที่เสด็จออกบวชแล้ว ตัดพระเกศา กับพระเขี้ยวแก้ว ตาม ความเชื่อพระพุทธเจ้าเป็นที่นับถือของ เทวดาโดยมีพระอินทร์เป็นศูนย์กลางของ ความศักดิ์สิทธิ์ในสร้างเจดีย์จุฬามณี
119
วัดสุวรรณคีรี
ตั้งอยู่ถัดจากเขาพนมเพลิงไปประมาณ 200 เมตร โดยตั้งอยู่บนเขาอีกยอดหนึ่งในเทือก เขาเดียวกัน กลุ่มโบราณสถานที่ส�ำคัญคือ เจดีย์ ประธานทรงกลม องค์ระฆังขนาดใหญ่ก่อด้วย ศิลาแลง ฐานเขียงใหญ่ 5 ชั้น ใช้ส�ำหรับเป็น ลานประทักษิณ มีซุ้มพระทั้ง 4 ด้าน ตรง ก้านฉัตรมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางลีลาเดินจงกรม รอบก้านฉัตรเช่นเดียวกับวัดช้างล้อม ด้านหลัง เจดีย์ประธานมีเจดีย์ทรงกลมล้อมรอบด้วยแนว ก�ำแพงศิลาแลง
120
วัดเขา พนมเพลิง วัดเขาพนมเพลิง เป็นโบราณสถาน ทีต่ งั้ อยูใ่ นอุทยานประวัตศิ าสตร์ศรีสชั นาลัย อ�ำเภอศรีสชั นาลัย จังหวัดสุโขทัย ตัง้ อยูบ่ น เขาพนมเพลิง สูงประมาณ 25 เมตร ใกล้ ก�ำแพงเมือง ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ทาง ขึ้นวัดมีสองทาง คือ ทางด้านหน้าวัด และ ข้างวัดซึ่งท�ำเป็นบันไดศิลาแลงขนาดกว้าง ขวางประมาณ 6 เมตร
เขาพนมเพลิงปรากฏในพงศาวดาร เหนือตอนที่เกี่ยวกับการสร้างเมือง สวรรคโลก (ศรีสัชนาลัย) โดยก�ำหนดให้ เขาพนมเพลิงอยู่กลางเมืองและได้สร้างวัด ไว้บนเขาพนมเพลิง โดยในพงศาวดารเขียน ไว้ว่า "กล่าวส�ำหรับเขาพนมเพลิงนั้นเป็น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ส�ำหรับประกอบพิธีบูชา ไฟ” และยังมีการกล่าวถึงฤๅษีสัชนาลัยสั่ง สอนบาธรรมราชว่า "สูเจ้าจงเอาพนมเพลิง เข้าไว้ในเมือง เป็นที่สร้างพรตบูชากูณฑ์ผู้ เฒ่าจะสั่งสอน จงท�ำตามค�ำ" จากประวัติในพงศาวดารดังกล่าว หมายถึงเคยมีการใช้เขาพนมเพลิงเป็น แหล่งประกอบพิธีบ�ำเพ็ญพรต แล้วจุดอัคคี บูชาเทวะเป็นเจ้า โดยก�ำหนดให้วัดเขา พนมเพลิงตัง้ อยูก่ ลางเมืองศรีสชั นาลัย เป็น ชัยภูมิของการสร้างเมืองให้โดดเด่นนั่นคือ การสร้างเมืองศรีสชั นาลัยโดยการล้อมภูเขา ลูกนีเ้ อาไว้ เพือ่ ให้เป็นชัยภูมอิ นั เหมาะสมใน การประกอบพิธีดังกล่าว
121
122
ศาลเจ้าแม่ละอองสำ�ลี
บนวัดเขาพนมเพลิง จะมีศาลเจ้า แม่ละอองส�ำลี หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า แม่ย่า เป็นศาลองครักษ์เก่าแก่ของที่นี่ ส่วนด้านหลังศาลเป็นเจดีย์ของวัดเขา พนมเพลิง เจดีย์หลังนี้มีความสวยงาม เพราะเป็นทรงมณฑปที่ใช้ศิลาแลงก่อ เหลื่อมเป็นทรงจั่ว ซึ่งนอกจากจะสวยงาม แล้ว ศิลาแลงยังท�ำให้มณฑปมีความแข็ง แรง และสามารถคงสภาพเหมือนในสมัย ก่อนไว้ได้ดีมาก ศาลเจ้าแม่ละอองส�ำลีนี้ มีอายุหลายสิบปีแล้ว แต่ยังเป็นที่เคารพ ย�ำเกรงของชาวบ้านอยู่ ว่ากันว่าเจ้าแม่ ละอองส�ำลีนั้นมีอิทธิฤทธิ์มาก ครั้งหนึ่ง นักศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากรได้มา ศึกษานอกสถานที่บริเวณนี้ ตอนกลาง คืนก็มีนักศึกษาคนหนึ่งเดินละเมอลง แม่น�้ำพร้อมพูดว่า “แม่เรียกๆ” ซึ่งเชื่อ ว่าเหตุการณ์นั้นน่าจะเป็นพลังของเจ้าแม่ ละอองส�ำลี ทุกวันนี้ชาวบ้านก็ยังคงเชื่อ ในเจ้าแม่ และยังเอาเครื่องเซ่น พวงมาลัย และแพเจ็ดสีมาไหว้เจ้าแม่อยู่เสมอ
วัดเขาพนมเพลิงนั้น
เดิมทีเขาเชื่อว่ามันเป็นวัดพราหมณ์ แต่ ต่อมาเขาก็เปลี่ยนมาเป็นวัดพุทธ ที่วัดนี้ไม่ชัดเจน เกี่ยวกับศาลฮินดู ไม่เหมือนกับสุโขทัย เพราะที่วัด เขาพนมเพลิงนี้ไม่มีจุดไหนที่เขาระบุชัดๆ ว่า เป็น ศาลของเทพฮินดูหรือ “ตรีมูรติ” ซึ่งประกอบด้วย พระศิวะหรือพระอิศวร พระนารายณ์ และพระ พรหม เกร็ดความรู้เรื่องเทพต่างๆ ในศาสนาฮินดู พระอินทร์ของฮินดูเป็นเทพรักษาทิศ ตะวันออกของสวรรค์เท่านั้น แต่ว่าพระอินทร์ของ ศาสนาพุทธถูกยกย่องให้เป็นเทพชัน้ ดาวดึงส์อยูบ่ น ยอดเขาพระสุเมรุ ซึง่ ทางฮินดูยอดเขาพระสุเมรุเป็น ที่อยู่ของพระศิวะพระนารายณ์และพระพรหม แต่ หากย้อนไปนานกว่านัน้ ในคติฮนิ ดูตอนเริม่ แรกสุด ที่ยังเรียกว่าศาสนาพราหมณ์ เค้านับถือพระอินทร์ เป็นเทพสูงสุดเพราะพระอินทร์เป็นเทพแห่งท้องฟ้า สงคราม และมีสายฟ้าเป็นอาวุธ บันดาลให้เกิดฝน ได้ ส่วนเทพองค์อื่นๆ ที่เป็นใหญ่ถัดจากพระอินทร์ คือพระอาทิตย์ และพระอัคนี ต่ อ มาหลั ง พุ ท ธศาสนาเกิ ด ขึ้ น เหล่ า พราหมณ์ก็รู้สึกว่าเทพที่เขานับถืออยู่ไม่ได้ให้ค�ำ ตอบเกี่ยวกับอ�ำนาจของจักรวาล จึงเกิดแนวคิด ว่ามันมีเทพที่สูงกว่าพระอินทร์ ศาสนาพราหม์จึง สร้างพระศิวะขึ้น โดยพระศิวะก็จะมีสายฟ้าของ พระอินทร์อยู่ในมือ แต่มีรูปลักษณ์เป็นสามง่าม นอกจากนัน้ พระศิวะยังมีอำ� นาจเหมือนพระอินทร์ อีกด้วย ส่วนพระอาทิตย์ก็ถูกสร้างแทนที่ด้วยพระ วิษณุหรือพระนารายณ์ มีอ�ำนาจคือจักร และเมื่อ มีพระวิษณุแล้ว พระอาทิตย์ก็ถูกลดอ�ำนาจลงให้ เป็นเทพระดับสอง แต่ในปัจจุบนั พุทธศาสนาก็ยงั มีการนับถือ พระอิ น ทร์ แต่ ไ ม่ ไ ด้ นั บ ถื อ เป็ น เทพอั น ดั บ หนึ่ ง เพราะเราถือว่าพระอินทร์เป็นเทพที่ยังเวียนว่าย ตายเกิด เพราะในทางพุทธศาสนาเทวดาก็ยังอยู่ ในวัฏสงสาร แต่ฮินดูถือว่าเทพของเขาเป็นอมตะ พระอินทร์ พระศิวะก็เป็นเทพนัน้ ๆ ตลอดกาล เป็น ตัวแทนของอ�ำนาจธรรมชาติที่เป็นอมตะ ต่างจาก พุทธศาสนาที่เชื่อว่าเป็นผลของการท�ำกรรมดีแล้ว ไปเกิดเป็นพระอินทร์ ในส่วนของการท�ำความดีนนั้ จะมีการแบ่ง เป็นความดีระดับต่างๆ การจะเป็นพระอินทร์ได้
เป็นความดีระดับที่ง่ายมาก นั่นคือการถือศีลห้าให้ บริบรู ณ์กส็ ามารถเป็นพระอินทร์ได้แล้ว และถ้าเลย จากศีลห้าก็เป็นพระทีถ่ อื ศีล 227 ข้อ ก็จะได้เกิดไป เป็นพรหม แต่พระที่ถือศีลแต่ปากแล้ว โกยธรรมก็จะตกนรก เป็นพระอินทร์ไม่ได้ ด้วย เหตุนพี้ ระอินทร์เลยมีเยอะ ทุกวันนีพ้ ระอินทร์อาจ จะตกสวรรค์มาเป็นมนุษย์ แล้วก็มีมนุษย์ที่ได้ไป เป็นพระอินทร์แทนกันไปมา ด้วยความเชื่อนี้ ผู้คนในสมัยโบราณจึง คิดว่ามนุษย์ที่ท�ำความดีเสมือนเป็นพระอินทร์ก็ คือ ‘กษัตริย์’ และที่มีการใช้อุบายตัวนี้มายกย่อง กษัตริย์ก็เพื่อหวังให้กษัตริย์ท�ำความดี ไม่ท�ำความ เดือดร้อนให้มนุษย์ แต่ทางฮินดูจะมีความเชื่อว่า กษัตริย์ที่เก่งเป็นนารายณ์อวตาร นั่นคือนารายณ์ แบ่งร่างลงมา เพราะฉะนั้นพิธีบรมราชาพิเษก ของฮินดูจึงใช้วิธีแบ่งร่างของพระนารายณ์มาไว้ที่ กษัตริย์ โดยการอัญเชิญเทวรูปมาตั้งแล้วก็เอาน�้ำ รดเทวรูป แล้วก็เอาน�้ำที่รดเทวรูปมารดากษัตริย์ เพื่อให้อ�ำนาจของเทพเข้าไปในร่างกาย คนที่ผ่าน พิธีบรมราชาพิเษกแล้วก็จะถือว่าเป็นสมมุติเทพ พระวิษณุ แต่ความจริงแล้วพระวิษณุ พระศิวะ และ พระพรหมเป็นองค์เดียวกัน คือตรีมูรติ แต่ถูกแบ่ง หน้าที่ก็เลยแยกออกเป็น 3 องค์ เราจะสามารถ พบเห็นรูปปั้นพระศิวะกับพระนารายณ์ที่รวมเป็น องค์เดียวกันได้ เรียกว่า “หริหระ” มาจากแนวคิด ว่าเทพทัง้ สามองค์รวมเป็นองค์เดียวกันได้ แต่การที่ แบ่งเทพเป็นสามองค์ มาจากการที่ผู้นับถือศาสนา ฮินดูมีการแบ่งกลุ่มนับถือ เป็นการแบ่งหน้าที่กัน พระศิวะมีกลุ่มที่นับถือคือเกษตรกร เพราะชาวนา ต้องขอฝนขอฟ้า แล้วรูปพระศิวะที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด คือ “ศิวะนาฏราถ” หรือศิวะร่ายร�ำ แล้วมีเปลว เพลิงล้อม เป็นรูปที่เค้าจะบูชาพระศิวะ ให้พระ ศิวะร่ายร�ำด้วยจังหวะที่มีความกลมกลืน และห้าม ให้พระศิวะโกรธ ถ้าพระศิวะโกรธแล้วกระทืบเท้า แรงไปจะเกิดแผ่นดินไหว ส่วนพระนารายณ์กษัตริย์ นับถือ เพราะกษัตริยต์ อ้ งท�ำสงคราม ต้องพึง่ อ�ำนาจ ของพระนารายณ์ ส่วนครูอาจารย์ต้องพึ่งอ�ำนาจ พระพรหม เพราพระพรหมมีอ�ำนาจทางสติปัญญา และความรู้
123
Da
124
Wat Phra Si Rattana Mahathat
aY 4
- วันที่ 4
125
126
วัดพระศรีรต ั นมหาธาตุพษ ิ ณุโลก วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือชื่อ ที่เรียกกันทั่วไปว่า "วัดใหญ่" ตั้งอยู่ท่ี ถนนพุทธบูชา ริมฝั่งแม่น�้ำน่านด้านทิศตะวันออก ตรงข้ามกับศาลา กลางจังหวัดพิษณุโลก เป็นพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในฐานะ สถานที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช พระพุทธรูปที่ได้ รับการยกย่องว่าสวยงามที่สุดในประเทศไทย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็น วั ด ที่ มี ป ระวั ติ ย าวนานมาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง สุ โ ขทั ย มี สถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และประติมากรรมทีง่ ดงาม มาก ถือได้ว่าเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมอันล�้ำค่า ของเมืองพิษณุโลก โดยวัดนี้ไม่มีหลักฐานว่าสร้างขึ้น เมือ่ ใด สันนิษฐานว่าสร้างขึน้ ก่อนสมัยสุโขทัย และเป็น พระอารามหลวงมาแต่เดิม เพราะได้พบหลักฐานศิลา จารึกสุโขทัยมีความว่า พ่อขุนศรีนาวน�ำถมทรงสร้าง พระทันตธาตุสุคนธเจดีย์ ส่วนในพงศาวดารเหนือกล่าวไว้วา่ "ในราวพุทธศักราช 1900 พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก (พระมหาธรรมราชา ลิไท) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ครองกรุงสุโขทัย ทรงมี ศรัทธาเลื่อมใสในบวรพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งยัง
ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกและคัมภีร์ศาสนาอื่นๆ จน ช�่ำชองแตกฉาน หาผู้ใดเสมอเหมือนได้ยาก พระองค์ ได้ทรงสร้างวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ในฝั่งตะวันออก ของแม่น�้ำน่าน มีพระปรางค์อยู่กลาง มีพระวิหาร 4 ทิศ มีพระระเบียง 2 ชั้นและทรงรับสั่งให้ปั้นหุ่น หล่อพระพุทธรูปขึ้น ๓ องค์ เพื่อประดิษฐานเป็นพระ ประธานในพระวิหารทั้ง 3 หลัง" ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรด เกล้า ฯให้ยกขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิด วรมหาวิหาร เมื่อ พ.ศ. 2458 ปัจจุบันจึงมีชื่อเต็มว่า วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร
127
ที่วัดนี้คนมักเข้าใจผิดว่าด้านหน้าวัดเป็นด้านหลัง วัด โดยที่ด้านหน้าวัดจริงๆ จะเห็นเป็นซากของวิหารหลวง ทีค่ วามจริงแล้วเข้าชุดกับพระปรางค์ ซึง่ พระปรางค์ของวัด แห่งนีจ้ ะมีวหิ ารทิศอยูป่ ระจ�ำทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวัน ตกวิหารทิศเหล่านี้ประดิษฐานพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นมา พร้อมกันอยูช่ ดุ หนึง่ สร้างโดยพระยาลิไท กษัตริยข์ องเมือง สุโขทัย โดยสร้างพระชุดนั้นในปีพ.ศ.1900 หรือ 1912 พระที่ถูกสร้างขึ้นพร้อมกันสามองค์นั้น องค์ที่อยู่ ทิศเหนือชื่อว่าพระชินสีห์ องค์ที่อยู่ทิศใต้ชื่อว่าพระศาสดา องค์ที่อยู่ทิศตะวันตกคือพระชินราช เมื่อสร้างแล้วมีทอง เหลือ ก็สร้างอีกองค์หนึ่งชื่อพระเหลือ อยู่ด้านหน้าของ วิหารพระพุทธชินราช เนื่องจากพระพุทธชินราชเป็นองค์ ทีส่ วยงามทีส่ ดุ ในทัง้ สามองค์ แล้วก็เป็นทีเ่ คารพศรัทรามาก ก็เลยท�ำให้วัดนี้เกิดการเข้าใจผิดคิดว่าด้านหน้าวัดคือ พระพุทธชินราช และด้วยความที่เมืองพิษณุโลกร้างไปตั้ง แต่พ.ศ. 2310 วิหารหลวงก็ไม่ได้รับการซ่อมแซม แต่วิหาร ทิศได้รับการซ่อมทั้งหมด ท�ำให้เกิดความเข้าใจผิดกับผู้มา เยี่ยมชมตลอด
พระชินสีหแ์ ละพระศาสดาทีป่ ระดิษฐานอยูท่ วี่ ดั นี้ ในตอนนี้ เป็นเพียงองค์จ�ำลองเท่านั้น เพราะก่อนหน้านี้รัช การที่ 3 เคยย้ายพระชินสีห์ไปไว้ที่วัดสุทัศน์ และในเวลา ต่อมา รัชการที่ 4 ก็ได้ย้ายพระชินสีห์จากวัดสุทัศน์ และ ย้ายพระศาสดาจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุไปไว้ที่วัดบวร นิเวศวิหาร ท�ำให้พระชินสีหก์ ลายเป็นพระประธานร่วมกับ พระประธานองค์เดิมทีอ่ ยูใ่ นวิหารวัดบวร และทุกวันนีพ้ ระ ชินสีห์ก็ยังคงอยู่ในวัดบวร ต่ อ มาในสมั ย ของรั ช การที่ 5 ท่ า นสร้ า งวั ด เบญจมบพิตร ท่านก็จะมาย้ายพระชินราช แต่ปรากฏว่าชาว บ้านร้องห่มร้องไห้ไม่อยากให้ย้ายพระพุทธชินราชไป เมื่อ รัชการที่ 5 ได้รขู้ า่ วท่านก็เปลีย่ นใจ และได้ให้สมเด็จพระยา นริศรานุวัติวงศ์มาเป็นแม่งานในการคัดลอกพระพุทธชิน ราช เพื่อน�ำไปเป็นพระประธานที่วัดเบญจมบพิตร สมเด็จ พระยานริศรานุวัติวงศ์ได้บันทึกการเดินทางมาเมือง พิษณุโลกไว้วา่ ท่านเดินมาทางน�ำ้ แล้วก็มาดูแลพระ และได้ แบบไปสร้างทีก่ รุงเทพ เพราะฉะนัน้ พระพุทธชินราชทีว่ ดั นี้ ก็ยงั เป็นองค์ดงั้ เดิมอยู่ แต่พระพุทธชินสีห์ พระศาสดา เป็น พระพุทธรูปที่มีการสร้างขึ้นมาแทน
128
วัดพระศรีรตั นมหาธาตุแห่งนีถ้ กู สร้างมาตัง้ แต่สมัย สุโขทัย พระยาลิไทยให้ความส�ำคัญกับวัดนี้ เพราะช่วงที่ พญาลิไทขึ้นครองราชย์ อยุธยาสถาปนาเป็นนครรัฐอิสระ มีพระเจ้าอู่ทอง พระยาลิไทจึงต้องมาคุมเมืองพิษณุโลก ซึ่ ง เหมื อ นกั บ แดนกั น ชน ซึ่ ง เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกตอนหลั ง ก็ เหมือนเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาไป แต่ราชวงศ์ของสุโขทัย ก็ยังครองเมืองนี้อยู่ พ่อของสมเด็จพระ นเรศวรเป็นราชวงศ์ ของสุโขทัย ครองเมือง พิษณุโลกอยู่ แล้วพอ เสร็จศึกเสียกรุงครั้งที่ สอง ทางพม่าสถาปนา พ่อของสมเด็จพระ นเรศวรให้เป็นพระเจ้า แผ่นดินกรุงศรี เพราะ ว่าตอนทีม่ าตีพษิ ณุโลก พ่อของพระนเรศวร ยอมแพ้เข้ากับทาง พม่า เมื่อเป็นพระเจ้า แผ่นดินแล้วพม่าก็เอา พระนเรศวรไปเป็น เชลยศึก แต่ว่ายกย่อง ให้เป็นบุตรบุญธรรม แล้วไปอยู่ที่พม่า 12 ปี แล้วถึงขอกลับมาอยู่ ที่อยุธยา ในตอนหลัง พระนเรศวรไปช่วยท�ำ ศึกที่พม่า ทางพม่าเห็นว่าพระนเรศวรจะมีเดชานุภาพมาก จะฆ่าทิ้ง ท่านก็เลยประกาศอิสรภาพในปีพ.ศ.2127 แล้วก็ กลับมาอยุธยา ในส่วนของชื่อเมืองพิษณุโลกนั้น ค�ำว่าพิษณุ มี ความหมายตรงกับ “วิษณุ” เพราะวอ แหวน กับพอ พาน มันเป็นตัวเดียวกัน (เช่นวัชระ กับพัชระ) ค�ำว่า “วิษณุ โลก” เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของนครวัดที่เขมรใช้เป็น
ศูนย์กลางความศักดิ์สิทธิ์ เพราะฉะนั้นค�ำว่าพิษณุโลก จึง เป็นร่องรอยสัญลักษณ์ความเชื่อมโยงกับเขมร ท�ำให้เห็น ว่าเขมรมีอทิ ธิพลมาถึงทีน่ กี่ อ่ นทีจ่ ะเกิดสุโขทัย แต่พษิ ณุโลก อาจจะเป็นเมืองบ้านนอกของเขมร พระปรางค์ในวัดพระศรี รัตนมหาธาตุนกี้ เ็ ชือ่ ว่ามีเค้าเดิมมาจากพระปรางค์ของเขมร และทางไทยเราก็ยังด�ำรงรูปร่างของพระปรางค์ แต่ว่าย กระดับของพระปรางค์ ให้สูงขึ้น เพราะเดิมที แนวคิดพระปรางค์ ของเขมรคือเป็น อาคาร แล้วเข้าไปตั้ง รูปเคารพให้คนเข้าไป ข้ า งในได้ ส่ ว นพระ ปรางค์ไทยวิธีคิดคือ เป็นเจดียห์ รือสถูป ข้าง ในจะไม่มีห้องให้คน เข้าไป แต่จะใช้พื้นที่ โดยรอบเป็นหลัก ข้าง ในมี ห ้ อ งแคบๆ แล้ ว ถูกยกไว้ข้างบนสูงๆ เดิมทีคิดว่าพระปรางค์ ของวัดนีเ้ ป็นแบบเขมร แล้วก็มาซ่อมในสมัย สุ โ ขทั ย สมั ย อยุ ธ ยา แล้วก็เปลี่ยนเป็นทรง ในรสนิยมแบบไทย ส่วนอาคาร หลังที่เราเข้าไปเห็นที่ แรกคือพระอุโบสถ ถูกซ่อมมาตั้งแต่สมัยอยุธยา แล้วเมื่อ กรุงศรีเสียไปแล้ว กรุงรัตนโกสินทร์มาฟืน้ ฟู เค้าก็ยงั ท�ำใหม่ โดยด้านในก็ยังเป็นพระสมัยสุโขทัยอยู่ มีข้อสังเกตอย่าง หนึ่งว่า การสร้างพระประธานไว้ในอาคารในสมัยอยุธยา และรัตนโกสินทร์ไม่นยิ มท�ำพระยืน แต่สโุ ขทัยนิยม รวมถึง เชียงใหม่ก็นิยมพระยืนด้วยเช่นกัน
129
หนึ่งในวิหารย่อย ในวัดพระศรี รัตนมหาธาตุ พิษณุโลก
จุดสังเกตที่น่าสนใจของวิหาร พระพุทธชินราชคือทรงของสถาปัตยกรรม ซึ่ ง มี ลั ก ษณะคล้ า ยของวั ด พระแก้ ว แต่ อาจารย์สนไม่เห็นด้วยกับการบูรณะวัดใน สุโขทัยให้ทรงอาคารเหมือนเป็นหน้าตัด ทรง ตรงๆ แล้วไม่มปี กี นกข้างหน้า เพราะอาจารย์ คิดว่ามันควรเหมือนตัวอย่างที่พิษณุโลก ซึ่งเป็นทรงปีกนกทั้งหมด แม้กระทั่งวิหาร ทิศ จนสามารถพูดได้ว่าหลังคาทรงปีกนก เป็นเอกลักษณ์ของหลังคาของสุโขทัย และ อาคารทรงสุโขทัยจะไม่มีคันทวยด้วย เพราะ ตัวอาคารใช้หลังคาคลุมยื่นยาวออกมา แล้ว ใช้หลังคารับน�้ำรับฝนโดยตรง อาคารวิหาร
นี้แต่เดิมเป็นอาคารโถง ส่วนผนังปิดทึบนั้น สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ภายในมุขที่ยื่นออก มาของวิหารจะตั้งองค์พระ โครงสร้างด้าน หลังจะคล้ายกับสุโขทัย อาจารย์ศิลป์ พีระศรีให้เกียรติวัด พระศรีรตั นธาตุแห่งนีว้ า่ เป็นวัดทีย่ งั มีอาคาร โครงสร้างแบบสุโขทัยที่ยังสมบูรณ์อยู่ ต่างจากในจังหวัดสุโขทัยเองที่เค้าโครงเดิม หายไปหมดแล้ว คนที่ศึกษาสถาปัตยกรรม จะมาทีว่ ดั นีเ้ พือ่ มาดูโครงสร้าง วิธตี งั้ เสาต่างๆ ซึ่งแตกต่างจากของอยุธยา อย่างไรก็ตาม สิ่ง หนึง่ ทีห่ ลังได้รบั การซ่อมแซมแล้วท�ำให้สภาพ เดิมของอาคารเปลี่ยนไปก็คือเพดานของ พระอุโบสถ โดยในตอนที่ซ่อมช่างได้เข้าไป ท�ำการ ‘ดาดเพดาน’ ท�ำให้เพดานลดระดับ ลงมา และมันไปบังเศียรของพระพุทธรูปตรง บริเวณพระเกศ เกร็ดความรู้ : หัวเสาของสุโขทัยก็ จะเป็นหัวบัวแบบเสากลม ส่วนเสา เหลี่ยมเป็นเสาแบบอยุธยาปลายที่ เป็นบัวกลีบยาว
130
วิหารพระพุทธชินราช
ต�ำแหน่งของพระประธานของ วิหารแห่งนี้ จะมีการย่อมุขเข้าไป มุข หลังการบูรณะนั้นเป็นผนังทึบ แต่จริงๆ ผนังจะต้องมีช่องลมเป็นกากบาทหรือ เป็นแท่ง เพื่อให้แสงเข้า ทั้งด้านข้าง และด้านหลังของพระประธาน และจะ มีบันไดขึ้นลงทางด้านข้างส�ำหรับพระ
ส่วนใบเสมารอบๆ วิหารแห่งนี้สร้างขึ้น ในยุคสุโขทัยตอนปลาย ถ้าเป็นสุโขทัย ตอนต้นจะเป็นใบใหญ่ พระในนี้ก็เป็น พระสุโขทัยแบบดั้งเดิม โดยมีจุดสังเกต คือจะไม่ตั้งบนฐานสูง ฐานจะมีความสูง แค่ประมาณ 1 เมตร
131
พระประธาน ของวิหารนี้
ส�ำหรับพระประธาน องค์นี้ การให้แสงในปัจจุบันต่าง จากการให้แสงแบบดัง้ เดิม ท�ำให้ ความงามของพระพุทธรูปเปลีย่ น ไป ในอดีตไม่มีแสงสปอตไลต์ เยอะๆ เพราะแต่เดิมจะเป็นแสง ที่ส่องมาจากประตู และแสงที่ เข้ามาตกข้างๆ จากช่องแสง ซึ่ง แสงส่วนใหญ่จะไม่ได้สอ่ งมาโดน หน้าตัก แต่จะเน้นไปที่ด้านข้าง ของใบหน้า แสงที่เข้าจากด้าน ข้างจะอ่อนกว่าแสงจากประตู ใหญ่ นอกจากนั้นอาจารย์สนยัง มีแนวคิดว่าถ้าหากแต่เดิมอาคาร นีไ้ ม่มผี นัง แสงข้างในก็จะเป็นแส งอ่อนๆ คือแสงสะท้อนพอให้ใช้ งานได้ เดิมทีพระพุทธชินราช ไม่ได้ปิดทอง แต่มาปิดทอง
ในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรส แต่ก่อนพระเป็นองค์สีด�ำลงรัก และในสมัยก่อนเวลาปิดทองจะ ไม่นิยมให้ทองสุกปลั่งจนเห็น เป็นเงาๆ เพราะพอวาวมากไป แสงจะวูบวาบท�ำให้ความเป็น มวลของหน้าพระหายไป โดย มีภูมิปัญญาคือช่างจะเอาน�้ำยา ด่างทับทิมลูบให้มันดูด้าน ส่วน เวลาจะตัดทองบนภาพไทยก็ไม่ สามารถตัดบนเนื้อทองสุกปลั่ง แบบนี้ได้ เพราะน�้ำมันจะไม่อยู่ ในสี ตัดแล้วเส้นขาดทันที ต้อง เอาน�้ำล้างสีทาหรือลากเป็นเส้น น�ำไปก่อน เพื่อให้พื้นที่ตรงนั้น มันด้าน แล้วค่อยทับด้วยเส้นสี บางคนก็ใช้ชาดเพราะชาดเป็น โลหะแล้วไปติดอยู่บนทองได้ดี เทคนิคอื่นๆ ที่ใช้คือเอาน�้ำผสม แอลกอฮอล์ลูบหรือเอาน�้ำผสม แฟ๊บลูบ
132
วิหารพระเจ้าเข้านิพพาน
“พระเจ้าเข้านิพพาน” คือพระพุทธ รูปที่เป็นรูปโลงศพแล้วมีเท้าโผล่ออก มา พบพระพุทธรูปปางนี้น้อยมากแต่มี ที่สุพรรณและราชบุรีอีกที่ ธรรมเนียม ของคนพิษณุโลกคือใครจะขอพรอะไร จะต้องเอาหน้าผากไปแตะพระบาท ของท่าน ส่วนใหญ่คนที่มาจะไม่เข้า วิหารนี้เพราะมองข้าม รอบๆ โลงจะ มีเหล่าพระสาวกนั่งเฝ้าพระศพ เป็น พระพุทธรูปปางพิเศษที่ไม่มีให้พบเห็น ที่อื่น พระพุทธรูปทั่วไปที่อยู่ในท่านอน จะไม่ ใ ช่ เ สด็ จ เข้ า สู ่ นิ พ พาน แต่ เ ป็ น พระพุทธไสยาสน์เฉยๆ พระพุทธเจ้าเข้านิพพานนี้ชาวอยุธยา ถื อ ว่ า เป็ น นวั ต กรรม สร้ า งตามพระ
พุทธประวัติว่าพระพุทธเจ้าอยู่ในโลง ศพแล้วจุดไฟยังไงก็ไม่ตดิ เพราะบอกว่า พระพุทธเจ้าท่านรอพระมหากัสสัปปะ ท่านรอจนพระมหากัสสัปปะเดินป่า แล้วไปเห็นคนชูดอกบัวดอกใหญ่แทน ร่มมา ท่านก็รู้เลยว่าพระพุทธเจ้าเสด็จ เข้าสู่นิพพานแล้ว แล้วพอท่านเข้าไป ถามก็ได้ความจริงว่า ได้ดอกบัวนี้มา จากเมืองกุสินารา พระมหากัสสัปปะ จึงรีบเดินทางจากป่ามาเพื่อเคารพพระ ศพ พอมาถึงพระศพก็จะยื่นเท้าออก มารับไหว้ แล้วพอรับไหว้เสร็จ พระ มหากัสสัปปะกราบพระศพ พระศพก็ ลุกเป็นไฟเอง พระมหากัสสัปปะมีอายุมากกว่า
พระพุทธเจ้า 6 ปี และเป็นพระเถระที่ พระพุทธเจ้ายกย่อง เพราะท่านมหากั สสัปปะเป็นพระสายป่าทีเ่ คร่งครัดทีส่ ดุ ไม่เคยอยู่บ้าน เดินในป่าอย่างเดียวแล้ว นอนตามโคนต้นไม้ นอกจากนั้นท่านม หากัสสัปปะยังเป็นต้นตระกูลของนิกาย ชาน แล้วก็กลายเป็นนิกายเซน หลวงปู่ ชา หลวงปู่เทศ หลวงปู่มั่นคือสายของ พระมหากัสสัปปะทั้งหมด ท่านจะใช้ การปฏิบตั ใิ ห้เข้าถึงธรรม แล้วให้คำ� ตอบ แก่ตัวเอง ถ้าไม่เข้าใจ ไม่มั่นใจ ค่อยไป ตรวจสอบกับพระไตรปิฎก
133
ในตอนที่พระพุทธเจ้าเข้าสู่นิพพาน เหล่าสงฆ์ สาวกก็มีการประชุมเพื่อจะประมวลค�ำสอน พระเจ้าอชาติศัตรูเป็นประธานฝ่ายฆารวาส ส่วนพระมหากัสสัปปะเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ในครั้งนั้นมีการก�ำหนดกติกาว่า พระทุกองค์ที่ จะมาประชุมสังคายนาค�ำสอนจะต้องเป็นพระ อรหันต์ ซึ่งครั้งนั้นเค้าต้องการให้พระอานนท์ ซึ่งเป็นเลขาของพระพุทธเจ้ามาร่วมด้วย แต่ พระอานนท์ยังไม่เป็นพระอรหันต์ แต่พระอานนท์น้ันได้รับฉายาว่าเป็น “ตู้พระ ไตรปิฎกเคลื่อนที่” เพราะพระอานนท์ตอน ที่ จ ะบวชได้ ข อพระพุ ท ธเจ้ า ไว้ ส ามข้ อ คื อ พระพุทธเจ้าเสด็จไปที่ไหนขอพระอานนท์ไป ด้วย แต่ถ้าพระอานนท์ไม่ได้ไป ท่านกลับมา ต้องเล่าให้พระอานนท์ฟัง แล้วพระอานนท์ก็มี ความจ�ำสูงจึงสามารถจดจ�ำค�ำสอนต่างๆ ของ พระพุทธเจ้าได้ทั้งหมด ส่วนค�ำขอข้อที่สาม คือ ครั้งหนึ่งพระนางประชาบดีซึ่งเป็นแม่เลี้ยง
แทนพระนางสิรมิ หามายาเกิดศรัทราในศาสนา พุทธ พระนางก็ขอออกบวช แต่พระพุทธเจ้า ไม่ให้ มาขอถึงสามครั้งก็ไม่ให้ พระอานนท์ก็ เลยขอสัญญาที่พระพุทธเจ้าเคยให้ไว้ คือขอให้ พระนางประชาบดีได้บวช พระนางประชาบดี ก็เลยเป็นภิกษุณีองค์แรกของศาสนาพุทธ แต่พระพุทธเจ้าก็มีเงื่อนไขว่า บวชพระนาง ประชาบดีแล้วจะไม่บวชภิกษุณีอีก ท�ำให้ไม่มี ภิกษุณใี นศาสนาพุทธ (เหตุผลทีเ่ ป็นแบบนีไ้ ม่ใช่ ว่าพระพุทธเจ้าดูถูกผู้หญิง แต่เพราะผู้หญิง ในสมัยพุทธกาลไม่ปลอดภัยที่จะเป็นนักบวช เพราะตามพุทธประวัติก็มีเรื่องผู้หญิงถูกรังแก ถูกข่มขืน ถูกโจรต่างๆ แล้วก็อาจท�ำให้เกิด เรือ่ งชูส้ าวในหมูส่ งฆ์ได้ ซึง่ ถือเป็นข้อห้าม ก็เลย ท�ำให้ไม่มภี กิ ษุณ)ี แต่ทกุ วันนีท้ มี่ ภี กิ ษุณเี กิดขึน้ เพราะว่า เค้ามีต�ำนานความเชื่ออีกสายหนึ่งว่า มีภกิ ษุณไี ด้ ซึง่ ต�ำนานนีม้ ผี เู้ ชือ่ ถือมากในไต้หวัน เกร็ดความรู้ : สาเหตุทพี่ ระพุทธเจ้า นอนในโลง แต่พระศพของกษัตริย์ นั่งอยู่ในโกศ เป็นเพราะว่าพระศพ กษัตริย์ใช้คติของฮินดู เป็นความ เชื่ออีกสายหนึ่ง
134
วิหารพระศาสดา พระศาสดา >> วิหารพระศาสดาเป็นวิหารประจ�ำ ทิศใต้ สร้างโดยกษัตริย์สุโขทัยที่ชื่อ “พญา ลิไท” กษัตริย์สุโขทัยจะไม่เรียกพระเจ้า จะเรียกพ่อขุน กับพญา ค�ำว่าพระเจ้าใช้ เฉพาะกษัตริย์อยุธยา เพราะกษัตริย์อยุธยา ใช้ประเพณีแบบเขมร กษัตริยอ์ ยุธยามีชอื่ ใน สุพรรณบัตร ในประเพณีบรมราชาภิเษกว่า ‘รามาธิปดี’ ซึ่งแปลว่าพระรามผู้เป็นใหญ่ แล้วก็มีสร้อยต่อๆ มาเป็น สุริยวงศ์ หริหระ บรมบพิตร และลงท้ายชื่อด้วยพระพุทธเจ้า อยูห่ วั ซึง่ ความจริงแล้วนับว่าเป็นเรือ่ งแปลก เพราะมีชอื่ เป็นชือ่ พระราม หรือเป็นชือ่ วิษณุ แต่ดันจบด้วยชื่อพระโพธิสัตว์ในพระพุทธ ศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าอยู่บนหัว
135
เดิมตัวอย่างวิหารโถงนี้อยู่ด้านในวิหารพระพุทธชินราช ที่บน วัดเขาสุวรรณคีรดี า้ นหลังวัดก็จะมีอาคารเล็กๆ แบบนีเ้ ช่นกัน ในอาคาร เล็กๆ นั่นจะมีอู่ อู่นั้นส�ำหรับตั้งพระองค์เล็ก พระองค์เล็กถ้าตั้งแล้วท�ำ อาคารใหญ่กว่ามันจะเหมือนท�ำอาคารซ้อน (เหมือนองค์นี้เป็นพระเล็ก แล้วไม่ใส่ไว้ในกระเปาะหรือมุขเล็ก เค้าก็เลยท�ำอาคารซ้อนเลย) ซึง่ วิหาร ทีอ่ ยูห่ ลังอาคารสุวรรณคีรที ปี่ จั จุบนั เห็นแต่โครงสร้าง ถ้าเป็นรูปเต็มก็จะ ประมาณนี้
ชื่ อ ในสมั ย สุ โ ขทั ย ถ้ า จะเรี ย ก พระเจ้า ก็จะไม่เรียกพระเจ้ารามาธิปดี แต่ จะเรียกพระเจ้ามหาธรรมราชา หมายถึง เป็นพระเจ้าผู้ทรงธรรมอันยิ่งใหญ่ ชื่อนี้เป็น ชื่อเรียกพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ที่ถูก เรียกว่าพระมหาธรรมราชานั้น จะต้องเป็น ผู้มีคุณธรรม มีบุญญาธิการเหมือนพระเจ้า อโศกมหาราช สิ่ ง หนึ่ ง ที่ พ ระเจ้ า อโศก มหาราชท�ำก็คือ สละราชสมบัติชั่วคราว ออกบวช เพราะฉะนั้นกษัตริย์สุโขทัยมัก จะออกบวช ถ้ากษัตริย์คนไหนนับถือพุทธ ศาสนาถึงขั้นออกบวช ก็จะได้สมญานาม ว่าธรรมราชา (ส่วนพระเจ้าทรงธรรม คือ คนที่ยังไม่ถึงขั้นธรรมราชา แต่สนใจฝักใฝ่ สนับสนุนศาสนา หรือปฏิบัติตนตามหลัก พุทธศาสนา) ในส่วนของพระพุทธรูปพระศาสดา ถ้าว่าตามหลักสุนทรียศาสตร์แล้วไม่สวย ลักษณะการจัดแสงก็ไม่สวยเช่นกัน ช่าง ปั้นรุ่นหลังมักจะติดเรื่องความถูกต้องของ กายวิภาค มีโหนกแก้ม มีมุมปาก แต่หาก ไปดูพระพุทธรูปสุโขทัยจะหน้าเกลี้ยง พระวรกายของพระศาสดาก็ดูแข็ง เหมือน ไม่หายใจ ไม่พองไม่ยุบ สัดส่วนหัวโตตัว ลีบ งามสู้องค์จริงไม่ได้ ซึ่งองค์จริงอยู่วัด บวรนิเวศวิหารชื่อวิหารพระศาสดา แต่มัน วิหารนั้นไม่ค่อยเปิดและไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก ของผู้คน
136
สังเค็ด
สังเค็ด >> เป็นอาสนาที่สร้างขึ้นมาส�ำหรับพระ สงฆ์ 4 รูป ใช้ในพิธีศพของกษัตริย์ หรือเจ้านายชั้นสูง แล้วก็เอาพระมา เทศน์บนสังเค็ด แต่ไม่ได้เทศน์บน ธรรมมาส คือธรรมมาสตั้งอยู่ในวัด แต่ สังเค็ดสร้างเฉพาะในงานศพ แล้วก็ จะมีบทเทศน์เฉพาะในงานที่จะเทศน์ กัน 4 องค์ แต่สังเค็ดนี้เดิมคงถูกสร้าง โดยกษัตริย์แล้วถวายให้วัดไว้ เดิมทีอยู่ ข้างๆ พระพุทธชินราช แล้วพอช่างมา ท�ำการบูรณะก็ถูกย้ายออก เลยมีการ สร้างอาคารหลังนี้มาเก็บไว้ สังเค็ดนี้ เป็นศิลปะอยุธยาตอนปลายที่สมบูรณ์ ที่สุด ไม่มีที่ไหนอีกแล้ว
137
ธรรมาส
ธรรมมาสของวิหารพระพุทธชินราช เดิมอยู่ด้านขวาของพระพุทธชินราช ธรรมมาสนี้กษัตริย์สร้างถวาย มีจุดเด่น คือมีแท่นที่เอาไว้เหยียบเป็นรูปกวาง หมอบ และขั้นบันไดก็เป็นรูปดอกบัว ขึ้นมารับ เขาท�ำบันไดนาคข้างเดียวให้ จับแล้วขึ้นไปนั่ง ด้านข้างๆ มีที่เอาไว้ตั้ง เทียนเพื่อส่องถ้ามืด ที่เป็นก้านๆ ชูออก มา ธรรมาสนี้เป็นธรรมมาสสมัยอยุธยา ที่สวยที่สุดในโลก
138
วิหาร พระพุทธ ชินสีห์ พระประธาน >> พระพุทธชินสีห์สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา มีหัวบัวกลีบยาวเสาเหลี่ยมแบบสมัย อยุธยา สุโขทัยบัวกลมเสากลม ที่หน้า วิหารพระชินสีห์มีรับรองด้วยศิลาจารึก แต่จารึกนี้ยังไม่เก่า คาดว่าสร้างขึ้นใน สมัยรัชกาลที่ 5 พระประธานนี้คือองค์ แทนพระพุทธชินสีห์ พระชินสีห์องค์ จริงอยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร ถ้าถ่ายภาพ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร จะเห็น พระชินสีห์อยู่ข้างหน้า แล้วก็มีพระ ประธานเดิมของวัดบวรอยู่ข้างหลัง ศิลปวัตถุที่น่าสนใจในวิหาร พระพุทธชินสีห์คือชิ้นดินเผาที่ท�ำ อาคารขนาดเล็กของอยุธยา มีลักษณะ เป็นมุขทะลุออกมาตั้งลอยอยู่ เป็น อาคารแบบอยุธยาที่หาดูได้ยากมาก แต่มีของจริงอยู่ที่วัดบ้านแหลม จังหวัด เพชรบุรี แล้วก็ที่วัดใหญ่สุวรรณาราม อ�ำเภอเมือง ตัวศาลาการเปรียญจะ เป็นทรงนี้ นี่เป็นดินเผาที่บ่งบอกว่า พิษณุโลกมีงานยุคอยุธยา
เกร็ดความรู้ : พระพุทธชินราชของ ดั้งเดิมไม่มีเรือนแก้ว สันนิษฐานว่า เรือนแก้วมาสร้างในสมัย พระเอกาทศรส
วิหารใหญ่ พระพุทธ ชินราช
139
วิหารพระพุทธชินราช ด้านหน้าของวิหารใหญ่นั้นจะเหมือนวัด พระแก้วทุกอย่าง หลังคาไม่ใช่ทรงตัดลงมาแต่ เป็นทรงปีกนกทั้งหมด ถ้าหลังคาลงมาตรงๆ เลย จะเป็นทรงหลังคาของทางล้านนา วิหารนี้เมื่อ มองเข้าไปจะเห็นองค์พระเหมือนอยู่ในกรอบ (หลังคาทรงนี้จะคล้ายกับหลังคาศิลาแลงที่อยู่บน เขาสุวรรณคีรีด้วย แต่ศิลาแลงเขาเอาด้านข้าง เป็นด้านข้างของซุ้มประตู แต่ที่นี่ใช้ด้านจั่วหัน มาทางด้านหน้า) แต่ที่วิหารนี้นั้นมีการประดับ หลังคาด้วยหางหงส์และช่อฟ้า ซึ่งหางหงส์กับ ช่อฟ้าไม่ใช่ของสุโขทัย ศิลปะสุโขทัยจะใช้ช่อฟ้า เป็นเซรามิก เรียกว่า “ทวย”
พระเหลือ >> ในสมัยที่พญาลิไทหล่อพระพุทธรูปสาม องค์นั้นมีทองเหลือ จึงหล่อ “พระเหลือ” เพิ่มอีก องค์ ต�ำแหน่งของพระเหลืออยู่ตรงนี้มาตั้งแต่แรก แต่วา่ ภายหลังได้มกี ารสร้างอาคารเสริม พระเหลือ มีขาดหน้าตักประมาณ 16 – 20 นิ้ว
140
<< ประตูลายมุก ประตูเข้าวิหารพระพุทธชินราชจะเป็น ประตูลายมุก สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าบรมโกศ อยุธยาตอนปลาย ข้างๆ ลายมุกจะมีจารึกปีพ.ศ. ที่สร้าง สร้างเมื่อประมาณพ.ศ.2277 ในสมัยที่ รัชกาลที่ 1 สร้างโบสถ์วัดพระแก้วก็ไม่ได้ถอด ประตูไป แต่ให้ช่างมาคัดลอกลายประตูนี้ไปสร้าง ลายรดน�้ำบนประตูวัดพระแก้วชุดนั้น
141
142
D Ja Thawee Folk Museum
143
DaY 4
- วันที่ 4
144
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี
จ่าทวี ปัจจุบันอายุ 80 กว่าปี ตอนหนุ่มท่านรับราชการ ท่านมีพรสวรรค์ ท่านชอบปั้น ท่านเป็นคนปั้นพระพุทธ ชินราช เผอิญวันหนึ่งค่ายทหารประจ�ำ เมืองพิษณุโลกอยากจะสร้างอนุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวร ท่านก็เลยรับอาสา ว่าท่านจะปั้น แต่ว่าต้องส่งท่านไปเรียน ปั้นหล่อกับอาจารย์ศิลป์ พีระศรี ที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทางกรมทหารก็ เลยส่งท่านไป เพราะฉะนั้นท่านจ่าทวีจึง ได้ไปอยู่ที่มหาวิทยาลัยศิลปากรหนึ่งปีเต็ม ท่านทั้งปั้นทั้งหล่อ แล้วถึงกลับมาสร้าง อนุสาวรีย์เพราะทางกรมทหารตอนนั้น ไม่มีเงิน ท่านก็เลยท�ำจนส�ำเร็จ พอส�ำเร็จแล้วภายหลังท่านก็ ท�ำโรงหล่อพระพุทธชินราช แล้วท่านก็ ปั้น-หล่อพระพุทธชินราชเป็นธุรกิจไป จน กระทั่งวันหนึ่งมีเจ้าอาวาสวัดหนึ่งมาเห็น ผลงานของท่าน ก็เลยจะให้ท่านไปปั้น พระประธาน จ่าทวีก็บอกว่าไม่แน่ใจว่าจะ ท�ำได้มั้ย แต่พระท่านก็บอกว่ายอม เชื่อว่า ท�ำได้ ก็ให้ท่านไปท�ำ ตั้งแต่ครั้งนั้นก็ท�ำให้ ท่านได้มีโอกาสสร้างงานชิ้นใหญ่ ท�ำให้
ท่านมีรายได้มากขึ้น แล้วก็มีคนเชื่อถือ มากขึ้น จ่าทวีมีวิสัยทัศน์ที่ดี ท่านเห็น ศิลปะพื้นบ้าน ของใช้ตามบ้านเป็นของ มีค่า ท่านก็เลยซื้อเก็บจนเต็มบ้าน แล้ว ต่อมาพอท่านมีฐานะขึ้น ท่านก็ส่งลูกสาว ไปเรียนโบราณคดี พอจบก็ให้ลูกสาวต่อ จนถึงปริญญาโท แล้วให้มาท�ำพิพิธภัณฑ์ ท่านเป็นหนี้ธนาคารอยู่ 18 ล้าน เพื่อจะ ซื้อที่ดินเพิ่มแล้วก็ขยายท�ำอาคาร สุดท้าย พอท่านท�ำอาคารเสร็จท่านก็ไม่เก็บเงินคน เข้าดู เพราะประสบการณ์ของท่านตอน หนุ่มที่ไปกรุงเทพคืออยากเข้าพิพิธภัณฑ์ แล้วไม่มีเงิน ท่านก็เลยใช้ความทรงจ�ำนั้น มาเปิดพิพิธภัณฑ์แล้วให้คนบริจาคเอา ที่ นี่ก็เลยเป็นหนี้มาเรื่อยๆ สุดท้ายท่านก็เลย ต้องขายที่นาประมาณ 180 ไร่ เพื่อมา ปลดหนี้ ได้ประมาณไร่ละแสน นี่เป็นสาเหตุให้จ่าทวีมีความ ผูกพันกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ถ้าเมื่อ 20 ปีที่แล้วพาเด็กมา ท่านก็จะมาพาเดิน ชมเอง แต่เวลานี้ท่านอายุมากแล้ว แล้วก็ ฝึกคนรุ่นใหม่ขึ้นมาพาชมแทน
145
เรือนจำลองครัวไฟ่ ครัวไฟเป็นห้องครัวสมัยก่อน มี “หินสามเส้า” หรือ “ก้อนเส้า” เรียกว่า ก้อนเส้าเพราะว่าเป็นก้อนหินที่อยู่หน้าไฟ หินที่อยู่หน้าไฟนานๆ จะท�ำให้สีของหิน เกิดความหม่นหมอง เขาจึงเรียกมันว่า ก้อนเส้า “แม่สีไฟ” เป็นก้อนสี่เหลี่ยม ที่รองเตาด้านล่าง ท�ำมาจากดินเหนียว ผสมแกลบ เอาไปอัดให้แน่นแล้วตากให้ แห้ง แล้วก็เอามารองไว้แบบนี้เพื่อป้องกัน ความร้อนและสะเก็ดไฟ “กะลากันมด” เป็นกะลาครึ่งซีก เวลาใช้จะเอาไม้ที่มีลักษณะตอขอเสียบ ลงไปในรูกะลา แล้วเอาดินเหนียวอุดในรู กะลาไว้ เวลาใช้งานก็จะน�ำมาแขวน เอา น�้ำเทใส่ลงไปในกะลา เวลาที่มดจะไต่ลง มากินกับข้าว เจอน�้ำในกะละก็จะไต่ลงมา ต่อไม่ได้แล้ว ต้องไต่กลับขึ้นไปนั่นเอง “เส้นสาแหรก” เป็นเส้นที่ใช้ คล้องกับข้าว ท�ำมาจากหวาย จะต้องมี การเปลี่ยนให้ใหม่อยู่เสมอ เพราะหวาย ถ้าทิ้งไว้นานๆ มันจะกรอบ แล้วกับข้าว
ก็จะหล่นสู่พื้นกระดานบ้าน คนโบราณ เชื่อว่าการที่กับข้าวหล่นสู่พื้นกระดาน เป็นลางบอกเหตุที่ไม่ดี นั่นคือบ้านแตก สาแหรกขาดนั่นเอง “กระไดบ้าน” กระไดกับบันได บ้านจะต่างกัน ถ้าบันไดจะยึดติดกับตัว บ้านหรือใช้ตะปูตอกติดกับบ้านเอาไว้ แต่ถ้าเป็นกระไดบ้านจะสามารถยกเก็บ ได้ หรือสามารถยกไปที่ไหนก็ได้ ถ้าลอง สังเกตจะเห็นว่าหัวกระไดทั้งสองฝั่งสูงไม่ เท่ากัน ข้างขวาหรือข้างที่สูงกว่าจะเรียก ว่าพ่อกระได ด้านซ้ายหรือข้างที่ต�่ำกว่า จะเรียกว่าแม่กระได ส่วนขั้นที่ก้าวเดินจะ เรียกว่าลูกกระได สาเหตุที่เค้าท�ำให้หัว กระไดสูงไม่เท่ากันนั้นเอาไว้ใช้ในตอนที่ จะหาบน�้ำขึ้นบ้าน คนส่วนใหญ่จะถนัด ขวา ใช้มือขวาจับราวกระได ส่วนมือซ้าย หาบน�้ำ พอเราหมุนตัวหาบน�้ำขึ้นบ้าน น�้ำ จะได้ไม่ต้องชนหัวกระไดหก
146
กระต่ายขูดมะพร้าว >> เรียกว่ากระต่ายขูดมะพร้าวเพราะว่า เหล็ ก หรื อ ว่ า ฟั น ที่ ยื่ น ออกมา เหมื อ นฟั น ของ กระต่ายที่มีความคมมากๆ แต่แต่ละภาคจะเรียก ไม่เหมือนกัน ถ้าเป็นภาคเหนือจะเรียก “แมวขูด” บ้านไหนทีม่ ฝี มี อื หน่อยก็อาจจะเอาไม้มาแกะสลัก เป็นรูปแมวด้วยก็ได้ แต่ถา้ เป็นภาคกลางกับอีสาน ก็จะเรียกกระต่ายขูดมะพร้าว บ้านไหนที่มีฝีมือก็ แกะเป็นรูปกระต่ายเหมือนกัน ส่วนภาคใต้จะเรียก ว่า “เหล็กขูด” เพราะว่าจะท�ำมาจากโลหะทั้งอัน เลย กระต่ายทีม่ ถี าดรองจะแสดงถึงฐานะทาง สังคมของบ้านนั้นๆ ยิ่งมีการแกะสลักที่ อ่อนช้อยเท่าไหร่ จะยิ่งแสดงถึงความมีฐานะของ บ้ า นหลั ง นั้ น ๆ กระต่ า ยขู ด มะพร้ า วมี ส องเพศ เหมือนกัน กระต่ายตัวผู้จะเป็นตัวสูงๆ ยาวๆ ให้ ผู้ชายนั่งคร่อมขูดมะพร้าว ส่วนใหญ่จะท�ำมาจาก รากไม้แล้วยกทรงสูงขึ้น ส่วนกระต่ายตัวเมียจะ เป็นตัวต�่ำๆ ให้ผู้หญิงนั่งไพล่ขูด
147
148
เรือนจำลองพาไล >> พาไลในสมัยก่อน ก็คือระเบียงบ้านหรือชาน บ้ า น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ยื่ น ออกมานอกตัวบ้านแล้ว ยกใต้ถุนสูง ใต้ถุนบ้านเค้า จะเอาไว้เก็บพวกเครือ่ งมือ การเกษตร พวกจอบ พล่า เสียม
<< กระดิ่งก้ามปู ส่วนบนพาไลหลักๆ เลย จะเอาไว้ส�ำหรับรับแขก เวลาที่ ไม่มีแขกก็สามารถเลี้ยงลูกก็ได้ หรือว่าท�ำกับข้าวหรือซักผ้าก็ได้ จุดเด่นของพาไลจะมี “กระดิ่ง ก้ามปู” หรือ “โมบายก้ามปู” ท�ำ มาจากก้ามปูนา เวลากลางวันตอน ลมพัดมันจะส่งเสียงเป็นโมบาย ตกแต่งชายคาบ้าน แต่ถ้าเป็นเวลา กลางคืน คนโบราณเชื่อว่ามันจะ สามารถเป็นเครื่องรางป้องกันผี กระสือได้อีกด้วย เพราะก้ามปูน่า มันจะมีปุ่มแหลมๆ แล้วเขาก็จะ เอามาแขวนไว้เยอะๆ เลย
149
<< หลังคาบ้านที่มัด รวมเป็นกระจุก
ส่วนอย่างที่สองก็คือ หลังคาบ้านที่มัดเป็นกระจุกๆ แบบนี่ เค้าเอาไว้ท�ำเป็นรางริน เวลาที่ฝนตกลงมาน�้ำจะได้ไหลมา รวมๆ กันแล้วก็หาโอ่งหรือพาชนะ มารองรับด้านล่าง
150
ที่เวลาหนูวิ่งเข้ามาใกล้กรง มันจะได้เห็นอาหารใน กรง พอหนูมันเห็นอาหารมันก็จะวิ่งรอบกรงหา ทางเข้า พอมันเข้าไปแล้วเหยียบไม้กระดาน กลไก ตาแมวก็จะท�ำงาน แล้วลูกกลมก็จะกลิ้งมาหนีบ หางหนู พอหางโดนหนีบ สัญชาติญานหนูก็จะ ท�ำให้มันตกใจแล้ววิ่งไปข้างหน้า มันก็จะวิ่งชนกรง เข้าไปข้างหน้า แล้วในกรงจะมีข้าวอยู่แค่ปริมาณ ครึ่งเดียวที่หนูต้องกิน ก็คือมันจะกินไม่อิ่ม แล้วมัน ก็จะร้อง พอมันร้องก็จะมีเพื่อนมา เพื่อนเข้าใจว่า หนูเรียกไปกินข้าวก็จะเข้าอีกทางนึง แล้วกลไกก็ จะท�ำงานแบบเดิม เมื่อหนูอยู่ด้วยกันมากๆ ก็จะ กรงตาแมว ช่วยกันส่งเสียงร้องดังขึ้น เรียกให้หนูตัวต่อไปเข้า มานั่นเอง “กรงตาแมว” เอาไว้ดักหนูนาส�ำหรับท�ำ ไม้ที่ท�ำเหลื่อมออกมาตรงทางเข้า เค้าจะ เป็นอาหาร ที่เรียกว่ากรงตาแมวเพราะตาของมัน เอาไว้คัดไซส์หนู ถ้าหนูตัวเล็กไปมันจะปีนขึ้นมาไม่ สองข้างเปรียบเสมือนตาของแมว กลิ้งไปกลิ้งมา ได้ หรือถ้ามันปีนขึ้นมาได้ เวลาเหยียบไม้กระดาน เหมือนตาของแมวที่คอยสอดส่องดูหนูอยู่ตลอด น�้ำหนักมันจะเบา ท�ำให้กลไกกระดานหกไม่ท�ำงาน เวลา ด้านในกรงจะเป็นกลไกกระดานหก เวลากด เค้าไม่นิยมกินหนูตัวเล็กเพราะเค้าบอกว่าเนื้อมัน มือลงไป ไม้กระดานก็จะเอียง ตาแมวก็จะกลิ้งไป น้อยแกงไม่อร่อย หรือถ้าหนูตัวใหญ่เกินไปก็จะเข้า อยู่ในข้างที่ต�่ำกว่า ช่องตาแมวมาไม่ได้ ไม่นิยมกินเหมือนกันเพราะ เวลาใช้งานก็คือเค้าจะน�ำเหยื่อหรือว่า หนังมันเหนียว เป็นที่มาของค�ำว่า “แก่เกินแกง” อาหารไปใส่ไว้ในช่องด้านหลัง แล้วก็หาไม้มาปิด นั่นเอง ให้สนิท แล้วข้างๆ กรงเขาจะท�ำเป็นซี่ระแนง เพื่อ
151
กรงดักเม่น >> “กรงดักเม่น” เม่นในสมัย ก่อนจะน�ำเนื้อไปท�ำเป็นอาหาร ส่วน ขนของมันจะน�ำไปฝนเป็นยารักษา โรคผิวหนังได้ ถ้าเป็นกรงใหญ่แบบนี้ จะเรียกว่า “ชุดักเม่น” ชาวบ้านจะ เอาชุดักเม่นไปวางไว้ที่ทางเข้าออก ของเม่น เวลาเม่นวิ่งออกมาเจอชุดัก เม่นก็จะตกใจแล้วก็พองขนขึ้น พอพองขนขึ้นก็จะติด เดินหน้าไม่ได้ ถอยหลังไม่ ได้ ส่วนกับดักอันเล็กๆ จะเรียกว่า “งาดักเม่น” วิธีใช้คือจะขุดหลุมลงไปแล้วหา มะม่วงสุกหรือผลไม้ที่มีกลิ่นหอมๆ เอาไปไว้ที่ก้นหลุม แล้วน�ำงาดักเม่นวางทับไว้ บนปากหลุม เวลาเม่นวิ่งมาแล้วได้กลิ่นหอมของมะม่วงสุกเขาก็จะมุดหัวลงไป ยิ่ง อยากกกินเท่าไหร่ก็จะมุดลงไปเรื่อยๆ จนคอเม่นไปติดอยู่ตรงส่วนที่เล็กที่สุดของ งา แล้วที่นี้เม่นขามันสั้น ไม่สามารถที่จะตะกุยเงยหน้าขึ้นมาได้ จึงเป็นที่มาของ ค�ำว่า “ไปมุดหัวอยู่ที่ไหนมา”
<< อีหัน “อีหัน” เอาไว้ดักงู เป็นสัญลักษณ์ของพิพิธภัณฑ์ สาเหตุที่ใช้อีหันเป็นสัญลักษณ์เพราะว่าก่อนที่จะเป็นอาคารหลัง นี้มันเป็นที่ชื้นมาก่อน แล้วก็มีงูชุกชุม คุณลุงจ่าทวีเค้าเชื่อว่าถ้า เอาไม้ไปทุบตีงูมันจะท�ำให้ท�ำมาหากินไม่ขึ้น ท�ำอะไรไม่เจริญ ดัง นั้นเขาจะเอาอีหันไปวางทิ้งไว้หน้ารูงูเฉยๆ ให้งูมันติดจนตายไป เอง (กว่ามันจะตายก็ทรมาณเหมือนกัน) ตอนใช้ให้เอาอีหันไป วางทาบหน้ารูงู แล้วก็เอาสลักไม้เล็กๆ ปักไว้ให้ติดกับพื้นแน่นทั้ง สองฝั่ง ตอนงูเลื้อยออกมาหาอาหาร หัวงูจะเล็กกว่าตัวท�ำให้หัว สามารถลอดผ่านออกมาได้แต่ตัวผ่านไม่ได้ ซึ่งสัตว์ที่เป็นจ�ำพวก มีเกล็ดทุกชนิดเลย เวลาเลื้อยติดอะไรมันจะไม่เลื้อยถอยหลัง พองูติดมันก็จะดิ้น อีหันก็จะส่ายไปส่ายมา เป็นที่มาของชื่อ “อี หัน” นั่นเอง ยิ่งงูดิ้นมากๆ คมไม้ไผ่ตรงนี้ก็จะสามารถบาดงูจน ตายหรือตัดตัวงูขาดเป็นสองท่อนได้เลย เพราะเราจะใช้เฉพาะ ไม้ไผ่ลวกมาสานเท่านั้น ซึ่งไม้ไผ่ลวกมีคุณสมบัติน�ำไปตัดสายรกเหนียวๆ ของ ทารกแรกเกิดได้ (ถ้างูตัวเล็กก็สานให้รูอีหันเล็กลง)
152
กรงดักแมลงสาบ
“กรงดักแมลงสาบ” เวลาใช้งานคือจะเอาเหยื่อหรือเศษ อาหารใส่ไว้ในช่องด้านใน แล้วน�ำสลักไม้ที่มีขนาดพอดีกับปากกรง ปิดเอาไว้ หรือว่าใช้ใบตองแห้งพับทบๆ กันก็ได้ ทีนี้เอาไปวางไว้ที่ ใดที่หนึ่งของบ้าน พอแมลงสาบเห็นมันจะไต่กรงขึ้นไป แล้วก็ลงไป ตามท่อด้านบนเพื่อกินอาหาร แล้วพอกินเสร็จ ขากลับมีทางออกทางเดียวต้องไต่ย้อนขึ้นมา พอไต่ออกมาจะเจอทางโค้งที่มันต้องหงายท้อง ขึ้น สัตว์ที่เป็นแมลงปีกแข็งรวมถึงแมลงสาบ ด้วย พอหงายท้องไปแล้วจะไม่สามารถช่วยตัว เองได้ มันก็จะร่วงลงไปแล้วออกมาไม่ได้ เวลา ที่จะเอามันไปท�ำลายก็คือถอดสลักไม้หรือ ใบตองแห้งออก แล้วเอามันไปเทในแม่น�้ำให้ มันจมน�้ำตายไปเลย หรือว่าเอามันไปเผาไฟ นั่นเอง
<< ลูกมะพร้าวดักลิง
“ลูกมะพร้าวดักลิง” ลิงจะชอบกินกล้วย แล้วก็ชอบเอามือเข้าไปล้วงไปแหย่รู แล้วลิงจะ มีสัญชาติญานคือถ้าก�ำของกินได้แล้ว แล้วยัง ไม่ได้กิน จะไม่ยอมปล่อยมือเด็ดขาดเลย แต่ ถ้าเอากล้วยใส่ลูกมะพร้าว กล้วยมันจะมีความ นิ่ม ลิงสามารถบีบกล้วยจนเละแล้วเอามือออก มาได้ ดังนั้นชาวบ้านจึงใช้ไข่เอาไปต้มให้สุกแล้วทิ้งไว้ 3-4 วัน ไข่มัน จะแข็งก�ำแล้วไม่เละเลย พอลิงเห็นไข่ต้มสุกก็ล้วงมือเข้าไปก�ำไข่ไว้ ไม่ยอมปล่อย มือก็เลยติดอยู่ในลูกมะพร้าวอย่างงั้น คนในสมัยก่อน เขาดักเพื่อน�ำเนื้อลิงไปท�ำเป็นอาหาร แต่ในปัจจุบันดักเพื่อฝึกให้มัน ปีนต้นมะพร้าวหรือท�ำการแสดง
153
จั่นใย
“จั่นใย” เอาไว้ดักปลาตัวใหญ่ๆ เช่นปลาบึก ปลาชะโด เค้าจะเอาจั่นใยไปวางไว้ที่ริมตลิ่งของแม่น�้ำเวลาที่น�้ำมันขึ้น เพราะ นิสัยของปลาใหญ่ก็คือว่ายเขาหาตลิ่ง พอเอาไปวางไว้แล้วเขาก็จะเปิดประตู ของจั่นใยออก ด้านหลังก็จะใช้ไม้ขัด เอาไว้ แล้วก็หาหินก้อนใหญ่ๆ ไปถ่วง ไว้ด้านในของจั่นใยไม่ให้มันลอยไปตาม แม่น�้ำได้ ทีนี้ด้านในจั่นใยจะมีเชือกอยู่ เชือกพวกนี้จะผูกติดกับสลักไม้ที่ผูกไว้ ด้านบน ถ้าเป็นปลาตัวเล็กๆ ก็จะว่าย ลอดเชือกไปได้ แต่ถ้าเป็นปลาตัวใหญ่ ก็จะว่ายชนเชือก พอปลาว่ายชนเชือก สลักไม้ก็จะหลุด ประตูจั่นใยก็จะปิดลง แล้วพอปลาดิ้น ปกหลกที่โผล่พ้นน�้ำขึ้น มาก็จะสั่นส่งเสียงว่าปลาติดแล้ว (ปก หลกเป็นกระดิ่งไม้รูปแบบเดียวกับที่ใช้ คล้องคอวัวควาย)
ลอบอกแตก >> “ลอบอกแตก” อุปกรณ์ดักปลา ด้านใน จะเป็นไม้ไขว้กัน ปลาจะเข้าไปได้แต่ออกไม้ได้ เพราะไม้มันขัดๆ กันหลายๆ ชั้นขวางทางไว้อยู่
154
<< มวยทะเล วิธีเล่นจะใช้การกระตุกเชือก ในสมัยก่อนจะนิยม ให้เด็กที่ก�ำลังหัดเขียนหนังสือเป็นคนดึง เพราะว่ากล้าม เนื้อมัดเล็กจะได้แข็งแรงและเขียนหนังสือออกมาสวยๆ เวลาที่ดึงแล้วมันเกิดความเพลิดเพลิน เป็นการฝึกสมาธิไป ในตัวด้วยนั่นเอง
จับปิ้ง >> เป็นกางเกงในของเด็กผู้หญิงสมัยก่อน จะใส่ตั้งแต่เริ่มเดินได้ถึงอายุ 7 ขวบ บ้านไหนที่มี ฐานะจะท�ำจับปิ้งมาจากทองค�ำ เงิน หรือว่านาก แต่บ้านไหนที่ไม่ค่อยมีเงิน ก็จะท�ำจับปิ้งจากไม้ หรือว่ากะลา เด็กคนในที่วิ่งเก่งๆ ดื้อๆ เค้าจะท�ำ จับปิ้งจากไม้เนื้อแข็ง ท�ำให้มันใหญ่ๆ หนาๆ พอ วิ่งแล้วจับปิ้งก็จะไปตีโดนอวัยวะเพศ เป็นการ ฝึกมารยาทผู้หญิงไปในตัวด้วยนั่นเอง สังเกตได้ จากเวลาผู้หญิงสมัยก่อนใส่ผ้าถุงก็จะเดินอย่าง เรียบร้อย
155
เรือนจำลองอยู่ไฟ
คนสมัยก่อนเวลาคลอดลูก ก็จะคลอดลูกในบ้าน แล้วก็จะหมอ ต�ำแยเป็นคนท�ำคลอด แต่ก่อนที่จะ เริ่มท�ำคลอดจะต้องมีการไหว้ครูกัน ก่อน จะต้องตั้งขันข้าว ของที่ไว้ใช้เซ่น ไหว้ก็จะมีกล้วยน�้ำว้าสุก 3 ผล ธูป 3 ดอก หมาก 3 ค�ำ บุหรี่ 3 มวน เงิน 6 สลึง เหล้าขาวครึ่งขวดใหญ่หรือหนึ่ง ขวดเล็ก ก่อนที่แม่ของเด็กจะคลอด เค้าจะให้แม่นอนอยู่บนพื้นฟาก เป็น พื้นที่ท�ำมาจากไม้ไผ่ล�ำใหญ่ๆ น�ำมีด มาสับๆ แล้วตีให้แตกแบเป็นแผ่น ครั้งแรกที่เด็กคลอดออกมา หมอต�ำแยจะน�ำศีรษะของทารกมา กระทบกับพื้นฟากเบาๆ เพื่อให้เด็ก เปล่งเสียงร้องเป็นสัญญาณชีพ นั่น ก็คือ “เวลาตกฟาก” หรือเวลาเกิด นั่นเอง พอคลอดออกมาแล้วก็จะน�ำ เด็กไปนอนไว้บนกระด้ง เพราะเชื่อว่า เด็กจะได้อยู่ในกรอบ อยู่ในศีลธรรม ใต้ที่นอนจะใส่สมุด ดินสอ เข็ม และ ทรัพย์สินมีค่าต่างๆ เอาไว้ เพราะเชื่อ
ว่าเด็กจะได้มีสติปัญญาที่หลักแหลม เหมือนเข็มนั่นเอง ถ้าเด็กคลอดออกมาเป็นผู้ หญิง เขาจะตัดสายรกใส่กระบอก ไม้ไผ่แล้วฝังไว้ที่ใต้ถุนเรือนของบ้าน เพราะเค้าเชื่อว่าเด็กผู้หญิงจะได้อยู่กับ เหย้า เฝ้ากับเรือน แต่ถ้าเป็นเด็กผู้ชาย เขาจะตัดสายรกใส่กระบอกไม้ไผ่แล้ว เดินเข้าป่าไปหาต้นไม้ใหญ่ที่แผ่กิ่ง ก้านสาขาเยอะๆ แล้วขุดดินไปให้ถึง รากแก้วแล้วก็ฝังกระบอกไม้ไผ่ลงไป เป็นการฝังรกฝังราก เชื่อว่าจะท�ำให้ เด็กผู้ชายไม่ลืมบ้านเกิดเมืองนอนของ ตัวเอง ผ้าสีด�ำที่คลุมตัวเด็กอยู่เรียก ว่าผ้ากระโจม เชื่อว่าสามารถพรางตา ภูตผีปีศาจได้ แต่ในหลักความเป็นจริง คือมันสามารถป้องกันแมลงหรือยุงได้ หลังคลอดลูกแล้ว แม่ของ เด็กจะต้องมานอนอยู่ไฟ คือการนอน ใกล้ๆ เตาไฟ แล้วทาน�้ำอุ่น เช็ดตัว ด้วยน�้ำอุ่นเท่านั้น เวลานอนจะนอน
ตะแคงซ้ายหรือตะแคงขวา หันหน้า ท้องเข้ากองไฟ จะไม่นอนหงาย คน สมัยสมัยก่อนเชื่อว่า การนอนหงายจะ ท�ำให้เลือดไปติดไขสันหลังของแม่เด็ก อาจท�ำให้แม่เด็กพิการหรือเสียชีวิต ได้นั่นเอง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ใน สมัยก่อนไม่มีการเย็บแผล แล้วเวลา แม่นอนหงาย เลือดก็จะไหลออกมา เยอะและท�ำให้ความดันต�่ำ จะท�ำให้ แม่เสียชีวิตได้นั่นเอง ที่ใต้ถุนบ้านนั้นจะหาไม้ที่มี ลักษณะแหลมๆ ใส่เอาไว้ เช่นหนาม พุทรา หนามไม้ไผ่ เอาไว้ป้องกันผี กระสือ แต่ในหลักความเป็นจริง มัน เอาไว้ป้องกันไม่ให้สุนัขเข้าไปคุ้ยเขี่ย เลือดของแม่ได้ด้วย ส่วนตรงหน้า บ้านก็จะมีใบไม้แห้งๆ ห้อยอยู่ เป็น ใบสัปปะรดหรือว่าใบหนาด เชื่อว่า สามารถป้องกันภูตผีปีศาจได้ทุกชนิด
156
อาวุธ
“ปืน” จังหวัด พิษณุโลกเป็นสถานที่พระ ราชสมภพของสมเด็จพระ นเรศวร สิ่งที่น่าสนใจจึงเป็น อาวุธที่พระนเรศวรใช้รบกับ พม่า นั่นคือปืน มีสามชื่อ เรียกคือ “ปืนกลไฟ” “ปืน คาบศิลา” และ “พระแสง ปืนต้น” เป็นปืนรูปแบบเดียว กับที่พระนเรศวรใช้ยิงข้าม แม่น�้ำสะโตง แต่ถ้าเป็นปืน ของกษัตริย์จริงๆ ตรงปลาย กระบอกปืนจะต้องยาว 2 เมตรเท่านั้น “สามง่าม” แทงหนึ่ง ครั้งได้ถึงสามแผลเลยทีเดียว แล้วแต่ความแคบห่างของตัว ง่าม
“หอกขอ” เวลาแทง ต้องแทงเข้าไปให้สุด ใช้มือ บิดนิดนึง แล้วกระชากออก มา มันจะเกี่ยวลากไส้ออก มาด้วย เป็นที่มาของค�ำว่า “หอกลากไส้” นั่นเอง “หลาว” เป็นแท่ง ไม้ไผ่แหลม ใช้วิธีพุ่งไปแทง ศัตรูเลย ไม่ต้องถือไว้กับมือ แต่ถ้าเป็นระยะประชิดอาจ จะใช้แทง แล้วมันอาจจะหัก คาล�ำตัวของศัตรู จึงเป็นที่มา ของค�ำว่า “หอกหัก” นั่นเอง
157
ไม้ตะพด ในสมัยก่อนจะนิยม ท�ำให้มีสี่คืบ เค้าบอกว่าการ เลือกจับไม้ตะพดจะสามารถ บอกลักษณะนิสัยหรือ อัตลักษณ์ของคนคนนั้นได้ เลย ถ้าเลือกจับคืบที่หนึ่ง (ล่างสุด) เวลามีเรื่องแล้ว เอาไปตีหัวเค้า น�้ำหนักมัน จะลงเต็มที่เพราะหัวตะพด เป็นเหล็ก ท�ำหัวอีกฝ่ายแตก ได้ คือจะต้องติดคุก อาจจะ โดนประหารชีวิต ถ้าเลือกจับ คืบที่สองแสดงว่าพวกนี้เป็น อันธพาล เวลามีเรื่องแล้ว จับตรงนี้ไปตีหัวเค้า น�้ำหนัก มันจะเบาลงมาหน่อย หัวไม่
แตก แค่หัวโน พวกนี้อาจจะ ติดตาราง คือต้องท�ำความ ดีถึงจะได้ออกมา คืบที่สาม เอาไว้ชี้นิ้วสั่งคน เป็นพวก ขุนนาง คืบที่สี่คือคนแก่จับ ค�้ำยันตัวเองเวลาเดิน เป็น พวกเจ้าพระยา เรียกทั้งสี่ คืบรวมกันว่า “คุก ตาราง ขุนนาง เจ้าพระยา” นั่นเอง
158
อาคารที่ 2 – ประวัติ เมืองพิษณุโลก
เรือนแพรอบแม่น�้ำน่าน ในภาพจะเป็นรูปแม่น�้ำน่านแล้วก็บ้าน เรือนแพในสมัยก่อน เป็นภาพที่ถ่ายก่อนพ.ศ.2500 เป็นหนึ่งในค�ำขวัญของจังหวัดพิษณุโลกด้วย คือ “พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นก�ำเนิดพระนเรศวร สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ หวานฉ�่ำแท้กล้วยตาก ถ�้ำ และน�้ำตกหลากตระการตา” คนพิษณุโลกในสมัย ก่อน เขาจะนิยมอาศัยอยู่บนบ้านเรือนแพเยอะ มากๆ บริเวณหน้าวัดใหญ่ โบสถ์ของวัดใหญ่จะหัน หน้าลงมาทางแม่น�้ำ แล้วก็มีบ้านคนยาวออกมา ประมาณ 3-4 กิโลเมตร แต่ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 20-30 หลังคาเรือนเท่านั้น เพราะว่าหลวงบอก ว่าการที่มีเรือนแพอยู่เยอะๆ อย่างนี้มันจะท�ำให้เสีย ทัศนีย์ภาพแล้วก็ท�ำให้น�้ำเน่าเสีย เค้าก็เลยให้ชาว แพอพยพขึ้นมาอยู่บนพื้นดิน คนไหนที่ไม่ยอมอพยพ ขึ้นมาหรือว่าไม่มีที่ให้อยู่จริงๆ จะต้องย้ายแพให้ห่าง
จากหน้าวัดใหญ่ออกไป ให้ไปอยู่ทางวัดจันทร์ตะวัน ตก และวัดจันทร์ตะวันออกแทน ในปัจจุบันจะไม่ ค่อยมีบ้านคนแล้ว จะเป็นร้านอาหารซะส่วนใหญ่ จังหวัดพิษณุโลกจะมีอยู่สองชื่อเรียก ชื่อ เรียกแรกคือ “เมืองสองแคว” มีแม่น�้ำสองสายไหล มาบรรจบกันคือแม่น�้ำแควน้อยกับแม่น�้ำแควใหญ่ (แม่น�้ำน่าน) ส่วนชื่อเรียกที่สองคือ “เมืองอกแตก” เพราะมีแม่น�้ำไหลผ่านใจกลางเมือง ส่วนบ้านในสมัยก่อนจะเป็นบ้านไม้ทุกหลัง เลย เป็นบ้านสองชั้นเป็นส่วนมาก แต่ว่ามีเหตุการณ์ เพลิงไหม้ครั้งใหญ่ของพิษณุโลกเกิดขึ้น เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2500 มีเด็กชายอายุ 4 ขวบ น�ำไม้ขีด ไปจุดเล่นบนชั้นสองของบ้าน ประกายไฟดีดไปโดน ตู้เสื้อผ้าท�ำให้เกิดเพลิงไหม้ถึง 950 หลังคาเรือน มี ผู้บาดเจ็บ 50 คน ไม่มีผู้เสียชีวิตเลย แต่มีผู้ประสบ
>>
159
สินค้าโอทอปพิษณุโลก สินค้าโอทอปของจังหวัดคือ ลายผ้าปัก แฮนด์เมด
ภัยถึง 6,650 คน ไฟไหม้ตั้งแต่สองโมงเช้า ถึงหกโมงเย็นเลย เพราะว่าในสมัยก่อน รถดับเพลิงมีแค่จังหวัดละคัน ชาวบ้าน ต้องเสียเวลาไปยื้มรถดับเพลิงในจังหวัด ใกล้เคียงมาช่วยดับไฟ ท�ำให้ใช้เวลาเยอะ (ครอบครัวของเด็กชายที่เป็นต้นเหตุเพลิง ไหม้นั้น พอจบเหตุการณ์เพลิงไหม้แล้ว ทั้งหมดก็ย้ายครอบครัวไปอยู่กรุงเทพเลย) สมัยก่อนผู้น�ำของจังหวัดพิษณุโลกเรียกว่า เจ้าเมือง
160
161
162
163
164
165
166
167
168