การบริการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน

Page 1

คู่มือ การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน การบริการแนะแนวอาชี พ ของกรมจัดหางาน

กระทรวงแรงงาน กรมการจัดหางาน


การแนะแนวอาชี พ

ข้อมู ลอาชี พและข้อมู ลเกี่ยวกับ ทิศทางของตลาดแรงงาน

รู ้จักตัวเอง รู ้จักอาชี พ รู ้ทิศทางตลาดแรงงาน

มีงานทําตรงตามความรู ้ความสามารถ และความถนัด


คํานํา การแนะแนวและการให ข  อ มู ล เพื่ อ เตรี ย มความพร อ มแก นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา กอนเขาสูตลาดแรงงาน จะชวยใหนักเรียน นักศึกษา สามารถตัดสินใจเลือกศึกษาตอ หรือเลือกประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม อันจะสงผลใหเกิดการมีงานทําอยางยัง่ ยืน ลดปญหา การวางงาน และการเปลี่ยนงานไดในระยะยาว สําหรับการแนะแนวเพื่อเตรียมความพรอม ใหกบั นักเรียน นักศึกษา จําเปนตองใชเครือ่ งมือประกอบการแนะแนว เพือ่ ชวยใหการแนะแนว มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การทดสอบศักยภาพตาง ๆ ก็เปนเครื่องมือหนึ่งที่สามารถชวยให นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา มี แ นวทางในการตั ด สิ น ใจเลื อ กศึ ก ษาต อ หรื อ เลื อ กประกอบอาชี พ ไดอยางเหมาะสมตรงความตองการของตลาดแรงงาน เอกสารการแนะแนวอาชีพฉบับนี้ จัดทําขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ แสดงขอมูลและ รายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับวิธีดําเนินการตามกระบวนการแนะแนวอาชีพ ตั้งแตความหมาย ของการแนะแนวอาชีพ จุดมุง หมายของการแนะแนวอาชีพ หลักสําคัญของการแนะแนวอาชีพ ประโยชนของการแนะแนวอาชีพจนถึง แนวทางการเลือกอาชีพ ทั้งนี้ เพื่อใหครูแนะแนว ในสถานศึกษาสามารถแนะแนวอาชีพแกนกั เรียน นักศึกษา ตามกระบวนการแนะแนวอาชีพ ของกรมการจัดหางานไดอยางถูกตอง กระทรวงแรงงาน โดยกรมการจัดหางาน หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสาร การแนะแนวอาชีพฉบับนี้ จะชวยเสริมสรางความเขาใจใหกบั ผูม หี นาทีใ่ นการแนะแนวอาชีพ ใหทราบถึงแนวทางการดําเนินงานและสามารถนําขอมูลไปประกอบการแนะแนวอาชีพ ไดอยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตอไป กรมการจัดหางาน สิงหาคม 2559


สารบัญ บทที่ 1

การแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพ ความหมายของการแนะแนวอาชีพ จุดมุงหมายของการแนะแนว หลักสําคัญของการแนะแนวอาชีพ ประโยชนของการแนะแนวอาชีพ แนวทางการเลือกอาชีพ บุคลิกภาพกับการเลือกอาชีพ

หนา 6 7 9 10 12 13 15

บทที่ 2

บทบาทหนาที่ตามมติคณะรัฐมนตรี บทบาทหนาที่ตามมติคณะรัฐมนตรี บทบาทหนาที่ของกรมการจัดหางาน บทบาทหนาที่ของหนวยงานดานการศึกษา

18 21 25

บทที่ 3

ภารกิจดานการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน ภารกิจดานการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน การดําเนินงานดานการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน กระบวนการบริการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน

27 28 31

บทที่ 4

ภารกิจหลักของกรมการจัดหางาน ภารกิจดานตาง ๆ ของกรมการจัดหางาน หนวยงานและสถานที่ตั้งในสังกัดกรมการจัดหางาน

33 36


บทที่ 1 การแนะแนวอาชี พ


บทที่ 1 การแนะแนวอาชี พ การแนะแนวอาชี พ การแนะแนวอาชีพเปนเรือ่ งสําคัญยิง่ ถือวาเปนสวนหนึง่ ของการเตรียมกําลังแรงงาน ของประเทศใหมีความพรอมในการประกอบอาชีพกอนเขาสูตลาดแรงงาน ซึ่งควรเริ่มตั้งแต ระดับประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการชวยเหลือบุคคล ใหสามารถรูจ กั ตนเอง รูจ กั พัฒนาตนเองอยางมีเหตุผลและใชปญ  ญาในการแกไขปญหาโดยมี ขอมูลประกอบ การแนะแนวไดมมี านานแลวจนกลายเปนศาสตรหนึง่ ปจจุบนั ไดรบั การรับรองวา เปนสิ่งประดิษฐอยางหนึ่ง ใชคําวา “Social Invention” เปนสิ่งที่มนุษยไดกลั่นกรองคิดคน ขึ้นมาเพื่อจะชวยมนุษยดวยกันและเปนเครื่องมือที่จะแกปญหาในเรื่องของการเลือกเรียน เพือ่ จะเตรียมตัวไปสูอ าชีพ การแนะแนวอาชีพจะตองดําเนินการอยางตอเนือ่ งเพือ่ ความสําเร็จ ในอนาคต งานแนะแนวเปนการชวยเหลือบุคคลใหสามารถพัฒนาตนเองใหถึงขีดสูงสุด ของความสามารถ กล า วคื อ ช ว ยเพิ่ ม ให บุ ค คลได เ ป น หรื อ ได รั บ ในสิ่ ง ที่ เ หมาะสม กับตัวเขาใหมากที่สุด การแนะแนวจึงมิใชความพยายามที่จะทําใหบุคคลไดเปนหรือไดรับ ในสิ่ ง ที่ ผู  แ นะแนวต อ งการคาดหวั ง หรื อ เห็ น ว า เหมาะสม ดั ง นั้ น นั ก แนะแนวจะต อ งมี การศึกษา พิจารณา และทําความเขาในตัวบุคคล รวมทัง้ ปฏิบตั งิ านไปในลักษณะทีจ่ ะเอือ้ อํานวย ใหบคุ คลไดเขาใจตนเองและพรอมทีจ่ ะพัฒนาตนเองใหถงึ ขีดสูงสุดของความสามารถของเขา


บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

7

ความหมายของการแนะแนวอาชี พ “แฟรงค พารสันส” (Frank Parsons) บิดา แหงการแนะแนวอาชีพใหความหมายวา การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) เปนกระบวนการสนับสนุน และสงเสริมเพื่อใหประชาชนมีงานทํา โดยสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน ทั้งนี้ โดยมุงหวังใหเกิด ความเขาใจในโลกของอาชีพและการทํางาน ซึ่งจะทําให สามารถเลี้ ย งดู ต นเองและครอบครั ว อย า งยั่ ง ยื น ไป การแนะแนวอาชีพจะชวยใหเกิดความเขาใจและสามารถ ตัดสินใจเลือกอาชีพไดดวยตนเอง อยางสอดคลองเหมาะสมกับความรูความสามารถ ความถนัด ความเขาใจ คานิยม ของสังคม ตลอดจน สภาวะทางเศรษฐกิจ สวั ส ดิ์ สุ ว รรณอั ก ษร (2542, 143-144) กล า วถึ ง การแนะแนวอาชี พ ว า เปนกระบวนการหนึ่งในการ 1) ชวยใหบุคคล รูจักและเขาใจตนเองอยางลึกซึ้งทุกดาน คือ สติปญญา ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และอุปนิสัยใจคอวาเหมาะกับงานหรือ อาชีพใด 2) ชวยใหบคุ คลรูจ กั และเขาใจโลกของงานอาชีพตาง ๆ และองคประกอบของงาน เชน ลักษณะ ของงานอาชีพคุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ เงินเดือนหรือรายไดความมั่นคงในงาน โอกาส กาวหนาในงาน สภาพปจจุบันและแนวโนมของตลาดแรงงานในอนาคตสําหรับงานอาชีพ ตาง ๆ เหลานี้ เปนตน 3) ชวยใหบุคคลรูจักเลือกและตัดสินใจ เลือกงานอาชีพอยางฉลาด ถูกตองเหมาะสมกับอัตภาพ 4) ชวยใหบุคคลรูจักตัดสินใจเลือกอยางฉลาดในการเขารับ การศึกษาและฝกอบรมในวิชาชีพตาง ๆ 5) ชวยใหบุคคลไดมีโอกาสพัฒนาบุคลิกลักษณะ ของตนใหเหมาะกับงานอาชีพ เชน ความอดทน ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย ความขยัน หมั่นเพียร ความตรงตอเวลา ความรวมมือในการทํางาน เปนตน 6) ชวยใหบุคคลไดมีโอกาส สัมผัสกับงานอาชีพตาง ๆ ตามความเหมาะสมกับวัย และ 7) ชวยใหบุคคลสามารถปรับตน ใหเขากับงานอาชีพ จนประสบความสําเร็จและมีความสุขในงานอาชีพของตน


8

บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

วัชรี ทรัพยมี 2538, ใหความหมายของการแนะแนวอาชีพวา การแนะแนวอาชีพ หมายถึง กระบวนการชวยเหลือบุคคลใหเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอม สรางเสริมใหเขามี คุณภาพเหมาะสมตามลักษณะบุคลิกภาพของตน คนพบและพัฒนาศักยภาพของตน มีทกั ษะ การดําเนินชีวติ รูจ กั ตัดสินใจในการเลือกอาชีพ แกปญ  หาในชวงวิกฤติ วางแผนการประกอบ อาชีพ และสามารถปรับตัวไดอยางมีความสุขในชีวติ ไดพฒ ั นาตนเองใหถงึ ขีดสุดในดานอาชีพ ดังนั้น การแนะแนวอาชีพจึงเปน กระบวนการชวยเหลือและสนับสนุนเพื่อให บุคคลเขาใจในโลกของอาชีพและการทํางาน สามารถทําใหผูที่ไดรับการแนะแนวรูจักคิด และตัดสินใจในการทํางานตามความเหมาะสม ของบุคลิกภาพแตละบุคคลและตามความ ถนัดของตนเอง โดยยึดหลักในการแนะแนว อาชีพดังนี้ คือ 1. การวิเคราะหบคุ คล นักแนะแนว จะชวยผูมารับบริการวิเคราะหคุณสมบัติ ตาง ๆ เชน ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด บุคลิกภาพ 2. การวิเคราะหอาชีพ นักแนะแนว จะช ว ยให ผู  รั บ บริ ก ารมี ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ อาชีพ เชน มีความรูเกี่ยวกับลักษณะอาชีพ ความตองการของตลาดเกี่ยวกับอาชีพนั้น ๆ เวลาและทุนทรัพยที่ใชในการเตรียมตัวเพื่อ ประกอบอาชีพ 3. การใชวจิ ารณญาณในการตัดสินใจ เลือกอาชีพ นักแนะแนวชวยใหผูรับบริการ ตั ด สิ น ใจเลื อ กอาชี พ โดยอาศั ย หลั ก การ วิเคราะหตนเองและวิเคราะหอาชีพประกอบกัน


บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

9

á¹Ðá¹Ç

ÍÒªÕ¾ จุ ดมุ ่งหมายของการแนะแนว การแนะแนวเปนกระบวนการชวยเหลือบุคคล โดยใชเทคนิคและกลวิธีตาง ๆ เพือ่ ชวยใหบคุ คล แตละคนบรรลุความสําเร็จสูงสุดทีเ่ หมาะกับความสามารถและความตองการ ของตัวเขา นักแนะแนวไมควรมีหนาที่แกปญหาใหกับผูมีปญหา แตควรพยายามหาหนทาง ชวยใหผูประสบปญหาสามารถแกปญหาไดดวยตัวเอง ซึ่งวิธีการนี้ตรงกับความตองการของ ผูมีปญหา กลาวคือ จากการสํารวจความตองการของนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการชวยเหลือ ที่ พึ ง ประสงค พ บว า นั ก ศึ ก ษาร อ ยละ 76.2 ต อ งการให ผู  แ นะแนวช ว ยให เ ขาสามารถ แกปญ  หาไดดว ยตัวเอง นอกจากนีน้ กั แนะแนวควรชวยใหบคุ คลสามารถพัฒนาตัวเองไดอยาง เหมาะสมดวย สําหรับการที่จะทําใหบุคคลแตละคนสามารถพัฒนาตนเองจนถึงขีดสูงสุดนั้น ควรมีการกําหนดจุดมุงหมายของการทํางานที่ชัดเจน เพื่อจะไดสามารถดําเนินการใหเปนไป ตามเปาหมายหลักที่วางไว ซึ่งจุดมุงหมายของการแนะแนวควรกําหนดไว ดังนี้ 1. การพยายามทําใหบุคคลรูจักตนเอง (Self-Understanding) เปนการทําให บุคคลรูขอดี ขอบกพรองของตนเองทั้งทางดานอารมณ สติปญญา ความสามารถ และ ความถนัด เปนตน 2. การพยายามชวยใหบคุ คลสามารถตัดสินใจไดดว ยตัวเอง (Self- Determination) เปนความพยายามที่จะทําใหบุคคลรูจักหาหนทางตัดสินปญหาและเลือกแนวทางในการ แกปญหาไดดวยตัวเอง 3. การชวยใหบคุ คลเกิดการปรับตัว (Self-Adjustment) เปนการชวยสนับสนุน ใหบคุ คลยอมรับตนเองทัง้ จุดดีและจุดบกพรอง จนเกิดการตัดสินใจแกปญ  หาและนําพาตนเอง ไปสูการพัฒนาที่เหมาะสมตามลําดับ


10

บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชี พ

หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพมีหลักการวา หากบุคคลใด ไดศึกษาหรือทํางานที่ตรงกับความถนัด ความ สนใจ และอุปนิสัยใจคอแลว เขายอมมีความ สุขและสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพกวาการที่ตองปฏิบัติงานในสิ่งที่ไมชอบ ไมถนัด หรือไมเหมาะสมกับอุปนิสยั ของตน ดังนัน้ ในการแนะแนวอาชีพ จําเปนจะตองยึดถือ หลักการที่สําคัญ ดังตอไปนี้

หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชี พ

1. จะตองจัดใหเปนกระบวนการตอเนือ่ งกันไป นับตัง้ แตเด็กกอนเขาเรียน ระหวาง เรียน และภายหลังเมื่อเด็กจบการศึกษาไปแลว 2. จะตองจัดเพื่อเด็กทุกคน ไมใชเฉพาะเด็กที่มีปญหาเรื่องอาชีพเทานั้น 3. จะต อ งถื อ ว า เด็ ก เป น ศู น ย ก ลางสํ า คั ญ ในการให บ ริ ก ารแนะแนวอาชี พ โดย คํานึงถึงความแตกตางของแตละบุคคล ซึง่ มีสติปญ  ญา ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และอุปนิสัยใจคอแตกตางกัน รวมทั้งศักยภาพในตนซึ่งอาจแตกตางกัน 4. จะตองถือวาเด็กทุกคนยอมจะมีศักดิ์ศรีแหงความเปนคน ซึ่งมีสิทธิและเสรีภาพ ที่จะเลือกและตัดสินใจเลือกแนวทางชีวิตในดานการงานอาชีพของตน โดยไมมีการบังคับ และถือวาเด็กจะตองรับผิดชอบในการกระทําของตน 5. จะตองจัดบริการแนะแนวอาชีพใหครบทัง้ 5 บริการ ใหเปนกระบวนการตอเนือ่ ง กันไปดุจลูกโซเริ่มตั้งแต 5.1 บริการสํารวจเด็กเปนรายบุคคล เพือ่ ชวยใหเด็กรูจ กั และเขาใจตนเองวามี สติ ป  ญ ญาความสามารถ ความถนั ด ความสนใจ และอุ ป นิ สั ย ใจคอหรื อ บุ ค ลิ ก ภาพ เหมาะกับงานอาชีพอะไร 5.2 บริการสนเทศ เพื่อใหขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับโลกของงานอาชีพตาง ๆ และความตองการของตลาดแรงงาน ทัง้ เพือ่ ใหเด็กมีเจตคติทดี่ ตี อ งานอาชีพสุจริตทุกชนิดดวย


บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

11

หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชี พ

5.3 บริการใหคาํ ปรึกษาเพือ่ ชวยเด็กรูจ กั ตัดสินใจเลือกแนวทางประกอบอาชีพ อยางฉลาดและถูกตองเหมาะสมกับอัตภาพ 5.4 บริการจัดวางตัวบุคคล เพื่อชวยใหเด็กไดมีโอกาสเลือกวิชาชีพเหมาะกับ งานอาชีพตาง ๆ ที่สนใจดวยการฝกงาน ทดลองงานเพื่อหาประสบการณในระหวางศึกษา 5.5 บริ ก ารติ ด ตามผลและประเมิ น ผล เพื่ อ บริ ก ารให ค วามช ว ยเหลื อ ในระหวางศึกษา ระหวางฝกงานหรือลองงานหรือทํางานเพื่อหารายไดพิเศษตลอดจน เมื่อออกไปประกอบอาชีพแลว 6. การบริหารงานแนะแนวอาชีพและการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพ จะตองประสาน สัมพันธและสอดคลองกับการปฏิบัติงานดานอื่น ๆ ของโรงเรียน เชน การจัดแผนการเรียน การจัดการเรียนการสอนตามหลักการ 7. จะตองมีบุคลากรหรือคณะบุคลากรผูมีความศรัทธาตองานนี้เปนผูรับผิดชอบ ในการกําหนดนโยบาย วางโครงการและวางแผนปฏิบัติงานแนะแนวอาชีพในโรงเรียน 8. จะตองไดรบั ความรวมมือ และมีการติดตอประสานงานกับหนวยงานและ องคกร ตาง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชนในชุมชนหรือภายนอกโรงเรียน เพื่อรับและใหบริการ ทั้งเพื่อ ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให ง านแนะแนวอาชี พ ดํ า เนิ น ไปอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและอย า งเป น ระบบครบถวนตามหลักการแนะแนว 9. ในการแนะแนวอาชีพแตละระดับจะตองคํานึงถึงวัยและความพรอมของเด็ก เปนสําคัญ กลาวคือ ในระดับประถมศึกษาเด็กยังไมถึงวัยที่จะเลือกอาชีพหรือทํางาน ทั้งยังไมสนใจในเรื่องอาชีพมากนัก แตเปนวัยที่ควรปลูกฝงเจตคติที่ดีตออาชีพตาง ๆ ควรให เด็กรักการทํางาน และมีกิจนิสัยในการทํางาน 10. ผูจ ดั บริการแนะแนวอาชีพ จะตองมีความรูก วางขวางเกีย่ วกับโลกของงานอาชีพ เชน ความตองการของตลาดแรงงานทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต ลักษณะของงานอาชีพตาง ๆ สภาพสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับงานคุณสมบัติตาง ๆ ของผูทํางาน ระเบียบการรับสมัครงาน เงินเดือน หรือคาจาง สวัสดิการและโอกาสกาวหนาในอาชีพประเภทของอาชีพตาง ๆ


12

บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชี พ

11. จะตองมีเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ ที่จําเปนตามสมควร เชน แบบทดสอบ ความถนัด แบบสํารวจความสนใจ ความสามารถและบุคลิกภาพที่พอเชื่อถือได เพื่อชวย ใหเด็กรูจักตนเองอยางถูกตอง จะตองมีแฟมประวัติของเด็ก หรือระเบียบสะสมสําหรับ ประมวลขอมูลเกี่ยวกับตัวเด็ก เพื่อความสะดวกในการใหบริการแนะแนวอาชีพไดถูกตอง 12. จะตองจัดระบบการใหขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ และความ ตองการดานตลาดแรงงานอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพในรูปแบบตาง ๆ เชน เอกสาร สิ่งพิมพ โปสเตอร สไลด วีดิโอเทป ภาพยนตร เปนตน เพื่อกระตุนความสนใจเจตคติที่ดี และคานิยมที่ถูกตองในอาชีพตาง ๆ 13. จะตองพยายามใหเด็กผูป กครองและทรัพยากรตาง ๆ ในชุมชนเขามามีสว นรวม มากที่สุดเทาที่จะทําไดในโครงการและกิจกรรมตาง ๆ ของการแนะแนวอาชีพ ทั้งจะตอง ประชาสัมพันธเผยแพรใหเด็ก ครู ผูปกครอง และชุมชน ทราบและมองเห็นความสําคัญ

ประโยชน์ของการแนะแนวอาชี พ 1. รูจ กั เลือกอาชีพทีเ่ หมาะสมกับความสามารถของตน เชน ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ บุคลิกภาพ ความตองการของตนเอง เปนตน 2. ใหรูจักโลกของงานอาชีพ เชน อาชีพตาง ๆ ที่อยูในชุมชนนั้น ๆ ลักษณะงานของ อาชีพ คุณสมบัติของบุคคลที่จะประกอบอาชีพ หรืองานยอยในอาชีพตาง ๆ ความกาวหนา รายได ความมั่นคง การฝกอบรมที่จะเขาสูอาชีพตาง ๆ 3. ใหรูจักเตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ เชน การเขารับการอบรมในอาชีพตาง ๆ เพื่อใหมีความรูความสามารถในอาชีพนั้น ๆ เชน การซอมคอมพิวเตอร การแสวงหางาน การสมัครงาน การเขารับการสัมภาษณ เปนตน


บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

13

แนวทางการเลือกอาชี พ การเลือกอาชีพมีความสําคัญ ผูท จี่ ะเริม่ เขาสูอ าชีพควรจะไดรขู อ มูลตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับ อาชีพใหมากที่สุดกอนที่จะตัดสินใจเขาสูอาชีพนั้น ๆ เพราะธรรมชาติทําใหคนเรามีอะไร ที่แตกตางกัน มีความสนใจแตกตางกัน มีความสามารถแตกตางกัน มีบุคลิกภาพแตกตางกัน จึงประกอบอาชีพที่แตกตางกัน และเมื่อกลาวถึงคําวา "อาชีพ" เชื่อแนวาคนทุกคนจะนึกถึง อาชีพที่แตกตางกันออกไป บางคนอาจกําลังนึกถึงอาชีพนักบิน นักวิทยาศาสตร นักธุรกิจ ขาราชการ ทหาร ตํารวจ แอรโฮสเตส พนักงานโรมแรม หรือนักการเมือง ขึน้ อยูก บั ความคาดหวัง หรือความคิดของแตละคน แนวทางการเลือกอาชีพประกอบดวย ประการแรก ตองรูจ กั ตัวเอง โดยเริม่ จากการสํารวจรูปรางและลักษณะของรางกาย สติปญญาและความสามารถ อารมณและจิตใจ คานิยม ทุนทรัพย ความชอบหรือความสนใจ บุคลิกภาพ และความถนัดของตนเอง คงไมมีใครรูจักตัวเราเองดีเทากับตัวเรา อยางไรก็ตาม นั ก จิ ต วิ ท ยาเขาก็ มี เ ครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ วั ด บุ ค ลิ ก ภาพหรื อ ความถนั ด เพื่ อ ค น หาตนเองว า มีความชอบ มีบุคลิกลักษณะหรือความถนัดดานไหน ประการที่สอง ตองรูจักอาชีพ ผูที่รูจักอาชีพและมีความพรอมของขอมูลอาชีพ ทีด่ มี กั จะตัดสินใจเลือกเรียนในสาขาวิชาคณะหรือสถาบันการศึกษาทีต่ นเองไดพจิ ารณาแลว และเมือ่ ตัง้ ใจเรียนจนสําเร็จการศึกษาก็มกั จะไดงานทําไมตอ งอยูใ นภาวะตกงานหรือวางงาน หลายคนมักจะเรียนโดยปราศจากหลักการ ไมยดึ หรือไมคาํ นึงถึงอาชีพทีจ่ ะตองทําในอนาคต ขอเพียงเรียนใหจบหรือเลือกเรียนตามกระแสเพื่อน เพื่อนเรียนอะไรที่สถาบันไหนก็ตาม ไปเรียนดวย ซึ่งไมใชหลักการเลือกเรียนที่ดี ขอมูลอาชีพที่ควรรู เชน ลักษณะงาน คุณสมบัติ ของผูประกอบอาชีพ โอกาสกาวหนาในอาชีพ เปนตน


14

บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

ประการที่สาม รูทิศทางตลาดแรงงาน การพิจารณาเลือกอาชีพ มีแนวทางดังนี้ 1. ตองศึกษาติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจสังคมโลก ดวยการ หมั่นอานขาวหนังสือพิมพ คนหาขอมูลจากสื่ออินเตอรเน็ท รายงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ แนวโนมความตองการแรงงานโดยประเด็นที่ควรสนใจเปนพิเศษ คือ อาชีพที่จะเกิดขึ้นใหม ซึ่งมักจะเปลี่ยนแปลงไปตามเศรษฐกิจสังคมของโลกและประเทศ สําหรับประเด็นที่กลาว ถึงกันมากในชวงทศวรรษนี้เห็นจะไดแก การเปด“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งมีสาขาอาชีพแหงอนาคต ที่เปนที่ตองการของตลาด หลังเปด AEC เกิดขึ้นเปนจํานวนมาก 2. ตองทราบแนวโนมของเศรษฐกิจและรายไดของประเทศ ขอนี้มีหลักการงายๆ คือ “การจะเลือกประกอบอาชีพใด ควรดูจากรายไดของประเทศวามาจากภาคเศรษฐกิจ หรืออุตสาหกรรมใด การจะเลือกประกอบอาชีพใดใหดูจากรายไดหรือคาตอบแทนแรงงาน ในอาชีพนั้น” แนนอนวาทุกคนหวังที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีบาน มีรถ และมีเงินทองสําหรับ ใชสอยในชีวติ ประจําวัน เพราะฉะนัน้ ผูเ ขาสูต ลาดแรงงานใหมจงึ ควรติดตามและสังเกตอาชีพ รอบตัวที่พบเห็นในสังคม มีวิธีการอยูวิธีการหนึ่ง เรียกวา “การวิจัยอาชีพ” โดยผูที่สนใจ ทีจ่ ะประกอบอาชีพใด ใหทาํ การวิจยั ดวยการสํารวจอาชีพทีเ่ ราสนใจหรืออาชีพทีเ่ ราใฝฝน ไว และสอบถามจาก ผูร ู (Key Person) 3 คน คือ นายจาง ผูป ระกอบอาชีพนัน้ อยูแ ละหนวยงานผลิต กําลังคนหรือสถาบันการศึกษา ทีอ่ อกแบบหลักสูตรการศึกษาตาง ๆ เพราะกลุม บุคคลเหลานี้ จะมีขอมูลและทราบแนวโนมสถานการณ สภาพการทํางานที่เกี่ยวของกับอาชีพที่เราสนใจ เมือ่ เราเก็บรวบรวมขอมูลไดแลวจึงนํามาสังเคราะหและสรุป เพือ่ เปนทางเลือกในการตัดสินใจ วาเหมาะสมที่เราจะเรียนตอในสาขาวิชานั้น ๆ หรือไม สรุป แนวทางการเลือกประกอบอาชีพเริ่มจาก ตองรูจักตนเอง ตองรูจักอาชีพ รูทิศทางตลาดแรงงาน


บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

15

บุ คลิกภาพกับการเลือกอาชี พ บุคลิกภาพมีอิทธิพลตอการเลือกอาชีพ โดยบุคคลจะเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับ บุคลิกภาพของตน บุคลิกภาพเฉพาะอยางจะมีความสัมพันธกบั อาชีพเฉพาะอยาง ทฤษฎีการ เลือกอาชีพของจอหน แอล ฮอลแลนด มีแนวคิดพื้นฐาน 4 ประการ ประการที่ 1 อาชีพเปนเครื่องแสดงออกทางบุคลิกภาพ บุคคลจะเลือกอาชีพใด ยอมแสดงวาบุคลิกภาพของเขาจะปรากฏออกมาในทิศทางเดียวกัน ประการที่ 2 บุคลิกภาพของเขาแตละบุคคลมีความสัมพันธกบั ชนิดของสิง่ แวดลอม ในการทํางานของบุคคลนัน้ ดังนัน้ บุคคลจึงมีแนวโนมจะหันเขาหางาน หรืออาชีพทีส่ อดคลอง กับบุคลิกภาพของเขา ประการที่ 3 บุคคลจะคนหาสิ่งแวดลอมที่เอื้ออํานวยใหเขาไดฝกทักษะ และใช ความสามารถของเขา ทัง้ ยังเปดโอกาสใหเขาไดแสดงเจตคติ คานิยม และบทบาทของเขา ประการที่ 4 บุคลิกภาพและสิ่งแวดลอมจะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของแตละ บุคคล ดังนั้น เมื่อสามารถทราบบุคลิกภาพและสิ่งแวดลอมของบุคคลแลว ก็จะทําใหทราบ ผลที่จะติดตามมาของบุคคลนั้นดวย เชน การเลือกอาชีพ ความสําเร็จในอาชีพ ตลอดจน ทั้งพฤติกรรมตาง ๆ ทั้งการศึกษาอาชีพและสังคมดวย การเลือกอาชีพและสาขาวิชาที่จะศึกษาใหเหมาะสมกับตัวเอง โดยเนนเรื่องของ บุคลิกภาพ บุคคลแตละบุคลิกภาพที่แตกตางกัน แตละคนจะมีลักษณะที่ชี้เฉพาะตนไมวา จะเปนรูปราง หนาตา ผิวพรรณ หรือนิสัยใจคอ มีนักวิชาการบางทานไดใหความหมายของ คําวา "บุคลิกภาพ" คือ ลักษณะสวนรวมของบุคคล ซึ่งประกอบดวยสิ่งที่ปรากฏทางรางกาย นิสัยใจคอ ความรูสึกนึกคิด และพฤติกรรมรวมของบุคคลนั้น ซึ่งไดรวมอยูดวยกันอยาง ผสมกลมกลืนในตัวบุคคลนั้น รวมถึงสิ่งที่เขาชอบและไมชอบ สิ่งที่เขาสนใจและไมสนใจ เปาหมายตาง ๆ ในชีวิตของเขา สิ่งจูงใจตาง ๆ ของเขา ความสามารถดานตาง ๆ ของเขา ลักษณะบุคลิกภาพเฉพาะของแตละคนนั้น หากบุคคลรูจักและเขาใจบุคลิกภาพของตนเอง จนสามารถมองตนไดตามสภาพความเปนจริง ยอมชวยใหบุคคลตัดสินใจเลือกแนวทางชีวิต การศึกษาและอาชีพไดอยางสอดคลองกับตัวเองมากที่สุด ลักษณะของบุคลิกภาพเฉพาะของแตละคนนัน้ หากบุคคลรูจ กั และเขาใจ บุคลิกภาพ จนสามารถมองตนไดตามสภาพความเปนจริง ยอมชวยใหบุคคลตัดสินใจเลือก แนวทางชีวิต การศึกษา และอาชีพไดอยางสอดคลองกับตัวเองมากที่สุด


16

บทที่ 1 : การแนะแนวอาชี พ

บุ คลิกภาพนัน้ เกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง 1. ทางกายภาพ หมายถึง รูปรางหนาตาดี ยอมสงผลใหผูสัมภาษณสนใจไดบาง และตนเองก็มีความภูมิใจมั่นใจยิ่ง ถามีสุขภาพที่แข็งแรงวองไวในการทํางานยิ่งนาประทับใจ 2. ทางสมอง สมองดีไมมโี รคภัยไขเจ็บก็จะทําใหเขามีความทรงจําดี เชาวน ปญญาดี แตตองเปนผลจากการศึกษาอบรมพื้นฐานดวย 3. ความสามารถ อาศัยประสบการณ และความถนัดจากการฝกฝน 4. ความประพฤติ เปนผูอยูในศีลธรรม สุภาพออนโยน มีมนุษยสัมพันธ ไมเปน ปฏิปกษกับสังคม 5. ชอบเขาสังคมมีทัศนคติที่ดีตอผูอื่น การแสดงออกตอเพื่อนฝูง ไมเห็นแกตัว มีนํ้าใจตอผูอื่น ไมอวดตัว 6. อารมณดี ใจเย็น ไมฉุนเฉียว อดกลั้นโทสะได 7. กําลังใจ เปนคนที่จิตใจเขมแข็ง ไมทอถอย ไมเสียขวัญงาย


บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี


บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี บทบาทที่สําคัญบทบาทหนึ่งของกรมการจัดหางานคือ การลดความเหลื่อมลํ้า ของสังคมและการสรางโอกาสเขาถึงบริการของรัฐ โดยการสรางโอกาสการมีอาชีพและการมีรายได ที่มั่นคงแกผูที่เขาสูตลาดแรงงาน สงเสริมใหแรงงานทั้งระบบมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู และพัฒนาทักษะในทุกระดับ โดยการเตรียมความพรอมการเขาสูป ระชาคมอาเซียนซึง่ เปนสังคม ที่มีความหลากหลาย โดยสรางความเขมแข็งและความพรอมแกแรงงานไทยกอนเขาสู ตลาดแรงงาน หากไมมกี ารเตรียมความพรอมกอนเขาสูต ลาดแรงงาน ก็อาจจะทําใหไดงานทีม่ ี คาตอบแทนนอย หรืออาจมีปญ  หาการวางงานหรือตกงานก็ได การไดงานทีม่ คี า ตอบแทนนอย หรือมีปญหาการวางงาน ตกงาน ก็จะนําไปสูปญหาความยากจนและนําไปสูปญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งปญหาสวนตัว ปญหาครอบครัว และปญหาสังคม ซึ่งสุดทายก็จะกลายเปน ปญหาของประเทศ ในเรื่องของความเหลื่อมลํ้าทางสังคม และเรื่องขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศ เปนตน การแนะแนวอาชีพและการสงเสริมการประกอบอาชีพ เปนกระบวนการสําคัญ ที่จะสามารถชวยแกไขปญหาดังกลาวได โดยการเตรียมคนในดานความรู ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และบุคลิกภาพ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน หากนักเรียน นักศึกษา ผูว า งงาน ไดเลือกศึกษาตอหรือประกอบอาชีพตรงกับความรู ความสนใจ ความถนัดและบุคลิกภาพของตนเองก็จะทําใหทาํ งานไดอยางมีความสุข ลดปญหาการเปลีย่ นงาน หรือออกจากงาน ทําใหประสบผลสําเร็จมีความกาวหนาในอาชีพและมีรายไดที่เหมาะสม สําหรับบทบาทของกรมการจัดหางานที่สําคัญในชวงนี้ ไดแก การเขามามีบทบาท ในการชวยลดปญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย อันเนือ่ งมาจากสาเหตุและปจจัยหลาย ประการ ทัง้ สาเหตุจากประเทศไทยมีการผลิตกําลังแรงงานไมตรงกับความตองการของตลาด แรงงาน สังคมไทยเริม่ เขาสูส งั คมผูส งู อายุ และขาดการเตรียมความพรอมใหกบั กําลังแรงงาน กอนเขาสูตลาดแรงงานในแตละชวงวัยและชวงการศึกษา ทําใหกําลังแรงงานเลือกศึกษา ตอและเลือกประกอบอาชีพอยางไรทิศทาง สงผลใหเกิดความไมสอดคลองในตลาดแรงงาน และปญหาการวางงาน


บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

นอกจากนี้กระทรวงแรงงานโดย กรมการจัดหางาน ไดเสนอใหคณะรัฐมนตรี พิ จ ารณาให ค วามเห็ น ชอบให ก ระทรวง แรงงานรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานตาง ๆ ที่ จั ด ให มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ร ว มมื อ กั น แก ป  ญ หาผลิ ต กํ า ลั ง คนไม ต รง ตลาดแรงงาน ปญหาการขาดแคลนแรงงาน และการทํางานตํ่าระดับ ซึ่งจะกระทบตอ รายไดและคุณภาพชีวิตของตัวแรงงานและ ขีดความสามารถของประเทศในการแขงขัน โดยใหดาํ เนินการใหนกั เรียนระดับมัธยมศึกษา ปที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 ม.5 และ ม.6) ทุ ก คนต อ งได รั บ การแนะแนว การศึกษาและอาชีพกอนสําเร็จการศึกษา ตามกระบวนการแนะแนวครบถวนทุกขัน้ ตอน ซึ่งคณะรัฐมนตรีก็ไดมีมติเห็นชอบแนวทาง การเตรี ย มความพร อ มแก กํ า ลั ง แรงงาน กอนเขาสูต ลาดแรงงานดังกลาว เมือ่ วันอังคารที่ 29 ธันวาคม 2558 โดยเห็นชอบใหกระทรวง แรงงานรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานตาง ๆ ที่ จั ด ให มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ดํ า เนิ น การให นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ป ที่ 3 และมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายทุ ก คน ตองผานการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ กอนสําเร็จการศึกษา ตามกระบวนการแนะแนว ครบถวนทุกขั้นตอน

19


20

บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี การแนะแนวการศึกษาและอาชีพเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหนักเรียน มีความ สามารถในการวางแผนการศึกษา และอาชีพไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงาน เพราะกระบวนการแนะแนวอาชีพจะทําใหนกั เรียนไดมขี อ มูลสําคัญ 3 ประการ ทีจ่ าํ เปนตองใชในการวางแผนการศึกษาและอาชีพ คือ ประการแรก ขอมูลเกีย่ วกับศักยภาพ ของตนเอง ประกอบดวย ระดับสติปญญา (IQ) ลักษณะความฉลาดทางอารมณ (EQ) และ ความถนัดทางอาชีพ ซึง่ จะทราบไดโดยการทําแบบทดสอบในเรือ่ งตาง ๆ ดังกลาว ประการที่ สอง ขอมูลเกีย่ วกับโลกของอาชีพ กลาวคือ การทีน่ กั เรียนจะวางแผนอาชีพไดนนั้ จําเปนทีจ่ ะ ตองมีความรูเ กีย่ วกับลักษณะและเสนทางความกาวหนาของอาชีพตาง ๆ และประการสุดทาย นักเรียนจะตองรูขอมูลเกี่ยวกับทิศทางของตลาดแรงงาน เพื่อวางแผนการศึกษาใหตรง กับความตองการของตลาดแรงงาน การใหคาํ ปรึกษา สงเสริม และใหบริการแนะแนวอาชีพตามความถนัดแกประชาชน ซึ่งหมายรวมถึงนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพื่อเตรียมความพรอมในการ เขาสูต ลาดแรงงาน ทัง้ นี้ เพือ่ ใหไดงานทําทีเ่ หมาะสมกับความรู ความสามารถ และความถนัด ของแตละบุคคล การดําเนินการแนะแนวการศึกษาและอาชีพแกนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ใหมีประสิทธิภาพ และทั่วถึงนั้น จะตองไดรับความรวมมือจากผูบริหารของสถานศึกษา และครูแนะแนวในการจัดใหมีการทดสอบศักยภาพของนักเรียนแตละคน เพื่อเปนขอมูลแก นักแนะแนว ประกอบดวย การทดสอบระดับสติปญ  ญา (IQ) การทดสอบความฉลาดทางอารมณ (EQ) และการทดสอบความถนัดทางอาชีพ และจะตองมีการดําเนินการรวมกันกับเจาหนาที่ ของกรมการจัดหางานในลักษณะเครือขายดวย การดําเนินการใหนักเรียนที่จะสําเร็จ


บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

21

การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย ไดรับการแนะแนวอาชีพ อยางทั่วถึง มีวัตถุประสงคสําคัญคือเพื่อใหรูศักยภาพของตนเอง มีความรูเรื่องโลกของอาชีพ และทิศทางตลาดแรงงาน เพือ่ ใหมคี วามสามารถในการวางแผนการศึกษาและอาชีพ และเตรียม ความพรอมกอนเขาสูตลาดแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีไดมีมติ เห็นชอบ เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2558 ดังนี้ 1. ใหความเห็นชอบใหกระทรวง แรงงานรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานตาง ๆ ที่ จั ด ให มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ดําเนินการใหนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนไดรับการ แนะแนวการศึ ก ษาและอาชี พ ก อ นสํ า เร็ จ การศึ ก ษาตามกระบวนการแนะแนวครบ ถวนทุกขัน้ ตอน โดยกระทรวงแรงงานใหการ สนับสนุนแบบทดสอบศักยภาพตาง ๆ และ การประมวล การทดสอบในระบบออนไลน แกนักเรียนและสนับสนุนขอมูลอาชีพและ ขอมูลเกี่ยวกับทิศทางของตลาดแรงงานแก เครือขายครูแนะแนวของสถานศึกษา

2. กํ า หนดให ก ารแนะแนว การศึ ก ษาและอาชี พ แก นั ก เรี ย นระดั บ มัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนเปาหมายและตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน ประจําปของสถานศึกษาดวย

บทบาทหน้าที่ของกรมการจัดหางานมีดังนี้ 1. ใหการสนับสนุนแบบทดสอบศักยภาพตาง ๆ และการประมวลการทดสอบ ในระบบออนไลน (Online) แกนักเรียน แบบทดสอบตาง ๆ ไดแก 1.1 แบบวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาตอและการเลือกอาชีพ แบบวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาตอและการเลือกอาชีพ เปนแบบวัดที่จัดทําขึ้น เพื่อใหนักเรียน นักศึกษา หรือผูที่สนใจทั่วไปไดทดสอบวัดบุคลิกภาพของตนเอง โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูที่ทําแบบทดสอบไดรูถึงบุคลิกภาพ ความสนใจ และอาชีพที่สอดคลอง กับบุคลิกภาพในแตละบุคลิกภาพ เพื่อใหเกิดแนวคิดในการเลือกอาชีพหรือเลือกศึกษาตอ


22

บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

ทีต่ รงบุคลิกภาพ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง ซึง่ ครูแนะแนวตองใหนกั เรียนในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทุกคน ลงทะเบียนเพื่อเขาไปทําแบบวัดดังกลาว แบบประเมินบุคลิกภาพสําหรับการศึกษาตอและการเลือกประกอบอาชีพจําแนก บุคลิกภาพของบุคคลออกเปน 10 องคประกอบดวยกัน ไดแก นิยมความจริง (Realistic) ชอบคนหา (Investigative) ใฝศิลปะ (Artistic) ชอบสังคม (Social) แคลวคลองวองไว (Enterprising) อนุรักษนิยม (Conventional) ใฝประกอบการ (Entrepreneurship) ตระหนักขามวัฒนธรรม (Culture Awareness) ชอบปรับตัว (Adaptability) และทํางาน เปนทีม (Teamwork) ซึง่ เปนองคประกอบทีค่ รอบคลุมเชิงการทํางานและความสนใจในอาชีพ ของบุคคล โดยแตละองคประกอบมีขอคําถามจํานวน 3 ขอ รวมทั้งสิ้น 30 ขอ ใชระยะเวลา ทําแบบประเมินประมาณ 5 – 10 นาที 1.2 แบบทดสอบภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเปนเครือ่ งมือทีส่ าํ คัญ ที่สุดสําหรับการศึกษาหาความรูในทุกระดับ และสําหรับการติดตอสื่อสารในฐานะที่เปน ภาษาสากลในการติดตอทั่วโลก และภาษา อังกฤษถูกใชมากที่สุดในการติดตอสื่อสาร ทางเครือขายคอมพิวเตอร รวมถึงสือ่ สิง่ พิมพ ตาง ๆ กรมการจัดหางานใหความสําคัญอยาง มาก กับแนวโนมและทิศทางการเปลีย่ นแปลง ในอนาคตของปจจัยแวดลอมทางการศึกษา ความตองการของสังคม และความคาดหวัง ของสาธารณะในประเทศ การวัดและพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษจึงมีความสําคัญมาก สําหรับหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการไดรับขอมูลเบื้องตนของบุคคลากร ทีจ่ ะเขาทํางานในองคกร ตลอดจนเปนขอมูลทีส่ าํ คัญเบือ้ งตนในการวางแนวทางในการพัฒนา บุคลากรขององคกรตอไป กรมการจัดหางานเห็นความสําคัญในดานการพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ ดังกลาวจึงจัดใหมแี บบทดสอบภาษาอังกฤษ สําหรับใชในการทดสอบและวัดผลภาษาอังกฤษ พืน้ ฐานใหกบั นักเรียน นักศึกษา คนหางาน และประชาชนทัว่ ไป โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใชเปน เครือ่ งมือเบือ้ งตนในการเตรียมความพรอมและพัฒนากําลังแรงงาน ใหมศี กั ยภาพในดานทักษะ การใชภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร สําหรับแบบทดสอบจัดทําโดยอาจารยทมี่ คี วามรูท างภาษา


บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

23

และมีประสบการณในการจัดทําขอสอบและแบบทดสอบภาษาอังกฤษจากจุฬาลงกรณ มหาวิยาลัย ซึ่งผูจัดทําไดใชกรอบอางอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เปนสากล ไดแก The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เปนกรอบ ความคิดหลัก ในการจัดการเรียนการสอนภาษา อังกฤษของประเทศไทย ทั้งในการออกแบบ หลั ก สู ต ร การพั ฒ นาการเรี ย นการสอน การทดสอบ การวัดผล 1.3 แบบทดสอบ IQ ระดับสติปญ ญา หรือ ไอคิว (IQ ยอจาก Intelligence quotient) หมายถึง ความฉลาด ทางเชาวน ป  ญ ญา การคิ ด การใชเหตุผล การคํานวณ การเชือ่ มโยง ไอคิว เปนศักยภาพ ทางสมองที่ติดตัวมาแตกําเนิด เปลี่ยนแปลง แกไขไดยาก ไอคิวสามารถวัดออกมาเปน คาสัดสวนตัวเลขได โดยสามารถวัดออกมาเปนคา-สวนตัวเลขที่แนนอนดวยแบบทดสอบ ทางสติปญญา คนสวนใหญมีไอคิวชวง 90-110 สวนคนที่มีไอคิวเกิน 120 ถือวาเปนคนที่มี ไอคิวในระดับสูง เนือ่ งจากไอคิวสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขได จึงมีผใู หความสําคัญกับไอคิวมาโดย ตลอด เด็กทีเ่ รียนเกงจะมีแตคนชืน่ ชม พอแมครูอาจารยรกั ใคร ตางจากเด็กทีเ่ รียนปานกลาง หรือเด็กทีเ่ รียนแยมกั ไมคอ ยเปนทีส่ นใจ หรือถูกดุวา ทัง้ ๆ ทีเ่ ด็กเหลานีอ้ าจจะมีความสามารถ ทางดานอื่น เชน ดนตรี กีฬา ศิลปะ เพียงแตไมมีความถนัดเชิงวิชาการเทานั้นเอง มาในชวง หลัง ๆ ความเชื่อมั่นในไอคิวเริ่มสั่นคลอน เมื่อมีการตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับการวัดและความ สําคัญของไอคิว จนในที่สุดเมื่อ 10 ปที่ผานมา จึงยอมรับกันวาแทจริงแลวในความเปนจริง ชีวติ ตองการทักษะและความสามารถในดานอืน่ ๆ อีกมากมาย ทีน่ อกเหนือไปจากการจําเกง การคิดเลขเกง หรือการเรียนเกง ความสามารถเหลานี้อาจจะชวยใหคน ๆ หนึ่งไดเรียน ไดทํางานในสถานที่ดี ๆ แตคงไมสามารถเปนหลักประกันถึงชีวิตที่มีความสุขได สํ า หรั บ แบบทดสอบระดั บ สติ ป  ญ ญา (IQ) ที่ ก รมการจั ด หางานนํ า มาใช นี้ เปนแบบทดสอบของ www.iqtest.dk ที่กรมการจัดหางานนํามาเชื่อมกับระบบบริการ ดานสงเสริมการมีงานทํา เปนแบบทดสอบทีม่ กี ารวัดผูท ดสอบในเชิงของทักษะดานตาง ๆ ไดแก ทักษะดานคณิตศาสตร ทักษะการคิดเชิงตรรกะ ทักษะดานการมองเห็น ทักษะดานการ


24

บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

จัดหมวดหมู ทักษะดานความจําในระยะสั้น ๆ ทักษะดานความรูทั่วไป และทักษะความเร็ว ในการคํานวณ จึงเปนแบบที่มีความเหมาะสมที่จะใชกับนักเรียน นักศึกษา แบบทดสอบ มีจํานวนทั้งหมด 39 ขอ

1.4 แบบทดสอบ EQ คําวา EQ มาจากคําภาษาอังกฤษวา Emotional Quotient ซึ่งมีคําแปลภาษา ไทยมากมาย เชน เชาวอารมณ, ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ, อัจฉริยะทางอารมณ ในทีน่ ขี้ อใชคาํ แปลวา“ความฉลาดทางอารมณ”หรือ Emotional Intelligence หมายถึงความ สามารถของบุคคลทีจ่ ะตระหนักถึงความรูส กึ ของอารมณตนเองและของผูอ นื่ สามารถควบคุม อารมณตนเองไดสามารถรอคอยการตอบสนองความตองการของตนเองไดอยางเหมาะสมถูก กาลเทศะ สามารถใหกําลังใจตนเองในการเผชิญปญหาอุปสรรคขอขัดแยงตาง ๆ ไดอยาง ไมคับของใจ รูจักขจัดความเครียดที่จะขัดขวางคิดริเริ่มสรางสรรค อันมีคาของตน สามารถ ทํางานรวมกับผูอ นื่ ทัง้ ในฐานะผูน าํ และผูต ามไดอยางมีความสุขจนประสบความสําเร็จในการเรียน ในอาชีพ ตลอดจนประสบความสําเร็จในชีวิต คนที่มี EQ สูง จะเปนคนที่มีความเขาใจตนเองดี รูเทาทันอารมณของตน รูจุดเดน จุดดอยของตน มีความสามารถในการควบคุม และจัดการกับอารมณตัวเองได มีความเขาใจ ผูอ นื่ สามารถเอาใจเขามาใสใจเราได สามารถแสดงอารมณตอ ผูอ นื่ ไดอยางเหมาะสม มีความ สามารถในการแกไขขอขัดแยงไดดี มีความสามารถในการสรางสัมพันธภาพกับคนรอบขางไดดี มีมนุษยสัมพันธที่ดี มองโลกในแงดีสามารถจูงใจและใหกําลังใจตนเองได มีเปาหมายในชีวิต


บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่ตามมติคณะรัฐมนตรี

25

และมีแรงจูงใจที่จะดําเนินชีวิตไปใหถึงเปาหมายที่วางไวได 2. สนับสนุนขอมูลอาชีพและขอมูลเกี่ยวกับทิศทางของตลาดแรงงาน แกเครือขาย ครูแนะแนวของสถานศึกษา และผูที่เกี่ยวของ ขอมูลอาชีพ เปนการชวยใหผูรับบริการรูจักอาชีพที่หลากหลาย โดยเปนการให ขอมูลความสําคัญของการเลือกอาชีพ การใหตัวอยางขอมูลอาชีพใน 10 อุตสาหกรรม เปาหมาย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 ซึง่ เปนกลไกขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ เพื่ออนาคต (New Engine of Growth) จํานวน 10 คลัสเตอร ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรม เสนอ การใหขอ มูลอาชีพตามแนวโนมอาชีพอิสระในอนาคต 3 ป ขางหนา การใหขอ มูลอาชีพ ตามอาเซียน โดยนําเสนอตัง้ แตลกั ษณะงาน สภาพการทํางาน คุณสมบัตขิ องผูป ระกอบอาชีพ สถานฝกอบรมอาชีพ/สถาบันการศึกษา และอาชีพที่เกี่ยวเนื่อง ทิศทางตลาดแรงงาน เปนการแนะนําการใหบริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน ทิศทางตลาดแรงงาน เปนการใหคําแนะนําขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน และชองทาง ที่สามารถเขาถึงแหลงขอมูล ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนดานการหางานทํา แนะแนวอาชีพ หรือแนะแนวการศึกษาตอได ทั้งนี้ เพื่อใหครูแนะแนวสามารถแนะนําใหนักเรียนไดทราบ สถานการณตลาดแรงงาน แนวโนมความตองการแรงงาน และแหลงงาน ตลอดจนทิศทาง ตลาดแรงงานที่นาสนใจ ซึ่งจะเปนประโยชนสําหรับผูที่กําลังเขาสูตลาดแรงงาน ไดใชเปน ขอมูลประกอบการสมัครงาน และเปนขอมูลสําหรับนักเรียน ในการพิจารณาเลือกศึกษาตอ และประกอบอาชีพในอนาคต บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานด้านการศึกษา บทบาทหนาทีข่ องกระทรวงศึกษาธิการ องคกรปกครองสวนทองถิน่ และหนวยงาน ตาง ๆ ที่จัดใหมีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตามมติคณะรัฐมนตรี มีดังนี้ 1. จัดใหนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนตองผาน การแนะแนวการศึกษาและอาชีพกอนสําเร็จการศึกษาตาม กระบวนการแนะแนวครบถวน ทุกขั้นตอน 2. กําหนดใหการแนะแนวการศึกษาและอาชีพแกนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปที่ 3 และมัธยมศึกษาตอนปลายเปนเปาหมายและตัวชี้วัดผลการดําเนินงานประจําป ของสถานศึกษาดวย


บทที่ 3 ภารกิจด้านการแนะแนวอาชี พ ของกรมการจัดหางาน


27

บทที่ 3 ภารกิจด้านการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน การแนะแนวอาชีพเปนภารกิจสําคัญภารกิจหนึ่งของกรมการจัดหางาน เนื่องจาก เปนกระบวนการที่สําคัญตอการเตรียมกําลังแรงงานของประเทศใหมีความพรอมกอนเขาสู ตลาดแรงงาน โดยมีภารกิจหนาที่ในการใหคําปรึกษา สงเสริม และใหบริการแนะแนวอาชีพ ตามความถนัดแกประชาชน เพือ่ เตรียมความพรอมในการเขาสูต ลาดแรงงาน เปนการใหบริการ แนะแนวอาชีพใหกบั ประชาชนทุกกลุม เปาหมาย ตัง้ แตนกั เรียน นักศึกษา คนหางาน ผูป ระกัน ตนกรณีวางงาน และประชาชนทั่วไป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหกลุมเปาหมายไดมีความรู ความเขาใจเรือ่ งการประกอบอาชีพ โดยการใหขอ มูลเกีย่ วกับอาชีพ ขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน แหลงฝกอาชีพ แหลงเงินทุน และขอมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ใหกลุม เปาหมายสามารถนําไป ประกอบการพิจารณาวางแผนและตัดสินใจเลือกอาชีพ/เลือกศึกษาตอไดอยางถูกตอง และเหมาะสมตรงตามความรู ความสามารถ ความสนใจ บุคลิกภาพและความถนัดของตนเอง ปจจุบันการแนะแนวอาชีพเปนการเนนเรื่อง Life Career Development คือ การพัฒนาอาชีพตลอดชีวิต แทนที่จะพัฒนาอาชีพเฉพาะอยางเดียว จึงตองมีการเตรียม ความพรอมทีจ่ ะทํางาน การหางาน กระทัง่ วิธกี ารทีจ่ ะแกไขความเบือ่ งาน และรักษาสุขภาพจิตไว ซึ่งกระบวนการนี้จะตองทําเปนระบบ การแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางานมีหลักการวาหากบุคคลใดไดศึกษาหรือ ทํางานทีต่ รงกับความถนัด ความสนใจและอุปนิสยั ใจคอแลว เขายอมมีความสุขและสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาการทํางานที่ไมชอบ ไมถนัดหรือไมเหมาะสม กับอุปนิสยั ของตน ดังนัน้ ในการแนะแนวอาชีพ จึงควรคํานึงถึงหลักการสําคัญดังตอไปนี้ คือ 1. การแนะแนวอาชีพ เปนการพัฒนาคนใหมคี วามสามารถ และมีโอกาสใชศกั ยภาพ ของตนอยางเต็มที่ในการผลิตงานที่จะกอใหเกิดประโยชนแกสังคม และทําใหบุคคลนั้น เกิดความสุขจากความสําเร็จ ในการทํางาน 2. การแนะแนวอาชีพ เปนกระบวนการชวยเหลือบุคคล ดังนี้ 2.1 รูจักตนเองวาตนมีความถนัด มีความสนใจ มีความสามารถ บุคลิกภาพ เปนเชนไร เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการเลือกงานไดถูกตอง


28

บทที่ 3 : ภารกิจด้านการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน

2.2 รูจ กั ขอมูลทางอาชีพอยางกวางขวางและชัดเจน เชน รูว า อาชีพแตละอาชีพ มีลักษณะอยางไร ผูปฏิบัติงานตองมีคุณสมบัติอยางไรบาง 2.3 รูจักตัดสินใจเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตน โดยพิจารณาโอกาส ความเปน ไปไดทั้งดานคุณสมบัติของตนเองและความตองการดานกําลังแรงงานในอาชีพนั้น 2.4 ไดมโี อกาสศึกษา ฝกฝน อบรม หรือไดสมั ผัสอาชีพนัน้ ๆ ตามความเหมาะสม กับวัย เพือ่ ใหเกิดทักษะ ความสามารถทีจ่ ะออกไปประกอบอาชีพไดทนั ที หรือในบางกรณี เพือ่ เปนการสรางพื้นฐานและเพื่อเปนการเตรียมตัวสําหรับการประกอบอาชีพของตนในอนาคต โดยมีการศึกษาฝกฝนเพิ่มเติม 2.5 การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการที่มุงใหบุคคลตัดสินใจดวยตนเอง โดยยึดหลักในเรื่องของการใหบุคคลเปนผูกําหนดชีวิตของตน 2.6 มีงานทําหลังจากสําเร็จการศึกษา ซึ่งจะเปนอาชีพอิสระหรืออาชีพรับจาง แลวแตกรณี 2.7 ไดรบั การดูแลและติดตามผล หลังจากทีจ่ บการศึกษาหรือไดประกอบอาชีพ แลววาบุคคลนั้น ๆ มีความสามารถเหมาะสมกับงานเพียงใด สามารถ ปรับตัวใหเขากับงาน ไดหรือไม ไดทาํ งานตรงตามความรูค วามสามารถหรือไม เพียงใด ควรมีการแกไขหรือปรับปรุง ในดานใดบาง การดําเนินงานด้านการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน กรมการจัดหางานไดดาํ เนินงานดานการแนะแนวอาชีพภายใตโครงการและกิจกรรม ตาง ๆ โดยการใหบริการแนะแนวอาชีพ ดังนี้ 1. แนะแนวอาชีพกอนเขาสูตลาดแรงงาน 2. แนะแนวอาชีพเพื่อการมีงานทํา 3. แนะแนวอาชีพผูไมอยูในระบบการจางงาน


บทที่ 3 : ภารกิจด้านการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน

29

การแนะแนวอาชี พก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน เปนการเตรียมความพรอมใหแกกําลังแรงงานกอนเขาสูตลาดแรงงาน โดยการใหบริการ แนะแนวอาชีพ และใหคําปรึกษาแกนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทั้งรายบุคคล และรายกลุม ดําเนินการโดย ใหขอ มูลดานอาชีพและการทํางานแกกลุม เปาหมาย ซึง่ มีบริการ ทั้งในสํานักงานและนอกสํานักงาน สําหรับการใหบริการนอกสํานักงาน เชน การใหบริการ ในโรงเรียน/สถานศึกษา เปนตน การแนะแนวอาชี พเพื่อการมีงานทํา เปนการใหบริการแนะแนวอาชีพและใหคําปรึกษาแกผูวางงาน คนหางานที่หา งานยาก ผูประกันตนกรณีวางงานที่ประสงคจะทํางาน ผูที่ตองการประกอบอาชีพอิสระ และมีปญ  หาในการหางานทํา รวมถึงทหารกองประจําการและประชาชนทัว่ ไป โดยการบริการ แนะแนวและใหคําปรึกษาดานอาชีพ เพื่อใหทราบแนวทางการประกอบอาชีพ การเตรียม ความพรอมในการสมัครงาน และการใหขอ มูลดานอาชีพตาง ๆ รวมทัง้ จัดทําขอมูลความตองการ แรงงานของนายจาง/สถานประกอบการ โดยการศึกษาวิเคราะหแนวโนม ความตองการตลาด แรงงาน จัดทําขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน และรวบรวมขอมูลความตองการมีงานทํา ของผูส มัครงานหรือคนหางานในพืน้ ที่ เพือ่ นําเสนอขอมูลตําแหนงงานวางทีถ่ กู ตองและชัดเจน แกนายจาง/สถานประกอบการ แนะแนวอาชี พผู ้ไม่อยู ่ในระบบการจ้างงาน เป น การแนะแนวอาชีพที่เนน การใหความรู ด  า นอาชีพ และการส ง เสริมให มี การประกอบอาชีพ โดยการใหขอ มูลและความรูเ รือ่ งการประกอบอาชีพและการประกอบการ แหลงเงินทุน แหลงฝกอาชีพ รวมถึงการจัดสาธิตการปะกอบอาชีพและสงเสริมการรับงาน ไปทําที่บาน


30

บทที่ 3 : ภารกิจด้านการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน

กิจกรรมการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน 1. บริการวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาตอหรือการเลือกอาชีพ เพื่อใหทราบถึง บุคลิกภาพ ทักษะ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง และสามารถนําไปประกอบอาชีพ หรือวางแผนตัดสินใจเลือกศึกษาตอหรือเลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสม 2. จัดทําบันทึกการวางแผนอาชีพ (Career Planning) เพื่อการวางแผนอาชีพ สวนบุคคล โดยการบันทึกเปาหมายการประกอบอาชีพและเปาหมายการศึกษา พรอมทัง้ ขอมูล สวนตัว ขอมูลการศึกษา ประกาศเกียรติคณ ุ /รางวัล การฝกอบรม การศึกษาดูงาน และอืน่ ๆ ทีเ่ ปนจุดเดนจุดดอยของตนเอง และนํามาประเมินรวมกับความรู ความสนใจ และความถนัด ของตนเอง เพื่อใชเปนขอมูลในการคนหาและพัฒนาตนเองใหสามารถประกอบอาชีพ ไดตามเปาหมายที่วางแผนไวไดชัดเจนยิ่งขึ้น 3. บริการแนะแนวและใหคาํ ปรึกษาดานอาชีพ เพือ่ ใชเปนแนวทางในการเลือกศึกษาตอ หรื อ เลื อ กประกอบอาชี พ ได อ ย า งเหมาะสมกั บ ตนเองและสอดคล อ งกั บ ความต อ งการ ของตลาดแรงงาน 4. บรรยาย/อภิปราย เพื่อใหความรูเกี่ยวกับแนวทางการเลือกศึกษาตอหรือการ เลือกประกอบอาชีพ ภาวะการมีงานทํา การขาดแคลนแรงงาน และแนวโนมความตองการ ของตลาดแรงงาน 5. จัดกิจกรรมสงเสริมอาชีพอิสระและทดลองปฏิบัติ อาชีพที่อยูในความสนใจ เพือ่ ใหทราบถึงขัน้ ตอน วิธกี ารทําของแตละอาชีพ เปนการจุดประกายความคิดการประกอบอาชีพ ใหกับกลุมเปาหมาย รวมทั้งอบรมใหความรูเกี่ยวกับการสมัครงาน เพื่อเตรียมความพรอม ในการสมัครงาน 6. บริการดานขอมูลอาชีพทั้งอาชีพในระบบและอาชีพอิสระ และเผยแพรเอกสาร เกี่ยวกับอาชีพ เพื่อเปนแนวทางในการนําไปประกอบอาชีพ/เลือกศึกษาตอ 7. จัดทําทะเบียนประวัติการรับบริการแนะแนว/ใหคําปรึกษาทางอาชีพ เพื่อให ทราบประวัตกิ ารรับบริการ และติดตามผลการศึกษา/การประกอบอาชีพ พรอมกับใหบริการ แนะแนวอาชีพเพิ่มเติม/ทดสอบความพรอมทางอาชีพซํ้า นอกจากนี้ ยังมีภารกิจสําคัญในการสงเสริมและพัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพ ใหมีความทันสมัยและมีรูปแบบที่หลากหลายอยางเปนระบบ โดยการพัฒนาและสงเสริม การแนะแนวอาชีพ ศึกษาจัดทําขอมูลอาชีพ และแบบทดสอบ เพือ่ การแนะแนวอาชีพ ศึกษาจัดทํา และพั ฒ นาหลั ก สู ต รการฝ ก อบรมและจั ด ฝ ก อบรมบุ ค ลากรด า นการแนะแนวอาชี พ เปนศูนยกลางขอมูลอาชีพและสงเสริมการจัดตัง้ และดําเนินงานศูนยขอ มูลอาชีพทัว่ ประเทศ


บทที่ 3 : ภารกิจด้านการแนะแนวอาชี พของกรมการจัดหางาน

31

กระบวนการบริการแนะแนวอาชี พ ของกรมการจัดหางาน

- บรรยายให้ความรู ้ - บริการแนะแนว/บริการปรึกษา

ติดตามผล

ค้นพบตัวเอง

จัดกิจกรรม หรือโครงการต่างๆ

ใช้แบบทดสอบ

บริการแนะแนว/ บริการปรึกษา


บทที่ 4 ภารกิจหลักของกรมการจัดหางาน


บทที่ 4 ภารกิจหลักของกรมการจัดหางาน ภารกิจหลักด้านต่าง ๆ ของกรมการจัดหางาน การจัดหางานในประเทศ กรมการจัดหางานมีภารกิจในการบริการจัดหางานในประเทศใหกบั นายจาง/สถาน ประกอบการ และคนหางาน ตลอดจนไดมีการสงเสริม สนับสนุน การบริการจัดหางานรวม ระหวางภาครัฐและเอกชน รวมถึงสนับสนุนใหมีการจางงานมั่นคงอยางตอเนื่องตลอด วัยทํางาน มีการพัฒนาระบบบริการจัดหางานเพื่อใหบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง กําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไข การใหบริการจัดหางานแกผูประกันตน กรณีวางงานและ การประกันการมีงานทํา ทัง้ นี้ ไดมกี ารบริการขอมูลตําแหนงงานวางและผูส มัครงาน สําหรับนายจาง/สถาน ประกอบการ และคนหางาน โดยมีการใหบริการลงทะเบียนหางานทํา สําหรับคนหางาน รับแจงตําแหนงงานวางจากนายจาง/สถานประกอบการ ผานทางเว็บไซต http://smartjob. doe.go.th/ - บริการลงทะเบียนหางานทําสําหรับคนหางาน รับแจงตําแหนงงานวางจาก นายจาง/สถานประกอบการ - ขาวประชาสัมพันธการจัดวันนัดพบแรงงานทั่วประเทศ


34

บทที่ 4 : ภารกิจหลักของกรมการจัดหางาน

การไปทํางานตางประเทศ การเดินทางไปทํางานตางประเทศโดยถูกตองตามกฎหมายมี 5 วิธี คือ 1) บริษัทจัดหางานจัดสง 2) กรมการจัดหางานจัดสง 3) เดินทางไปทํางานดวยตนเอง 4) นายจางในประเทศไทยพาลูกจางไปทํางาน 5) นายจางในประเทศไทยสงลูกจางไปฝกงาน ทั้งนี้ กรมการจัดหางานไดควบคุม ดูแล และตรวจสอบการจัดสงแรงงานไทยและ ลูกจางที่ไปทํางานหรือฝกงานในตางประเทศของผูรับอนุญาตจัดหางาน เพื่อไปทํางาน ในตางประเทศใหเปนไปตามกฎหมาย คุม ครองสิทธิประโยชนคนหางานและลูกจางทีไ่ ปทํางาน หรือฝกงานในตางประเทศ และบริหารกองทุนเพือ่ ชวยเหลือคนหางานไปทํางานในตางประเทศ

ผูสนใจสามารถรับบริการขอมูลเกี่ยวกับการไปทํางานตางประเทศ ขอแนะนํา ข อ ควรรู ก อนเดิ นทางไปทํ างานตางประเทศ ขอมู ล สิน เชื่อ การไปทํ า งานต า งประเทศ การลงทะเบียนประสงคจะเดินทางไปทํางานตางประเทศ ขาวการรับสมัครงานทีจ่ ดั สงโดยรัฐ ขอมูลบริษทั จัดหางานทีจ่ ดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย ไดทางเว็บไซต http://www.overseas. doe.go.th/ - บริการขอควรรูกอนไปทํางานตางประเทศ การลงทะเบียนประสงคจะเดินทาง ไปทํางานตางประเทศ ขาวการรับสมัครงานทีจ่ ดั สงโดยรัฐ ขอมูลบริษทั จัดหางานทีจ่ ดทะเบียน ถูกตองตามกฎหมาย - ถาตองการไปทํางานตางประเทศควรตรวจสอบขอมูลจากกองบริหารแรงงานไทย ไปตางประเทศ กรมการจัดหางานหรือสํานักงานจัดหางานทุกจังหวัด


บทที่ 4 : ภารกิจหลักของกรมการจัดหางาน

35

การบริหารการทํางานของคนตางดาว กรมการจัดหางาน โดยสํานักบริหารแรงงานตางดาว มีอํานาจหนาที่ในการ เสนอแนะนโยบายพัฒนาระบบและรูปแบบการอนุญาตและผอนผันการทํางานของคนตางดาว และกําหนดแนวทางการเจรจาเปดเสรีการคาบริการ วาดวยการเคลือ่ นยายบุคลากรตางชาติ เขามาประกอบอาชีพหรือวิชาชีพดานบริการในประเทศ พิจารณาอนุญาตการทํางานของ คนตางดาว จัดทําทะเบียนคนตางดาวและเครือขายสารสนเทศแรงงานตางดาว ทีข่ ออนุญาต ทํางาน ควบคุม ดูแล และตรวจสอบการทํางานของคนตางดาวใหเปนไปตามกฎหมาย ดําเนินการเกีย่ วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการบริหารแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง คณะกรรมการพิจารณาการทํางานของคนตางดาว คณะกรรมการพิจารณาการดําเนิน งานขององคการเอกชนตางประเทศ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน ซึง่ ไดรบั การจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ แกไขปญหาการทํางานของคนตางดาว ตามกฎหมายวาดวยการทํางาน ของคนตางดาว ผูสนใจสามารถรับบริการขอมูลการพิจารณาอนุญาตการทํางานของคนตางดาว ในระบบการจั ด ระบบนํ า เข า คนต า งด า วและแรงงานคนต า งด า วหลบหนี เ ข า เมื อ ง ไดทางเว็บไซต http://wp.doe.go.th/ การตรวจและคุมครองคนหางาน กรมการจัดหางานไดมีการควบคุม ดูแล และตรวจสอบการดําเนินงานของผูรับ อนุญาตจัดหางานในประเทศใหเปนไปตามกฎหมาย คุมครองและดูแลชวยเหลือคนหางาน ที่ทํางานในประเทศและตางประเทศใหไดรับการปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งนี้ไดมีการรับเรื่อง รองทุกขของคนหางานที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ บริการงานทะเบียนและตรวจสอบ บริษัทจัดหางานในประเทศ ผานทางเว็บไซต http://www.ipd-doe.com/ หากตองการสอบถามขอมูลเพิ่มเติมสามารถติดตอไดทางโทรศัพทสายดวน 1694


หน่วยงานและสถานที่ตงั้ ในสังกัดกรมการจัดหางาน หนวยงาน/สถานที่ตั้ง อธิบดี สํานักอธิบดี รองอธิบดี (1) สํานักอธิบดี รองอธิบดี (2) สํานักอธิบดี รองอธิบดี (3) สํานักอธิบดี ผูตรวจราชการกรม สํานักผูตรวจราชการกรม ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานสงเสริม การมีงานทํา ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานบริหาร แรงงานไทยไปตางประเทศ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานจัดระบบแรงงาน ตางดาว ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการวิจัย ตลาดแรงงาน ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานพัฒนาระบบ บริการจัดหางาน สํานักงานเลขานุการกรม สํานักบริหารแรงงานตางดาว สํานักงานกองทุนเพื่อการสงคนตางดาว กลับออกไปนอกราชอาณาจักร กองนิติการ

โทรศัพท

โทรสาร

02-248-6866 02-248-3388 02-248-5128 02-246-9340 02-248-6832 02-245-3689

02-245-2986

02-245-3098

02-248-6605

02-248-5690 02-248-5691 02-248-6751

02-245-9154

e-mail

02-246-9340 02-245-3689

02-245-1207 02-245-1207 02-246-3050 02-248-5475 02-245-2906 02-248-6836 02-354-1725 02-245-2769 02-273-8210 02-273-8773 02-273-8212 02-273-8215-6 02-245-2834 02-245-2875 02-245-6439 02-246-1795 02-248-4637

02-248-6836 02-354-1725 02-354-1728 02-273-8217 02-273-8218 0-2273-8772

gom@doe.go.th

02-245-1833

law@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

กองบริหารขอมูลตลาดแรงงาน

กลุมพัฒนาระบบบริหาร กองทะเบียนจัดหางานกลางและคุมครอง คนหางาน

กองยุทธศาสตรและแผนงาน

กองสงเสริมการมีงานทํา

โทรศัพท 02-245-1693 02-245-2017 02-245-5158 02-245-1790 02-248-6661 02-248-6742 02--248-4929 02-245-1823 02-245-7549 02-245-0960 02-245-1581 02-246-787 02-246-4504 02-246-2507 02-248-2270-1 02-245-1025 02-248-2278 02-248-4792 02-248-6763 02-245-1729 02-354-1386 02-535-5374-5 02-248-7289 02-245-3591 02-245-1990 02-245-1330 02-245-1592 02-248-4247 02-248-6653 02-245-1317 02-247-6627 02 245 1298 02 354 0085-8 02 245 1106

โทรสาร

e-mail

02-245-2182 02-245-2017 02-245-1790 02-248-4929 02-248-6742 02-246-9292

ems@doe.go.th

02-245-7549 02-245-0960 02-245-1581 02-246-7870 02-246-4504

lmi_news@doe. go.th

02-248-2270 02-248-2271 02-245-1025 02-245-0964 02-248-4792 02-354-1386 02-535-5374 02-248-7289 02-245-3591 02-248-2882

02-354-0088 02-354-0087 02-247-6627 02 245 1106

pid@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง กองบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ

โทรศัพท

02-245-6499 02-245-6500 02-245-1207 02-245-9440 02-245-0832 กองบริหารทรัพยากรบุคคล 02-245-2082 02-248-4642 02-245-1996 02-245-2141 02-248-4468 02-248-6896 02-245-2058 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 02-354-0092-100 กลุมตรวจสอบภายใน 02-245-2921 ศูนยบริการจัดหางานเพื่อคนไทย 02-245-2260 02-245-2287 02-248-2891-5 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 1 02-223-2686 อาคารกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน (เดิม) 02-223-2684-5 ชั้น 1 - 2 ภายในบริเวณกระทรวงมหาดไทย 02-223-6215-6 ถ.เฟองนคร แขวงวัดราชบพิตร เขตพระนคร 02-223-6217 กรุงเทพฯ 10200 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 2 02-576-1782 อาคารหลักสีพ่ ลาซา ศูนยการคา ไอที สแควร 02-576-1780-1 02-576-1783-4 ชั้น 3 เลขที่ 333/103 ถนนแจงวัฒนะ แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 3 02-617-6571 19 อาคารพงษสุภี ชั้น 2 และ 4 02-617-6581-2 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 02-617-6578 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 02-617-6567 02-617-6566

โทรสาร

e-mail

02-245-6500 02-245-9440

02-245-2058 02-248-4642 02-248-4468 02-248-6896

02-354-0091 02-245-2921 02-245-2260 02-245-2287

cot@doe.go.th

02-223-6217 02-223-2685 02-223-6216

arl@doe.go.th

02-576-1785

ar2@doe.go.th

02-617-6571 02-617-6582 02-617-6578 02-617-6568

ar3@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง

โทรศัพท

สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 4 02-211-7815 438/115 ซอยจันทน 47 ถนนจันทน 02-211-7607 แขวงทุงวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 02-211-7558 02-211-9584 สํานักจัดหางานกรุงเขตพื้นที่ 5 02-434-6575-8 เลขที่ 125 หางสรรพสินคาพาตา 02-434-6688 ปนเกลา ชั้น 4 ถนนสมเด็จพระปนเกลา แขวงบางยีข่ นั เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 6 02-422-3916-9 24/6 ชั้น M อาคารเอสซี พลาซา สถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพ (สายใต) ถ.บรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 7 02-427-4741 48-48/1 ถ.สุขสวัสดิ์ แขวง/เขตราษฎรบูรณะ 02-427-4327 กรุงเทพฯ 10140 02-427-4113 02-427-4512 02-427-6109 02-427-5918 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 8 02-398-6740 เลขที่ 5 อาคาร 7 ชั้น ซอยบางนา-ตราด 34 02-398-6612 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 02-398-6630 02-398-7615-6 02-398-7477 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 9 02-509-7944-5 เลขที่ 7,9,11 ซอยนวมินทร 98 ถนนนวมินทร 02-948-6007-9 แขวง/เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 02-509-2590 02-510-3602 สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 10 02-540-7003-9 555/29-33 หมูที่ 13 ถ.สีหบุรานุกิจ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 ภาคกลาง สํานักงานจัดหางานจังหวัดชัยนาท 056-413-035-6 294 หมูที่ 6 ตําบลบานกลวย อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000

โทรสาร

e-mail

02-211-9584 02-211-8167 02-211-6205

ar4@doe.go.th

02-434-6577 02-434-6575

ar5@doe.go.th

02-422-3913

ar6@doe.go.th

02-427-4741 02-427-5432 02-427-6062

ar7@doe.go.th

02-398-7019 02-398-7477

02-510-7876 02-509-2590 02-510-8137 02-510-3602 02-540-7008 02-540-7004-5

ar9@doe.go.th

056-413-035

cnt@doe.go.th

ar10@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดนนทบุรี ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี ชั้น 1 ถ.รัตนาธิเบศร ตําบลบางกระสอ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนครปฐม 898/7-9 ตําบลหวยจรเข อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดปทุมธานี 35/4 หมูที่ 1 ถ.รังสิต-ปทุมธานี ตําบลบานกลาง อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชั้น 1 อาคาร 7 ชั้น ถนนสายเอเซีย ตําบลคลองสวนพลู อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดลพบุรี 114 หมูที่ 1 ถ.พระปยะ ตําบลปาตาล อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสิงหบุรี ศาลากลางจังหวัดสิงหบุรี ชั้น 1 ถ.สิงหบุรี-บางพาน ตําบลบางมัญ อําเภอเมืองสิงหบุรี จังหวัดสิงหบุรี 16000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสมุทรสาคร 930/42 ว,ศ,ษ ถนนเอกชัย ตําบลมหาชัย อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสมุทรปราการ 29/65-66 หมู 7 ถ.ศรีนครินทร ตําบลเทพารักษ อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

02-580-1494 02-580-9276 02-950-3630 02-580-9276 02-580-7631 034-271-434-5 034-250-861

02-580-7631 02-580-8654

034-271-435

npt@doe.go.th

02-567-4046 02-567-0630-3 02-567-4107

02-567-0633 02-567-0632 02-567-3881

ptt@doe.go.th

035-213-956-8 035-213-335 035-335-855

aya@doe.go.th

036-422-906 036-420-365

036-422-906 036-420-365

Iri@doe.go.th

036-507-201 036-507-201 036-507-202-3

036-507-201

sbr@doe.go.th

034-810-759-61 034-810-759-60

034-422-523 034-422-524

skw@doe.go.th

02 759 6079 02 383 7471-3

02 759 6080

spk@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดสมุทรสงคราม 186 หมู 3 ถนนเอกชัย ตําบลลาดใหญ อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสระบุรี 437/7 ถนนมิตรภาพ ตําบลปากเพรียว อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดอางทอง อาคารศาลากลางจังหวัดอางทอง ชัน้ 2 (หลังเกา) ถนนเทศบาล ๑ ตําบลบางแกว อําเภอเมือง จังหวัดอางทอง 14000 ภาคตะวันออก สํานักงานจัดหางานจังหวัดจันทบุรี 1212/21 ศูนยราชการกระทรวงแรงงาน ชัน้ 1 ถนนทาแฉลบ ตําบลตลาด อําเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดฉะเชิงเทรา 80/14-15 ถนนสิริโสธร ตําบลโสธร อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดชลบุรี 199 หมู 3 ถนนนารถมนตเสวี ตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดตราด ศาลากลางจังหวัดตราด ชั้น 1 ถ.ราษฎรนิยม ตําบลบางพระ อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนครนายก ศาลากลางจังหวัดนครนายก (หลังใหม) ชั้น 1 ถ.สุวรรณศร ตําบลทาชาง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดปราจีนบุรี ศาลากลางจังหวัดปราจีนบุรี ชั้น 2 ถ.สุวินทวงศ ตําบลไมเค็ด อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25230

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

034-714-342-3

034-718-376

skm@doe.go.th

036-351-806-8

036-351-806-8

sri@doe.go.th

035-613-038-9

035-613-388

atg@doe.go.th

039-323-840 039-325-913

039-325-914

cti@doe.go.th

038-514-842-3 038-515-106

038-514-842-3 038-515-106

cco@doe.go.th

038-398-057 038-398-051 038-398-054 039-520-218 039-530-840-1

038-398-053 038-398-211 038-398-286 039-520-218

cbi@doe.go.th

037-312-869 037-313-186 037-313-204

037-312-869 037-313-204

nyk@doe.go.th

037-454-022-3

037-454-023

pri@doe.go.th

trt@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดระยอง ศูนยราชการจังหวัดระยอง ศาลากลางจังหวัดระยอง ชั้น 2 ถ.สุขุมวิท ตําบลเนินพระ อําเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150 ศูนยขา วสารตลาดแรงงานภูมภิ าคจังหวัดระยอง ศูนยราชการจังหวัดระยอง ชั้น 2 ถ.สุขุมวิท ตําบลเนินพระ อําเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสระแกว ศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ถ.สุวรรณศร ตําบลทาเกษม อําเภอเมือง จังหวัดสระแกว 27000 ภาคตะวันตก สํานักงานจัดหางานจังหวัดกาญจนบุรี 22 หมู 12 ถ.กาญจนบุรี-ดานมะขามเตี้ย ตําบลปากแพรก อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดประจวบคีรีขันธ 133/1 ถนนสุขใจ อําเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ 77000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดเพชรบุรี 637 หมูที่ 5 ถนนบันไดอิฐ-วังบัว ตําบลบานหมอ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดราชบุรี 1/56-57 ชั้น 2 ถ.สมบูรณกุล ซอย 3 ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 ศูนยขา วสารตลาดแรงงานภูมภิ าคจังหวัดราชบุรี 1/56-57 ถนนสมบูรณกุล ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสุพรรณบุรี ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี ชั้น 2 ถ.สุพรรณบุรี-ชัยนาท ตําบลสนามชัย อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72000

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

038-694-026 038-694-023

038-694-027

ryg@doe.go.th

038-694-029-30 038-694-033

038-694-033

Im_ryg@doe.go.th

037-425-022

037-425-022

ske@doe.go.th

034-561-315 034-564-309

034-564-309 034-564-315 034-623-455

Kri@doe.go.th

032-602-270 032-603-824

032-602-270

pkn@doe.go.th

032-488-382 032-488-383 032-419-607 032-419-609 032-326-706 032-322-261-2

032-488-383

pbi@doe.go.th

032-328-439

rbr@doe.go.th

032-326-458 035-408-206

lm_rbr@doe.go.th spb@doe.go.th

032-326-082 035-535-388


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

สํานักงานจัดหางานจังหวัดกําแพงเพชร ศาลากลางจังหวัดกําแพงเพชร ชั้น 2 ถ.กําแพงเพชร-สุโขทัย ตําบลหนองปลิง อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร 62000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดเชียงราย อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน ชั้น 3 ถ.ศูนยราชการ ตําบลริมกก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 สํานักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหม ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม ชั้น 1 ถ.โชตนา ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 สํานักงานจัดหางานจังหวัดตาก 9/68 ถนนมหาดไทยบํารุง ตําบลหนองหลวง อําเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนาน ศูนยราชการจังหวัดนาน 642 หมู 11 ตําบลไชยสถาน อําเภอเมือง จังหวัดนาน 55000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนครสวรรค www.doe.go.th/nakhonsawan 909 หมู 7 ถนนนครสวรรค-ทาตะโก ตําบลหนองปลิง อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค 60000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดพะเยา เลขที่ 5 หมู 1 ตําบลบานตํ๊า อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดแพร ศาลากลางจังหวัดแพร อาคาร 2 ชั้น 1 ถนนไชยบูรณ ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จังหวัดแพร 54000

055-705-023-4

055-705-025

Kpt@doe.go.th

053-152-051-4

053-750-611

cri@doe.go.th

053-112-744-6 053-112-911-4

053-112-743 053-112-911-4

cmi@doe.go.th

055-514-569

055-514-570

tak@doe.go.th

054-716-002 054-716-075-6

054-716-075-6

nan@doe.go.th

056-257-036-7

056-257-036-7

nsn@doe.go.th

054-887-261 054-887-264 054-887-263 054-887-265 054-511-721 054-511-807

054-887-262

pyo@doe.go.th

054-511-721 054-511-807

pre@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดพิษณุโลก ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลกหลังใหม ชั้น 3 ถนนในเมือง ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดพิจิตร 152/20 ถนนบึงสีไฟ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดเพชรบูรณ 122 หมู 10 ถนนสระบุรี-หลมสัก ตําบลสะเดียง อําเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ 67000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดแมฮองสอน ศาลากลางจังหวัด (หลังใหม) ชั้น 1 ถนนขุนลุมประพาส ตําบลจองคํา อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน 58000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดลําพูน อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน หมู 10 ตําบลบานกลาง อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน 51000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดลําปาง ศาลากลางจังหวัด ชั้น 3 ถนนวชิรวุธดําเนิน ตําบลพระบาท อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 52000 ศูนยขา วสารตลาดแรงงานภูมภิ าคจังหวัดลําปาง ศูนยราชการจังหวัดลําปาง ชั้น 3 ถนนวชิรวุธดําเนิน ตําบลพระบาท อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 52000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสุโขทัย 285 หมู 14 ถนนสุโขทัย-กําแพงเพชร ตําบลบานกลวย อําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดอุตรดิตถ ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ ชั้น 2 ถนนประชานิมิตร ตําบลทาอิฐ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 53000

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

055-246-257 055-283-045-6 055-282-381-3

055-249-228

plk@doe.go.th

056-613-541 056-612-834

056-613-541

pct@doe.go.th

056-736-219-21

056-736-219-21 pbn@doe.go.th

053-611-972

053-611-972

msn@doe.go.th

053-525-543-4 053-537-701

053-525-543-4 053-537-701

lpn@doe.go.th

054-265-049 054-265-051 054-265-052

054-265-048

lpg@doe.go.th

054-265-050

054-265-071

lpg@doe.go.th

055-610-218-9

055-610-218-9

sti@doe.go.th

055-417-016

055-417-017

utt@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดอุทัยธานี ศาลากลางจังหวัด (หลังเดิม) ถนนศรีอุทัยใหม ตําบลอุทัยใหม อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักงานจัดหางานจังหวัดกาฬสินธุ 6/8 ถนนบายพาสทุงมน ตําบลกาฬสินธุ อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ 46000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดขอนแกน 490 หมู 6 ถนนมะลิวัลย ตําบลบานเปด อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดขอนแกน ศาลากลางจังหวัด ชั้น 3 ถ.ศูนยราชการ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดชัยภูมิ 267/1 หมู 1 ถนนองคการบริหารสวนจังหวัด สาย 1 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนครพนม อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน (ชั้น 1) ถนนกลางเมือง ตําบลหนองแสง อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนครราชสีมา 364 ถนนสืบศิริ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดบุรีรัมย ชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย 1159 เขากระโดง ตําบลสะเม็ด อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย 31000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดมุกดาหาร ศาลากลางจังหวัด ชั้น 1 ถนนวิวิธสุรการ ตําบลมุกดาหาร อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

056-520-749 056-513-024-5

056-513-024

uti@doe.go.th

056-513-024-5

043-812-427

kin@doe.go.th

043-333-199-201 043-333-199-201 kkn@doe.go.th 043-234-752

043-239-016

lm_kn@live.com

044-821-088-9 044-836-936

044-836-936

cpm@doe.go.th

042-513-114

042-513-114

npm@doe.go.th

044-355-266-7 044-354-258

044-355-268

nma@doe.go.th

044-666-538

044-666-537

bum@doe.go.th

042-613-616 042-613-037

042-613-616 042-613-037

mdh@doe.go.th


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดบึงกาฬ 51/1-3 ถ.ประกอบบูรณะ ตําบลวิศิษฐ อําเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดมหาสารคาม เลขที่ 42 หมูที่ 10 อาคารศูนยราชการ กระทรวงแรงงาน ตําบลแกงเลิงจาน อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดยโสธร 98 หมู 12 ถนนแจงสนิท ตําบลตาดทอง อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดรอยเอ็ด 257 หมู 15 ถนนแจงสนิท ตําบลหนองแวง อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด 45000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดเลย ศาลากลางจังหวัดเลย (หลังเกา) ชั้น 2 ถนนมลิวรรณ ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย 42000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดศรีสะเกษ 367/74 หมู 5 ถนนโชติพนั ธุ ตําบลหนองครก อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสกลนคร 1767/24 ถนนสุขสวัสดิ์ ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสุรินทร 166 หมู 13 ถนนสุรินทร-ปราสาท ตําบลเฉนียง อําเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร 32000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดหนองคาย บริเวณศูนยราชการจังหวัดหนองคาย ถนนมิตรภาพ ตําบลหนองกอมเกาะ อําเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดหนองบัวลําภู ศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ถนนหนองบัวลําภู-เลย ตําบลลําภู อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู 39000

โทรศัพท

โทรสาร

042-491-381

042-491-381

bkn@doe..go.th

043-971-320-1

043-971-320-1

msm@doe.go.th

045-580-216-7

045-580-216-7

yso@doe.go.th

043-524-649

red@doe.go.th

042-812-595 042-811-861 042-812-594

042-812-594

loei@doe.go.th

045-631-482-3 045-614-124

045-614-124

ssk@doe.go.th

042-733-913 042-714-778-9

042-714-779

skk@doe.go.th

044-153-021-2

044-520-324

042-412-860-1 042-412-100

042-412-860-1 042-412-100

nky@doe.go.th

042-316-733-5

042-316-733-5

nbo@doe.go.th

043-624-166-7

e-mail


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดอุดรธานี 765 หมู 1 ถนนรอบเมือง ตําบลบานเลื่อม อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดอุบลราชธานี เลขที่ 109 หมูที่ 8 ถนนเลี่ยงเมือง ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดอํานาจเจริญ ศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ตําบลโนนหนามแทง อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ 37000 ภาคใต สํานักงานจัดหางานจังหวัดกระบี่ อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน (ชัน้ 1) ถนนทาเรือ ตําบลไสไทย อําเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดชุมพร 87 หมู 1 (บริเวณศูนยราชการ) ถนนชะอัง ตําบลนาชะอัง อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดตรัง ศาลากลางจังหวัดตรังหลังใหม ชั้น 2 ถนนพัทลุง ตําบลทับเที่ยง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนครศรีธรรมราช ศาลากลางจังหวัด (หลังเดิม) ชั้น 1 ถนนราชดําเนิน ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดนราธิวาส อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน ชั้น 2 ตําบลลําภู อําเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดปตตานี 197/2 หมู 6 ถนนสวนสมเด็จ ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี 94000

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

042-347-680 042-348-588 042-347-919-20 045-284-446-8

042-347-918

udn@doe.go.th

045-206-226-8

ubn@doe.go.th

045-523-041-2

045-523-041-2

aen@doe.go.th

075-620-368 075-261-279 075-621-527 075-621-112 077-504-364-5

075-621-112

077-504-364-5

CPN@DOE.go.th

075-214-027-8

075-214-027-8

trg@doe.go.th

075-347-329 075-348-003

075-347-329

Nrt@doe.go.th

073-532-096-100 073-532-662

nwt@doe.go.th

073-460-276 073-460-281 073-460-275

ptn@doe.go.th

073-460-281


หนวยงาน/สถานที่ตั้ง สํานักงานจัดหางานจังหวัดพังงา 71 หมูที่ 3 ตําบลถํ้านํ้ากุด อําเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดพัทลุง 18 ถนนไชยบุรี ตําบลคูหาสวรรค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดภูเก็ต 38/27 ถนนรัตนโกสินทร 200 ป ตําบลตลาดเหนือ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดยะลา อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน ชั้น 2 เลขที่ 66 ถนนสุขยางค ตําบลสะเตง อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดระนอง เลขที่ 55/8 หมู 3 ตําบลบางริ้น อําเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสุราษฎรธานี อาคารศูนยราชการกระทรวงแรงงาน ชั้น 2 ถนนสุราษฎร-นาสารตําบลขุนทะเล อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84100 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล ศาลากลางจังหวัด ชัน้ 2 (หลังใหม) ถนนสตูลธานี ตําบลพิมาน อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 สํานักงานจัดหางานจังหวัดสงขลา ศาลากลางจังหวัดสงขลา อาคารสรรพากรหลังเกา ชั้น 2 ตําบลบอยาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 ศูนยขา วสารตลาดแรงงานภูมภิ าคจังหวัดสงขลา ศาลากลางจังหวัด (หลังเกา) ชั้น 1 ถ.ราชดําเนิน ตําบลบอยาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000

โทรศัพท

โทรสาร

e-mail

076-460-671-4

076-460-671-4

pna@doe.go.th

076-490-794 074-614-141

076-490-794

plg@doe.go.th

076-219-660-1

076-212-814

pkt@doe.go.th

073-362-614 073-362-616

073-362-616 073-362-614

yla@doe.go.th

077-862-026-8

077-862-050

mg@doe.go.th

077-355-422-3

077-355-426

sni@doe.go.th

074-711-383 074-722-512-3

074-721-709

stn@doe.go.th

074-314-845 074-324-378

074-314-950

ska@doe.go.th

074-321-730 074-321-095

074-321-095

lm_ska@doe.go. th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.