เส้นทางการศึกษาสู่อาชีพ

Page 1

คู่มือ การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน เส้นทางการศึกษาสู่อาชี พ

กระทรวงแรงงาน กรมการจัดหางาน



คํานํา เอกสาร “เสนทางการศึกษาสูอ าชีพ” ฉบับนีจ้ ดั ทําขึน้ มา เพือ่ แสดงใหเห็นภาพรวม ของสถาบันการศึกษาตางๆ ที่เปดการเรียนการสอนในแตละระดับชั้น โดยมีวัตถุประสงค ใหนกั เรียน นักศึกษา หรือผูส นใจทัว่ ไปไดนาํ ไปเปนขอมูลในการเตรียมความพรอม หรือเลือก ตัดสินใจในการศึกษาตอ หรือใชประโยชนในดานอื่นๆ ตอไป กรมการจัดหางาน สิงหาคม 2559


สารบัญ

บทที่ 1 เสนทางการศึกษาตอเมื่อจบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ศึกษาตอชั้น ม.1-ม.3 ศึกษาตอโรงเรียนนานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป/กระทรวงวัฒนธรรม (วิทยาลัยนาฏศิลป) การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย 3 ป ศึกษาตอในสถานศึกษาดานวิชาชีพระยะสั้น เรียนรูดวยตัวเองและศึกษาผานระบบออนไลน

หนา 7 7 7 8 8 8 9

บทที่ 2 เสนทางการศึกษาตอเมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ศึกษาตอในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ศึกษาตอโรงเรียนนานาชาติ ศึกษาตอในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.1-ปวช.3) สายอาชีพ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปกระทรวงวัฒนธรรม (วิทยาลัยนาฏศิลป) ศึกษาตอดานทหารและตํารวจ หลักสูตรเฉพาะหนวยงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) การศึกษาตอในสถานศึกษาดานวิชาชีพระยะสั้น เรียนรูด ว ยตนเองและการศึกษาผานระบบออนไลน เว็บเรียนออนไลนทนี่ า สนใจ

10 11 11 14 14 15 17 18 19

บทที่ 3 เสนทางการศึกษาตอเมือ่ เรียนจบการศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 (ม. 6) ศึกษาตอมหาวิทยาลัย (ปริญญาตรี 4-6 ป) การศึกษาตอดานการพยาบาล-สาธารณสุข สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ปวส. 1-2 ป) วิทยาลัยนาฏศิลป ดานทหารและตํารวจ

21 22 23 26 27


หนา หลักสูตรเฉพาะหนวยงาน ศึกษาตอในสถานศึกษาดานวิชาชีพระยะสั้น แหลงการศึกษา เรียนรูดวยตนเองและการศึกษาผานระบบออนไลน

30 34 35

บทที่ 4 ขอมูลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาทีเ่ ปดสอนระดับปริญญาตรีใประเทศไทย ขอแนะนําในการเลือกคณะและสถาบันที่ตองการสมัครเรียนตอ 39 กลุมที่ 1 สาขาวิชาศึกษาศาสตร 40 กลุมที่ 2 สาขาวิชามนุษยศาสตร ศาสนา และเทววิทยา 41 กลุมที่ 3 สาขาวิชาวิจิตรศิลปและประยุกตศิลป 42 กลุมที่ 4 สาขาวิชานิติศาสตร 44 กลุมที่ 5 สาขาวิชาสังคมศาสตร 44 กลุมที่ 6 สาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ 49 กลุมที่ 7 สาขาวิชาแพทยศาสตรและวิชาที่เกี่ยวของกับสุขภาพอนามัย 50 กลุมที่ 8 สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร 51 53 กลุมที่ 9 สาขาวิชาเกษตรศาสตร วนศาสตร และการประมง กลุมที่ 10 สาขาวิชาอื่น ๆ ไดแก อาชญาวิทยา การศึกษาสิ่งแวดลอม สวัสดิการสังคม นาวิกศาสตร ฯลฯ 55


บทที่ 1 เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อจบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 6


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 6

7

1. ศึกษาตอชั้น ม.1-ม.3 2. ศึกษาตอโรงเรียนนานาชาติ 3. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป/กระทรวงวัฒนธรรม (วิทยาลัยนาฏศิลป) มีทั้งหมด 12 แหง - วิทยาลัยนาฏศิลปกรุงเทพ, เชียงใหม, อางทอง, นครศรีธรรมราช, รอยเอ็ด, สุโขทัย, กาฬสินธุ, ลพบุรี, จันทบุรี, พัทลุง, สุพรรณบุรี, นครราชสีมา แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะทีแ่ ตกแขนงตามสาขาทีเ่ รียน เชน อาชีพในกลุม ธุรกิจ การแสดง การบรรเลง, ประกอบอาชีพในกลุมธุรกิจทองเที่ยว 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


8

เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 6

4. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เปดสอน เทียบกับชั้น ม.3 ม.6 แนวทางการประกอบอาชีพ สามารถศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นไปฝกอาชีพระยะสั้นหรือทํางานทั้งทางภาครัฐ เอกชน ประกอบอาชีพตามลักษณะสาขาที่เรียน ประกอบธุรกิจสวนตัว อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย 3 ป (เนนดานวิทยาศาสตร) (โรงเรียนวิทยาศาสตรภูมิภาค) แนวทางการประกอบอาชีพ เตรียมบุคลากรไวรองรับโครงการดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม เปนตน 6. ศึกษาตอในสถานศึกษาดานวิชาชีพระยะสั้น สํานักงานจัดหางานจังหวัด/สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพืน้ ที่ 1-10 , สถาบันพัฒนา ฝมอื แรงงาน, ศูนยพฒ ั นาฝมอื แรงงานจังหวัด, ศูนยฝก อาชีพระยะสัน้ อืน่ ๆ เชน มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, วิทยาลัยสารพัดชางธนบุรี เปนตน แนวทางการประกอบอาชีพ - ประกอบอาชี พ อิ ส ระที่ ต รงกั บ บุ ค ลิ ก ภาพ ความสามารถ และความถนั ด ของแตละบุคคล - เปนวิทยากรสาธิตอาชีพ (ขึ้นอยูกับความสามารถเฉพาะดานของแตละบุคคล) เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 6

9

7. เรียนรูดวยตัวเองและศึกษาผานระบบออนไลน เว็บเรียนออนไลนที่นาสนใจ เชน โครงการ E-Learning เพือ่ พัฒนาอาชีพสมเด็จพระเทพฯ โครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แหลงเรียนรูแบบยกกําลัง 2 บนโลกยุคไอที (NECTEC) แหลงเรียนรูออนไลน (สามารถคนหาไดจาก HYPERLINK) เปนตน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. เสริมเพิม่ เติมองคความรูใ นการประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


บทที่ 2 เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

1. ศึกษาตอในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน/การศึกษา เอกชน/โรงเรียนสาธิตสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ/โรงเรียนกีฬาสังกัดสถาบันการพลศึกษา แนวทางการประกอบอาชีพ วิทย-คณิต : อาชีพดานแพทย, เภสัชกร, พยาบาล, นักเทคนิคการแพทย, นักสาธารณสุข, วิศวกรไฟฟา, โยธา, เครือ่ งกล, เคมี, นักวิชาการเฉพาะดาน, ครู-อาจารย เปนตน ศิลป-คํานวณ : อาชีพดาน นักบัญชี, นักธุรกิจ, นักวิชาการเฉพาะดาน, เลขานุการ, บรรณาธิการ, นักภูมิศาสตร, พัฒนากร, นักการเมือง, นักปกครอง, ครู-อาจารย, มัคคุเทศก, ศิลปน, นักโบราณคดี, เปนตน ศิลป-ภาษา : อาชีพดาน เจาหนาที่องคกรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ธนาคาร ธุรกิจดานการบริหาร, ครู-อาจารย, พนักงานแปล, เจาหนาทีฝ่ า ยตางประเทศ, พนักงานประจํา สายการบินตาง ๆ, เจาหนาที่ในองคการธุรกิจ อื่น ๆ ศิลป-ธุรกิจ : อาชีพดาน อาจารยสอนภาษา, ผูเ ชีย่ วชาญดานภาษา, นักแปล, ลาม, มัคคุเทศก รวมไปถึงอาชีพที่ตองใชภาษาเปนหลัก เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

11

2. ศึกษาตอโรงเรียนนานาชาติ แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ไกด, ลาม, นักแปล, นักธุรกิจ, ครู-อาจารย, งานเกี่ยวกับการทองเที่ยวและโรงแรม 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3. ศึกษาตอในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.1-ปวช.3) สายอาชีพ - วิทยาลัยในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา - โรงเรียนและวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชี พ ในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชี พ ตามลั ก ษณะที่ แ ตก แขนงตามสาขาที่เรียน เชน ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : อาชีพชาง เทคนิคดานตาง ๆ ดังนี้ เครือ่ งมือกลและซอมบํารุง, โลหะการ, ไฟฟาอิเล็กทรอนิกส, อุตสาหกรรมเครือ่ ง เรือน, เทคโนโลยีคอมฯ เปนตน ประเภทวิชาพาณิชยกรรมบริหารธุรกิจ : อาชีพดานการบัญชี, คอมพิวเตอร, นักการคาระหวางประเทศ, นักบริหารคลังสินคา, นักบริการขนสง (โลจิสติกส) เปนตน ประเภทวิชาศิลปกรรม : อาชีพดานประติมากรรม, อุตสาหกรรมเครื่องหนัง, งานทางศิลปะหัตกรรม, งานทางการใชเทคโนโลยี เปนตน ประเภทวิชาคหกรรม : อาชีพทางดานผลิตและตกแตงสิ่งทอ, ธุรกิจเสื้อผา, งานทางดานอาหารและโภชนาการ, ดานเสริมสวย, ดานประดิษฐ, การดูแลเด็กและผูส งู อายุ เปนตน ประเภทวิชาเกษตรกรรม : อาชีพดานพืชศาสตร, สัตวศาสตร, อุตสาหกรรมเกษตร, การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า, การผลิตพืชไร พืชสวน, เทคโนโลยีสมุนไพรและอื่น ๆ เปนตน


12

เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

ประเภทวิชาประมง : อาชีพดานเพาะเลีย้ งสัตวนาํ้ , แปรรูปสัตวนาํ้ , ธุรกิจเพาะเลีย้ ง สัตวนาํ้ เปนตน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว : อาชีพดานการโรงแรมการบริการตาง ๆ, ธุรกิจทองเที่ยว, ธุรกิจขนสง, สปาและความงาม เปนตน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิง่ ทอ : อาชีพดานสิง่ ทอ, เคมีสงิ่ ทอ, อุตสาหกรรมเสือ้ ผา สําเร็จรูป, เทคโนโลยีการทอผาไหมและผาพื้นเมือง, เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร : อาชีพดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3.1 โรงเรียนจิตรลดา (สายอาชีพ) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ประเภทวิชา อุ ต สาหกรรม : อาชี พ ด า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส , ไฟฟ า กํ า ลั ง , เครื่ อ งมื อ กลและซ อ มบํ า รุ ง ประเภทวิชาพาณิชยกรรม : อาชีพดานงานคอมพิวเตอรธรุ กิจ,ธุรกิจคาปลีก, ผลิตสือ่ สิง่ พิมพ, สรางเว็บไซด, โปรแกรมเมอร เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

13

3.2 วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล (3 ป) 3.3 วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการไกลกังวล (3 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงสาขาที่เรียน เชน ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : อาชีพ เชน ชางซอมอุปกรณไฟฟา, อิเล็กทรอนิกส, เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม : อาชีพ เชน เจาหนาที่การเงิน, พนักงานบัญชี, นักการตลาด, เจาของกิจการ เปนตน ประเภทวิชาการโรงแรม/การทองเทีย่ ว/เทคโนโลยีสารสนเทศ/คอมพิวเตอรธรุ กิจ : อาชีพ เชน ไกด, ลาม, นักพัฒนาวิทยาการคอมพิวเตอร เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


14

เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

4. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปกระทรวงวัฒนธรรม (วิทยาลัยนาฏศิลป) มีทงั้ หมด 12 แหง วิทยาลัยนาฏศิลปกรุงเทพ, เชียงใหม, อางทอง, นครศรีธรรมราช, รอยเอ็ด, สุโขทัย, กาฬสินธุ, ลพบุรี, จันทบุรี, พัทลุง, สุพรรณบุรี, นครราชสีมา แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน รับราชการ ครู- อาจารยในสถาบันการศึกษาของรัฐ เอกชน, สอนพิเศษ, ประกอบอาชีพดานการแสดง, บรรเลง, ธุรกิจการทองเที่ยว, ผูเชี่ยวชาญดานนาฏศิลปหรืออาชีพที่เกี่ยวของตาง ๆ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5. ศึกษาตอดานทหารและตํารวจ โรงเรียนดุริยางคทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ โรงเรียนเตรียมทหาร โรงเรียน จาอากาศ โรงเรียนชางฝมือทหาร (ปวช.) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะทีแ่ ตกแขนงตามสาขาทีเ่ รียน เชน ดานวิทยาศาสตร, รัฐศาสตร, วิศวกรรมศาสตร, ชางเทคนิคดานตาง ๆ เปนตน 3. บรรจุเปนขาราชการในกระทรวงกลาโหม, กองทัพไทย, กองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ, สํานักงานตํารวจแหงชาติและสวนราชการอื่น ๆ 4. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

15

6. หลักสูตรเฉพาะหนวยงาน 6.1 โรงเรียนชางฝมือในวัง (ชาย) 6.2 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ (วิทยาลัยในวังหญิง) 6.3 โรงเรียนพระดาบส (1 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชี พตามลั ก ษณะที่แ ตกแขนงตามสาขาที่ เ รี ย น เช น งานเขี ย น, งานปน , งานหัวโขน, งานลายรดนํา้ , งานฝมอื ประดับมุก, งานดนตรีพธิ หี ลวง, งานแทงหยวก, การทําอาหารคาว หวาน, เครือ่ งดืม่ และอาหารวาง, การแกะสลักผักผลไม, การถนอมอาหารตาง ๆ, การบริการอาหารในโอกาสตาง ๆ งานดอกไมสดและการจัดดอกไมสดในงานพิธีตาง ๆ, การปก, ชางเทคนิคที่เกี่ยวกับชางยนต, ชางเทคนิคที่เกี่ยวกับชางไฟฟา, ชางเทคนิคที่เกี่ยว กับการซอมบํารุงเครื่องจักรในโรงงาน, งานดูแลเด็กและผูสูงอายุ เปนตน 6.4 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย (โรงเรียนวิทยาศาสตรภูมิภาค/ 3 ป) 6.5 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (โรงเรียนวิทยาศาสตร/ 3 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชี พตามลั ก ษณะที่แ ตกแขนงตามสาขาที่เ รี ย น เช น การศึก ษา และฝกทักษะความรูความสามารถ นักเรียนพิเศษดานวิทยาศาสตร 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 6.6 โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ (1ป 6 เดือน) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


16

เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

6.7 โรงเรียนสอนการแสดงกันตนา แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน งานโฆษณา และนักแสดงทางโทรทัศน ละคร และภาพยนตร, การเดินแบบและการเตน, กํากับละคร โทรทัศน ภาพยนตร, นักเขียน, นักแตงหนา, พิธีกร, เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 6.8 โรงเรียนชางการไฟฟา สวนภูมิภาค แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะทีแ่ ตกแขนงตามสาขาทีเ่ รียน เชน บรรจุเปนพนักงาน การไฟฟาสายไฟแรงสูงสวนภูมิภาคทั่วประเทศ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 6.9 ศึกษาดานวิชาชีพพนักงานโรงพยาบาล แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะทีแ่ ตกแขนงตามสาขาทีเ่ รียน เชน ทํางานและฝกงาน ที่คลินิกเอกชนในดานผูชวยพยาบาล/ผูชวยศูนยทันตกรรม/ศูนยความงาม/เภสัชกร/คลินิก ตาง ๆ, รานขายยา, ศูนยดูแลเด็กเล็ก ดูแลผูสูงอายุ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

17

6.10 วิทยาลัยเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะทีแ่ ตกแขนงตามสาขาทีเ่ รียน เชน บรรจุเปนพนักงาน ของ บมจ. ซีพี ออลล รานเซเวนอีเลฟเวนทั่วประเทศ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 7. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน สามารถทํางาน ตามลักษณะหลักสูตร สาขา วิชาที่เรียน, ศึกษาเพิ่มเติมในระดับที่สูงขึ้น เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


18

เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

8. การศึกษาตอในสถานศึกษาดานวิชาชีพระยะสั้น สํานักงานจัดหางานจังหวัด/สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 1-10/วิทยาลัย ชุมชนกรุงเทพมหานคร/สถาบันพัฒนาฝมอื แรงงาน/ศูนยพฒ ั นาฝมอื แรงงานจังหวัด/โรงเรียน พระดาบส (1 ป) โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพฯ/โรงเรียนชางฝมือในวัง/โครงการอบรมวิชาชีพ สําหรับประชาชน/ม.เกษตรศาสตร เปนตน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ประกอบอาชีพ อิสระที่ตรงกับความรู ความสามารถ บุคลิกภาพ ความถนัด และทักษะของแตละบุคคล วิทยากร สาธิตอาชีพ (ของแตละบุคคล) เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

19

9. เรียนรูด ว ยตนเองและการศึกษาผานระบบออนไลน เว็บเรียนออนไลนทนี่ า สนใจ เว็บเรียนออนไลนที่นาสนใจ โครงการ E-Learning http://edltv.vec.go.th โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา HYPERLINK “http://www.school.net.th” www.thaicyberu.go.th/ E-Learning สถาบัน กศน. HYPERLINK “http://nfe.go.th” www.nfe.go.th/ webnfe/ เปนตน SchoolNet ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ HYPERLINK “http://www.school.net.th” www.school.net.th/ แหลงเรียนรูแ บบยกกําลัง 2 บนโลกยุคไอที (NECTEC) http://elearning.nectec. or.th/ แหลงเรียนรูอ อนไลน สามารถคนหาไกดจาก HYPERLINK “http://www.google. com” www.google.com เปนตน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบธุรกิจสวนตัว หรืออาชีพอิสระทีต่ รงกับความรูค วามสามารถทีไ่ ดศกึ ษา เพิ่มเติม 2. เสริมองคความรูในอาชีพหลัก หรืออาชีพรอง 3. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงออกไปตามสายวิชาที่เรียนเสริม


บทที่ 3 เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม. 6)


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

21

มีแนวทาง ดังนี้ 1. ศึกษาตอมหาวิทยาลัย (ปริญญาตรี 4-6 ป) มหาวิทยาลัยปดของรัฐ มหาวิทยาลัยเปดของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน กลุมสาขาวิชาศึกษาศาสตรและการฝกหัดครู : ครู-อาจารย, นักบริหารศึกษา, นักวิชาการศึกษา, มัณฑนากร, เจาหนาที่โสตทัศนศึกษา, นักวิชาการเฉพาะดาน เปนตน กลุม สาขาวิชามนุษยศาสตร ศาสนา และเทววิทยา : ครู-อาจารย, นักวิชาการศึกษา, นักภาษาศาสตร, นักประพันธ, ลาม, เจาหนาที่วิเทศสัมพันธ เปนตน กลุมสาขาวิชาวิจิตรศิลปและประยุกตศิลป : ชางศิลป, ชางภาพ, นักปฏิมากร, จิตรกร, ครู-อาจารย, มัณฑนากร, นักออกแบบ เปนตน กลุม สาขาวิชานิตศิ าสตร : นิตกิ ร, ตํารวจ, นักการเมือง, เจาหนาทีส่ รรพากร, อัยการ, ครู-อาจารย, เจาหนาที่สินเชื่อ, เจาหนาที่ที่ดิน เปนตน กลุมสาขาวิชาสังคมศาสตร/บริหารพาณิชยการ/สื่อสารมวลชน/คหกรรมศาสตร : นักการเมือง, นักสังคมสงเคราะห, นักจิตวิทยา, ผูสื่อขาว, ครู-อาจารย, นักธุรกิจ, เจาหนาที่ วิเคราะหนโยบายและแผน, เจาหนาที่งานคลัง, นักโฆษณา, นักขาว, พิธีกร, นักจัดรายการ วิทยุโทรทัศน, นักแสดง, ผูผลิตภาพยนตร, นักโภชนาการ, นักออบแบบเครื่องแตงกาย, นักจิตวิทยาเด็ก เปนตน กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ : นักวิทยาศาสตร, นักเคมี, นักฟสิกส, ครูอาจารย, นักวิชาการเฉพาะดาน, เจาหนาที่คอมพิวเตอร, เจาหนาที่วิทยาศาสตรการแพทย, นักธรณีวิทยา, นักวิเคราะหวิจัย เปนตน กลุมสาขาวิชาแพทยศาสตรและวิชาที่เกี่ยวของกับสุขภาพ : ครู-อาจารย, แพทย, สัตวแพทย, พยาบาล, เภสัชกร, เจาหนาทีร่ งั สีเทคนิค, นักกายภาพบําบัด, นักจิตเวช เปนตน


22

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

กลุมสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตรสถาปตยกรรมและผังเมือง : วิศวกร, ผูควบคุม การกอสราง, โฟรแมน, ชางเขียนแบบ, ชางเทคนิค, ครู-อาจารย สถาปนิก, นักออกแบบ เปนตน กลุมสาขาวิชาเกษตรศาสตร : เกษตรกร, นักวิชาการเกษตร, เจาหนาที่ปาไม, เจาหนาที่เกษตรและสหกรณ, นักจัดสวน, นักปศุสัตว, เจาของฟารมพืชและสัตว เปนตน กลุม สาขาวิชาอืน่ ๆ นอกเหนือจาก 9 กลุม : นักกีฬา, นักสังคมสงเคราะห, พัฒนากร, ครู-อาจารย เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน

2. การศึกษาตอดานการพยาบาล-สาธารณสุข - วิทยาลัยพยาบาลตํารวจ, สภากาชาดไทย, เกือ้ การุณย, การสาธารณสุข, กองทัพบก, กองทัพเรือ, ทหารอากาศ, แพทยศาสตรพระมงกุฎเกลาแพทยศาสตรบณ ั ฑิต (6 ป), รามาธิบดี, บรมราชชนนี (29 แหง) และเอกชน - โรงเรียนพยาบาลศิริราช, รามาธิบดี, ผูชวยทันตแพทย, เทคโนโลยีทันตกรรม, ผูชวยพยาบาลศิริราช (1 ป), สถาบันพระบรมราชชนก แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชี พ ตามลั ก ษณะที่ แ ตกแขนงตามสาขาที่ เ รี ย น เช น พนั ก งาน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

23

วิทยาศาสตรการแพทย, ปฏิบัติงานในแผนกรังสีวินิจฉัย, รังสีเทคนิค, โสตทัศนศึกษา ทางการแพทย, เทคโนโลยีทันตกรรม, แพทยตามสาขาเอกที่เรียน, พยาบาล, มหาวิทยาลัย, บริษทั เอกชนในตําแหนงชางทันตกรรม, แพทยแผนไทย, พยาธิวทิ ยาคลินกิ , เภสัชกรรม เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ปวส. 1-2 ป) วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐบาล วิทยาลัยการอาชีพของรัฐบาล วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : อาชีพดานเครือ่ งมือกล, โลหะการ, ไฟฟาอิเล็กทรอนิกส, กอสราง, เทคนิคสถาปตย, เขียนแบบเครื่องกล เปนตน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ : อาชีพดานการบัญชี, คอมพิวเตอร, นักการคาระหวาง ประเทศ, การบริหารคลังสินคา, นักบริการขนสง (โลจิสติกส) เปนตน ประเภทวิชาศิลปกรรม : อาชีพดานจิตรกรรม, ประติมากรรม, นักออกแบบ, งานทางศิลปหัตถกรรม, เครื่องประดับ, อัญมณี, ชางเทคนิค เปนตน ประเภทวิ ช าคหกรรม : อาชี พ ด า นผลิ ต และตกแต ง สิ่ ง ทอ, ตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ า , งานทางดานโภชนาการ, แปรรูปอาหาร, ธุรกิจอาหาร เปนตน ประเภทวิชาเกษตรกรรม : อาชีพดานพืชศาสตร, สัตวศาสตร, อุตสาหกรรมเกษตร, การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า, ผลิตภัณฑพืชไร, พืชสวน, เทคโนโลยีสมุนไพรและอื่น ๆ เปนตน ประเภทวิชาประมง : อาชีพดานเพาะเลีย้ งสัตวนาํ้ , แปรรูปสัตวนาํ้ , ธุรกิจเพาะเลีย้ ง สัตวนํ้า เปนตน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว : อาชีพดานโรงแรมและการบริการตาง ๆ, ทองเที่ยว, ธุรกิจขนสง, สปาและความงาม เปนตน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิง่ ทอ : อาชีพดานสิง่ ทอ, เคมีสงิ่ ทอ, อุตสาหกรรมเสือ้ ผา สําเร็จรูป, เทคโนโลยีการทอผาไหมและผาพื้นเมือง เปนตน


24

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร : อาชีพดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3.1 โรงเรียนจิตรลดา (สายอาชีพ) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : อาชีพดานอิเล็กทรอนิกส, ไฟฟากําลัง, เครือ่ งมือกล และซอมบํารุง เปนตน ประเภทวิชาบริหาร : อาชีพ เชน ธุรกิจคาปลีก, คอมพิวเตอรธุรกิจ, อาหาร และโภชนาการ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3.2 วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล (2 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ชางซอม อุปกรณอิเล็กทรอนิกสประจําศูนยตาง ๆ, เจาของกิจการรานขายอุปกรณไฟฟาและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส, ผูตรวจสอบบัญชี, นักวางแผนและวิเคราะหตนทุน, นักเขียนโปรแกรม ทางบัญชี เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3.3 วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการวังไกลกังวล (2 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน พนักงาน ตอนรับ, ไกด, ลาม, โปรแกรมเมอร, เว็บดีไซนเนอร, นักวิเคราะหและดูแลระบบ, ผูเ ชีย่ วชาญ ดานฐานขอมูล, พนักงานบัญชี, ผูตรวจสอบบัญชี, นักเขียนโปรแกรมทางบัญชี เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

25

3.4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (9แหง) - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ธัญบุร,ี ศรีวชิ ยั , รัตนโกสินทร, สุวรรณภูมิ, ลานนา, พระนคร, อีสาน, กรุงเทพ แนวทางประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน กลุมงาน ทางดานวิศวกร, ผูควบคุมกอสราง, นักเขียนแบบ, ชางเทคนิค, ครู-อาจารย, นักธุรกิจ, นักโภชนาการ, นักออกแบบเครื่องแตงกาย, นักวิชาการเฉพาะดาน, เจาหนาที่วิทยาศาสตร การแพทย, ผูผ ลิตภาพยนตร, ผูส อื่ ขาว, แอรโฮสเตส, ชางศิลป, สถาปนิก, วิศวกรเฉพาะดาน, แพทยแผนไทยประยุกต, ธุรกิจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการรักษา เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3.5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ แนวทางประกอบอาชีพ 1. ครู-อาจารย, นักวิชาการ, นักพัฒนา, นักวิจัยหรือตําแหนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน เปนตน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะงานที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน 3. ประกอบอาชีพอิสระประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 3.6 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ครู-อาจารย, นักออกแบบ, วิทยากร, นักวิทยาศาสตร, นักวิจยั , พนักงานบริษทั , หนวยงานราชการ, เอกชน, รัฐวิสาหกิจ เปนตน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะงานที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน 3. ประกอบอาชีพอิสระ, ธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 3.7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี แนวทางการประกอบอาชีพ 1. อาจารยมหาวิทยาลัย, นักวิชาการ, นักวิจัย, วิศวกรคอมพิวเตอร, ไฟฟา, โรงงานอุตสาหกรรม, โยธา, สถาปนิก,โปรแกรมเมอร เปนตน


26

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

2. ประกอบอาชีพตามลักษณะงานที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน 3. ประกอบอาชีพอิสระ, ธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เปนตน 4. วิทยาลัยนาฏศิลป (ปจจุบันมี ทั้งหมด 12 แหง) คือ - วิทยาลัยนาฏศิลปกรุงเทพ, เชียงใหม, อางทอง, นครศรีธรรมราช, รอยเอ็ด, สุโขทัย, กาฬสินธุ, ลพบุรี, จันทบุรี, พัทลุง, สุพรรณบุรี, นครราชสีมา แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน รับราชการ ครู-อาจารยในสถาบันการศึกษาของรัฐ, เอกชน, สอนพิเศษ, ประกอบอาชีพดานการแสดง, บรรเลง, ธุรกิจการทองเที่ยว, ผูเชี่ยวชาญดานนาฏศิลปหรืออาชีพที่เกี่ยวของตาง ๆ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

27

5. ดานทหารและตํารวจ 5.1 โรงเรียนแผนที่ทหาร นักเรียนโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา (4 ป) นักเรียนนายสิบแผนที่ (2 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ไดรับแตงตั้งยศเปน (รอยตรี) 2. ไดรับบรรจุเขารับราชการในกรมแผนที่ทหาร, ศึกษาตอระดับปริญญาโท ปริญญาเอก เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5.2 โรงเรียนชุมพลทหารเรือ (นักเรียนจาทหารเรือ) 2 ป แนวทางการประกอบอาชีพ แตงตั้งยศเปน จาตรี, รับราชการในตําแหนงชางสํารวจในกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ, เขารับราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติ ในสวนของตํารวจนํา้ , ประกอบธุรกิจ สวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


28

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

5.3 โรงเรียนจาอากาศ (2 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ รับราชการในกองทัพอากาศ, พนักงานบริษัทวิทยุการบิน, พนักงานบริษัท การทาอากาศไทย, บรรจุในหนวยปฏิบตั กิ ารพิเศษหรือประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอืน่ ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5.4 โรงเรียนนายสิบทหารบก (2 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ ไดรบั การบรรจุเขารับราชการในกองทัพบก, ประกอบอาชีพในกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ, ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5.5 ศูนยฝกอบรมตํารวจ/โรงเรียนนายสิบตํารวจ แนวทางการประกอบอาชีพ รับราชการในสังกัดของสํานักงานตํารวจแหงชาติ, ประกอบอาชีพในกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ, ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5.6 โรงเรียนนายรอยตํารวจ (4 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ รับราชการไดรับการแตงตั้งยศเปนนายตํารวจสัญญาบัตร ในสํานักงานตํารวจ แหงชาติ, ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

29

5.7 โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา (จปร.) 4 ป แนวทางการประกอบอาชีพ รั บ ราชการได รั บ การแต ง ตั้ ง ยศเป น นายทหารสั ญ ญาบั ต รในกองทั พ บก, ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5.8 โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช (4 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ รับราชการไดรับการแตงตั้งยศเปนนายทหารสัญญาบัตรในกองทัพอากาศ ตามหนวยงานตาง ๆ, เปนนักบินประจํากอง, นักบินของบริษัทการบินไทย, ประกอบธุรกิจ สวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 5.9 โรงเรียนนายเรือ (4 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ รั บ ราชการได รั บ การแต ง ตั้ ง ยศเป น นายทหารสั ญ ญาบั ต รในกองทั พ เรื อ , ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


30

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

6. หลักสูตรเฉพาะหนวยงาน 6.1 โรงเรียนชางฝมือในวัง (ชาย) 6.2 โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ (วิทยาลัยในวังหญิง) 6.3 โรงเรียนพระดาบส (1 ป) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน งานเขียน, งานปน , งานหัวโขน, งานลายรดนํา้ , งานฝมอื ประดับมุก, งานดนตรีพธิ หี ลวง, งานแทงหยวก, การทําอาหารคาว หวาน, เครือ่ งดืม่ และอาหารวาง, การแกะสลักผักและผลไม, การถนอมอาหาร ตาง ๆ, การบริการอาหารในโอกาสตาง ๆ งานดอกไมสดและการจัดดอกไมสดในงานพิธตี า ง ๆ การปก, ชางเทคนิคที่เกี่ยวกับชางยนต, ชางเทคนิคที่เกี่ยวกับชางไฟฟา, ชางเทคนิคที่เกี่ยว กับการซอมบํารุงเครื่องจักรในโรงงาน, งานดูแลเด็กและผูสูงอายุ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

31

6.4 โรงเรียนการไปรษณีย (บริษทั ไปรษณียไ ทย จํากัด) แนวทางการประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพในบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด (เปนพนักงานระดับ 2 ) , ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบ อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน

6.5 สถาบันการบินพลเรือน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชี พ ในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน อาชีพดาน จัดการจราจรอากาศ, การขนสงสินคา, ดานการจัดการทาอากาศยาน, ผูจัดการสนามบิน, งานที่เกี่ยวกับวิศวกรรมการบิน, งานบํารุงเครื่องวัดประกอบการบิน, บํารุงรักษาเครื่องมือ สื่อสารการบิน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


32

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

6.6 ศูนยฝกพาณิชยนาวี (กรมเจาทา กระทรวงคมนาคม) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชี พ ตามลั ก ษณะที่ แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน ประกอบอาชีพ กั ป ตั น เรื อ ในฝ า ยเดิ น เรื อ บนเรื อ ขนส ง สิ น ค า ระหวางประเทศ, งานทาเรือ เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 6.7 วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน 2. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงตามสาขาที่เรียน เชน รับราชการ ในกรมชลประทาน, ควบคุมงานกอสราง (โยธา) กรมชลประทานและการจัดการทรัพยากรนํา้ ในกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

33

6.8 สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพเปนพนักงานของ บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) 2. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน 6.9 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน หรือ โรงงานอุตสาหกรรม, ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงไปตามลักษณะสาขาที่เรียน 2. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


34

เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

6.10 สถาบันอบรมไอทีไอ (สมาคมชิปปง แหงประเทศไทย) โรงเรียนธุรกิจการขนสง และการคาระหวางประเทศเปนผูสําเร็จการศึกษา ม.6, ปวช., ปวส. และปริญญาตรีขึ้นไป ไมจํากัดสาขา แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ทํ างานเกี่ ยวกับ การขนสงสิน คาระหว า งประเทศ (ทางเรื อ , เครื่ อ งบิ น , รถไฟ, ไปรษณีย, พัสดุ), ธุรกิจผูใหบริการดานโลจิสติกส, ทํางานเปนผูนําเขา-ผูสงออก, ทํางานในบริษัทประกันภัย, ธนาคารพาณิชยและธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 2. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน

เอกชน

7. ศึกษาตอในสถานศึกษาดานวิชาชีพระยะสั้น - สํานักงานจัดหางานจังหวัด/สํานักงานจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 1-10 - สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน/ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด - โรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพฯ/ศูนยฝก อาชีพกรุงเทพฯ - โครงการอบรมวิชาชีพสําหรับ ปชช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - วิทยาลัยชุมชนกรุงเทพมหานคร - โรงเรียนพระดาบส (1 ป) - โรงเรียนชางฝมือในวัง เปนตน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชีพในภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ

2. ประกอบอาชี พ ตามลั ก ษณะที่ แ ตกแขนง ตามสาขาที่เรียน เชน ประกอบอาชีพอิสระที่ตรงกับความรู ความสามารถ บุคลิกภาพ ความถนัด และทักษะของแตละบุคคล วิทยากร สาธิตอาชีพ (ของแตละบุคคล) เปนตน 3. ประกอบธุรกิจสวนตัวหรือประกอบอาชีพอืน่ ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เปนตน


เส้นทางการศึกษาต่อเมื่อเรียนจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 (ม.6)

35

8. แหลงการศึกษา เรียนรูดวยตนเองและการศึกษาผานระบบออนไลน เว็บเรียนออนไลนที่นาสนใจ - โครงการ E-Learning http://edltv.vec.go.th - โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา HYPERLINK “http://www.school.net.th” www.thaicyberu.go.th/ - E-Learning สถาบัน กศน. HYPERLINK “http://nfe.go.th” www.nfe.go.th/webnfe/ เปนตน - SchoolNet ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ HYPERLINK http://www.school.net.th www.school.net.th/ - แหลงเรียนรูแบบยกกําลัง 2 บนโลกยุคไอที (NECTEC) http://elearning.nectec.or.th/ - แหลงเรียนรูออนไลน สามารถคนหาไกดจาก HYPERLINK “http://www.google.com” www.google.com เปนตน แนวทางการประกอบอาชีพ 1. ประกอบธุ ร กิ จ ส ว นตั ว หรื อ อาชี พ อิ ส ระที่ ต รงกั บ ความรู  ค วามสามารถ ที่ไดศึกษาเพิ่มเติม 2. เสริมองคความรูในอาชีพหลัก หรืออาชีพรอง 3. ประกอบอาชีพตามลักษณะที่แตกแขนงออกไปตามสายวิชาที่เรียนเสริม แหลงอางอิง http://th.wikipedia.org http://www.dek-d.com http://www.dt.mahidol.ac.th http://www.rcmsc.com http://www.bcn.ac.th http://www.panyapiwat.ac.th http://enn.co.th http://www.bpi.ac.th http://www.unseenedu.com เว็บไซตหนวยงาน / สถานศึกษาที่เกี่ยวของ เปนตน


36

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

บทที่ 4 ข้อมูลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชา ที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

ในปจจุบันนี้แตละประเทศยอมแขงขันกันพัฒนาประเทศของตนเองใหเจริญ กาวหนาเพือ่ แกไขปญหาตาง ๆ ทีต่ นเองกําลังประสบ ทัง้ ในเรือ่ งปญหาสังคม ปญหาเศรษฐกิจ จนกระทั่งถึงปญหาอาชญากรรมตาง ๆ ทุกประเทศยอมเรงรัด แกปญหาตาง ๆ ใหหมดไป แตปญหาดังกลาวจะไมสามารถหมดไปไดหากประชาชนในประเทศนั้น ๆ ขาดการศึกษา การศึกษาจึงเปนสิ่งที่ทุกประเทศควรใหความสําคัญเปนอันดับตน ๆ และประเทศไทยเองก็มี การเรงรัดพัฒนาการศึกษาอยางตอเนื่องและสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน ที่มีกวา 100 แหงทั่วประเทศ ขณะนี้ไดเริ่มมีการปรับตัวในหลาย ๆ ดาน ไมวาจะเปน หลักสูตรการเรียนการสอน การเพิ่มศักยภาพของบุคลากร เปนตน ซึง่ แนวโนมการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ระบบการศึกษาไทย เพือ่ ใหไดมาตรฐาน จึงมุง เนน แนวโนมการศึกษาไทย ทีจ่ าํ เปนตองมีทศิ ทางการพัฒนาคุณลักษณะการศึกษาไทย ใหทนั ยุคทันสมัย โดยเฉพาะทันในยุคศตวรรษที่ 21 ซึง่ จะเนนเด็กไทยตองเตรียมความพรอม ใน 10 ประการดังนี้


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

37

1. มีการใชและการบูรณาการเทคโนโลยีที่มากขึ้น 2. ใชหลักความเปนโลกเรียนรูสิ่งที่ไกลตัวออกไป 3. ตระหนักถึงปจจัยดานเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลตอการจัดการศึกษา 4. ความจําเปนมีแรงงานเชิงแขงขันที่มีทักษะสูง 5. การศึกษาแบบไรพรมแดนและขามพรมแดน 6. การแลกเปลี่ยนครูและนักเรียนใหมีประสบการณระดับโลกมากขึ้น 7. ความสรางสรรคมากขึ้น ความรูถูกสรางขึ้นมีมากขึ้น 8. การเปนหุน สวนระหวางรัฐบาล กรรมการสถานศึกษา สถานศึกษาและนักการศึกษา 9. การเรียนรูแบบเปนทางการและไมเปนทางการโดยใชเทคโนโลยี 10. ยึดหลักการประเมินสินทรัพยเปนการประเมินเชิงเปรียบเทียบ


38

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

นอกจากนั้นในดานการเตรียมเด็กนักเรียน ในปจจุบันเพื่อตอบรับตลาดแรงงาน ในอนาคตที่ซับซอนและมีการแขงขันกันโดยจะเนนในเรื่องของทักษะที่ถือวาเปนปจจัยที่ สงผลใหเมื่อจบการศึกษาแลวจะประสบความสําเร็จในการมีงานทํา มีอาชีพในอนาคต ดังนี้ ทักษะในการเตรียมความพรอม คือ 1. ทักษะการคิดสรางสรรคและการแกปญหา 2. ทักษะการทํางานรวมกันผานเครือขายและการนําผูอื่นโดยอิทธิพล 3. ทักษะความคลองแคลวและสามารถปรับตัว 4. ทักษะการริเริ่ม และการเปนผูประกอบการ กลาคิด กลาทํา 5. ทักษะการสื่อสารโดยการพูดและการเขียนที่มีประสิทธิภาพ 6. ทักษะการเขาถึงและการวิเคราะหสารสนเทศ 7. ทักษะความเปนผูอยากรูอยากเห็นและมีจินตนาการ เปนตน ซึ่งขอมูลรายละเอียดขางตนทั้งหมดเปนการสอดคลองกับการปฏิรูปการเรียนรู ในปจจุบันที่มุงเนนการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนมีความสามารถในการเรียนรู และพัฒนาตนเองได ผูเรียนสามารถที่จะพัฒนาไดเต็มศักยภาพ และผูเรียนสรางความรู ดวยตนเองได และจะสอดรับมาตรฐานการอุดมศึกษาในเรื่องของคุณภาพบัณฑิต ซึ่งเมื่อ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาแลว บัณฑิตจะตองมีความรู ความเชี่ยวชาญในศาสตรของตน สามารถปฏิบตั งิ านและสรางงานเพือ่ พัฒนาสังคมใหสามารถแขงขันในระดับสากลได เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

39

ขอแนะนําในการเลือกคณะและสถาบันที่ตองการสมัครเรียนตอ ข อ แนะนํ า ให ข  อ มู ล ของคณะและสถาบั น ที่ ต  อ งการเข า ศึ ก ษาโดยละเอี ย ด กอนเขาศึกษา เพื่อประโยชนกอนสมัครเขาศึกษา มีดังนี้ 1. การประเมินตนเองนั้น เริ่มโดยการตั้งคําถาม ถามตนเอง อาทิ สิ่งใดที่ทําให เรามีความสนุก สิ่งใดที่เราชอบและไมชอบ วิชาใดที่เราถนัด เปนตน 2. การประเมินจากปจจัยภายนอกนัน้ เริม่ จากสอบถามบุคคลภายนอกหรือเพือ่ นสนิท สวนไหนเปนขอเดนและขอดอยในเรื่องของความสามารถ เปนตน 3. ภาพรวมของอาชีพในอนาคต 4. การใชบริการแนะแนวของหนวยงานตาง ๆ หรือศูนยใหบริการแนะแนว ตามมหาวิทยาลัยตาง ๆ 5. การสอบถามพูดคุยกับนักศึกษามหาวิทยาลัยในสาขาที่เราตองการจะศึกษาตอ 6. ตัวอยางรูปแบบของมหาวิทยาลัย สามารถอานขอมูลเพิม่ เติมไดที่ http://www. oeaberlin.de/c-germaneducation/university-vs-fachhochschule/ 7. การศึกษาในสวนของรายวิชาและสาขาที่เนนจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ 8. สาขาวิชาที่ตองการจะสมัครจํากัดจํานวนรับนักศึกษาหรือไม 9. สาขาวิชาทีต่ อ งการจะสมัครมีขอ บังคับใหฝก งานกอนเขาศึกษาหรือไม และเปน เวลานานเทาไร 10. หลักสูตรทีต่ อ งการจะสมัครมีรายละเอียดอยางไร สามารถเลือกวิชาเอกอะไรไดบา ง 11. หาขอมูลของสาขาวิชาตาง ๆ ไดจากเว็บไซตหรือเอกสารเผยแพรของมหาวิทยาลัย และจากแหลงขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 12. เขาชมงาน Open house ของมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่จัด 13. สํารวจความชอบ ความสนใจ ความถนัดและทักษะของตนเอง ซึ่งเปนเรื่อง ที่สําคัญมาก เปนตน


40

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

• กลุมที่ 1 สาขาวิชาศึกษาศาสตร

คณะ

ศึกษาศาสตร/ครุศาสตร/ครุศาสตรอุตสาหกรรม(เรียนครุศาสตรรวมกับวิศวกรรม เชน วิศวกรรมเครื่องกล ไฟฟา การผลิต โยธา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร) เปนตน

สาขาวิชา

ปฐมวั ย /ประถมศึ ก ษา/มั ธ ยมศึ ก ษา/อาชี ว ศึ ก ษา/อุ ด มศึ ก ษา/การศึ ก ษา นอกระบบโรงเรียน/ธุรกิจการศึกษา/สุขศึกษาและพลศึกษา/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/ จิตวิทยา การปรึกษา การแนะแนวและการศึกษาพิเศษ/การบริหารการศึกษา/การบริหาร อาชีวศึกษา/การวัดผลและวิจัยการศึกษา/เทคโนโลยีการศึกษา/คหกรรมศาสตรศึกษา/ การสอนวิทยาศาสตร/การสอนคณิตศาสตร/ธุรกิจและคอมพิวเตอรศกึ ษา/การศึกษาผูใ หญ/ อุตสาหกรรมศึกษา เปนตน ความรูพื้นฐาน ควรมีความรูด า นภาษา/สังคมศึกษา และวิชาอืน่ ๆ ทีต่ นถนัดในการเลือกสาขาวิชาทีจ่ ะศึกษา ตอในระดับอุดมศึกษา เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

41

บุคลิกภาพที่เหมาะสม เปนผูใฝการศึกษา มีใจรักความเปนครู มีอุดมคติ รักเด็ก มีคุณธรรม เมตตากรุณา ปรับตัว เขากับคนอื่นไดงาย มีความสามารถในการถายทอดความรูไดดี มีบุคลิกภาพที่เปนแบบอยาง ที่ดี เปนตน ลักษณะอาชีพ การถายทอดความรูแกเยาวชนหรือบุคคล ดูแลแนะนําใหเด็กมีคุณธรรม ประเมิน ผลการเรียนการสอน บริหารและบริการเพื่อประโยชนทางการศึกษา เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา ครู-อาจารย/นักบริหารการศึกษา/นักวิชาการศึกษา/นักแนะแนว/เจาหนาที่ฝก อบรม/เจาหนาที่โสตทัศนศึกษา/นักจิตวิทยา/นักดนตรี/นักสันทนาการ เปนตน • กลุมที่ 2 สาขาวิชามนุษยศาสตร ศาสนา และเทววิทยา

คณะ

อั ก ษรศาสตร / มนุ ษ ยศาสตร / ศิ ล ปศาสตร / สั ง คมศาสตร / มนุ ษ ยศาสตร แ ละ สังคมศาสตร/โบราณคดี เปนตน


42

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

สาขาวิชา

ภาษาศาสตร/ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ/ภาษาจีน/ภาษาญี่ปุน/ภาษาเยอรมัน/ ภูมิศาสตร/ประวัติศาสตร/บรรณารักษ/ปรัชญา/ศาสนา/โบราณคดี เปนตน ความรูพื้นฐาน มีความรูท างดานสังคมศึกษา/ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษและภาษาอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความสามารถและทักษะทางภาษา รักการอาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มั่นใจในตนเอง ละเอียดรอบคอบ มีความพากเพียร สนใจการเปลีย่ นแปลงในศิลปวัฒนธรรม และสิง่ แวดลอม เปนตน ลักษณะอาชีพ เปนงานทีศ่ กึ ษาคนควาเรือ่ งราวตาง ๆ ของมนุษยตงั้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั วิเคราะห วิจัยเหตุการณในอดีตปจจุบัน และรวบรวมขอมูลทางประวัติศาสตร เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา ครู-อาจารย/นักวิชาการศึกษา/นักภาษาศาสตร/นักประพันธ/มัคคุเทศก/ลาม/ บรรณารักษ/นักโบราณคดี/เลขานุการ/เจาหนาที่ประชาสัมพันธ/เจาหนาที่วิเทศสัมพันธ เปนตน • กลุมที่ 3 สาขาวิชาวิจิตรศิลปและประยุกตศิลป คณะ

วิจิตรศิลป/จิตรกรรม/ประติมากรรม/มัณฑนศิลป/ศิลปกรรมศาสตร/โบราณคดี/ มนุษยศาสตร เปนตน สาขาวิชา

ทั ศ นศิ ล ป / นิ เ ทศศิ ล ป / นฤมิ ต ศิ ล ป / นาฏยศิ ล ป / ดุ ริ ย างศิ ล ป / ศิ ล ปะไทย/


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

43

ศิ ล ปะประยุ ก ต / ประวั ติ ศ าสตร / ศิ ล ปะการออกแบบหั ต ถอุ ต สาหกรรม/จิ ต รกรรม/ ประติมากรรม/ภาพพิมพ เปนตน ความรูพื้นฐาน มีความรูดีในวิชาภาษาไทย/สังคมศึกษา/ภาษาอังกฤษ/คณิตศาสตร/ศิลปะดนตรี (ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ) เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มี ค วามสามารถและถนั ด ทางศิ ล ปะ มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร า งสรรค รั ก อิ ส ระ ไมชอบเลียนแบบใคร รักความสวยงามและธรรมชาติ มีความละเอียดออน เปนตน ลักษณะอาชีพ เปนงานเกี่ยวกับศิลปะประดิษฐ เสนอแนวคิดดานศิลปะ เปนการแสดงออก เฉพาะบุคคลในดานศิลปะแขนงตาง ๆ เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา ชางศิลป/ชางภาพ/นักแตงเพลง/นักประติมากรรม/จิตรกร/ครู-อาจารย/มัณฑนากร/ นักวิชาการ/เจาหนาที่โสตทัศนศึกษา/นักออกแบบ เปนตน


44

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

• กลุมที่ 4 สาขาวิชานิติศาสตร สาขาวิชา

กฎหมาย/กฎหมายมหาชน/กฎหมายเอกชน/กฎหมายอาญา/กฎหมายธุรกิจ/ บริหารกฎหมาย/กฎหมายที่ดินและทรัพยสิน/กฎหมายระหวางประเทศ เปนตน ความรูพื้นฐาน มีความรูดานภาษาไทย/ภาษาตาง ๆ/สังคมศึกษา/คณิตศาสตร และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มีลักษณะผูนํา บุคลิกภาพดี มนุษยสัมพันธดี ชอบสังคม จดจําระเบียบแมนยํา ซื่อสัตย รับผิดชอบ รักความยุติธรรม มีเหตุผล กลาแสดงความคิดเห็น มีความมั่นใจในตัวเอง เปนตน ลักษณะอาชีพ เปนงานที่เกี่ยวของกับบุคคล/องคการดานกฎหมายและระเบียบตาง ๆ/คดีแพง/ คดีอาญา/ใหคําแนะนําปรึกษากฎหมาย/พิพากษา/อรรถคดี เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา ผูพ พิ ากษา/อัยการ/ทนายความ/นิตกิ ร/ตํารวจ/นักการเมือง/เจาหนาทีส่ รรพากร/ ครู - อาจารย / เจ า หน า ทิ่ สิ น เชื่ อ /เจ า หน า ที่ ที่ ดิ น /เจ า หน า ที่ เ ร ง รั ด หนี้ สิ น /เจ า หน า ที่ แรงงานสัมพันธ/ที่ปรึกษากฎหมาย เปนตน • กลุมที่ 5 สาขาวิชาสังคมศาสตร 5.1 กลุมสังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตร คณะ

สั ง คมศาสตร / มนุ ษ ยศาสตร / ศิ ล ปศาสตร / รั ฐ ศาสตร / มนุ ษ ยศาสตร แ ละ สังคมศาสตร/สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา/สังคมสงเคราะหศาสตร/สถิติประยุกต/พัฒนา การเศรษฐกิจ เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

45

สาขาวิชา

ภูมศิ าสตร/ประวัตศิ าสตร/จิตวิทยา/กฎหมาย/การเมืองการปกครอง/พัฒนาชุมชน/ เทคโนโลยีสงั คม/สัมมนาสังคม/บรรณารักษศาสตร/การพัฒนาทรัพยากรมนุษย/การวิเคราะห และวางแผนทางสังคม เปนตน ความรูพื้นฐาน ความรูด า นภาษาไทย/คณิตศาสตร/สังคมศึกษา/ภาษาตางประเทศ และวิชาอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความสนใจศึกษาชีวติ มนุษย/สังคม/ทรัพยากรและสิง่ แวดลอม/มีทกั ษะทางภาษา ทั้งการเขียนและการพูด/ชอบชวยเหลือสังคม/กลาแสดงความคิดเห็น/มีมนุษยสัมพันธดี/ มีจิตใจโอบออมอารี เปนตน ลักษณะอาชีพ วางแผนสํารวจ วิจัยขอมูลตาง ๆ ทางสังคม/เศรษฐกิจการเมือง/จิตวิทยาและ สังคมวิทยา/เผยแพรความรูและขาวสารสูประชาชน/ศึกษาวิจัยชีวิตของมนุษยดานสังคม สิ่งแวดลอม และพฤติกรรม เปนตน


46

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา นั ก สั ง คมสงเคราะห / นั ก จิ ต วิ ท ยา/นั ก สั ง คมวิ ท ยา/มานุ ษ ยวิ ท ยา/ผู  สื่ อ ข า ว/ ครู-อาจารย/มัคคุเทศก/นักวิเคราะหนโยบายและแผน/เจาหนาที่ฝกอบรม/งานบุคคล/ เจาหนาที่ประชาสัมพันธ/ปลัดอําเภอ/นักบริหาร/เจาหนาที่ฝายปกครอง/นักการเมือง/ นักวิจัย/นักการทูต/นักพัฒนาสังคม เปนตน

5.2 กลุมการบริหารพาณิชยการและธุรกิจ คณะ

บริหารธุรกิจ/พาณิชยศาสตรและการบัญชี/เศรษฐศาสตร/วิทยาการจัดการ/ สังคมศาสตร เปนตน

สาขาวิชา

บั ญ ชี / การเงิ น การธนาคาร/การบริ ห ารธุ ร กิ จ /การจั ด การบริ ห ารงานบุ ค คล/ การเลขานุการ/สถิติ/การสหกรณ/การทองเที่ยว/การโรงแรม/การตลาด/การตลาดระหวาง ประเทศ/เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ/พาณิชยนาวี เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

47

ความรูพื้นฐาน ความรูดานคณิตศาสตร/สถิติ/ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ/สังคมวิทยา และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม เปนคนคลองตัวเชิงธุรกิจ/มีความสามารถในการวางแผน/ฉลาดเฉลียว/มีไหวพริบ/ สนใจขาวสารและเศรษฐกิจ/มีความรูละเอียดรอบคอบ/สุขุม/ขยันหมั่นเพียร/กลาตัดสินใจ/ เชื่อมั่นในตนเอง/มีความสามารถดานคณิตศาสตรและสถิติ เปนตน ลักษณะอาชีพ วางแผนดําเนินธุรกิจ/ติดตอประสานงาน/ปฏิบตั งิ านดานตาง ๆ ในองคกรดานธุรกิจ เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา นักธุรกิจ/นายธนาคาร/นักวิจยั ตลาด/ผูข ายประกัน/พนักงานขาย/เจาหนาทีพ่ สั ดุ/ เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน/เจาหนาที่การเงิน/ครู-อาจารย/เจาหนาที่งานคลัง สรรพากร/สมุหบัญชี/พนักงานคลังสินคา/นักวิเคราะหระบบ/โปรแกรมเมอร เปนตน 5.3 กลุมสื่อสารมวลชนและการเอกสาร คณะ

นิเทศศาสตร/วารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน/มนุษยศาสตร/อักษรศาสตร/ ศิลปศาสตร เปนตน สาขา หนังสือพิมพ/การประชาสัมพันธ/การโฆษณา/วิทยุโทรทัศน/ภาพยนตร/ภาพถาย/ งานสารนิเทศ/บรรณารักษ/วาทศิลป/การสื่อสาร เปนตน ความรูพื้นฐาน ความรูดานภาษาไทย/ภาษาตางประเทศ/สังคมศึกษา เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความสามารถดานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ/มีทกั ษะในการสือ่ สาร/มีความคิด ริเริ่มสรางสรรค/กลาแสดงความคิดเห็น/มีมนุษยสัมพันธที่ดี/ชอบการสมาคม/ชางสังเกต/ สนใจขาวสารรอบตัว เปนตน


48

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

ลักษณะอาชีพ บริหารงานเอกสาร/เผยแพรประชาสัมพันธขอมูลขาวสารสื่อตาง ๆ/นําเสนอขาว/ สารคดี/ภาพยนตร/ละคร/ผลิตงานโฆษณา เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา นักโฆษณา/นักประชาสัมพันธ/นักขาว/พิธีกร/นักหนังสือพิมพ/นักการเมือง/ ครู-อาจารย/นักจัดรายการวิทยุโทรทัศน/โฆษกวิทยุโทรทัศน/นักแสดง/ผูผ ลิตภาพยนตร เปนตน

5.4 กลุมคหกรรมศาสตร คณะ

ศึกษาศาสตร/เกษตรศาสตร/คหกรรมศาสตร/มนุษยศาสตร เปนตน

สาขาวิชา

คหกรรมศาสตร/พัฒนาการเด็กและครอบครัว/โภชนาการชุมชน และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน

ความรูพื้นฐาน ความรูดานสุขศึกษา/สังคมศึกษา/ภาษาไทยและดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

49

บุคลิกภาพที่เหมาะสม เปนผูรักและสนใจความเปนอยูที่ดีของมนุษยในเรื่องปจจัยสี่ เชน ที่อยู เสื้อผา ยารักษาโรค อาหาร/มีศิลปะในการปรุงอาหารหรือแตงกาย/มีความรูในเรื่องโภชนาการ/ สามารถดําเนินธุรกิจดานการประกอบอาหาร/การออกแบบเครือ่ งแตงกายและตัดเย็บเสือ้ ผา/ การดูแลเด็กและใหความรูเรื่องพัฒนาการเด็ก เปนตน ลักษณะอาชีพ ใหความรูเ รือ่ งโภชนาการ สามารถดําเนินงานธุรกิจดานประกอบอาหารและตัดเย็บ การดูแลเด็กและใหความรูเรื่องพัฒนาการเด็ก เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา นักโภชนาการ/นักออกแบบเครื่องแตงกาย/นักจิตวิทยาเด็ก/ครู-อาจารย เปนตน • กลุมที่ 6 สาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ คณะ

วิทยาศาสตร/วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี/วิทยาศาสตรประยุกต/เทคโนโลยี อุตสาหกรรม/ทรัพยากรธรรมชาติ เปนตน สาขาวิชา

เคมี/ ฟ สิ ก ส /ชี ว วิ ทยา/คณิต ศาสตร/ สถิติศ าสตร / คอมพิ ว เตอร / วั ส ดุ ศ าสตร / เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส/รังสีประยุกสและไอโซโทป เปนตน ความรูพื้นฐาน ความรู  ด  า นคณิ ต ศาสตร / วิ ท ยาศาสตร / เคมี / ฟ สิ ก ส / ชี ว วิ ท ยา/ภาษาอั ง กฤษ และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มี ส ติ ป  ญ ญาดี / สนใจงานด า นวิ ท ยาศาสตร / ชอบใช ป  ญ ญามากกว า แรงงาน/ ชางสังเกต/ละเอียดรอบคอบ/ชอบคนควาทดลอง/เชือ่ มัน่ ในตนเอง/ใฝหาความรูก บั วิทยาการ ใหม ๆ เสมอ/ไมชอบเลียนแบบสังคม เปนตน


50

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

ลักษณะอาชีพ เปนงานวิทยาศาสตร/คนควาศึกษาทดลอง/วิเคราะหวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ตามธรรมชาติหรือหองปฏิบัติการ เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา นักวิทยาศาสตร/นักเคมีปฏิบัติ/นักฟสิกส/นักคณิตศาสตร/นักอุตุนิยมวิทยา/ เจาหนาที่คอมพิวเตอร/เจาหนาที่วิทยาศาสตรการแพทย/นักนิเวศวิทยา/นักธรณีวิทยา/ นักวิเคราะห วิจัย/ครู-อาจารย เปนตน • กลุมที่ 7 สาขาวิชาแพทยศาสตรและวิชาที่เกี่ยวของกับสุขภาพอนามัย

คณะ

แพทยศาสตร/พยาบาลศาสตร/เทคนิคการแพทย/สาธารณสุขศาสตร/เภสัชศาสตร/ ทันตแพทยศาสตร/สัตวแพทยศาสตร/วิทยาศาสตรสขุ ภาพ/เวชศาสตรเขตรอน/วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปนตน สาขาวิชา

การแพทย/การพยาบาล/กายภาพบําบัด/รังสีเทคนิค/โภชนวิทยา/อนามัยชุมชน/ จิตวิทยาคลินิก/ทันตกรรม/เภสัชกรรม/สัตวแพทย/วิทยาศาสตรการแพทย เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

51

ความรูพื้นฐาน ความรูดานชีววิทยา/เคมี/ฟสิกส/คณิตศาสตร/ภาษาอังกฤษ และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม เปนกลุมคนที่มีสติปญญาดี/ใชเหตุผลมากกวาการจินตนาการ/มีความสามารถ ทางดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร/กลาตัดสินใจ/ใจคอหนักแนน/มีจรรยาบรรณวิชาชีพ/ สุขภาพกาย-สุขภาพจิตดี/ไมพิการทางรางกาย เปนตน ลักษณะอาชีพ ศึกษาคนควา/วิเคราะห/วิจัย/ทดลอง/ตรวจวินิจฉัย/ใหบริการทางการแพทย และวิทยาศาสตร/บําบัดรักษาโรคภัยของมนุษย ตลอดจนสงเสริมปองกันใหบคุ คลมีสขุ ภาพดี เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา แพทย/สัตวแพทย/พยาบาล/เภสัชกร/เจาหนาทีว่ ทิ ยาศาสตรการแพทย/เจาหนาที่ รังสีเทคนิค/นักกายภาพบําบัด/นักจิตเวช/ครู-อาจารย/เจาหนาที่สาธารณสุข เปนตน • • กลุมที่ 8 สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร 8.1 กลุมวิศวกรรมศาสตร คณะ สาขาวิชา

วิศวกรรมศาสตร/เทคโนโลยี/เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/พลังงานและวัสดุ เปนตน

วิศวกรรมอุตสาหกรรม/วิศวกรรมโลหการ/วิศวกรรมสื่อสาร/วิศวกรรมไฟฟา/ วิศวกรรมโยธา/วิศวกรรมคอมพิวเตอร/วิศวกรรมเกษตร/วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส/วิศวกรรม เคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดลอม/วิศวกรรมไฟฟาเครื่องกลการผลิต เปนตน


52

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

ความรูพื้นฐาน ความรูด า นคณิตศาสตร/ฟสกิ ส/เคมี/ภาษาอังกฤษ และวิชาอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม สติปญญาดี/มีความสามารถทางดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร โดยเฉพาะ ฟสกิ ส/มีทกั ษะดานมิตสิ มั พันธ/ชอบทํางานทีเ่ ปนรูปธรรมมากกวานามธรรม/ชอบประดิษฐ/ คิดคน/ไมชอบสังคม/อดทน/ละเอียดรอบคอบ/มีความมั่นใจในตนเอง/มีความคิดริเริ่ม/ ซื่อสัตย เปนตน ลักษณะอาชีพ เปนงานดานวิทยาศาสตรประยุกตเกี่ยวกับการออกแบบ/วางแผนการควบคุม/ การกอสราง/ผลิตติดตอ/การใชซอมแซมสิ่งกอสรางอุปกรณตาง ๆ เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา วิศวกร/ผูควบคุมการกอสราง/โฟรแมน/ชางเขียนแบบ/ชางเทคนิค/ครู-อาจารย เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

53

8.2 กลุมสถาปตยกรรมศาสตรและผังเมือง คณะ เปนตน

สถาปตยกรรม/สถาปตยกรรมภายใน/การออกแบบชุมชนเมือง/ภูมสิ ถาปตยกรรม

สาขาวิชา

สถาปตยกรรมภายใน/สถาปตยกรรมไทย/สถาปตยกรรมผังเมือง/การออกแบบ ชุมชนเมือง/ภูมิสถาปตยกรรม เปนตน

ความรูพื้นฐาน ความรูด า นคณิตศาสตร/ฟสกิ ส/เคมี/ภาษาอังกฤษ และวิชาอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความสามารถและพื้นฐานทางศิลปะ/รักศิลปะ/มีความคิดริเริ่มและจินตนาการ/ มีความคิดในลักษณะที่เปนตรรกศาสตร/สามารถถายทอดเปนภาพและรูปธรรมที่เห็นได/ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เปนตน ลักษณะอาชีพ การออกแบบสรางอาคารสถานที่/พัฒนาผังเมือง เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา สถาปนิก/นักออกแบบ/ครู-อาจารย เปนตน • กลุมที่ 9 สาขาวิชาเกษตรศาสตร วนศาสตร และการประมง คณะ เปนตน

เกษตรศาสตร/ประมง/วนศาสตร/เทคโนโลยีการเกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร


54

ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

สาขาวิชา

เกษตรกลวิธาน/กีฏวิทยา/โรคพืช/ปฐพีวิทยา/พืชไร/พืชสวน/สัตวบาล/สงเสริม การเกษตร/การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า เปนตน

ความรูพื้นฐาน ความรูดานชีววิทยา/เคมี/ฟสิกส/คณิตศาสตร/ภาษาอังกฤษ และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน บุคลิกภาพที่เหมาะสม รักธรรมชาติ/ชอบทํางานทีใ่ ชกาํ ลัง/ทํางานกลางแจงได/สันโดษ/อารมณเยือกเย็น/ รักอิสระ/ชอบการผจญภัย/ไมพถิ พี ถิ นั ในการใชชวี ติ มากนัก/สุขภาพแข็งแรง/อดทน/ขยันขันแข็ง เปนตน ลักษณะอาชีพ ศึกษา/สังเกต/วิเคราะห/วิจัย/ผลิต/ปองกัน/สงเสริม/เผยแพร/จัดการอนุรักษ และแปรรูปผลิตผลดานการเกษตร/เลี้ยงสัตว/ประมง/ปาไม เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา เกษตรกร/นักวิชาการเกษตร/เจาหนาที่ปาไม/นักการประมง/เจาหนาที่เกษตร และสหกรณ/นักจัดสวน/นักปศุสัตว/เจาของฟารมพืชและสัตว เปนตน


ข้อมู ลวางแผน การศึกษาและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีในประเทศไทย

55

• กลุมที่ 10 สาขาวิชาอื่น ๆ ไดแก อาชญาวิทยา การศึกษาสิ่งแวดลอม สวัสดิการสังคม นาวิกศาสตร ฯลฯ คณะ

วิทยาศาสตร/พลศึกษา/สังคมสงเคราะหศาสตร/สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร/ รัฐศาสตร เปนตน สาขาวิชา

สังคมสงเคราะหศาสตร/สังคมสงเคราะหทางการแพทย/สันทนาการ/พลศึกษา/ สังคมสงเคราะหทางการศึกษา/สังคมสงเคราะหในกระบวนการยุตธิ รรม/สิง่ แวดลอมอาชญา วิทยาและงานยุติธรรม/พัฒนาแรงงานและสวัสดิการ เปนตน ความรูพื้นฐาน พื้นฐานวิชาแตกตางไปตามสาขาวิชาที่เปดสอน บุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความเปนผูนํา ผูตามที่ดี/กลาหาญ/อดทน/เสียสละ/เอาใจใสความเปลี่ยนแปลง รอบตัว/ตองการชวยเหลือผูอื่นใหมีความสุข เปนตน ลักษณะอาชีพ ใชความรูจากสาขาตาง ๆ มาประยุกตใชในงานที่เกี่ยวของ เปนตน ตําแหนงงานอาชีพ เมื่อสําเร็จการศึกษา นักกีฬา/นักสังคมสงเคราะห/พัฒนากร/ครู-อาจารย เปนตน


บันทึก

กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.