กระบวนการช่วยให้ผู้รับบริการแนะแนว รู้ทิศทางตลาดแรงงาน

Page 1

คูมือ

การเตรียมความพรอมกอนเขาสูตลาดแรงงาน กระบวนการชวยใหผูรับบริการแนะแนว รูทิศทางตลาดแรงงาน



คํานํา คูมือรูทิศทางตลาดแรงงาน เปนการแนะนําการใหบริการขอมูลขาวสารตลาด แรงงาน ทิศทางตลาดแรงงาน เปนการใหคําแนะนําขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน และชอง ทางที่สามารถเขาถึงแหลงขอมูล ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนดานการหางานทํา แนะแนว อาชีพ หรือแนะแนวการศึกษาตอได ทั้งนี้ เพื่อใหครูแนะแนวสามารถแนะนําใหนักเรียนได ทราบสถานการณตลาดแรงงาน แนวโนม ความตองการแรงงาน และแหลงงาน ตลอดจน ทิศทางตลาดแรงงานทีน่ า สนใจ ซึง่ จะเปนประโยชน สําหรับผูท กี่ าํ ลังเขาสูต ลาดแรงงานไดใช เปนขอมูลประกอบการสมัครงาน และเปนขอมูลสําหรับนักเรียน ในการพิจารณาเลือกศึกษา ตอและประกอบอาชีพในอนาคต กรมการจัดหางานไดจัดทําคูมือฉบับนี้ขึ้นเพื่อใหครูแนะแนวใชเปนแนวทางในการ แนะแนวการศึกษาและอาชีพ เพื่อใหนักเรียนมีความสามารถในการวางแผนการศึกษาและ อาชีพ และ เตรียมความพรอมกอนเขาสูตลาดแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนไปตาม มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การเตรียมความพรอมแกกําลังแรงงานกอนเขาสูตลาดแรงงาน เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ กรมการจัดหางาน สิงหาคม ๒๕๕๙


สารบัญ หนา บทที่ 1 รูจักทิศทางตลาดแรงงาน 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 ขาวสารตลาดแรงงาน 1.3 ความสําคัญ 1.4 วัตถุประสงค 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.6 คําจํากัดความ บทที่ 2 ขอมูลทิศทางตลาดแรงงาน 2.1 องคประกอบของทิศทางตลาดแรงงาน 2.2 แหลงที่มาของขอมูลทิศทางตลาดแรงงาน 2.3 ผูใชขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน 2.4 การเลือกใชขอมูลขาวสารตลาดแรงงานกับกลุมเปาหมายตาง ๆ 2.5 สรุป บทที่ 3 ขอมูลทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน 3.1 การใชบริการทิศทางตลาดแรงงาน 3.2 เว็บไซตกรมการจัดหางาน 3.3 บริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน 3.4 บริการจัดหางานในประเทศ 3.5 บริการขอมูลการไปทํางานตางประเทศ 3.6 บริการขอมูลดานแรงงานในตางประเทศ 3.7 กองตรวจและคุมครองคนหางาน 3.8 สํานักบริหารแรงงานตางดาว 3.9 บริการสงเสริมการมีงานทํา

8 9 10 11 11 11 14 17 18 19 21 24 29 29 33 33 34 34 35 36


หนา บทที่ 4 ขอมูลทิศทางตลาดแรงงานจากแหลงตางๆ 4.1 กระทรวงแรงงาน 4.2 ธนาคารแหงประเทศไทย 4.3 สํานักงานคณะกรรมการพัมนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 4.4 สํานักงานสถิติแหงชาติ 4.5 สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 4.6 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม 4.7 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 4.8 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) 4.9 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) 4.10 ศูนยขอมูลแรงงานแหงชาติ กระทรวงแรงงาน 4.11 สํานักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.) 4.12 ขอมูลทิศทางตลาดแรงงานจากภาคเอกชน แมนพาวเวอรกรุป 4.13 บทวิเคราะหทิศทางตลาดแรงงานที่เกี่ยวของ

38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 50 52



บทที่ 1 รู ้จักทิศทางตลาดแรงงาน


บทที่ 1

1.1 หลักการและเหตุผล การแนะแนวการศึกษาและอาชีพเปนปจจัยสําคัญทีจ่ ะทําใหนกั เรียนมีความสามารถ ในการวางแผนการศึกษา และอาชีพไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับความตองการของตลาด แรงงาน เพราะกระบวนการแนะแนวอาชีพจะทําใหนักเรียนไดมีขอมูลสําคัญ ๓ ประการ ที่จําเปนตองใชในการวางแผนการศึกษาและอาชีพ คือ ประการแรก ขอมูลเกี่ยวกับ ศักยภาพของตนเอง ประกอบดวย ระดับสติปญญา (IQ) ลักษณะความฉลาดทางอารมณ (EQ) และความถนัดทางอาชีพ ซึ่งจะทราบไดโดยการทําแบบทดสอบในเรื่องตาง ๆ ดังกลาว ประการที่สอง ขอมูลเกี่ยวกับโลกของอาชีพ กลาวคือ การที่นักเรียนจะวางแผนอาชีพไดนั้น จําเปนที่จะตองมีความรูเกี่ยวกับลักษณะและเสนทางความกาวหนาของอาชีพตาง ๆ และ ประการสุดทายนักเรียนจะตองรูขอมูลเกี่ยวกับทิศทางของตลาดแรงงาน เพื่อวางแผน การศึกษาใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน การใหคาํ ปรึกษา สงเสริมและใหบริการ แนะแนวอาชีพตามความถนัดแกนักเรียน เพื่อเตรียมความพรอมในการเขาสูตลาดแรงงาน ทั้งนี้ เพื่อใหไดงานทําที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถและความถนัดของแตละบุคคล


บทที่ 1 : รู ้จักทิศทางตลาดแรงงาน

9

การดําเนินการแนะแนวการศึกษาและอาชีพแกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาใหมีประสิทธิภาพ การดําเนินการใหนักเรียนที่จะสําเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษา ตอนปลายไดรับการแนะแนวอาชีพอยางทั่วถึง เพื่อใหมีความสามารถในการวางแผน การศึกษาและอาชีพ และเตรียมความพรอมกอนเขาสูตลาดแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.2 ข่าวสารตลาดแรงงาน ขาวสารตลาดแรงงาน (LABOUR MARKET INFORMATION : LMI) นับวา เปนหัวใจของการบริหารแรงงาน เปนปจจัยในการวิเคราะหนโยบายดานตลาดแรงงาน ซึ่งจะนําไปสูกระบวนการกําหนดนโยบายและกลยุทธของรัฐบาลในการบริหารแรงงาน นอกจากนี้ยังเปนปจจัยสําคัญตอการเติบโตทางเศรษฐกิจ และการสงเสริมการลงทุน โดยสามารถใชวเิ คราะหนโยบาย ทางเลือกและกลยุทธในการพัฒนา การลงทุนทางธุรกิจ และ ใชประโยชนในทางวิชาการดานตาง ๆ การนําขอมูลขาวสารตลาดแรงงานบรรจุเขาไปในการบริการแนะแนวอาชีพ ทําไดโดยการรวบรวมขอมูลขาวสารตลาดแรงงานและขอมูลอาชีพจากฐานขอมูลนํามา วิเคราะหและเผยแพร เพือ่ ใหเกิดความเขาใจและปรับขอมูลใหเปนปจจุบนั และถูกตอง รวมทัง้ รวบรวมขอมูลขาวสารตลาดแรงงานและขอมูลอาชีพทีเ่ ชือ่ ถือไดจากฐานขอมูลของหนวยงาน อื่น ๆ นอกจากนี้ผูใหบริการแนะแนวแตละคนสามารถที่จะใหขอมูลทิศทางความตองการ ในแตละอาชีพของตลาดแรงงานและการตอบสนองความตองการตออาชีพตาง ๆ ของแรงงาน โดยการติดตอและแลกเปลี่ยนขอมูลอยางสมํ่าเสมอกับนายจาง/สถานประกอบการ ครูใหญ อธิการบดี สหภาพแรงงาน ผูน าํ ชุมชน และทายทีส่ ดุ คือการพูดคุยกับผูร บั บริการ และประเมิน แตละเหตุผลของการวางงาน ซึ่งขอมูลเหลานี้จะตองนํามาใชในการพัฒนาตลาดแรงงาน


10

บทที่ 1 : รู ้จักทิศทางตลาดแรงงาน

การแนะแนวอาชีพจะมีประสิทธิภาพมากขึน้ หากผูใ หบริการแนะแนวอาชีพสามารถ ใหขอมูลขาวสารตลาดแรงงานหลาย ๆ ดานแกผูรับบริการ จนทําใหผูรับบริการไดเห็นภาพ ของตลาดแรงงานในมิตติ า งๆ ในปจจุบนั และอนาคต ทัง้ ระยะใกลและระยะไกล ความตองการ แรงงานดานใดจะลดนอยลง หรือเพิม่ มากเพียงใด ทัง้ นีเ้ พือ่ ผูร บั บริการแนะแนวอาชีพจะไดนาํ ขอมูลไปพิจารณาประกอบการตัดสินใจเลือกอาชีพ และกําหนดแนวทางการศึกษาของตน เพื่อใหเขาสูอาชีพนั้น ซึ่งปจจุบันการใหไดมาซึ่งขอมูลขาวสารตลาดแรงงานเราไมอาจพบได แบบเบ็ดเสร็จ ณ แหลงใดแหลงหนึ่ง ผูใชขอมูลจําเปนตองแสวงหา คนควาจากแหลงขอมูล แหลงตาง ๆ ทั้งจากบุคคล หนวยงาน และเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

1.3 ความสําคัญ 1. สภาพปญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย มีสาเหตุจากการผลิตกําลัง แรงงานไมตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน สังคมไทยเริม่ เขาสูส งั คมผูส งู อายุ และขาด การเตรียมความพรอมใหกบั กําลังแรงงานกอนเขาสูต ลาดแรงงานในแตละชวงวัยและชวงการ ศึกษา ทําใหกาํ ลังแรงงานเลือกศึกษาตอและเลือกประกอบอาชีพอยางไรทศิ ทาง สงผลใหเกิด ความไมสอดคลองกับตลาดแรงงาน และปญหาการวางงาน 2. ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานเปนสิง่ สําคัญและจําเปนอยางยิง่ สําหรับการกําหนด นโยบายและแผนงานการพัฒนากําลังคน และการบริหารแรงงานทุกดาน เนื่องจากแรงงาน เปนปจจัยและองคประกอบสําคัญประการหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ของประเทศ ถาขอมูลขาวสารตลาดแรงงานขาดคุณภาพและประสิทธิภาพจะกอใหเกิด ผลกระทบถึงการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ


บทที่ 1 : รู ้จักทิศทางตลาดแรงงาน

11

3. เนื่องจากขอมูลขาวสารตลาดแรงงานมีอยูเปนจํานวนมาก แตกระจัดกระจาย อยูตามหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งทําหนาที่ผลิตและใชขอมูลเหลานั้น ในบางครัง้ ขอมูลแรงงานบางสาขาขาดการผลิตอยางตอเนือ่ ง และขาดความสมบูรณ โดยเปน ทีย่ อมรับตรงกันวาเปนเพราะผูผ ลิตและผูใ ชขาดการประสานงานกันอยางใกลชดิ ประการหนึง่ และอีกประการหนึ่งเกิดจากการจัดเก็บขอมูลของแตละหนวยงาน 4. ปจจุบันการพัฒนาในทุกดานไมวาดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองประเทศ ตาง ๆ ตองพึ่งพาอาศัยกันและกัน การติดตอทางเศรษฐกิจการคา และการมีความสัมพันธ ระหวางประเทศในดานตางๆ ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานจึงเปนสิง่ จําเปนและมีความสําคัญ อยางยิ่ง และเครือขายของขอมูลขาวสารตลาดแรงงานระหวางประเทศเปนเรื่องที่องคการ แรงงานระหวางประเทศใหความสนใจใหการสนับสนุน เพือ่ ใหมกี ารบริหารและการใชแรงงาน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลตอการบริหารแรงงานในประเทศ และระหวางประเทศ อยางแทจริง 1.4 วัตถุประสงค์ เพื่อใหครูแนะแนว/บุคลากรดานการแนะแนวอาชีพใชเปนคูมือในการชวยใหกลุม เปาหมายไดรูจักขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน และรูแหลงที่จะศึกษาหาขอมูลขาวสารตลาด แรงงาน 1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ ครูแนะแนว/บุคลากรดานการแนะแนวอาชีพมีคมู อื สําหรับการสืบคนขอมูลขาวสาร ตลาดแรงงาน เพื่อทราบสถานการณดานแรงงานที่เปนปจจุบัน และแนวโนมความตองการ แรงงานในอนาคต 1.6 คําจํากัดความ ข า วสารตลาดแรงงาน หรื อ LABOUR MARKET INFORMATION หรื อ EMPLOYMENT MARKET INFORMATION หรือทีเ่ รียกกันทัว่ ไปวา LMI มีผใู หคาํ นิยามหรือ คําจํากัดความตาง ๆ เชน - ขาวสารตลาดแรงงาน เปนเรือ่ งของการรายงานสถานการณ และแนวโนมของอุปสงค และอุปทาน อยางตอเนือ่ งและสมํา่ เสมอในภาคเศรษฐกิจตาง ๆ ในอาชีพตาง ๆ ในทองถิน่ ตาง ๆ ของประเทศ และวิเคราะหปจ จัยทีท่ าํ ใหเกิดความไมสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทาน


12

บทที่ 1 : รู ้จักทิศทางตลาดแรงงาน

- ขาวสารตลาดแรงงาน เปนเรื่องสัญญาณในการเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ ระหวางอุปสงคและอุปทานแรงงาน และปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง - ขาวสารตลาดแรงงาน เปนเรือ่ งของการเก็บขอมูล วิเคราะหและเผยแพรขอ เท็จจริง และขอมูลในเรื่องการพัฒนา และการใชทรัพยากรมนุษย - ขาวสารตลาดแรงงาน ไมมีความหมายใดเกินไปกวาขอมูลเกี่ยวกับตลาดแรงงาน ซึง่ ขอมูลเหลานีไ้ ดมาจากการบริหารงาน (Administrative Records) หรือจะเรียกอยางหนึง่ วา “สถิตแิ รงงาน” หรือ “Labour Statistics” ก็ยอ มได แตมไิ ดจาํ กัดแตขอ มูลในเชิงปริมาณ เทานั้น ขาวสารตลาดแรงงานใหขอเท็จจริง ซึ่งสามารถนําไปใชในการกําหนดนโยบายได ซึง่ ไมจาํ เปนจะตองเปนไปในรูปสถิติ ขอมูลตัวเลขเทานัน้ ทีจ่ ะใชวเิ คราะหแนวนโยบายแรงงาน แตควรเปนการผสมผสานกัน - ขาวสารตลาดแรงงาน คือ เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (Economics Indicator) - ขาวสารตลาดแรงงาน หมายถึง ขาวสารที่เกี่ยวของกับขนาดและองคประกอบ ของตลาดแรงงาน หรือสวนใดสวนหนึ่งของตลาดแรงงาน - วัตถุประสงคเบื้องตนของขาวสารตลาดแรงงาน คือ การรายงานของสถานการณ ปจจุบนั และแนวโนมในอนาคตของเศรษฐกิจภาคตาง ๆ ตลาดแรงงานจําแนกตามกลุม อาชีพ และตลาดแรงงานจําแนกตามทองถิ่นตาง ๆ - ขาวสารตลาดแรงงาน เปนการเก็บรวบรวม วิเคราะห เผยแพรขอเท็จจริง (Fact) และขอมูลสถิติตัวเลข (Data) ในเรื่องของการพัฒนาและการใชทรัพยากรมนุษยในประเทศ ซึ่งใหการ “ไดรับรู” และ “ประสิทธิผล” ในการตัดสินใจของทุกตัวแสดง (Actors) ในตลาด แรงงาน


บทที่ 2 ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน


บทที่ 2

ข้ ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

2.1 องค์ประกอบของทิศทางตลาดแรงงาน ในประเทศไทยขาวสารตลาดแรงงาน ไดดาํ เนินการเก็บรวบรวม จัดทํา และเผยแพร โดยหลายหนวยงานทั้งในภาครัฐและเอกชน องคประกอบของขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน มีดังนี้ - ประชากรและกําลังแรงงาน - สถิติโครงสรางทางเศรษฐกิจ - ผูมีงานทํา ผูวางงาน และผูทํางานตํ่าระดับ - จํานวนคนทํางาน/ลูกจางในสถานประกอบการ - สถิติจํานวนสถานประกอบการ - ความตองการแรงงาน - การเขา-ออกงาน - แรงงานฝมือ/การจดทะเบียนลูกจาง


บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

15

- สถิติจัดหางานในประเทศ (ผูสมัครงาน , ตําแหนงงาน , การบรรจุ) - สถิติผูจบการศึกษาจากสถาบันตาง ๆ (ประถมศึกษา, มัธยมศึกษา, อาชีวศึกษา, มหาวิทยาลัย) - การอพยพแรงงาน (ทํางานภายในประเทศ, ไปทํางานตางประเทศ) - คาจาง รายได ชั่วโมงทํางาน - สถิติเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ/แรงงานภาคเกษตรกร - สถิติคนงานตางดาวในประเทศไทย - ตนทุนการผลิต - ดัชนีผูบริโภค - ผูผ า นการอบรมจากสถาบันการฝก จําแนกตามหลักสูตรตาง ๆ (สถาบันการพัฒนา ฝมือแรงงาน, สํานักงานเรงรัดพัฒนาชนบท , พัฒนาชุมชน, การศึกษานอกโรงเรียน) - การสงเสริมการลงทุน - การจดทะเบียนโรงงานใหม - การสํารวจรายได-รายจายครอบครัว - ขาวสารอาชีพ/เอกสารแนะแนวอาชีพ - ประกาศตําแหนงงานวางของรัฐ เชน สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (กพ.) กระทรวง กรมตางๆ รัฐวิสาหกิจตางๆ - ประกาศตําแหนงงานวางของเอกชนตามหนาหนังสือพิมพ - อื่นๆ เชน บทความ บทสัมภาษณ ซึ่งแสดงใหเห็นบรรยากาศในการจางงาน และ แนวโนมการลงทุน ขาวสารตลาดแรงงานเปนเรือ่ งหนึง่ ทีอ่ งคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าค เอเชียแปซิฟก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) ใหความสําคัญโดยไดมกี าร สรางฐานขอมูลพื้นฐานขาวสารตลาดแรงงาน ซึ่งประกอบดวย กลุมขอมูลสถิติเพื่อใชในการ ุ ภาพ โดยขอมูลเหลานีจ้ ะชวยใหเกิดประโยชน วิเคราะหและรายงานดานเศรษฐกิจอยางมีคณ ดานสถิติ การเปรียบเทียบตาง ๆ รวมทั้งการวิเคราะหดวย ขอมูลพื้นฐานประกอบดวย สถิติ เพื่อการวิเคราะห และรายงาน จํานวน 33 รายการ เกี่ยวของกับ 6 กลุม ดังนี้ 1. กลุม โครงสรางเศรษฐกิจ (Economic Structure) ประกอบดวยขอมูลขาวสาร ตลาดแรงงาน 8 รายการ คือ - รายไดประชาชาติ - รายไดตอหัว


16

บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

- อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ - บัญชีประชาชาติภาครัฐ - บัญชีประชาชาติภาคเอกชน - การลงทุนตางประเทศ (เขามา-ออกไป) - ดัชนีราคาผูบริโภค - อัตราแลกเปลี่ยน 2. กลุมประชากร (Demography) ประกอบดวยขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน 3 รายการ คือ - ประชากร - ชวงการมีอายุยืนยาวโดยเฉลี่ย - อัตราการตายจําแนกตามเพศ 3. กลุม การศึกษาและฝกอบรม (Education and Training) ประกอบดวยขอมูลขาวสาร ตลาดแรงงาน 3 รายการ คือ - จํานวนนักเรียนที่เขาเรียนในสถาบันของรัฐและเอกชน - จํานวนปการศึกษาโดยเฉลี่ยของกําลังแรงงาน จําแนกตามเพศและอายุ - งบประมาณดานการศึกษาของรัฐบาล 4. กลุมกําลังแรงาน (Labour Force) ประกอบดวยขอมูลขาวสารตลาดแรงาน 14 รายการ คือ - สถานภาพของกําลังแรงงาน จําแนกตามเพศ - ผูมีงานทํา จําแนกตามอุตสาหกรรม อาชีพ และเพศ - ผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษา อุตสาหกรรม และเพศ - ผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษา อาชีพ และเพศ - ผูวางงาน จําแนกตามการศึกษาและเพศ - ผูวางงาน จําแนกตามอายุและเพศ - ผูวางงาน จําแนกตามอุตสาหกรรมที่เคยทํางานครั้งสุดทายและเพศ - ผูวางงาน จําแนกตามอาชีพที่เคยทํางานครั้งสุดทายและเพศ - รายได จําแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ - รายได จําแนกตามอาชีพและเพศ - ชั่วโมงทํางานเฉลี่ยตอสัปดาห จําแนกตามอุตสาหกรรม - ชั่วโมงทํางานเฉลี่ยตอสัปดาห จําแนกตามอาชีพ


บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

17

- ตําแหนงงานวาง จําแนกตามอุตสาหกรรม - ตําแหนงงานวาง จําแนกตามอาชีพ 5. กลุมการอพยพแรงงานระหวางประเทศ (International Migration) ประกอบดวย ขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน 2 รายการคือ - จํานวนแรงงานอพยพ จําแนกตามอุตสาหกรรม เพศ และสัญชาติ - ระยะเวลาเฉลี่ยของแรงงานอพยพ จําแนกตามอาชีพและเพศ 6. กลุมขาวสารเชิงคุณภาพ (Qualitative Information) ประกอบดวยขอมูลขาวสาร 2 รายการ คือ - ระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับแรงงานอพยพ - กฎหมายการจางงาน 2.2 แหล่งที่มาของข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในประเทศไทยมีการจัดทําโดยหลายหนวยงาน ซึง่ อาจ จะกลาวได ดังนี้ 1) สํานักงานสถิติแหงชาติ เปนแหลงขอมูลขาวสารตลาดแรงงานที่สําคัญที่สุด เพราะเปนผูท าํ สํามะโน (Census) หรือสํารวจตาง ๆ มากมาย เชน การสํารวจแรงงาน เปนตน 2) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดจัดทําดาน Economics & Social Indicator ตาง ๆ รวมทั้ง GDP และ PER Capital Income และ รายงานสภาวะการทางเศรษฐกิจ 3) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งรวบรวมขอมูลทะเบียนประชากร ทั้งประเทศ และจัดทํารายงานประจําเดือนเผยแพร 4) กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ซึง่ รวบรวมขอมูลระดับทองถิน่ จัดทํา จปฐ. 5) กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ หรือ Dove จัดทํารายงานสถิติหลาย รายงาน เชน สถิติผูจบการศึกษาดานตางๆ รายงานผลการติดตามผูสําเร็จการศึกษา และ รายงานสถิติอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 6) กระทรวงแรงงาน ซึ่งรวบรวมขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน จากแหลงนี้อาจ แจกแจงไดเปน 2 สวน คือ - รายงานสถิติกิจกรรมผลการปฏิบัติดานตางๆ - รายงานจากการสํารวจ เชน การสํารวจคาจาง รายได ชั่วโมงทํางาน การเขาออกงาน ความตองการแรงงาน เปนตน


18

บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

7) แหลงอืน่ ๆ เชน ขาวจากสํานักงาน กพ. กระทรวงพาณิชย กระทรวงอุตสาหกรรม สมาคมนายจาง สมาคมลูกจาง สภาอุตสาหกรรม ชมรมอาชีพตาง ๆ เปนตน 8) ผูนําชุมชน ผูนําทองถิ่น เชน ครู กํานัน ผูใหญบาน ซึ่งเปน Key Informants ที่สาํ คัญในการใหขอมูลในทองถิ่น เชน ขอมูลการอพยพแรงงาน ขอมูลผูวางงาน ผูตองการ ฝกอาชีพ ตลอดจนขอมูลของพัฒนากรในทองถิ่น 9) รายงานทางเศรษฐกิจจากเอกสารของธนาคารตาง ๆ 10) หนวยงานสาขาในภูมภิ าค เชน สํานักงานสถิตจิ งั หวัด สํานักงานพาณิชยจงั หวัด สํานักงานอุตสาหกรรมภาค/จังหวัด สํานักงานขนสงจังหวัด ศูนยศิลปาชีพ โครงการตาม พระราชดําริ ศูนยขาวสารตลาดแรงงานในภูมิภาค เปนตน 11) เอกสารทางวิชาการ ซึ่งอาจจะคนหาไดตามหองสมุดมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย หรือจากสถาบันวิจยั โดยตรง เชน TDRI สถาบันทรัพยากรมนุษย สถาบันวิจยั ทางสังคม เปนตน 12) จากสื่อตางๆ ทั้งสิ่งพิมพ วารสาร แผนพับ แผนพิมพ โปสเตอร วิทยุ โทรทัศน วีดีทัศน เปนตน 2.3 ผู ้ใช้ข้อมู ลข่าวสารตลาดแรงงาน 1) รัฐบาลและหนวยงานทางเศรษฐกิจของประเทศ เชน สภาพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ กระทรวงทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ กระทรวงแรงงาน ใชวางแผนและกําหนดนโยบาย ดานเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะการวางแผนกําลังคน และการกําหนดนโยบายดาน แรงงาน กําหนดกลยุทธในการบริหารแรงงานของประเทศ 2) ผูประกอบการ นักลงทุน นักธุรกิจ สามารถใชขอมูลประกอบการวางแผน การลงทุน และขยายธุรกิจ 3) ผูก าํ หนดนโยบาย การวางแผนดานการศึกษา และฝกอาชีพ ใชวางแผนการศึกษา และการฝกงาน เพื่อใหการผลิตกําลังคนในสาขาตาง ๆ สอดคลองกับตลาดแรงงาน 4) เจาหนาที่แนะแนวอาชีพ และครูแนะแนว เปนกลุมที่ตองการขอมูลมากที่สุด ในการแนะแนวอาชีพแกกลุมเปาหมายตาง ๆ 5) องคกรนายจาง สามารถใชขอมูลในการปรับนโยบายดานแรงงานขององคกร อยางเหมาะสม รวมทั้งการวางแผนรับพนักงาน การฝกอบรม การพิจารณาปรับคาจางและ อื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ การบริหารดานทรัพยากรมนุษย 6) องคกรลูกจาง สามารถใชขอ มูลในการกําหนดทิศทางการบริหารองคกร ใชขอ มูล แหลงงานสําหรับสมาชิก


บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

19

7) นายจาง/ลูกจาง สามารถใชขอมูลในการ “หางาน” และ “หาคนงาน” 8) นักเรียน/นักศึกษา สามารถใชขอ มูลในการวางแผนการศึกษา และการฝกอบรม ตลอดจนแหลงงาน 9) นักวิชาการ ใชขอมูลในการวิเคราะห วิจัย สถานการณทางเศรษฐกิจ 10) กรมการจัดหางาน ใชขอ มูลในการกําหนดนโยบาย เชน การสงเสริมการมีงานทํา การจัดหางานในประเทศ การจัดหางานตางประเทศ การพิจารณาอนุญาตใหคนตางดาวทํางาน ในประเทศไทย และการสงเสริมการประกอบอาชีพอิสระ เปนตน 11) กรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ใชขอ มูลในการกําหนดหลักสูตรการฝก การเปดสาขา อาชีพที่ใหการฝก 12) กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ใชขอมูลในการวางนโยบาย และใชเปน เครื่องมือในการเจรจาตอรอง 13) กรมอื่น ๆ ในกระทรวงแรงงาน สามารถใชขอมูลประกอบการวางนโยบาย ของกรมนั้น ๆ 2.4 การเลือกใช้ข้อมู ลข่าวสารตลาดแรงงานกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ 1) นักเรียน นักศึกษา ขอมูลจะตองมีความชัดเจนในเรือ่ งของตลาดแรงงาน จําแนก ตามสาขาอาชีพตางๆ ทั้งในปจจุบันและแนวโนมความตองการแรงงานในอนาคตเพื่อใหเห็น ภาพที่ชัดเจนในการเลือกอาชีพและเลือกศึกษาตอเพื่อการเขาสูอาชีพนั้นๆ นอกจากภาพ ตลาดแรงงาน จํานวน Demand และ Supply แลว ควรนําเสนอองคประกอบของตลาด แรงงาน เชน คาจาง รายได ชัว่ โมงทํางาน ผลประโยชนอนื่ โอกาสความกาวหนา และ Career Path นอกจากนีภ้ าพของตลาด จําแนกตามระดับการศึกษาเพือ่ ใหนกั เรียนไดเห็นภาพวาเรียน ระดับใด ประกอบอาชีพใดไดบาง ขอมูลสําหรับนักเรียนกลุมที่ไมศึกษาตอ ควรแสดงภาพของตลาดแรงงานในสวน ที่เด็กเหลานั้นอาจเขาสูตลาดแรงงานได เชน ตลาดแรงงานนอกระบบ (การรับงานไปทํา ที่บาน อาชีพอิสระ) ขาวสารเกี่ยวกับการฝกอาชีพของสถาบันตาง ๆ รวมทั้งอาชีพสาขาชาง ที่ขาดแคลน คาจางที่จะไดรับ เปนตน ขอมูลสําหรับนักศึกษา ปสุดทายสิ่งที่สําคัญคือ ความตองการแรงงานในปจจุบัน จําแนกตามอาชีพและอุตสาหกรรม จังหวัดและภาค คาจาง รายได ชั่วโมงทํางาน สวัสดิการ และผลประโยชนอนื่ ๆ โดยควรนําเสนอเปนรายสถานประกอบการทีม่ ตี าํ แหนงงานวาง หรือ มีความตองการแรงงาน


20

บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

2) ผูหางาน ขอมูลที่จําเปนคือ ตําแหนงงานวางที่มีอยู และตําแหนงงานวาง ทีเ่ ปดรับโดยตรงผานสือ่ ตาง ๆ เชน ตําแหนงงานวาง ณ สํานักงานจัดหางานจังหวัด ตําแหนงงาน วางที่ประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ ตําแหนงงานวางที่ปดประกาศรับสมัครโดยตรงที่ สถานประกอบการหรือนิคมอุตสาหกรรม ตําแหนงงานภาครัฐ เชน สํานักงาน กพ. กระทรวง ตาง ๆ ที่เปดรับบุคลากรเอง ตําแหนงงานรัฐวิสาหกิจตางๆ โดยตําแหนงวางเหลานี้จะตองมี รายละเอียด เชน สถานที่ตั้ง คาจาง ชั่วโมงทํางาน สภาพการจาง และสวัสดิการ เปนตน 3) ผูดอยโอกาส/ผูสูงอายุ/บุคคลกลุมพิเศษ ขอมูลควรเปนการจางงานนอกระบบ เชน การประกอบอาชีพอิสระ การรับงานไปทําที่บาน หรือการจางงานระยะสั้น สวนใหญ จะเปนการใหบริการเคลื่อนที่ไปสูกลุมเปาหมาย ควรนําตําแหนงงานวางในตลาดแรงงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศเขาไปแนะแนว ซึ่งจะทําใหกลุมเปาหมายที่มีความพรอม จะทํางานและผูตองการทํางานไดรับบริการจัดหางานอยางตอเนื่อง สําหรับผูสูงอายุ โอกาส ของการทํางานในตลาดแรงงานในระบบคอนขางจํากัด ขอมูลควรเปนไปในดานตลาดแรงงาน นอกระบบ เชน การประกอบอาชีพสวนตัว หรืออาชีพอิสระ 4) ครูแนะแนว เปนกลุมที่เขาใจถึงความสําคัญของขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน และตองการใชขอมูลมากที่สุด ซึ่งตองการข อมู ลทุก สาขา เช น ความต อ งการแรงงาน จํานวน Demand และ Supply ของตลาดแรงงานในแตละคาบเวลา รวมทั้งแนวโนมของ ความตองการแรงงานในอนาคต และองคประกอบของตลาดแรงงานทุกประเทศ


บทที่ 2 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน

21

2.5 สรุ ป ขาวสารตลาดแรงงาน (LMI) นอกจากจะเปนขอมูลทีผ่ บู ริหารใชเปนเครือ่ งมือในการ กําหนดนโยบาย และวางแผนใหเหมาะสมกับการบริหารแรงงานแลว ขาวสารตลาดแรงงาน ยังเปนปจจัยสําคัญในการแนะแนวอาชีพ ซึ่งการใหบริการแนะแนวอาชีพจําเปนที่จะตองมี ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานที่มีคุณภาพ โดย - ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานทั้งหมดตองมีความเกี่ยวพันซึ่งกันและกัน - ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานเปนทั้งตัวขอมูลหลักที่ใชสําหรับการใหบริการ และ เปนทั้งขอมูลสําคัญที่ใชประกอบกับขอมูลอื่น ๆ ในการใหบริการแนะแนวอาชีพดวย - ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานทีจ่ าํ เปนตอการใหบริการแนะแนวอาชีพ อาจรวบรวม และวิเคราะห โดยใชขอมูลจากแหลงอื่น ๆ มาประกอบดวย ดังนั้น จึงกลาวไดวาการบริการแนะแนวอาชีพผูใหบริการจะเปนทั้งผูจัดทําขอมูล และเปนผูน าํ ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานมาใช โดยขอมูลจะตองมีความถูกตอง สมบูรณ และ มีความเปนปจจุบัน



บทที่ 3 ทิศทางตลาดแรงงาน ของกรมการจัดหางาน


บทที่ 3 ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

3.1 การใช้บริการทิศทางตลาดแรงงาน เกี่ยวกับกรมการจัดหางาน กรมการจัดหางานไดมีการประชาสัมพันธและใหบริการทางสื่ออิเล็กทรอนิกส หรือเว็บไซต ใหแรงงาน นายจาง/สถานประกอบการ ตลอดจนประชาชน หรือหนวยงาน ตางๆ ไดรับรู โดยมีการใหบริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในดานตาง ๆ เชน การสมัคร งานผานเว็บไซต ขาวสารและเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับ การจางงานหรือแจงเตือนเกี่ยวกับ การสมัครงาน เพื่อปองกันการถูกหลอกลวงไปทํางาน และขาวการจัดนัดพบแรงงาน โดยผูที่ ประสงคจะทํางานสามารถเตรียมเอกสารเพือ่ ไปสมัครงานตามประกาศดังกลาว นอกจากนัน้ ยังมีกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับแรงงาน โดยผูสนใจสามารถรับบริการขอมูล ขาวสารตลาดแรงงานผานเว็บไซต www.doe.go.th


บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

25

สถานการณตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน โดยกองวิจยั ตลาดแรงงาน มีภารกิจในการพัฒนาระบบเครือขาย ขอมูลตลาดแรงงาน รวบรวมและวิเคราะหตลาดแรงงานและแนวโนมความตองการแรงงาน ประสานการใหบริการขอมูลตลาดแรงงานแกประชาชนถึงระดับตําบลและหมูบาน รวมทั้ง ประสานความรวมมือในการวางแผนพัฒนากําลังแรงงานใหสอดคลองกับความตองการของ ตลาดแรงงาน ทัง้ นี้ ไดมกี ารบริการขอมูลดานตลาดแรงงาน ขาวสารตลาดแรงงาน สถานการณ ตลาดแรงงานและแนวโนม และขอมูลงานวิจัยในภาพรวมของประเทศ และขอมูลขาวสาร ตลาดแรงงาน/สถานการณตลาดแรงงานระดับภาค ผานเว็บไซต http://lmi.doe.go.th/ นอกจากนั้นยังมีความเคลื่อนไหวดานแรงงานในภูมิภาคตางๆ ของประเทศ ประกอบดวย เว็บไซต ในแตละภูมิภาคดังนี้ 1. http://lmi.doe.go.th/Lmicenter/ศูนยขา วสารตลาดแรงงานภาคกลางบริการ ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในภาคกลาง 2. http://www.doe.go.th/lmi-east/ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดระยอง บริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในภาคตะวันออก 3. http://www.lmi.ratchaburi.com/ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดราชบุรี บริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในภาคตะวันตก 4. http://www.nlmi-lp.com/ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง บริการ ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานภาคเหนือ


26

บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

5. http://www.doe.go.th/lmi-ne/ ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดขอนแกน บริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6. http://www.lm-sourth.org ศูนยขา วสารตลาดแรงงานจังหวัดสงขลา บริการ ขอมูลขาวสารตลาดแรงงานในภาคใต การจัดหางานในประเทศ กรมการจัดหางานมีภารกิจในการบริการจัดหางานในประเทศใหกับนายจาง/ สถานประกอบการ และคนหางาน ตลอดจนไดมกี ารสงเสริม สนับสนุนการบริการจัดหางาน ร ว มระหว า งภาครั ฐ และเอกชนรวมถึ ง สนั บ สนุ น ให มี ก ารจ า งงานมั่ น คงอย า งต อ เนื่ อ ง ตลอดวัยทํางาน มีการพัฒนาระบบบริการจัดหางานเพื่อใหบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไข การใหบริการจัดหางานแกผูประกันตนกรณีวางงาน และการประกันการมีงานทํา ทัง้ นี้ ไดมกี ารบริการขอมูลตําแหนงงานวางและผูส มัครงาน สําหรับนายจาง/สถาน ประกอบการ และคนหางานโดยมีการใหบริการลงทะเบียนหางานทําสําหรับคนหางาน รับแจงตําแหนงงานวางจากนายจาง/สถานประกอบการ ผานทางเว็บไซต http://smartjob. doe.go.th/


บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

27

การไปทํางานตางประเทศ การเดินทางไปทํางานตางประเทศโดยถูกตองตามกฎหมายมี 5 วิธี คือ 1) บริษัทจัดหางานจัดสง 2) กรมการจัดหางานจัดสง 3) เดินทางไปทํางานดวยตนเอง 4) นายจางในประเทศไทยพาลูกจางไปทํางาน และ 5) นายจางในประเทศไทยสงลูกจางไป ฝกงาน ทั้งนี้ กรมการจัดหางานไดควบคุม ดูแล และตรวจสอบการจัดสงแรงงานไทยและ ลูกจางที่ไปทํางานหรือฝกงานในตางประเทศของผูรับอนุญาตจัดหางานเพื่อไปทํางาน ในตางประเทศใหเปนไปตามกฎหมาย คุม ครองสิทธิประโยชนคนหางานและลูกจางทีไ่ ปทํางาน หรือฝกงานในตางประเทศ และบริหารกองทุนเพือ่ ชวยเหลือคนหางานไปทํางานในตางประเทศ ผูสนใจสามารถรับบริการขอมูลเกี่ยวกับการไปทํางานตางประเทศ ขอแนะนํา ขอควรรู กอนเดินทางไปทํางานตางประเทศ ขอมูลสินเชือ่ การไปทํางานตางประเทศการลงทะเบียนประสงค จะเดินทางไปทํางานตางประเทศ ขาวการรับสมัครงานที่จัดสงโดยรัฐ ขอมูลบริษัทจัดหางาน ที่จดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย ไดทางเว็บไซต http://www.overseas.doe.go.th/ การสงเสริมการมีงานทํา กรมการจัดหางานไดมีการพัฒนาและสงเสริมการแนะแนวอาชีพ การประกอบ อาชีพอิสระและการรับงานไปทําที่บาน ศึกษาจัดทําขอมูลอาชีพ และแบบทดสอบเพื่อการ แนะแนวอาชีพ พัฒนาหลักสูตร การฝกอบรมและจัดฝกอบรมบุคลากรดานการแนะแนว อาชีพ เปนศูนยกลางขอมูลอาชีพและสงเสริมการจัดตั้งและดําเนินงานศูนยขอมูลอาชีพ ทั่วประเทศ ศึกษา จัดทํา พัฒนาและเผยแพรมาตรฐานอาชีพ และมาตรฐานอุตสาหกรรม จัดตั้งและบริหารกองทุนเพื่อการประกอบอาชีพอิสระและผูรับงานไปทําที่บาน ผูสนใจสามารถรับบริการขอมูลแนะแนวอาชีพ ขอมูลการประกอบอาชีพอิสระ การรั ารรบงานไปทาทบาน บงานไปทําทีบ่ า น และทดสอบความพรอมทางอาชพ และทดสอบความพรอมทางอาชีพ ผานทางเวบไซต ผานทางเว็บไซต http://www.vgnew.com http://www.vgnew.com/


28

บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

การบริหารการทํางานของคนตางดาว กรมการจัดหางาน โดยสํานักบริหารแรงงานตางดาว มีอาํ นาจหนาทีใ่ นการเสนอแนะ นโยบายพั ฒ นาระบบและรู ป แบบการอนุ ญ าตและผ อ นผั น การทํ า งานของคนต า งด า ว และกําหนดแนวทางการเจรจาเปดเสรีการคาบริการวาดวยการเคลื่อนยายบุคลากรตางชาติ เขามาประกอบอาชีพหรือวิชาชีพดานบริการในประเทศ พิจารณาอนุญาตการทํางานของ คนตางดาว จัดทําทะเบียนคนตางดาวและเครือขายสารสนเทศแรงงาน ตางดาวทีข่ ออนุญาต ทํางาน ควบคุม ดูแล และตรวจสอบการทํางานของคนตางดาวใหเปนไปตามกฎหมาย ดําเนินการเกีย่ วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการบริหารแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง คณะกรรมการพิจารณาการทํางานของคนตางดาว คณะกรรมการพิจารณาการดําเนินงาน ขององคการเอกชนตางประเทศ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทํางานซึ่งได รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อแกไขปญหาการทํางานของคนตางดาว ตามกฎหมายวาดวยการทํางาน ของคนตางดาว ผูสนใจสามารถรับบริการขอมูลการพิจารณาอนุญาตการทํางานของคนตางดาว ในระบบ การจัดระบบนําเขาคนตางดาวและแรงงานคนตางดาวหลบหนีเขาเมืองไดทาง เว็บไซต http://wp.doe.go.th/ การตรวจและคุมครองคนหางาน กรมการจัดหางานไดมีการควบคุม ดูแล และตรวจสอบการดําเนินงานของผูรับ อนุญาตจัดหางานในประเทศใหเปนไปตามกฎหมาย คุมครองและดูแลชวยเหลือคนหางาน ที่ทํางานในประเทศและตางประเทศใหไดรับการปฏิบัติตามกฎหมายทั้งนี้ไดมีการรับเรื่อง รองทุกขของคนหางานที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ บริการงานทะเบียนและตรวจสอบ บริษัทจัดหางานในประเทศ ผานทางเว็บไซต http://www.ipd-doe.com/ หากตองการสอบถามขอมูลเพิ่มเติมสามารถติดตอไดทางโทรศัพทสายดวน 1694


บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

29

3.2 เว็บไซต์กรมการจัดหางาน http://www.doe.go.th/ กรมการจัดหางานมีการใหบริการขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับภารกิจของกรม เชน ขาวสารตลาด แรงงานในดานตาง ๆ การสมัครงานผานเว็บไซต ขาวสารและเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับ การจางงานหรือแจงเตือนเกีย่ วกับการสมัครงาน เพือ่ ปองกันการถูกหลอกลวงไปทํางาน และ ขาวการจัดนัดพบแรงงาน

ทั้ ง นี้ รายละเอี ย ดต า ง ๆ สามารถดู ไ ด จ ากข อ มู ล การให บ ริ ก ารในเว็ บ ไซต ของแตละกอง ตัวอยางขอมูลในเว็บไซต 3.3 บริการข้อมู ลข่าวสารตลาดแรงงาน (Labour Market Information : LMI) บริการขอมูลดานตลาดแรงงาน ขาวสารตลาดแรงงาน สถานการณตลาดแรงงาน และแนวโนม ขอมูลงานวิจัยในภาพรวมของประเทศ กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน เปนหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อรองรับ ภารกิจในดานการวิเคราะหสภาวะตลาดแรงงานและแนวโนม และเปนศูนยกลางขอมูล ขาวสารตลาดแรงงาน ซึง่ ปจจุบนั ไดมกี ารปรับปรุงประสิทธิภาพในการใหบริการขอมูลขาวสาร ตลาดแรงงาน โดยการพัฒนารูปแบบและเนือ้ หาเว็บไซตใหมรี ปู แบบทีน่ า สนใจ และมีเนือ้ หา ที่ครอบคลุม ดังนี้


30

บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

1. รายงานสถานการณการวางงาน การเลิกจาง และความตองแรงงานของแตละเดือน 2. การเผยแพรวารสารสถานการณตลาดแรงงาน รายเดือน รายไตรมาศ และรายป 3. การเผยแพรผลงานการวิ เคราะหสถานการณ ต ลาดแรงงาน และแนวโน ม ในแตละป การวิเคราะหผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจตอการจางงาน และการวิเคราะห ความไมสอดคลองของตําแหนงงานกับผูสมัครงาน เปนตน 4. การเผยแพรผลงานวิจัยที่จัดทําโดยกองวิจัยตลาดแรงงานตั้งแตป 2552-2558 โดยมีงานวิจัยที่นาสนใจและเปนประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของอยางมาก 5. การเผยแพรหนังสือที่กองวิจัยตลาดแรงงานจัดพิมพขึ้นในโอกาสตาง ๆ ไดแก ขอมูลผูสําเร็จการศึกษา และประมาณการผูที่จะเขาสูตลาดแรงงานในแตละป ขอมูล ผลการสํารวจผูส าํ เร็จการศึกษาทีป่ ระสงคจะทํางานในแตละป และขอมูลผลการสํารวจผูม ที กั ษะ พิเศษ 6. การเผยแพรขอมูลสถิติ ประกอบดวย สถิติผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนเพื่อ ขอรับประโยชนทดแทนกรณีวา งงาน สถิตติ าํ แหนงงานทีข่ าดแคลนแรงงาน จําแนกรายเดือน และสถิติการใหบริการจัดหางาน 7. การเผยแพร KM ดานการวิจัยตลาดแรงงาน


บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

31

8. การเผยแพรกิจกรรมเกี่ยวกับการมีสวนรวมของภาคประชาชน 9. การเผยแพรขาวและบทความที่เห็นวานาจะเปนประโยชนแกผูเกี่ยวของ เชน แผนภูมชิ ว งระดับไอคิวของแตละอาชีพในสหรัฐอเมริกา (Henmon Nelson IQ) รายงาน ผลการศึกษา ผลกระทบตนทุนดานคาใชจายแรงงานจากการปรับขึ้นคาจางขั้นตํ่าเปนวันละ 300 บาททั่ว ประเทศ ยุ ทธศาสตรก ารพัฒนาเทคโนโลยีแทนแรงงานในป  มนํ้ า มัน และ รานอาหาร เปนตน นอกจากขอมูลตางๆ ดังกลาวแลวยังมีการใหบริการเกีย่ วกับการพยากรณตามหลัก มหาภูติ ซึง่ เปนตําราโบราณทีส่ ามารถบงบอกไดวา แตละคนมีลกั ษณะเดนหรือดอยในเรือ่ งใด ควรเรียนสาขาวิชาใดและประกอบอาชีพอะไร เพื่อเปนขอมูลประกอบการวิเคราะหตนเอง ในการวางแผนการดําเนินชีวิต นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงเว็บไซตเกี่ยวกับแบบทดสอบ IQ และ EQ ไวดวย เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูที่สนใจตองการทราบวาตนมี IQ เทาใด และมี EQ เปนอยางไร แบบทดสอบ 2 เรื่องนี้ จะชวยใหผูทดสอบไดทราบถึงศักยภาพของตนเองได ชัดเจนขึ้น และสามารถใชเปนขอมูลในการวางแผนอาชีพของตนได


32

บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

ตัวอยางทิศทางตลาดแรงงาน


บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

33

3.4 บริการจัดหางานในประเทศ

- บริการลงทะเบียนหางานทําสําหรับคนหางาน รับแจงตําแหนงงานวางจาก นายจาง/สถานประกอบการ - ขาวประชาสัมพันธการจัดวันนัดพบแรงงานทั่วประเทศ หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://smartjob.doe.go.th/ 3.5 บริการข้อมู ลการไปทํางานต่างประเทศ - บริการขอควรรูก อ นไปทํางานตางประเทศ การลงทะเบียนประสงคจะเดินทางไป ทํางานตางประเทศ ขาวการรับสมัครงานที่จัดสงโดยรัฐ ขอมูลบริษัทจัดหางานที่จดทะเบียน ถูกตองตามกฎหมาย

- ถาตองการไปทํางานตางประเทศควรตรวจสอบขอมูลจากสํานักงานบริหารแรงงาน ไทยไปตางประเทศ กรมการจัดหางาน หรือสํานักงานจัดหางานทุกจังหวัด หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://overseas.doe.go.th/


34

บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

3.6 บริการข้อมู ลด้านแรงงานงานต่างประเทศ บริการขอมูลดานแรงงานในตางประเทศ สถานการณแรงงานไทย การคุม ครองสิทธิ แรงงานไทยในตางประเทศ

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.mol.go.th/anonymouse/interlabor 3.7 กองตรวจและคุ้มครองคนหางาน บริการรับเรื่องรองทุกขของคนหางานที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ บริการงาน ทะเบียนและตรวจสอบบริษัทจัดหางานในประเทศ

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.ipd-doe.com/Home/


บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

35

3.8 สํานักบริหารแรงงานต่างด้าว บริ ก ารข อ มู ล การขออนุ ญ าตทํ า งานของคนต า งด า วทั่ ว ไปที่ เ ข า มาทํ า งานใน ประเทศไทยขอมูลเกีย่ วกับการนําเขาและการขออนุญาตทํางานของแรงงานตางดาวสัญชาติ เมียนมาร ลาว และกัมพูชา

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://wp.doe.go.th/wp/index.php/th/


36

บทที่ 3 : ทิศทางตลาดแรงงานของกรมการจัดหางาน

3.9 บริการส่งเสริมการมีงานทํา บริการขอมูลแนะแนวอาชีพ ขอมูลการประกอบอาชีพอิสระ การรับงานไปทําทีบ่ า น และทดสอบความพรอมทางอาชีพ ระบบบริการดานการสงเสริมการมีงานทํา - บริการขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน/ทิศทางตลาดแรงงาน ภาครัฐและเอกชน - บริการทดสอบวัดบุคลิกภาพ - บริการทดสอบ IQ - บริการทดสอบ EQ

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://vgnew.com/Home/ และ http://www.jobdoe.com/vgnew/


บทที่ 4 ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงาน จากแหล่งต่างๆ


บทที่ 4 ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ 4.1 กระทรวงแรงงาน

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.mol.go.th/academician/news-1


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.2 ธนาคารแหงประเทศไทย

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.bot.or.th สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.nesdb.go.th สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.nso.go.th สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.fti.or.th กรมสงเสริมอุตสาหกรรม หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.dip.go.th

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.oie.go.th สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.boi.go.th สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.tdri.or.th

39


40

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.3 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.nesdb.go.th


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.4 สํานักงานสถิติแหงชาติ

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.nso.go.th

41


42

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.5 สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.fti.or.th


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.6 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.dip.go.th

43


44

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.7 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.oie.go.th


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.8 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI)

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.boi.go.th

45


46

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.9 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.tdri.or.th


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.10 ศูนยขอมูลแรงงานแหงชาติ กระทรวงแรงงาน

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ nlic.mol.go.th

47


48

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.11 สํานักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.)


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

49

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.qlf.or.th/Home/FriendNews หรือ http://apps.qlf.or.th/member/news/default.aspx?cid=3&page=1


50

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.12 ขอมูลทิศทางตลาดแรงงานจากภาคเอกชน แมนพาวเวอรกรุป


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

51

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.manpowerthailand.com/tris/home เลือก หัวขอ NEWS & ACTIVITIES


52

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

4.13 บทวิเคราะหทิศทางตลาดแรงงานที่เกี่ยวของ


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

53

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิม่ เติมไดที่ https://humanrevod.wordpress.com/2016/03/04/ workforce-market-trend-2016/


54

บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.prachachat.net/news_detail.


บทที่ 4 : ข้อมู ลทิศทางตลาดแรงงานจากแหล่งต่างๆ

php?newsid=1456990018

55


บันทึก

กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.