สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในกัมพูชา

Page 1

ปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจกัมพูชา (1) ภาคเกษตรกรรม การเพิ่ ม ขึ้ น ของพื้ น ที่ ปลูกยางพาราของนักลงทุนต่างชาติ การ ผลิ ต และส่ ง ออกข้ า วภายใต้ น โยบาย ส่งเสริมการปลูกและการส่งออกข้าวของ รัฐบาล (2) ภาคอุ ต สาหกรรม การขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้าสาเร็จรูป (3) ภาคบริ การ การขยายตัว ของภาคธุรกิจ การท่ อ งเที่ ย วและธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งที่ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง การ สนับสนุนจากภาครัฐที่เพิ่มขึ้น

2.2

สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศของกัมพูชา เมื่ อ พิ จ ารณามู ล ค่ า การค้ า ระหว่ า งประเทศ สินค้าส่งออกและสินค้านาเข้าของกัมพูชา สามารถ สรุปภาวะการค้าระหว่างประเทศของกัมพูชา ดังนี้ 

(4) การลงทุน การเพิ่มขึ้นของการลงทุนใน ประเทศ ทั้งจากนักลงทุนต่างประเทศและ ในประเทศเอง โดยเฉพาะการลงทุ น ใน ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้าน การท่องเที่ยว (5) การส่งออก การส่งออกเสื้ อผ้ าส าเร็ จรูป สิ่งทอ และรองเท้า ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทาง ภาษีศุลกากร(GSP) สาหรับการส่งออกไป ยั ง ก ลุ่ ม ป ร ะ เ ท ศ ที่ พั ฒ น า แ ล้ ว เ ช่ น สหรัฐ อเมริกา สหภาพยุโ รป ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ (การส่งออกเสื้อผ้าและรองเท้า ได้ถึง ร้อยละ 80 ของการส่งออกทั้งหมด)

มู ล ค่ า การค้ า ระหว่ า งประเทศของ กัมพูชา

ในปี 2557 การค้าระหว่างประเทศกัมพูชากับ ประเทศคู่ค้าทั่วโลกมีมูลค่า 18.1 พันล้านดอลลาร์ สหรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 13.80 จากปี 2556 ซึ่ ง มี มูลค่า 15.90 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศคู่ค้า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ สหรั ฐ อเมริ ก า สหภาพยุ โ รป จี น ญี่ ปุ่ น เกาหลี ใ ต้ แคนาดา ไทย เวี ย ดนามและ มาเลเซีย โดยแยกเป็น

การส่ ง ออก มี มู ล ค่ า 7.70 พั น ล้ า นดอลลาร์ สหรัฐ เพิ่ม ขึ้น ร้อยละ 11.50 จาก 6.90 พันล้ าน ดอลลาร์สหรัฐ ของปี 2556 โดยสินค้าส่งออกหลัก คือ เสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอและรองเท้า คิดเป็นร้อย ละ 80 ของมูลค่าการส่งออกรวม การน าเข้ า มี มู ล ค่ า 10.4 พั น ล้ า นดอลลาร์ สหรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 15.5 จาก 9.0 พั น ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ ของปี 2556 สินค้านาเข้าหลัก คือ วัตถุดิบส าหรับผลิต เสื้อผ้ าเครื่องแต่งกาย น้ามัน เชื้อเพลิง และยานยนต์ เป็นต้น

Page | 3


สินค้าส่งออกที่สาคัญ

สิ น ค้าที่กัมพูช าส่ งออกแยกเป็ นสิน ค้าเกษตร และสิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม สิ น ค้ า เกษตรที่ ส่ ง ออก ได้แก่ ธัญพืช เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ยางและ ผลิตภัณฑ์ ไม้และผลิตภัณฑ์ ส่วนสินค้า

อุตสาหกรรมที่ส่งออก ได้แก่ เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม รองเท้า และชิ้นส่วนยานยนต์ โดยสหรัฐอเมริกา เป็ น ประเทศที่ กั ม พู ช าส่ ง ออกสิ น ค้ า ไปมากที่ สุ ด รองมาเป็น สหราชอาณาจั กร เยอรมัน แคนาดา และญี่ปุ่น เป็นต้น

สินค้าส่งออกที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 รายการ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย รองเท้า ยานยนต์และชิ้นส่วน ธัญพืช (ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ฯลฯ) เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยางและผลิตภัณฑ์ ไม้และผลิตภัณฑ์ แร่ธาตุและซีเมนต์ ผัก สิ่งทอสาเร็จรูป (ผ้าม่าน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าห่ม ฯลฯ)

มูลค่า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 6,724.38 893.69 392.02 256.44 219.00 130.51 127.97 87.41 77.11 73.20

น้าตาลและขนมทาจากน้าตาล

58.95

เลนส์กล้องถ่ายรูปและอุปกรณ์

54.61

พลาสติกและผลิตภัณฑ์

32.12

อื่นๆ รวมทั้งหมด ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

341.45 9,468.86

Page | 4


สัดส่วนสินค้าส่งออกที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 Page | 5


การส่งออกของกัมพูชา ปี 2557 แยกรายประเทศ ประเทศ อเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมัน แคนาดา ญี่ปุ่น ไทย เนเธอร์แลนด์ จีน สเปน อิตาลี อื่นๆ มูลค่าส่งออกรวม

กัมพูชาส่งออก (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 2,847 1,051 956 751 772 590 540 481 374 296 2,432 11,091

ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

สินค้านาเข้าที่สาคัญ

สินค้าที่กัมพูช าน าเข้า แยกเป็นสินค้าเกษตร และสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรที่กัมพูชาต้อง น าเข้ า จากต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ ฝ้ า ย ยาสู บ ส่ ว น สินค้าอุตสาหกรรมที่นาเข้า ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

น้ามันเชื้อเพลิ ง เครื่องจักรกลและส่ ว นประกอบ ยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ อิเล็ กทรอนิกส์ โดยนาเข้าจากไทย จีน สิ งคโปร์ ฮ่ อ งกง ไต้ ห วั น และเกาหลี ใ ต้ ซึ่ ง ในปี 2557 กัมพูชานาเข้าสินค้าจากประเทศไทยมากที่สุด

Page | 6


สินค้านาเข้าที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 รายการ

มูลค่า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

สิ่งทอ

1726.60

น้ามันเชื้อเพลิง

1508.43

เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ

1036.39

ยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ฝ้าย เครื่องดื่ม น้าตาลและขนมทาจากน้าตาล ยาสูบ อัญมณีและเครื่องประดับ พลาสติกและผลิตภัณฑ์ เส้นใยประดิษฐ์ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย กระดาษ อื่นๆ รวมทั้งหมด ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

897.15 799.17 577.50 364.68 324.77 309.98 301.21 280.19 222.85 217.31 184.28 3708.06 12458.58

Page | 7


สัดส่วนสินค้านาเข้าที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 Page | 8


การนาเข้าของกัมพูชา ปี 2557 แยกรายประเทศ ประเทศ ไทย จีน สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย อเมริกา มาเลเซีย ญี่ปุ่น อื่นๆ มูลค่านาเข้ารวม

กัมพูชานาเข้า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 4,476 3,276 1,105 905 684 654 416 328 243 254 755 13,098

ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

การค้าระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชา เมื่อพิจารณามูลค่าการค้าระหว่างประเทศของ ไทยกับกัมพูชา สินค้าที่ไทยส่งออกไปกัมพูชาและ สินค้าที่ไทยนาเข้าจากกัมพูชา สรุปได้ดังนี้

(1) มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับกัมพูชา ในปี 2557 การค้ า ระหว่ า งไทยกั บ กั ม พู ช ามี มู ล ค่ า 164,667.53 ล้ า นบาท ซึ่ ง มี อั ต ราการ

ขยายตัว จากปี 2556 ร้อยละ 17.99 โดยมีมูล ค่า การส่งออก 145,486.68 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้ อ ย ล ะ 13.09 แ ล ะ มู ล ค่ า ก า ร น า เ ข้ า 19,180.85 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 75.65 ซึ่ ง ท า ใ ห้ มี ดุ ล ก า ร ค้ า เ กิ น ดุ ล มู ล ค่ า 126,305.83 ล้านบาท

Page | 9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.