เศรษฐกิจ ภาพรวมการค้าและการลงทุนในกัมพูชา

Page 1

Page | 1

2.1

ข้อมูลทางเศรษฐกิจและดัชนีชี้วัดที่สาคัญ

ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศกัมพูชา มี อัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลดัชนีชี้วัด ทางเศรษฐกิจ สามารถสรุปเศรษฐกิจมหภาคของ ประเทศกัมพูชาได้ดังนี้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศปี 2557 มี มูล ค่า 16.55 พัน ล้ านดอลลาร์ส หรั ฐ มีอัตราการ ขยายตัว ร้อยละ 6.97 กัมพูชามีรายได้ต่อหั ว ของ ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2557 รายได้ ต่ อ หั ว ของประชากรกั ม พู ช าเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 1,008 ดอลลาร์สหรัฐ การขยายตัวดังกล่าวเนื่องมาจาก นโยบายการเปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศมาก ขึ้น ทาให้นักลงทุนสนใจเข้าไปลงทุนในธุรกิจการ ผลิตและการท่องเที่ยวกันอย่างต่อเนื่อง ประกอบ กับการขยายตัวของภาคการเกษตร จากการผลิต ข้ า วและส่ ง ออกข้ า วเพิ่ ม ขึ้ น การขยายตั ว ของ ภาคอุตสาหกรรม จากการผลิตในอุตสาหกรรมสิ่ง ทอและเสื้อผ้าสาเร็จรูป และการขยายตัวของภาค บริการ จากธุรกิจการท่องเที่ยวที่ได้รับความสนใจ ม า ก ขึ้ น มี ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ภายในประเทศของรัฐที่เพิ่มขึ้น จึงทาให้เศรษฐกิจ ของกั ม พู ช าเติ บ โตได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว กั ม พู ช าขาด

ดุ ล การค้ า ในปี 2557 เป็ น มู ล ค่ า 5,246.00 ล้ า น ดอลลาร์ ส หรั ฐ เพราะต้ อ งน าเข้ า สิ น ค้ า อุ ป โภค บริ โ ภคและน าเข้ า พลั ง งานเป็ น จ า นวนมาก เนื่ อ งจากการผลิ ต ภายในประเทศไม่ เ พี ย งพอ สาหรับเงินลงทุนจากต่างประเทศยังคงเพิ่มขึ้น ซึ่ง ส่ งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจของกัมพูชาและแม้ว่า อัตราเงินเฟ้อ ของกัมพูช าจะเพิ่มขึ้นเล็ กน้อย แต่ เสถียรภาพทางราคายังอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้กัมพูชาจะเป็นที่สนใจของ นักลงทุนจากประเทศกลุ่ มอาเซียนและประเทศ ต่ า งๆ แต่ กั ม พู ช ายั ง มี อุ ป สรรคที่ ส าคั ญ ในการ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ อาทิ ปั ญ หาเรื่ อ งของทั ก ษะ แรงงานและระบบการศึกษา การพัฒนาโครงสร้าง พื้ น ฐานที่ ล่ า ช้ า ปั ญ หาการทุ จ ริ ต และระบบการ บริ ห ารราชการที่ ยั ง ไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง เป็ น ปัจจัย ที่เป็นอุปสรรคต่ อ การลงทุ นของประเทศ นอกจากนี้ กั ม พู ช ายั ง ขาดความหลากหลายทาง เศรษฐกิจทั้งทางด้านสินค้าอุตสาหกรรมและด้าน การบริการ


ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศกัมพูชา รายการ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาปัจจุบัน1 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) อัตราการขยายตัว ณ ราคาคงที1่ (ร้อยละ) รายได้ต่อหัว1 (ดอลลาร์สหรัฐ) ประชากร1 (ล้านคน) ดุลการค้า2 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) การส่งออกสินค้า2 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) การนาเข้าสินค้า2 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เงินเฟ้อ1 (% การเปลี่ยนแปลง) ดัชนีราคาผู้บริโภค3 (2010=100) เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ4 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ดุลบัญชีเดินสะพัด1 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) อัตราแลกเปลี่ยนต่อดอลลาร์สหรัฐ5

2553

2554

2555

2556

2557

11.23

12.82

14.06

15.36

16.55

5.96 781.91 14.37 686.78 5,583.56 4,896.78 4.00 100.00 782.60

7.07 877.64 14.61 560.58 6,701.70 6,141.12 5.48 105.48 814.50

7.31 945.70 14.86 775.41 7,837.61 7,062.20 2.93 108.57 1,446.50

7.43 1,018.22 15.09 26.36 9,242.86 9,216.50 2.96 111.77 1,396.00

6.97 1,080.82 15.31 - 5,246.00 10,252.50 15,498.50 4.51 116.08 n.a.

-0.77 4,139.33

-1.30 4,184.92

-1.55 4,058.50

-1.88 4,033.00

-1.99 4,027.25

ที่มา : 1 International Monetary Fund (IMF) 2 CEIC Database 3 World Bank 4 The United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) 5 United Nations Statistics

Page | 2


ปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจกัมพูชา (1) ภาคเกษตรกรรม การเพิ่ ม ขึ้ น ของพื้ น ที่ ปลูกยางพาราของนักลงทุนต่างชาติ การ ผลิ ต และส่ ง ออกข้ า วภายใต้ น โยบาย ส่งเสริมการปลูกและการส่งออกข้าวของ รัฐบาล (2) ภาคอุ ต สาหกรรม การขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้าสาเร็จรูป (3) ภาคบริ การ การขยายตัว ของภาคธุรกิจ การท่ อ งเที่ ย วและธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งที่ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง การ สนับสนุนจากภาครัฐที่เพิ่มขึ้น

2.2

สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศของกัมพูชา เมื่ อ พิ จ ารณามู ล ค่ า การค้ า ระหว่ า งประเทศ สินค้าส่งออกและสินค้านาเข้าของกัมพูชา สามารถ สรุปภาวะการค้าระหว่างประเทศของกัมพูชา ดังนี้ 

(4) การลงทุน การเพิ่มขึ้นของการลงทุนใน ประเทศ ทั้งจากนักลงทุนต่างประเทศและ ในประเทศเอง โดยเฉพาะการลงทุ น ใน ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้าน การท่องเที่ยว (5) การส่งออก การส่งออกเสื้ อผ้ าส าเร็ จรูป สิ่งทอ และรองเท้า ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทาง ภาษีศุลกากร(GSP) สาหรับการส่งออกไป ยั ง ก ลุ่ ม ป ร ะ เ ท ศ ที่ พั ฒ น า แ ล้ ว เ ช่ น สหรัฐ อเมริกา สหภาพยุโ รป ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ (การส่งออกเสื้อผ้าและรองเท้า ได้ถึง ร้อยละ 80 ของการส่งออกทั้งหมด)

มู ล ค่ า การค้ า ระหว่ า งประเทศของ กัมพูชา

ในปี 2557 การค้าระหว่างประเทศกัมพูชากับ ประเทศคู่ค้าทั่วโลกมีมูลค่า 18.1 พันล้านดอลลาร์ สหรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 13.80 จากปี 2556 ซึ่ ง มี มูลค่า 15.90 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศคู่ค้า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ สหรั ฐ อเมริ ก า สหภาพยุ โ รป จี น ญี่ ปุ่ น เกาหลี ใ ต้ แคนาดา ไทย เวี ย ดนามและ มาเลเซีย โดยแยกเป็น

การส่ ง ออก มี มู ล ค่ า 7.70 พั น ล้ า นดอลลาร์ สหรัฐ เพิ่ม ขึ้น ร้อยละ 11.50 จาก 6.90 พันล้ าน ดอลลาร์สหรัฐ ของปี 2556 โดยสินค้าส่งออกหลัก คือ เสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอและรองเท้า คิดเป็นร้อย ละ 80 ของมูลค่าการส่งออกรวม การน าเข้ า มี มู ล ค่ า 10.4 พั น ล้ า นดอลลาร์ สหรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 15.5 จาก 9.0 พั น ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ ของปี 2556 สินค้านาเข้าหลัก คือ วัตถุดิบส าหรับผลิต เสื้อผ้ าเครื่องแต่งกาย น้ามัน เชื้อเพลิง และยานยนต์ เป็นต้น

Page | 3


สินค้าส่งออกที่สาคัญ

สิ น ค้าที่กัมพูช าส่ งออกแยกเป็ นสิน ค้าเกษตร และสิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม สิ น ค้ า เกษตรที่ ส่ ง ออก ได้แก่ ธัญพืช เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ยางและ ผลิตภัณฑ์ ไม้และผลิตภัณฑ์ ส่วนสินค้า

อุตสาหกรรมที่ส่งออก ได้แก่ เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม รองเท้า และชิ้นส่วนยานยนต์ โดยสหรัฐอเมริกา เป็ น ประเทศที่ กั ม พู ช าส่ ง ออกสิ น ค้ า ไปมากที่ สุ ด รองมาเป็น สหราชอาณาจั กร เยอรมัน แคนาดา และญี่ปุ่น เป็นต้น

สินค้าส่งออกที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 รายการ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย รองเท้า ยานยนต์และชิ้นส่วน ธัญพืช (ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ฯลฯ) เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยางและผลิตภัณฑ์ ไม้และผลิตภัณฑ์ แร่ธาตุและซีเมนต์ ผัก สิ่งทอสาเร็จรูป (ผ้าม่าน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าห่ม ฯลฯ)

มูลค่า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 6,724.38 893.69 392.02 256.44 219.00 130.51 127.97 87.41 77.11 73.20

น้าตาลและขนมทาจากน้าตาล

58.95

เลนส์กล้องถ่ายรูปและอุปกรณ์

54.61

พลาสติกและผลิตภัณฑ์

32.12

อื่นๆ รวมทั้งหมด ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

341.45 9,468.86

Page | 4


สัดส่วนสินค้าส่งออกที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 Page | 5


การส่งออกของกัมพูชา ปี 2557 แยกรายประเทศ ประเทศ อเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมัน แคนาดา ญี่ปุ่น ไทย เนเธอร์แลนด์ จีน สเปน อิตาลี อื่นๆ มูลค่าส่งออกรวม

กัมพูชาส่งออก (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 2,847 1,051 956 751 772 590 540 481 374 296 2,432 11,091

ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

สินค้านาเข้าที่สาคัญ

สินค้าที่กัมพูช าน าเข้า แยกเป็นสินค้าเกษตร และสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรที่กัมพูชาต้อง น าเข้ า จากต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ ฝ้ า ย ยาสู บ ส่ ว น สินค้าอุตสาหกรรมที่นาเข้า ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

น้ามันเชื้อเพลิ ง เครื่องจักรกลและส่ ว นประกอบ ยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ อิเล็ กทรอนิกส์ โดยนาเข้าจากไทย จีน สิ งคโปร์ ฮ่ อ งกง ไต้ ห วั น และเกาหลี ใ ต้ ซึ่ ง ในปี 2557 กัมพูชานาเข้าสินค้าจากประเทศไทยมากที่สุด

Page | 6


สินค้านาเข้าที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 รายการ

มูลค่า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

สิ่งทอ

1726.60

น้ามันเชื้อเพลิง

1508.43

เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ

1036.39

ยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ฝ้าย เครื่องดื่ม น้าตาลและขนมทาจากน้าตาล ยาสูบ อัญมณีและเครื่องประดับ พลาสติกและผลิตภัณฑ์ เส้นใยประดิษฐ์ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย กระดาษ อื่นๆ รวมทั้งหมด ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

897.15 799.17 577.50 364.68 324.77 309.98 301.21 280.19 222.85 217.31 184.28 3708.06 12458.58

Page | 7


สัดส่วนสินค้านาเข้าที่สาคัญของกัมพูชา ปี 2557 Page | 8


การนาเข้าของกัมพูชา ปี 2557 แยกรายประเทศ ประเทศ ไทย จีน สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย อเมริกา มาเลเซีย ญี่ปุ่น อื่นๆ มูลค่านาเข้ารวม

กัมพูชานาเข้า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 4,476 3,276 1,105 905 684 654 416 328 243 254 755 13,098

ที่มา : Global Trade Atlas (2558)

การค้าระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชา เมื่อพิจารณามูลค่าการค้าระหว่างประเทศของ ไทยกับกัมพูชา สินค้าที่ไทยส่งออกไปกัมพูชาและ สินค้าที่ไทยนาเข้าจากกัมพูชา สรุปได้ดังนี้

(1) มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับกัมพูชา ในปี 2557 การค้ า ระหว่ า งไทยกั บ กั ม พู ช ามี มู ล ค่ า 164,667.53 ล้ า นบาท ซึ่ ง มี อั ต ราการ

ขยายตัว จากปี 2556 ร้อยละ 17.99 โดยมีมูล ค่า การส่งออก 145,486.68 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้ อ ย ล ะ 13.09 แ ล ะ มู ล ค่ า ก า ร น า เ ข้ า 19,180.85 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 75.65 ซึ่ ง ท า ใ ห้ มี ดุ ล ก า ร ค้ า เ กิ น ดุ ล มู ล ค่ า 126,305.83 ล้านบาท

Page | 9


การค้าระหว่างประเทศไทย-กัมพูชา มูลค่า (ล้านบาท) รายการ

2555

มูลค่าการค้ารวม มูลค่าการส่งออก มูลค่าการนาเข้า ดุลการค้า

2556

อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2558 58/57 56/55 57/56 (ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)Page | 10

2557

124,580.26 139,563.37 164,667.53 116,780.03 128,643.32 145,486.68 7,800.23 10,920.05 19,180.85 108,979.80 117,723.27 126,305.83

51,919.82 43,332.97 8,586.85 34,746.12

12.03 10.16 40.00

17.99 13.09 75.65

24.68 16.27 96.25

ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)

(2) สินค้าสาคัญที่ไทยส่งออกไปยังประเทศกัมพูชา ในปี 2557 สิ น ค้าที่ไทยส่ งออกไปกัมพูชาที่มี มูลค่าสูงสุด คือ น้ามันสาเร็จรูป มีมูลค่าการส่งออก 23,417.10 ล้ า นบาท โดยมี อั ต ราการขยายตั ว ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2556 ร้อยละ 3.20 เนื่องจาก ราคาพลั งงานและเชื้ อ เพลิ ง ที่สู ง ขึ้น ทาให้ ค วาม ต้องการใช้น้ ามัน ส าเร็ จ รู ป ในกัมพูช าลดลง ส่ ว น สิ น ค้าส่ งออกที่มี มูล ค่า รองลงมาคือ อัญมณี แ ละ เครื่ อ งประดั บ และน้ าตาลทราย โดยกั ม พู ช ามี

ความต้องการสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับเพิ่ม สูงมาก แต่มีความต้องการบริโภคน้าตาลทรายที่ ลดลงอย่ า งมาก ส่ ว นปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) ไทย ส่ งออกอัญมณี และเครื่ องประดั บไปกั มพูช ามาก ที่สุ ด เป็นมูล ค่า 15,714.90 ล้ านบาท รองมาคือ น้ ามั น ส าเร็ จ รู ป เครื่ อ งดื่ ม และปู น ซิ เ มนต์ ตามลาดับ

โครงสร้างสินค้าที่ไทยส่งออกไปกัมพูชา 10 อันดับแรก

ชื่อสินค้า 1 2 3 4 5

อัญมณีและเครื่องประดับ น้ามันสาเร็จรูป เครื่องดื่ม ปูนซิเมนต์ เครื่องยนต์ อุปกรณ์และ ส่วนประกอบ 6 ผลิตภัณฑ์พลาสติก

มูลค่า (ล้านบาท) 2556 2557 2558 (ม.ค.-ก.ค.) 8,629.90 14,916.20 15,714.90 24,190.10 23,417.10 14,078.40 7,033.90 6,945.90 4,792.80 4,813.70 6,179.50 3,776.40 3,404.90 3,991.50 2,945.00 2,732.80

4,056.40

2,933.50

อัตราการขยายตัว (%) 2556 2557 2558 (ม.ค.-ก.ค.) 151.35 72.84 56.03 18.37 - 3.20 -7.74 13.75 - 1.25 13.52 12.59 28.37 5.2 26.34 17.23 34.9 45.71

48.43

25.75


7 ยานพาหนะอื่น ๆ และ ส่วนประกอบ 8 น้าตาลทราย 9 เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูก สูบและส่วนประกอบ 10 รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ รวม 10 รายการ อื่นๆ รวมทั้งสิ้น

2,669.00

4,424.90

2,908.70

26.42

65.79

12.94

9,344.80 3,687.60

6,997.70 4,158.90

2,831.60 2,537.50

-6.8 1.56

- 25.12 12.78

-16.96 4.87

2,784.80 3,384.90 69,291.50 78,473.00 59,351.90 67,013.70 128,643.30 145,486.70

2,526.40 55,045.10 40,515.00 95,560.00

-1.24 20.53 0.1 10.16

21.55 13.25 12.91 13.09

Page | 11 32.82 14.76 6.97 11.32

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร (2558)

สั ด ส่ ว นของมู ล ค่ า สิ น ค้ า ที่ ไ ทยส่ ง ออกไปยั ง กั ม พู ช า ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) พบว่ า ไทยส่ ง ออก อัญมณีและเครื่องประดับเป็นสัดส่วนมากที่สุด คิด เป็นสัดส่วนร้อยละ 16.45 ของมูลค่าการส่งออก

ทั้ ง หมด รองลงมา คื อ น้ ามั น ส าเร็ จ รู ป ร้ อ ยละ 14.73 และผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งดื่ ม ร้ อ ยละ 5.02 ตามลาดับ

สัดส่วนมูลค่าสินค้าส่งออกของไทยไปกัมพูชา ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.)


(3) สินค้าสาคัญที่ไทยนาเข้าจากประเทศกัมพูชา ในปี 2557 สินค้าที่ไทยนาเข้าจากกัมพูช าที่มี มู ล ค่ า มากที่ สุ ด คื อ เครื่ อ งจั ก รไฟฟ้ า แ ล ะ ส่ ว นประกอบ มีมูล ค่าการน าเข้า 6,868.70 ล้ าน บาท มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 231.38 รองมา เป็นเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ นอกจากนี้ยัง มีสินค้าหลักที่ได้นาเข้าจากกัมพูชาจะประกอบด้วย ลวดและสายเคเบิล ผัก ผลไม้ สินแร่โลหะอื่นๆ พืช

และผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากพื ช เป็ น ต้ น ส่ ว นมู ล ค่ า การ น าเข้ า สิ น ค้ า จากกั ม พู ช า ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) สินค้าที่ไทยนาเข้ามากที่สุด คือ ผัก ผลไม้และของ ปรุงแต่งที่ทาจากผัก ผลไม้ มีมูลค่า 5,067.70 ล้าน บาท รองมาคือ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ลวดและสายเคเบิล สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและ ผลิตภัณฑ์

Page | 12

โครงสร้างสินค้าที่ไทยนาเข้าจากกัมพูชา 10 อันดับแรก ชื่อสินค้า

มูลค่า (ล้านบาท) 2556 2557 2558 (ม.ค.-ก.ค.) 1,769.10 2,241.00 5,067.70

1 ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทา จากผัก ผลไม้ 2 เครื่องจักรไฟฟ้าและ 2,072.80 6,868.70 ส่วนประกอบ 3 ลวดและสายเคเบิล 1,222.20 2,350.50 4 สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและ 996.60 1,456.80 ผลิตภัณฑ์ 5 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 1,885.00 2,699.20 6 เสื้อผ้าสาเร็จรูป 450.40 687.20 7 ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ 84.20 526.20 8 พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 800.10 765.90 9 รองเท้า 44.00 179.80 10 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และ 0.40 1.50 ส่วนประกอบ รวม 10 รายการ 9,365.90 17,776.90 อื่นๆ 1,554.10 1,404.00 รวมทั้งสิ้น 10,920.10 19,180.80

อัตราการขยายตัว (%) 2556 2557 2558 (ม.ค.-ก.ค.) - 37.28 26.67 193.88

4,435.90

263.41

231.38

68.25

1,748.70 767.6

316.89 5.34

92.31 46.18

48.30 - 6.37

614.5 7,876.88 472.2 - 13.77 255.9 73.85 168.9 25.87 108.4 66.17 82.2 - 72.97

43.19 52.59 524.54 - 4.28 308.73 261.34

- 68.23 64.95 358.24 - 38.90 10.96 13,620.44

90.64 -11.98 75.65

52.28 26.46 50.24

13722.1 976.7 14698.9

58.36 - 16.56 40.00

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร(2558)


เมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนของมูลค่าสินค้ าที่ไทย นาเข้าจากกัมพูชา ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) พบว่าไทย น าเข้ า ผั ก ผลไม้ แ ละของปรุ ง แต่ ง ที่ ท าจาก ผัก ผลไม้ เป็นสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนร้อย ละ 34.48 ของมูลค่าการนาเข้าทั้งหมด รองลงมา

คือ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ มีสัดส่วน ร้อยละ 30.18 และลวดและสายเคเบิล มีสัดส่วน ร้อยละ 11.90

สัดส่วนมูลค่าของสินค้าที่ไทยนาเข้าจากกัมพูชา ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.)

Page | 13


การค้าชายแดนที่สาคัญของประเทศ การค้าชายแดนระหว่างไทยกับ กัมพูช า ไทย เกินดุลการค้าอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 การค้า ชายแดนไทยกั บ กั ม พู ช าหรื อ มี มู ล ค่ า การค้ า ชายแดนรวมทั้งสิ้น 114,465.84 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปี2556 ที่มีมูลค่ารวม 93,836.31 ล้านบาท

สาหรับปี 2558 (มกราคม-มีนาคม) มีมูลค่าการค้า ชายแดนรวม 34,887.33 ล้ า นบาท และไทย เกินดุลการค้า 18,961.91 ล้านบาท มีอัตราการ ขยายตัวร้อยละ 21.98 เมื่อเทียบกับปี 2556

การค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา รายการ

2555

มูลค่ารวม มูลค่าการส่งออก มูลค่าการนาเข้า ดุลการค้า

82,089.07 74,921.52 7,167.55 67,753.97

มูลค่า (ล้านบาท) 2556 2557 93,836.31 84,087.90 9,748.41 74,339.49

114,465.84 96,726.22 17,739.62 78,986.60

อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2558 56/55 57/56 58/57 (ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.) 34,887.33 14.31 21.98 24.78 26,924.62 12.23 15.03 12.90 7,962.71 36.01 81.97 93.76 18,961.91

ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)

Page | 14


เมื่อพิจ ารณาการค้าชายแดนไทยกับ กัมพูช า โดยแยกเป็นรายจังหวัด พบว่า ในปี 2557 การค้า ผ่านด่านในจังหวัดสระแก้ว มีมูลค่าการค้าชายแดน กั บ กั ม พู ช ามากที่ สุ ด ซึ่ ง มี มู ล ค่ า 74,771.75 ล้ า น บาท คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 25.35 เนื่ อ งจากบริ เ วณ ชายแดนดังกล่าวมีตลาดโรงเกลือซึ่งเป็นตลาดที่มี

ขนาดใหญ่และเป็นแหล่งรวมสินค้านานาชนิดทั้ง ของไทยและกัมพูช า จึงทาให้ การค้าชายแดนใน บริเวณดังกล่าวมีความคึกคัก รองลงมา คือการค้า ผ่ า นด่ า นในจั ง หวั ด ตราดโดยมี มู ล ค่ า การค้ า ชายแดนกับกัมพูชาเท่ากับ 29,636.49 ล้านบาท

การค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา แยกตามรายจังหวัด ปี

รายการ

2556 (ล้านบาท)

2557 (ล้านบาท)

อัตราการขยายตัว (ร้อยละ)

มูลค่ารวม ส่งออก นาเข้า ดุลการค้า มูลค่ารวม ส่งออก นาเข้า ดุลการค้า มูลค่ารวม ส่งออก นาเข้า ดุลการค้า มูลค่ารวม ส่งออก นาเข้า ดุลการค้า

59,651.59 51,625.85 8,025.74 43,600.10 26,825.81 25,431.83 1,393.98 24,037.85 4,935.38 4,753.48 181.90 4,572.57 1,997.95 1,852.96 144.99 1,706.97

74,771.75 59,508.78 15,262.97 44,245.80 29,636.49 27,555.18 2,081.31 25,473.87 6,874.92 6,749.14 125.78 6,623.36 2,711.96 2,442.40 269.56 2,172.84

25.35 15.27 90.18 1.48 10.48 8.35 49.31 5.97 39.30 41.98 -30.85 44.85 35.74 31.81 85.92 27.29

ด่าน

จังหวัดสระแก้ว

จังหวัดตราด

จังหวัดจันทบุรี

จังหวัดสุรินทร์

Page | 15


การค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา แยกตามรายจังหวัด (ต่อ) ปี

รายการ

จังหวัดอุบลราชธานี

มูลค่ารวม ส่งออก นาเข้า ดุลการค้า มูลค่ารวม ส่งออก นาเข้า ดุลการค้า

รวม

2556 (ล้านบาท) 424.79 424.79 424.79 93,836.31 84,087.90 9,748.41 74,339.49

2557 (ล้านบาท) 470.72 470.72 470.72 114,465.84 96,726.22 17,739.62 78,986.60

อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 10.81 10.81 10.81 21.98 15.03 81.97 6.25

ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)

รูปแบบการค้าและช่องทางการจาหน่าย สินค้าในกัมพูชา (1) ผู้ประกอบธุรกิจที่เป็นผู้นาเข้าและส่งออกของ กัมพูชา ประกอบด้วย - บริษัทเอกชน (Private Company) ซึ่งเป็นบริษัทผู้นาเข้า (Importer) หรือบริษัทที่เป็นตัวแทนจาหน่ายแต่ เพียงผู้เดียว (Sole Agent) หรือเป็น บริษัทตัวแทนจาหน่าย (Distributor) ของกัมพูชา - ผู้ค้าชายแดน เป็นผู้รับจ้างนาเข้า สินค้าให้กับร้านค้าย่อยตามตลาด ต่างๆ โดยพ่อค้าชายแดนจะรับสินค้า จากชายแดนไปส่งตามร้านค้าและ แผงลอยในกัมพูชา ซึ่งสินค้าที่นาเข้า ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค

1 คู่มือการประกอบธุรกิจ

ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)

(2) ช่องทางการจัดจาหน่ายและการกระจายตัว ของสินค้าในตลาดกัมพูชา มีดังนี้1 - การจัดจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ผู้นาเข้าของกัมพูชาจะนาสินค้าที่ นาเข้าไปกระจายให้กับร้านค้าส่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท และ ร้านค้าปลีก ในกรุงพนมเปญและ เมืองการค้าต่างๆ - การจัดจาหน่ายสินค้าวัสดุก่อสร้าง ผู้นาเข้าจะเป็นผู้จัดจาหน่ายสินค้าเอง โดยจะกระจายสินค้าต่อไปยังตัวแทน ขายและร้านค้าปลีก รวมทั้งการขาย โดยตรงให้ผู้บริโภคทั้งในกรุง พนมเปญและจังหวัดต่างๆ - การจัดจาหน่ายสินค้าผ่านแดน ผู้นา เข้าของกัมพูชาจะนาสินค้าเข้าจาก ไทยแล้วส่งต่อไปจาหน่ายที่เวียดนาม โดยเป็นลักษณะของการขนสินค้า ผ่านแดน

Page | 16


2.3

สถานการณ์ด้านการลงทุนในประเทศกัมพูชา

การลงทุ น ในกั ม พู ช าเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว เนื่ อ งจากได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาลของ ประเทศกัมพูช า ซึ่งมีน โยบายส่ งเสริ มการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศอย่างจริงจัง เพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจ ของประเทศ ประกอบกับ กั ม พูช าเป็ น ประเทศที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมากมายและหลากหลายทั้ ง ทางด้านประวัติศาสตร์และเชิงวัฒนธรรม มีค่าจ้าง แรงงานที่ ยั ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ ารวมทั้ ง ยั ง ได้ รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ ท างด้ า นภาษี (GSP) จากประเทศที่ พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรปและ ญี่ปุ่น เป็นต้น จึงทาให้นักลงทุนจากต่างประเทศ มองว่าประเทศกัมพูชาเป็ นประเทศที่น่าสนใจใน การลงทุนและดาเนินธุรกิจ

รัฐบาลกัมพูชาได้มีนโยบายด้านการส่งเสริมการ Page | 17 ลงทุนดดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนกัมพูชา (Cambodian Investment Board : CIB) ได้อนุมัติ โครงการการลงทุนในกัมพูชา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จานวน 2,989 โครงการ มูลค่าเงิน ลงทุน 10,717 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยใน ปี 2557 มีโครงการลงทุนจานวน 148 โครงการ มี มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น รวม 408.8 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ลดลงร้อยละ 37.08 จากปี 2556 ทั้งนี้สัดส่วนเงิน ลงทุนในปี 2557 เป็นเงินลงทุนจากนักลงทุนกัมพูชา 144.86 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละ 35.4) ซึ่งลงทุน ลดลงร้ อ ยละ 50.2 และเงิ น ลงทุ น จากนั ก ลงทุ น ต่างชาติ 263.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละ 64.6) ซึง่ ลงทุนลดลงร้อยละ 36.4 ทั้งนี้ ในปี 2557 จีนเป็น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ล ง ทุ น ม า ก สุ ด จ า น ว น 73 โครงการมีมูลค่าเงินลงทุน 94.2 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 23.05 ส่วนนักลงทุนไทยลงทุน ในกัมพูชาเป็นลาดับที่ 9 และเป็นอันดับ 4 ในกลุ่ม นักลงทุนจากอาเซียน

การลงทุนที่ได้รับอนุมตั ิจาก Cambodian Investment Board ปี 2551-2557 รายการ มูลค่าเงินลงทุน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) จานวนโครงการ

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

259.90 149.00 172.80 507.30 334.10 649.80 408.80 101

ที่มา : Cambodia Investment Board (2558)

100

102

148

157

160

148


จานวนเงินลงทุนในกัมพูชา รายการ

2556

2557

เงินลงทุนนักลงทุนกัมพูชา (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

291.10

144.86

เงินลงทุนนักลงทุนต่างชาติ(ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

358.70

263.90

มูลค่าเงินลงทุน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

649.80

408.80

ที่มา : Cambodia Investment Board (2558)

จานวนเงินทุนและโครงการลงทุนจากต่างประเทศ ประเทศ 1. มาเลเซีย 2. จีน 3. ไต้หวัน 4. สหรัฐอเมริกา 5. เกาหลีใต้ 6. เวียดนาม 7. ฮ่องกง 8. สิงคโปร์ 9. ไทย

เงินทุนจดทะเบียน ปี 2537 2557 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 1,965 1,114 682 475 441 402 383 323 318

ที่มา : Cambodia Investment Board (2558)

เงินทุนจดทะเบียน ปี 2557 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 1.5 94.2 11.7 3 7.6 1.7 26.8 9.8 2.8

จานวนโครงการ 2 73 7 4 8 3 15 5 3

Page | 18


จานวนโครงการลงทุนแยกตามประเภท ประเภท

2553 2554 2555 2556 2557

Garment

40

78

82

73

74

Shoes Rice mill Rubber Tourism Textile Agro-Industry อื่นๆ

8 9 2 13 30

8 3 20 6 1 32

13 9 4 3 4 5 43

14 3 4 2 8 56

5 2 2 6 59

รวม

102

148

157

160

148

นักลงทุนในปี 2557 Page | 19 จีน เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง อังกฤษ อิตาลี ญี่ปุ่น ซามัว เวียดนาม เยอรมัน กัมพูชา สิงคโปร์ มาเลเซีย เบลเยี่ยม กัมพูชาและสหรัฐฯ กัมพูชา ไต้หวัน อังกฤษ เยอรมันและซามัว กัมพูชา ฮ่องกงและมาเลเซีย อินเดียและจีน

จีน เกาหลีใต้และ กัมพูชา โรงงานผลิตกระเป๋า (จีน อังกฤษและกัมพูชา) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (จีน) โรงงานปูนซีเมนต์ (จีนและกัมพูชา) โรงงานแปรรูปอาหาร (จีน ออสเตรเลียและ กัมพูชา)

ที่มา : Cambodia Investment Board (2558)

จานวนโครงการลงทุนแยกตามประเทศ ประเทศ

2553

2554

2555

2556

2557

จีน เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ ไทย ญี่ปุ่น อังกฤษ เวียดนาม มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา

18 11 21 9 3 8 5 5

23 28 22 19 1 3 2 17 7 4

41 29 23 15 9 8 5 5 5 1 1

61 18 16 17 4 7 5 8 5 2 3

73 8 7 15 5 3 1 5 3 2 4

อื่นๆ

41 102

43 148

15 157

14 160

22 148

รวม

ที่มา : Cambodia Investment Board (2558)


2.4

ระบบสถาบันการเงิน

ความเจริ ญเติบ โตทางเศรษฐกิ จ ของกั ม พู ช า เป็นสิ่งดึงดูดให้สถาบันการเงินจานวนมากเข้ามา ลงทุนประกอบกิจการ ส่งผลให้ภาคการธนาคารมี การเจริ ญเติบ โตอย่ า งต่ อเนื่ อ ง ประกอบกั บ ยั ง มี ประชากรจานวนมากที่ยังไม่อยู่ในระบบธนาคาร ซึ่งได้ส่งผลให้ธุรกิจภาคการเงินและการธนาคาร มี การแข่งขันสูงมากในปัจจุบัน สถาบั น การเงิ น ในกั ม พู ช า ประกอบด้ ว ย ธนาคารชาติ แ ห่ ง กั ม พู ช า (National Bank of Cambodia: NBC) ธนาคารพาณิ ช ย์ ข องเอกชน ธนาคารเฉพาะกิ จ สถาบั น การเงิ น ขนาดเล็ ก สานักงานตัวแทน และตัวแทนแลกเปลี่ยนเงิน โดย สถาบันการเงินในกัมพูชาอยู่ภายใต้การกากับดูแล ของธนาคารชาติแห่งกัมพูชา (National Bank of Cambodia: NBC) การพัฒนาและเติบโตอย่างต่อเนื่องของระบบ ธนาคารของกัมพูชา ทาให้ธนาคารชาติแห่งกัมพูชา ปรับปรุงและพัฒนาวิธีการกากับตรวจสอบสถาบัน การเงิน จากเดิม Ruled-based เป็ น Risk-based และเป็ น Forward-looking มากขึ้ น นอกจากนี้ NBC ยังปรับปรุงวิธีการรายงานข้อมูลจากธนาคาร พาณิช ย์ และสถาบั น ไมโครไฟแนนซ์ มาเป็ นการ นาส่งตัวเลขและข้อมูลผ่านทาง Online ซึ่งทาให้ ได้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สถาบั น การเงิ น ที่ ถู ก ต้ อ งและ ทั น เวลา ช่ ว ยลดอุ ป สรรคและต้ น ทุ น ในการยื่ น เอกสาร และยังเป็นการส่งเสริมการนาเทคโนโลยี 2

ข้ อมูลจากสานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ (2557)

มาใช้ในวงการสถาบันการเงินของกัมพูชาอีกด้วย ทั้งนี้ กัมพูช าอนุญาตให้ ต่างชาติถือหุ้ นได้ 100% อย่างไรก็ตามจานวนผู้ที่เข้าถึงบริการทางการเงิน ของธนาคารพาณิ ช ย์ ยั ง มี น้ อ ย โดยปั จ จุ บั น มี ประชากรกั ม พู ช าเพี ย งร้ อ ยละ 13.0 ที่ มี บั ญ ชี ธนาคาร หรือประมาณ 2 ล้านคน จากประชากร 15 ล้านคนทั้งประเทศ2 ธนาคารชาติ แ ห่ ง กั ม พู ช า (National Bank of Cambodia: NBC) ธนาคารชาติแห่งกัมพูชา มีหน้าที่ควบคุมดูแล สถาบันการเงินในกัมพูชา เสริมสร้างระบบธนาคาร และเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนโดย ออกระเบี ย บหลั ก เกณฑ์ เ กี่ ย วกั บ ธนาคารและ สถาบันการเงิน มีอานาจในการควบคุมกิจกรรม ทางการเงิน เครดิต และการแลกเปลี่ยนเงิน ตรา ธนาคารชาติ แ ห่ ง กั ม พู ช ามี บ ทบาทในการให้ ใบอนุ ญ าต/เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าต ก ากั บ ดู แ ลและ ตรวจสอบสถาบันการเงิน ผู้ชาระบัญชี และผู้ตรวจ สอบภายใน รักษาเสถียรภาพด้านราคา ดูแลระบบ การชาระเงิน และส่งเสริมการชาระเงิน ระหว่าง ธนาคาร รวมทั้ ง พิ ม พ์ แ ละออกใช้ เ งิ น ตราสกุ ล ท้ อ งถิ่ น และบริ ห ารเงิ น ส ารองระหว่า งประเทศ และเป็ น แหล่ ง กู้ ยื ม เงิ น ของธนาคารพาณิ ช ย์ (Lender of Last Resort)

Page | 20


ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารพาณิชย์ในกัมพูชา ประกอบด้วยสาขา ธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ ธนาคารพาณิชย์จด ทะเบี ย นในประเทศ และธนาคารพาณิช ย์ ที่ เ ป็ น บริ ษั ท ลู ก ของธนาคารต่ า งประเทศ รวมถึ ง ส านั ก งานตั ว แทนธนาคาร ทั้ ง นี้ กิ จ กรรมของ ธนาคารพาณิ ช ย์ ป ระกอบด้ ว ย การให้ สิ น เชื่ อ รวมถึงการให้เช่า การค้าประกัน และภาระผูกพัน ด้ ว ยการลงนาม การรวบรวมเงิ น ฝากจากภาค ประชาชน ที่มิได้ฝากไว้ที่ธนาคารกลาง และ การให้บริการวิธีการชาระแก่ลูกค้า และการดาเนิน วิธีการชาระเงินเหล่านั้นในสกุลเงินชาติและสกุล เงินต่างประเทศ ปั จ จุ บั น กั ม พู ช ามี ธ นาคารพาณิ ช ย์ 36 แห่ ง โดยมีธ นาคารพาณิช ย์ จ ากประเทศไทยที่ด าเนิ น กิจการในกัมพูชารวม 4 ธนาคาร ได้แก่ (1) ธนาคารกรุงไทย มี 2 สาขา คือ สาขากรุง พนมเปญ และสาขาย่อยจังหวัดเสียมราฐ (2) ธนาคารกัมพูช าพาณิช ย์ (บริ ษัทลู ก ของ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ โดยธนาคารไทย พาณิ ช ย์ ถื อ หุ้ น 100%) มี 4 สาขา คื อ สาขากรุงพนมเปญ (สานักงานใหญ่) สาขา พระตะบอง สาขา เสียมราฐ และสาขาสี หนุวิลล์ (3) ธนาคารกรุ งเทพ 1 สาขา คือ สาขากรุง พนมเปญ

(4) สานักงานตัวแทนธนาคารกสิกรไทย (อยู่ ระหว่ า งการขอใบอนุ ญ าตแบบเต็ ม รูปแบบ) ตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ ส าหรั บ สาขาธนาคารต่ า งประเทศ (Branch Office) และสานักงานตัวแทน (Representative Office) กฎหมายธนาคารและสถาบันการเงินของ กัมพูชาระบุว่า “กิจการที่อยู่ภายใต้กฎหมายนี้อาจ ได้รับการจดทะเบียนบริษัทในประเทศกัมพูชาหรือ เป็นสาขาของธนาคารต่างประเทศ” ด้วยเหตุนี้ นัก ลงทุนชาวต่างชาติสามารถจัดตั้งธนาคารท้ องถิ่น หรือสาขาธนาคารต่างประเทศในกัมพูชาได้ ทั้ ง นี้ ส านั ก งานบริ ก ารข้ อ มู ล ส านั ก งาน ประสานงาน หรือสานักงานตัวแทนนั้น ไม่สามารถ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ การธนาคาร การเป็ น สื่ อ กลางทาง การเงิน หรือการหาลูกค้าได้ (ตามมาตรา 13 ของ กฎหมายธนาคารและสถาบันการเงิน ) ซึ่งการเปิด สานักงานจะต้องได้รับการอนุมัติจากธนาคารกลาง ก่อน โดยสถานประกอบการเหล่านี้อาจจัดตั้งเป็น บริษัทท้องถิ่นหรือสร้างขึ้นเป็นองค์กรแบบง่า ยๆ หรื อ ส านั ก งานก็ ไ ด้ และจะต้ อ งได้ รั บ การจด ทะเบียนพาณิชย์ด้วย สานักงานเหล่านี้อาจใช้ชื่อ ทางธุรกิจของธนาคารต่างประเทศที่เป็นตัวแทนได้ อย่างไรก็ตาม การอนุญาตจะให้เป็นเวลา 2 ปี ซึ่ง สามารถต่ออายุได้เพียงครั้งเดียว

Page | 21


ธนาคารเฉพาะกิจ (Specialized Banks) ธนาคารเฉพาะกิจ เป็นธนาคารที่ตั้งขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง การจัดตั้งธนาคารเฉพาะ กิจ เป็ น เสมือนสถาบั น การเงิน เพิ่ มเติ ม ในระบบ ธนาคารพาณิชย์ หรือเป็นเสมือนสถาบัน การเงิน พิ เ ศษในภาคเฉพาะด้ า นที่ รั ฐ บาลกั ม พู ช าให้ ความส าคั ญ โดยนั ก ลงทุ น หลายรายได้ จั ด ตั้ ง ธนาคารเฉพาะกิจขึ้นเป็นก้าวแรก ก่อนที่จะขยาย กิจ การไปสู่ ก ารเป็ น ธนาคารพาณิ ช ย์ ปั จ จุ บัน ใน กัมพูช ามีธ นาคารเฉพาะกิจ ทั้ งหมด 11 ธนาคาร เป็ น ธนาคารของรั ฐ 1 ธนาคาร และเอกชน 10 ธนาคาร

สถาบันการเงินขนาดเล็ก (Microfinances Institutions: MFI) สถาบันการเงินขนาดเล็กของกัมพูชาให้บริการ จัดส่งบริการทางการเงิน อาทิ เงินกู้ และเงินฝาก ให้แก่ครัวเรือนที่ยากจนและมีรายได้น้อย รวมถึง วิ ส าหกิ จ ขนาดเล็ ก เช่ น ACTIVE PEOPLES MICROFINANCE INSTITUTION Plc, AEON MIC ROFINACE (CAMBODIA) Co., Ltd, BAYON CREDIT LIMITED เป็นต้น สถาบันการเงินขนาด เล็ กที่ได้รั บ ใบอนุ ญาตประกอบกิจการมีขอบเขต การให้บริการที่จากัด โดยสามารถดาเนินกิจกรรม ทางการธนาคารได้เฉพาะตามที่ระบุไว้เท่านั้น ทั้งนี้ การให้ บ ริ ก ารสิ น เชื่ อ ถื อ ว่ า ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ด าเนิ น การได้ เว้ น แต่ จ ะมี ก ารจ ากั ด ไว้ ด้ ว ย กฎระเบี ย บหนึ่ ง ใดหรื อ ด้ ว ยข้ อ ก าหนดของ ใบอนุญาตนั้นๆ สถาบันการเงินขนาดเล็กจะต้อง ได้รับใบอนุญาตอีกฉบับหนึ่งในฐานะที่เป็นสถาบัน

การเงินขนาดเล็กที่รับฝากเงิน เพื่อที่จะสามารถ ให้บริการบัญชีออมทรัพย์ได้ ในปัจจุบันสถาบันการเงินขนาดเล็กในกัมพูชา มี 41 แห่ง แบ่งเป็น - Taking Deposit / Microfinance Deposit Taking Institutions (MDIs) 7 แห่ง - Credit Operators / Microfinances Institutions (MFIs) 34 แห่ง นอกจากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น สถาบั น หรื อ หน่ ว ยงานที่ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นการเงิ น ในกั ม พู ช ายั ง ประกอบด้วย ตัวแทนแลกเปลี่ยนเงินตรา 1,676 แห่ง และบริษัทลิสซิ่ง อีก 6 แห่ง

การดาเนินนโยบายการเงินของธนาคาร ชาติแห่งกัมพูชา ธนาคารชาติแห่งกัมพูชามีการดาเนินนโยบาย การเงินสรุปเป็นประเด็นที่สาคัญได้ดังนี้ (1) นโยบายด้ า นอั ต ราแลกเปลี่ ย น กั ม พู ช าใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวภายใต้การ จัดการ (Managed Floating Exchange Rate) โดยธนาคารชาติแห่งกัมพูชา (National Bank of Cambodia : NBC) จะเป็นผู้กาหนดอัตรา ท า ง ก า ร ( Official Exchange Rate) ใ ห้ สอดคล้องกับความเคลื่อนไหวของราคาตลาด และมีส่วนต่างระหว่างอัตราตลาดและอั ตรา ทางการไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 1 ส่ ว นใหญ่ อั ต รา ทางการใช้กับธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ

Page | 22


ของภาครั ฐ และวิ ส าหกิ จ ของรั ฐ เป็ น ส าคั ญ ในขณะที่ อั ต ราตลาด (Market Rate) จะถู ก ก าหนดโดยผู้ ค้ า เงิ น ตราต่ า งประเทศใน ภาคเอกชน ตลาดซื้อขายเงินตราต่างประเทศในกัมพูชา ยัง เป็นตลาดเล็กและมีการดาเนินงานอย่างไม่เป็น ทางการ จึงไม่มีการกาหนดเวลาซื้อขายที่แน่นอน โดยทั่วไปตลาดเงินตราต่างประเทศไม่มีปัญหา สภาพคล่อง แต่หากธนาคารหรือผู้ค้าเงินขาด สภาพคล่อง สามารถกู้ยืมเงินดอลลาร์สหรัฐและ เงินเรียลจาก ธนาคารชาติแห่งกัมพูชาได้โดยมี หลักประกัน กฎหมายอัตราแลกเปลี่ยนกาหนดให้ธนาคารที่ ตั้ ง ขึ้ น ในกั ม พู ช าเท่ า นั้ น มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ ดาเนิ น ธุร กิจ แลกเปลี่ ย นเงิน ตราได้อย่ างเสรี แต่ ต้องรายงานต่อธนาคารชาติแห่งกัมพูชาเมื่อมีการ แลกเปลี่ยนเงินตั้งแต่ 10,000 ดอลลาร์สหรัฐขึ้นไป แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามถ้ า เกิ ด สถานการณ์ ที่ กั ม พู ช ามี ความไม่สงบภายในประเทศหรือเกิดวิกฤตการณ์ ทางการเงิ น ธนาคารชาติ แ ห่ ง กั ม พู ช ามี อ านาจ สงวนสิทธิ์ในการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

(2) นโยบายด้านการควบคุมเงินตราต่างประเทศ ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนต่างชาติที่เข้าไป ประกอบธุรกิจหรือลงทุนในกัมพูชา สามารถ โอนเงิ น ออกนอกประเทศได้ อ ย่ า งเสรี โดย กฎหมาย Foreign Exchange Law, August 22, 1997 ไม่จากัดในการโอนเงินลงทุน หรื อ ผลกาไรที่ได้จากการลงทุนออกนอกประเทศ กฎหมายเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนเงินตรา ให้ อ านาจธนาคารชาติ แ ห่ ง กั ม พู ช า ในการ ควบคุมดูแลการส่งเงินออกนอกประเทศ ใน กรณีที่นักท่องเที่ยวนาเงินเข้าหรื อออกนอก ประเทศมีมูลค่าตั้งแต่ 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ขึ้ น ไป จะต้ อ งส าแดงต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ศุ ล กากร ธนาคารที่เป็นผู้ทาธุรกรรมจะต้องรายงานต่อ ธนาคารชาติแห่งกัมพูชาเมื่อมีการนาเงินสดที่ มีเงินตราต่างประเทศออกจากกัมพูชา (3) นโยบายด้านระบบการชาระเงิน ถึงแม้ว่าส่วน ใหญ่เศรษฐกิจกัมพูชามีการใช้เงินสดสูง แต่ก็มี การใช้เช็คเป็นเครื่องมือหลักในการชาระเงิน โดยมีธนาคารชาติแห่งกัมพูชาดาเนินการด้าน สานักหักบัญชี (Clearing House) ทั้งสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ และสกุลเงินเรียล

สภาพการชาระเงินในกัมพูชา 1) กัมพูชาใช้เงินดอลลาร์ สหรัฐ ดาเนินการ ในระบบเศรษฐกิจในสัดส่วนที่สูงมากกว่า ร้อยละ 90 โดยเงินดอลลาร์สหรัฐที่ใช้ใน กัมพูชามีบทบาทหน้าที่ 3 อย่าง คือ เป็น สื่อกลางการแลกเปลี่ยน เป็นหน่วยในการ วัดมูลค่า และเป็นเครื่องรักษามูลค่า

2) ในระบบสถาบั น การเงิ น ของกั ม พู ช า นอกจากทุ น จดทะเบี ย นที่ เ ป็ น ดอลลาร์ สหรัฐแล้ว เงินฝากและสินเชื่อส่วนใหญ่ยัง เป็นเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ 3) เงิ น เรี ย ล ใช้ ใ นภาครัฐ และธนาคารชาติ แห่ ง กั ม พู ช าในการจ่ า ยเงิ น เดื อ นค่ า จ้ าง และยั ง นิ ย มใช้ ใ นธุ ร กรรมเล็ ก ๆ ทั่ ว ไป

Page | 23


NBC ทาหน้าที่อัดฉีดเงินเรียลเข้าในระบบ อย่างไรก็ตาม ธนาคารชาติแห่งกัมพูช ามี นโยบายผลักดันให้ใช้เงินเรียลมากขึ้นใน ธุรกรรมต่างๆ ในประเทศ เช่น การบังคับ ให้ใช้เงินเรียลชาระค่าธรรมเนียมและภาษี เป็นต้น 4) มี ก ารใช้ เ งิ น สกุ ล ด่ อ งของเวี ย ดนามตาม แนวชายแดนกัมพูช า-เวีย ดนาม และใช้ เงินบาททางจังหวัดด้านทิศตะวันตกของ กั ม พู ช า บริ เ วณชายแดนไทย-กั ม พู ช า เท่านั้ น โดยร้ านค้าของชาวกัมพูช าที่อยู่ บริ เวณชายแดนไทยมักจะกาหนดราคา สิ น ค้ า และบริ ก ารเป็ น เงิ น บาท รวมทั้ ง แสดงรายการสิ น ค้ า และบริ ก ารเป็ น ภาษาไทย

5) การที่ประชากรกัมพูชาเพียงร้อยละ 13.0 หรือประมาณ 2 ล้านคน ที่มีบัญชีธนาคาร ท าให้ ช าวกั ม พู ช าบางส่ ว นที่ ไ ม่ ส ามารถ เข้ า ถึ ง บริ ก ารทางการเงิ น ของธนาคาร พาณิ ช ย์ มั ก นิ ย มใช้ บ ริ ก ารของบริ ษั ท WING (Cambodia) Ltd. ซึ่ ง เ ป็ น ผู้ ให้บริการ Mobile Payment ในการโอน เ งิ น ฝ า ก ถ อ น แ ล ะ ช า ร ะ เ งิ น ผ่ า น โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ โ ดยเสี ย ค่ า บริ ก ารใน อั ต ราต่ าและสามารถท าธุ ร กรรมผ่ า น ตัวแทนของบริษัท (Agent) ที่มีจานวนถึง 1,700 แห่งทั่วประเทศ และอยู่ภายใต้การ กากับดูแลของ ธนาคารชาติแห่งกัมพูชา

Page | 24


สถาบันการเงินในกัมพูชา ธนาคารกลาง ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเฉพาะกิจ และสานักงานตัวแทนธนาคารต่างประเทศ Page | 25

ธนาคารกลาง National Bank of Cambodia Address: Headquarters #22-24 Norodom Blvd, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 722 563, 722 221 (855) 23 722 189 ( The Governor's Office ) Fax: (855) 23 426 117 Email: info@nbc.org.kh Website: http://www.nbc.org.kh

ธนาคารพาณิชย์ 1. ACLEDA BANK Plc. Address: # 61, Preah Monivong Blvd., Sangkat Srah Chork, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 998 777 / 430 999 Fax: (855) 23 998 666 / 430 555 Email: acledabank@acledabank.com.kh Website: http://www.acledabank.com.kh 2. ADVANCED BANK OF ASIA LIMITED. Address: # 148, Preah Sihanouk Blvd., Sangkat Boeung Kengkang 1, Khan Chamkarmorn, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 225 333 Fax: (855) 23 216 333 Email: info@ababank.com Website: http://www.ababank.com.kh 3. AGRIBANK CAMBODIA BRANCH Address: # 364, Preah Monivong Blvd, Sangkat Boeung keng kang 1, Khan Chankarmon,Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 223 750 Fax: (855) 23 223 770 Email: cambodiabranch@agribank.com.kh Website: http://www.agribank.com.kh


ธนาคารพาณิชย์ 4. ANZ ROYAL BANK CAMBODIA Ltd. Address: # 20FE-EO, Corner of Kramoun Sar and St. 67, Sangkat Phsar Thmey 1, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 999 000 Fax: (855) 23 221 309 Email: ccc@anzroyal.com Website: http://www.anzroyal.com 5. Bangkok Bank Public Company Limited, Cambodia Branch Address: #344 (1st, 2nd floor), Mao Tse Toung Blvd., Sangkat Tuol Svay Prey 1, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855)23 224 404-9 Fax: (855)23 224 429 Email: BBLCambodia@bangkokbank.com Website: http://www.bangkokbank.com 6. BANK FOR INVESTMENT& DEVELOPMENT OF CAMBODIA Plc. Address: #370, Preah Monivong Blvd, Sangkat Boeung Keng Kang 1, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 210 044 Fax: (855 23) 220 511 Email: info@bidc.com.kh Website: http://www.bidc.com.kh 7. BANK OF CHINA LIMITED PHNOM PENH BRANCH Address: At Canadia Tower 1st- 2nd Floor, No 315, Preah Monivong Blvd, Coner Of Street Ang Duong, Sangkat Wat Phnom, Khan Daun Penh,Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 988 886 Fax: (855) 23 988 880 / 988 885 Email: service.kh@bankofchina.com Website: http://www.boc.cn/kh 8. BANK OF INDIA Phnom Penh Branch Address: The iCON Professional Building, #68 (Ground Floor) 216, Preah Norodom Blvd., Sangkat Tonle Bassac, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 219 108 Fax: (855) 23 219 354 Email: boi.cambodia@bankofindia.co.in Website: http://www.bankofindia.com

Page | 26


ธนาคารพาณิชย์ 9. BOOYOUNG KHMER BANK Address: # 86-88, St. 41, Preah Norodom Blvd., Sangkat Chaktomuk, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 888 951-5 Fax: (855) 23 888 956 Email: info@bkb.com.kh Website: http://www.bkb.com.kh 10. CAMBODIA ASIA BANK LTD. Address: #75C.036, St. Preah Sihanouk, Sangkat Veal Vong, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 220 000 / 722 105 Fax: (855) 23 426 628 Email: cab@cab.com.kh Website: http://www.cab.com.kh 11. CAMBODIA MEKONG BANK PUBLIC LIMITED. Address: #445, Preah Monivong Blvd., Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 430 980 Fax: (855) 23 430 431 Email: info@mekongbank.com 12. CAMBODIAN COMMERCIAL BANK LTD. Address: # 26, Preah Monivong Blvd., Sangkat Phsar Thmey 2, Khan Daun Penh, Phnom Penh.Cambodia. Tel: (855) 23 214 563 Fax: (855) 23 426 116 Email: ccbpp@online.com.kh Website: http://www.ccb.com.kh

Page | 27


ธนาคารพาณิชย์ 13.

CAMBODIAN POST BANK Plc.

Address: # 265-269, Ang Duong Street., Sangkat Wat Phnom, Khan Daun Penh, Phnom Penh.Cambodia. Tel: (855) 23 220 772 / 220 773 / 220 774 Fax: (855) 23 220 767 Email: info@cambodiapostbank.com Website: http://www.cambodiapostbank.com 14. CAMBODIAN PUBLIC BANK Plc., Address: #23, Kramuon Sar Avenue (St.114), Sangkat Phsar Thmey 2, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 214 111 / 222 880 Fax: (855) 23 222 887 Email: campuhoc@campubank.com.kh / hoe@campubank.com.kh Website: http://www.campubank.com.kh 15. CATHAY UNITED BANK(CAMBODIA) Corp.,Ltd. Address: # 68, Samdech Pan St.(214), Sangkat Boeung Raing, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 211 211 Fax: (855) 23 212 121 Email: info@cathaybk.com.kh Website: http://www.cathaybk.com.kh 16. CIMB BANK PLC. Address: At Office N° 20A/B, Preah Norodom Blvd Coner of Street 118, Sangkat Phsar Chas, Khan Dong Penh, Phnom Penh Cambodia Tel: (855) 23 988 08 Fax: (855) 23 988 099 Email: info@cimb.com.kh Website: http://www.cimbbank.com.kh 17.

FIRST COMMERCIAL BANK PHNOM PENH BRANCH.

Address: # 66, Preah Norodom Blvd., Sangkat Chey Chumneas, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 210 026 / 210 028 Fax: (855) 23 210 029 Email: fcbpp@online.com.tw Website: http://www.firstbank.com.tw

Page | 28


ธนาคารพาณิชย์ 18. FOREIGN TRADE BANK OF CAMBODIA. Address: # 3, St.,114 and 53, Sangkat Phsar Thmey 1, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Fax: (855) 23 426 108 / 426 410 Email: ftb@camnet.com.kh Website: http://www.ftbbank.com 19. Hong Leong Bank (Cambodia) PLC Address: #28, Samdech Pan Avenue (St.214), Sangkat Boeung Raing, Khan Daun Penh, Phnom Penh Tel: (855) 23 999 711 Fax: (855) 23 998 494 Email: Contact@hlbkh.hongleong.com Website: http://www.hlb.com.my 20. ICBC Bank Limited Phnom Penh Branch Address: # 15, Preah Norodom Blvd., Sangkat Phsar Thmei 1, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 965 291 / 955 880 Fax: (855) 23 965 268 Email: icbckh@kh.icbc.com.cn Website: http://www.icbc.com.kh 21.

KOOKMIN BANK CAMBODIA.

Address: # 55, 214 St. Sangkat Boeung Raing, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 999 300 Fax: (855) 23 999 304 22. KRUNG THAI BANK PUBLIC CO., LTD PHNOM PENH BRANCH Address: # 149, 215 Road, Sangkat Phsar Depo1, Khan Toulkork,Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 366 005 / 882 959 Fax: (855) 23 428 737 Email: br.phnompenh@ktb.com.kh Website: http://www.ktb.co.th

Page | 29


ธนาคารพาณิชย์ 23. MARUHAN JAPAN BANK Plc. Address: # 83, Preah Norodom Blvd, Sangkat phsar Thmey 3, Khan Daun Penh, Phnom penh, Cambodia. Tel: (855) 23 999 010 Fax: (855) 23 999 011 Email: info@maruhanjapanbank.com Website: http://www.maruhanjapanbank.com 24. MAY BANK PHNOM PENH BRANCH. Address: # 4B, Kramoun Sar St.,Sangkat Phsar Thmey 1, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 210 255 / 210 123 Fax: (855) 23 210 099 Email: mbb@maybank.com.kh Website: http://www.maybank2u.com 25. MB Bank Plc. Phnom Penh Branch Cambodia Address # Phnom Penh Tower, #445, 1and2 Floor, Preah Monivong Blvd., Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara,Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 964 666 Fax: (855) 23 964 567 Email: info@mbbank.com.vn Website: http://www.mbbank.com.vn 26. Mega International Commercial Bank Co.Ltd. Phnom Penh Branch Address: # 139,St.274&41, Sangkat Boeung Kengkang1, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 988 101 / 218 540 Fax: (855) 23 988 106 Website: http://www.megabank.com.tw 27. PHILLIP BANK PLC. Address: # 61-64, Preah Norodom Blvd corner steet 306, Sangkat Boeung Keng kang1, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 218 866 Fax: (855) 23 220 108 Email: info@hwangdbs.com.kh Website: www.phillipbank.com.kh

Page | 30


ธนาคารพาณิชย์ 28. PHNOM PENH COMMERCIAL BANK Address: # 767-769, Preah Monivong Blvd, Sangkat Boeung Trabek, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 999 500 Fax: (855) 23 999 540 Email: service@ppcb.com.kh Website: http://www.ppcb.com.kh 29. RHB Indochina Bank Limited Address: # 263, Preah Ang Duong St. Sangkat Wat Phnom, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 992 833 Fax: (855) 23 991 822 Email: phnompenhmain@rhbgroup.com 30. SACOM BANK Phnom Penh Branch Address: #60, Preah Norodom Blvd, Sangkat Chey Chumnas, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 223 422 Fax: (855) 23 223 433 Email: info@sacombank.com.kh Website: http://www.sacombank.com.kh 31. SHB Plc. Phnom Penh Branch Cambodia Address: # 707, Preah Monivong Blvd, , Sangkat Boeung Keng Kang 3, Khan Chamkarmon ,Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 221 900 Fax: (855) 23 224 151 32. SHINHAN KHMER BANK Limited. Address: # 277, Preah Norodom Bvld., Sangkat Tonle Bassac, Khan Chamkarmorn, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 727 380 Fax: (855) 23 727 383

Page | 31


ธนาคารพาณิชย์ 33. Taiwan Cooperative Bank, Phnom Penh Branch Address: #171, Norodom Blvd. (Corner Street 322), Sangkat Boeung Keng Kang 1, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 430 800 Fax: (855) 23 210 630 Email: admin@tcb-bank.com.kh Website: http://www.tcb-bank.com.tw 34. UNION COMMERCIAL BANK PLC. Address: # 61, St.130 , Sangkat Phsar Chas, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 427 995 / 212 357 Fax: (855) 23 427 997 Email: info@ucb.com.kh Website: http://www.ucb.com.kh 35. VATTANAC BANK Address: #66, Preah Monivong Blvd., Sangkat Wat Phnom, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 212 727 Fax: (855) 23 216 687 Email: service@vattanacbank.com Website: http://www.vattanacbank.com

ที่มา : National Bank of Cambodia (http://www.nbc.org.kh/english/supervision/commercial_banks.php)

Page | 32


ธนาคารเฉพาะกิจ 1. ANCO SPECIALIZED BANK Address: # 20, 217 St., Sangkat Veal Vong, Khan 7Makara, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 993 133 Fax: (855) 23 993 133 Email: asb@ancogroups.com Website: http://www.ancogroups.com 2. ANGKOR CAPITAL SPECIALIZED BANK Address: #202, Preah Norodom Blvd, Sangkat Tonle Bassac, Khan Chankarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 993 168 Fax: (855) 23 994 168 Email: info@angkorcapitalbank.com.kh 3. CAM CAPITAL SPECIALIZED BANK Plc Address: #689B, Kampucheakrom Blvd, Sangkat Teuk Laak 1, Khan Koul Kork, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia. Tel: (855) 23 999 990 Fax: (855) 23 996 002 Email: info@camcapital.biz Website: http://www.camcapspbank.com 4. CAMKO Specialized Bank Address: #81, Preah Norodom Blvd, Sangkat Tonle Bassac, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 224 660 Fax: (855) 23 224 661 / 224 662 Email: info@camkobank.com Website: http://www.camkobank.com 5. CHIEF (CAMBODIA) SPECIALIZED BANK Plc. Address: 20th Floor Unit-01, #315, Canadia Tower, Street Preah Ang Duong, Sangkat Wat Phnom, Khan Daun Penh, Phnom Penh Cambodia. Tel: (855) 23 431 888 Fax: (855) 23 431 868 Email: info@chiefholdings.com.kh Website: http://www.chiefholdings.com.kh 6. FIRST INVESTMENT SPECIALIZED BANK Address: # 72, Preah Sihanouk Blvd, Sangkat Tonle Bassak, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 222 281 / 222 282 / 222 283 Email: service@fibank.com.kh Website: http://www.fibank.com.kh

Page | 33


ธนาคารเฉพาะกิจ 7. OXLEY WORLDBRIDGE SPECIALIZED BANK PLC. Address: #46, St. 41, Sangkat Chey Chamnes,Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 213 111 / 222 068 Fax: (855) 23 222 069 Email: info@owbank.com.kh Website: www.owbank.com.kh 8. PHMSE SPECIALIZED BANK Ltd Address: #72, Norodom Blvd, Sangkat Chey Chumneas, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 219 243 / 219 245 / 219 246 Fax: (855) 23 219 185 Email: info@phsmebank.com 9. RURAL DEVELOPMENT BANK Address: #9-13, St.07, Sangkat Chaktomuk, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 220 810 / 220 811 Fax: (855) 23 224 628 Email: rdb@online.com.kh Website: http://www.rdb.com.kh 10. TOMATO SPECIALIZED BANK Address: # 56 (Lot 41), St. Samdach Pan (214), Sangkat Boeung Raing, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 997 333 / 991 555 Fax: (855) 23 993 717 Email: info@tomatobank.com.kh Website: http://www.tomatobank.com.kh 11. WING (CAMBODIA) LIMITED SPECIALISED BANK Address: #721, Preah Monivong Blvd., Sangkat Beung Keng Kang 3, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 999 989 Email: anthony.perkins@wingmoney.com Website: www.wingmoney.com ที่มา : National Bank of Cambodia (http://www.nbc.org.kh/english/supervision/specialized_banks.php)

Page | 34


สานักงานตัวแทนธนาคารต่างประเทศ 1. BANK FOR INVESTMENT&DEVELOPMENT OF VIETNAM Address: # 27, Preah Sorarith Blvd., Sangkat Chaktomuk, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia Tel: (855) 23 220 920 Email: duongnd@bidv.com 2. INDUSTRIAL BANK OF KOREA Address: Floor 16th, Phnom Penh Tower, #445, corner of Preah Monivong Blvd. and St. 232 Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 964 202 Fax: (855) 23 964 203 Email: ibkcam@gmail.com Website: www.ibk.co.kr 3. KASIKORNBANK PUBLIC COMPANY LIMITED Address: Floor 3/F, Phnom Penh Tower, #445, Preah Monivong Blvd., Corner of St. 232, Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 964 988 / 964 989 Email: pakapong.p@kasikornbank.com / kimseng.s@kasikornbank.com 4. Mizuho Bank Ltd. Address: # Tower Building F 13 A,No. 445, Preah Monivong Blvd,( Conner Street No. 232), Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara , Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 964 490 Fax: (855) 23 964 483 Email: pnh-takeshi.fukui@mizuho-cb.com Website: http://www.mizuhobank.com 5. Shanghai Commercial & Savings Bank Address: # Floor 13, Phnom Penh Tower, No.445, Preah Monivong Blvd., Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Cambodia 6. STANDARD CHARTERED Bank Phnom Penh Address: # UnitG-02 Himawary Hotel Apartments 313,Sisowath Quay, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 216 685 / 212 729 Fax: (855) 23 212 731 7. Sumitomo Mitsui Banking Corporation Address: # Tower Building 13 F,No. 445, Preah Monivong Blvd,( Conner Street No. 232), Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara , Phnom Penh, Cambodia. 8. The Bank Of Tokyo Mitsubishi UFJ Ltd. Cambodia Address: # Tower Building 11 F, Preah Monivong Blvd, Sangkat Boeung Prolit, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Cambodia.

Page | 35


สานักงานตัวแทนธนาคารต่างประเทศ 9. ธนาคารกรุงไทย สาขากรุงพนมเปญ Address: # 149 Road 215, Sangkat Deiao, 1 Market, Tuankok DistrictPhnom Penh City, Cambodia Tel: (855) 23 882-959 Fax: (855) 23 883-720 (855) 23 883-719 Email: br.phnompenh@ktb.co.th 10. ธนาคารกรุงไทย สาขาย่อยจังหวัดเสียมราฐ Address: # 10-11, Sivatha Road, Mondol 2 Khum Svay Dangkom Siem Reap District, Siem Reap Province, Cambodia Tel: (855) 63 964-758 Fax: (855) 63 964-759 Email: br.siemreap@ktb.co.th 11. ธนาคารกรุงเทพ สาขากรุงพนมเปญ Address: # 344 (1st & 2nd), Mao Tse Toung Boulevard, Sangkat Toul Svay Prey I, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia Tel: (855) 23 224 404-9 Fax: (855) 23 224 429 Email: bblcambodia@bangkokbank.com 12. WING (CAMBODIA) LIMITED SPECIALISED BANK (ธนาคารกสิกร) Address: #721, Preah Monivong Blvd., Sangkat Beung Keng Kang 3, Khan Chamkarmon, Phnom Penh, Cambodia. Tel: (855) 23 999 989 Email: anthony.perkins@wingmoney.com Website: www.wingmoney.com ที่มา : National Bank of Cambodia (2015) http://www.nbc.org.kh/english/supervision/representative_offices.php)

Page | 36


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.