3.6
สิทธิประโยชน์ของนักลงทุนต่างชาติ
สิ ทธิป ระโยชน์ ในการลงทุน เป็ น สิ ทธิ พิ เ ศษที่ รัฐบาลมอบให้กับโครงการลงทุนต่างๆ ที่ผ่านความ เห็ น ชอบจาก CDC หรื อ PMIS ขึ้น อยู่ กับ รู ปแบบ โครงการลงทุนนั้นๆ ซึ่งสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับมี ดังต่อไปนี้
สิทธิเลือกระหว่างได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ จากกาไร หรือค่าเสื่อมราคาในอัตราเร่ง กรณี ที่บ ริ ษัทเลื อกค่าเสื่ อมราคาในอั ตราเร่ ง จะมี การคิดค่าเสื่อมราคาในอัตราร้ อยละ 40 ของ ราคาทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุร กิจ ในปี แรกของการซื้อ หรือหลังจากปีแรกที่สินทรัพย์ ถูกใช้ กรณีที่บริษัทเลือกการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลก็อาจจะได้รับการยกเว้นภาษีได้สูงสุด ถึง 9 ปี ทั้งนี้ ขึ้น อยู่ กับ ประเภทของโครงการ และขนาดของจานวนเงินที่ใช้ในการลงทุน
การยกเว้นอากรขาเข้า โครงการลงทุนผลิต เพื่อการส่งออก หรือโครงการผลิตที่เป็นไปเพื่อ สนับสนุนธุรกิจส่งออก จะได้รับยกเว้นอากรขา เข้าเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต วัสดุก่อสร้างและ วัตถุดิ บ ในการผลิ ต ส่ ว นโครงการลงทุน ผลิ ต
4
Trigger Period คื อ ระยะเวลาที่ได้ รับยกเว้นภาษีโดย Trigger Period สูงสุดจะเริ่มนับจากปีแรกที่กิจการเริ่มมี กาไร หรือ 3 ปี หลังจากที่กิจการเริ่มมีรายได้เป็นครั้งแรก ขึ้นกับช่วงเวลาใดจะถึงก่อน 5 Priority Period คือ ระยะเวลาการจัดลาดับความสาคัญ ซึ่ งจะก าหนดไว้ ใ น Financial Management Law เป็ น กฎหมายงบประมาณประจาปีของกัมพูชา ซึ่งจะกาหนด ช่ ว งเวลาการให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ โ ครงการลงทุ น แต่ ล ะ ประเภทต่างกัน
เพื่อใช้ในประเทศจะได้รับยกเว้นอากรขาเข้า เฉพาะเครื่องจักรและวัสดุก่อสร้างเท่านั้น
การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ จ ากก าไร ( Tax holiday) โครงการใดที่เลือกรับสิทธิประโยชน์ ด้านนี้จะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ในช่วงแรก ของการลงทุน โดยระยะเวลาที่ยกเว้นสามารถ ค านวณจาก Trigger Period4 (ปี ) + 3 ปี + Priority Period5 ปี ( Trigger period สู ง สุ ด ได้ แ ก่ ปี แ รกที่ มี ก าไร หรื อ 3 ปี ห ลั ง จากที่ โครงการมีรายรับ แล้ ว แต่เวลาใดจะถึงก่อน) อย่างไรก็ตามหลังจากสิ้นสุ ดช่ว งเวลาที่ ไ ด้รับ สิทธิประโยชน์ทางภาษีแล้ว นักลงทุนต้องเสีย ภาษีในอัตราร้อยละ 20 สาหรับโครงการลงทุน ทั่ว ไป และร้อยละ 30 ส าหรับโครงการผลิ ต น้ ามั น และก๊ า ซธรรมชาติ รวมทั้ ง การส ารวจ ทรั พ ยากรธรรมชาติ เช่ น ป่ า ไม้ ทองค า และอั ญ มณี มี ค่ า ฯลฯ ตามที่ ก ฎหมายของ กัมพูชากาหนด
การยกเว้น ภาษีส่งออก 6ทั้งหมด การยกเว้น ภาษี ส่ ง ออกทั้ ง หมดยกเว้ น ในกรณี ก ฎหมาย กาหนดประเภทของกิจการไว้ต่างหาก
6
รัฐบาลกัมพูชาเรียกเก็บภาษีส่งออกสินค้า 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ยางพารา เรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 ร้อยละ 2 ร้อยละ 5 และร้อยละ 10 (ขึ้นอยู่ กับระดับและลักษณะ ของการแปรรูป) 2) ไม้แปรรูป เรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 ร้อยละ 5 ร้อยละ 10 และร้อยละ 15 (ขึ้นอยู่กับระดับและลักษณะ ของการแปรรูป)
Page | 19
สิทธิประโยชน์เรื่องที่ดิน สัญญาเช่าที่ดินระยะ ยาวจะไม่มีข้อจากัดด้านระยะเวลาในการเช่า และหากเป็ น สั ญญาเช่าที่ดินระยะสั้ น ที่มีการ กาหนดเวลาในการเช่าไว้สามารถต่ออายุใหม่ได้ นอกจากนี้ ก ฎหมายการลงทุ น ฉบั บ ใหม่ ยั ง อนุ ญ าตให้ นั ก ลงทุ น สามารถน าที่ ดิ น ไปเป็ น หลักประกัน ในการจดจ านองรวมทั้งสามารถ โอนสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์และทรัพย์สินส่วน บุคคลที่ปลูกสร้างบนที่ดินแปลงดังกล่าวได้อีก ด้ว ยแต่ต้องไม่เกิ น ก าหนดเวลาในสั ญญาเช่ า ที่ดิน การได้ รั บการปฏิบัติ อ ย่ า งเท่า เที ย มกั น จาก หน่ ว ยงานของรั ฐ กั บ ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ชาว กัมพูชา การได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน จากหน่วยงานของรัฐกับผู้ประกอบธุรกิจชาว กัมพูชา เช่น หลักประกันและการคุ้มครองการ
3) ปลาและสินค้าจากทะเลเรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 และร้อยละ 10 (ขึ้นอยู่กับระดับและลักษณะของการ แปรรูป)
ลงทุ น รั ฐ บาลกั ม พู ช าไม่ มี ก ารควบคุ ม ราคา สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารของโครงการที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน และจะไม่ยึดกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมมาเป็นของรัฐ รวมไปถึงนักลงทุน สามารถซื้ อ และส่ ง ออกเงิ น ตราต่ า งประเทศ เพื่อชาระสินค้า เงินต้น ดอกเบี้ย ค่าใช้สิทธิ ค่า จั ด การ รวมทั้ ง ส่ ง ออกก าไรหรื อ เงิน ทุ นกลั บ ประเทศได้ ทั้ ง ระหว่ า งและภายหลั ง เลิ ก โครงการ
สิทธิ จ้า งแรงงานต่า งชาติ นักลงทุนสามารถ จ้างแรงงานต่างชาติได้ แต่มีเงื่อนไขว่าต้องเป็น แรงงานต่ า งชาติ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ และความ เชี่ยวชาญสาหรับตาแหน่งงานที่คนกัมพูชาไม่ สามารถทาได้ ทั้งนี้ต้องมีการขอใบอนุญาตเข้า เมื อ งประเภทท างาน และต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม เงื่ อ นไขต่ า งๆ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยแรงงาน และการเข้าเมืองกาหนดไว้
4) แร่ รั ต นชาติ และหิ น มี ค่ า ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เ จี ย ระไน เรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 และร้อยละ 10 (ขึ้นอยู่กับระดับ และลักษณะของการแปรรูป) (ที่มา:www.dfdl.com)
Page | 20