3.8
กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน7
1) กฎหมายแรงงาน การจ้างงานในกัมพูชาอยู่ภายใต้การกากับดูแล ของกฎหมายแรงงาน ปี 1997 บั ง คั บ ใช้ โ ดย Ministry of Social Affairs, Labor, Vocational Training and Youth Rehabilitation (MOSAL VY) กฎหมายฉบั บ นี้ ป รั บ ปรุ ง มาจากฉบั บ ปี ค.ศ. 1992 โดยเน้ น สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นอ านาจ ต่อรองให้ กับ สหภาพแรงงาน ทั้งนี้ เพื่อให้ เป็นไป ตามมาตรฐานสากลและหลั ก ปฏิบั ติอ ย่ างชาติที่ ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most favored Nation: MFN) นายจ้างต้องจดทะเบียนการจ้ างแรงงานกับ MOSALVY ภายใน 30 วัน นับแต่ประกอบกิจการ และต้องรายงานทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ ชาวต่างชาติที่เข้ามาทางานในกัม พูช าต้ องได้ รั บ ใบอนุ ญ าตให้ ท างาน (Work permit) ส่ ว นชาว กัมพูชาต้องมีสมุดคู่มือการจ้างงาน ซึ่งจดทะเบียน กับ MOSALVY
7
กั ม พู ช ามี ก ารก าหนดข้ อ จ ากั ด ในการจ้ า ง แรงงานที่เป็นต่างชาติ แต่เนื่องจากกัมพูชามีความ ต้องการแรงงานที่มีทักษะและประสบการณ์จาก ต่างประเทศเป็นจานวนมาก กฎหมายแรงงานของ กัมพูชาจึงค่อนข้างอนุโลมในทางปฏิบัติ พันธกิจในการรายงาน ตามกฎหมายแรงงานบริษัทจะต้องทาหนังสื อ แจ้งกระทรวงฯ ทุกครั้งที่มีการจ้างหรือไล่พนักงาน ออก รวมทั้งในกรณีห ยุดดาเนินการธุรกิจ ซึ่งทุก บริษัทจะต้องมีหนังสือการเปลี่ยนแปลงการจ้างงาน หนั ง สื อ รายงานพนั ก งาน และหนั ง สื อ การจั ด ตั้ ง บริษัท โดยรูปแบบรายละเอียดของหนังสือจะอยู่ ใน กฎหมายแรงงานซึ่งผู้ตรวจสอบการจ้างงานที่ได้รับ การแต่ ง ตั้ ง จากกระทรวงจะเป็ น คนลงนามการ ตรวจสอบในหนังสือดังกล่าวทุกครั้ง บริษัทใดที่มี การจ้างงานมากกว่า 8 คนขึ้นไปจะต้องมีข้อกาหนด และระเบียบปฏิบัติภายในให้กับแรงงานเหล่านั้นได้ รับทราบและถือปฏิบัติ ซึ่งข้อกาหนดนี้จะต้องได้รับ ความเห็ น ชอบจากผู้ ต รวจสอบการจ้ า งงานของ กระทรวงฯ
1) คู่มือการค้าและการลงทุนกลุม่ ประเทศ CLMV ฝ่าย AEC และกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ (2554) อ้างถึงในคู่มือ การประกอบธุรกิจ ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556) 2) คู่มือการลงทุนและประกอบธุรกิจในประเทศกัมพูชา ศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Business Support Center) (2557)
Page | 23
บทบัญญัติที่สาคัญภายใต้กฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงานปี 1997 ให้ความคุ้มครองสิทธิของแรงงานอย่างครอบคลุมและส่งเสริมให้มีสภาพการ ทางานที่ดี โดยกฎระเบียบที่สาคัญของกฎหมายฉบับนี้คือ
การบังคับใช้แรงงาน การบังคับใช้แรงงานเป็น สิ่งต้องห้ามอย่างเด็ดขาด (มาตรา 15)
ก า ร ป ร ะ ก า ศ แ จ้ ง เ ปิ ด แ ล ะ ปิ ด ส ถ า น ประกอบการ นายจ้ า งทุ ก คนที่ อ ยู่ ภ ายใต้ กฎหมายฉบับนี้ จะต้องแจ้งให้กระทรวงที่ดู แล และรับผิดชอบเรื่องแรงงานทราบเมื่อมีการเปิด หรือจัดตั้งสถานประกอบการ โดยจะต้องมีการ ประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร (มาตรา 17)
การแจ้ งการเปลี่ยนแปลงบุคลากร นายจ้าง ทุกคนต้องแจ้งต่อกระทรวงแรงงานฯ ทุกครั้งที่ มีการจ้างหรือเลิกจ้างพนักงาน โดยจะต้องแจ้ง เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรภายใน 15 วั น นั บ จาก วันที่มีการจ้างหรือเลิกจ้าง (มาตรา 21)
กฎระเบี ย บภายใน นายจ้ า งที่ มี ก ารจ้ า งงาน ตั้งแต่ 8 คน จะต้องจัดทากฎระเบียบพนักงาน ภายในสถานประกอบการ (มาตรา 22)
แรงงานเด็ก อายุขั้นต่าของแรงงานเท่ากับ 15 ปี แต่สาหรับงานที่มีอันตรายต่อ สุขภาพ ความ ปลอดภั ย หรื อ ศี ล ธรรมของเยาวชน จะถู ก กาหนดไว้เท่ากับ 18 ปี (มาตรา 177)
การจ้างงาน นายจ้างสามารถคัดเลือกลูกจ้าง เข้าทางานได้โดยตรง แต่จะต้องปฏิบัติตาม ข้อกาหนดตามมาตรา 21 ของกฎหมายฉบับนี้ (มาตรา 285)
สัญญาจ้าง สัญญาจ้างแรงงานอยู่ภายใต้ กฎหมายทั่วไป สามารถกระทาได้โดยการตก ลงกันของบุคคลที่ทสัญญา ทั้งการตกลงทาง วาจา หรือเป็นลายลักษณ์อักษร (มาตรา 65) สัญญาจ้างแรงงงาน สาหรับช่วงระยะเวลา ที่เฉพาะเจาะจง จะต้องระบุระยะเวลาที่สิ้นสุด ให้ ชัดเจนและขยายระยะเวลาได้ไ ม่เกิน 2 ปี โดยสามารถต่ออายุกี่ครั้งก็ได้ ตราบใดที่การต่อ อายุนั้นไม่เกินระยะเวลาสูงสุด 2 ปี ที่กฎหมาย กาหนด การละเมิดกฎข้อนี้จะทาให้สัญญานั้น ก ล า ย เ ป็ น สั ญ ญ า จ้ า ง แ ร ง ง า น ที่ ไ ม่ ร ะ บุ ระยะเวลา (มาตรา 67)
การยกเลิ ก สั ญ ญาจ้ า งแรงงาน สั ญ ญาจ้ า ง แรงงานที่ ร ะบุ ร ะยะเวลา ตามปกติ แ ล้ ว จะ สิ้นสุดตามวันที่ระบุไว้ อย่างไรก็ตามสามารถ ยกเลิกสัญญาก่อนกาหนดได้ หากทั้งสองฝ่าย ทาการตกลงกันอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรต่อ หน้าผู้ตรวจแรงงาน และมีการลงนามของทั้ง สองฝ่าย ในกรณีที่ทั้งสองฝ่ายไม่ตกลง สัญญา นั้นจะถูกยกเลิกก่อนกาหนดได้ก็ต่อเมื่อมีการ กระท าผิ ด ที่ ร้ า ยแรง หรื อ มี เ หตุ ก ารณ์ ภั ย
Page | 24
การยกเลิ ก สั ญ ญาโดยนายจ้ า งเพี ย งฝ่ าย เดียว โดยไม่ได้แจ้งให้คู่สัญญาทราบล่ว งหน้า ก่อนนั้น มีข้อผูกพันที่จะต้องชดเชยค่าจ้างและ ผลประโยชน์ทุกอย่างแก่ลูกจ้าง เท่ากับที่เขา ควรจะได้ รั บ หากมี ก ารบอกเลิ ก สั ญ ญาอย่าง เป็นทางการ (มาตรา 77)
ธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ หากเป็นการ ยกเลิกสัญญาโดยนายจ้างเพียงฝ่ายเดียว ด้วย เหตุผลนอกเหนือจากที่กล่าวมา ลูกจ้างมีสิทธิ์ ได้รับค่าตอบแทนอย่างน้อยเท่ากับค่าตอบแทน ที่เขาควรจะได้รับเมื่อสิ้นสุดสัญญาตามกาหนด (มาตรา 73) สั ญ ญาจ้ า งแรงงานที่ ไ ม่ ร ะบุ ร ะยะเวลา สามารถยกเลิ ก ได้ โ ดยฝ่ า ยเดี ย ว (ภายใต้ ข้ อ ยกเว้ น บางประการ) โดยฝ่ า ยที่ มี ค วาม ประสงค์ จ ะยกเลิ ก สั ญ ญาจะต้ อ งแจ้ ง ต่ อ คู่สัญญาล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร (มาตรา 74)
ค่ า จ้ า งขั้ น ต่ า ในปั จ จุ บั น กั ม พู ช ายั ง ไม่ มี ก าร ก าหนดค่ า จ้ า งขั้ น ต่ าของแรงงาน ยกเว้ น ใน ภาคอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ เสื้ อ ผ้ า และรองเท้ า โดยแรงงานในโรงงานภาคอุ ต สาหกรรม เครื่องนุ่งห่มและรองเท้าตามที่กฎหมายกาหนด มีอัตราค่าจ้างขั้นต่า อยู่ที่ 140 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อเดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2559
2) กฎหมายที่ดิน กฎหมายที่ ดิ น ปี ค.ศ.2001 เป็ น กฎหมายที่ ป รั บ ปรุ ง เนื้ อ หาให้ เ หมาะสมกั บ การลงทุ น มากขึ้ น โดยมี รายละเอียดด้านสิทธิในการถือครองที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน การเช่า/สัมปทานที่ดินของรัฐ และการเช่าซื้อ เป็นต้น กฎหมายฉบับนี้บังคับใช้ร่วมกับกฎหมายที่ดิ นปี ค.ศ.1992 โดยมีคณะกรรมการที่ดินระดับท้องถิ่ นและ คณะกรรมการที่ ดิน ระดับ ประเทศเป็ น ผู้ รั บผิ ดชอบภายใต้ กฎหมายนี้ อย่างไรก็ตามกฎระเบียบข้ อ บั ง คั บ ตลอดจนรายละเอียดการแก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมอยู่ระหว่างการดาเนินการของกระทรวงการพัฒนาที่ดิน การผัง เมือง และการก่อสร้าง ซึ่งนักลงทุนจะต้องติดตามความคืบหน้าอยู่ตลอดเวลาเพื่อสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ควรได้ สิทธิในการใช้ และถือครองที่ดิน (1) โครงสร้างการลงทุนในที่ดิน ผู้ ที่ มี สิ ท ธิ์ ใ นการถื อ ครองที่ ดิ น ในกั ม พู ช า หมายถึง ผู้ที่มีสัญชาติกัมพูชาและนิติบุคคลที่มี สิทธิเสมือนเป็นชาวกัมพูชาซึ่งได้แก่นิติบุคคลที่ มีชาวกัมพูชาถือหุ้นและมีสิทธิ์ในการออกเสียง ร้อยละ 51 ขึ้นไป
นักลงทุนต่างชาติไม่มีสิ ทธิ์ถื อครองที่ดิ น ตาม กฎหมายของกัมพูชา แต่สามารถทาสัญญาเช่า ที่ดินเพื่อการลงทุนระยะยาว โดยส่วนใหญ่นิยม เช่าที่ดินเพื่อการลงทุนในระยะยาว (15 ปีขึ้น ไป) ซึ่งเป็นการขอสัมปทานจากภาครัฐหรือการ เป็นผู้ครองสิทธิรายย่อย (ร้อยละ 49) กฎหมาย อนุญาตให้มีการซื้อขายหรือเช่าต่อสัญญาเช่า
Page | 25
นั้นๆ หรือใช้ค้าประกันการกู้ยืมเพื่อการลงทุน ซึ่งผู้เช่าสามารถสร้างสิ่งก่อสร้างในที่ดิ นนั้นๆ ได้ สาหรับเงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิในสิ่งก่อสร้าง ดั ง กล่ า วยั ง ไม่ มี ก ารก าหนดในกฎหมาย ณ ปั จ จุ บั น รั ฐ ไม่มีสิ ทธิยึ ดคื น ที่ ดิน ที่เช่ าเพื่ อ การ ลงทุนดังกล่าว ยกเว้นในกรณีที่ต้องใช้ที่ดินผืน นั้นเพื่อประโยชน์สาธารณะ แต่ต้องมีการจ่าย ค่าเวนคืนที่เหมาะสมและยุติธรรม (2) การถือครองที่ดิน นักลงทุนต่างชาติต้องศึกษา และท าความเข้ า ใจให้ ถี่ ถ้ ว นเกี่ ย วกั บ การถื อ ครองหรือความเป็นเจ้าของที่ดินก่อนการเช่า ทาธุรกิจ ซึ่งที่ดินบางที่อาจเปิดโอกาสให้มีการ ถือครองได้ร้อยละ100 ในขณะที่บางแห่งอาจ ให้ครอบครองเพื่อการทากินหรือใช้ประโยชน์ ชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งรัฐอาจยึดครองเมื่อใดก็ได้ ดังนั้ น การทาความเข้า ใจในเรื่ อ งสิ ทธิ ก ารถื อ ครองที่ดิน แปลงนั้น ๆ จึงเป็ น สิ่ งที่ควรทาเพื่อ รักษาผลประโยชน์ในการลงทุน (3) การปฏิรูปกฎหมายกรรมสิทธิ์ที่ดิน
ก่อนปี 2518 ภายใต้การปกครองของเขมรแดง ที่ดินอยู่ภายใต้การถือครองของรัฐทั้งหมด ปี 2522 เป็นต้นมา หลังการล่มสลายของเขมร แดง ที่ ดิ น เป็ น ของรั ฐ แต่ อ นุ ญ าตให้ มี ก ารถื อ ครองเพื่ อ ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมและ ก่ อ สร้ า งที่ พั ก อาศั ย ได้ โดยรั ฐ บาลออกบั ต ร กรรมสิ ทธิ์ถือครองที่ดิน ให้ ผู้ อยู่ อาศัย ในที่ ดิ น นั้นๆ ปี 2532 เริ่มอนุญาตให้มีการร้องกรรมสิทธิ์ถือ ครองที่ดินส่วนบุคคลได้
(4) การเป็ น เจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น รั ฐ บาล กัมพูชารับรองสิทธิของแต่ล ะบุคคลในการใช้ ที่ดินโดยการออกใบรับรองการใช้ที่ดิน หรือที่ เรียกว่า Certificate of Land Use and Page | 26
Procession ซึ่ ง เที ย บเท่ า กั บ การมี ชื่ อ เป็ น เจ้ า ของที่ ดิ น และทรั พ ย์ สิ น ที่ อ ยู่ บ นที่ ดิ น ดังกล่ าว อย่างไรก็ตามแม้ว่าใบรับรองแสดง ความเป็นเจ้าของที่ออกอย่างเป็นทางการจะยัง มีใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่มีเจ้าของที่ดินน้อยรายที่ ได้รับใบรับรองดังกล่าว ดังนั้นนักลงทุนจึงควร ตรวจสอบก่อนเข้าไปลงทุนว่าเจ้าของที่ดิน มี เอกสารแสดงความเป็ นเจ้ า ของที่ยั ง ใช้ ไ ด้ อ ยู่ และได้ลงทะเบียนไว้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในกัมพูชาแล้ว สาหรับสิทธิประโยชน์ของนัก ลงทุนต่างชาติจะได้รับแบ่งเป็น
หากเป็นสัญญาเช่าที่ดินระยะยาวจะไม่มี ข้อจากัดด้านระยะเวลาในการเช่า หากเป็นสั ญญาเช่าที่ดินระยะสั้ นที่มีการ กาหนดเวลาในการเช่าไว้สามารถต่ออายุ ใหม่ได้
นอกจากนี้ ก ฎหมายการลงทุ น ฉบั บ ใหม่ ยั ง อ นุ ญ า ต ใ ห้ นั ก ล ง ทุ น ส า ม า ร ถ ใ ช้ ที่ ดิ น เ ป็ น หลั กประกันในการจดจานองรวมทั้งสามารถโอน สิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์สินส่วนบุคคลที่ ปลูกสร้างบนที่ดินแปลงดังกล่าวได้อีกด้วย แต่ต้อง ไม่เกินกาหนดเวลาในสัญญาเช่าที่ดิน
(5) สถานการณ์ปัจจุบันของกรรมสิทธิ์ ถือ ครอง ที่ดิน หลังการประกาศใช้กฎหมายที่ดินปี ค.ศ. 2001 มีการออกเอกสารสิ ทธิในการถือ ครอง ที่ดิน เพิ่มขึ้ น ซึ่งนั กลงทุน สามารถตรวจสอบ เอกสารสิทธิกับกระทรวงการพัฒนาที่ดิน การ ผั งเมืองและการก่อสร้าง ก่อนตกลงเช่าที่ดิน แปลงนั้นๆ
(6) การใช้ที่ดินเป็นหลักทรัพย์ ในการค้าประกัน เงินกู้ ที่ดินที่สามารถใช้เป็นหลักทรัพย์ในการ ค้าประกันเงินกู้ ได้แก่ ที่ดินที่สามารถจานองได้ และมีโฉนดที่ดินตามกฎหมายเท่านั้น Page | 27
(7) การจานองหรือโอนถ่ายกรรมสิทธิ์ในการเช่า ที่ ดิ น แบบระยะยาว สามารถกระท าได้ โ ดย ระยะเวลาในการจานองหรือโอนถ่ายสิทธิ์นั้น ต้องไม่เกินระยะเวลาตามสัญญาเช่าที่กระทาไว้
ที่ดินของรัฐ ที่ดินของรัฐประกอบด้วยที่ดินสาธารณะและที่ดินของรัฐ ซึ่งบุคคลทั่วไปไม่สามารถถือครองสิทธิ์ขายหรือให้ เช่าได้ แต่เป็นที่ดินที่รัฐสามารถเปิดให้เอกชนเช่าในระยะยาวได้ (15 ปีขึ้นไป) หรือซื้อขายได้ทั้งนี้ต้องเป็นไป ตามกฎหมายพิเศษที่กากับดูแลเป็นการเฉพาะ (1) การขาย ให้เช่าหรือแลกเปลี่ยนที่ดินของรัฐ รายละเอี ย ดตลอดจนกฎระเบี ย บขั้ น ตอนที่ เกี่ยวข้องปรากฏอยู่ในประกาศนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 129 (Sub Decree 129) (2) การให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ส าธารณประโยชน์ ข องรั ฐ พื้ น ที่ ที่ ส ามารถให้ เ ช่ า ต้ อ งเป็ น พื้ น ที่ ที่ อ ยู่ ใ น รายการทรั พย์ สิ น ให้ เช่าของรั ฐ ซึ่งต้องได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากหน่ ว ยงานบริ ห ารจั ด การ ทรัพย์สินของรัฐ และต้องได้รับการอนุมัติจาก รัฐบาลก่อนการให้เช่าทุกครั้ง โดยมีเงื่อนไขใน การเช่าดังนี้
ผู้ เ ช่ า จะต้ อ งไม่ เ ปลี่ ย นแปลงหรื อ ทาลายทรัพย์สินที่ให้เช่านั้น
ผู้ เ ช่ า จะต้ อ งไม่ แ ก้ ไ ขหรื อ ปรั บ ปรุ ง รายการใดที่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ การใช้ ประโยชน์ของสาธารณชน
(3) การให้เช่าหรือขายที่ดินส่วนของรัฐ เงื่อนไข ต้ อ งเป็ น ไปตามประกาศของกระ ทรว ง เศรษฐกิ จ และการคลั ง (The Ministry of Economy and Finance: MEF) และต้องเป็น การเปิดให้ มีการประมูล อย่างเป็นทางการใช้ ราคาตลาดเป็นเกณฑ์ในการตัดสินการต่อรอง ราคาหรือเจรจาเงื่อนไขในการเช่าหรือซื้ อจะ กระทาได้ก็ต่อเมื่อ
กระบวนการเปิดประมูลล้มเหลว ความพิเศษของพื้นที่ที่ต้องมีการตกลง เงื่อนไขหรือแนวปฏิบัติกับภาครัฐ มีผู้สนใจเช่าหรือซื้อเพียง 1 ราย
(4) การแลกเปลี่ยนที่ดินส่วนของรัฐ จะกระทาได้เมื่อที่ดินนั้นมีความเหมาะสม ต่อการพัฒนาทางธุรกิจของเอกชนและเมื่อภาครัฐ
ต้องการที่ดินในเขตอื่นๆ เพื่อการก่อสร้างอาคาร ส านั ก งานเงื่ อ นไขในการแลกเปลี่ ย นปรากฏใน ประกาศนายกรัฐมนตรีฉบับที่ 129 (Sub Decree 129) Page | 28
การสัมปทานที่ดินของรัฐ (1) กรอบกฎหมายใหม่ในการให้สัมปทานที่ดินของรัฐ ภายใต้กฎหมายที่ดินปี ค.ศ.2001 การให้สัมปทาน ที่ดินของรัฐมีเหตุผล 3 ประการคือ
การให้ สั ม ปทานที่ ดิ น เพื่ อ กิ จ กรรมทาง สั ง คม กิ จ กรรมทางสั ง คมที่ รั ฐ จะให้ สัมปทานที่ดินต้องเป็นกิจกรรมก่อสร้างที่ อยู่ อ าศั ย และกิ จ กรรมทางการเกษตร เท่านั้น และเฉพาะบุคคลสัญชาติกัมพูชา เท่านั้นที่มีสิทธิได้รับสัมปทานดังกล่าว การให้ สั ม ปทานที่ ดิ น เพื่ อ กิ จ กรรมทาง เศรษฐกิจ การใช้ประโยชน์ การพัฒนาและ ก า ร ส า ร ว จ ต่ า ง ๆ นั ก ล ง ทุ น จ า ก ต่างประเทศที่สนใจสัมปทานที่ดินของรัฐ เพื่ อ กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ สามารถยื่ น
ขอรับสัมปทานจากหน่วยงานของรัฐที่ถือ ครองที่ดินแปลงนั้นๆ ซึ่งหน่วยงานของรัฐ จะขอความเห็ น ชอบจากกระทรวงการ เศรษฐกิ จ และการคลั ง ก่ อ นการยื่ น ขอ อนุมัติจากรัฐบาลต่อไป กรอบกฎหมายใหม่ ใ นการให้ สั ม ปทาน ที่ ดิ น ของรั ฐ เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า ง พื้ น ฐาน ปั จ จุ บั น รั ฐ บาลอยู่ ร ะหว่ า งการ พิจารณากฎหมายการให้สัมปทานของรัฐ ซึ่งครอบคลุมการให้สัมปทานที่ดินเพื่อการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวด้วย
(2) กฎหมายการให้สัมปทานของรั ฐ มีเป้าหมายเพื่ออานวยความสะดวกในการให้ สั มปทานเพื่อ พั ฒ นา โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ มีเนื้อหาโดยย่อดังนี้ 1. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีสิทธิได้รับสัมปทานตามกฎหมาย ได้แก่
โ ครงการพั ฒ นา จ าหน่ า ย และ กระจายพลังงานไฟฟ้า คมนาคมขนส่ ง เช่ น ถนน สะพาน สนามบิน ท่าเรือ รางรถไฟ และคลอง น้าประปาและการกาจัดน้าเสีย โครงข่ายโทรคมนาคม และเทคโนโลยี สารสนเทศ
สิ่ ง อ านวยความสะดวก และแหล่ ง ท่องเที่ยว โครงข่ า ยขนส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ และ น้ามัน การระบาย และกาจัดขยะมูลฝอย ระบบบาบัดน้าเสีย โครงสร้ า งพื้ น ฐานทางสาธารณสุ ข การศึกษา และการกีฬา
โครงการก่อสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเคหะ การชลประทาน และโครงสร้ า ง พื้นฐานทางเกษตรกรรม
โครงการต่างๆ ที่กฎหมายฉบับอื่นๆ กาหนดให้ได้รับสัมปทานจากรัฐ
Page | 29
2. การคัดเลือกผู้รับสัมปทานจะทาการคัดเลือกผ่านระบบประมูลหรือระบบเจรจาต่อรอง ซึ่งเงื่อนไขและ ขั้นตอนต่างๆ อยู่ระหว่างการพิจารณาในกฎหมายลูก 3. สัญญาสัมปทานซึ่งหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องลงนามในสัญญาสัมปทานภายในเวลา 6 เดือน หลังทราบผลการคัดเลือกผู้สัมปทานซึ่งรูปแบบของสัญญาสัมปทานจะต้องใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนี้
BOT (Build, Operate and Transfer) BLT (Build, Lease and Transfer) BTO (Build, Transfer and Operate) BOO (Build, Own and Operate) BOOT (Build, Own, Operate and Transfer)
BCT (Build, Co-operate Transfer) EOT (Expand, Operate Transfer) MOT (Modernize, Operate Transfer) MOO (Modernize, Own Operate) รูปแบบผสมอื่นๆ
and and and and
ทั้งนี้กฎหมายดังกล่าวยังกาหนดรายละเอียดอื่นๆ ของสัญญา เช่น มาตรฐานของโครงการ สิทธิประโยชน์ที่ ได้รับ การใช้บริการที่เกี่ยวข้อง การจ่ายเงิน ข้อผูกมัดสัญญา เป็นต้น โดยโครงการสัมปทานต้องมีอายุไม่เกิน 30 ปี ยกเว้นรัฐบาลมีความเห็นให้ต่อสัญญาสัมปทานออกไป
3) กฎหมายลิขสิทธิ์ และสิทธิบัตร นั บ ตั้ ง แต่ กั ม พู ช าเข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก ของ อ ง ค์ ก า ร ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า โ ล ก (World Intellectual Property Organization: WIPO) และอนุสัญญากรุงปารีส (Paris Convention) รั ฐ บาลกัมพูช าได้ป ระกาศใช้กฎหมายที่เกี่ยวกั บ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาในกัมพูชาหลาย
ฉบับ แสดงถึงความก้าวหน้าในกระบวนการอันเป็น การปฏิบัติตามหน้าที่ที่องค์การการค้าโลก (WTO) ก าหนดไว้ เช่ น กฎหมายเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งหมาย การค้ า ชื่ อ ทางการค้ า และกฎหมายว่ า ด้ว ยการ แข่งขันที่ไม่เป็นธรรม กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมาย สิทธิบัตร ใบรับรองผลิตภัณฑ์ อรรถประโยชน์ และ การออกแบบอุตสาหกรรม เป็นต้น8
(1) กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ชื่อทางการค้า กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ชื่อทางการค้า และการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม (กฎหมายเครื่องหมาย ทางการค้า ปี ค.ศ. 2002) เป็นกฎหมายแรกที่ประกาศใช้เพื่อคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งกาหนดให้สิทธิ ในเครื่องหมายการค้าของสินค้าและบริการจะต้องจดทะเบียนต่อกระทรวงพาณิชย์ และสิทธิในเครื่องหมาย การค้าของผู้ที่ได้จดทะเบียนแล้วจะได้รับความคุ้มครองต่อเมื่อผู้จดทะเบียนได้แนบหนังสือไปกับคาขอจด ทะเบียนแสดงว่าตนได้ขอจดทะเบียนก่อนประเทศที่เป็นสมาชิกของอนุสัญญากรุงปารีส กฎหมายเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งหมายการค้ า ชื่ อ ทางการค้ า และการแข่ ง ขั น ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม มี บทบัญญัติสาคัญ ดังนี้ 1) ขั้นตอนการลงทะเบียนและสิทธิตามกฎหมาย เครื่ องหมายการค้า เครื่ องหมายการค้าที่จะ ได้ รั บ การปกป้ อ ง ต้ อ งจดทะเบี ย นกั บ กรม ทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์กัมพูชา หลั ง การตรวจสอบกระทรวงฯ จะออก ใบรับรองเครื่องหมายการค้าและลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป หากพบว่าไม่มีการ โต้แย้งภายในเวลา 90 วัน หลังการประกาศ 8
Cambodia Investment Guidebook หน้า III-50 และ III-51
กระทรวงฯ จะออกใบรั บ รองเครื่ อ งหมาย การค้า ซึ่งมีอายุ1 ปีเจ้าของเครื่องหมายใดที่ไม่ มีแหล่งพานักอยู่ในกัมพูชา จะต้องมอบหมาย ตัวแทนในกัมพูชาเป็นผู้ดาเนินการ แทน 2) การยกเลิกและเพิกถอน เครื่องหมายการค้าใด ที่ ไ ม่ ไ ด้ น าไปใช้ ง านเป็ น ระยะเวลา 5 ปี ติดต่อกัน จะถูกยกเลิ กและเพิกถอน ยกเว้น เจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นๆ ยื่นเอกสาร ชี้แจงเหตุผลเป็นลายลักษณ์อักษร
Page | 30
3) การอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้า ต้องทา ผ่ า นสั ญ ญาให้ ใ ช้ ที่ ก าหนดโดยกระทรวง พาณิชย์ 4) การละเมิดสิทธิและแนวทางแก้ไข การละเมิด ได้แก่ การนาเครื่องหมายการค้าไปใช้โดยไม่ได้ รั บ อนุ ญ าต การลอกเลี ย นแบบเครื่ อ งหมาย การค้า และการใช้เครื่องหมายการค้าโดยไม่ได้ ลงทะเบียน เป็นต้น 5) มาตรการปกป้องตามเขตชายแดน (Boarder Measures) เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิ ในการเรี ย กตรวจสอบหรื อ อายั ด การนาเข้า หรื อ ส่ ง ออกสิ น ค้ า ตามด่ า นชายแดน หากมี ความสงสั ย หรื อ เห็ น ว่ า สิ น ค้ า เหล่ า นั้ น อาจ ละเมิดเครื่องหมายการค้าของตน เครื่ อ งหมายการค้ า ที่ จ ดทะเบี ย นกั บ กระทรวงพาณิ ช ย์ กั ม พู ช า จะได้ รั บ ความ
คุ้มครองเป็นเวลา 10 ปีนับจากวันจดทะเบียน โดยในปีที่5 เจ้าของเครื่องหมายการค้าจะต้อง แจ้งให้กระทรวงทราบถึงการคงใช้เครื่องหมาย การค้ า ดั ง กล่ า ว เพื่ อ เหตุ ผ ลในการให้ ค วาม คุ้มครองต่อไป สาหรับชื่อทางการค้าได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมายโดยไม่จาต้องจดทะเบียน หากมี การใช้ชื่อการค้าที่บุคคลอื่นได้ใช้อยู่ก่อนแล้ว ก็จะถือว่าผู้ที่ใช้ในภายหลังกระทาผิดกฎหมาย หากมีการใช้ชื่อ หรือ ใช้ เครื่องหมายการค้าที่ คล้ายกับชื่อทางการค้าหรือเครื่องหมายการค้า โดยจงใจใช้เพื่อทาให้ประชาชนเข้าใจผิดก็จะ ถือว่าเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายเช่นกัน
(2) กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์และสิทธิที่เกี่ยวข้อง ปี ค.ศ.2003 มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองงานของผู้ประพันธ์ และนักแสดง อันได้แก่ ผลงานทางวัฒนธรรม งานวรรณกรรม การแสดง ภาพบันทึกเสียง การแพร่ภาพของ องค์กรกระจายเสียง ในการที่จะดารงไว้ซึ่งการแสวงหาผลประโยชน์จากผลงานทางวัฒนธรรมเป็นไปโดยถูก กฎหมาย งานที่ได้รับความคุ้มครองมีดังต่อไปนี้ 1) ผลงานของผู้ประพันธ์ที่มีสัญชาติกัมพูชา หรือมีถิ่นที่อยู่ในกัมพูชา 2) ผลงานที่ เ ผยแพร่ ค รั้ ง แรกในกั ม พู ช า รวมถึงงานที่เผยแพร่ในต่างประเทศแต่ได้ น ามาเผยแพร่ ใ นกั ม พู ช าภายใน 30 วั น นับแต่วันที่เผยแพร่ผลงานครั้งแรก 3) งานสื่อวีดีทัศน์ของผู้ผลิตให้แก่สานักงาน ใหญ่หรือผู้มีถิ่นที่อยู่ในกัมพูชา
4) งานออกแบบสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นใน กัมพูชา และงานศิลปะแขนงอื่นที่รวมไว้ ในอาคารหรือสิ่งก่อสร้างอย่างอื่นซึ่งอยู่ใน กัมพูชา 5) ผลงานที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ค วามคุ้ ม ครองของ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ ผู้ ป ระพั น ธ์ มี สิ ท ธิ์เ หนื อ ผลงานของตน และมี สิ ทธิ์ขัดขวางผู้ ล ะเมิดสิ ทธิ์ทั้งในทางศีล ธรรมและ เศรษฐกิจ สิทธิในทางศีลธรรมของเจ้าของผลงาน
Page | 31
เป็นสิทธิ์ที่คงอยู่ตลอดไป แบ่งแยกไม่ได้ ไม่อาจยึด หรืออายัดได้ และไม่มีอายุความ ส่วนสิทธิในทาง เศรษฐกิจ ได้แก่ สิทธิในการใช้ประโยชน์จากผลงาน ของตนรวมถึ ง การให้ สิ ท ธิ ใ นการท าซ้ า เผยแพร่ ดัดแปลงในผลงานนั้น การคุ้มครองทางเศรษฐกิจ มี อยู่ตลอดชีวิตผู้สร้างสรรค์และจะสิ้นสุดลงเมื่อพ้น ก าหนด 50 ปี นั บ แต่ ผู้ ส ร้ า งสรรค์ ต ายกรณี ผู้ สร้างสรรค์มีทายาทสืบทอดลิขสิทธิ์9
เพื่อประโยชน์ในการบังคับใช้กฎหมายและเป็น หลั กฐานในความเป็นเจ้าของลิ ขสิ ทธิ์ ผู้ ประพันธ์ หรื อ เจ้ า ของลิ ข สิ ท ธิ์ จ ดทะเบี ย นต่ อ กระทรวง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ศิ ล ป ก ร ร ม (Ministry of Culture and Fine Arts)
(3) สิทธิบัตร ใบรับรองผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ และการออกแบบอุตสาหกรรม สิ่งประดิษฐ์ดังต่อไปนี้ ไม่ได้รั บความคุ้ม ครอง ตามกฎหมายสิ ท ธิ บั ต รใบรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ อรรถประโยชน์ และการออกแบบอุตสาหกรรม 1) การค้ น พบทฤษฎี ท างวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ สูตรทางคณิตศาสตร์ 2) แผนงาน กฎหรื อรู ป แบบทางธุร กิจ การ แสดงเพื่ อ ความบั น เทิ ง และการละเล่ น ต่างๆ 3) วิธีการรักษามนุษย์หรือสัตว์ แต่ไม่รวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการรักษา 4) ผลิตภัณฑ์ยาบางชนิด 5) พืชและสัตว์
สิทธิบัตร คุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ใหม่ซึ่งอาจเป็น ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการที่สามารถแก้ปัญหา ด้ า นเทคโนโลยี โ ดยเฉพาะเจาะจง ผู้ ข อจด ทะเบียนสิทธิบัตร จะต้องยื่นคาขอต่อกระทรวง อุตสาหกรรม สิทธิบัตรมีอายุ 20 ปี นับแต่วัน ยื่ น ค าขอ แต่ เ จ้ า ของสิ ท ธิ บั ต รจะต้ อ งจ่ า ย ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนทุกๆ ปี
เครื่องหมายการค้า สาหรับผู้ประกอบการที่ ประสงค์จะมีเครื่องหมายการค้ าในกัมพูชา มี ข้อเสนอแนะในการขอจดทะเบียนเครื่องหมาย การค้าดังนี้
1) ผู้ลงทุนต้องไปยื่นจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ กั ม พู ช า ตั้ ง อยู่ ที่ Lot 19-61, MOC Road (113B Road), Phum Teuk Thla, Sangkat Teuk Thla, Khan Sen Sok, Phnom Penh, Cambodia, Tel (855) 23 866 115, (855) 12 807 346, (855) 12 773 691, (855) 11 888 969, (855) 12 826 166 สาหรับผู้ลงทุนที่ต้องใช้บริการแปลเอกสาร ค่าบริการสาหรับคาแปล เอกสารจากภาษาเขมร – อังกฤษ – เขมร 1 หน้าเท่ากับ 5 ดอลลาร์ส หรัฐ โดยเอกสารที่ใช้ประกอบการ ดาเนินการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า มีดังนี้ 9
Law on Copy Right and Related Rights
Page | 32
- แบบฟอร์มจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าหนังสือตัวจริง (Power of Attorney) - ตัวอย่างเครื่องหมายการค้าจานวน 15 ใบ 2) ระยะเวลาที่ใช้ในการยื่นเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบมีระยะเวลา 6 เดือน แต่โดยทั่วไป หากไม่มีปัญหา ใด จะใช้เวลา ประมาณ 2 เดือนเท่านั้น ค่าธรรมเนียมในการยื่นจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า 1 ยี่ห้อเท่ากับ 125 ดอลลาร์สหรัฐ
ใบรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ รรถประโยชน์ เป็ น ใบรับรองที่ออกให้แก่ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ ใหม่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหรือเป็นกระบวนการ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างอุ ต สาหกรรม ผู้ ข อจด ทะเบียนสิทธิบัตรจะต้องยื่นคาขอต่อกระทรวง อุตสาหกรรมใบรับรองมีอายุเพียง 7 ปี นับแต่ วันยื่นคาขอใบรับรอง และไม่อาจต่ออายุได้
การออกแบบทางอุตสาหกรรม การออกแบบ ทางอุตสาหกรรมที่จะได้รับความคุ้มครองต้อง
เป็นผลิตผลใหม่และปรากฏลักษณะพิเศษบน ผลิตผลอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม การยื่นคา ขอจดทะเบียนการออกแบบอุตสาหกรรมต้อง ยื่ น ต่ อ กระทรวงอุ ต สาหกรรม การออกแบบ อุตสาหกรรมที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของ ประชาชน ไม่ อ าจขอจดทะเบี ย นได้ การจด ทะเบียนจะมีกาหนดเวลา 5 ปีนับแต่ยื่นคาขอ จดทะเบียน ซึ่งอาจขอต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 5 ปี10
ปัญหาในทางปฏิบัติในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญามีอยู่ทั่วไป เช่น ซอฟแวร์ เพลง สาเนาหนังสือและสินค้าปลอม ได้แก่ บุหรี่ สุรา และยารักษาโรค ถึงแม้จะมีการออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาหลายฉบับแต่รัฐ บาล กัมพูชายังไม่มีการบังคับใช้หรือปราบปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาได้อย่างจริงจัง ทาให้สินค้าละเมิด ลิขสิทธิ์เป็นที่แพร่หลายทั่วไป
10
Law on the Patents, Utility Model Certificates and Industrial Designs
Page | 33