กฎระเบียบและมาตรการด้านการส่งเสริมการลงทุนในประเทศกัมพูชา

Page 1

Page | 1

3.1

นโยบายการลงทุนในกัมพูชา1

รัฐบาลกัมพูชาให้ความสาคัญกับการลงทุนใน ประเทศอย่างมาก จึงมีนโยบายส่งเสริมการลงทุน และมีการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ ลงทุ น เพื่ อ เอื้ อ ต่ อ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ เช่ น การ อานวยความสะดวกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน เช่น กระบวนการในการจัดตั้งบริษัท และการให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต่ า งๆ แก่ โ ครงการที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน การอนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติ โอนเงินตราต่างประเทศได้อย่างเสรีเพื่อจูงใจให้นัก ลงทุ น ต่ า งชาติ เ ข้ า มาลงทุ น อั น จะส่ ง ผลต่ อ การ สร้ า งงานที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ กั บ ประชาชนและ เจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของประเทศโดยให้ กรรมสิทธิ์ในการถือครองสินทรั พย์เป็นส่ว นใหญ่ ยกเว้ น การถื อ ครองที่ ดิ น แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ส ามารถเช่ าที่ ดิ น ได้ น านถึง 99 ปี นอกจากนี้ ยั ง อนุ ญ าตให้ นั ก ลงทุ น เป็ น เจ้ า ของ กิ จ การบางประเภทได้ ทั้ ง หมด และยั ง ให้ ก าร รั บ ประกั น นั ก ลงทุ น ในการก าหนดราคาสิ น ค้าที่ ผลิตขึ้น การให้สิทธิในการส่งออกเงินทุน ผลกาไร ของกิจการ และยังสามารถลงทุนด้วยเงินทุนของ นั ก ลงทุ น ต่ า งประเทศเองทั้ ง หมด โดยที่ ไ ม่ จาเป็นต้องร่วมลงทุนกับนักลงทุนท้องถิ่นก็ได้ รวม 1

ไปถึงนักลงทุนสามารถนาเข้ าแรงงานต่า งชาติ มี ฝีมือมาทางานและเพื่อพัฒนาแรงงานในประเทศได้ อีกด้วย อีกทั้งยังได้เร่งปรับปรุงกฎระเบียบ ให้มี ความโปร่ ง ใสและลดขั้ น ตอนการขอใบอนุ ญ าต ประกอบการลงทุนมากขึ้นเพื่อจูงใจให้ นักลงทุ น ต่างชาติเข้ามาลงทุน

3.2

กฎระเบียบการลงทุน

การลงทุนในประเทศกัมพูชามีหน่วยงานที่ดูแล ด้านการลงทุนจากต่างประเทศ คือ สภาเพื่อการ พั ฒ น า กั ม พู ช า (The Council for the Development of Cambodia : CDC) ซึ่ ง เ ป็ น หน่วยงานภาครัฐ ก่อตั้งในปี 2542 มีวัตถุประสงค์ เพื่อบริห ารจัดการนโยบายภาครัฐ ที่เกี่ยวกับการ ลงทุนของเอกชนเพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจและ ดึงดูดการลงทุนทั้งจากในและต่างประเทศ CDC มี หน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการ ดังนี้ (1) เขต เศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone : SEZ) บริ ษั ท เอกชน (Developer) ที่ ป ระสงค์ จ ะจั ด ตั้ ง SEZ รวมทั้งภาคเอกชนที่ประสงค์จะเข้ามาลงทุน ตั้งโรงงานใน SEZ ต้องได้รับ การอนุ มัติโ ครงการ จากคณะกรรมการกากับดูแลเขตเศรษฐกิจ พิเศษ

คู่มือ การค้าและการลงทุน ราชอาณาจักรกัมพูชา กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ (2555)


ของกั ม พู ช า (Cambodian Special Economic Zone Board : CSEZB) ซึ่งเทียบเท่ากับหน่วยงาน BOI ของประเทศไทย (2) การลงทุนนอก SEZ ซึ่ง

กากับดูแลโดยคณะกรรมการการลงทุน (CIB) และ (3) เงิ น ช่ ว ยเหลื อ จากต่ า งชาติ (ODA-Official Development Assistance : ODA) Page | 2

การทางานของ CDC มีน ายกรั ฐ มนตรี เป็นประธาน รัฐ มนตรีเศรษฐกิจ รัฐ มนตรีกระทรวงต่างๆ และ เลขาธิ ก ารหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด และประธานหอการค้ า กั ม พู ช าเป็ น คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยคณะทางานต่างๆ ดังนี้ The Cambodian Investment Board (CIB)

Cambodian Special Economic Zone Board (CSEZB) The Cambodian Rehabilitation and Development Board (CRDB)

3.3

มาตรการส่งเสริมการลงทุน

รั ฐ บาลกั ม พู ช าได้ อ อกกฎหมายส่ ง เสริ ม การ ลงทุนครั้งแรกในปี ค.ศ.1994 (แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 2003) ให้ความมั่นใจแก่นักลงทุนว่าจะได้รับการ คุ้มครองทรัพย์สินในทุกๆ ด้านเท่าเทียมกับบุคคล ในชาติและไม่ใช้นโยบายกาหนดราคาสิน ค้าหรื อ บริการกับโครงการลงทุนที่ได้รับการส่งเสริ มการ ลงทุน พร้อมให้สิทธิประโยชน์ ทางด้านภาษีและที่ ไม่ใช่ภาษี อาทิ

1) การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ จ ากก าไร (Tax holiday) เป็นเวลา 3-9 ปี

ทาหน้าที่กลั่นกรองข้อเสนอสาหรับภาคเอกชนที่ข อรับ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น (The Investment Proposal) นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทาหน้าที่กลั่นกรองข้อเสนอสาหรับภาคเอกชนที่ขอรับ การส่งเสริมการการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด ทาหน้าที่ให้ความช่วยเหลือรัฐบาลต่างชาติ และองค์กร ระหว่ า งประเทศ ในด้ า นการติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ยงาน ภายในประเทศ

2) การยกเว้ น อากรขาเข้ า เครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ แ ละวั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง ส าหรั บ โครงการที่ ผ ลิ ตเพื่ อ ทดแทนการ น าเข้ า และยกเว้ น อากรขาเข้ า วั ต ถุ ดิ บ สิ น ค้ า กึ่ ง ส าเร็ จ รู ป และส่ ว นประกอบ สาหรับการผลิตเพื่อส่งออกและการผลิต สิ น ค้ า ที่ ต่ อ เ นื่ อ ง กั น ( Supporting Industry) สามารถจ้ า งและน าแรงงาน ต่ า งชาติ เ ข้ า มาอยู่ แ ละท างานในหน้ า ที่ ผู้ จั ด การ ผู้ ช านาญการ ช่ า งฝี มื อ ช่ า ง เทคนิค รวมทั้งบุตรและคู่สมรสของบุคคล ดังกล่าว 3) สามารถท าประโยชน์ จ ากที่ ดิ น ที่ ไ ด้ รั บ สัมปทานจากภาครัฐ หรือที่เช่าจากเอกชน และสามารถน าที่ ดิ น ดั ง กล่ า วไปเป็ น


หลักประกันการกู้เงินในระยะเวลาที่ได้รับ สัมปทานหรือเช่า 4) ส า ม า ร ถ ซื้ อ แ ล ะ ส่ ง อ อ ก เ งิ น ต ร า ต่างประเทศเพื่อชาระค่าสินค้า รวมไปถึง

การชาระเงินต้น ดอกเบี้ย รวมทั้งส่ง ออก ก าไรหรื อ เงิ น ทุ น กลั บ ประเทศได้ ทั้ ง ระหว่ า งด าเนิ น โครงการและหลั ง จาก ยกเลิกการลงทุน Page | 3

3.4

การจัดตั้งองค์กรธุรกิจในกัมพูชา

การจั ด ตั้ ง องค์ ก รธุ ร กิ จ ในกั ม พู ช า มี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ คื อ Commercial Registration Office, Department of Business Registration, Ministry of Commerce Commercial Registration Office Department of Business Registration, Ministry of Commerce ที่ อ ยู่ Lot 19-61, MOC Road (113B Road), Phum Teuk Thla, Sangkat Teuk Thla,Khan Sen Sok, Phnom Penh, Cambodia เบอร์โทรศัพท์ (855) 23 866 088 แฟกซ์ (855) 23 866 188 เว็บไซต์ www.moc.gov.kh 3.4.1) รูปแบบองค์กรธุรกิจในกัมพูชา รูปแบบองค์กรธุรกิจในประเทศกัมพูชามี 4 รูปแบบ มีรายละเอียดดังนี้ 1) กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship) กิจ การเจ้ าของคนเดีย ว คือ วิส าหกิจ ที่ได้รับ การจัดตั้งและดาเนินกิจการโดยบุคคลธรรมดาคน เดียวซึ่งเป็นเจ้าของทุนของกิจการทั้งหมด ดังนั้น 2) ห้างหุ้นส่วน (Partnership) ห้ างหุ้ น ส่ ว นเป็ น รู ป แบบธุร กิ จ ที่ เ กิดจากการ ร่วมลงทุนเพื่อให้สามารถใช้เงินทุนและทรัพยากร ร่วมกัน องค์กรทางธุรกิจประเภทนี้ ที่ได้รับ ความ นิ ย มในหมู่ นั ก วิ ช าชี พ อาทิ แพทย์ ทนาย และ นักบัญชี ตามกฎหมายสถานประกอบการพาณิชย์ นั้น ห้างหุ้นส่วนอาจเป็ น ได้ทั้งห้ างหุ้นส่ วนสามัญ หรือห้างหุ้นส่วนจากัด

ข้อผูกพันและความรับผิดทั้งหลายที่เกิดจากการ ประกอบการของกิจการนี้จึงเป็นความรับผิดชอบ ของบุคคลดังกล่าวแต่เพียงผู้เดียว

(1) ห้างหุ้นส่วนสามัญ (General Partnership) ห้างหุ้นส่วนสามัญ เป็นกิจการที่จัดตั้งโดย หุ้นส่วนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันดาเนินธุรกิจ โดย เป็นเจ้าของรับผิดชอบบริหารงานร่วมกัน และ


แบ่งปันผลกาไร โดยอาจเป็นการตกลงด้วยวาจา หรือทาข้อตกลงที่เป็นเอกสารก็ได้ ซึ่งหุ้นส่วนทุก คนมีความรับผิดชอบต่อหนี้ที่เกิด ทั้งนี้ห้างหุ้นส่วน สามัญจะสิ้นสภาพเมื่อหุ้นส่วนเสียชีวิต หรือถอน หุ้น หรือล้มละลาย (2) ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership)

ภายใต้ ก ฎหมายกั ม พู ช า ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจ ากั ด สามารถจั ด ตั้ ง ได้ โ ดยขอใบรั บ รองจากส านั ก ทะเบียนธุรกิจ (Business Registration Bureau) กระทรวงพาณิช ย์ ภายใต้ความเป็นห้ างหุ้ น ส่ ว น จากัด หุ้นส่วนทั่วไปต้องรับผิดชอบโดยไม่จากัด แต่ หุ้นส่วนจากัดต้องรับผิดชอบเฉพาะในส่วนที่ลงทุน เท่านั้น กิจการเจ้าของคนเดียวและห้างหุ้นส่วนจะ ถือว่าสิ้นสุดลงหากสมาชิกทั่วไปเสียชีวิตหรือถอน ตัว

3) บริษัทจากัด (Limited Liability Company) ธุรกิจที่จัดตั้งโดยการระดมเงินทุนของผู้ถือ หุ้น และมอบอานาจให้กรรมการบริษัทเป็นผู้บริหารงาน โดย ต้องแบ่งจานวนหุ้นขั้นต่าจานวน 1,000 หุ้น และมีมูลค่าไม่ต่ากว่า 4,000 เรียลต่อหุ้น ดังนั้น ทุนจดทะเบียน เริ่มต้นจึงคิดเป็นมูลค่า 4,000,000 เรียล ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของต้องรับผิดชอบต่อหน้าที่ตามสัดส่วนของ จานวนเงินที่ลงทุนเท่านั้น บริ ษั ท จ ากั ด อาจมี เ จ้ า ของเป็ น คนสั ญ ชาติ กัมพูชาร้อยละ100 หรือเป็นบริษัทที่มีชาวต่างชาติ เป็ น เจ้ า ของร้ อ ยละ100 หรื อ เป็ น การร่ ว มทุ น ระหว่างสองฝ่าย บริษัทสัญชาติกัมพูชาคือบริษัทที่ มี ช าวกั ม พู ช าผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 51 และ ประธานบริ ษั ท จ ากั ด อาจเป็ น ชาวกั ม พู ช า หรื อ ชาวต่างชาติก็ได้ บริษัทจากัด แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ (1) บริษัทเอกชนจากัด (Private Limited Company) บริษัทเอกชนจากัด คือ การทาสัญญาระหว่าง บุคคลสองบุคคลหรือมากกว่าซึ่งตกลงที่จะดาเนิน กิจกรรมทางพาณิชย์ บริษัทเอกชนจากัดทุกแห่ ง จะต้องอยู่ ภ ายใต้ข้อกาหนดด้านการจดทะเบียน การค้าซึ่งจักต้องดาเนินการที่กระทรวงพาณิชย์

(2) บริษัทมหาชนจากัด (Public Limited Company) บริษัทจากัดที่ถือหุ้นโดยสาธารณชน เนื่องจาก กฎหมายอนุญาตให้สามารถออกหุ้นให้แก่คนทั่วไป ได้ โดยต้ อ งมี ก รรมการบริ ห ารอย่ า งน้ อ ย 3 คน ทั้งนี้ความรับผิดชอบต่อหนี้ ของผู้ถือหุ้นจากัดตาม สัดส่วนของมูลค่าหุ้น ซึ่งข้อบังคับของบริษั ทต้ อง ระบุเงื่อนไขการจากัดความรับผิดชอบหนี้ข องผู้ถือ หุ้น สาหรับบริษัทกัมพูชาที่ต้องการจะขยายธุรกิจ ไปในท าเลที่ ตั้ ง ใหม่ ใ นประเทศ โดยส่ ว นใหญ่จะ จั ด ตั้ ง เป็ น ส านั ก งานสาขา (Branch Operation) โดยสามารถบริ ห ารได้ อ ย่ า งอิ ส ระจากบริ ษัทแม่ ทั้ ง นี้ บ ริ ษั ท จะต้ อ งจดทะเบี ย นบริ ษั ท สาขาตาม กฎหมายการจดทะเบี ย นพาณิ ช ย์ (Law on Commercial Rules and the Commercial

Page | 4


Register) แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย ธุ ร กิ จ (Law on Commercial Enterprise) 4) ธุรกิจต่างชาติในกัมพูชา (Foreign Business in Cambodia) ผู้ประกอบการต่างชาติสามารถจัดตั้งบริษัทจากัดได้เช่นเดียวกับผู้ประกอบการกัมพูชาตามกฎหมายการ พาณิช ย์ (Law on Commercial Enterprise) ธุรกิจต่างด้าว คือ นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายของ ต่างประเทศแต่มีพื้นที่ส่วนหนึ่งของกิจการและประกอบการธุรกิจในราชอาณาจักรกัมพูชา ธุรกิจต่างด้าวต้อง จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ โดยมี 3 รูปแบบ คือ (1) สานักงานสาขาของบริษัทต่างชาติ (Branch of a Foreign Company) สานักงานสาขาของบริษัทต่างชาติ เปิดขึ้นโดย บริ ษัทของต่า งชาติ เ พื่ อ ที่จ ะดาเนิ น กิจ กรรมทาง พาณิ ช ย์ อ ย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง ในกั ม พู ช า ส านั ก งาน สาขาเป็นนิติบุคคลเดียวกันกับบริษัทแม่ ดังนั้น จึง มี ชื่ อ เดี ย วกั น กั บ บริ ษั ท แม่ ส านั ก งานสาขานี้ สามารถด าเนิ น กิ จ กรรมได้ เ หมื อ นกั บ ส านั ก งาน ตัวแทน นอกจากนี้ สานักงานสาขายั งอาจจะซื้ อ ขาย หรือให้บริการทางวิชาชีพในลักษณะประจา หรื อดาเนิ น กิจ การด้า นอื่น ใดที่เ กี่ ย วกั บ การผลิ ต หรื อการก่อสร้ างในกัมพูช า ส านั กงานสาขาและ บริษัทแม่มีความรับผิดชอบร่วมกันต่อความรับผิด ทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับความสูญเสียและหนี้สินของ สานักงานสาขา และสานักงานสาขายังต้องปฏิบัติ ตามข้อผู กพัน ต่างๆ ด้านการเสี ย ภาษีท้องถิ่นอีก ด้วย สานักงานสาขาอยู่ภายใต้ข้อกาหนดการจด ทะเบียนพาณิชย์ซึ่งดูแลรับผิดชอบโดยกระทรวง พาณิ ช ย์ นอกจากนี้ ค าว่ า “Branch Office” จะต้องแสดงไว้ก่อนหน้าหรือตามหลังชื่อของบริษัท แม่ (2) สานักงานตัวแทน (Representative Office: RO)

ส านั ก งานตั ว แทน (RO) อาจตั้ ง ขึ้ น โดยนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ที่ ท รงสิ ท ธิ ใ นวิ ส าหกิ จ ดั ง กล่ า ว เพื่อที่จะอานวยความสะดวกในการจัดหาสิ น ค้ า และบริ ก ารท้ อ งถิ่ น และเพื่ อ ที่ จ ะรวบรวมข้ อ มู ล ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท แม่ ข องตน ส านั ก งานเหล่ า นี้ ยั ง ท า หน้ า ที่ เ ป็ น ช่ อ งทางส าหรั บ การส่ ง เสริ ม และท า การตลาดสิ น ค้ า และบริ ก ารของบริ ษั ท แม่ ใ น ประเทศกัมพูชาด้วย สานักงานตัวแทนมีลักษณะ เป็นหน่วยงานใช้เงินทุน (Cost Center) ที่ไม่สร้าง รายได้จากการดาเนินกิจการของตนเอง ดังนั้น โดย หลักการทั่วไปจึงไม่อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย ภาษีกัมพูชา อย่างไรก็ตาม สานักงานตัวแทนยังอยู่ ภายใต้ข้อกาหนดด้านภาษีในส่วนของภาษีหัก ณ ที่ จ่ า ย ที่ เ กี่ ย วกั บ เงิ น เดื อ นที่ จ่ า ยให้ พ นั ก งานใน กัมพูชา ตลอดจนภาษีประกอบธุรกิจ เฉพาะและ ภาษีการประกอบธุรกิจประจาปี สานักงานตัวแทน อยู่ ภ ายใต้ ข้ อ ก าหนดการจดทะเบี ยนพาณิ ช ย์ซึ่ง ดูแลรับผิดชอบโดยกระทรวงพาณิชย์ ทั้งนี้ คาว่า “Representative Office Agent” จะต้ อ งแสดง ไว้ก่อนหน้าหรือตามหลังชื่อของวิสาหกิจ (3) บริษัทในเครือ (Subsidiary Company) บริ ษั ท ในเครื อ หรื อ บริ ษั ท ลู ก คื อ บริ ษั ท ที่ ควบคุมดูแลโดยบริษัทแม่ ซึ่งบริษัทแม่มีสิทธิ์ส่วน

Page | 5


ใหญ่ ใ นการออกเสี ย งในบริ ษั ท ในเครื อ โดยเป็ น บริษัทที่จัดตั้งขึ้นในกัมพูชาและอย่างน้อยร้อยละ 51 ของเงิ น ทุ น ของบริ ษั ท ถื อ โดยบริ ษั ท ต่ า งชาติ ทั้ ง นี้ การจั ด ตั้ ง การบริ ห ารจั ด การ สิ ท ธิ แ ละข้ อ ผูกพันต่างๆ ของบริษัทจักต้องแสดงรายละเอียดไว้

ในบันทึกการจัดตั้งและหนังสื อบริคณห์ ส นธิของ บริษัทจากัด บริษัทลูกอยู่ภายใต้ข้อกาหนดการจด ทะเบียนพาณิชย์ซึ่งดูแลรับผิดชอบโดยกระทรวง พาณิชย์ Page | 6

3.4.2) ขั้นตอนการจดทะเบียน2 การยื่นคาร้องจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจทั่วไปใน ประเทศกั ม พู ช า สามารถท าด้ ว ยตนเองที่ สานักงานจดทะเบียนพาณิชย์ (Commercial Registration Office) กรมจดทะเบียนธุรกิจ (Department of Business Registration) กระทรวงพาณิ ช ย์ (Ministry of Commerce) ณ กรุ ง พนมเปญ หรื อ สาขาของส านั ก งานจด ทะเบียนพาณิชย์ในต่างจังหวัด ก่อนดาเนินการจด

ทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผู้ประกอบการต้องได้รับการ ยิ น ยอมเข้ า ครอบครองสถานประกอบการจาก ศาลากลางจั ง หวั ด (City Hall) หรื อ จั ง หวั ด ใน ท้องถิ่นที่ตั้งกิจการ โดยมีขั้นตอนการจดทะเบียน จัดตั้งบริษัทจากัดในประเทศกัมพูชามี 5 ขั้นตอน ดังนี้

1. นาเงินทุนจดทะเบียนฝากธนาคาร ผู้ประกอบการนาเงินทุนจดทะเบียนขั้นต่า 4,000,000 KHR ฝากธนาคารก่อนดาเนินการยื่นขอจดทะเบียนที่ธนาคารใน กัมพูชาที่ได้รับอนุญาต โดยธนาคารต้องออกหลักฐานใบสาคัญแสดงรายการเงินในบัญชีเงินฝาก (Bank Statement) ทั้งนี้ ไม่มีจากัดเวลาในการฝากเงินให้ครบจานวนทั้งหมด

2. ตรวจสอบชื่อบริษัท ผู้ประกอบการตรวจสอบชื่อบริษัทจากัดที่กรมจดทะเบียนธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์ โดยชื่อจะต้องไม่ซ้ากับบริษัทที่จัดตั้งอยู่ แล้ว และห้ามใช้คาต้องห้ามที่ไม่เหมาะสม ทั้งนี้บริษัทสามารถใช้ชื่อในอักษรเขมรหรือใช้ตัวอักษรละตินโดยต้องให้ชื่อละติน อยู่ตาแหน่งใต้ชื่อในภาษาเขมรและมีขนาดอักษรเล็กกว่าอักษรเขมร สาหรับสาขาของบริษัทจะต้องใช้ชื่อตามบริษัทหลัก โดยมีคาว่าสาขา (Branch) อยู่ด้านบนหรือด้านหน้าชื่อสาขา

3. ประกาศข้อมูลรายละเอียดบริษัท (ข้อบังคับบริษัท/บริคณห์สนธิ) ลงในหนังสือพิมพ์ กรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้น หรือผู้แทนที่ได้รับมอบอานาจ เผยแพร่ข้อมูลภาพรวมบริษัทลงในหนังสือพิมพ์ที่เป็นที่รู้จัก อย่างกว้างขวางในกัมพูชา โดยข้อมูลประกอบด้วย 1) ชื่อ ที่อยู่ และรูปแบบบริษัท 2) วัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจ 3) จานวนเงินทุนที่เป็นเงินสด 4) รายละเอียดกรรมการบริษัท (ชื่อ ที่อยู่ สัญชาติ และอาชีพ) โดยผู้ยื่นขอจดทะเบียนจะต้องเตรียมหลักฐานยืนยันการลงประกาศในหนังสือพิมพ์มาพร้อมกับคาขอจดทะเบียนด้วย

4. ยื่นขอจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท

2

ปรับปรุงข้อมูลจาก การจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจในประเทศกัมพูชา กรมธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2557)


ผู้ประกอบการยื่นแบบฟอร์มคาขอจัดตั้งบริษัท พร้อมกับเอกสารหลักฐาน ณ สานักงานจดทะเบียนพาณิชย์ ผู้ถือหุ้นหรือ ผู้บริหารต้องแสดงตน และลงนามในเอกสารบางรายการต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ แต่สามารถมอบอานาจให้ผู้อื่นกระทา การแทนแล้วแสดงตนในภายหลังได้ (ก่อนสานักงานออกใบรับรองการจดทะเบียน)

5. สานักงานจดทะเบียนพิจารณาคาขอและออกใบรับรองการจดทะเบียน สานักงานจะส่งสาเนาเอกสารให้กบั กองกฎหมายของกระทรวงพาณิชย์ และศาลพาณิชย์พิจารณาเมื่อบริษัทได้รับอนุมัติการ จดทะเบียน กระทรวงจะประกาศขึ้นทะเบียนบริษัทในราชกิจจานุเบกษา และออกใบรับรองการจดทะเบียนพร้อมตรา ประทับให้แก่บริษัท ทั้งนี้ ระยะเวลาดาเนินการจดทะเบียนอาจแตกต่างกันในแต่ละกรณี โดยอาจใช้ระยะเวลาประมาณ 10-25 วัน

ขั้นตอนการจดทะเบียนธุรกิจในกัมพูชา ก่อนการยื่นจดทะเบียน

การขอยื่นจดทะเบียน ระยะเวลา 10 – 25 วัน

Page | 7


3.4.3) เอกสารที่ใช้สาหรับจดทะเบียนองค์กรธุรกิจ (ภาษาอังกฤษหรือกัมพูชา) บริษัทจากัด - แบบฟอร์มขอจัดตั้งธุรกิจ (Form A) จานวน 3 ชุด (กระทรวงพาณิชย์จัดทาให้) - สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หรือสาเนาหนังสือเดินทางของผู้ถือหุ้นทุกคน พร้อมลายมือชื่อรับรอง สาเนา คนละ 3 ชุด - รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. ของ ผู้ถือหุ้น/หุ้นส่วน คนละ 3 รูป - หนังสือรับรองจากธนาคารแสดงเงินทุนในบัญชีขั้นต่า 4,000,000 KHR ตัวจริง 1 ฉบับ - กฎข้อบังคับของบริษัทจานวน 3 ชุด (กระทรวงพาณิชย์จัดทาให้ตามข้อมูลที่แจ้ง) - หลักฐานการประกาศลงในหนังสือพิมพ์จานวน 3 ชุด (กระทรวงพาณิชย์จะเป็นผู้ประกาศและแนบ หลักฐานให้) สานักงานตัวแทน / สาขา / บริษัทลูก ของบริษัทต่างชาติ - แบบฟอร์มขอจัดตั้งธุรกิจ (Form E) จานวน 3 ชุด (กระทรวงพาณิชย์จัดทาให้) - สาเนาใบรับรองการจดทะเบียนของบริษัทแม่ซึ่งได้รับการรับรองความถูกต้องจากหน่วยงานของรัฐบาล จานวน 3 ฉบับ - สาเนากฎข้อบังคับของบริษัทแม่ซึ่งรับรองความถูกต้องจากหน่วยงานของรัฐบาล จานวน 3 ฉบับ - หนังสือมอบสิทธิของบริษัทแม่ซึ่งมีการรับรองจากทนายความ โดยระบุชื่อผู้แทนที่จะมาประจาในสาขา ต่างประเทศ พร้อมหนังสือมติการประชุมของผู้ถือหุ้นที่อนุมัติให้จัดตั้งสาขาในต่างประเทศจานวน 3 ฉบับ - รูปถ่ายกรรมการหรือผู้จัดการของสานักงานผู้แทน ขนาด 4 X 6 ซม. จานวน 3 รูป - สาเนาบัตรประจาตัวหรือสาเนาหนังสือเดินทางของผู้แทน พร้อมลายมือชื่อรับรองสาเนา 3 ชุด - สาเนาวีซ่าเข้าประเทศกัมพูชาของผู้แทนบริษัท จานวน 3 ฉบับ 3.4.4) ค่าธรรมเนียมจดทะเบียน รายการ จดทะเบียนบริษัทจากัด/ห้างหุ้นส่วน/สานักงานผู้แทน จดทะเบียนสาขาของบริษัทกัมพูชา การตรวจสอบชื่อ การทาตราประทับ หมายเหตุ : 1 ดอลลาร์สหรัฐ มีค่าเท่ากับ 4,000 เรียล

ค่าธรรมเนียม (เรียล) 420,000 (105 ดอลลาร์สหรัฐ) 60,000 (15 ดอลลาร์สหรัฐ) 40,000 (10 ดอลลาร์สหรัฐ) 60,000 (15 ดอลลาร์สหรัฐ)

Page | 8


3.5

ขั้นตอนการลงทุนในกัมพูชา

รัฐบาลกัมพูชามีนโยบายเพื่อส่งเสริมการลงทุน เพื่อเป็นการสร้างงานและก่อให้เกิดรายได้แก่ประชาชน กัมพูชา รวมถึงเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการให้สิทธิพิเศษในการลงทุนหลายด้านแก่นักลงทุน ที่เข้ามาประกอบกิจการในประเทศกัมพูชา ในรูปแบบของ “กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน” ซึ่งมีหลาย ประเภท อาทิ เกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรบุคคล อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นหลัก และอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก กิ จ การที่ เ ปิ ด ให้ ล งทุ น กิ จ การที่ ห้ า มลงทุ น กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน และกิจการ ลงทุนที่มีเงื่อนไขพิเศษสาหรับนักลงทุนต่างชาติ มี รายละเอียดดังนี้ 1) กิจการที่อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติลงทุน กฎหมายการลงทุน แห่ งกัมพูช าเปิดโอกาสให้ นั กลงทุน ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุน ในกัมพูช าโดย อนุญาตให้ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของกิจการข้างมาก หรือทั้งสิ้น ในการประกอบธุรกิจแทบทุกสาขา แต่ ในธุรกิจบางประเภทจะตกอยู่ภ ายใต้เงื่อนไขบาง ประการ เช่ น ต้ อ งมี ก ารเข้ า ร่ ว มทุ น กั บ บุ ค คลใน ท้ อ งถิ่ น กิ จ การบางอย่ า งที่ ต้ อ งมี ก ารขอออก ใบอนุญาตพิเศษจากเจ้าหน้าที่ 2) กิจการที่ห้ามลงทุน (ทั้งชาวต่างชาติและนัก ลงทุนในประเทศ)

การลงทุนบางประเภทถูกสงวนสิทธิ์ในการลงทุน เนื่ องจากเหตุ ผ ลความมั่ น คงของชาติ ความสงบ เรี ย บร้ อ ยของสั ง คมและเพื่ อ ผลประโยชน์ ท าง เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งข้อห้ามนี้บังคับใช้ กับนั ก ลงทุ นต่ างชาติ และนั กลงทุ นในประเทศอย่ างเท่ า เทียมกัน ได้แก่  

 

การผลิตและแปรรูปสารออกฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาท และสารเสพติด การผลิ ตสารเคมี ที่มี พิ ษ ยาฆ่าแมลง และ สินค้าที่ต้องใช้สารเคมีภัณฑ์ในการผลิตซึ่ง กฎหมายระหว่ า งประเทศหรื อ องค์ ก าร การค้าโลกไม่อนุญาตเนื่องจากมีผลกระทบ ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การแปรรูปและการผลิตพลังงานไฟฟ้าโดย การใช้สิ่งปฏิกูลนาเข้าจากต่างประเทศ ธุรกิจที่เกี่ยวกับป่าไม้ซึ่งห้ ามโดยกฎหมาย ป่าไม้

Page | 9


ประเภทกิจการที่ห้ามลงทุนและประเภทกิจการที่มีเงื่อนไขในการลงทุน ประเภทกิจการ 1. อุตสาหกรรมที่ห้ามลงทุนทั้งชาวกัมพูชาและชาวต่างชาติ การผลิตและกระบวนการผลิตที่เกีย่ วข้องกับวัฒนธรรม อุตสาหกรรมการผลิตไม้เลื่อยไม้อดั ผลิตภัณฑ์จากไม้ใน ท้องถิ่น การผลิตสารเคมีอันตรายต่อสุขภาพชุมชนและมีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม การผลิตสารเคมีอันตรายหรือการใช้ประโยชน์จากสารเคมีที่มี อันตราย การผลิตและกระบวนการผลิตสารเสพติด การผลิตอาวุธและอาวุธยุทธภัณฑ์ การผลิตประทัดและดอกไม้เพลิง การผลิตที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและการป้องกันประเทศ

ข้อจากัดและเงื่อนไข

ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ไม่มีการอนุญาตเพิ่ม ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงที่ เกี่ยวข้อง ไม่ได้รับอนุญาตตามความตกลงในสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ไม่อนุญาต ตามนโยบายป้องกันประเทศ รายการที่ต้องควบคุม ตามนโยบายการป้องกันประเทศ

2. อุตสาหกรรมที่เปิดให้นักลงทุนต่างชาติโดยมีเงื่อนไข การผลิตบุหรี่ / ยาสูบ การผลิตแอลกอฮอล์ การผลิตภาพยนตร์ การผลิตอิฐที่ทาจากดินเหนียวกระเบื้อง และโรงสีข้าว การผลิตงานแกะสลักที่ทาจากไม้และหิน การทอผ้าไหม สิ่งพิมพ์และการเผยแพร่

เพื่อส่งออกเท่านั้น ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการร่วมทุนกับชาวกัมพูชา ต้องมีการร่วมทุนกับชาวกัมพูชา ต้องมีการร่วมทุนกับชาวกัมพูชา ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงวัฒนธรรมและศิลปกรรมและ กระทรวงข่าวสาร การผลิ ต เทปสิ่ ง พิ ม พ์ อื่ น ๆการพิ ม พ์ แ ละกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ ง นักลงทุนต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 กิจการด้านวิทยุและโทรทัศน์ ที่มา : คู่มือการค้าและการลงทุนราชอาณาจักรกัมพูชา (2554) และปรับปรุงจากกฤษฎีกาย่อย เลขที่ 111 ANK/BK ลงวันที่ 27 กั น ยายน 2005 ว่ า ด้ ว ยการบั งคั บ ใช้ ก ารแก้ ไขกฎหมายการลงทุ น แห่ งราชอาณาจัก รกั มพู ชา (Sub-Decree No.111 ANK/BK on the Implementation of the Kingdom of Cambodia) และรายการต้องห้าม (Negative List, Article 6.1) อ้างถึงในคู่มือการประกอบธุรกิจ ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)

Page | 10


ประเภทกิจการในภาคเกษตรกรรม ประมง ป่าไม้และเหมืองแร่ที่ห้ามต่างชาติลงทุน ประเภทกิจการ

ข้อจากัดและเงื่อนไข

1. ปฐพีศาสตร์ พืชพื้นเมือง เช่น ยาสมุนไพรและพืชอื่นๆ ทรัพยากรพันธุกรรมธัญพืช พืชที่มีผล พืชอุตสาหกรรมและ อุตสาหกรรมแปรรูปที่เกีย่ วข้อง

สงวนไว้ให้กับเกษตรกรชาวกัมพูชา ต้องเป็นหุ้นส่วนกับสมาคมเกษตรท้องถิ่นและ สนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

2. ปศุสัตว์ ห้ามเลี้ยงสัตว์พันธุ์พื้นเมือง เช่น ไก่ โค กระบือ เป็ด เป็นต้น ภาคปศุสตั ว์ที่เปิดให้นักลงทุนต่างชาติโดยมีข้อจากัด ได้แก่ การ เลี้ยงไก่กระทง ไก่ไข่ โคเนื้อโคนม แกะ แพะ หมู เป็ด และม้า

สงวนไว้ให้กับเกษตรกรชาวกัมพูชา ต้องเป็นหุ้นส่วนกับกิจการขนาดเล็กของชาว กัมพูชา

3. ป่าไม้ ผลิตภัณฑ์จากป่า สัตว์วิทยา และป่าไม้สาหรับอุตสาหกรรม

ตามนโยบายป่าไม้แห่งชาติ

4. ประมง การจับปลาน้าจืด ปลาเหลือง ปลาดุกยักษ์ จระเข้และปลายีส่ ก

สงวนไว้ให้กับกิจการขนาดเล็กของชาวกัมพูชา

5. เหมืองแร่ แร่กัมมันตภาพรังสี การทาเหมืองแร่ขนาดเล็ก

ตามนโยบายความมั่นคงของประเทศ สงวนไว้ให้กับชาวกัมพูชา

ที่มา : คู่มือการค้าและการลงทุนราชอาณาจักรกัมพูชา (2554) และปรับปรุงจากกฤษฎีกาย่อย เลขที่ 111 ANK/BK ลงวันที่ 27 กั น ยายน 2548 ว่ า ด้ ว ยการบังคั บ ใช้ ก ารแก้ไ ขกฎหมายการลงทุ น แห่งราชอาณาจัก รกัม พู ชา (Sub-Decree No.111 ANK/BK on the Implementation of the Kingdom of Cambodia) และรายการต้องห้าม (Negative List, Article 6.1) อ้างถึงในคู่มือการประกอบธุรกิจ ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)

Page | 11


3) กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน รั ฐ บาลกัมพูช าสนั บ สนุ น การลงทุน ในธุรกิจเพื่อก่อให้ เกิดการจ้างงานและสร้างรายได้แก่ประชากรใน ประเทศ รวมไปถึงความเจริญทางเศรษฐกิจที่จะทาให้ประชากรมีความสามารถกินดีอยู่ดีได้ ทั้งนี้รัฐบาลให้สิทธิ พิเศษในการลงทุนหลายด้านสาหรับนักลงทุนที่เข้ามาลงทุนในกัมพูชา กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนมี ดังต่อไปนี้       

เกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร ระบบสาธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐานและ โทรคมนาคม พลังงานและไฟฟ้า อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ แ รงงานเป็ น หลั ก และ อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เหมืองแร่

โครงการลงทุนที่ได้รับอนุญาตจาก The Council for the Development of Cambodia

(CDC) หรือจากหน่วยงาน Provincial-Municipal Investment Sub-Committee (PMIS) เท่านั้นจึง จะมีสิทธิได้รับประโยชน์จากกฎหมายการ ลงทุน (Law on the Investment of the Kingdom of Cambodia) โดยนักลงทุนที่มีทุนจด ทะเบียนมากกว่า 2,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ สามารถยื่นคาขออนุญาตลงทุนได้ที่ CDC ส่วน นักลงทุนที่มีทุนจดทะเบียนน้อยกว่า 2,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ จะต้องยื่นคาขออนุญาตลงทุนต่อ Cambodian Investment Board (CIB) ซึ่งเป็น องค์กรหนึ่งของ CDC หรือยื่นคาขออนุญาตลงทุน ต่อ PMIS โดยมีขั้นตอนในการขอเช่นเดียวกัน สาหรับกิจการที่ได้รับสิทธิประโยชน์มีดังต่อไปนี้

Page | 12


กิจการที่ได้รับสิทธิประโยชน์และเกณฑ์การพิจารณา กิจการที่สามารถขอรับการส่งเสริม กิจการภาคเกษตรกรรม

กิ จ การที่ ว งเงิ น ลงทุ น ไม่ น้ อ ยกว่ า 500,000 ดอลลาร์สหรัฐ กิจการที่วงเงินลงทุนไม่น้อยกว่า 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ

กิจการที่ไม่กาหนดวงเงิน

-

Page | 13 เกณฑ์การพิจารณา การเพาะปลูกที่มีพื้นที่มากกว่า 50 500 และ 1,000 เฮกตาร์ ขึ้นไป ปศุสัตว์ จานวน 100 1,000 และ 10,000 ตัว ขึ้นไป ประมงสาหรับเพาะพันธุ์ 10 เฮกตาร์ขึ้นไป อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์ที่ต่อเนื่อง ยาง และพลาสติก หนังสัตว์และผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ สิ่งทอ เฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ กระดาษและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ ยานพาหนะและอุปกรณ์ การก่อสร้าง ถนน สะพาน โรงแรมระดับ 3 ดาวขึ้นไป สถานพยาบาล โรงเรียน ศูนย์ฝึกอบรม สิ่งอานวยความสะดวกต่อการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม สารวจ และกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานทางสื่อสารโทรคมนาคม

ที่มา : ASEAN Investment Area (2012) อ้างถึงในคู่มือการประกอบธุรกิจ ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (2556)


การขอรับการส่งเสริมการลงทุน3 (1) ขั้นตอนการจดทะเบียนเป็นผู้ลงทุน นั กลงทุน ที่ป ระสงค์จ ะขอรั บ การส่ งเสริมการ ลงทุ น ในกั ม พู ช า จะต้ อ งจดทะเบี ย นเป็ น ผู้ ล งทุน พร้ อ มเสนอรายละเอี ย ดโครงการที่ จ ะลงทุ น กั บ The Council for the Development of Cambodia (CDC) หากต้องการลงทุน มากกว่า 1 โครงการ จะต้ อ งแยกเสนอโครงการ เมื่ อ เสนอ โครงการแล้ว CDC จะมอบหนังสือรับรองการจด ท ะ เ บี ย น แ บ บ มี เ งื่ อ น ไ ข (Conditional Registration Certificate) ให้ กั บ ผู้ ข อลงทะเบี ย น ภายใน 3 วันทาการ หลังยื่นเอกสารขอจดทะเบียน ซึ่งก่อนการออกใบรับรองนี้ CDC จะต้องดาเนินการ ในรายละเอี ย ดต่ า งๆ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง เอกสาร ใบรับรอง ใบอนุญาต และเอกสารจากหน่ว ยงาน ของรัฐที่เกี่ยวข้องต่างๆ ในกรณี ที่ ข้ อ เสนอหรื อ เอกสารประกอบไม่ สมบูรณ์ CDC ต้องชี้แจงรายละเอียดขั้นตอนต่างๆ ให้กับผู้ขออย่างชัดเจน เพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง จากนั้น CDC จะออกใบรับรองการจดทะเบียนขั้นสุ ด ท้าย (Final Registration Certificate) ให้ กั บ ผู้ ล งทุ น ภายในเวลา 28 วัน หลังการออกหนังสือรับรองการ

3

จดทะเบียนแบบมีเงื่ อนไข ทั้งนี้ห ากผ่ านขั้ น ตอน การพิ จ ารณาเห็ น ชอบจากหน่ ว ยงานราชการที่ เกี่ยวข้องในการอนุญาตและออกใบอนุญาตต่างๆ แล้ว แต่ CDC ไม่ตอบกลับภายใน 3 วันทาการให้ ถือว่า CDC เห็นชอบโดยอัตโนมัติ (2) เอกสารประกอบการยื่ น ขอรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุน    

ค าขอพร้ อ มเอกสารเกี่ ย วกั บ ผู้ ข อ รวมทั้งหนังสือมอบอานาจ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ โครงการที่ จ ะ ขอรับการส่งเสริม เอกสารเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การ องค์กรที่จะจัดตั้งรวมทั้งข้อบังคับ รายละเอียดการศึกษาความเป็นไปได้ ทางด้านวิชาการและเศรษฐกิจ รวมทั้ง ร่ า งกระบวนการผลิ ต ของโครงการ ประกอบด้ ว ยความสามารถทาง เทคนิค ความสามารถทางการตลาด ทรัพยากรมนุษย์และการจัดการ และ ฐานะการเงิน

คู่มือการประกอบธุรกิจ ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)

Page | 14


(3) ค่าธรรมเนียม ผู้ขอรับการส่งเสริมการลงทุนมีภาระค่าธรรมเนียมเมื่อยื่นคาขอและภายหลังคาขอได้รับความเห็นชอบดังนี้ มูลค่าโครงการ โครงการลงทุนไม่เกิน 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ โครงการลงทุนมากกว่า 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ

ค่าธรรมเนียม -

ค่าธรรมเนียมคาขอ 100 ดอลลาร์สหรัฐ ค่าธรรมเนียมการส่งเสริม 500 ดอลลาร์สหรัฐ ค่าธรรมเนียมคาขอ 200 ดอลลาร์สหรัฐ ค่าธรรมเนียมการส่งเสริม 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ

(4) เงินประกัน ในกรณีที่โครงการได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผู้ขอต้องฝากเงินเพื่อประกันการดาเนินโครงการในบัญชีของ CDC ณ ธนาคารชาติกัมพูชาในอัตราดังนี้ มูลค่าเงินทุนของโครงการ ไม่เกิน 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ 1,000,001 - 10,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ 10,000,001 - 20,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ 20,000,001 - 30,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ 30,000,001 - 40,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ มากกว่า 40,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ

เงินประกัน ร้อยละ 2.0 ร้อยละ 1.9 ร้อยละ 1.8 ร้อยละ 1.7 ร้อยละ 1.6 ร้อยละ 1.5

หมายเหตุ : เงินประกันดังกล่าวจะคืนให้เมื่อมีการลงทุนไปแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของโครงการ

(5) การเพิกถอนการส่งเสริม การเพิ ก ถอนหรื อ ยกเลิ ก ใบรั บ รองการจด ท ะ เ บี ย น ขั้ น สุ ด ท้ า ย ( Final Registration Certificate) ใบรั บ รองจะถูกเพิกถอนหรื อยกเลิ ก หากพบว่า ผู้ลงทุนได้มาซึ่งใบรับรองอย่างไม่ถูกต้อง หรือผู้ลงทุนไม่ดาเนินการใดๆ ในเวลา 6 เดือน นับ จากวั น ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ล งทุ น ยกเว้ น โครงการ ลงทุ น นั้ น ๆ เป็ น โครงการที่ ไ ด้ รั บ สั ม ปทานจาก ภาครัฐซึ่งจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกาหนด อื่นๆ CDC จะแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบเป็นลายลักษณ์

อักษรถึงการเพิกถอนหรือการยกเลิกใบรับรอง และ ผู้ ล ง ทุ น ส า ม า ร ถ ยื่ น อุ ท ธ ร ณ์ กั บ ป ร ะ ธ า น คณะกรรมการ CDC ภายใน 20 วัน หลังจากได้รับ หนังสือดังกล่าว อย่างไรก็ตาม CDC สงวนสิทธิที่จะเพิกถอนการ ให้การส่งเสริมเฉพาะส่วนหรือทั้งหมด หากผู้ลงทุน ไม่สามารถปฏิบัติตามกรณีหนึ่งกรณีใดหรือมากกว่า ดังนี้

Page | 15


โครงการไม่ได้ดาเนินการตามตารางเวลาที่ ร ะ บุ ใ น ค า ข อ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ไ ม่ มี ก า ร ด าเนิ น การใดๆ ในระยะเวลา 6 เดื อ น นับตั้งแต่ได้รับการส่งเสริม ในกรณีนี้เงิน ประกัน จะถูกยึดเป็นของรัฐโดยอัตโนมัติ ไม่ ส ามารถระดมทุ น ได้ ถึ ง ร้ อ ยละ 25 ภ ายใน 30 วั น นั บ จากได้ รั บ คว าม เห็นชอบ

ไม่สามารถระดมทุน ได้ครบภายใน 3 ปี หลังจากจัดตั้งองค์กรการเปลี่ยนแปลงชื่อ ที่ อ ยู่ ผู้ ร่ ว ม ทุ น ห รื อ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง โครงสร้ า งของกิ จ การ ( Acquired or merged) รวมทั้ ง เปลี่ ย นแปลงกิ จ กรรม ( investment activities) โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ รั บ ความเห็นชอบจาก CDC หรือหน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้องก่อน

(6) เงื่อนไขการรายงานข้อมูลต่อ CDC การรายงานข้อมูลต่อ CDC มีเงื่อนไขด้งนี้  ผู้ลงทุนจะต้องรายงานข้อมูลการเสียภาษี พร้อมแนบใบรับรองสิทธิประโยชน์ให้กับ กรมสรรพากรเป็นรายเดือนและรายปี  ผู้ ล งทุ น ต้ อ งส่ ง มอบเอกสารการน าเข้ า สิ น ค้ า ให้ กั บ CDC และกรมสรรพากร ภายใน 30 วัน หลังเสร็จสิ้นกระบวนการ ศุลกากร

ผู้ลงทุนจะต้องส่งมอบรายงานงบการเงิน ประจาปีให้ กับกรรมสรรพากรก่อนวันที่ 31 มีนาคมของปีงบประมาณถัดไปทุกปี ผู้ ล งทุนจะต้องรายงานผลการผลิ ต การ นาเข้า และการส่งออกให้กรมสรรพากร ทราบทุกๆ ไตรมาส

Page | 16


จากรายละเอียดข้างต้นสามารถสรุปเป็นขั้นตอนการอนุมัติการลงทุนได้ดังนี้

ขั้นตอนการอนุมัติการลงทุนในกัมพูชา

Page | 17


4) กิจการที่ไม่มีสิทธิขอรับการส่งเสริมการลงทุน กิจการที่นักลงทุนต่างชาติสามารถลงทุนได้ใน กัมพูชา แต่ไม่มีสิทธิ์ขอรับการส่งเสริมการลงทุน มี ดังนี้ 

 

กิจกรรมในเชิงพาณิชย์ การนาเข้า ส่งออก ขายส่ง ขายปลีก และการจาหน่ายสินค้า ปลอดภาษี การให้ บ ริ การการขนส่ ง ทางน้ า ทางบก และทางอากาศ ยกเว้นการลงทุนในภาค การขนส่งทางรถไฟ ร้ านอาหาร คาราโอเกะ กิจ การนวด ฟิต เนส สถานบั น เทิ ง ไนต์ ค ลั บ หรื อ บาร์ ที่ มิได้อยู่ภายในโรงแรมมาตรฐานสากล หรือ อยู่ภายในโรงแรมแต่เป็นการให้เช่าแก่นัก ลงทุ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ Qualified Investment Project (QIP) เป็นผู้ประกอบการ การให้ บ ริ ก าร การท่ อ งเที่ ย ว ให้ บ ริ ก าร ข้อมูล เป็นตัวแทน หรือโฆษณา ธุ ร กิ จ คาสิ โ น หรื อ การพนั น และการ ให้บริการที่เกี่ยวข้อง

 

 

การให้บริการทางการเงิน รวมทั้งธนาคาร สถาบั น ทางการเงิ น บริ ษั ท ประกั น และ ธุรกิจทุกประเภทที่มีลักษณะเป็นตัวกลาง ทางการเงิน กิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ละสื่ อ รวมทั้ งวิทยุ โ ท ร ทั ศ น์ นิ ต ย ส า ร ภ า พ ย น ต ร์ โ ร ง ภาพยนตร์ สตูดิโอ และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ผลิ ต อาหารหรื อ เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี ทุ น จด ทะเบียนต่ากว่า 500,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผลิตสิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า หมวก ที่มีทุน จดทะเบี ย นต่ ากว่ า 500,000 ดอลลาร์ สหรัฐ โรงแรมที่มีมาตรฐานต่ากว่า 3 ดาว โรมแรม รีสอร์ท สวนสนุก สวนสัตว์ หรือ สถานที่ เ ล่ น กี ฬ ามี ข นาดน้ อ ยกว่ า 50 เฮกตาร์ ผลิตสินค้าเครื่องหนัง ที่มีทุนจดทะเบี ยน ต่ากว่า 300,000 ดอลลาร์สหรัฐ

Page | 18


3.6

สิทธิประโยชน์ของนักลงทุนต่างชาติ

สิ ทธิป ระโยชน์ ในการลงทุน เป็ น สิ ทธิ พิ เ ศษที่ รัฐบาลมอบให้กับโครงการลงทุนต่างๆ ที่ผ่านความ เห็ น ชอบจาก CDC หรื อ PMIS ขึ้น อยู่ กับ รู ปแบบ โครงการลงทุนนั้นๆ ซึ่งสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับมี ดังต่อไปนี้ 

สิทธิเลือกระหว่างได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ จากกาไร หรือค่าเสื่อมราคาในอัตราเร่ง กรณี ที่บ ริ ษัทเลื อกค่าเสื่ อมราคาในอั ตราเร่ ง จะมี การคิดค่าเสื่อมราคาในอัตราร้ อยละ 40 ของ ราคาทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุร กิจ ในปี แรกของการซื้อ หรือหลังจากปีแรกที่สินทรัพย์ ถูกใช้ กรณีที่บริษัทเลือกการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลก็อาจจะได้รับการยกเว้นภาษีได้สูงสุด ถึง 9 ปี ทั้งนี้ ขึ้น อยู่ กับ ประเภทของโครงการ และขนาดของจานวนเงินที่ใช้ในการลงทุน

การยกเว้นอากรขาเข้า โครงการลงทุนผลิต เพื่อการส่งออก หรือโครงการผลิตที่เป็นไปเพื่อ สนับสนุนธุรกิจส่งออก จะได้รับยกเว้นอากรขา เข้าเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต วัสดุก่อสร้างและ วัตถุดิ บ ในการผลิ ต ส่ ว นโครงการลงทุน ผลิ ต

4

Trigger Period คื อ ระยะเวลาที่ได้ รับยกเว้นภาษีโดย Trigger Period สูงสุดจะเริ่มนับจากปีแรกที่กิจการเริ่มมี กาไร หรือ 3 ปี หลังจากที่กิจการเริ่มมีรายได้เป็นครั้งแรก ขึ้นกับช่วงเวลาใดจะถึงก่อน 5 Priority Period คือ ระยะเวลาการจัดลาดับความสาคัญ ซึ่ งจะก าหนดไว้ ใ น Financial Management Law เป็ น กฎหมายงบประมาณประจาปีของกัมพูชา ซึ่งจะกาหนด ช่ ว งเวลาการให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ โ ครงการลงทุ น แต่ ล ะ ประเภทต่างกัน

เพื่อใช้ในประเทศจะได้รับยกเว้นอากรขาเข้า เฉพาะเครื่องจักรและวัสดุก่อสร้างเท่านั้น 

การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ จ ากก าไร ( Tax holiday) โครงการใดที่เลือกรับสิทธิประโยชน์ ด้านนี้จะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ในช่วงแรก ของการลงทุน โดยระยะเวลาที่ยกเว้นสามารถ ค านวณจาก Trigger Period4 (ปี ) + 3 ปี + Priority Period5 ปี ( Trigger period สู ง สุ ด ได้ แ ก่ ปี แ รกที่ มี ก าไร หรื อ 3 ปี ห ลั ง จากที่ โครงการมีรายรับ แล้ ว แต่เวลาใดจะถึงก่อน) อย่างไรก็ตามหลังจากสิ้นสุ ดช่ว งเวลาที่ ไ ด้รับ สิทธิประโยชน์ทางภาษีแล้ว นักลงทุนต้องเสีย ภาษีในอัตราร้อยละ 20 สาหรับโครงการลงทุน ทั่ว ไป และร้อยละ 30 ส าหรับโครงการผลิ ต น้ ามั น และก๊ า ซธรรมชาติ รวมทั้ ง การส ารวจ ทรั พ ยากรธรรมชาติ เช่ น ป่ า ไม้ ทองค า และอั ญ มณี มี ค่ า ฯลฯ ตามที่ ก ฎหมายของ กัมพูชากาหนด

การยกเว้น ภาษีส่งออก 6ทั้งหมด การยกเว้น ภาษี ส่ ง ออกทั้ ง หมดยกเว้ น ในกรณี ก ฎหมาย กาหนดประเภทของกิจการไว้ต่างหาก

6

รัฐบาลกัมพูชาเรียกเก็บภาษีส่งออกสินค้า 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ยางพารา เรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 ร้อยละ 2 ร้อยละ 5 และร้อยละ 10 (ขึ้นอยู่ กับระดับและลักษณะ ของการแปรรูป) 2) ไม้แปรรูป เรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 ร้อยละ 5 ร้อยละ 10 และร้อยละ 15 (ขึ้นอยู่กับระดับและลักษณะ ของการแปรรูป)

Page | 19


สิทธิประโยชน์เรื่องที่ดิน สัญญาเช่าที่ดินระยะ ยาวจะไม่มีข้อจากัดด้านระยะเวลาในการเช่า และหากเป็ น สั ญญาเช่าที่ดินระยะสั้ น ที่มีการ กาหนดเวลาในการเช่าไว้สามารถต่ออายุใหม่ได้ นอกจากนี้ ก ฎหมายการลงทุ น ฉบั บ ใหม่ ยั ง อนุ ญ าตให้ นั ก ลงทุ น สามารถน าที่ ดิ น ไปเป็ น หลักประกัน ในการจดจ านองรวมทั้งสามารถ โอนสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์และทรัพย์สินส่วน บุคคลที่ปลูกสร้างบนที่ดินแปลงดังกล่าวได้อีก ด้ว ยแต่ต้องไม่เกิ น ก าหนดเวลาในสั ญญาเช่ า ที่ดิน การได้ รั บการปฏิบัติ อ ย่ า งเท่า เที ย มกั น จาก หน่ ว ยงานของรั ฐ กั บ ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ชาว กัมพูชา การได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน จากหน่วยงานของรัฐกับผู้ประกอบธุรกิจชาว กัมพูชา เช่น หลักประกันและการคุ้มครองการ

3) ปลาและสินค้าจากทะเลเรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 และร้อยละ 10 (ขึ้นอยู่กับระดับและลักษณะของการ แปรรูป)

ลงทุ น รั ฐ บาลกั ม พู ช าไม่ มี ก ารควบคุ ม ราคา สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารของโครงการที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน และจะไม่ยึดกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมมาเป็นของรัฐ รวมไปถึงนักลงทุน สามารถซื้ อ และส่ ง ออกเงิ น ตราต่ า งประเทศ เพื่อชาระสินค้า เงินต้น ดอกเบี้ย ค่าใช้สิทธิ ค่า จั ด การ รวมทั้ ง ส่ ง ออกก าไรหรื อ เงิน ทุ นกลั บ ประเทศได้ ทั้ ง ระหว่ า งและภายหลั ง เลิ ก โครงการ 

สิทธิ จ้า งแรงงานต่า งชาติ นักลงทุนสามารถ จ้างแรงงานต่างชาติได้ แต่มีเงื่อนไขว่าต้องเป็น แรงงานต่ า งชาติ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ และความ เชี่ยวชาญสาหรับตาแหน่งงานที่คนกัมพูชาไม่ สามารถทาได้ ทั้งนี้ต้องมีการขอใบอนุญาตเข้า เมื อ งประเภทท างาน และต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม เงื่ อ นไขต่ า งๆ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยแรงงาน และการเข้าเมืองกาหนดไว้

4) แร่ รั ต นชาติ และหิ น มี ค่ า ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เ จี ย ระไน เรียกเก็บอัตราร้อยละ 0 และร้อยละ 10 (ขึ้นอยู่กับระดับ และลักษณะของการแปรรูป) (ที่มา:www.dfdl.com)

Page | 20


3.7

สิทธิประโยชน์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

คณะกรรมการเขตเศรษฐกิจพิเศษของกัมพูชา (Cambodian Special Economic Zone Board: CSEZB) ถูกจัดตั้งขึ้นมาเพื่อบริหารจัดการโครงการ ใน เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ( Special Economic Zone: SEZ) รั ฐ บ า ล กั ม พู ช า ไ ด้ มี ก า ร อ อ ก “กฤษฎีกาย่อยฉบับที่ 148 ว่าด้วยเรื่องการจัดตั้ง และการจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กฤษฎีกาย่อย

เขตเศรษฐกิจพิเศษ) เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 2005 เพือ่ ใช้ควบคุมโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษ สิทธิพิเศษสาหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ สิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่จะได้รับจากการลงทุน ประกอบกิจการในเขตเศรษฐกิจพิเศษมีดังต่อไปนี้ 

1) ผู้ พั ฒ น า เ ข ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ (Zone Developer) นั ก ลงทุ น ที่ เ ป็ น ผู้ พั ฒ นาเขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษจะได้ รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษในการ ลงทุนดังนี้  มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ จ าก กาไรไม่เกิน 9 ปี  ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีอื่นๆ สาหรับอุปกรณ์และวัสดุก่อสร้างเพื่อ ใช้ ใ นการก่ อ สร้ า งในเขตเศรษฐกิ จ พิเศษ  ได้รับยกเว้นภาษีศุลกากรสาหรั บการ นาเข้าเครื่องจักรเพื่อก่อสร้างสิ่งปลูก สร้าง ถนน และโครงสร้างพื้นฐานใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ 2) นั ก ลงทุ น ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ (Zone Investor)

ได้ รั บ การยกเว้ น ภาษี ศุ ล กากรและ ภาษีอื่นๆ เช่นเดียวกับโครงการลงทุน ป ร ะ เ ภ ท Qualified Investment Project (QIP) ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (VAT) เฉพาะวั ต ถุ ดิ บ ที่ น าไปผลิ ต เพื่ อ การ ส่ งออกเท่านั้น หากเป็นวัตถุดิบเพื่อ ผลิตสินค้าที่จาหน่ายภายในประเทศ จะไม่ได้รับการยกเว้น

3) ผู้พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ นักลงทุนในเขต เศรษฐกิจพิเศษ หรือลูกจ้างชาวต่างชาติ   

มีสิทธิโอนรายได้หลังจากหักภาษีแล้ว ไปยังธนาคารที่อยู่ในต่างประเทศได้ ได้รับการปฏิบัติโดยเท่าเทียมกัน ไม่ แบ่งแยกเชื้อชาติ มีการรับประกันการลงทุนแก่ผู้พัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษ

Page | 21


ขั้นตอนการขออนุมัติการยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่เป็นอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือวัตถุที่ใช้ในการผลิตใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ (1) ผู้ ข อยื่ น ค าขอต่ อ ฝ่ า ยบริ ห ารของเขต เศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone Administration : SEZB) ที่โครงการการลงทุนนั้น ตั้งอยู่เพื่ออนุมัติ สิทธิประโยชน์การส่งเสริมการลงทุน (2) ฝ่ า ยบริ ห ารของเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษส่ ง รายงานผลการอนุมัติหรือไม่อนุมัติให้ แก่ CSEZB (3) สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ที่ อ นุ มั ติ แ ก่ โ ครงการการ ลงทุ น นั้ น จะต้ อ งระบุ ไ ว้ โ ดยชั ด เจนใน หนั ง สื อ รั บ รองการจดทะเบี ย น (Final Registration Certificate: FRC)

ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ) นั ก ลงทุ น ที่ ม าประกอบธุร กิ จในเขต เศรษฐกิจพิเศษ ได้นั้นจะต้องดาเนิน การขอออก ใบอนุญาตจากฝ่ายบริหารของ Special Economic Zone เสียก่อน โดยยื่นข้อเสนอการลงทุนพร้อมกับ เอกสารที่ ฝ่ า ยบริห าร Special Economic Zone ก าหนดไว้ แล้ ว ฝ่ า ยบริ ห าร Special Economic Zone จะดาเนินการพิจารณาคาขอบนพื้นฐานของ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การบริหารจัดการ และทาง เทคนิ ค เพื่ อ ออกหนั ง สื อ รั บ รองการจดทะเบี ย น Final Registration Certificate

Page | 22


3.8

กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน7

1) กฎหมายแรงงาน การจ้างงานในกัมพูชาอยู่ภายใต้การกากับดูแล ของกฎหมายแรงงาน ปี 1997 บั ง คั บ ใช้ โ ดย Ministry of Social Affairs, Labor, Vocational Training and Youth Rehabilitation (MOSAL VY) กฎหมายฉบั บ นี้ ป รั บ ปรุ ง มาจากฉบั บ ปี ค.ศ. 1992 โดยเน้ น สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นอ านาจ ต่อรองให้ กับ สหภาพแรงงาน ทั้งนี้ เพื่อให้ เป็นไป ตามมาตรฐานสากลและหลั ก ปฏิบั ติอ ย่ างชาติที่ ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most favored Nation: MFN) นายจ้างต้องจดทะเบียนการจ้ างแรงงานกับ MOSALVY ภายใน 30 วัน นับแต่ประกอบกิจการ และต้องรายงานทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ ชาวต่างชาติที่เข้ามาทางานในกัม พูช าต้ องได้ รั บ ใบอนุ ญ าตให้ ท างาน (Work permit) ส่ ว นชาว กัมพูชาต้องมีสมุดคู่มือการจ้างงาน ซึ่งจดทะเบียน กับ MOSALVY

7

กั ม พู ช ามี ก ารก าหนดข้ อ จ ากั ด ในการจ้ า ง แรงงานที่เป็นต่างชาติ แต่เนื่องจากกัมพูชามีความ ต้องการแรงงานที่มีทักษะและประสบการณ์จาก ต่างประเทศเป็นจานวนมาก กฎหมายแรงงานของ กัมพูชาจึงค่อนข้างอนุโลมในทางปฏิบัติ พันธกิจในการรายงาน ตามกฎหมายแรงงานบริษัทจะต้องทาหนังสื อ แจ้งกระทรวงฯ ทุกครั้งที่มีการจ้างหรือไล่พนักงาน ออก รวมทั้งในกรณีห ยุดดาเนินการธุรกิจ ซึ่งทุก บริษัทจะต้องมีหนังสือการเปลี่ยนแปลงการจ้างงาน หนั ง สื อ รายงานพนั ก งาน และหนั ง สื อ การจั ด ตั้ ง บริษัท โดยรูปแบบรายละเอียดของหนังสือจะอยู่ ใน กฎหมายแรงงานซึ่งผู้ตรวจสอบการจ้างงานที่ได้รับ การแต่ ง ตั้ ง จากกระทรวงจะเป็ น คนลงนามการ ตรวจสอบในหนังสือดังกล่าวทุกครั้ง บริษัทใดที่มี การจ้างงานมากกว่า 8 คนขึ้นไปจะต้องมีข้อกาหนด และระเบียบปฏิบัติภายในให้กับแรงงานเหล่านั้นได้ รับทราบและถือปฏิบัติ ซึ่งข้อกาหนดนี้จะต้องได้รับ ความเห็ น ชอบจากผู้ ต รวจสอบการจ้ า งงานของ กระทรวงฯ

1) คู่มือการค้าและการลงทุนกลุม่ ประเทศ CLMV ฝ่าย AEC และกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ (2554) อ้างถึงในคู่มือ การประกอบธุรกิจ ราชอาณาจักรกัมพูชา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556) 2) คู่มือการลงทุนและประกอบธุรกิจในประเทศกัมพูชา ศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Business Support Center) (2557)

Page | 23


บทบัญญัติที่สาคัญภายใต้กฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงานปี 1997 ให้ความคุ้มครองสิทธิของแรงงานอย่างครอบคลุมและส่งเสริมให้มีสภาพการ ทางานที่ดี โดยกฎระเบียบที่สาคัญของกฎหมายฉบับนี้คือ 

การบังคับใช้แรงงาน การบังคับใช้แรงงานเป็น สิ่งต้องห้ามอย่างเด็ดขาด (มาตรา 15)

ก า ร ป ร ะ ก า ศ แ จ้ ง เ ปิ ด แ ล ะ ปิ ด ส ถ า น ประกอบการ นายจ้ า งทุ ก คนที่ อ ยู่ ภ ายใต้ กฎหมายฉบับนี้ จะต้องแจ้งให้กระทรวงที่ดู แล และรับผิดชอบเรื่องแรงงานทราบเมื่อมีการเปิด หรือจัดตั้งสถานประกอบการ โดยจะต้องมีการ ประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร (มาตรา 17)

การแจ้ งการเปลี่ยนแปลงบุคลากร นายจ้าง ทุกคนต้องแจ้งต่อกระทรวงแรงงานฯ ทุกครั้งที่ มีการจ้างหรือเลิกจ้างพนักงาน โดยจะต้องแจ้ง เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรภายใน 15 วั น นั บ จาก วันที่มีการจ้างหรือเลิกจ้าง (มาตรา 21)

กฎระเบี ย บภายใน นายจ้ า งที่ มี ก ารจ้ า งงาน ตั้งแต่ 8 คน จะต้องจัดทากฎระเบียบพนักงาน ภายในสถานประกอบการ (มาตรา 22)

แรงงานเด็ก อายุขั้นต่าของแรงงานเท่ากับ 15 ปี แต่สาหรับงานที่มีอันตรายต่อ สุขภาพ ความ ปลอดภั ย หรื อ ศี ล ธรรมของเยาวชน จะถู ก กาหนดไว้เท่ากับ 18 ปี (มาตรา 177)

การจ้างงาน นายจ้างสามารถคัดเลือกลูกจ้าง เข้าทางานได้โดยตรง แต่จะต้องปฏิบัติตาม ข้อกาหนดตามมาตรา 21 ของกฎหมายฉบับนี้ (มาตรา 285)

สัญญาจ้าง สัญญาจ้างแรงงานอยู่ภายใต้ กฎหมายทั่วไป สามารถกระทาได้โดยการตก ลงกันของบุคคลที่ทสัญญา ทั้งการตกลงทาง วาจา หรือเป็นลายลักษณ์อักษร (มาตรา 65) สัญญาจ้างแรงงงาน สาหรับช่วงระยะเวลา ที่เฉพาะเจาะจง จะต้องระบุระยะเวลาที่สิ้นสุด ให้ ชัดเจนและขยายระยะเวลาได้ไ ม่เกิน 2 ปี โดยสามารถต่ออายุกี่ครั้งก็ได้ ตราบใดที่การต่อ อายุนั้นไม่เกินระยะเวลาสูงสุด 2 ปี ที่กฎหมาย กาหนด การละเมิดกฎข้อนี้จะทาให้สัญญานั้น ก ล า ย เ ป็ น สั ญ ญ า จ้ า ง แ ร ง ง า น ที่ ไ ม่ ร ะ บุ ระยะเวลา (มาตรา 67)

การยกเลิ ก สั ญ ญาจ้ า งแรงงาน สั ญ ญาจ้ า ง แรงงานที่ ร ะบุ ร ะยะเวลา ตามปกติ แ ล้ ว จะ สิ้นสุดตามวันที่ระบุไว้ อย่างไรก็ตามสามารถ ยกเลิกสัญญาก่อนกาหนดได้ หากทั้งสองฝ่าย ทาการตกลงกันอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรต่อ หน้าผู้ตรวจแรงงาน และมีการลงนามของทั้ง สองฝ่าย ในกรณีที่ทั้งสองฝ่ายไม่ตกลง สัญญา นั้นจะถูกยกเลิกก่อนกาหนดได้ก็ต่อเมื่อมีการ กระท าผิ ด ที่ ร้ า ยแรง หรื อ มี เ หตุ ก ารณ์ ภั ย

Page | 24


การยกเลิ ก สั ญ ญาโดยนายจ้ า งเพี ย งฝ่ าย เดียว โดยไม่ได้แจ้งให้คู่สัญญาทราบล่ว งหน้า ก่อนนั้น มีข้อผูกพันที่จะต้องชดเชยค่าจ้างและ ผลประโยชน์ทุกอย่างแก่ลูกจ้าง เท่ากับที่เขา ควรจะได้ รั บ หากมี ก ารบอกเลิ ก สั ญ ญาอย่าง เป็นทางการ (มาตรา 77)

ธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ หากเป็นการ ยกเลิกสัญญาโดยนายจ้างเพียงฝ่ายเดียว ด้วย เหตุผลนอกเหนือจากที่กล่าวมา ลูกจ้างมีสิทธิ์ ได้รับค่าตอบแทนอย่างน้อยเท่ากับค่าตอบแทน ที่เขาควรจะได้รับเมื่อสิ้นสุดสัญญาตามกาหนด (มาตรา 73) สั ญ ญาจ้ า งแรงงานที่ ไ ม่ ร ะบุ ร ะยะเวลา สามารถยกเลิ ก ได้ โ ดยฝ่ า ยเดี ย ว (ภายใต้ ข้ อ ยกเว้ น บางประการ) โดยฝ่ า ยที่ มี ค วาม ประสงค์ จ ะยกเลิ ก สั ญ ญาจะต้ อ งแจ้ ง ต่ อ คู่สัญญาล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร (มาตรา 74)

ค่ า จ้ า งขั้ น ต่ า ในปั จ จุ บั น กั ม พู ช ายั ง ไม่ มี ก าร ก าหนดค่ า จ้ า งขั้ น ต่ าของแรงงาน ยกเว้ น ใน ภาคอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ เสื้ อ ผ้ า และรองเท้ า โดยแรงงานในโรงงานภาคอุ ต สาหกรรม เครื่องนุ่งห่มและรองเท้าตามที่กฎหมายกาหนด มีอัตราค่าจ้างขั้นต่า อยู่ที่ 140 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อเดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2559

2) กฎหมายที่ดิน กฎหมายที่ ดิ น ปี ค.ศ.2001 เป็ น กฎหมายที่ ป รั บ ปรุ ง เนื้ อ หาให้ เ หมาะสมกั บ การลงทุ น มากขึ้ น โดยมี รายละเอียดด้านสิทธิในการถือครองที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน การเช่า/สัมปทานที่ดินของรัฐ และการเช่าซื้อ เป็นต้น กฎหมายฉบับนี้บังคับใช้ร่วมกับกฎหมายที่ดิ นปี ค.ศ.1992 โดยมีคณะกรรมการที่ดินระดับท้องถิ่ นและ คณะกรรมการที่ ดิน ระดับ ประเทศเป็ น ผู้ รั บผิ ดชอบภายใต้ กฎหมายนี้ อย่างไรก็ตามกฎระเบียบข้ อ บั ง คั บ ตลอดจนรายละเอียดการแก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมอยู่ระหว่างการดาเนินการของกระทรวงการพัฒนาที่ดิน การผัง เมือง และการก่อสร้าง ซึ่งนักลงทุนจะต้องติดตามความคืบหน้าอยู่ตลอดเวลาเพื่อสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ควรได้ สิทธิในการใช้ และถือครองที่ดิน (1) โครงสร้างการลงทุนในที่ดิน  ผู้ ที่ มี สิ ท ธิ์ ใ นการถื อ ครองที่ ดิ น ในกั ม พู ช า หมายถึง ผู้ที่มีสัญชาติกัมพูชาและนิติบุคคลที่มี สิทธิเสมือนเป็นชาวกัมพูชาซึ่งได้แก่นิติบุคคลที่ มีชาวกัมพูชาถือหุ้นและมีสิทธิ์ในการออกเสียง ร้อยละ 51 ขึ้นไป

นักลงทุนต่างชาติไม่มีสิ ทธิ์ถื อครองที่ดิ น ตาม กฎหมายของกัมพูชา แต่สามารถทาสัญญาเช่า ที่ดินเพื่อการลงทุนระยะยาว โดยส่วนใหญ่นิยม เช่าที่ดินเพื่อการลงทุนในระยะยาว (15 ปีขึ้น ไป) ซึ่งเป็นการขอสัมปทานจากภาครัฐหรือการ เป็นผู้ครองสิทธิรายย่อย (ร้อยละ 49) กฎหมาย อนุญาตให้มีการซื้อขายหรือเช่าต่อสัญญาเช่า

Page | 25


นั้นๆ หรือใช้ค้าประกันการกู้ยืมเพื่อการลงทุน ซึ่งผู้เช่าสามารถสร้างสิ่งก่อสร้างในที่ดิ นนั้นๆ ได้ สาหรับเงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิในสิ่งก่อสร้าง ดั ง กล่ า วยั ง ไม่ มี ก ารก าหนดในกฎหมาย ณ ปั จ จุ บั น รั ฐ ไม่มีสิ ทธิยึ ดคื น ที่ ดิน ที่เช่ าเพื่ อ การ ลงทุนดังกล่าว ยกเว้นในกรณีที่ต้องใช้ที่ดินผืน นั้นเพื่อประโยชน์สาธารณะ แต่ต้องมีการจ่าย ค่าเวนคืนที่เหมาะสมและยุติธรรม (2) การถือครองที่ดิน นักลงทุนต่างชาติต้องศึกษา และท าความเข้ า ใจให้ ถี่ ถ้ ว นเกี่ ย วกั บ การถื อ ครองหรือความเป็นเจ้าของที่ดินก่อนการเช่า ทาธุรกิจ ซึ่งที่ดินบางที่อาจเปิดโอกาสให้มีการ ถือครองได้ร้อยละ100 ในขณะที่บางแห่งอาจ ให้ครอบครองเพื่อการทากินหรือใช้ประโยชน์ ชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งรัฐอาจยึดครองเมื่อใดก็ได้ ดังนั้ น การทาความเข้า ใจในเรื่ อ งสิ ทธิ ก ารถื อ ครองที่ดิน แปลงนั้น ๆ จึงเป็ น สิ่ งที่ควรทาเพื่อ รักษาผลประโยชน์ในการลงทุน (3) การปฏิรูปกฎหมายกรรมสิทธิ์ที่ดิน  

ก่อนปี 2518 ภายใต้การปกครองของเขมรแดง ที่ดินอยู่ภายใต้การถือครองของรัฐทั้งหมด ปี 2522 เป็นต้นมา หลังการล่มสลายของเขมร แดง ที่ ดิ น เป็ น ของรั ฐ แต่ อ นุ ญ าตให้ มี ก ารถื อ ครองเพื่ อ ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมและ ก่ อ สร้ า งที่ พั ก อาศั ย ได้ โดยรั ฐ บาลออกบั ต ร กรรมสิ ทธิ์ถือครองที่ดิน ให้ ผู้ อยู่ อาศัย ในที่ ดิ น นั้นๆ ปี 2532 เริ่มอนุญาตให้มีการร้องกรรมสิทธิ์ถือ ครองที่ดินส่วนบุคคลได้

(4) การเป็ น เจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น รั ฐ บาล กัมพูชารับรองสิทธิของแต่ล ะบุคคลในการใช้ ที่ดินโดยการออกใบรับรองการใช้ที่ดิน หรือที่ เรียกว่า Certificate of Land Use and Page | 26

Procession ซึ่ ง เที ย บเท่ า กั บ การมี ชื่ อ เป็ น เจ้ า ของที่ ดิ น และทรั พ ย์ สิ น ที่ อ ยู่ บ นที่ ดิ น ดังกล่ าว อย่างไรก็ตามแม้ว่าใบรับรองแสดง ความเป็นเจ้าของที่ออกอย่างเป็นทางการจะยัง มีใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่มีเจ้าของที่ดินน้อยรายที่ ได้รับใบรับรองดังกล่าว ดังนั้นนักลงทุนจึงควร ตรวจสอบก่อนเข้าไปลงทุนว่าเจ้าของที่ดิน มี เอกสารแสดงความเป็ นเจ้ า ของที่ยั ง ใช้ ไ ด้ อ ยู่ และได้ลงทะเบียนไว้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในกัมพูชาแล้ว สาหรับสิทธิประโยชน์ของนัก ลงทุนต่างชาติจะได้รับแบ่งเป็น  

หากเป็นสัญญาเช่าที่ดินระยะยาวจะไม่มี ข้อจากัดด้านระยะเวลาในการเช่า หากเป็นสั ญญาเช่าที่ดินระยะสั้ นที่มีการ กาหนดเวลาในการเช่าไว้สามารถต่ออายุ ใหม่ได้

นอกจากนี้ ก ฎหมายการลงทุ น ฉบั บ ใหม่ ยั ง อ นุ ญ า ต ใ ห้ นั ก ล ง ทุ น ส า ม า ร ถ ใ ช้ ที่ ดิ น เ ป็ น หลั กประกันในการจดจานองรวมทั้งสามารถโอน สิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์สินส่วนบุคคลที่ ปลูกสร้างบนที่ดินแปลงดังกล่าวได้อีกด้วย แต่ต้อง ไม่เกินกาหนดเวลาในสัญญาเช่าที่ดิน


(5) สถานการณ์ปัจจุบันของกรรมสิทธิ์ ถือ ครอง ที่ดิน หลังการประกาศใช้กฎหมายที่ดินปี ค.ศ. 2001 มีการออกเอกสารสิ ทธิในการถือ ครอง ที่ดิน เพิ่มขึ้ น ซึ่งนั กลงทุน สามารถตรวจสอบ เอกสารสิทธิกับกระทรวงการพัฒนาที่ดิน การ ผั งเมืองและการก่อสร้าง ก่อนตกลงเช่าที่ดิน แปลงนั้นๆ

(6) การใช้ที่ดินเป็นหลักทรัพย์ ในการค้าประกัน เงินกู้ ที่ดินที่สามารถใช้เป็นหลักทรัพย์ในการ ค้าประกันเงินกู้ ได้แก่ ที่ดินที่สามารถจานองได้ และมีโฉนดที่ดินตามกฎหมายเท่านั้น Page | 27

(7) การจานองหรือโอนถ่ายกรรมสิทธิ์ในการเช่า ที่ ดิ น แบบระยะยาว สามารถกระท าได้ โ ดย ระยะเวลาในการจานองหรือโอนถ่ายสิทธิ์นั้น ต้องไม่เกินระยะเวลาตามสัญญาเช่าที่กระทาไว้

ที่ดินของรัฐ ที่ดินของรัฐประกอบด้วยที่ดินสาธารณะและที่ดินของรัฐ ซึ่งบุคคลทั่วไปไม่สามารถถือครองสิทธิ์ขายหรือให้ เช่าได้ แต่เป็นที่ดินที่รัฐสามารถเปิดให้เอกชนเช่าในระยะยาวได้ (15 ปีขึ้นไป) หรือซื้อขายได้ทั้งนี้ต้องเป็นไป ตามกฎหมายพิเศษที่กากับดูแลเป็นการเฉพาะ (1) การขาย ให้เช่าหรือแลกเปลี่ยนที่ดินของรัฐ รายละเอี ย ดตลอดจนกฎระเบี ย บขั้ น ตอนที่ เกี่ยวข้องปรากฏอยู่ในประกาศนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 129 (Sub Decree 129) (2) การให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ส าธารณประโยชน์ ข องรั ฐ พื้ น ที่ ที่ ส ามารถให้ เ ช่ า ต้ อ งเป็ น พื้ น ที่ ที่ อ ยู่ ใ น รายการทรั พย์ สิ น ให้ เช่าของรั ฐ ซึ่งต้องได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากหน่ ว ยงานบริ ห ารจั ด การ ทรัพย์สินของรัฐ และต้องได้รับการอนุมัติจาก รัฐบาลก่อนการให้เช่าทุกครั้ง โดยมีเงื่อนไขใน การเช่าดังนี้ 

ผู้ เ ช่ า จะต้ อ งไม่ เ ปลี่ ย นแปลงหรื อ ทาลายทรัพย์สินที่ให้เช่านั้น

ผู้ เ ช่ า จะต้ อ งไม่ แ ก้ ไ ขหรื อ ปรั บ ปรุ ง รายการใดที่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ การใช้ ประโยชน์ของสาธารณชน

(3) การให้เช่าหรือขายที่ดินส่วนของรัฐ เงื่อนไข ต้ อ งเป็ น ไปตามประกาศของกระ ทรว ง เศรษฐกิ จ และการคลั ง (The Ministry of Economy and Finance: MEF) และต้องเป็น การเปิดให้ มีการประมูล อย่างเป็นทางการใช้ ราคาตลาดเป็นเกณฑ์ในการตัดสินการต่อรอง ราคาหรือเจรจาเงื่อนไขในการเช่าหรือซื้ อจะ กระทาได้ก็ต่อเมื่อ   

กระบวนการเปิดประมูลล้มเหลว ความพิเศษของพื้นที่ที่ต้องมีการตกลง เงื่อนไขหรือแนวปฏิบัติกับภาครัฐ มีผู้สนใจเช่าหรือซื้อเพียง 1 ราย


(4) การแลกเปลี่ยนที่ดินส่วนของรัฐ จะกระทาได้เมื่อที่ดินนั้นมีความเหมาะสม ต่อการพัฒนาทางธุรกิจของเอกชนและเมื่อภาครัฐ

ต้องการที่ดินในเขตอื่นๆ เพื่อการก่อสร้างอาคาร ส านั ก งานเงื่ อ นไขในการแลกเปลี่ ย นปรากฏใน ประกาศนายกรัฐมนตรีฉบับที่ 129 (Sub Decree 129) Page | 28

การสัมปทานที่ดินของรัฐ (1) กรอบกฎหมายใหม่ในการให้สัมปทานที่ดินของรัฐ ภายใต้กฎหมายที่ดินปี ค.ศ.2001 การให้สัมปทาน ที่ดินของรัฐมีเหตุผล 3 ประการคือ 

การให้ สั ม ปทานที่ ดิ น เพื่ อ กิ จ กรรมทาง สั ง คม กิ จ กรรมทางสั ง คมที่ รั ฐ จะให้ สัมปทานที่ดินต้องเป็นกิจกรรมก่อสร้างที่ อยู่ อ าศั ย และกิ จ กรรมทางการเกษตร เท่านั้น และเฉพาะบุคคลสัญชาติกัมพูชา เท่านั้นที่มีสิทธิได้รับสัมปทานดังกล่าว การให้ สั ม ปทานที่ ดิ น เพื่ อ กิ จ กรรมทาง เศรษฐกิจ การใช้ประโยชน์ การพัฒนาและ ก า ร ส า ร ว จ ต่ า ง ๆ นั ก ล ง ทุ น จ า ก ต่างประเทศที่สนใจสัมปทานที่ดินของรัฐ เพื่ อ กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ สามารถยื่ น

ขอรับสัมปทานจากหน่วยงานของรัฐที่ถือ ครองที่ดินแปลงนั้นๆ ซึ่งหน่วยงานของรัฐ จะขอความเห็ น ชอบจากกระทรวงการ เศรษฐกิ จ และการคลั ง ก่ อ นการยื่ น ขอ อนุมัติจากรัฐบาลต่อไป กรอบกฎหมายใหม่ ใ นการให้ สั ม ปทาน ที่ ดิ น ของรั ฐ เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า ง พื้ น ฐาน ปั จ จุ บั น รั ฐ บาลอยู่ ร ะหว่ า งการ พิจารณากฎหมายการให้สัมปทานของรัฐ ซึ่งครอบคลุมการให้สัมปทานที่ดินเพื่อการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวด้วย

(2) กฎหมายการให้สัมปทานของรั ฐ มีเป้าหมายเพื่ออานวยความสะดวกในการให้ สั มปทานเพื่อ พั ฒ นา โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ มีเนื้อหาโดยย่อดังนี้ 1. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีสิทธิได้รับสัมปทานตามกฎหมาย ได้แก่    

โ ครงการพั ฒ นา จ าหน่ า ย และ กระจายพลังงานไฟฟ้า คมนาคมขนส่ ง เช่ น ถนน สะพาน สนามบิน ท่าเรือ รางรถไฟ และคลอง น้าประปาและการกาจัดน้าเสีย โครงข่ายโทรคมนาคม และเทคโนโลยี สารสนเทศ

    

สิ่ ง อ านวยความสะดวก และแหล่ ง ท่องเที่ยว โครงข่ า ยขนส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ และ น้ามัน การระบาย และกาจัดขยะมูลฝอย ระบบบาบัดน้าเสีย โครงสร้ า งพื้ น ฐานทางสาธารณสุ ข การศึกษา และการกีฬา


 

โครงการก่อสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเคหะ การชลประทาน และโครงสร้ า ง พื้นฐานทางเกษตรกรรม

โครงการต่างๆ ที่กฎหมายฉบับอื่นๆ กาหนดให้ได้รับสัมปทานจากรัฐ

Page | 29

2. การคัดเลือกผู้รับสัมปทานจะทาการคัดเลือกผ่านระบบประมูลหรือระบบเจรจาต่อรอง ซึ่งเงื่อนไขและ ขั้นตอนต่างๆ อยู่ระหว่างการพิจารณาในกฎหมายลูก 3. สัญญาสัมปทานซึ่งหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องลงนามในสัญญาสัมปทานภายในเวลา 6 เดือน หลังทราบผลการคัดเลือกผู้สัมปทานซึ่งรูปแบบของสัญญาสัมปทานจะต้องใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนี้     

BOT (Build, Operate and Transfer) BLT (Build, Lease and Transfer) BTO (Build, Transfer and Operate) BOO (Build, Own and Operate) BOOT (Build, Own, Operate and Transfer)

    

BCT (Build, Co-operate Transfer) EOT (Expand, Operate Transfer) MOT (Modernize, Operate Transfer) MOO (Modernize, Own Operate) รูปแบบผสมอื่นๆ

and and and and

ทั้งนี้กฎหมายดังกล่าวยังกาหนดรายละเอียดอื่นๆ ของสัญญา เช่น มาตรฐานของโครงการ สิทธิประโยชน์ที่ ได้รับ การใช้บริการที่เกี่ยวข้อง การจ่ายเงิน ข้อผูกมัดสัญญา เป็นต้น โดยโครงการสัมปทานต้องมีอายุไม่เกิน 30 ปี ยกเว้นรัฐบาลมีความเห็นให้ต่อสัญญาสัมปทานออกไป


3) กฎหมายลิขสิทธิ์ และสิทธิบัตร นั บ ตั้ ง แต่ กั ม พู ช าเข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก ของ อ ง ค์ ก า ร ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า โ ล ก (World Intellectual Property Organization: WIPO) และอนุสัญญากรุงปารีส (Paris Convention) รั ฐ บาลกัมพูช าได้ป ระกาศใช้กฎหมายที่เกี่ยวกั บ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาในกัมพูชาหลาย

ฉบับ แสดงถึงความก้าวหน้าในกระบวนการอันเป็น การปฏิบัติตามหน้าที่ที่องค์การการค้าโลก (WTO) ก าหนดไว้ เช่ น กฎหมายเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งหมาย การค้ า ชื่ อ ทางการค้ า และกฎหมายว่ า ด้ว ยการ แข่งขันที่ไม่เป็นธรรม กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมาย สิทธิบัตร ใบรับรองผลิตภัณฑ์ อรรถประโยชน์ และ การออกแบบอุตสาหกรรม เป็นต้น8

(1) กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ชื่อทางการค้า กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ชื่อทางการค้า และการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม (กฎหมายเครื่องหมาย ทางการค้า ปี ค.ศ. 2002) เป็นกฎหมายแรกที่ประกาศใช้เพื่อคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งกาหนดให้สิทธิ ในเครื่องหมายการค้าของสินค้าและบริการจะต้องจดทะเบียนต่อกระทรวงพาณิชย์ และสิทธิในเครื่องหมาย การค้าของผู้ที่ได้จดทะเบียนแล้วจะได้รับความคุ้มครองต่อเมื่อผู้จดทะเบียนได้แนบหนังสือไปกับคาขอจด ทะเบียนแสดงว่าตนได้ขอจดทะเบียนก่อนประเทศที่เป็นสมาชิกของอนุสัญญากรุงปารีส กฎหมายเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งหมายการค้ า ชื่ อ ทางการค้ า และการแข่ ง ขั น ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม มี บทบัญญัติสาคัญ ดังนี้ 1) ขั้นตอนการลงทะเบียนและสิทธิตามกฎหมาย เครื่ องหมายการค้า เครื่ องหมายการค้าที่จะ ได้ รั บ การปกป้ อ ง ต้ อ งจดทะเบี ย นกั บ กรม ทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์กัมพูชา หลั ง การตรวจสอบกระทรวงฯ จะออก ใบรับรองเครื่องหมายการค้าและลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป หากพบว่าไม่มีการ โต้แย้งภายในเวลา 90 วัน หลังการประกาศ 8

Cambodia Investment Guidebook หน้า III-50 และ III-51

กระทรวงฯ จะออกใบรั บ รองเครื่ อ งหมาย การค้า ซึ่งมีอายุ1 ปีเจ้าของเครื่องหมายใดที่ไม่ มีแหล่งพานักอยู่ในกัมพูชา จะต้องมอบหมาย ตัวแทนในกัมพูชาเป็นผู้ดาเนินการ แทน 2) การยกเลิกและเพิกถอน เครื่องหมายการค้าใด ที่ ไ ม่ ไ ด้ น าไปใช้ ง านเป็ น ระยะเวลา 5 ปี ติดต่อกัน จะถูกยกเลิ กและเพิกถอน ยกเว้น เจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นๆ ยื่นเอกสาร ชี้แจงเหตุผลเป็นลายลักษณ์อักษร

Page | 30


3) การอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้า ต้องทา ผ่ า นสั ญ ญาให้ ใ ช้ ที่ ก าหนดโดยกระทรวง พาณิชย์ 4) การละเมิดสิทธิและแนวทางแก้ไข การละเมิด ได้แก่ การนาเครื่องหมายการค้าไปใช้โดยไม่ได้ รั บ อนุ ญ าต การลอกเลี ย นแบบเครื่ อ งหมาย การค้า และการใช้เครื่องหมายการค้าโดยไม่ได้ ลงทะเบียน เป็นต้น 5) มาตรการปกป้องตามเขตชายแดน (Boarder Measures) เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิ ในการเรี ย กตรวจสอบหรื อ อายั ด การนาเข้า หรื อ ส่ ง ออกสิ น ค้ า ตามด่ า นชายแดน หากมี ความสงสั ย หรื อ เห็ น ว่ า สิ น ค้ า เหล่ า นั้ น อาจ ละเมิดเครื่องหมายการค้าของตน เครื่ อ งหมายการค้ า ที่ จ ดทะเบี ย นกั บ กระทรวงพาณิ ช ย์ กั ม พู ช า จะได้ รั บ ความ

คุ้มครองเป็นเวลา 10 ปีนับจากวันจดทะเบียน โดยในปีที่5 เจ้าของเครื่องหมายการค้าจะต้อง แจ้งให้กระทรวงทราบถึงการคงใช้เครื่องหมาย การค้ า ดั ง กล่ า ว เพื่ อ เหตุ ผ ลในการให้ ค วาม คุ้มครองต่อไป สาหรับชื่อทางการค้าได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมายโดยไม่จาต้องจดทะเบียน หากมี การใช้ชื่อการค้าที่บุคคลอื่นได้ใช้อยู่ก่อนแล้ว ก็จะถือว่าผู้ที่ใช้ในภายหลังกระทาผิดกฎหมาย หากมีการใช้ชื่อ หรือ ใช้ เครื่องหมายการค้าที่ คล้ายกับชื่อทางการค้าหรือเครื่องหมายการค้า โดยจงใจใช้เพื่อทาให้ประชาชนเข้าใจผิดก็จะ ถือว่าเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายเช่นกัน

(2) กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์และสิทธิที่เกี่ยวข้อง ปี ค.ศ.2003 มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองงานของผู้ประพันธ์ และนักแสดง อันได้แก่ ผลงานทางวัฒนธรรม งานวรรณกรรม การแสดง ภาพบันทึกเสียง การแพร่ภาพของ องค์กรกระจายเสียง ในการที่จะดารงไว้ซึ่งการแสวงหาผลประโยชน์จากผลงานทางวัฒนธรรมเป็นไปโดยถูก กฎหมาย งานที่ได้รับความคุ้มครองมีดังต่อไปนี้ 1) ผลงานของผู้ประพันธ์ที่มีสัญชาติกัมพูชา หรือมีถิ่นที่อยู่ในกัมพูชา 2) ผลงานที่ เ ผยแพร่ ค รั้ ง แรกในกั ม พู ช า รวมถึงงานที่เผยแพร่ในต่างประเทศแต่ได้ น ามาเผยแพร่ ใ นกั ม พู ช าภายใน 30 วั น นับแต่วันที่เผยแพร่ผลงานครั้งแรก 3) งานสื่อวีดีทัศน์ของผู้ผลิตให้แก่สานักงาน ใหญ่หรือผู้มีถิ่นที่อยู่ในกัมพูชา

4) งานออกแบบสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นใน กัมพูชา และงานศิลปะแขนงอื่นที่รวมไว้ ในอาคารหรือสิ่งก่อสร้างอย่างอื่นซึ่งอยู่ใน กัมพูชา 5) ผลงานที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ค วามคุ้ ม ครองของ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ ผู้ ป ระพั น ธ์ มี สิ ท ธิ์เ หนื อ ผลงานของตน และมี สิ ทธิ์ขัดขวางผู้ ล ะเมิดสิ ทธิ์ทั้งในทางศีล ธรรมและ เศรษฐกิจ สิทธิในทางศีลธรรมของเจ้าของผลงาน

Page | 31


เป็นสิทธิ์ที่คงอยู่ตลอดไป แบ่งแยกไม่ได้ ไม่อาจยึด หรืออายัดได้ และไม่มีอายุความ ส่วนสิทธิในทาง เศรษฐกิจ ได้แก่ สิทธิในการใช้ประโยชน์จากผลงาน ของตนรวมถึ ง การให้ สิ ท ธิ ใ นการท าซ้ า เผยแพร่ ดัดแปลงในผลงานนั้น การคุ้มครองทางเศรษฐกิจ มี อยู่ตลอดชีวิตผู้สร้างสรรค์และจะสิ้นสุดลงเมื่อพ้น ก าหนด 50 ปี นั บ แต่ ผู้ ส ร้ า งสรรค์ ต ายกรณี ผู้ สร้างสรรค์มีทายาทสืบทอดลิขสิทธิ์9

เพื่อประโยชน์ในการบังคับใช้กฎหมายและเป็น หลั กฐานในความเป็นเจ้าของลิ ขสิ ทธิ์ ผู้ ประพันธ์ หรื อ เจ้ า ของลิ ข สิ ท ธิ์ จ ดทะเบี ย นต่ อ กระทรวง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ศิ ล ป ก ร ร ม (Ministry of Culture and Fine Arts)

(3) สิทธิบัตร ใบรับรองผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ และการออกแบบอุตสาหกรรม สิ่งประดิษฐ์ดังต่อไปนี้ ไม่ได้รั บความคุ้ม ครอง ตามกฎหมายสิ ท ธิ บั ต รใบรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ อรรถประโยชน์ และการออกแบบอุตสาหกรรม 1) การค้ น พบทฤษฎี ท างวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ สูตรทางคณิตศาสตร์ 2) แผนงาน กฎหรื อรู ป แบบทางธุร กิจ การ แสดงเพื่ อ ความบั น เทิ ง และการละเล่ น ต่างๆ 3) วิธีการรักษามนุษย์หรือสัตว์ แต่ไม่รวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการรักษา 4) ผลิตภัณฑ์ยาบางชนิด 5) พืชและสัตว์

สิทธิบัตร คุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ใหม่ซึ่งอาจเป็น ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการที่สามารถแก้ปัญหา ด้ า นเทคโนโลยี โ ดยเฉพาะเจาะจง ผู้ ข อจด ทะเบียนสิทธิบัตร จะต้องยื่นคาขอต่อกระทรวง อุตสาหกรรม สิทธิบัตรมีอายุ 20 ปี นับแต่วัน ยื่ น ค าขอ แต่ เ จ้ า ของสิ ท ธิ บั ต รจะต้ อ งจ่ า ย ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนทุกๆ ปี

เครื่องหมายการค้า สาหรับผู้ประกอบการที่ ประสงค์จะมีเครื่องหมายการค้ าในกัมพูชา มี ข้อเสนอแนะในการขอจดทะเบียนเครื่องหมาย การค้าดังนี้

1) ผู้ลงทุนต้องไปยื่นจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ กั ม พู ช า ตั้ ง อยู่ ที่ Lot 19-61, MOC Road (113B Road), Phum Teuk Thla, Sangkat Teuk Thla, Khan Sen Sok, Phnom Penh, Cambodia, Tel (855) 23 866 115, (855) 12 807 346, (855) 12 773 691, (855) 11 888 969, (855) 12 826 166 สาหรับผู้ลงทุนที่ต้องใช้บริการแปลเอกสาร ค่าบริการสาหรับคาแปล เอกสารจากภาษาเขมร – อังกฤษ – เขมร 1 หน้าเท่ากับ 5 ดอลลาร์ส หรัฐ โดยเอกสารที่ใช้ประกอบการ ดาเนินการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า มีดังนี้ 9

Law on Copy Right and Related Rights

Page | 32


- แบบฟอร์มจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าหนังสือตัวจริง (Power of Attorney) - ตัวอย่างเครื่องหมายการค้าจานวน 15 ใบ 2) ระยะเวลาที่ใช้ในการยื่นเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบมีระยะเวลา 6 เดือน แต่โดยทั่วไป หากไม่มีปัญหา ใด จะใช้เวลา ประมาณ 2 เดือนเท่านั้น ค่าธรรมเนียมในการยื่นจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า 1 ยี่ห้อเท่ากับ 125 ดอลลาร์สหรัฐ 

ใบรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ รรถประโยชน์ เป็ น ใบรับรองที่ออกให้แก่ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ ใหม่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหรือเป็นกระบวนการ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างอุ ต สาหกรรม ผู้ ข อจด ทะเบียนสิทธิบัตรจะต้องยื่นคาขอต่อกระทรวง อุตสาหกรรมใบรับรองมีอายุเพียง 7 ปี นับแต่ วันยื่นคาขอใบรับรอง และไม่อาจต่ออายุได้

การออกแบบทางอุตสาหกรรม การออกแบบ ทางอุตสาหกรรมที่จะได้รับความคุ้มครองต้อง

เป็นผลิตผลใหม่และปรากฏลักษณะพิเศษบน ผลิตผลอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม การยื่นคา ขอจดทะเบียนการออกแบบอุตสาหกรรมต้อง ยื่ น ต่ อ กระทรวงอุ ต สาหกรรม การออกแบบ อุตสาหกรรมที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของ ประชาชน ไม่ อ าจขอจดทะเบี ย นได้ การจด ทะเบียนจะมีกาหนดเวลา 5 ปีนับแต่ยื่นคาขอ จดทะเบียน ซึ่งอาจขอต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 5 ปี10

ปัญหาในทางปฏิบัติในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญามีอยู่ทั่วไป เช่น ซอฟแวร์ เพลง สาเนาหนังสือและสินค้าปลอม ได้แก่ บุหรี่ สุรา และยารักษาโรค ถึงแม้จะมีการออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาหลายฉบับแต่รัฐ บาล กัมพูชายังไม่มีการบังคับใช้หรือปราบปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาได้อย่างจริงจัง ทาให้สินค้าละเมิด ลิขสิทธิ์เป็นที่แพร่หลายทั่วไป

10

Law on the Patents, Utility Model Certificates and Industrial Designs

Page | 33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.