5.3
อุตสาหกรรม / ธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและมีโอกาสในประเทศกัมพูชา
จากจุดแข็งและจุดอ่อนรวมทั้งอุปสรรคและโอกาสของกัมพูชาสาหรับนักลงทุนแล้ว สิ่งที่ต้องพิจารณา ประกอบสาหรับการลงทุนในกัมพูชาคือ อุตสาหกรรมและธุรกิจที่รัฐบาลกัมพูชาสนับสนุน 1 ซึ่งประกอบด้วย อุตสาหกรรมต่างๆ เหล่านี้
ธุรกิจการเกษตร ได้แก่ การปลูกข้าว ปลู ก ยางและอุ ต สาหกรรมแปรรู ป เกษตร ได้แก่ โรงสี ข้าว โรงงานอบ ข้ า ว อบมั น ส าปะหลั ง อบข้ า วโพด รวมทั้งปุ๋ยอินทรีย์เกษตร อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ป ร รู ป อ า ห า ร โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมแปรรู ป อ า ห า ร ท ะ เ ล ไ ด้ แ ก่ ก๋ ว ย เ ตี๋ ย ว ลู ก ชิ้ น ปลา เครื่ อ งปรุ ง รส ซอสพริ ก เป็นต้น อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งดื่ ม เช่ น น้ าดื่ ม น้าแข็ง น้าผลไม้ อุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปและ สิ่งทอ
อุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์และการ ทาปศุสัตว์ที่ใช้เทคโนโลยีก้าวหน้า อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุก่อสร้าง อุตสาหกรรมการผลิตกระแสไฟฟ้า
ด้ว ยภาวะเศรษฐกิจของกัมพูช าในปัจจุบันที่ เติบโตประมาณร้อยละ 7 ประกอบกับนโยบายการ ส่งเสริมการลงทุนของรัฐบาลกัมพูชา ศักยภาพและ โอกาสของการลงทุนในประเทศกัมพูช า รวมทั้ง ผลประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ จากการเข้ า ไปลงทุ น ใน ประเทศกัมพูชาแล้ว พบว่าธุรกิจไทยที่น่าไปลงทุน ในกัมพูชามีดังนี้
1 Cambodia Municipality and Province Investment Information, 2013. CDC
Page | 6
อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น เช่น เสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอ รองเท้า อุตสาหกรรมสิ่ งทอและเครื่ องนุ่ งห่ ม รวมทั้ง รองเท้ า ในประเทศกั ม พู ช าถื อ เป็ น อุ ต สาหกรรม หลักที่ทารายได้เข้าสู่ประเทศ โดยสามารถส่งออก คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 80 จากยอดการส่ ง ออกของ ประเทศ และท าให้ เ กิ ด การจ้ า งแรงงานจ านวน มากกว่า 300,000 คน ทั้งที่เป็นแรงงานมีฝีมือและ แรงงานไร้ฝีมือ โดยร้อยละ 90 เป็นกลุ่มแรงงาน ผู้หญิง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ถูกจัดสถานะให้อยู่ในกลุ่มที่ไม่ มีงานทาได้เข้ามาเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ปั จ จุ บั น กัมพูช ายั งจะเป็ น ฐานการผลิตเสื้อผ้ าแบ รนด์ดังต่าง ๆ ด้วย การส่งออกเสื้อผ้าสาเร็จรู ปของกัมพูชา ในปี 2556 มี มู ล ค่ า 5.52 พั น ล้ า น ด อ ล ลาร์ ส หรั ฐ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 20 เปรี ย บเที ย บกั บ ปี 2555 ซึ่งมีมูลค่า 4.61 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก รายงานของกระทรวงพาณิ ช ย์ กั ม พู ช า โดยการ ส่ ง ออกเสื้ อผ้ าส าเร็ จรู ป ข อง กั ม พู ช า ไ ป ยั ง สหรัฐอเมริกาขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 มีมูลค่า 2.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับตลาดสหภาพ ยุ โ รปขยายตัว เพิ่ ม ขึ้ น ถึง ร้ อยละ 28 มีมูล ค่า 2.0 พัน ล้ านดอลลาร์ ส หรั ฐ และตลาดอื่น ๆ ขยายตัว เพิ่มขึ้น ร้ อยละ 32 มีมูล ค่า 1.41 พัน ล้ านเหรียญ สหรัฐ ซึ่งการส่งออกที่เพิ่มขึ้นมาจากยอดการสั่งซื้อ และการเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มที่ เพิ่ ม ขึ้ น ประกอบกั บ รั ฐ บาลกั ม พู ช าให้ ก าร สนั บ สนุ น การลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่ องนุ่งห่ม
อย่างจริงจัง ด้วยการให้สิทธิประโยชน์ต่างๆ อาทิ การยกเว้นภาษีนาเข้าวัตถุดิบและส่ ว นประกอบ และลดหย่อนภาษีสาหรับการนาเข้าเครื่องจักรที่ใช้ ในการผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออก เป็ น ต้ น โดยนั ก ลงทุ น ต่างชาติสามารถยื่นขอรับสิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้ จาก CIB นอกจากนี้ รัฐบาลกัมพูชายังอนุญาตให้ นักลงทุนต่ างชาติส ามารถเป็ นเจ้ าของกิ จการได้ ทั้งหมด อุตสาหกรรมสิ่ งทอและเครื่ อ งนุ่ งห่ ม นั บ เป็ น อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพส าหรับผู้ ประกอบการ ไทยในกัมพูช า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายฐาน การผลิ ต ไปยั ง กั ม พู ช าเป็น ทางเลื อ กที่ ดี ท างหนึ่ง เพื่อให้ ส ามารถแข่ง ขั นในตลาดโลกได้ ดี กว่ า การ ผ ลิ ต ใ น ป ร ะ เ ท ศ เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว เ พ ร า ะ ผู้ประกอบการไทยในปัจจุบันเผชิญกับต้นทุนที่เพิ่ม สูงขึ้นจากการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่าเป็น 300 บาท ต่อวัน ในขณะที่ค่าแรงของกัมพูชาปัจจุบัน ต.ค. 2558 อยู่ ที่ 128 ดอลลาร์ ส หรั ฐ หรื อ ประมาณ 4,000 บาทต่อเดือน แต่ตั้งแต่ 1ม.ค.2559 จะเพิ่ม เป็น 140ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน อีกทั้งสินค้ากลุ่ม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยอยู่ในรายการของ สิ น ค้ า ที่ จ ะถู ก ตั ด สิ ท ธิ GSP จากสหภาพยุ โ รป ในขณะที่ ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ย นอื่ น ๆ เช่ น เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ จะยังคงได้รับ สิทธิพิเศษต่อไป
Page | 7
อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรู ป เป็น อุตสาหกรรมที่น่าสนใจและผู้ป ระกอบการไทยมี ศักยภาพในกัมพูชาเช่นกัน ด้วยเหตุผลที่กัมพูชามี พื้นดินที่อุดมสมบูร ณ์เหมาะแก่การปลู กข้าวและ พืชไร่ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดพระตะบอง ซึ่งเปรียบเสมือนอู่ข้าวอู่น้าของกัมพูชา เป็นแหล่ง ผลิ ต ข้ า ว ส้ ม และพื ช ไร่ ได้ แ ก่ มั น ส าปะหลั ง ข้ า วโพด จั ง หวั ด เกาะกง เป็ น แหล่ ง ผลิ ต ปาล์ ม น้ ามัน อ้อย โรงงานน้ าตาลทราย สิ น ค้าสั ต ว์ น้ า และจั ง หวั ด กั ม ปงจาม เป็ น แหล่ ง ผลิ ต ยางพารา เงาะ มังคุด ทุเรี ย น มะม่ว งหิ มพานต์ และพืช ไร่ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลัง ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และงา ซึ่งในแต่ละปีกัมพูชามีผลผลิตทาง
การเกษตรเป็ น จ านวนมากแต่ คุ ณ ภาพยั ง ต่ า เนื่องจากขาดเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย ส่งผล ใ ห้ ร า ค า ผ ล ผ ลิ ต ต ก ต่ า จึ ง เ ป็ น โ อ ก า ส ข อ ง ผู้ประกอบการไทยที่ จะเข้าไปลงทุนพัฒนาพืชผล เกษตร ได้แก่ การลงทุนสร้าง โรงสีข้าว ไซโลอบพืช เกษตร การพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเกษตร อาทิ ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เป็นต้น รวมทั้ง การ ลงทุ น ปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ ที่ เ ป็ น ที่ ต้ อ งการของ ตลาดโลก ได้ แ ก่ ปาล์ ม น้ ามั น ยางพารา ซึ่ ง ผู้ ป ระกอบการไทยมี ค วามรู้ มี เ ทคโนโลยี แ ละมี ทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ที่ผู้ป ระกอบการ ไทยมีโอกาสการลงทุนในกัมพูชา ได้แก่ ผลไม้และ น้าผลไม้กระป๋อง การผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว เครื่องปรุง ขนมขบเคี้ยว รวมถึงการแปรรูปอาหารทะเล เป็น ต้น เนื่องด้วยตลาดในกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัว ประกอบกั บ การที่ กัม พูช ามีส ถานที่ท่ อ งเที่ ย วซึ่ ง เป็นหนึ่งในจุดแข็งของประเทศทาให้มีนักท่องเที่ยว
เข้ามายังกัมพูชาเพิ่ม ขึ้นทุกปี แต่ในขณะเดียวกัน การผลิ ต อาหารและเครื่ อ งดื่ ม ที่ มี คุ ณ ภาพยั ง ไม่ เพียงพอกับความต้องการในประเทศ จึงเป็นหนึ่ง ในอุตสาหกรรมที่ผู้ ประกอบการไทยซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในธุรกิจแปรรูปอาหารเป็นอย่างดีมี โอกาสในประเทศนี้
Page | 8
อุตสาหกรรมประมง และอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมประมง กัมพูชามีทะเลสาบธรรมชาติขนาดใหญ่ อุ ดม ด้วยสัตว์น้า เช่น ปลาน้าจืดชนิดต่างๆ โอกาสของ นั กลงทุน ไทย ได้แก่ การเพาะเลี้ ย งสั ตว์น้ า อาทิ ป ล า น้ า จื ด จ ร ะ เ ข้ เ พื่ อ ก า ร ส่ ง อ อ ก แ ล ะ อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกั บ อุตสาหกรรมประมง
ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมห้ อ งเย็ น อุ ต สาหกรรมโรง น้ า แ ข็ ง แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ป ร รู ป สั ต ว์ น้ า จึ ง เ ป็ น อี ก ห นึ่ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ ผู้ประกอบการไทยมีโอกาสในการลงทุนได้
อุตสาหกรรมรับเหมาก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง ผู้ประกอบการไทยมีความพร้อมด้านบุคคลากร ที่มีความรู้ มีฝี มือและความช านาญด้านช่างและ ด้านเทคนิค กัมพูชามีความต้องการก่อสร้างอาคาร พาณิ ช ย์ โครงสร้ า งสาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน จึ ง มี ความต้ อ งการช่ า งก่ อ สร้ า งและวั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง เนื่องจากอยู่ในระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ และ ระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิด AEC โดยปี 2556 การก่อสร้ างในกัมพูช ามีมูลค่า
2,773 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 31% ในขณะ ที่ ปี 2557 ขยายตัว 36% และปัจจุบันไทยลงทุน ในภาคก่อสร้างในกัมพูชา 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประกอบกับอัตราการเติบโตเฉลี่ยของตลาดคอนโด มีเนียมในกัมพูชา ปี 2551-2557 อยู่ที่ 20% ต่อปี และคาดว่า ในช่วงปี 2558-2561 จะเติบโตอยู่ที่ ร้อยละ 40 ต่อปี
อุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ ส่วนประกอบ มีแนวโน้มขยายตัวตามรายได้ของ ชาวกัมพูชาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงตลาดยังมีช่องว่างใน การเติ บ โตอี ก มาก รถยนต์ ที่ น าเข้ า จากไทยเพื่อ จาหน่ายในกัมพูชาทั้งหมดเป็นรถยนต์ที่ผลิตตาม คาสั่ งเฉพาะ เนื่ องจากต้ องมี พวงมาลั ย ด้า นซ้ า ย ตามกฎหมายของประเทศ ในอี ก ด้ า นหนึ่ ง ประชากรที่มีกาลังซื้อไม่สูงมักนิยมซื้อรถยนต์มื อ สอง ทาให้ กัมพูช าน าเข้ารถยนต์มือสองมากกว่า
ร้ อ ยละ 30 ของรถยนต์ น าเข้ า ทั้ ง หมด จึ ง เป็ น โอกาสของการส่ ง ออกชิ้ น ส่ ว นรถยนต์ ป ระเภท REM (Replacement Equipment Manufacturing) ซึ่ ง เน้ น จ าหน่ า ยเป็ น อะไห ล่ ท ด แ ท น ร ว ม ทั้ ง ย า ง อ ะ ไ ห ล่ ร ถ ย น ต์ แ ล ะ รถจั ก รยานยนต์ นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง ธุรกิ จ ซ่อม บ ารุ ง รถยนต์ แ ละรถจั ก รยานยนต์ ก็ จ ะได้ รั บ ประโยชน์จากการเติบโตของอุตสาหกรรมอีกด้วย
Page | 9
ธุรกิจศูนย์การกระจายสินค้าอุปโภคบริโภค กัมพูชาไม่สามารถผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคได้เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศ ชาวกัมพูชา นิยมบริโภคและยอมรับสินค้าไทย มีทัศนคติที่ดีต่อสินค้าไทยว่ามีคุณภาพดี และราคาเหมาะสม จึงเหมาะที่ผู้ ผู้ประกอบการไทยจะเข้าไปตั้งศูนย์การกระจายสินค้าอุปโภคบริโภค ธุรกิจโรงแรม : โรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮาส์ และโฮมสเตย์ การลงทุนของนักธุรกิจไทยในกัมพูชาควรเน้น โรงแรมขนาดกลาง เกสต์ เ ฮาส์ และโฮมสเตย์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู้ มี ร ายได้ ระดั บ กลางจากภู มิ ภ าคเอเชี ย และตลาดยั ง มี โอกาสของการขยายตัว โดยพื้นที่ที่ควรจะลงไป ลงทุ น คื อ จั ง หวั ด เสี ย มราฐ เพราะเป็ น สถานที่ ท่องเที่ยวสาคัญและเป็นเป้าหมายอันดับหนึ่งของ
นักท่องเที่ยว ประกอบกับตลาดยังมีโอกาสของการ ข ย า ย ตั ว (Strategic Plan 2554 – 2563 ข อ ง กัมพูชา ตั้งเป้านักท่องเที่ยว 7 ล้านคน) ในปัจจุบัน เสียมราฐมี 500 โรงแรม ยังขาดอีก 200-300 แห่ง เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ทั้งนี้สามารถเช่าหรือร่วม ทุนกับนักธุรกิจกัมพูชาที่ดาเนินธุรกิจโรงแรม แต่ ประสบปัญหาเรื่องการบริการจึงทาธุรกิจต่อไม่ได้
ธุรกิจสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพท่องเที่ยวและที่เกี่ยวข้อง ธุรกิจสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพท่องเที่ยวและที่ เกี่ ย วข้ อ ง เช่ น หลั ก สู ต รไกด์ ทั ว ร์ การบริ ก าร โรงแรม การจั ด การโรงแรม การบริ ห ารจั ด การ ภั ต ต า ค า ร แ ล ะ ร้ า น อ า ห า ร เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ผู้ประกอบการไทยมีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพ ประกอบกั บ แรงงาน หั ว หน้ า งานในภาคธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วและบริ ก ารในกั ม พู ช ายั ง ขาดทั ก ษะ
เกี่ ย วกั บ การให้ บ ริ ก าร นอกจากนี้ โ รงแรมและ สถาบั น ฝึ ก อบรมเป็ น อุ ต สาหกรรมที่ รั ฐ บาล สนับสนุน หรือ เป็นการลงทุนที่รัฐบาลจัดให้เป็น โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (Qualified Investment Project :QIP) ซึ่ งให้ สิ ทธิพิเศษด้า น ภาษีแก่นักลงทุนต่างชาติโดยลดภาษีนิติบุคคลจาก ปกติร้อยละ 20 เหลือร้อยละ 9 ด้วย
Page | 10
ธุรกิจบริการคมนาคมและโลจิสติกส์ การเข้าสู่ ป ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย น ทาให้ เกิดการเชื่อมโยงเส้นทางการคมนาคมขนส่งมาก ขึ้นเป็นลาดับพื้นที่ที่เหมาะในการเข้าไปตั้งธุรกิจโล จิสติกส์ คลังสินค้า และศูนย์กระจายสินค้า ได้แก่ บริเวณด่านอรัญประเทศและปอยเปต หรือในเขต เศรษฐกิจปอยเปต – โอเนียง ซึ่งอยู่บนเส้นทาง R1 เชื่ อ มระหว่ า งไทย – กั ม พู ช า – เวี ย ดนาม จาก กรุ ง เทพฯ - สระแก้ ว - ปอยเปต (กั ม พู ช า) พนมเปญ - โฮจิ มิ น ห์ (เวี ย ดนาม) – หวุ ง เต่ า ระยะทางประมาณ 1,000 กิ โ ลเมตร หรื อ บน เส้ น ทาง R10 กรุ ง เทพฯ - ตราด - เกาะกง -
กั ม พู ช า - สี ห นุ วิ ล ล์ - นามคาน (เวี ย ดนาม) ระยะทาง 970 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง เป็ น เส้ น ทางที่ ผ่ า น เมืองท่องเที่ยว เช่น สีหนุวิลล์ และเขตเศรษฐกิจ พิเศษเกาะกงด้วย ธุรกิจโลจิสติกส์จึงสามารถมอง หาลู่ทางในการลงทุนและให้บริการจัดการห่ว งโซ่ อุปทานแก่ธุรกิจอื่น ๆ บริเวณท่าเรือสีหนุวิลล์ เพื่อ รองรับปริมาณการขนส่งสินค้าและตู้คอนเทนเนอร์ ที่ มี แ นวโน้ ม การขยายตั ว เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ได้ ด้ ว ยและ ก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาสถานี ข นถ่ า ยสิ น ค้ า เพื่ อ ลด ต้นทุนโลจิสติกส์ของทั้งสองประเทศ
บริการสุขภาพและบริการเสริมความงาม
บริการสุขภาพเป็ นหนึ่งในธุร กิจที่มีศัก ยภาพ ของไทย ไม่ว่าจะเป็นบริการทางการแพทย์ซึ่งไทยมี เป้ าหมายที่จะเป็ น ศูน ย์ กลางทางการแพทย์ ข อง ภู มิ ภ าค (Medical Hub) เนื่ อ งจากโรงพยาบาล ไทยและแพทย์ไทยมีคุณภาพในระดับสูง ประกอบ กับมีความพร้อมด้านแหล่งท่องเที่ยวและที่พักซึ่งจูง ใจให้ มี ผู้ ม าใช้ บ ริ ก ารในลั ก ษณะท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุขภาพ (Medical Tourism) เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หรือ ธุ ร กิ จ ที่ ต อบสนองกระแสการดู แ ลสุ ขภ า พ (Wellness) เช่ น สปาของไทย ซึ่ ง กล่ า วได้ ว่ า มี ชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ธุรกิจบริการสุขภาพของ ไทยจึงเป็นธุรกิจที่มีโอกาสในการขยายการลงทุน ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งเมียนมา กัมพูชา และ สปป.ลาว นอกจากนี้ เศรษฐกิจของประเทศเพื่อน
บ้านที่ดีขึ้นทาให้ประชากรมีความต้องการบริการ ทางการแพทย์ ที่ ดี ขึ้ น เช่ น กั น รวมไปถึ ง บริ ก าร สุขภาพอื่นๆ อาทิ การรักษาความงาม และสปา ก็ มีความต้องการเพิ่มขึ้นตามวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง ไปด้วย ในขณะที่บริการเสริมความงามก็มีโอกาสขยาย ตลาดไปในกัมพูชาเช่นกัน เนื่องจากการขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ ท าให้ ป ระชาชนมี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ประกอบกับสตรีช าวกัมพูช ารักสวยรักงาม ชอบ แต่งตัว โดยเฉพาะคนที่มีฐานะดี และการเข้าถึงสื่อ บันเทิงต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นทาให้เกิดกระแสความ รักสวยรักงามจึงเป็นโอกาสสาหรับธุรกิจด้านนี้ใน กัมพูชา
Page | 11