โอกาสทางการลงทุนในประเทศกัมพูชา

Page 1

Page | 1

5.1

ภาพรวมการลงทุนไทยในกัมพูชา

กัมพูชาเป็นประเทศที่มีมีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็วและมั่นคง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากความ ยืดหยุ่นของระบบเศรษฐกิจที่สามารถปรับตัวได้กับ ทุ ก สถานการณ์ กั ม พู ช าให้ ค วามส าคั ญ กั บ การ ลงทุนจากต่างประเทศ มีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษในพื้ น ที่ ที่ มี ศั ก ยภาพด้ า นการค้ า และการ ลงทุนในเมืองเศรษฐกิจสาคัญ นอกจากนี้นักลงทุน ต่ า งชาติ ยั ง ให้ ค วามสนใจที่ จ ะเข้ า ไปลงทุ น ใน กั ม พู ช าเพิ่ ม ขึ้ น เพราะกั ม พู ช าเป็ น ประเทศที่ มี ทรั พยากรธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ การเมื อ งใน ปัจจุบันมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพประกอบกับ นโยบายส่ งเสริ มการลงทุน จากต่ างประเทศของ รัฐบาลกัมพูชาซึ่งให้สิทธิประโยชน์หลายประการ แก่ โ ครงการลงทุ น จากต่ า งประเทศที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมการลงทุน ตลอดจนอัตราค่าจ้างแรงงานที่ อยู่ ใ นระดั บ ต่ า จึ ง ท าให้ ป ระเทศกั ม พู ช าเป็ น ประเทศเป้าหมายที่ชาวต่างชาติสนใจเข้าไปลงทุน เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการลงทุนจากจีนและประเทศ ในกลุ่มอาเซียน จากข้ อ มู ล ของส านั ก งานส่ ง เสริ ม การค้ า ในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ พบว่า นับตั้งแต่ปี

2537 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น กั ม พู ช า (Cambodian Investment Board: CIB) ไ ด้ อ นุ มั ติ โ ค ร ง ก า ร ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในกั ม พู ช า จ านวน 2,989 โครงการ มูล ค่าเงินลงทุน 10,717 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ โดยเฉพาะในปี 2557 มีมูลค่าเงินลงทุนรวม 408.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการลงทุน สะสมในกัมพูชา ณ ปี 2557 เป็นอันดับที่ 9 และ เป็นอันดับ 4 ในกลุ่ มนักลงทุนจากอาเซียน ด้ว ย มูลค่าเงินทุนจดทะเบียนสะสม 318 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ โดยในปี 2557 มีมูลค่าเงินทุนจดทะเบียน 2.8 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ในการลงทุ น จ านวน 3 โครงการ ได้แก่ 1) บริษัท Stallion Steel จากัด เป็นโรงงาน ทาท่อสแตนเลส 2) บริ ษั ท C.C.S Sereynokor จ ากั ด เป็ น โรงงานบรรจุภัณฑ์พลาสติก 3) บ ริ ษั ท SMPP Riverside จ า กั ด เ ป็ น โรงแรม 4 ดาว จานวน 108 ห้อง


มูลค่าทุนจดทะเบียนของนักลงทุนต่างชาติในกัมพูชา

ประเทศ 1. มาเลเซีย 2. จีน 3. ไต้หวัน 4. สหรัฐอเมริกา 5. เกาหลีใต้ 6. เวียดนาม 7. ฮ่องกง 8. สิงคโปร์ 9. ไทย

เงินทุนจดทะเบียนสะสม ปี 2537 - 2557 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 1,965 1,114 682 475 441 402 383 323 318

เงินทุนจดทะเบียน ปี 2557 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 1.5 94.2 11.7 3.0 7.6 1.7 26.8 9.8 2.8

จานวน โครงการลงทุน ปี 2557 2 73 7 4 8 3 15 5 3

ที่มา : Cambodian Investment Board อ้างอิงจากสานักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ

นอกจากนี้ในปี 2557 เครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้ เข้าไปลงทุน สร้ างโรงงานอาหารสัตว์แห่งที่ 2 ใน จังหวัดไพลินมูลค่า 8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กาลังการ ผลิ ต 180,000 ตั น /ปี และเข้ า ร่ ว มทุ น กั บ กลุ่ ม Soma Group ในกิจการโรงสีที่จังหวัดกัมปงสปือ มู ล ค่ า 50 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ มี ก าลั ง การผลิ ต 300,000 ตัน/ปี ในขณะที่ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) จะเปิดดาเนินการในกัมพูชาอีกครั้งในปี 2558 หลังจากที่ปิดดาเนินการตั้งแต่ปี 2543 และ โ ร ง พ ย า บ า ล Royal Phnom Penh ซึ่ ง เ ป็ น โรงพยาบาลในเครื อ Bangkok Dusit Medical Services Public Company ได้เปิดดาเนินการใน กัมพูชาแล้ว โดยมีกลุ่มเป้าหมายลูกค้าระดับกลางสูง

ส่ ว นในช่ ว ง 6 เดื อ นแรกของปี 2558 มี นั ก ลงทุ น ไทยเข้ า ไปลงทุ น ในกั ม พู ช า 1 บริ ษั ท คื อ บ ริ ษั ท Integrated Resources International Co., Ltd. โดยเป็นการร่วมทุนกับนักลงทุนท้องถิ่น สัดส่วนร้อยละ 40 ต่อร้อยละ 60 เพื่อทาธุรกิจโรงสี และโครงการโรงไฟฟ้า และเมื่อพิจารณาการลงทุน สะสมตั้ ง แต่ ปี 2537 ถึ ง 30 มิ ถุ น ายน 2558 นั ก ลงทุนไทยลงทุนในกัมพูชาเป็นลาดับที่ 8 มีมูลค่า การลงทุ น สะสม 323,611,912 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ในขณะที่มาเลเซียยังคงเป็นประเทศผู้ลงทุนลาดับ ที่ 1 ใ น กั ม พู ช า มี มู ล ค่ า ก า ร ล ง ทุ น ส ะ ส ม 1,965,575,265 ดอลลาร์สหรัฐ

Page | 2


นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีนักลงทุนไทยไปลงทุนในกัมพูชา ในหลายประเภทธุรกิจ ได้แก่  

5.2

ป ต ท . ใ น น า ม PTT (Cambodia) Limited. บริ ษัทซีเมนต์ไทย จ ากัด และบริ ษัทใน เครื อ โรงงานปู น ซี เ มนต์ Kampot Cement (K. Cement Brand) ใ น จังหวัดกัมปอต โรงงานผลิตซีเมนต์ผสม สาเร็จรูป (Mixed Cement Plant) และ โรงงานผลิตซีเมนต์บล็อก CPAC Monier การปลู ก ยู ค าลิ ป ตั ส เพื่ อ ท ากระดาษใน

นามบริ ษั ท CPAC Agro Industry การ ผลิตผลิตกระเบื้องมุงหลั งคาของบริษั ท CPAC Monier แ ล ะ SCG Trading (Cambodia) Co., Ltd. โรงงานผลิ ต น้ าดื่ ม ยี่ ห้ อ LYYON ของ กลุ่ ม บริ ษั ท ไทยนครพั ฒ นา ในนาม บริษัท Cambodia Development เป็น ต้น

จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของกัมพูชา

ปั จ จุ บั น กัมพูช ากาหนดนโยบายเศรษฐกิจที่มี เป้ า หมายเพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว โดยส่งเสริมการ ลงทุนจากต่างชาติ ผ่านการดาเนินมาตรการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายให้เอื้ออานวยต่อธุรกิจของ ภาคเอกชน การปรับปรุงสิทธิประโยชน์ที่ให้แก่นัก ลงทุนต่างชาติ การปฏิรูประบบการจัดเก็บภาษีเงิน ได้ การเร่ ง รั ด พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานและ

สาธารณู ป โภค โดย ได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จาก กองทุนการเงินระหว่า งประเทศ (IMF) ธนาคาร เพื่อการพัฒ นาแห่ งเอเชี ย (ADB) และ โครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) รวมทั้งประเทศ ผู้ บริจาคอื่นๆ ดังนั้ นเมื่อพิจารณาถึงจุดอ่ อน จุด แข็ง โอกาส และอุปสรรคของกัมพูชา ที่รองรับการ ลงทุนทั้งจากของไทยและนานาประเทศ มีดังนี้

Page | 3


จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของกัมพูชา

จุดแข็ง

จุดอ่อน

โอกาส

การเมืองของกัมพูชามีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ ผู้บริหารประเทศมีอานาจและสามารถ ตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายของประเทศในด้านต่างๆ ได้อย่างเป็นเอกภาพ กัมพูชามีความสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ เช่น มีป่าไม้ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ร้ อยละ 50 ของพื้น ที่ของประเทศ นอกจากนี้ยังมีสิ นแร่ต่างๆ จานวนมาก อาทิ ทอง ทองแดง แร่เหล็ก แมงกานิส ถ่านหิน ดีบุก ตะกั่ว ฯลฯ รวมทั้งกัมพูชามีแนวชายฝั่งทะเล ทางอ่าวไทยซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์น้าชุกชุม และมีแหล่งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ กัมพูชาได้รับสิทธิพิเศษต่างๆจากนานาประเทศในฐานะประเทศพัฒนาน้อยที่สุด อาทิ GSP จาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สแกนดิเนเวียแคนาดาและออสเตรเลีย ทาให้ สินค้าส่งออกกัมพูชามีความได้เปรียบในการแข่งขันด้านราคา และปัจจัยที่ช่วยดึงดูดการ ลงทุนต่างชาติในการผลิตเพื่อส่งออกไปยังประเทศพัฒนาแล้วดังกล่าว มีแรงงานจานวนมาก จานวนประชากรวัยทางานประมาณร้อยละ 60 เหมาะแก่การลงทุน ในอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น เช่น เสื้อผ้า สิ่งทอ รองเท้า และอุตสาหกรรมเกษตร ฯลฯ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ILO ประเมินว่าในปี 2019 กัมพูชา จะมีอัตราการ ว่างงานเพียงร้อยละ 0.7 มีโครงการสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้า ที่จังหวัดเกาะกง เป็นการลงทุนของจีน ซึ่งจะช่วยลด ต้นทุนค่าไฟฟ้าต่อหน่วย ยังไม่มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค โดยต้องพึ่งพาความช่วยเหลือ จากต่างประเทศในการพัฒนา ส่งผลให้ต้นทุนโลจิสติกส์สูง แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ ขาดแคลนแรงงานฝีมือและบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทาธุรกิจต่างประเทศ ผู้ประกอบการท้องถิ่นของกัมพูชายังขาดองค์ความรู้ (Knowhow) และความสามารถใน การบริหารจัดการ มีการลักลอบทาการค้าผิดกฎหมาย เช่น อัญมณี ไม้ รวมถึงสินค้าเกษตร ใช้กัมพูชาเป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปยังประเทศพัฒนาแล้วเพื่อใช้ประโยชน์จากสิทธิ พิเศษ เช่น GSP รวมถึงการส่งออกไปยังเวียดนามและจีนซึ่งเป็น ตลาดที่มีศักยภาพ ขยายตัวสูงจากจานวนประชากรและกลุ่มคนที่มีรายได้ระดับปานกลางในสัดส่วนเพิ่มขึ้น ศักยภาพของตลาดภายในประเทศที่มีการขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการขยายตัว ของการลงทุนจากต่างชาติและของรัฐบาลในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 7 อัตราเงินเฟ้อค่อนข้างต่า (น้อยกว่าร้อยละ 5) อัตรา แลกเปลี่ยนค่อนข้างคงที่ (1 ดอลลาร์สหรัฐ = 4000  5%) ตั้งอยู่บนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจที่สาคัญ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง คือ Southern Economic Corridors ซึ่งถือเป็นแนวพื้นที่เศรษฐกิจที่มีโอกาสขยายตัวสูง การท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง เช่น โรงแรม ร้านอาหาร มีการขยายตัวสูงจาก การมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมค่อนข้างมาก

Page | 4


จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของกัมพูชา

อุปสรรค

มีแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้าจืดขนาดใหญ่ คือ ตนเลสาบ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากกรุงพนมเปญ ประมาณ 100 กม.ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด และมีพันธุ์ปลามากกว่า 300 ชนิด รัฐบาลกัมพูชามีนโยบายชัดเจนในการพัฒนาข้าว ภายใต้ “Rice – White Gold” โดย ตั้งเป้าหมายเป็นผู้ส่งออกข้าวรายสาคัญของโลก ปี 2558 ระบบการเงิน การธนาคาร รวมถึงระบบศาล ยังต้องพัฒนาให้ได้รับความน่าเชื่อถือมากขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบบ่อยครั้ง การปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบดาเนินไปอย่าง ล่าช้า พึ่งพาเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศเป็นอย่างมากในการพัฒนาประเทศ ระบบการคมนาคมและสาธารณูปโภคยังไม่มีประสิทธิภาพและขาดแคลน ทาให้การ ติดต่อสื่อสาร และการคมนาคมเป็นไปอย่างล่าช้า ยังมีการคอรัปชั่น ทั้งยังมีการเก็บค่าธรรมเนียมอย่างไม่เป็นทางการในการขนส่ง ภายในประเทศ ณ จุดต่างๆ ทาให้ต้นทุนในการทาธุรกิจสูงขึ้น

Page | 5


5.3

อุตสาหกรรม / ธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและมีโอกาสในประเทศกัมพูชา

จากจุดแข็งและจุดอ่อนรวมทั้งอุปสรรคและโอกาสของกัมพูชาสาหรับนักลงทุนแล้ว สิ่งที่ต้องพิจารณา ประกอบสาหรับการลงทุนในกัมพูชาคือ อุตสาหกรรมและธุรกิจที่รัฐบาลกัมพูชาสนับสนุน 1 ซึ่งประกอบด้วย อุตสาหกรรมต่างๆ เหล่านี้ 

 

ธุรกิจการเกษตร ได้แก่ การปลูกข้าว ปลู ก ยางและอุ ต สาหกรรมแปรรู ป เกษตร ได้แก่ โรงสี ข้าว โรงงานอบ ข้ า ว อบมั น ส าปะหลั ง อบข้ า วโพด รวมทั้งปุ๋ยอินทรีย์เกษตร อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ป ร รู ป อ า ห า ร โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมแปรรู ป อ า ห า ร ท ะ เ ล ไ ด้ แ ก่ ก๋ ว ย เ ตี๋ ย ว ลู ก ชิ้ น ปลา เครื่ อ งปรุ ง รส ซอสพริ ก เป็นต้น อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งดื่ ม เช่ น น้ าดื่ ม น้าแข็ง น้าผลไม้ อุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปและ สิ่งทอ

  

อุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์และการ ทาปศุสัตว์ที่ใช้เทคโนโลยีก้าวหน้า อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุก่อสร้าง อุตสาหกรรมการผลิตกระแสไฟฟ้า

ด้ว ยภาวะเศรษฐกิจของกัมพูช าในปัจจุบันที่ เติบโตประมาณร้อยละ 7 ประกอบกับนโยบายการ ส่งเสริมการลงทุนของรัฐบาลกัมพูชา ศักยภาพและ โอกาสของการลงทุนในประเทศกัมพูช า รวมทั้ง ผลประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ จากการเข้ า ไปลงทุ น ใน ประเทศกัมพูชาแล้ว พบว่าธุรกิจไทยที่น่าไปลงทุน ในกัมพูชามีดังนี้

1 Cambodia Municipality and Province Investment Information, 2013. CDC

Page | 6


อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น เช่น เสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอ รองเท้า อุตสาหกรรมสิ่ งทอและเครื่ องนุ่ งห่ ม รวมทั้ง รองเท้ า ในประเทศกั ม พู ช าถื อ เป็ น อุ ต สาหกรรม หลักที่ทารายได้เข้าสู่ประเทศ โดยสามารถส่งออก คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 80 จากยอดการส่ ง ออกของ ประเทศ และท าให้ เ กิ ด การจ้ า งแรงงานจ านวน มากกว่า 300,000 คน ทั้งที่เป็นแรงงานมีฝีมือและ แรงงานไร้ฝีมือ โดยร้อยละ 90 เป็นกลุ่มแรงงาน ผู้หญิง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ถูกจัดสถานะให้อยู่ในกลุ่มที่ไม่ มีงานทาได้เข้ามาเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ปั จ จุ บั น กัมพูช ายั งจะเป็ น ฐานการผลิตเสื้อผ้ าแบ รนด์ดังต่าง ๆ ด้วย การส่งออกเสื้อผ้าสาเร็จรู ปของกัมพูชา ในปี 2556 มี มู ล ค่ า 5.52 พั น ล้ า น ด อ ล ลาร์ ส หรั ฐ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 20 เปรี ย บเที ย บกั บ ปี 2555 ซึ่งมีมูลค่า 4.61 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก รายงานของกระทรวงพาณิ ช ย์ กั ม พู ช า โดยการ ส่ ง ออกเสื้ อผ้ าส าเร็ จรู ป ข อง กั ม พู ช า ไ ป ยั ง สหรัฐอเมริกาขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 มีมูลค่า 2.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับตลาดสหภาพ ยุ โ รปขยายตัว เพิ่ ม ขึ้ น ถึง ร้ อยละ 28 มีมูล ค่า 2.0 พัน ล้ านดอลลาร์ ส หรั ฐ และตลาดอื่น ๆ ขยายตัว เพิ่มขึ้น ร้ อยละ 32 มีมูล ค่า 1.41 พัน ล้ านเหรียญ สหรัฐ ซึ่งการส่งออกที่เพิ่มขึ้นมาจากยอดการสั่งซื้อ และการเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มที่ เพิ่ ม ขึ้ น ประกอบกั บ รั ฐ บาลกั ม พู ช าให้ ก าร สนั บ สนุ น การลงทุนในอุตสาหกรรมเครื่ องนุ่งห่ม

อย่างจริงจัง ด้วยการให้สิทธิประโยชน์ต่างๆ อาทิ การยกเว้นภาษีนาเข้าวัตถุดิบและส่ ว นประกอบ และลดหย่อนภาษีสาหรับการนาเข้าเครื่องจักรที่ใช้ ในการผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออก เป็ น ต้ น โดยนั ก ลงทุ น ต่างชาติสามารถยื่นขอรับสิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้ จาก CIB นอกจากนี้ รัฐบาลกัมพูชายังอนุญาตให้ นักลงทุนต่ างชาติส ามารถเป็ นเจ้ าของกิ จการได้ ทั้งหมด อุตสาหกรรมสิ่ งทอและเครื่ อ งนุ่ งห่ ม นั บ เป็ น อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพส าหรับผู้ ประกอบการ ไทยในกัมพูช า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายฐาน การผลิ ต ไปยั ง กั ม พู ช าเป็น ทางเลื อ กที่ ดี ท างหนึ่ง เพื่อให้ ส ามารถแข่ง ขั นในตลาดโลกได้ ดี กว่ า การ ผ ลิ ต ใ น ป ร ะ เ ท ศ เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว เ พ ร า ะ ผู้ประกอบการไทยในปัจจุบันเผชิญกับต้นทุนที่เพิ่ม สูงขึ้นจากการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่าเป็น 300 บาท ต่อวัน ในขณะที่ค่าแรงของกัมพูชาปัจจุบัน ต.ค. 2558 อยู่ ที่ 128 ดอลลาร์ ส หรั ฐ หรื อ ประมาณ 4,000 บาทต่อเดือน แต่ตั้งแต่ 1ม.ค.2559 จะเพิ่ม เป็น 140ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน อีกทั้งสินค้ากลุ่ม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยอยู่ในรายการของ สิ น ค้ า ที่ จ ะถู ก ตั ด สิ ท ธิ GSP จากสหภาพยุ โ รป ในขณะที่ ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ย นอื่ น ๆ เช่ น เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ จะยังคงได้รับ สิทธิพิเศษต่อไป

Page | 7


อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรู ป เป็น อุตสาหกรรมที่น่าสนใจและผู้ป ระกอบการไทยมี ศักยภาพในกัมพูชาเช่นกัน ด้วยเหตุผลที่กัมพูชามี พื้นดินที่อุดมสมบูร ณ์เหมาะแก่การปลู กข้าวและ พืชไร่ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดพระตะบอง ซึ่งเปรียบเสมือนอู่ข้าวอู่น้าของกัมพูชา เป็นแหล่ง ผลิ ต ข้ า ว ส้ ม และพื ช ไร่ ได้ แ ก่ มั น ส าปะหลั ง ข้ า วโพด จั ง หวั ด เกาะกง เป็ น แหล่ ง ผลิ ต ปาล์ ม น้ ามัน อ้อย โรงงานน้ าตาลทราย สิ น ค้าสั ต ว์ น้ า และจั ง หวั ด กั ม ปงจาม เป็ น แหล่ ง ผลิ ต ยางพารา เงาะ มังคุด ทุเรี ย น มะม่ว งหิ มพานต์ และพืช ไร่ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลัง ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และงา ซึ่งในแต่ละปีกัมพูชามีผลผลิตทาง

การเกษตรเป็ น จ านวนมากแต่ คุ ณ ภาพยั ง ต่ า เนื่องจากขาดเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย ส่งผล ใ ห้ ร า ค า ผ ล ผ ลิ ต ต ก ต่ า จึ ง เ ป็ น โ อ ก า ส ข อ ง ผู้ประกอบการไทยที่ จะเข้าไปลงทุนพัฒนาพืชผล เกษตร ได้แก่ การลงทุนสร้าง โรงสีข้าว ไซโลอบพืช เกษตร การพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเกษตร อาทิ ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เป็นต้น รวมทั้ง การ ลงทุ น ปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ ที่ เ ป็ น ที่ ต้ อ งการของ ตลาดโลก ได้ แ ก่ ปาล์ ม น้ ามั น ยางพารา ซึ่ ง ผู้ ป ระกอบการไทยมี ค วามรู้ มี เ ทคโนโลยี แ ละมี ทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้

อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ที่ผู้ป ระกอบการ ไทยมีโอกาสการลงทุนในกัมพูชา ได้แก่ ผลไม้และ น้าผลไม้กระป๋อง การผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว เครื่องปรุง ขนมขบเคี้ยว รวมถึงการแปรรูปอาหารทะเล เป็น ต้น เนื่องด้วยตลาดในกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัว ประกอบกั บ การที่ กัม พูช ามีส ถานที่ท่ อ งเที่ ย วซึ่ ง เป็นหนึ่งในจุดแข็งของประเทศทาให้มีนักท่องเที่ยว

เข้ามายังกัมพูชาเพิ่ม ขึ้นทุกปี แต่ในขณะเดียวกัน การผลิ ต อาหารและเครื่ อ งดื่ ม ที่ มี คุ ณ ภาพยั ง ไม่ เพียงพอกับความต้องการในประเทศ จึงเป็นหนึ่ง ในอุตสาหกรรมที่ผู้ ประกอบการไทยซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในธุรกิจแปรรูปอาหารเป็นอย่างดีมี โอกาสในประเทศนี้

Page | 8


อุตสาหกรรมประมง และอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมประมง กัมพูชามีทะเลสาบธรรมชาติขนาดใหญ่ อุ ดม ด้วยสัตว์น้า เช่น ปลาน้าจืดชนิดต่างๆ โอกาสของ นั กลงทุน ไทย ได้แก่ การเพาะเลี้ ย งสั ตว์น้ า อาทิ ป ล า น้ า จื ด จ ร ะ เ ข้ เ พื่ อ ก า ร ส่ ง อ อ ก แ ล ะ อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกั บ อุตสาหกรรมประมง

ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมห้ อ งเย็ น อุ ต สาหกรรมโรง น้ า แ ข็ ง แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ป ร รู ป สั ต ว์ น้ า จึ ง เ ป็ น อี ก ห นึ่ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ ผู้ประกอบการไทยมีโอกาสในการลงทุนได้

อุตสาหกรรมรับเหมาก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง ผู้ประกอบการไทยมีความพร้อมด้านบุคคลากร ที่มีความรู้ มีฝี มือและความช านาญด้านช่างและ ด้านเทคนิค กัมพูชามีความต้องการก่อสร้างอาคาร พาณิ ช ย์ โครงสร้ า งสาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน จึ ง มี ความต้ อ งการช่ า งก่ อ สร้ า งและวั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง เนื่องจากอยู่ในระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ และ ระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิด AEC โดยปี 2556 การก่อสร้ างในกัมพูช ามีมูลค่า

2,773 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 31% ในขณะ ที่ ปี 2557 ขยายตัว 36% และปัจจุบันไทยลงทุน ในภาคก่อสร้างในกัมพูชา 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประกอบกับอัตราการเติบโตเฉลี่ยของตลาดคอนโด มีเนียมในกัมพูชา ปี 2551-2557 อยู่ที่ 20% ต่อปี และคาดว่า ในช่วงปี 2558-2561 จะเติบโตอยู่ที่ ร้อยละ 40 ต่อปี

อุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ ส่วนประกอบ มีแนวโน้มขยายตัวตามรายได้ของ ชาวกัมพูชาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงตลาดยังมีช่องว่างใน การเติ บ โตอี ก มาก รถยนต์ ที่ น าเข้ า จากไทยเพื่อ จาหน่ายในกัมพูชาทั้งหมดเป็นรถยนต์ที่ผลิตตาม คาสั่ งเฉพาะ เนื่ องจากต้ องมี พวงมาลั ย ด้า นซ้ า ย ตามกฎหมายของประเทศ ในอี ก ด้ า นหนึ่ ง ประชากรที่มีกาลังซื้อไม่สูงมักนิยมซื้อรถยนต์มื อ สอง ทาให้ กัมพูช าน าเข้ารถยนต์มือสองมากกว่า

ร้ อ ยละ 30 ของรถยนต์ น าเข้ า ทั้ ง หมด จึ ง เป็ น โอกาสของการส่ ง ออกชิ้ น ส่ ว นรถยนต์ ป ระเภท REM (Replacement Equipment Manufacturing) ซึ่ ง เน้ น จ าหน่ า ยเป็ น อะไห ล่ ท ด แ ท น ร ว ม ทั้ ง ย า ง อ ะ ไ ห ล่ ร ถ ย น ต์ แ ล ะ รถจั ก รยานยนต์ นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง ธุรกิ จ ซ่อม บ ารุ ง รถยนต์ แ ละรถจั ก รยานยนต์ ก็ จ ะได้ รั บ ประโยชน์จากการเติบโตของอุตสาหกรรมอีกด้วย

Page | 9


ธุรกิจศูนย์การกระจายสินค้าอุปโภคบริโภค กัมพูชาไม่สามารถผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคได้เพียงพอกับความต้องการภายในประเทศ ชาวกัมพูชา นิยมบริโภคและยอมรับสินค้าไทย มีทัศนคติที่ดีต่อสินค้าไทยว่ามีคุณภาพดี และราคาเหมาะสม จึงเหมาะที่ผู้ ผู้ประกอบการไทยจะเข้าไปตั้งศูนย์การกระจายสินค้าอุปโภคบริโภค ธุรกิจโรงแรม : โรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮาส์ และโฮมสเตย์ การลงทุนของนักธุรกิจไทยในกัมพูชาควรเน้น โรงแรมขนาดกลาง เกสต์ เ ฮาส์ และโฮมสเตย์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู้ มี ร ายได้ ระดั บ กลางจากภู มิ ภ าคเอเชี ย และตลาดยั ง มี โอกาสของการขยายตัว โดยพื้นที่ที่ควรจะลงไป ลงทุ น คื อ จั ง หวั ด เสี ย มราฐ เพราะเป็ น สถานที่ ท่องเที่ยวสาคัญและเป็นเป้าหมายอันดับหนึ่งของ

นักท่องเที่ยว ประกอบกับตลาดยังมีโอกาสของการ ข ย า ย ตั ว (Strategic Plan 2554 – 2563 ข อ ง กัมพูชา ตั้งเป้านักท่องเที่ยว 7 ล้านคน) ในปัจจุบัน เสียมราฐมี 500 โรงแรม ยังขาดอีก 200-300 แห่ง เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ทั้งนี้สามารถเช่าหรือร่วม ทุนกับนักธุรกิจกัมพูชาที่ดาเนินธุรกิจโรงแรม แต่ ประสบปัญหาเรื่องการบริการจึงทาธุรกิจต่อไม่ได้

ธุรกิจสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพท่องเที่ยวและที่เกี่ยวข้อง ธุรกิจสถาบันฝึกอบรมวิชาชีพท่องเที่ยวและที่ เกี่ ย วข้ อ ง เช่ น หลั ก สู ต รไกด์ ทั ว ร์ การบริ ก าร โรงแรม การจั ด การโรงแรม การบริ ห ารจั ด การ ภั ต ต า ค า ร แ ล ะ ร้ า น อ า ห า ร เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ผู้ประกอบการไทยมีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพ ประกอบกั บ แรงงาน หั ว หน้ า งานในภาคธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วและบริ ก ารในกั ม พู ช ายั ง ขาดทั ก ษะ

เกี่ ย วกั บ การให้ บ ริ ก าร นอกจากนี้ โ รงแรมและ สถาบั น ฝึ ก อบรมเป็ น อุ ต สาหกรรมที่ รั ฐ บาล สนับสนุน หรือ เป็นการลงทุนที่รัฐบาลจัดให้เป็น โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (Qualified Investment Project :QIP) ซึ่ งให้ สิ ทธิพิเศษด้า น ภาษีแก่นักลงทุนต่างชาติโดยลดภาษีนิติบุคคลจาก ปกติร้อยละ 20 เหลือร้อยละ 9 ด้วย

Page | 10


ธุรกิจบริการคมนาคมและโลจิสติกส์ การเข้าสู่ ป ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย น ทาให้ เกิดการเชื่อมโยงเส้นทางการคมนาคมขนส่งมาก ขึ้นเป็นลาดับพื้นที่ที่เหมาะในการเข้าไปตั้งธุรกิจโล จิสติกส์ คลังสินค้า และศูนย์กระจายสินค้า ได้แก่ บริเวณด่านอรัญประเทศและปอยเปต หรือในเขต เศรษฐกิจปอยเปต – โอเนียง ซึ่งอยู่บนเส้นทาง R1 เชื่ อ มระหว่ า งไทย – กั ม พู ช า – เวี ย ดนาม จาก กรุ ง เทพฯ - สระแก้ ว - ปอยเปต (กั ม พู ช า) พนมเปญ - โฮจิ มิ น ห์ (เวี ย ดนาม) – หวุ ง เต่ า ระยะทางประมาณ 1,000 กิ โ ลเมตร หรื อ บน เส้ น ทาง R10 กรุ ง เทพฯ - ตราด - เกาะกง -

กั ม พู ช า - สี ห นุ วิ ล ล์ - นามคาน (เวี ย ดนาม) ระยะทาง 970 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง เป็ น เส้ น ทางที่ ผ่ า น เมืองท่องเที่ยว เช่น สีหนุวิลล์ และเขตเศรษฐกิจ พิเศษเกาะกงด้วย ธุรกิจโลจิสติกส์จึงสามารถมอง หาลู่ทางในการลงทุนและให้บริการจัดการห่ว งโซ่ อุปทานแก่ธุรกิจอื่น ๆ บริเวณท่าเรือสีหนุวิลล์ เพื่อ รองรับปริมาณการขนส่งสินค้าและตู้คอนเทนเนอร์ ที่ มี แ นวโน้ ม การขยายตั ว เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ได้ ด้ ว ยและ ก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาสถานี ข นถ่ า ยสิ น ค้ า เพื่ อ ลด ต้นทุนโลจิสติกส์ของทั้งสองประเทศ

บริการสุขภาพและบริการเสริมความงาม

บริการสุขภาพเป็ นหนึ่งในธุร กิจที่มีศัก ยภาพ ของไทย ไม่ว่าจะเป็นบริการทางการแพทย์ซึ่งไทยมี เป้ าหมายที่จะเป็ น ศูน ย์ กลางทางการแพทย์ ข อง ภู มิ ภ าค (Medical Hub) เนื่ อ งจากโรงพยาบาล ไทยและแพทย์ไทยมีคุณภาพในระดับสูง ประกอบ กับมีความพร้อมด้านแหล่งท่องเที่ยวและที่พักซึ่งจูง ใจให้ มี ผู้ ม าใช้ บ ริ ก ารในลั ก ษณะท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุขภาพ (Medical Tourism) เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หรือ ธุ ร กิ จ ที่ ต อบสนองกระแสการดู แ ลสุ ขภ า พ (Wellness) เช่ น สปาของไทย ซึ่ ง กล่ า วได้ ว่ า มี ชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ธุรกิจบริการสุขภาพของ ไทยจึงเป็นธุรกิจที่มีโอกาสในการขยายการลงทุน ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งเมียนมา กัมพูชา และ สปป.ลาว นอกจากนี้ เศรษฐกิจของประเทศเพื่อน

บ้านที่ดีขึ้นทาให้ประชากรมีความต้องการบริการ ทางการแพทย์ ที่ ดี ขึ้ น เช่ น กั น รวมไปถึ ง บริ ก าร สุขภาพอื่นๆ อาทิ การรักษาความงาม และสปา ก็ มีความต้องการเพิ่มขึ้นตามวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง ไปด้วย ในขณะที่บริการเสริมความงามก็มีโอกาสขยาย ตลาดไปในกัมพูชาเช่นกัน เนื่องจากการขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ ท าให้ ป ระชาชนมี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ประกอบกับสตรีช าวกัมพูช ารักสวยรักงาม ชอบ แต่งตัว โดยเฉพาะคนที่มีฐานะดี และการเข้าถึงสื่อ บันเทิงต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นทาให้เกิดกระแสความ รักสวยรักงามจึงเป็นโอกาสสาหรับธุรกิจด้านนี้ใน กัมพูชา

Page | 11


5.4

อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและได้รับการสนับสนุนในเมืองสาคัญของกัมพูชา พนมเปญ

-

อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมการเกษตรที่ใช้วัตถุดิบจากภายในประเทศเพื่อลดการนาเข้าสินค้าต่างๆ อุตสาหกรรมการจัดการของเสียและรีไซเคิล รวมทั้งระบบบาบัดน้าเสีย กันดาล

-

อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและรองเท้า อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรูป เช่น ผลไม้กระป๋อง น้าผลไม้ โรงสีข้าวและโรงอบข้าว และ บรรจุภัณฑ์ บันเตียเมียนเจย

-

วัสดุก่อสร้าง อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมการเกษตร : การปลูกข้าวเพื่อส่งออก เอทานอล อาหารสัตว์ การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

-

พระตะบอง อุตสาหกรรมเกษตร : โรงสีขาว เครื่องจักรกลทางการเกษตร อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม : น้าดื่ม น้าแข็ง เส้นก๋วยเตี๋ยว ลูกชิ้นปลา ซอสถั่วเหลือง น้าปลา และซอสพริก

-

กัมปอต อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม : การทาน้าปลา ซอสถั่วเหลือง เส้นก๋วยเตี๋ยว ไวน์ ขนมปัง น้า ดื่มบรรจุขวด และน้าแข็ง อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรูป : โรงสีข้าว โรงอบแห้ง น้าตาล เกลือ พริกไทย และเม็ด มะม่วง หิมพานต์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว : รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮาส์ ร้านอาหาร

Page | 12


-

-

-

กัมปงจาม อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม : แป้งมันสาปะหลัง น้าผลไม้และผลิตภัณฑ์จากถั่ว อุตสาหกรรมการเกษตร : โรงสีข้าว อาหารสัตว์ การเลี้ยงวัว และการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว : รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮาส์ ร้านอาหาร อุตสาหกรรมยาง : การแปรรูปยาง โรงงานยาง และมีบริษัทรับซื้อยาง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว : โรงแรม ร้านอาหาร และมีการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยว อุตสาหกรรมการค้าและบริการ : ธนาคาร การขนส่ง คลังสินค้าตามแนวชายแดน และบริษัทรับซื้อ สินค้าเกษตร อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป เช่น การทาเม็ดมะม่วงหิมพานต์และของหวานบรรจุกระป๋อง เกาะกง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว : รีสอร์ท โรงแรม และร้านอาหารตามแนวชายฝั่งที่สวยงาม อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรูป : โรงสีข้าวและโรงอบแห้งข้าว การผลิตน้าตาล การแปรรูป อาหารที่ใช้สินค้าเกษตรและปลาทะเล พระสีหนุ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว : รีสอร์ท โรงแรม และร้านอาหาร อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป

-

เสียมราฐ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว : โรงแรม ร้านอาหารและ ร้านขายของที่ระลึก อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม : โรงสีข้าว ซอสถั่วเหลือง ซอสพริก น้าปลา ลูกชิ้นปลา ไส้กรอก ขนมอบ ไวน์ น้าดื่ม และการผลิตน้าแข็ง อุตสาหกรรมเสื้อผ้า อุตสาหกรรมหารผลิตขวดและถุงพลาสติก

-

สวายเรียง อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป : โรงสีข้าว การแปรรูปมันสาปะหลัง และการผลิตน้าตาลทราย อุตสาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้า อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง

-

Page | 13


5.5

ปัญหา อุปสรรค และข้อควรระวังในด้านการค้าการลงทุน

เมื่อพิจารณาจาก The Global Competitiveness Report 2014 – 2015 แ ล ะ The Global Competitiveness Report 2013 – 2014 ในประเด็ น ปั จ จั ย ที่ เ ป็ น ปั ญ หาในการ ประกอบธุร กิจ ในกัมพูช าจะเห็ น ได้ว่าปั ญหาการ คอรั ป ชั่น ยั งเป็น ปัญหาส าคัญของกัมพูช าทั้งในปี 2556 และ 2557 นอกจากนี้ ใ นปี 2557 ปั จ จั ย ที่ เป็นปัญหารองลงไปได้แก่ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน ระบบราชการที่ ไ ม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แรงงานมี การศึกษาไม่เพียงพอ รวมทั้งความไม่เพียงพอของ โครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะค่าไฟฟ้า เนื่องจาก กัมพูช ายั งไม่ส ามารถผลิ ตไฟฟ้าได้เ พีย งพอ ต้อง

นาเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน การเข้าถึงไฟฟ้ายัง กระจุกตัวในเมืองใหญ่ นอกจากนี้ กระแสไฟฟ้ายัง ไม่เสถียร ไฟตกและไฟดับบ่อย ส่งผลต่อการผลิตที่ อาจได้รับความเสียหาย ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วน ส่งผลกระทบต่อบรรยากาศในการลงทุนทั้งสิ้น ทั้ง ยังเป็นปัจจัยที่นักลงทุนพึงระวังและเตรียมความ พร้อมสาหรับการลงทุนในกัมพูชา สาหรับปัจจัยที่ มี ปั ญ หาน้ อ ยที่ สุ ด ในปี 2557 คื อ ปั ญ หาสุ ข ภาพ ของประชาชนไม่ดี อัตราภาษี ความสามารถในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ยังไม่เพียงพอปัญหา อาชญากรรมและขโมย

Page | 14


ปัจจัยที่เป็นปัญหาสาหรับการค้าการลงทุนในกัมพูชา ปัจจัยที่เป็นปัญหา (Problematic Factors)

ร้อยละของระดับปัญหา 2014 2013

1. คอรัปชั่น (Corruption) 2. การเข้าถึงแหล่งเงินทุน (Access to financing) 3. ระบบราชการที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Inefficient government bureaucracy) 4. แรงงานมีการศึกษาไม่เพียงพอ (Inadequately educated workforce) 5. ความไม่เพียงพอของโครงสร้างพื้นฐาน (Inadequate supply of infrastructure) 6. ความไม่แน่นอนของนโยบาย (Policy instability) 7. ความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาล (Government instability) 8. กฎ ระเบียบแรงงานที่เข้มงวด (Restrictive labour regulations) 9. กฎ ระเบียบภาษี (Tax regulations) 10. การควบคุมเงินตราต่างประเทศ (Foreign currency regulations) 11. จรรยาบรรณของแรงงานต่า (Poor work ethic in national labour force) 12. อาชญากรรมและขโมย (Crime and theft) 13. ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ยังไม่ เพียงพอ(Insufficient capacity to innovate) 14. อัตราภาษี (Tax rates) 15. สุขภาพของประชาชนไม่ดี (Poor public health)

19.4 12.2 11.4

19.0 7.2 13.3

9.8

12.2

9.4

11.3

7.0 4.5

7.5 1.3

4.5

1.4

3.9 3.6

4.8 1.9

3.1

4.3

2.7 2.4

1.8 4.7

2.3 2.1

1.9 4.1

ที่มา : The Global Competitiveness Report 2014–2015 The Global Competitiveness Report 2013–2014

นอกจากปัจจัยที่เป็นปัญหาข้างต้นแล้วสาหรับ การค้า การลงทุน ในกั ม พูช าผู้ ป ระกอบการหรื อ ผู้สนใจที่จะลงทุนยังต้องศึกษาและพิจารณา ได้แก่ การโอนเงิ น ตราออกนอกประเทศ ปั ญ หาด้ า น

แรงงาน รวมทั้ ง กระบวนการรั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด สินค้า เป็นต้น ดังรายละเอียดต่อไปนี้

Page | 15


1)

การโอนเงินตราออกนอกประเทศกัมพูชา2 

ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนต่างชาติที่เข้าไป ประกอบธุร กิจ หรื อลงทุนในกัมพูชาสามารถโอน เงิ น ออกนอกประเทศได้ อ ย่ า งเสรี โดยกฎหมาย Foreign Exchange Law, 22 สิงหาคม ค.ศ.1997 ไม่จากัดในการโอนเงินลงทุนหรือผลกาไรที่ได้จาก การลงทุนออกนอกประเทศ กฎหมายเกี่ยวกับการ แลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ให้ อ านาจธนาคารชาติแห่ ง กั ม พู ช าในการควบคุ ม ดู แ ลการส่ ง เงิ น ออกนอก ประเทศ ในกรณีที่นักท่องเที่ยวนาเงินเข้าหรือออก นอกประเทศมีมูลค่าตั้งแต่ 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ขึ้น ไป จะต้องส าแดงต่อเจ้ าหน้ าที่ศุล กากร และ ธนาคารที่ เ ป็ น ผู้ ท าธุ ร กรรมจะต้ อ งรายงานต่ อ ธนาคารชาติ แ ห่ ง กั ม พู ช าเมื่ อ มี ก ารน าเงิ น สดที่มี เงินตราต่างประเทศออกจากกัมพูชา นอกจากนี้ ม าตรา 11 ของกฎหมายแก้ ไ ข เพิ่ ม เติ ม ว่ า ด้ ว ยการลงทุ น ปี ค.ศ.2003 ให้ ก าร รั บ ประกั น ว่ า โครงการที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การ ลงทุ น (QIP) สามารถโอนเงิ น สกุ ล ต่ า งประเทศ ระหว่างประเทศ ได้อย่างเสรี โดยซื้อผ่านธนาคารที่ ได้รับอนุญาต สาหรับการดาเนินการทางการเงินที่ เกี่ ย ว ข้ อ งกั บ การลงทุ น ปร ะกอบด้ ว ยการ ดาเนินการต่อไปนี้

2

  

การชาระเงินสาหรับการนาเข้า และการ ชาระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยเงินกู้ยืม จาก ต่างประเทศ การชาระเงินค่าสิทธิ และค่าธรรมเนียม การจัดการ การโอนเงินผลกาไร การโอนเงินลงทุนกลับประเทศในกรณีที่ ยกเลิกกิจการ

นอกจากนี้สาหรับผู้ประกอบการหรือนักลงทุน ไทยที่ไปดาเนินกิจการในกัมพูชา ยังสามารถขอรับ คาปรึกษาด้านการโอนเงินจากธนาคารของไทย ซึ่ง ปั จ จุ บั น มี ส าขาอยู่ ใ นกั ม พู ช าได้ แต่ ก ารโอนเงิ น ต่างประเทศสกุลเงินบาทระหว่างกัมพูชา-ไทยผ่าน ธนาคารพาณิชย์ไทยในกัมพูชาไม่ได้รับความนิยม จากผู้ ป ระกอบการ SMEs เนื่ อ งจากมี ค่ า ใช้ จ่ า ย ค่อนข้างสูงเทียบกับการโอนเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ปัจจุบันมีเพียงบริษัทไทยขนาดใหญ่เท่านั้นที่ ใช้บริการโอนเงินบาทระหว่างประเทศ

ข้อมูลจากศูนย์พัฒนาการค้า และธุรกิจไทยในอาเซียน ณ กรุงพนมเปญ (AEC Business Support Center in Phnom Penh, Cambodia) (2557)

Page | 16


2)

ปัญหาด้านแรงงานในกัมพูชา3 (1)

(2)

ก า ร ป ร ะ ท้ ว ง ข อ ง แ ร ง ง า น โดยเฉพาะแรงงานในพนมเปญ ซึ่ ง ส า เ ห ตุ ส่ ว น ใ ห ญ่ คื อ สภาพแวดล้อมในการทางานไม่ดี นัก ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง รวม ไปถึงปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน แรงงานกัมพูชาที่อยู่ตามจังหวัด ชายแดนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น แรงงาน จากภาคเกษตรกรรมจึ ง ขาด ทั ก ษะด้ า นอุ ต สาหกรรม ดั ง นั้ น ผู้ ป ระกอบการต้ อ งฝึ ก อบรม แรงงานก่อนเข้าสายการผลิตจริง โดยระยะเวลาที่ ใ ช้ ฝึ ก อบรม ขึ้ น อยู่ กั บ คว ามซั บ ซ้ อ นของ ขั้ น ต อ น ก า ร ผ ลิ ต เ ช่ น ใ น อุตสาหกรรมการตัดเย็ บ เสื้ อ ผ้ า อาจใช้เวลาตั้งแต่ 1 – 6 สัปดาห์

(3)

(4)

ค่าจ้างแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยสหภาพแรงงานของ กัมพูชากดดันให้ภาครัฐขึ้นค่าจ้าง แรงงานขั้ น ต่ าในอุ ต สาหกรรม เ ค รื่ อ ง นุ่ ง ห่ ม อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ปัจจุบัน เดือนตุลาคม.2558 อยู่ ที่ 128 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ต่ อ เดื อ น และตั้งแต่ 1 มกราคม 2559 จะ เพิ่มเป็น 140 ดอลลาร์สหรัฐต่อ เดือน อั ต ราการเข้ า - ออกงานของ แรงงานกัมพูชาค่อนข้างสูง จาก วัฒนธรรมการทางานที่ต้องการ ความแปลกใหม่ ใ นการท างาน ย้ า ยถิ่ น ฐานบ่ อ ย ตลอดจนการ เปลี่ยนงานเมื่อได้เงินเดือนสูงกว่า

3 ข้อมูลจากรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแนวทางการย้ายฐานการผลิตของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น

ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน (สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม รองเท้าและเครื่องหนัง อัญมณีและเครื่องประดับ) ระยะที่ 2 มูลนิธิ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2556)

Page | 17


3)

การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีและการออกใบรับรองแหล่งกาเนิดสินค้า

การใช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ต ามข้ อ ตกลงเขต การค้าเสรีอาเซียน (Form D) ค่อนข้างยุ่งยาก และ ระบบการจัดการที่ยังไม่พร้อม ทาให้ผู้ประกอบการ ไทยไม่นิยมใช้สิทธิในทางปฏิบัติ

สาหรับเอกสารใบอนุญาตส่งออก กรมการค้า ต่ า งประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ กั ม พู ช า จะออก เอกสารใบอนุญาตส่งออกสินค้าที่ควบคุม คือ ไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ และข้าว

นอกจากนี้ด้วยมาตรการส่งออกของกัมพูชานั้น ก าหนดให้ ส ามารถท าการส่ ง ออกได้ เ สรี ไ ม่ มี ข้อจากัด ยกเว้นสิ นค้าที่กระทรวงพาณิชย์กัมพูชา กาหนดให้ ส่ งออกได้โ ดยต้อ งมีเ อกสารใบรั บ รอง แหล่ ง ก าเนิ ด สิ น ค้ า จากกรมสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ข อง กั ม พู ช า หรื อ เอกสารใบอนุ ญ าตส่ ง ออกจาก กรมการค้ า ต่ า งประเทศกั ม พู ช า โดยเอกสาร ใบรับรองแหล่งกาเนิดสิน ค้า กรมสิทธิประโยชน์ (GSP. Department) กระทรวงพาณิ ช ย์ กั ม พู ช า จะออกเอกสารใบรับรองแหล่งกาเนิดสินค้าให้กับผู้ ส่ งออกสิ น ค้าที่ป ระเทศผู้ น าเข้า ต้อ งการ เพื่อ ให้ ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากรและอื่นๆ

นอกจากนี้ ผู้ ส่ ง ออกในประเทศกั ม พู ช าควร สั ง เกตกฎแหล่ ง ก าเนิ ด สิ น ค้ าส าหรับ การส่ ง ออก ภายใต้ GSP เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ การพิ จ ารณาว่ า มี แหล่งกาเนิดสินค้าจากประเทศที่ส่งออกหรือเป็น ประเทศได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโ ยช น์ ( Beneficiary Country) ซึ่ ง สิ น ค้ า ส่ ง ออกภายใต้ ร ะบบ GSP4 จะต้องถูกผลิตขึ้นในประเทศที่ได้รับสิทธิประโยชน์ (Beneficiary Country) การที่สิ นค้าจะได้รับการ พิจารณาว่ามีการผลิตในประเทศที่ทาการส่งออก สิ นค้าจะต้องมีคุณสมบัติผ่ านเกณฑ์ข้ อกาหนดที่ ระบุ ไ ว้ ใ นกฎของแหล่ ง ก าเนิ ด (Rule of Origin: ROO) โดยเป็นสินค้าซึ่งใช้วัส ดุและมีขั้นตอนการ ผลิ ตทั้งหมดในประเทศที่ทาการส่ งออกจะถือ ว่ า ประเทศนั้นเป็นประเทศต้นกาเนิด ขณะที่สินค้าที่มี การใช้ วั ส ดุ ใ นการผลิ ต จากประเทศอื่ น ก็ มี สิ ท ธิ์ ได้รับการพิจารณาหากมีสัดส่วนในการผลิ ตหรือ การแปรรูปสินค้านั้นผ่านเกณฑ์ที่กาหนด โดยพิกัด ศุลกากรของสินค้าขั้นสุดท้ายจะเปลี่ยนแปลงตาม วัสดุที่มีการนาเข้า

สินค้าที่ต้องขอเอกสารใบรับรองแหล่งกาเนิด สิ น ค้ า เ พื่ อ ส่ ง อ อ ก ไ ป บ า ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ด้ แ ก่ (1) (2) (3) (4) (5) (6)

ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ เสื้อผ้าสาเร็จรูปและถุงมือ รองเท้า กุ้งแช่แข็ง ข้าว เบียร์และบุหรี่

4 ข้อมูลจาก AEC Business Support Center in

Phnom Penh, Cambodia (2557)

ทั้งนี้กฎแหล่งกาเนิดสินค้ายังกาหนดว่าสินค้า จะต้องมาพร้อมกับ ใบรับรองแหล่ งก าเนิด สิ น ค้ า (Certificate of Origin: C/O) Form A (ออกโดย

Page | 18


หน่วยงานที่มีอานาจในประเทศที่ทาการส่งออกซึ่ง ได้รับการยอมรับจากประเทศผู้นาเข้า ซึ่งหมายถึง กระทรวงพาณิชย์ ในกรณีของกัมพูชา) หรือ ต้องมี การแสดงใบกากับสินค้า เพื่อพิสูจน์แหล่งกาเนิด ของวั ส ดุ ที่ มี ก ารน าเข้ า ในประเทศที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ และจะต้องเป็นการขนส่งโดยตรงไปยัง ประเทศผู้ น าเข้ า ในกรณี ข องการผลิ ต เสื้ อ ผ้ าใน

5.6

การเข้าไปทางานของแรงงานต่างชาติในกัมพูชา5

บุคคลที่เป็นชาวต่างชาติไม่สามารถทางานได้ เว้นแต่จะได้ใบรับอนุญาตทางาน และบัตรการจ้าง งานจากกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน และ จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) นายจ้างต้องมีใบอนุญาตทางานอย่าง ถูกต้องตามกฎหมายในราชอาณาจักร กัมพูชาก่อน 2) ชาวต่างชาติต้องเข้าราชอาณาจักรอย่าง ถูกต้องตามกฎหมาย 3) ชาวต่างชาติต้องมีหนังสือเดินทางที่ยังไม่ หมดอายุ 4) ชาวต่างชาติต้องมีใบอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ ที่ยังไม่หมดอายุ 5) ชาวต่างชาติต้องเหมาะสมกับงานและไม่มี โรคติดต่อ

5

กั ม พู ช า ซึ่ ง มี ก ารใช้ ผ้ า ที่ ผ ลิ ต และน าเข้ า มาจาก ญี่ปุ่น แล้วทาการส่งออกกลับไปยังประเทศญี่ ปุ่น จะต้องมีใบรับรองการนาเข้าวัสดุจากประเทศญี่ปุ่น (Certificate of Materials Imports from Japan หรื อ ที่ เรี ย กว่ า “Annex”) ที่ อ อกโดยรั ฐ บาล กั ม พู ช า แนบไปกั บ Form A เพื่ อ ยื น ยั น ว่ า ผ้ า เหล่านั้นถูกนาเข้าจากญี่ปุ่น

ข้อมูลจาก AEC Business Support Center in Phnom Penh, Cambodia (2557)

ใบอนุญาตทางานมีอายุ 1 ปี และสามารถต่อ อายุได้ตราบที่ไม่เกินเวลาที่กาหนดในใบอนุญาตให้ มีถิ่นที่อยู่ (มาตรา 261) จานวนของชาวต่างชาติที่สามารถถูกจ้างในแต่ ละวิ ส าหกิ จเป็ นไปตามประกาศของกระทรวงที่ รับผิดชอบด้านแรงงาน โดยแบ่งตามประเภทของ บุคลากรดังต่อไปนี้ (มาตรา 264)   

พนักงานออฟฟิศ ผู้เชี่ยวชาญ พนักงานที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ

ชาวต่างชาติที่จะทางานในราชอาณาจักรต้อง เดิ น ทางเข้ า ประเทศด้ ว ยวี ซ่ า ที่ ถู ก ต้ อ ง ซึ่ ง มี 7 ป ร ะ เ ภ ท คื อ Diplomatic (A),Official (B), Courtesy (C), Transit (D), Ordinary (E), Special (K) แ ล ะ Tourist (T) เ มื่ อ จ ะ ท า ง า น นายจ้ า งต้ อ งแจ้ ง กระทรวงแรงงานและอาชี ว ะ (Ministry of Labor and Vocational Training) เพื่อขออนุญาตจ้างงาน

Page | 19


1) การขอใบอนุญาตทางานในกัมพูชา

ขั้นตอนในการยื่นขอใบอนุญาตทางาน

ชาวต่ า งชาติ ที่ ม าท างานในกั ม พู ช าจะต้ อ งมี ใบอนุญาตทางานและบัตรการจ้างงานที่ออกโดย กระทรวงแรงงาน โดยจะได้ รั บ จากนายจ้ า ง ซึ่ ง จะต้องต่ออายุทุก 1 ปี ซึ่งใบอนุญาตทางานสาหรับ ชาวต่างชาติในกัมพูชา แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้

(1) ใบขออนุญาตทางานชั่วคราว ออกโดย กระทรวงแรงงาน เอกสารที่ต้องใช้มีดังนี้

(1) ใบอนุญาตทางานชั่วคราวสาหรับชาวต่างชาติ จะออกให้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ - พนักงานและผู้เชี่ยวชาญ - เจ้าหน้าที่เทคนิค - แรงงานที่มีฝีมือ - ผู้ให้บริการหรือแรงงานทั่วไป (2) ใบอนุญาตทางานถาวรสาหรับชาวต่างชาติจะ ออกให้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ - ผู้อพยพชาวต่างชาติที่ได้รับรองโดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย - นักลงทุนต่างประเทศและคู่สมรสที่ได้ รับรองโดยสภาเพื่อการพัฒนาของ กัมพูชา ใบอนุญาตทางานทั้ง 2 ประเภทไม่รวมเด็กอายุ ต่ ากว่ า 18 ปี ส าหรั บ เด็ ก อายุ ต่ ากว่ า 18 ปี จะ ได้รับการจดทะเบียนภายใต้ใบอนุญาตทางานของ พ่อแม่หรือผู้ปกครองเท่านั้น

- แบบฟอร์มใบสมัครที่ออกโดย กระทรวงมหาดไทย จานวน 3 ชุด - พาสปอร์ตหรือเอกสารแสดงตนอื่นๆ - รูปถ่ายขนาด 4 x 6 เซนติเมตร ไม่ สวมหมวกหรือแว่นตา - ใบรับรองแพทย์ และสัญญาจ้างงาน - นโยบายการประกันการจ้างงานของ บริษัทที่ออกโดยนายจ้าง หรือ บริษัท ประกันภัย - ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทางาน ชั่วคราว (2) ใบอนุญาตทางานถาวรออกโดยกระทรวง แรงงาน เอกสารที่ต้องใช้มีดังนี้ - สาเนาเอกสารแสดงตนของผู้อพยพ หรือผู้ลงทุน - พาสปอร์ตหรือเอกสารแสดงตนอื่นๆ - รูปถ่ายขนาด 4 x 6 เซนติเมตร ไม่ สวมหมวกหรือแว่นตา - ใบรับรองการเงินจากธนาคารใน กัมพูชา - ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทางานถาวร

เอกสารต่าง ๆ ข้างต้น จะต้องส่งให้สถานีตารวจ เทศบาลและกระทรวงมหาดไทยเพื่อตรวจสอบ ก่อนที่จะ ส่งให้กระทรวงแรงงานจะให้การอนุมัติต่อไปดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1) กระทรวงแรงงานจะพิ จ ารณาเอกสารต่ า งๆ และจ านว นพนั ก งานต่ า งช าติ ใ นสถาน ประกอบการนั้นๆ ก่อนอนุญาตให้จ้างงานได้ โดยจะออกสมุ ด คู่ มื อ การจ้ า งงาน (labor

book) และใบอนุญาตทางาน (work permit) เพื่ อ การต่ อ อายุ ก ารตรว จลงตรา ทั้ ง นี้ ใบอนุ ญ าตท างานมี อ ายุ 1 ปี ค่ า ธรรมเนี ย ม 100 ดอลลาร์สหรัฐ

Page | 20


2) ชาวต่ า งชาติ ที่ ไ ด้ ใ บอนุ ญ าตท างาน น า ใบอนุญาตทางานไปยื่นขอต่ออายุการตรวจลง ตรากั บ ส านั ก งานตรวจคนเข้ า เมื อ ง โดยจะ ได้รับการต่ออายุการตรวจลงตราเป็นประเภท Ordinary แบบเข้ า -ออกได้ ห ลายครั้ ง มี อ ายุ ตั้งแต่ 1-12 เดือน ตามระยะการจ้างงาน แต่ ไม่ เ กิ น 1 ปี (การตรว จลงตราปร ะ เ ภ ท Ordinary อ า ยุ 1 ปี ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม 270 ดอลลาร์สหรัฐ) 3) กระทรวงแรงงานกัมพูชาจะตรวจสอบสถาน ประกอบการต่างๆ ช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ของทุกปี หากพบพนั กงานที่ ไม่ มี ใบอนุ ญ าต

ทางานจะปรับตามจานวนปีที่ไม่มีใบอนุญาต ทางานในอัตราปีละ 100 ดอลลาร์สหรัฐ 4) ตามกฎหมายแรงงานกัม พูช า บริษัทเอกชน สามารถจ้างชาวต่างชาติได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของต าแหน่ ง งานทั้ ง หมด โดยแบ่ ง เป็ น (1) เจ้ า หน้ า ที่ ใ นส านั ก งานไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 3 (2) ผู้เชี่ยวชาญไม่เกินร้อยละ 6 (3) แรงงานไม่เกิน ร้อยละ 1 อย่างไรก็ดีนายจ้างสามารถขอผ่อน ผั น กั บ กระทรวงแรงงานโดยชี้ แ จงความจ า เป็ น ได้ ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมากระทรวงแรงงานมั ก พิจารณาด้วยดี

2) การขอวีซ่าพานักในประเทศกัมพูชา6 กั ม พู ช าได้ แ บ่ ง ประเภทการท าวี ซ่ า เป็ น 2 ประเภท คื อ วี ซ่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วและวี ซ่ า ธุ ร กิ จ สาหรับวีซ่าท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่าย 30 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อมาถึง ที่ส นามบิ น นานาชาติ พ นมเปญโดยผู้ ที่ ได้รับวีซ่านักท่องเที่ยวสามารถอยู่ในกัมพูชาได้ 1 เดือน และจะได้รับการต่ออายุให้อีก 1 ครั้งโดยไม่ ต้องออกนอกประเทศ ปัจจุบันประเทศกัมพูชาได้ พัฒนาการระบบขอวีซ่านักท่องเที่ยวโดยใช้ระบบ อ อ น ไ ล น์ ผ่ า น https://www.evisa.gov.kh/ContactInformati on.aspx/ พร้ อ มทั้ ง การช าระเงิ น 20 ดอลลาร์ สหรัฐ ผ่าน PayPal ทั้งนี้ในปัจจุบันสามารถเข้าสู่ ร ะ บ บ ก า ร ข อ วี ซ่ า ด้ ว ย แ อ พ ลิ เ ค ชั่ น ข อ ง โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ได้ อี ก ด้ ว ย เพื่ อ ความสะดวกใน ขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมือง อย่างไรก็ตาม E-Visa ใช้ได้เฉพาะวีซ่านักท่องเที่ยวเท่านั้น ซึ่งขั้นตอนการ 6

จัดทา E-Visa จะใช้เวลา 2 วันทาการ ส่วนผู้ที่จะ มาทาธุรกิจที่ต้องการพานักอยู่ในประเทศกัมพูชา เป็นระยะเวลานานหรือต้องการ multiple entries ยังต้องยื่นขอวีซ่าผ่านทางช่องทางเดิม (เจ้าหน้าที่) สาหรับบุคคลที่ต้องการอยู่ในประเทศนานกว่า สองเดือนหรือหากทางานจาเป็นต้องมีวีซ่าธุร กิจ โดยใช้ห ลั กการเดียวกับการขอวีซ่านักท่องเที่ยว คื อ ยื่ น ขอวี ซ่ า เมื่ อ มาถึ ง สนามบิ น นานาชาติ พนมเปญ โดยมี ร าคา 30 ดอลลาร์ ส หรั ฐ โดย จะต้องระบุรายละเอียดต่างๆ ในแบบฟอร์มขอวีซ่า และยื่นเอกสารพร้ อ มกับ พาสปอร์ ต (พาสปอร์ ต จะต้องมีอายุมากกว่า 6 เดือน และมีหน้าว่างอย่าง น้ อ ย 1 หน้ า ) โดยใช้ ร่ ว มกั บ ภาพถ่ า ย และไม่ จาเป็นต้องใช้หลักฐานการจ้างงานแต่อย่างใด วีซ่า ธุรกิจจะมีอายุ 1 เดือน แต่สามารถขยายเป็น 1, 3, 6, และ 12 เดื อ น โดยไม่ ต้ อ งออกนอกประเทศ

ข้อมูลจากศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในอาเซียน ณ กรุงพนมเปญ (AEC Business Support Center in Phnom Penh, Cambodia) (2014) http://www.ditp.go.th/contents_attach/92513/92513.pdf

Page | 21


อย่างไรก็ตาม วีซ่าธุรกิจ 1 และ 3 เดือนเป็นเพียง single entry เท่านั้นถ้าออกนอกประเทศไปแล้ ว ต้องขอวีซ่าใหม่ แต่ในส่ ว นของวีซ่าธุร กิจ 6 และ 12 เดือน จะเป็น multiple entries ที่สามารถเข้า ออกนอกประเทศได้โดยวีซ่าไม่หมดอายุ ปกติแล้ว การยื่นขอวีซ่าธุร กิจ สามารถทาได้ด้ว ยตนเอง ที่ ส านั ก งานตรวจคนเข้ า เมื อ งที่ อ ยู่ ใ กล้ ส นามบิ น

นานาชาติพนมเปญ แต่จะมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและ จะต้องมีเงินพิเศษเพื่ออานวยความสะดวกในการ ทาวีซ่าธุรกิจ ดังนั้น เพื่อความสะดวกในการทาวีซ่า ธุรกิจ นักธุรกิจส่วนใหญ่จะใช้บริษัทท่องเที่ยวเป็น ตัวแทนจัดการเรื่องวีซ่าให้ เนื่องจากมีความสะดวก รวดเร็ว แต่ก็จะมีค่าธรรมเนียมในการจัดการตาม ความเหมาะสม ซึ่งอัตราค่าธรรมเนียมวีซ่า มีดังนี้

อัตราค่าธรรมเนียมวีซ่า (พ.ศ. 2557) ระยะเวลา 1 เดือน (single entry) 3 เดือน (single entry) 6 เดือน (multiple entries) 12 เดือน (multiple entries)

ค่าธรรมเนียม (ดอลลาร์สหรัฐ) 30 75 150 280

Page | 22


3) ศูนย์ฝึกอาชีพหลักในกัมพูชา ศูนย์ฝึกอาชีพหลักๆ และตัวแทนจัดหางานในราชอาณาจักรมีรายละเอียดดังนี้ Page | 23

ศูนย์ฝึกอาชีพหลักในราชอาณาจักรกัมพูชา 1. Preah Kossomak Polytechnic Institute Address: # Russian Boulevard, Sangkat Teuk Thla, Khan Sen Sok, Phnom Penh. Tel: (855) 23 882126 Fax: (855) 23 822 126 Email: rachanappi@outlook.com, petersoeun@yahoo.com Website: http://www.ppiedu.com/ 2. Ministry of Labor and Vocational Training Address: # 3 Russia Federation Sangkat Touek Laak Khan Toul Kork Phnom Penh City Tel: (855) 23 88 43 75 Fax: (855) 23 88 43 76 Email: info@mlvt.gov.kh Website: http://www.mlvt.gov.kh/ 3. National Technical Training Institute Address: # Russian Blvd, Sangkat Teukthla Khan Sensok, Phnom Penh CAMBODIA Tel: (855) 23 883 039 Fax: (855) 23 883 039 Email: info@ntti.edu.kh Website: http://www.ntti.edu.kh


5.7

ค่าใช้จ่ายสาหรับการดาเนินธุรกิจในกัมพูชา 2557 7

1)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และอสังหาริมทรัพย์ Page | 24

ราคา/ค่าเช่าที่ดิน ประเภทที่ดิน First Commercial Second Commercial Third Commercial First Residential Second Residential Third Residential Land Development Land

ราคา (ดอลลาร์สหรัฐ/ตร.ม.) พนมเปญ เสียมราฐ พระสีหนุ 4,000-6,000 2,500-3,000 1,000-1,500 1,800-2,500 800-1,200 50-300 15-50

1,500-2,500 800-1,000 300-500 300-500 150-200 50-100 5-20

ราคา (ดอลลาร์สหรัฐ/ตร.ม.) ที่ตั้ง ค่าเช่า

800-1,200 400-600 200-300 300-500 150-200 50-100 5-20

ถนนหลัก ถนนรอง แหล่งชุมชน นอกเมือง

8-10 3-5 3-4 0.2-1

ราคา/ค่าก่อสร้าง ค่าเช่าโรงงาน

ประเภท

ที่ตั้ง

Prime Areas Other Areas ถนนหมายเลข 2 สร้างโรงงานใหม่ Boeung Tompun ถนน 371 ถนน Veng Sreng, ถนนหมายเลย 3, 4

โรงงานสร้างเสร็จ

7

ค่าเช่ารายเดือน (ดอลลาร์สหรัฐ /ตร.ม)

ราคา/ ค่าก่อสร้าง (ดอลลาร์สหรัฐ/ ตร.ม.)

1.35-1.80 1.15-1.35 1.35-1.80 1.15-1.35 1.0-1.5

250-350 150-300 70-150

คู่มือการลงทุนและประกอบธุรกิจในประเทศกัมพูชา ศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Business Support Center) (2557)


ค่าเช่าสานักงาน บริเวณที่ตั้งสานักงาน Prime Area Secondary Area

ค่าเช่าเฉลี่ยต่อเดือน (ดอลลาร์สหรัฐ/ตร.ม.) Page | 25

15-25 8-13

ค่าเช่าคลังสินค้า ที่ตั้ง

ค่าเช่าเฉลี่ย (ดอลลาร์สหรัฐ/ตร.ม.)

เขตอุตสาหกรรม (ถนน Veng Sreng) Boeung Tom Pun area Chamkadong area Cam Chao Steng Meanchey

1.00 1.00-1.50 1.00-1.35 1.00-1.50 1.00-1.80

ราคา/ค่าเช่า ที่อยู่อาศัย ระดับ 1 Class A Class B

1,400-1,600 700-1,200

ราคา (ดอลลาร์สหรัฐ/ตร.ม.) จานวนห้องนอน 2 3 2,000-2,800 1,000-1,500

3,000-3,500 1,800-2,500

4 4,000-4,500 2,800-3,000


ราคา/ค่าเช่า ที่อยู่อาศัย ที่ตั้ง Prime Area (Fully Furnished)

Commercial Area

Around Market

Market Area

Residential – 1

Residential – 2

ประเภท

พื้นที่

แบบสตูดโิ อ 1 ห้องนอน / 1 ห้องน้า 2 ห้องนอน / 1 ห้องน้า 2 ห้องนอน / 2 ห้องน้า ชั้นล่าง ชั้นล่าง + ชั้น 1 ชั้นล่าง + ชั้น 3 ชั้น 1 + ชั้น2 ชั้นล่าง ชั้นล่าง + ชั้น 1 ชั้นล่าง + ชั้น 3 ชั้น 1 + ชั้น2 ชั้นล่าง ชั้นล่าง + ชั้น 1 ชั้นล่าง + ชั้น 3 ชั้น 1 + ชั้น2 ชั้นล่าง ชั้นล่าง + ชั้น 1 ชั้นล่าง + ชั้น 3 ชั้น 1 + ชั้น2 ชั้นล่าง ชั้นล่าง + ชั้น 1 ชั้นล่าง + ชั้น 3 ชั้น 1 + ชั้น2

45 ตร.ม. 70 ตร.ม. 110 ตร.ม. 120-130 ตร.ม

มาตรฐาน 4 x 16 m2 หรือ 64 ตร.ม.

ค่าเช่ารายเดือน (ดอลลาร์สหรัฐ) 500-800 600-1,000 1,000-1,500 1,000-2,000 700-1,200 900-1,500 1,200-2,500 200-350 800-1,500 1,000-1,700 1,300-2,600 200-350 800-1,000 850-1,100 950-1,500 300-400 400-500 450-550 650-850 350-450 300-400 350-450 400-550 150-250

Page | 26


2)

ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค

ค่าน้าประปา ประเภท

Page | 27

อัตราค่าน้า/ลบ.ม. พนมเปญ

ที่พักอาศัย สถาบันหรือชุมชน หน่วยงานธุรกิจ หรืออุตสาหกรรม

0 – 7 ลบ.ม. 8 – 15 ลบ.ม. 16 – 50 ลบ.ม. มากกว่า 51 ลบ.ม. 0 – 100 ลบ.ม. 101 – 200 ลบ.ม. 201 – 500 ลบ.ม. มากกว่า 501 ลบ.ม.

550 เรียล/ลบ.ม. 770 เรียล/ลบ.ม. 1,010 เรียล/ลบ.ม. 1,270 เรียล/ลบ. 1,030 เรียล/ลบ.ม. 950 เรียล/ลบ.ม. 1,150 เรียล/ลบ.ม. 1,350 เรียล/ลบ.ม. 1,450 เรียล/ลบ.ม

เสียมราฐ ที่พักอาศัย

หน่วยงานธุรกิจ หรืออุตสาหกรรม

1 – 7 ลบ.ม. 8 – 15 ลบ.ม. 16 – 30 ลบ.ม. มากกว่า 31 ลบ.ม. 0 – 50 ลบ.ม. 51 – 150 ลบ.ม. 151 – 350 ลบ.ม. มากกว่า 351 ลบ.ม.

1,100 เรียล/ลบ.ม. 1,500 เรียล/ลบ.ม. 1,800 เรียล/ลบ.ม. 2,000 เรียล/ลบ.ม. 1,900 เรียล/ลบ.ม. 2,400 เรียล/ลบ.ม. 2,900 เรียล/ลบ.ม. 3,400 เรียล/ลบ.ม.

พระสีหนุ (สีหนุวิลล์) ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3

ตั้งแต่ 1 – 7 ลบ.ม. ตั้งแต่ 1 – 7 ลบ.ม. ตั้งแต่ 8 – 15 ลบ.ม. ตั้งแต่ 1 – 7 ลบ.ม. ตั้งแต่ 8 – 15 ลบ.ม. ตั้งแต่ 16 – 30 ลบ.ม.

1,500 เรียล/ลบ.ม. 1,500 เรียล/ลบ.ม. 1,800 เรียล/ลบ.ม. 1,500 เรียล/ลบ.ม. 1,800 เรียล/ลบ.ม. 2,000 เรียล/ลบ.ม.


ค่าไฟฟ้า ประเภท

ปริมาณการใช้ พนมเปญ กันดาล กัมปงสปือ

ที่พักอาศัยในเขตจังหวัดพนมเปญ และตาขเมา (กันดาล) ที่พักอาศัยในเขตจังหวัดกัมปงสปือ หน่วยงานราชการ สถานทูต และที่พักของข้าราชการต่างประเทศ หน่วยงานภาคธุรกิจแ ละโรงงานอุตสาหกรรม

อัตราค่าไฟฟ้า

น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50kWh/เดือน

610 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

มากกว่า 50kWh/เดือน ไม่กาหนด

720 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 720 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

ไม่กาหนด

820 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

ผู้ใช้ขนาดกลาง ผู้ใช้ขนาดใหญ่ ผู้ใช้แรงดันไฟฟ้าระดับกลาง (MV)

MA+0.028 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.024 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.020 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

พระสีหนุ ที่พักอาศัย หน่วยงานราชการ

ไม่กาหนด ไม่กาหนด ผู้ใช้ขนาดรายเล็ก

สถานทูต ที่พักของข้าราชการต่างประเทศ หน่วยงานภาคธุรกิจและโรงงานอุตสาหกรรม

ผู้ใช้ขนาดกลาง ผู้ใช้ขนาดใหญ่ ผู้ใช้แรงดันไฟฟ้าระดับกลาง (275-500 KVA) ผู้ใช้แรงดันไฟฟ้าระดับกลาง (501-1000 KVA) ผู้ใช้แรงดันไฟฟ้าระดับกลาง (1001-3000 KVA) MV customers (> 3000 KVA)

720 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 820 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.046 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.038 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.034 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.025 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.022 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.018 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง MA+0.015 ดอลลาร์ สหรัฐ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

เสียมราฐ ทุกประเภท

ผู้ใช้ขนาดรายเล็ก ผู้ใช้ขนาดกลาง ผู้ใช้ขนาดใหญ่ ผู้ใช้แรงดันไฟฟ้าระดับกลาง บริษัท Shu Jing Electronics ผู้มีใบอนุญาตจาหน่ายไฟฟ้า

หมายเหตุ : MA อัตราค่าไฟเฉลี่ยของ IPP ทั้งเดือนในเดือนก่อน 4000 เรียล = 1 ดอลลาร์สหรัฐ

820 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 800 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 750 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 700 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 600 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง 600 เรียล/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

Page | 28


3) ค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ อัตราขนส่ง

ต้นทุนการขนส่งในการส่งออกสินค้า ปี 2557 สถานที่ ส่งออก

เส้นทาง พนมเปญ-สีหนุวิลล์ (ทางถนน)

ท่าเรือสีหนุ วิลล์

รายละเอียด - ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต - ระยะเวลา 7-8 ชั่วโมง

- ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20-40 ฟุต - ระยะเวลา 15 ชั่วโมง ท่าเรือพนมเปญ-ไคเมป - ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด (ทางแม่น้า) 20-40 ฟุต ท่าเรือไคเมป - ระยะเวลา 36 ชั่วโมง

โฮจิมินห์ (เวียดนาม)

พนมเปญ-โฮจิมินห์ (ทางถนน)

Page | 29

ค่าใช้จ่าย - ค่าขนส่งประมาณ 400 ดอลลาร์สหรัฐ (รวมค่ารถบรรทุก ค่าจัดทาเอกสาร ค่า ดาเนินการส่งออกสินค้า ใบรับรอง แหล่งกาเนิด ค่าผ่านทาง เบ็ดเตล็ด และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม) - ค่าใช้จ่ายที่ท่าเรือ สีหนุวลิ ล์ 350 ดอลลาร์สหรัฐ ค่าขนส่งประมาณ 820-880 ดอลลาร์สหรัฐ (รวมค่าดาเนินการส่งออก ไม่รวมค่าใช้จ่ายที่ ท่าเรือโฮจิมินห์ ค่าขนส่งประมาณ 800-850 ดอลลาร์สหรัฐ (รวมค่าดาเนินการศุลกากรทั้งฝั่งกัมพูชาและ เวียดนาม)


ต้นทุนการขนส่งในการนาเข้าสินค้า ปี 2557 สถานที่ นาเข้า

เส้นทาง

รายละเอียด

Page | 30

ค่าใช้จ่าย

ท่าเรือไคเมป-พนมเปญ - ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด (ทางแม่น้า) 20-40 ฟุต ท่าเรือไคเมป - ระยะเวลา 36 ชั่วโมง

ค่าขนส่งประมาณ 1,300 ดอลลาร์สหรัฐ (รวมค่าดาเนินการศุลกากรทั้งฝั่งกัมพูชาและ เวียดนาม)

- ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต - ระยะเวลา 20 ชั่วโมง

ค่าขนส่งประมาณ 1,600 ดอลลาร์สหรัฐ (รวมค่าดาเนินการศุลกากรฝั่งไทย แต่ไม่รวม ในฝั่งกัมพูชา)

กรุงเทพ- พนมเปญ

กรุงเทพ

ต้นทุนการขนส่งโดยเฉลี่ยในกัมพูชา ไทย และเวียดนาม ปี 2557 รายการ

ไทย

เวียดนาม

กัมพูชา

ต้นทุนเฉลี่ย (ดอลลาร์สหรัฐ /ตัน/100 กม.)

6

7

20


4) ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร/แรงงาน

ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร/แรงงาน ปี 2557

ตาแหน่ง ผู้จัดการ (ต่างชาติ) ผู้จัดการ (กัมพูชา) หัวหน้างาน วิศวกร หรือช่างเทคนิค บัญชี พนักงานทั่วไป (ต่ากว่าปริญญาตรี) พนักงานทาความสะอาด แรงงานในโรงงานภาคอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าตามที่ กฎหมายกาหนด

Page | 31

อัตราค่าจ้าง (ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน) 2,000 – 3,000 1,500 – 2,000 500 300 - 500 300 200 170 128 สวัสดิการ 20-50


5) อัตราภาษีที่สาคัญ

อัตราภาษีในกัมพูชา ปี 2557 Page | 32

ประเภทภาษี ภาษีกาไรนิติบุคคล (Tax on Profit)

รายละเอียด

อัตราภาษี

Resident คานวณจากรายได้ในกัมพูชาและต่างประเทศ Non- Resident คานวณจากรายได้ในกัมพูชาเท่านั้น ร้อยละ 20 - ธุรกิจทั่วไป ร้อยละ 30 - ธุรกิจน้ามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ ร้อยละ 0 - โครงการทีไ่ ด้รับการส่งเสริมการลงทุน QIP จาก CDC ร้อยละ 0-20 - ธุรกิจที่ครอบครองโดยบุคคลธรรมดาเพียงคนเดียว ภาษีกาไรล่วงหน้า คานวณจากรายรับรวมของธุรกิจรวมกับภาษีทุกประเภท อัตราร้อยละ 1 (Pre-Payment Tax) ยกเว้น VAT ภาษีหัก ณ ที่จ่าย การให้บริการ การบริหารจัดการ การให้คาปรึกษา ค่าสิทธิ รวมถึง ร้อยละ 15 (Withholding Taxes: WHT) ดอกเบี้ย (ไม่รวมดอกเบี้ยที่จ่ายโดยธนาคารหรือสถาบันการเงิน) - การจ่ายค่าเช่าทรัพย์สิน ทั้งที่เคลือ่ นย้ายได้ และเคลื่อนย้ายไม่ได้ ร้อยละ 10 ร้อยละ 4 - การจ่ายดอกเบี้ยโดยธนาคารหรือสถาบันการเงิน แก่บุคคล ธรรมดาที่มีบัญชีเงินฝากไม่ประจา ร้อยละ 6 - การจ่ายดอกเบี้ยโดยธนาคารหรือสถาบันการเงิน แก่บุคคล ธรรมดาที่มีบัญชีเงินฝากประจา ร้อยละ 14 - การชาระค่าบริการหรือค่าใช้จ่ายแก่ผู้ที่มิได้มีภมู ิลาเนาอยู่ใน ประเทศ ภาษีเงินเดือน คานวณจากเงินเดือน โดยใช้อัตราก้าวหน้า ร้อยละ 0-20 (Salary Tax) ร้อยละ 0 - เงินเดือน 0-5 แสนเรียล (0 – 125 ดอลลาร์สหรัฐ) - เงินเดือน มากกว่า 5 แสนเรียล -1.25 ล้านเรียล (125.1 – 312.5 ร้อยละ 5 ดอลลาร์สหรัฐ) ร้อยละ 10 - เงินเดือน มากกว่า 1.25 ล้านเรียล – 8.5 ล้านเรียล (312.6 – 2,125 ดอลลาร์สหรัฐ) ร้อยละ 15 - เงินเดือนมากกว่า 8.5 ล้านเรียล –12.5 ล้านเรียล (2,125.1 – 3,125 ดอลลาร์สหรัฐ) - เงินเดือนมากกว่า 8.5 ล้านเรียล (มากกว่า 3,125 ดอลลาร์สหรัฐ) ร้อยละ 20 ร้อยละ 20 - เงินพิเศษ (fringe benefit) หรือสวัสดิการ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ภาษีที่ผู้จาหน่ายสินค้าหรือให้บริการ ต้องเก็บจากลูกค้า ร้อยละ 10 - การจาหน่ายหรือให้บริการในประเทศ ร้อยละ 0 - การส่งออก ภาษีที่พัก จัดเก็บจากการพักอาศัยในโรงแรม เกสต์เฮาส์ อพาร์ตเมนต์ คอนโด ร้อยละ 2 (Tax on Accommodation: หรือที่พัก ประเภทอื่นๆ ในอัตราทีก่ าหนด ของค่าห้องรวมกับภาษีทกุ TOA) ประเภท ยกเว้น VAT


ประเภทภาษี

รายละเอียด

อัตราภาษี

ภาษีเฉพาะสาหรับสินค้าและ ภาษีที่จัดเก็บสาหรับ สินค้าและบริการบางชนิด ทั้งในประเทศ และที่ บริการบางชนิด นาเข้า จากต่างประเทศ โดยจะคานวณก่อนภาษีมลู ค่าเพิ่ม (Specific Tax on Certain Merchandises and Services: STCMS) ร้อยละ 45 - รถยนต์ ร้อยละ 30 - อะไหล่รถยนต์ ร้อยละ 25 - เบียร์ ร้อยละ 20 - รถจักรยานยนต์ น้ามันปิโตรเลียม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 15 - บุหรี่ ร้อยละ 10 - อะไหล่รถจักรยานยนต์ น้าอัดลม การให้บริการทางด้านบันเทิง การขนส่งผูโ้ ดยสารทางอากาศ ร้อยละ 3 - การให้บริการโทรศัพท์ ภาษีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - จัดเก็บจากผู้ที่จาหน่ายเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ และบุหรี่ทุก ร้อยละ 3 และบุหรี่ ประเภท โดยจะทาการคานวณก่อนภาษีเฉพาะ (STCMS) และ (Tax on Public Lighting: PLT) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ภาษีประกอบการธุรกิจ เฉพาะ - ภาษีประจาปีที่ธุรกิจต้องชาระภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ตาม 285 ดอลลาร์ (Patent Tax) สหรัฐต่อปี ประเภทของธุรกิจ และตามขอบเขตจังหวัดที่ธุรกิจตั้งอยู่ (ต้องต่ออายุทุกปี) - หากมีการจดทะเบียนประกอบการธุรกิจในครึ่งปี (ครึ่งหลังของปี ปฏิทิน จะชาระเพียงครึ่งเดียว) ภาษีการจดทะเบียน - จัดเก็บจากการจัดทาเอกสารทางกฎหมายก่อตั้ง ควบรวม ยกเลิก 1 ล้านเรียล/ 1 (Registration Tax or กิจกรรม กิจการ Transfer Tax) ร้อยละ 4 ของ - จัดเก็บจากการโอนสินทรัพย์ (ที่ดิน บ้าน รถ) มูลค่าสินทรัพย์

Page | 33


ประเภทภาษี ภาษีอสังหาริมทรัพย์ (Tax on Immovable Properties) ภาษีจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ (Registration Tax)

รายละเอียด อัตราภาษี ร้อยละ 0.1 - อสังหาริมทรัพย์ ที่มีมูลค่ามากกว่า 100 ล้านเรียล (25,000 USD) ผู้เสียภาษีต้องชาระภาษีภายในวันที่ 30 กันยายนของทุกปี ตามอัตราของมูลค่าที่ประเมินโดยคณะกรรมการประเมินมูลค่า ทรัพย์สิน จัดเก็บจากผู้ซื้อหรือผู้ได้รับโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์และ ร้อยละ 4 อสังหาริมทรัพย์ ตามมูลค่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์

หมายเหตุ : 1) 4000 เรียล = 1 ดอลลาร์สหรัฐ 2) กัมพูชายังไม่มีการทาอนุสญ ั ญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนกับประเทศใดเลย ขณะนี้กาลังอยู่ระหว่างการ เจรจากับประเทศสมาชิกอาเซียนรายประเทศรวมทั้งไทย ที่มา : ปรับปรุงจากศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Business Support Center) ณ กรุงพนมเปญ (2557)

Page | 34


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.