Page | 1
ชื่อประเทศ
สปป.ลาว มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People's Democratic Republic)
เมืองหลวง
นครหลวงเวียงจันทน์ (Vientiane Capital)
เมืองสำคัญทำงเศรษฐกิจ
นครหลวงเวียงจันทน์ แขวงสะหวันนะเขต แขวงจาปาสัก แขวงหลวงพระบาง
ประมุข
พลโท จูมมาลี ไซยะสอน (Lt. Gen. Choummaly Sayasone) ประธานประเทศ สปป. ลาว (President of the Lao PDR)
นำยกรัฐมนตรี
นายทองสิง ทามะวง (H.E. Mr. Thongsing THAMMAVONG)
วันชำติ
2 ธันวาคม
สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว ( Lao People's Democratic Republic) เ มื อ ง หลวง คือ นครหลวงเวียงจันทน์ มีพื้นที่ 236,880 ตารางกิโลเมตร เป็นขนาด 1/2 เท่าของประเทศ ไทย ตั้งอยู่ทางเหนือของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศตะวันตกติด กับเมียนมาและไทย ทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม และทิ ศ ใต้ ติ ด กั บ กั ม พู ช า เป็ น ประเทศเดี ย วใน
ภูมิภาคที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล สภาพภูมิอากาศของ สปป.ลาว มีสภาพภูมิอากาศแบบเขตร้อน มี 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง (ธันวาคม-เมษายน) ฤดูฝน (พฤษภาคมพฤศจิกายน) ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 75 นับถือ ศาสนาพุ ท ธ ภาษาราชการของ สปป.ลาว คื อ ภาษาลาว และภาษาที่ใช้ในการติดต่อธุรกิจ ได้แก่ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
สกุลเงิน และอัตรำแลกเปลี่ยน สปป.ลาวใช้สกุลเงินกีบ (Kip) เป็นสกุลเงินประจา ชาติลาว ในรูปแบบธนบัตร และไม่มีเหรียญกษาปณ์ ใ น มู ล ค่ า ตั้ ง แ ต่ 500, 1,000, 2,000, 5,000, 10,000, 20,000 และ 50,000 กีบ ในท้องตลาดมี การใช้ ส กุ ล เงิ น 3 สกุ ล หลั ก ได้ แ ก่ เงิ น ดอลลาร์ สหรั ฐ (30%) เงิ น บาท (30%) เงิ น กี บ (40%) กฎหมาย สปป.ลาวกาหนดให้แสดงราคาสินค้าเป็น เงินกีบ ที่มาภาพ : www.uasean.com
สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยนในตลาด ปี 25571
กีบ (Kip) 1 USD = 7,860.14 กีบ (Kip) 1 THB = 250 กีบ (Kip)
ที่มา : 1 Foreign Currency Exchange Rates and Currency Converter Calculator (2558)
Page | 2
แผนที่สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว Page | 3
สำหรับเมืองสำคัญของ สปป.ลำว ได้แก่ 1) นครหลวงเวี ย งจั น ทน์ เป็ น เมื อ งหลวงของ ประเทศ และเป็ น เขตการปกครองพิ เ ศษ เรี ย กว่า นครหลวงเวีย งจั น ทน์ (เดิมเรี ยกว่า กาแพงนครเวียงจันทน์) อยู่ตรงข้ามกับจังหวัด หนองคาย ซึ่ ง สมั ย อาณาจั ก รล้ า น ช้ า ง เวียงจันทน์มีชื่อว่า “จันทบุรีกรุงศรีสัตนาคณ หุต” โดยพระไชยเชษฐาธิราชสถาปนาให้เป็น นครหลวงแห่ ง อาณาจั ก รล้ า นช้ า งราว พ.ศ. 2107 (ลาว คือ พ.ศ. 2106) 2) แขวงสะหวันนะเขต เป็นแขวง (จังหวัด) ที่มี ประชากรมากที่สุดในประเทศ อยู่ตรงข้ามกับ จังหวัดมุกดาหาร 4) แขวงหลวงพระบำง เป็นแขวง (จังหวัด) ที่มี ประชากรมากเป็นอันดับสี่ อยู่ทางตอนเหนือ ของ สปป.ลาวได้รับการประกาศให้เป็นเมือง มรดกโลกในปี 2541 จากองค์ ก ารยู เ นสโก (UNESCO) ซึ่งทาให้เมืองหลวงพระบางเป็นที่ รู้ จั ก แพร่ ห ลายทั่ ว โลกเกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ โ บ ร า ณ ส ถ า น เ ช่ น วั ด เ ก่ า แ ก่ ที่ ส า คั ญ พระราชวั ง เจ้ า มหาชีวิต และสิ่ ง ปลู ก สร้างที่ ส าคั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ รวมทั้ ง ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่งดงาม ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้ คงไว้ ปั จ จุ บั น เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วระดั บ นานาชาติ
Page | 4
ที่มาภาพ : www.tourismlaos.or
3) แขวงจ ำปำสั ก เป็ น แขวง (จั ง หวั ด ) ที่ มี ประชากรมากเป็นอันดับสาม มีพื้นที่ติดต่อกับ จังหวัดอุบลราชธานี
ที่มาภาพ : www.tourismlaos.or
ด้ำนเศรษฐกิจ สปป.ลาวมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศปี 2557 จ านวน 11.68 พั น ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ มี อั ต ราการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ร้ อ ยละ 7.41
สปป. ลาว ใช้ ส กุ ล เงิ น กี บ (Kip) โ ดย มี อั ต รา แลกเปลี่ ย น 250 กี บ เท่ า กั บ 1 บาท หรื อ 7,860.14 กีบ เท่ากับ 1 ดอลลาร์สหรัฐ
พื้นที่ตั้ง ภูมปิ ระเทศและสภำพอำกำศ สปป.ลาวตั้ ง อยู่ ใ นตอนกลางของอิ น โดจี น ระหว่างละติจูด 14-23 องศาและระหว่างลองติจูด 100-108 องศา มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 236,800 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็นพื้นดิน 230,800 ตาราง กิโลเมตร พื้นน้า 6,000 ตารางกิโลเมตร สปป.ลาว เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เนื่องด้วยตลอด แนวชายแดนของ สปป.ลาวมีความยาวรวม 5,083 กิโลเมตร ล้อมรอบด้วยชายแดนของประเทศเพื่อน บ้าน 5 ประเทศ โดยมีชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้ ภำคเหนือ ติดประเทศจีน ภำคตะวันออก ติดประเทศเวียดนาม ภำคตะวันตก ติดประเทศไทย ภำคตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ติ ด ประเทศ เมียนมา ภำคใต้ ติดประเทศกัมพูชา
สภำพภูมิประเทศ ภูมิประเทศของ สปป.ลาวอาจแบบได้เป็น 3 เขต คือ 1) เขตภูเขำสูง เป็นพื้นที่ที่สูงกว่าระดับน้าทะเล โดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ้นไป พื้นที่นี้อยู่ในเขต ภาคเหนือของประเทศ
2) เขตที่รำบสูง คือพื้นที่ซึ่งสูงกว่าระดับน้าทะเล เฉลี่ ย 1,000 เมตร ปรากฏตั้ ง แต่ ท างทิ ศ ตะวันออกเฉียงใต้ ข องที่ราบสู ง เมื องพวนไป จนถึงชายแดนกัมพูชา เขตที่ราบสูงนี้มีที่ราบ สูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง ได้แก่ ที่ราบสูงเมือง พวน (แขวงเชียงขวาง) ที่ราบสูงนากาย (แขวง คาม่วน) และที่ราบสูงบอลิเวนภาคใต้ 3) เขตที่รำบลุ่ม เป็นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น้า โขงและแม่น้าต่างๆ เป็นพื้นที่ที่มีความอุ ด ม สมบูรณ์มากที่สุดในเขตพื้นที่ทั้ง 3 เขต นับเป็น พื้ น ที่ อู่ ข้ า วอู่ น้ าที่ ส าคั ญ ของประเทศ แนวที่ ราบลุ่มเหล่านี้เริ่มปรากฏตั้งแต่บริเวณตอนใต้ ของแม่ น้ างึ ม เรี ย กว่ า ที่ ร าบลุ่ ม เวี ย งจั น ทน์ ผ่ า นที่ ร าบลุ่ ม สะหวั น นะเขต ซึ่ ง อยู่ ตอนใต้เซบั้งไฟและเซบั้งเหียงและที่ราบจาปา สั ก ทางภาคใต้ ข องลาว ซึ่ ง ปรากฏตามแนว แม่ น้ าโขงเรื่ อ ยไปจนจรดชายแดนประเทศ กัมพูชา ทั้งนี้ เมื่อนาเอาพื้นที่ของเขตภูเขาสูง และเขตที่ราบสูงมารวมกันแล้วจะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ประเทศทั้งหมด โดยจุดที่สูงที่สุด ของ สปป.ลาวอยู่ที่ภูเบี้ยในแขวง เชียง ขวาง วัดความสูงได้ 2,817 เมตร
Page | 5
สภำพภูมิอำกำศ สปป.ลาวอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน มีลมมรสุม แต่ไม่มีลมพายุ สาหรับเขตภูเขาภาคเหนือและเขต เทือกเขาอากาศมีลักษณะกึ่งร้อนกึ่งหนาวอุณหภูมิ สะสมเฉลี่ ย ประจ าปี สู งถึง 15-30 องศาเซลเซียส และความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวัน และกลางคืนมีประมาณ 10 องศาเซลเซียส จานวน ชั่ ว โมงที่ มี แ สงแดดต่ อ ปี ป ระมาณ 2,300-2,400 ชั่วโมง (ประมาณ 6.3-6.5 ชั่วโมงต่อวัน) ความชื้น สั ม พั ท ธ์ ข องอากาศมี ป ระมาณร้ อ ยละ 70-85 ปริมาณน้าฝนในฤดูฝน (ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึง ตุ ล าคม) มี ร้ อ ยละ 75-90 ส่ ว นในฤดู แ ล้ ง (ตั้ ง แต่ เดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน) ปริมาณน้าฝนมีเพียง
ที่มาภาพ : www.tourismlaos.or
ร้อยละ 10-25 และปริมาณน้าฝนเฉลี่ยต่อปีของแต่ ละเขตก็ แ ตกต่ า งกั น อย่ า งมากมาย เช่ น เขต เทือกเขาบริเวณทางใต้ได้รับน้าฝนเฉลี่ยปีละ 300 เซนติเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยที่นครหลวงเวียงจันทน์ 25 องศาเซลเซี ย ส (เดื อ นมกราคม) และ 36-37 องศาเซลเซียส (เดือนเมษายน) ปริมาณฝนเฉลี่ ย 171.5 เซนติเมตรต่อปี ขณะที่บริเวณแขวงเชี ย ง ขวาง แขวงหลวงพระบาง แขวงไซยะบุ ลี ได้ รั บ เพียงแค่ 100 - 150 เซนติเมตร ส่วนแขวงสะหวัน นะเขตในช่ ว งนี้ ไ ด้ รั บ ปริ ม าณน้ าฝน 150 - 200 เซนติเมตร เช่นเดียวกับแขวงพงสาลี แขวงหลวง น้าทา และแขวงบ่อแก้ว
Page | 6
ประชำกร และชนกลุ่มน้อยที่สำคัญใน สปป.ลำว มี ป ระชากรประมาณ 6.77 ล้ า นคน รวม ประมาณ 49 ชนเผ่า ประกอบด้วย ลาวลุ่ม (กลุ่ม คนเชื้อชาติลาว ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก ) ร้อย
ละ 68 ลาวเทิง (เช่น ชนเผ่าขมุ) ร้อยละ 22 ลาวสูง (เช่น ชนเผ่าม้ง) ร้อยละ 9
รำยกำร อัตราส่วนเพศชายต่อหญิง (sex ratio)
ปี 2557
ที่มา: CIA, The World Factbook https://www.cia.gov/library/publications/theworld-factbook/geos/vm.html (2558)
โครงสร้างอายุ (age structure)
อายุมัธยฐาน (median age)
ที่มา : The World Factbook (2558)
อายุ 0-14 ปี มี สั ด ส่ ว น 1.02% (ชาย 1,190,119 คน/หญิ ง 1,166,774 คน) อายุ 15-24 ปี มี สั ด ส่ ว น 0.99% (ชาย 731,531 คน/หญิ ง 741,107 คน) อายุ 25-54 ปี มี สั ด ส่ ว น 0.97% (ชาย 1,211,600 คน/หญิ ง 1,245,010 คน) อายุ 55-64 ปี มี สั ด ส่ ว น 0.96% (ชาย 177,142 คน/หญิ ง 184,409 คน) อายุ ตั้ ง แต่ 65 ปี ขึ้ น ไป มี สั ด ส่ ว น 0.83% (ชาย 119,392 คน/หญิ ง 144,460 คน อายุ 0-14 ปี : 34.10% อายุ 15-24 ปี : 21.31% อายุ 25-54 ปี : 35.54% อายุ 55-64 ปี : 5.23% อายุ ตั้ ง แต่ 65 ปี ขึ้ น ไป: 3.82% ทั้งหมด: 22 ปี ชาย: 21.70 ปี หญิง: 22.30 ปี
Page | 7
ภำษำ ศำสนำ ประเพณีและวัฒนธรรม ภำษำ
Page | 8
ภาษาราชการ คือ ภาษาลาว ภาษาที่ใช้ในการ ติดต่อธุรกิจ ได้แก่ ภาษาไทย อังกฤษ และฝรั่งเศส ภาษาท้องถิ่นอื่นๆ ได้แก่ ภาษาไท ภาษาม้ง
ศำสนำ ชาวลาวส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถร วาท ซึ่งเป็ น ศาสนาประจ าชาติ (ร้ อยละ 60 ของ ชาวลาวทั้งหมด) ควบคู่ไปกับ ลั ทธินั บ ถือผี บรรพ บุรุษของชนชาติส่วนน้อยในแถบภูเขาสูง ส่วนชาว ลาวที่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ แ ละศาสนาอิ ส ลามมี จ านวนที่ ค่ อ นข้ า งน้ อ ยมาก โดยศาสนาคริ ส ต์ ส่วนมากจะมีผู้นับถือเป็นกลุ่มชาวเวียดนามอพยพ และชาวลาวเชื้อสายเวียดนาม ส่วนศาสนาอิสลาม พบว่ามีการนับถือในหมู่ช นชาติส่วนน้อย โดยเป็น กลุ่มจีนฮ่อที่อาศัยตามชายแดนด้านติดกับประเทศ เมีย นมา และมีชุมชนมุส ลิ มที่มีเชื้อสายเอเชียใต้ และจามในเวียงจันทน์ นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 75 นับถือผี ร้อยละ 16-17 ศาสนาคริ ส ต์ ประมาณ 100,00 คน และ อิสลาม ประมาณ 300 คน
ทีมาภาพ : www.tourismlaos.or
ทีมาภาพ : www.tourismlaos.or
ลักษณะทำงสังคมและวัฒนธรรม มีความคล้ายคลึงกับคนภาคอีสานของไทยเป็น อย่ า งมาก ยั ง มี ค ากล่ า วที่ ว่ า “มี ล าวอยู่ แ ห่ ง ใด มี มั ด หมี่ แ ลลายจกอยู่ ที่ นั้ น ” ในด้ า นดนตรี ล าวมี แคนเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติ มีหมอขับ หมอลา สปป.ลาวมีประเพณีทางพระพุทธศาสนาและอื่นๆ เช่น วันมาฆบูชา วันสงกรานต์ วันออกพรรษา บุญ เข้าประดับดิน บุญเข้าฉลาก บุญส่วงเฮือ (แข่งเรือ) บุญธาตุหลวงเวียงจันทน์ ในเดือน 12 เป็นต้น พุทธ ศาสนาแบบเถรวาท เป็ น แบบแผนหลั ก ของ วัฒนธรรมลาว ซึ่งปรากฏให้เห็นทั่วประเทศ ทั้งใน ด้านภาษา และศิล ปะวรรณคดี ศิล ปะการแสดง ฯลฯ ส าหรั บ ดนตรี ล าวนั้ น มี แ คน ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ ง ดนตรีประจาชาติ วงดนตรีของลาวคือ วงหมอลา มี หมอลา และหมอแคน ท่วงทานองของการขับลา จ ะ แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ป ต า ม ท้ อ ง ถิ่ น ทางภาคเหนือ เรียกว่า ขับ ภาคใต้จากบอลิคาไซ ลงไป เรียกว่า ลา เช่น ขับงึมเวียงจันทน์ ขับพวน เชียงขวาง ลาสาละวันของแขวงสาละวัน ลาภูไท ลาตังหวาย ลาคอนสะหวัน ลาบ้านซอกของแขวง
สะหวันนะเขต ขับโสม ลาสีพันดอนของแขวงจาปา สั ก ล ามะหาไซของแขวงคาม่วน ขับทุ้มของแขวง หลวงพระบาง ขับลื้อของชาวลื้อ เป็นต้น
ที่มาภาพ : www.tourismlaos.or การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของ สปป. ลาว คือ ผู้หญิงจะนุ่งผ้าซิ่น (ผ้าถุง) อาหารของคน ลาวจะทานข้ า วเหนี ย วเป็ น หลั ก อาหารที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ คือ แจ่ว ส้มตา ไก่ย่าง เป็นต้น อารย ธรรมเก่าแก่ของลาวนั้นมีปรากฏจากหลักฐานด้าน โบราณคดี ยุ ค หิ น ที่ ทุ่ ง ไหหิ น ในแขวงเชี ย งขวาง
Page | 9
เส้นทำงคมนำคม1 ทำงบก Page | 10
ถนนใน สปป.ลาวมีระยะทางยาวรวม 21,716 กิโลเมตร แบ่งเป็นถนนลาดยาง 9,664 กิโลเมตร และถนน ที่ไม่ได้ลาดยาง 12,052 กิโลเมตร เส้นทางคมนาคมทางบกที่สาคัญ ได้แก่ เส้นทำง รำยละเอียด เส้นทำงหมำยเลข 1 เริ่มจากชายแดนจีน-สปป.ลาว เป็นถนนระดับมาตรฐานสากลมีขนาดความกว้าง 8 เมตร และลาดยางตลอดสายผ่านแขวงพงสาลี หลวงน้าทา อุดมไซ หลวงพระบาง และเชื่อมต่อเส้นทางหมายเลข 6 ที่แขวงหัวพัน เส้นทำงหมำยเลข 2 เส้นทางเชื่อมโยง สปป.ลาว-เวียดนาม เป็นทางหลวงแขวงต่อจากเส้นทางหมายเลข 3 ที่แขวงหลวงน้าทา ผ่านแขวงพงสาลี จากนั้นเชื่อมกับเส้นทางหมายเลข 6 ของ เวียดนาม ที่เมืองเดียนเบียนฟู ซึ่งเป็นเส้นทางที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของ เวียดนามมุ่งสู่ฮานอยได้ เส้นทำงหมำยเลข 3 เส้นทาง R3A เป็นเส้นทางเชื่อมโยงประเทศไทย สปป.ลาว และจีน ตอนใต้ในมณฑล ยูนนาน โดยเริ่มจากอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ข้ามสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ไปยังเมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว เชื่อมต่อไปยังเมืองเวียงพูคา แขวงหลวง น้าทา และเชื่อมต่อชายแดน สปป.ลาว-จีนที่ด่านบ่อเต็น-บ่อห่าน ต่อไปยังเมืองเชียง รุ้ง มณฑลยูนนานของจีน รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 1,200 กิโลเมตร แบ่งเป็น ระยะทางในประเทศไทยประมาณ 113 กิโลเมตร ระยะทางใน สปป.ลาวประมาณ 250 กิโลเมตร และระยะทางในจีนไปสิ้นสุดที่คุนหมิงประมาณ 837 กิโลเมตร เส้นทำงหมำยเลข 4 เริ่มตั้งแต่เมืองแก่นท้าว แขวงไซยะบุลี ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย โดย มีสะพานมิตรภาพแม่น้าเหืองไทย-ลาว เส้นทางหมายเลข 4 ตัดผ่านแขวงไซยะบุลี ไป บรรจบเส้นทางหมายเลข 13 ที่เมืองเชียงเงิน แขวงหลวงพระบาง เส้นทำงหมำยเลข 6 เชื่อมจากเส้นทางหมายเลข 7 ที่บ้านบานเมืองคา แขวงเชียงขวางไปยังเมืองซาเหนือ แขวงหัวพัน และผ่านเมืองเวียงไชย เมืองสบเบา เชื่อมต่อเวียดนามที่ด่านชายแดนน้า เสย - นาแมว
1
คู่มือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว, สสว. (2554)
เส้นทำง รำยละเอียด เส้นทำงหมำยเลข 7 เชื่อมต่อเส้นทางหมายเลข 13 ที่แยกศาลาภูคูน เมืองภูคูน แขวงหลวงพระบาง ผ่าน แขวง เชียงขวาง ไปยังเมืองวิงห์ จังหวัดเหงะอาน ประเทศเวียดนาม มีความยาว ทั้งสิ้น 270 กิโลเมตร ลาดยางเสร็จแล้ว เส้นทำงหมำยเลข 8 แยกจากเส้นทางหมายเลข 13 ทางตอนกลางของประเทศ เชื่อมต่อจากไทยเข้าสู่ สปป.ลาว ที่บ้านเวียง เมืองปากกะดิง แขวงบอลิคาไซ ผ่านหลักซาวไปทาง ตะวันออกของ สปป.ลาว สู่เวียดนาม และเชื่อมกับเส้นทางหมายเลข 1 ของ เวียดนามที่มุ่งสู่เมืองวิงห์และฮาติงห์ เส้นทำงหมำยเลข 9 เป็นเส้นทางหลักที่ทาให้ สปป.ลาวมีทางออกสู่ทะเลอีกทางหนึ่ง และเป็นส่วนหนึ่ง ของเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) ซึ่งเป็นเส้นทางที่เริ่มต้นจากเมืองเมาะละแหม่งของเมียนมาเข้าสู่ ประเทศไทยที่ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ผ่านพิษณุโลก ขอนแก่น ไปยังมุกดาหาร เป็นระยะทาง 777 กิโลเมตร ข้ามสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 ไปยังเมืองไกสอ นพมวิหาน (เมืองคันทะบุลี) แขวงสะหวันนะเขตไปจนถึงเมืองกวางจิ และดานังใน เวียดนาม มีระยะทางรวมกัน 1,450 กิโลเมตร เส้นทำงหมำยเลข จากเมืองปากเซ แขวงจาปาสัก เชื่อมต่อกับสะพานข้ามแม่น้าโขงมายังด่านพรมแดน 10 ไทย - ลาว ที่ด่านวังเต่า – ช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เส้นทำงหมำยเลข เชื่อมต่อจากจังหวัดนครพนมผ่านสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 3 ไปยังแขวงคา 12 ม่วน สปป.ลาว เชื่อมต่อไปยังเมืองฮาติงห์ วิงห์ และฮานอยของเวียดนาม และ เชื่อมไปยังกว่างซีของจีน เส้นทำงหมำยเลข เป็นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญที่สุดของ สปป.ลาวที่เชื่อมโยงภาคเหนือ ภาคกลาง และ 13 ภาคใต้ของ สปป.ลาวมีความยาวประมาณ 1,363 กิโลเมตร จึงเปรียบเสมือนกระดูก สันหลังของประเทศ เริ่มจากภาคเหนือที่บ้านนาเตย แขวงหลวงน้าทา ผ่านแขวงอุดม ไซ แขวงหลวงพระบาง แขวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ แล้วเลียบขนานไปกับ แม่น้าโขงทอดยาวลงมาภาคกลางผ่านแขวงบอลิคาไซ แขวงคาม่วน แขวงสะหวันนะ เขต ลงมาถึงภาคใต้ผ่านแขวงสาละวันมาสิ้นสุดที่แขวงจาปาสัก จนถึงชายแดน กัมพูชาและผ่านเข้าถึงท่าเรือโฮจิมินห์ของเวียดนาม เส้นทางหมายเลข 13 นี้ เชื่อม กับเส้นทางสาคัญๆ อื่นๆ ที่เชื่อมภูมิภาคตะวันออกกับตะวันตกของ สปป.ลาวเข้า ด้วยกัน ตามเส้นทางหมายเลข 7 8 และ 9 ทาให้ สปป.ลาวมีเส้นทางที่เชื่อมโยงกับ ประเทศกัมพูชาและเวียดนาม เส้นทำงหมำยเลข แยกจากเส้นทางหมายเลข 13 ที่แขวงจาปาสัก ตัดผ่านแขวงอัตตะปือไปออก 18 ชายแดนเวียดนาม ที่ด่านพูเกือ
Page | 11
ทำงน้ำ การสัญจรตามแม่น้าโขงระหว่างไทยกับสปป.ลาว ที่สาคัญ มีดังนี้ Page | 12
ท่าข้าม อาเภอเมืองหนองคาย ท่าข้าม จังหวัดบึงกาฬ ท่าข้าม อาเภอเมืองนครพนม ท่าข้าม อาเภอเมืองมุกดาหาร ท่าข้าม อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ท่าข้าม อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
ตรงข้ามเมืองท่าเดื่อของนครหลวงเวียงจันทน์ ตรงข้ามเมืองปากซัน แขวงบอลิคาไซ ตรงข้ามเมืองท่าแขก แขวงคาม่วน ตรงข้ามแขวงสะหวันนะเขต ตรงข้ามเมืองสานะคาม แขวงเวียงจันทน์ ตรงข้ามบ้านห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว
ทำงอำกำศ
ที่มาภาพ : www.vientianeairport.com สนามบินวัดไต เป็นสนามบินนานาชาติในนคร หลวงเวียงจันทน์ อยู่ห่างจากใจกลางเมือง ประมาณ 5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาที โรงแรมส่วนใหญ่จะมีบริการรับส่งระหว่าง สนามบินกับโรงแรม หรืออาจจะใช้บริการรถ รับจ้างในราคาประมาณ 5 ดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ ยังมีสนามบินภายในประเทศตามเมือง
หลักๆ อาทิ เวียงจันทน์ หลวงพระบาง สะหวันนะ เขต ปากเซ ห้วยทราย หลวงน้าทา อุดมไซ พงสาลี เชียงขวาง ไซยะบุลี การบินภายในประเทศมีความ สะดวกและราคาถูก เที่ยวบินภายในประเทศ ส่วน ใหญ่จะผ่านเวียงจันทน์ เช่น เที่ยวบินระหว่าง เวียงจันทน์-หลวงพระบาง วันละไม่ต่ากว่า 3 เที่ยว ใช้เวลาประมาณ 40 นาที สายการบินของ สปป. ลาว คือ Lao Airlines มีเที่ยวบินประจาไปยังเมือง สาคัญของประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ฮานอย โฮจิมินห์ พนมเปญ คุนหมิง สาย การบินต่างประเทศที่มีเที่ยวบินไปเวียงจันทน์ เช่น การบินไทย Silk Air, Air Vietnam, China Airlines, Air Asia เป็นต้น ในขณะที่สายการบิน ของไทยให้บริการเที่ยวบินไปหลวงพระบาง และ ปากเซ แขวงจาปาสักด้วย เช่น Bangkok Airways เป็นต้น
ทำงรถไฟ
ที่มาภาพ : en.wikipedia.org สปป.ลาว มี ท างรถไฟยาว 3.5 กิ โ ลเมตร เชื่อมต่อกับประเทศไทยที่สะพานมิตรภาพไทย – เส้นทำง ท่านาแล้ง-เวียงจันทน์
เวียงจันทน์-เมืองท่าแขก แขวงคาม่วน
เมืองท่าแขก แขวงคาม่วน-ชายแดน เวียดนาม
ลาว แห่งที่ 1 (หนองคาย–เวียงจันทน์) สร้างด้วย เงินช่วยเหลือจากรัฐบาลไทย ทั้งในรูปเงินให้เปล่า และเงินกู้ดอกเบี้ยต่าระยะยาว เปิดใช้งานในเดือน พฤษภาคม 2551 และมี แ ผนจะสร้ า งทางรถไฟ ความเร็วสูงลาว - จีน จากชายแดนจีน (บ่อหาน บ่อเต็น) มายังนครหลวงเวียงจันทน์ รวมระยะทาง 421 กิ โ ลเมตร ด้ ว ยมู ล ค่ า การลงทุ น 7,000 ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟสายอาเซียน จากสิงคโปร์ไปยังเมือง คุนหมิงของจีน รวมทั้ง การสร้างเส้นทางรถไฟจาก สปป.ลาวไปยังประเทศ เพื่อนบ้าน คือ เวียดนาม (เวียงจันทน์ - เวียดนาม) นอกจากนี้ สปป.ลาวยังมีโครงการสารวจเส้ นทาง รถไฟ ดังนี้
ระยะทำง ทางรถไฟความยาว 9.5 กิโลเมตร ระหว่างบ้านโคกโพสี ท่านา แล้ง เมืองหาดทรายฟอง ไปยังเวียงจันทน์ ในเขตบ้านคาสะหวาด เพื่อก่อสร้างทางรถไฟตามความตกลงที่รัฐบาลฝรั่งเศสในสมัยของ ประธานาธิบดี จ๊าก ซีรัก ได้ทาความตกลงไว้กับรัฐบาลลาว เมื่อปี 2548 ระยะทาง 300 กิโลเมตร ซึ่งมีการสารวจในเบื้องต้นแล้วและ รัฐบาลสปป.ลาวกาลังหาลู่ทางเกี่ยวกับการลงทุน เพื่อสร้างทาง รถไฟเชื่อมไทย เวียดนาม และจีน รัฐบาลเวียดนามให้ความช่วยเหลือในการสารวจเส้นทาง ใน โครงการ18 เดือน ระยะทาง 100 กิโลเมตร
Page | 13
ระบบกำรเมืองกำรปกครอง การเมืองของ สปป.ลาวมีเสถียรภาพ เนื่องจาก ปกครองด้ ว ยระบบสั ง คมนิ ย ม มาตั้ ง แต่ วั น ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติ ลาว (The Lao People’s Revolutionary Party: LPRP) เป็นพรรคการเมืองที่บริหารประเทศเพียง พรรคเดียวมาโดยตลอด และคาดว่าจะยังคงรักษา อานาจทางการเมืองใน สปป.ลาวได้ต่อไป
สถาบั น การเมื อ งที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ พรรค ประชาชนปฏิวัติลาว สภารัฐมนตรี (พรรคฯ แต่งตั้ง คณะรั ฐ มนตรี ) สภาแห่ ง ชาติ (ประชาชนเลื อ ก สมาชิกสภาแห่งชาติจากผู้ที่พรรคฯ เสนอ) สปป. ลาวได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อวันที่ 14 สิ ง หาคม 2534 โดยมี ป ระธานพรรคและ ประธานประเทศ คือพลโท จูมมะลี ไซยะสอน และ นายกรัฐมนตรี คือ นายทองสิง ทามะวง
เวลำทำกำรของหน่วยงำน และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลาใน สปป.ลาวเท่ากับเวลาในประเทศไทย (GMT+7) เวลาราชการ เวลาทาการของเอกชน เวลาทาการของธนาคาร
วันจันทร์-ศุกร์ 8.00-12.00 น. และ 13.00-16.00 น. วันจันทร์-ศุกร์ 8.00-12.00 น. และ 13.00-17.00 น. วันจันทร์-ศุกร์ 8.30-15.30 น.
วันหยุดนักขัตฤกษ์
1 มกราคม วันปีใหม่สากล 20 มกราคม วันก่อตั้งกองทัพประชนลาว 22 มกราคม วันก่อตั้งพรรคประชาชนปฏิวัติลาว 8 มีนาคม วันแม่หญิง (วันสตรีสากล) 14-16 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ (วันสงกรานต์) 1 พฤษภาคม วันกรรมกร (วันแรงงานสากล) 1 มิถุนายน วันเด็ก 15 สิงหาคม วันรัฐธรรมนูญ 7 ตุลาคม วันครูแห่งชาติ 12 ตุลาคม วันประกาศเอกราช 2 ธันวาคม วันชาติ (วันสถาปนา สปป.ลาว)
Page | 14
2.1
Page | 1
ข้อมูลทางเศรษฐกิจและดัชนีชี้วัดที่สาคัญ สปป.ลาวเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติ
การเกษตรอีกจานวนมาก ถึงแม้ว่าการเกษตรเป็น
ที่อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะป่าไม้และแร่ธาตุที่สาคัญ
ภ า ค ก า ร ผ ลิ ต ห ลั ก ข อ ง ส ป ป .ล า ว แ ต่
เช่น ทองคา ทองแดง และบอกไซต์ นอกจากนี้ยังมี
ภาคอุตสาหกรรมก็กาลังขยายตัวเช่นกัน สปป.ลาว
เขื่ อ นพลั ง น้ าหลายแห่ ง ที่ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า เพื่ อ ใช้ ใ น
ได้เริ่มเปิดประเทศโดยการเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน
ประเทศและส่งไปขายประเทศเพื่อนบ้าน สาหรับ
เมื่อเดือนกรกฎาคม 2540 และเป็นสมาชิกองค์การ
ภาคใต้ของ สปป.ลาวเป็ น ที่ราบสูง ซึ่งเป็ น แหล่ง
การค้าโลก (WTO) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556
ปลู ก กาแฟคุ ณ ภาพดี แ ละยั ง มี พื้ น ที่ ส าหรั บ ท า
ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สาคัญของ สปป.ลาว รายการ 2553 2554 2555 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 6.84 8.06 9.40 ณ ราคาปัจจุบัน1 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) อัตราการขยายตัว ณ ราคาคงที่1 (ร้อยละ) 8.13 8.04 7.90 รายได้ต่อหัว1 (ดอลลาร์สหรัฐ) 1,069.75 1,236.24 1,414.46 ประชากร1 (ล้านคน) 6.40 6.52 6.65 ดุลการค้า2 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) - 1,378.50 - 1,514.58 - 3,013.53 การส่งออกสินค้า2 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) การนาเข้าสินค้า2 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เงินเฟ้อ1 (% การเปลี่ยนแปลง) ดัชนีราคาผู้บริโภค3 (2010=100) เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ4 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
2,195.90 3,574.40 5.98 100.00 278.80
3,120.78 4,635.36 7.58 107.58 300.75
3,326.18 6,339.71 4.26 112.16 294.38
2556 10.79
2557 11.68
7.97 1,593.59 6.77 3,401.38 3,883.79 7,285.17 6.37 119.30 296.00
7.41 1,692.65 6.90 3,362.58 4,588.56 7,951.14 5.54 n.a. n.a.
รายการ 2553 2554 2555 2556 ดุลบัญชีเดินสะพัด1 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) -1.37 - 1.39 - 2.84 - 3.12 5 อัตราแลกเปลี่ยนต่อดอลลาร์สหรัฐ 8,258.77 8,030.06 8,007.76 7,860.14
2557 - 2.91 n.a.
ที่มา : 1 International Monetary Fund (IMF) 2 CEIC Database 3 World Bank 4 The United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) 5 United Nations Statistics
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของ สปป.ลาว ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยในปี 2557 ผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมี มูลค่ า 11.68 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 7.41 ร า ย ไ ด้ ต่ อ หั ว ใ น ปี 2557 คิ ด เป็ น 1,692.65 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ เ ป็ น ผลมาจาก การขยายตั ว ที่ แข็งแกร่งของภาคอุตสาหกรรม การผลิตไฟฟ้าพลัง น้ า การก่ อ สร้ า ง การแปรรู ป อาหาร และ ภาคบริการ ในขณะเดียวกัน ทรัพยากรธรรมชาติ และภาคการเกษตร ป่าไม้ เขื่อนไฟฟ้าพลังน้า และ ทรั พ ยากรแร่ ธ าตุ ยั ง คงเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการ สนับสนุนเศรษฐกิจของประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ สปป.ลาวขาดดุลอย่าง ต่อเนื่อง โดยในปี 2557 สปป.ลาวขาดดุลการค้ า ระหว่ างประเทศ มู ล ค่ า 3,362.58 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ โดยคิ ด เป็ น มู ล ค่ า การน าเข้ า สิ น ค้ า จาก ต่างประเทศ 7,951.14 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และคิด เป็ น มู ล ค่ า การส่ ง ออกสิ น ค้ า 4,588.56 ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ สปป.ลาวได้รับความสนใจจากนัก ลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนอย่างต่อเนื่อง โดยมูลค่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ คิดเป็น 296 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สปป.ลาว 1) เศรษฐกิจ สปป.ลาวขับเคลื่อนโดยอาศัย รายได้จากทรัพยากรธรรมชาติและการ ลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI)
2) อุตสาหกรรมหลักที่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ของ สปป.ลาว คือ การทาเหมืองแร่และ พลังงานไฟฟ้าซึ่งปัจจุบันมีโครงการ ก่อสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าหลายแห่ง โดยไทยกาหนดเพดานรับซื้อไฟฟ้าจาก สปป.ลาวที่ขายให้กับประเทศไทย 7,000 เมกะวัตต์
Page | 2
2.2
สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศของ สปป.ลาว สินค้าส่งออกและนาเข้าของ สปป.ลาวที่สาคัญ มีดังนี้
Page | 3
สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ แร่ทองแดง ทองแดงและของใช้ที่ทาด้วยทองแดง ไฟฟ้า เครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ น้ามันเชื้อเพลิง เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของ เครื่องจักรกล พาหนะขนส่งทางบก เหล็ก
สปป.ลาวมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจร้อยละ 7 - 8 ต่อปี ส่งผลให้ความต้องการสินค้าและบริการ จากต่างประเทศรวมทั้ง จากไทยเพิ่ ม ขึ้น ด้ว ย ปี 2552-2557 มูลค่าการค้าไทย-สปป.ลาว ขยายตัว เฉลี่ย ร้อยละ 16.6 โดยปี 2557 ขยายตัว ร้อยละ 13 จากปี 2556 การเปิดใช้เส้นทางใหม่ๆ เพิ่ม ขึ้น อาทิ สะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ 4 (เชียง ของ-ห้วยทราย) การแก้ปัญหาความไม่สะดวกใน การสัญจรของประชาชนและยานพาหนะระหว่าง สองประเทศอย่างต่อเนื่อง การยกเว้นการตรวจลง ล้ านบาท
ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)
ตราหนังสือเดินทางของชาวไทยและชาวลาว เป็น ปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้การเปิดและยกระดับจุดผ่าน แดนไทย-ลาว การค้าไทย-สปป.ลาวขยายตัวยิ่งขึ้น การค้ า ไทย - สปป.ลาวในปี 2557 มี มู ล ค่ า 175,508.27 ล้านบาท ขยายตัวจากปี 2556 ร้อย ละ 13.06 โดยในปี 2557 มูลค่าการส่งออกจาก ไทยไป สปป.ลาว คิดเป็น 129,666.32 ล้านบาท และมูลค่าการนาเข้าของไทยจาก สปป.ลาวคิดเป็น 45,841.95 ล้านบาท โดยไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบ ดุลการค้า 83,824.37 ล้านบาท
การค้าระหว่างไทยกับ สปป.ลาว มูลค่า (ล้านบาท)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ)Page | 4 58/57 รายการ 2558 2555 2556 2557 56/55 57/56 (ม.ค.(ม.ค.-มี.ค.) มี.ค.) มูลค่าการค้ารวม 149,484.71 155,235.43 175,508.27 44,118.70 3.85 13.06 4.14 มูลค่าการส่งออก 110,802.47 113,542.08 129,666.32 33,400.14 2.47 14.20 1.45 มูลค่าการนาเข้า 38,682.24 41,693.35 45,841.95 10,718.56 7.78 9.95 13.54 ดุลการค้า 72,120.23 71,848.73 83,824.37 22,681.58 ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)
สินค้าสาคัญที่ไทยส่งออกไปยัง สปป.ลาว ในปี 2557 สินค้าที่ไทยส่งออกไป สปป.ลาวมี มูลค่าสูงสุด คือ น้ามันสาเร็จรูป มีมูลค่าการส่งออก 29,885.80 ล้ า นบาท โดยมี อั ต ราการขยายตั ว เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2556 ร้อยละ 10.66 ส่วน สิ น ค้ า ส่ ง อ อ ก ที่ มี มู ล ค่ า ร อ ง ล ง ม า คื อ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของ
เครื่องจักรกล ตามลาดับ น้ามันสาเร็จรูปยังคงเป็น สินค้าที่ไทยส่งออกไป สปป.ลาวที่มีมูลค่าสูงสุดในปี 2558 (มกราคม-กรกฎาคม) คิ ด เป็ น มู ล ค่ า 15,316.40 ล้ า น บ า ท ร อ ง ล ง ม า คื อ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ ตามลาดับ เช่นเดียวกับปี 2557
Page | 5
โครงสร้างสินค้าที่ไทยส่งออกไป สปป.ลาว 10 อันดับแรก มูลค่า (ล้านบาท) ชื่อสินค้า 1 2
น้ามันสาเร็จรูป รถยนต์ อุปกรณ์และ ส่วนประกอบ 3 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 4 เครื่องจักรกลและ ส่วนประกอบของ เครื่องจักรกล 5 เคมีภัณฑ์ 6 เครื่องสาอาง สบู่ และ ผลิตภัณฑ์ รักษาผิว 7 สินค้าปศุสัตว์อื่น ๆ 8 ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง 9 อัญมณีและเครื่องประดับ 10 ผลิตภัณฑ์พลาสติก รวม 10 รายการ อื่นๆ
27,007.50 14,377.40
2558 2557 (ม.ค.ก.ค.) 29,885.80 15,316.40 15,476.50 8,655.80
อัตราการขยายตัว (%) 2558 2556 2557 (ม.ค.ก.ค.) 4.64 10.66 -19.28 13.99 7.64 -3.48
8,745.50 6,606.70
11,691.40 4,720.70
6,314.10 3,351.10
23.45 -8.32
33.69 - 28.55
-9.15 21.38
3,512.40 2,553.10
4,718.30 3,045.70
2,706.30 1,998.00
0.45 22.56
34.33 19.29
-6.07 19.69
2,309.80 2,934.80 758.8 1,876.60 70,682.60 42,859.50
2,755.70 1,845.10 66.79 19.30 3,705.20 1,725.00 29.45 26.25 2,482.60 1,565.50 3297.22 227.17 2,609.20 1,548.50 21.07 39.04 81,091.10 45,025.80 11.28 14.73 48,575.20 34,708.50 -9.36 13.34
38.72 -7.63 -5.48 5.6 -7.21 24.48
2556
มูลค่า (ล้านบาท) ชื่อสินค้า รวมทั้งสิ้น
2558 2556 2557 (ม.ค.ก.ค.) 113,542.10 129,666.30 79,734.30
อัตราการขยายตัว (%) 2558 2556 2557 (ม.ค.ก.ค.) Page | 6 2.47 14.2 4.36
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร (2558)
ในปี 2558 (มกราคม-กรกฎาคม) สินค้าส่งออก ของไทยไป สปป.ลาวที่ มี สั ด ส่ ว นมากที่ สุ ด คื อ น้ามันสาเร็จรูป คิดเป็นร้อยละ 19.21 ของมูลค่า การส่งออกทั้งหมด รองลงมา คือ รถยนต์ อุปกรณ์
และส่วนประกอบ ร้อยละ 10.86 เหล็ก เหล็กกล้า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร้ อ ยละ 7.92 และเครื่ อ งจั ก รกล และส่วนประกอบของเครื่องจักรกล ร้อยละ 4.20 ตามลาดับ
สัดส่วนมูลค่าสินค้าส่งออกของไทยไป สปป.ลาว ปี 2558 (มกราคม-กรกฎาคม)
สินค้าสาคัญที่ไทยนาเข้าจาก สปป.ลาว ในปี 2557 สินค้าที่ไทยนาเข้าจาก สปป.ลาว ที่ มีมูลค่าสูงสุด คือ เชื้อเพลิงอื่น ๆ มีมูลค่าการนาเข้า 18,563.50 ล้านบาท มีอัตราการขยายตัวร้ อยละ 2.55 รองมาเป็ น สิ น แร่ โ ลหะอื่น ๆ เศษโลหะและ ผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทาจากผัก ผลไม้ เป็นต้น
ส าหรับสิ นค้าที่ไทยนาเข้าจาก สปป.ลาวที่มี มูลค่าสูงสุดในปี 2558 (มกราคม-กรกฎาคม) ยังคง เป็ น เชื้ อ เพลิ ง อื่ น ๆ มี ก ารน าเข้ า สู ง สุ ด เป็ น มู ล ค่า 9,679.10 ล้ า นบาท รองลงมา คื อ สิ น แร่ โ ลหะ อื่น ๆ เศษโลหะและผลิ ตภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทา จากผัก ผลไม้ เช่นเดียวกับปี 2557 ตามลาดับ
Page | 7
โครงสร้างสินค้าที่ไทยนาเข้าจาก สปป.ลาว 10 อันดับแรก มูลค่า (ล้านบาท)
ชื่อสินค้า 1 2
เชื้อเพลิงอื่น ๆ สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและ ผลิตภัณฑ์ 3 เครื่องจักรไฟฟ้าและ ส่วนประกอบ 4 ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทา จากผัก ผลไม้ 5 พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 6 ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 7 กาแฟ ชา เครื่องเทศ 8 ปุ๋ย และยากาจัดศัตรูพืชและสัตว์ 9 ลวดและสายเคเบิล 10 ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยาน ยนต์ รวม 10 รายการ อื่นๆ รวมทั้งสิ้น
อัตราการขยายตัว (%) 2558 2558 2556 2557 2556 2557 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) 18,101.70 18,563.50 9,679.10 16.66 2.55 0.16 17,340.10 16,863.40 7,282.60 7.47 - 2.75 - 25.09 271.40
4,681.00
4,915.30
32.96
1,624.99
177.75
1,183.50
1,301.90
1526.5
3.57
10.00
116.34
985.00 1,644.70 32.60 367.80 392.20 1.10
844.20 1,462.60 161.90 365.40 315.10 120.70
1262.9 957.7 237.3 213.4 212.7 165.5
- 7.82 - 14.29 - 13.58 - 11.07 2.30 396.76 62.52 - 0.65 8.26 - 19.65 - 77.06 10,615.03
301.34 12.49 287.23 - 4.80 11.52 619.75
40,320.00 44,679.60 1,373.40 1,162.30 41,693.40 45,841.90
26452.9 877.4 27330.3
10.18 -34.21 7.78
12.44 45.62 13.27
10.81 -15.37 9.95
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร (2558)
ในปี 2558 (มกราคม-กรกฎาคม) สินค้าที่ไทย นาเข้าจาก สปป.ลาวที่มีสัดส่วนมากที่สุด คือ เชื้อเพลิง คิดเป็นร้อยละ 35.42 ของมูลค่าการ
นาเข้าทั้งหมด รองลงมา คือ สินแร่โลหะอื่นๆ เศษ โลหะและผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 26.65 และเครื่องจักร ไฟฟ้าและส่วนประกอบ ร้อยละ 17.98 ตามลาดับ
สัดส่วนมูลค่าของสินค้าที่ไทยนาเข้าจาก สปป.ลาว ปี 2558 (มกราคม-กรกฎาคม)
Page | 8
การค้าชายแดนระหว่างไทยกับ สปป.ลาว ในปี 2557 การค้ า ชายแดนระหว่า งไทยกับ สปป.ลาว มี มู ล ค่ า รวม 151,063.69 ล้ า นบาท ขยายตั ว ร้ อ ยละ 14.32จากปี 2556 โดยไทย ได้เปรี ย บดุล การค้ า 96,810.73 ล้ านบาท มูล ค่ า การส่งออกสินค้าของไทยไปยัง สปป.ลาว คิดเป็น 123,937.21ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.12 จากปี 2556 มูล ค่าการน าเข้าสิ น ค้าจาก สปป.ลาวของ
ไทยคิดเป็น 27,126.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.28 จากปี 2556 ในปี 2558 (มกราคม-มีนาคม) การค้าชายแดนระหว่างไทยกับ สปป.ลาว มีมูลค่า รวม 39,387.09 ล้ า นบาท เป็ น การส่ ง ออก 31,939.59 ล้ า นบาท และการน าเข้ า 7,447.50 ล้ า นบาท โดยไทยเป็ น ฝ่ า ยได้ เ ปรี ย บดุ ล การค้ า 24,492.09 ล้านบาท
มูลค่าการค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว ปี 2555 - 2558 (มกราคม-มีนาคม) มูลค่า (ล้านบาท)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) รายการ 2555 2556 2557 2558 56/55 57/56 58/57 (ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.) มูลค่ารวม 132,016.36 132,137.16 151,063.69 39,387.09 0.09 14.32 4.68 มูลค่าการส่งออก 109,059.22 108,605.38 123,937.21 31,939.59 -0.42 14.12 1.11 มูลค่าการนาเข้า 22,957.14 23,531.78 27,126.48 7,447.50 2.50 15.28 23.31 ดุลการค้า 86,102.08 85,073.60 96,810.73 24,492.09 ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)
เมื่อพิจารณามูลค่าการค้าชายแดนไทย -สปป.ลาว แยกตามรายจังหวัด การส่งออกสินค้าของไทยไป สปป. ลาวมีมูลค่ามากที่สุดที่ด่านศุลกากรหนองคาย 14,121.65 ล้านบาท และด่านศุลกากรมุกดาหาร 5,022.30 ล้านบาท ตามลาดับ ปัจจัยหนึ่งมาจากบริเวณชายแดนดังกล่าวมี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว ซึ่งอานวยความ สะดวกการขนส่งสินค้าและการสัญจรของคน ทาให้ชาวลาวเดินทางเข้ามาซื้อสินค้าในไทยได้สะดวกมากขึ้น กอปรกับที่ด่านชายแดนมุกดาหารมี ตลาดอินโดจีนซึ่งเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ และมีสินค้าให้เลือกซื้อหลาย ชนิด จึงทาให้การค้าชายแดนในจังหวัดหนองคายมีมลู ค่ามากที่สุด
Page | 9
การค้าชายแดนไทยกับ สปป.ลาว แยกตามรายจังหวัด ปี 2558 (มกราคม-มีนาคม) จังหวัด หนองคาย มุกดาหาร เชียงราย อุบลราชธานี น่าน เลย นครพนม บึงกาฬ รวม
ส่งออก (ล้านบาท) 14,121.65 5,022.30 3,819.77 3,725.20 2,115.94 1,447.59 1,245.31 441.81 31,939.59
สัดส่วน (ร้อยละ) -10.56 36.61 41.87 -7.06 64.61 -49.21 24.56 54.14 1.11
นาเข้า (ล้านบาท) 383.38 5,076.90 52.49 1,013.38 20.87 559.27 75.73 265.47 7,447.50
สัดส่วน (ร้อยละ) 43.17 1.47 15.65 141.92 6.26 386.73 62.26 116.29 23.31
ดุลการค้า (ล้านบาท) 13,738.27 -54.60 3,767.28 2,711.82 2,095.08 888.32 1,169.58 176.34 24,492.09
ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)
การค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว มีมูลค่าเพิ่มขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยสิ น ค้ า ส่ ง ออกผ่ า นชายแดนที่ ส าคั ญ ของไทยไป สปป.ลาว ได้ แ ก่ น้ ามั น ดี เ ซล รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์เหล็ก และเหล็กกล้า น้ามันเบนซิน เครื่องจักรที่ใช้ใน
การก่อสร้าง เป็นต้น ส่วนสินค้านาเข้าผ่านแดนที่ สาคัญของ สปป.ลาวมาไทย ได้แก่ ทองแดงและ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เครื่ อ งรั บ -ส่ ง สั ญ ญาณและอุ ป กรณ์ ติดตั้งฯ ผักและของปรุงแต่งของผัก ไม้แปรรูป เป็น ต้น
สินค้าส่งออกของไทยผ่านชายแดนไทย-สปป.ลาว หน่วย: ล้านบาท
สินค้าส่งออก น้ามันดีเซล รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า น้ามันเบนซิน เครื่องจักรที่ใช้ในการก่อสร้าง ไก่ สินค้าปศุสัตว์อื่นๆ
2555
2556
2557
17,254 12,206 2,800 5,444 4,784 2,272 1,385
17,610 14,377 3,260 6,419 4,256 2,941 2,310
19,846 15,471 6,358 6,732 2,497 3,711 2,754
Page | 10
เหล็กและเหล็กกล้า น้ามันสาเร็จรูปอื่นๆ ยานพาหนะอื่นๆและส่วนประกอบ อื่นๆ มูลค่าส่งออกรวม
4,282 3,054 2,308 53,271 109,059
5,480 2,378 2,395 47,178 108,605
5,331 2,482 2,129 56,626 123,937
ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)
สินค้านาเข้าของไทยผ่านชายแดนไทย-สปป.ลาว หน่วย: ล้านบาท
สินค้านาเข้า ทองแดงและผลิตภัณฑ์ เครื่องรับ-ส่งสัญญาณและอุปกรณ์ติดตั้งฯ ผักและของปรุงแต่งของผัก ไม้แปรรูป ธัญพืช ผลไม้และของปรุงแต่งจากผลไม้ พืชและผลิตภัณฑ์จากพืชอื่นๆ ปุ๋ย ลวดและสายเคเบิล ที่หุ้มฉนวน รองเท้า อื่นๆ มูลค่านาเข้ารวม ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)
2555 16,015 45 855 1,671 608 285 183 226 362 N/A 2,703 22,957
2556 17,312 191 876 1,437 550 307 217 368 392 3 1,879 23,532
2557 16,799 4,577 1,073 1,141 65 229 218 365 315 175 2,169 27,126
Page | 11
2.3
สถานการณ์ด้านการลงทุนใน สปป.ลาว
การลงทุ น ใน สปป.ลาวเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ว เนื่ อ งจากได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาล ซึ่ ง มี นโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ อย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ กระตุ้ น เศรษฐกิ จ ของประเทศ ป ร ะ ก อ บ กั บ ส ป ป . ล า ว เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งท่องเที่ยว มากมาย มีค่าจ้างแรงงานยังอยู่ในระดับต่า และ ได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างด้ า นภาษี (GSP) จาก ประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพ ยุ โ รป ญี่ ปุ่ น เป็ น ต้ น จึ ง ท าให้ นั ก ลงทุ น จาก ต่ า งประเทศมองว่ า สปป.ลาวเป็ น ประเทศที่ น่าสนใจในการดาเนินธุรกิจ
สาหรับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศใน สปป.ลาว มีมูลค่าการลงทุนสะสม ตั้งแต่ปี 2532 2557 ของประเทศผู้ลงทุนรายใหญ่ 10 ประเทศ คิดเป็น 16,286,926,701 ดอลลาร์สหรัฐ โดยจีน เป็นประเทศที่มีการลงทุนสะสมมากที่สุด รองลงมา เป็นไทย และเวียดนาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ลงทุน รายใหญ่ใน สปป.ลาว เป็นชาติในอาเซียน และ หากพิ จ ารณาการลงทุ น ในแต่ ล ะสาขาการผลิ ต พบว่าการลงทุนการผลิตกระแสไฟฟ้ามีมูลค่ามาก ที่ สุ ด คิ ด เป็ น 6,671,407,159 ดอลลาร์ ส หรั ฐ จานวน 47 โครงการ รองลงมาเป็นการลงทุน ใน ธุรกิจเหมืองแร่ เกษตรกรรม และการบริการ
มูลค่าการลงทุนสะสมแยกตามประเทศ ปี 2532-2557 (10 อันดับแรก) ที่
ประเทศ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
China Thailand Vietnam R.Korea France Japan Netherlands Malaysia Norway UK Total
จานวน โครงการ 830 746 421 291 223 102 16 101 6 52 2,788
มูลค่าเงินลงทุน (ดอลลาร์สหรัฐ) 5,396,814,087 4,455,364,613 3,393,802,891 751,072,139 490,626,243 438,242,441 434,466,484 382,238,773 346,435,550 197,863,480 16,286,926,701
ที่มา : Investment Promotion Department, Lao PDR (2558)
สัดส่วน (%) 33.1 27.4 20.8 4.6 3.0 2.7 2.7 2.3 2.1 1.2 100
Page | 12
มูลค่าการลงทุนสะสม จาแนกตามสาขาการลงทุน ปี 2532-2557 สาขา Electricity Generation Mining Agriculture Service Industry & Handicraf Hotel-Restaurant Construction Telecommunication Wood Industry Banking Trading Garment Consultancy Healthy Education TOTAL
จานวนโครงการ
มูลค่าการลงทุน (ดอลลาร์สหรัฐ)
47 303 989 664 926 429 150 18 211 31 351 109 172 14 85 4,499
6,671,407,159 5,687,451,365 2,770,422,610 2,532,553,477 1,972,227,944 1,022,563,120 826,474,695 662,688,895 410,141,376 372,063,662 325,021,111 93,560,447 66,929,199 64,222,736 30,945,780 23,508,673,576
ที่มา : Investment Promotion Department, Lao PDR (2558)
Page | 13
2.4
ระบบสถาบันการเงิน
สถาบั น การเงิ น ใน สปป.ลาวอยู่ ภ ายใต้ ก าร กากับ ดูแลของธนาคารแห่ ง สปป.ลาว (Bank of The Lao PDR) ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบการจด ทะเบี ย นจั ด ตั้ ง การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ทุ ก รู ป แบบของ สถาบันการเงิน ทั้งหมด การออกระเบียบสาหรับ การประกอบกิจการให้ ชัดเจนขึ้นภายใต้กฎหมาย ว่ า ด้ ว ยธนาคารพาณิ ช ย์ ก ารเช่ า ซื้ อ การก าหนด นโยบายการเงิน ของประเทศ การกาหนดกรอบ อัตราดอกเบี้ยต่างๆ ของธนาคาร พาณิชย์ การดูแล เงิ น ส ารองของแต่ ละธนาคาร การก าหนด หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การจั ดตั้งและบริ หารกองทุน คุ้ ม ครองเงิ น ฝาก ซึ่ ง ถื อ เป็ น ระบบที่ ค่ อ นข้ า ง ทันสมัย รวมถึงยังมีการจั ดตั้งหน่ วยงานในความ รับผิดชอบ ควบคุมการหมุนเวียนเงินตราในระบบ เศรษฐกิ จ เพื่ อ ป้ อ งกั น การฟอกเงิ น นอกจากนั้น ธนาคารแห่ งสปป.ลาวทาหน้ าที่กากับดูแลตลาด หลักทรัพย์ด้วย หน่วยงานของธนาคารแห่ ง สปป. ลาวที่ดูแลสถาบันการเงินใน สปป.ลาวแต่เดิมชื่อ กรมคุ้ ม ครองธนาคารธุ ร กิ จ และสถาบั น การเงิ น ( The Bank and Financial Institution Supervision Department: BFSD) ภายหลังได้ มี การปรับโครงสร้างใหม่เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 โดยแยกเป็น 2 กรม ได้แก่ 1) กรมคุ้มครองธนาคาร พาณิ ช ย์ และ 2) กรมคุ้ ม ครองสถาบั น การเงิ น ที่ ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์ ทั้งสองหน่วยงานมีหน้าที่
(1) ก าหนด ปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บ ข้ อ ตกลง ค าสั่ ง และเอกสาร ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการดู แ ลสถาบั น การเงิ น ธนาคารพาณิชย์ (2) กากับ ตรวจสอบสถาบันการเงิน ธนาคาร พาณิชย์ ให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อตกลง คาสั่ง ของธนาคารแห่ง สปป.ลาว (3) ศึกษาความเป็นไปได้ในการขอจัดตั้ง ควบ รวม ขยาย หรือเลิกกิจการ หรือการถอน ใบอนุญาต ดาเนินการของสถาบันการเงิน ธนาคารพาณิ ช ย์ เพื่ อ เสนอผู้ ว่ า การ พิจารณาอนุมัติต่อไป (4) จัดเก็บข้อมูลเอกสารรายงานต่ าง ๆ และ วิเคราะห์ ฐ านะด้ านการเงิน ของสถาบั น การเงิ น ธนาคารพาณิ ช ย์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ ก า ห น ด เป้ า หมายในการตรวจสอบ รวมถึ ง การ ตรวจสอบสถาบั น การเงิ น ธนาคาร พาณิชย์ ตามแผนงานประจางวดปี และ แผนเฉพาะกิจเมื่อมีความจาเป็น (5) พัฒ นาเครื่องมื อในการคุ้ มครองสถาบั น การเงิน ธนาคารพาณิชย์ เพื่อให้มีความ เข้มแข็งและทันกับการเปลี่ยนแปลง
Page | 14
สาหรับสถาบันการเงินใน สปป.ลาว ประกอบด้วยธนาคารของรัฐ ธนาคารเอกชนของ สปป.ลาว สาขาของ ธนาคารพาณิชย์ของต่างประเทศ สาขาธนาคารของประเทศไทย และสถาบันการเงินอื่นๆ ดังนี้ Page | 15
สถาบันการเงินใน สปป.ลาว 1. Bank of Lao PDR Address: # Yonnet Road, P.O. Box 19 Vientiane, Lao PDR Tel: 856-21-223331 Fax: 856-21-218326 Website: http://www.bol.gov.la 2. Agricultural Promotion Bank Address: # 58 Hengboun St, Ban Haysok, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 212 024, (+856-21) 223 714 Fax: (+856-21) 213 957 Email: apblao@laotel.com Website: apblao@laotel.com 3. Asian Development Bank (ADB) Address: # Lanexang Ave, Ban Sisaket, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 250 444 (+856-21) 252 427 Fax: (+856-21) 250 333 4. Acleda Bank Lao Co.,Ltd Address: # 372 Unit 21 Dongpaina St, Ban Phonesavan Nue, Sisattanak District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 264 994 (+856-21) 264 998 Fax: (+856-21) 264 995 Website: www.acledabank.com.kh/la 5. ANZ (Lao) Bank Co.,Ltd Address: # 1th Floor ANZ Vientiane Commercial Building, 33 Lanexang Ave, Ban Hatsady, Chanthabuly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 222 700 Fax: (+856-21) 213 513 Website: www.anz.com/laos 6. Bank of Ayudhya Public Co., Ltd Address: # 084/1-2 Lanexang Ave, Ban Hatsadi Tai, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 251 679, (+856-21) 214 576, (+856-21) 214 575 Fax: (+856-21) 213 561 Website: www.krungsri.com
สถาบันการเงินใน สปป.ลาว 7. Bangkok Bank Public Co., Ltd Address: # 140 Unit08 Ban Hatsadytai, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 213 562, (+856-21) 250 474 Fax: (+856-21) 213 561 Website: www.bangkokbank.com 8. Bank of Ayudhya Public Co., Ltd (Savanhnakhet) Address: # Unit31 Srisavangvong Rd, Ban Sunanta, Kaishonepromvihan District, Savanhnakhhet, Lao PDR Tel: (+856-41) 252 360 Fax: (+856-41) 252 359 9. Banque Pour Le Commerce Exterieur Lao Public Address: # Unit01 Pangkham Rd, Ban Xiangnyeun, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 213 200, (+856-21) 217 899, (+856-21) 222 495 Fax: (+856-21) 213 200, (+856-21) 217 899, (+856-21) 222 495 Email: bcelhovt@etllao.com Website: www.bcel.com.la/ 10. Joint Devel Opment Bank Address: # 82 Lanexang Ave, Ban Hatsadi, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 213 535, (+856-21) 213 531, (+856-21) 213 532, (+856-21) 213 533, (+856-21) 213 534, (+856-21) 213 536 Fax: (+856-21) 213 530 Website: www.jdbbank.com 11. Krung Thai Public Bank Address: # 80 Lanexang Ave, Ban Xiangnyeun, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 213 480, (+856-21) 222 761, (+856-21) 222 762 Website: www.ktb.co.th 12. Lao-Viet Bank Address: # 44 Lanexang Ave Ban Hatsadi Tai, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 214 377, (+856-21) 251 418 Fax: (+856-21) 212 197 Email: lvbho@laotel.com Website: www.laovietbank.com 13. Phongsawanh Bank Limited Address: # Ban Phakhao, Kaishonephomvihan St, Chaithani District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 711 500 Fax: (+856-21) 711 558 Website: www.phongsavanhbank.com
Page | 16
สถาบันการเงินใน สปป.ลาว 14. Public Bank Address: # 100/1-4 Morning Market St, Ban Hatsadi, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 223 394, (+856-21) 216 614, (+856-21) 217 087 Fax: (+856-21) 222 743 Website: www.pbebank.com 15. Siam Commercial Bank Address: # 117 Samsenthai Rd, Ban Sisaket, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 213 500, (+856-21) 213 501, Fax: (+856-21) 213 502 Website: www.scb.co.th 16. TMB Public Co., Ltd Address: # 034/2 Unit06 Samsenthai Rd, Ban Haysok, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 217 174 Fax: (+856-21) 216 486 17. Nayoby Bank Address: # Kaishonephomvihan St, Ban Phonhpanao, Xaysettha District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 264 407 - 21 Fax: (+856-21) 264 408 Email: nbb_ho@nayobybank.org Website: www.nayobybank.org 18. Indochina Bank Address: # 116 Ban Nhongbhone, Xaysettha District, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (+856-21) 455 000 - 2 Fax: (+856-21) 455 111 Website: www.indochinabank.com ที่มา : Laos Telephone Directory
Page | 17
3.1
กฎระเบียบและมาตรการด้านการส่งเสริมการลงทุน สปป.ลาวได้เปิดรับการลงทุนจากต่างชาติและ
ลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่อให้ ผู้ ล งทุน
ได้ ป ระกาศใช้ ก ฎหมายส่ ง เสริ ม การลงทุ น จาก
สามารถดาเนินธุรกิจใน สปป.ลาวได้อย่างสะดวก
ต่างประเทศตั้งแต่วันที่ 19 เมษายน 2531 ปัจจุบัน
รวดเร็ว และถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย ซึ่งรัฐ
การลงทุนใน สปป.ลาวอยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วย
ส่ งเสริมให้ล งทุนในทุกสาขา กิจการ และทุกเขต
ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น ปี 2552 (Law on
แคว้นทั่วประเทศ ยกเว้นเขตและกิจการที่เกี่ยวข้อง
Investment Promotion 2009) กฎหมายว่าด้วย
กับความมั่นคงและความสงบของชาติ มีผลกระทบ
การส่งเสริมการลงทุน กาหนดหลักการ ระเบียบ
ที่ร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมในปั จจุบันและระยะยาว
การ และมาตรการเกี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม การ
ต่อสุขภาพของประชาชนและวัฒนธรรมอันดีงาม
คุ้มครองการลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่อ
ของชาติ ทั้งนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ
ท าให้ ก ารลงทุ น มี ค วามสะดวก รวดเร็ ว ถู ก ต้ อ ง
อ นุ มั ติ โ ค ร ง ก า ร ห รื อ ก า ร ล ง ทุ น ใ น
ได้รับการปกป้องด้านต่างๆ จากรัฐ การรับประกัน
สปป.ลาวมี 2 หน่วยงาน คือ กระทรวงอุตสาหกรรม
สิ ท ธิ์ แ ละผลประโยชน์ ข องผู้ ล งทุ น และของ
แ ล ะ ก า ร ค้ า ( Ministry of Industry and
ประชาชน เพื่อเพิ่มบทบาทการลงทุนต่อเศรษฐกิจ
Commerce) รับผิดชอบการอนุมัติโครงการ หรือ
สังคมของชาติให้เติบโตขยายตัวอย่างต่อเนื่องและ
การลงทุนในกิจการทั่วไป และกระทรวงแผนการ
ยั่งยืน
แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น (Ministry of Planning and Investment) รับผิดชอบการอนุมัติโครงการหรือ
รัฐบาล สปป.ลาวให้ความสาคัญในการส่งเสริม
การลงทุ น ในกิ จ การสั ม ปทานโดยจะมี ก ารแบ่ ง
ก า ร ล ง ทุ น โ ด ย ก า ร ว า ง น โ ย บ า ย ก า ร ส ร้ า ง
ล าดั บ ชั้ น ในการอนุ มั ติ โ ครงการตามมู ล ค่ า การ
สภาพแวดล้อม และเงื่อนไขในด้านต่างๆ แก่การ
ลงทุนของโครงการต่างๆ
Page | 1
Ministry of Industry and Commerce, Lao PDR ที่ตั้ง: บ้านโพนไซ เมืองไซเสดทา นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว สถานที่ติดต่อ : Phon Xay Rd, P.O.Box 4107 Vientiane, Lao People’s Democratic Republic โทรศัพท์: (856)-21-412-011 โทรสาร: (856)-21-453-865 เว็บไซต์: www.moic.gov.la Ministry of Planning and Investment, Lao PDR ที่ตั้ง: บ้านสีถานเหนือ ถนนสุพานุวง เมืองสีโคดตะบอง นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว สถานที่ติดต่อ : Souphanouvong Avenue, Vientiane, Lao People’s Democratic Republic โทรศัพท์: (856)-21-217-020 โทรสาร: (856)-21-215-491 เว็บไซต์: www.investlaos.gov.la ทั้งนี้ ขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับการอนุมัติโครงการหรือการลงทุนของกระทรวงอุตสาหกรรมและ การค้า และกระทรวงแผนการและการลงทุน มีดังนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า กรมส่งเสริมการลงทุน แขวงกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้าแขวง/นครหลวง ดูแลรับผิดชอบเรื่องต่อไปนี้ ดูแลรับผิดชอบเรื่องต่อไปนี้ - การขึ้นทะเบียนวิสาหกิจของสาขาวิสาหกิจ - การขึ้นทะเบียนวิสาหกิจส่วนบุคคลวิสาหกิจหุ้นส่วน ต่างประเทศใน สปป.ลาว วิสาหกิจที่ผู้ลงทุน สามัญวิสาหกิจหุ้นส่วนจากัดบริษัทจาจัดที่ผู้ลงทุน ต่างประเทศลงทุนฝ่ายเดียว 100% การตั้งบริษัท ต่างประเทศถือหุ้นต่ากว่าร้อยละ 50 ลงมาบริษัทจากัดผู้ ที่ผู้ลงทุนต่างประเทศถือหุ้นตั้งแต่ 50% ขึ้นไป เดียวของผู้ลงทุนภายในบริษัทรัฐ และบริษัทผสมที่ การตั้งบริษัทรัฐและบริษัทผสมที่กฎหมาย กฎหมายวิสาหกิจกาหนดให้แขวง/นครหลวง (เจ้าแขวง วิสาหกิจกาหนดให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้อนุมัติ หรือเจ้าครองนคร) เป็นผู้อนุมัติ การตั้งบริษัทมหาชน และการเปลี่ยนจากรูปแบบ วิสาหกิจเป็นบริษัทมหาชน - การตรวจและการอนุมัติชื่อวิสาหกิจ - การรับรองชื่อวิสาหกิจ - การขึ้นทะเบียนวิสาหกิจเพื่อประกอบธุรกิจ - การขึ้นทะเบียนวิสาหกิจเพื่อประกอบธุรกิจที่ เกี่ยวกับธนาคาร การประกันภัย การแปรรูปไม้ นอกเหนือจากการขึ้นทะเบียนของกรมส่งเสริมการลงทุน (ยกเว้นหัตถกรรมและแกะสลักไม้) การบิน และ การนาเข้าน้ามันเชื้อเพลิงและพาหนะ กระทรวงแผนการและการลงทุน - โครงการหรือกิจการที่มีมูลค่าการลงทุนมากกว่า 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐขึ้นไป จะต้องผ่านการรับรองจาก สภาแห่งชาติ
Page | 2
โครงการหรือกิจการที่มีมูลค่าการลงทุนตั้งแต่ 5 ถึง 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐขึ้นไป จะต้องผ่านการรับรอง จากกระทรวงแผนการและการลงทุน - โครงการหรือกิจการที่มีมูลค่าการลงทุนต่ากว่า 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐจะต้องผ่านการรับรองจากองค์กร ปกครองแขวง/นครหลวง -
Page | 3
รูปแบบการลงทุนของผู้ลงทุนต่างประเทศใน สปป.ลาว รูปแบบการลงทุนของผู้ลงทุนต่างประเทศใน สปป.ลาว มี 3 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบการลงทุนของผู้ลงทุนต่างประเทศใน สปป.ลาว 1) การลงทุนฝ่ายเดียวของผู้ลงทุนภายในหรือชาวต่างประเทศ เป็นการลงทุนบุคคลเดียวหรือหลายคน ในกิจการหรือโครงการหนึ่งๆ ใน สปป.ลาว 2) การลงทุนแบบหุ้นส่วนระหว่างผู้ลงทุนภายในกับชาวต่างประเทศ เป็นการลงทุนร่วมลงทุนระหว่างผู้ ลงทุนสัญชาติลาวกับผู้ลงทุนชาวต่างประเทศ โดยผู้ลงทุนทั้งสองฝ่ายร่วมกันจัดตั้งนิติบุคคลใหม่ขึ้นภายใต้ กฎหมายของ สปป.ลาว ผู้ลงทุนชาวต่างประเทศต้องถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนทั้งหมด การ บริหารงานโครงการลักษณะนี้ให้กาหนดไว้ในสัญญาร่วมทุนและกฎระเบียบของนิติบุคคลที่ตั้งขึ้น 3) การลงทุนธุรกิจร่วมตามสัญญา เป็นการลงทุนร่วมระหว่างนิติบุคคลสัญชาติลาวกับนิติบุคคล ต่างประเทศโดยไม่ได้ตั้งนิติบุคคลใหม่หรือสาขาใน สปป.ลาว นิติบุคคลสัญชาติลาวต้องแจ้งให้กระทรวง อุตสาหกรรมและการค้าและกระทรวงแผนการและการลงทุนทราบ เพื่อดาเนินการตามระเบียบและสัญญา การร่วมทุนซึ่งต้องนาไปให้สานักงานทะเบียนศาลรับรอง นอกจากจะพิ จ ารณาการลงทุ น ตามรู ป แบบ ของการลงทุน ซึ่งมี 3 รูปแบบข้างต้นแล้วภายใต้ กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน ของ สปป. ลาว การลงทุนใน สปป.ลาว ของนักลงทุนต่างชาติ สามารถดาเนินการได้ใน 3 ประเภท คือ การลงทุน ทั่วไปหรือธุรกิจทั่วไป (General Business) สัมปทาน (Concession) และเขตเศรษฐกิจ พิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Special Economic Zones and Specific Economic Zones การลงทุนทั่ว ไปหรื อธุร กิจ ทั่ว ไป กฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการลงทุนของ สปป.ลาวได้กาหนด กิ จ กรรมที่ จ ะได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ไว้ 3 ระดั บ ซึ่ ง
พิจารณาจากผลที่ เ กิดจากกิจ กรรมนั้ นๆ ในการ ช่ ว ยลดปั ญ หาความยากจนของประช ากร ภายในประเทศ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชน การก่ อ สร้ า งโครงสร้ า งพื้ น ฐาน การ พัฒนาทรัพยากรบุคคลและการจ้างแรงงาน ดังนี้ (1) ระดั บ ที่ 1 เป็ น กิ จ กรรมที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมระดับสูงสุด (2) ระดั บ ที่ 2 เป็ น กิ จ กรรมที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมระดับปานกลาง (3) ระดั บ ที่ 3 เป็ น กิ จ กรรมที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งเสริมระดับต่า
การลงทุนทั่วไปยังแบ่งเขตที่ตั้งของกิจการเป็น 3 เขต ภายใต้พื้นฐานของสภาพของลักษณะทางภูมิศาสตร์ และเศรษฐกิจสังคม โดยแต่ละเขตจะมีผลต่อการยกเว้นภาษีกาไรที่แตกต่างกันดังนี้ Page | 4
เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3
พื้นที่ที่มีโครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจที่ยังไม่มีสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักลงทุนและ ภูมิ ประเทศส่วนใหญ่ยังเป็นเขตภูดอยห่างไกลทุรกันดาร พื้นที่ที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานทางเศรษฐกิจบางส่วน ที่สามารถอานวยความสะดวกแก่ การลงทุนและภูมิประเทศไม่ทุรกันดารเท่ากับเขตที่ 1 พื้นที่ตวั เมืองใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานทางเศรษฐกิจสมบูรณ์
เขตพื้นที่ส่งเสริมการลงทุนของ สปป.ลาว Page | 5
ที่มา : Ministry of Planning and Investment, Lao PDR. (2015)
ประเภทธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาล สปป.ลาว สาหรับประเภทการลงทุนที่มีศักยภาพและมี การส่งเสริม กฎหมายส่ งเสริมการลงทุน ต่างชาติ ของ สปป.ลาว ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติใน กิจการ 7 ประเภท ซึ่งการลงทุนในกิจการที่ได้ การ ส่งเสริมจะได้รับการยกเว้นอากรกาไรตามเขตพื้นที่ ของการลงทุนด้วย โดยประเภทธุรกิจที่ได้รับการ ส่งเสริมจากรัฐบาล สปป.ลาว มีดังนี้
1) ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน หรือโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ 2) ธุ ร กิ จ ด้ า นการโรงแรม การท่ อ งเที่ ย ว และสปา 3) ธุรกิจประกอบรถบรรทุกเพื่อขนส่งสินค้า ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ 4) การเพาะปลู ก สิ น ค้ า เกษตรเพื่ อ เป็ น วัตถุดิบผลิตอาหารสัตว์ เช่น ข้าวโพด ถั่ว
เหลื อ ง ข้ า ว ที่ ไ ม่ ใ ช่ อ าหารสั ต ว์ เช่ น ยางพารา ปาล์มน้ามัน และละหุ่ง 5) อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรเพื่อการ ส่งออก เช่น ผักและผลไม้ดอง หรือบรรจุ กระป๋อง
6) สินค้าหัตถกรรมที่ผลิตจากไม้ ไม้ไผ่ และ หวาย เพื่อการส่งออก 7) อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ สปป.ลาวได้รับสิทธิ ทางศุลกากรจากประเทศพัฒนาแล้ว เช่น เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป รองเท้ า อั ญ มณี และ เครื่องประดับ
แม้ว่า สปป.ลาวจะเปิดรับนักลงทุนจากต่างชาติตลอดจนให้สิทธิประโยชน์และสนับสนุนการลงทุนในหลาย รูปแบบ แต่ได้มีการสงวนอาชีพบางประเภทไว้สาหรับคนลาวเท่านั้น ห้ามมิให้มีการขึ้นทะเบียนวิสาหกิจให้ผู้ ลงทุนต่างชาติ หรือบริษัทต่างชาติเพื่อดาเนินธุรกิจที่เป็นอาชีพสงวนสาหรับคนลาวโดยเฉพาะ สามารถแยก เป็นประเภทธุรกิจได้ 6 ประเภท ดังนี้
อาชีพที่สงวนไว้สาหรับคนลาว ประเภท พลังงานและบ่อแร่ อุตสาหกรรมและการค้า โยธาธิการ และขนส่ง แถลงข่าว วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว ธนาคารแห่ง สปป.ลาว สาธารณสุข
ตัวอย่างอาชีพ การขุดค้นแร่ธาตุแบบหัตถกรรม การขุดค้นแร่หินอุตสาหกรรม การทอผ้า คนขับรถขนส่งสินค้า หรือขับรถโดยสาร นายช่างและกรรมกรก่อสร้าง การออกแบบสถาปัตยกรรมลาว ธุรกิจโกดังสินค้า การขนส่งโดยสารระหว่าง ประเทศ สถานีขนส่งโดยสาร เป็นต้น การผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ การตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ สานักพิมพ์ ห้องอัดแผ่นเสียง ห้องคาราโอเกะ โรงแรมและรีสอร์ท ระดับต่ากว่าสามดาว อาชีพช่างเสริมสวย ช่างตัดผม พนักงานนาเที่ยว ธุรกิจท่องเที่ยวภายใน เป็นต้น การจัดตั้งสถาบันการเงินจุลภาคที่รับฝากเงิน การจัดตั้งสถาบันการเงินจุลภาค ที่ไม่รับฝากเงิน การตั้งสหกรณ์สินเชื่อและเงินฝากประหยัด เป็นต้น การขุดค้นทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นยา การขึ้นทะเบียนวิชาชีพดาเนินธุรกิจ การแพทย์-การยาพื้นเมือง การขึ้นทะเบียนวิชาชีพดาเนินธุรกิจโรงงานผลิตยา บริษัทการยา อุปกรณ์การแพทย์ สาขา จาหน่ายและร้านขายยาย่อย เป็นต้น
Page | 6
3.2
การจัดตั้งบริษัท/องค์กรธุรกิจใน สปป.ลาว1
การจัดตั้งบริษัทในภาษาลาว เรียกว่า “การขึ้น ทะเบียนวิสาหกิจ” ผู้ประกอบการที่ต้องการจัดตั้ง บริษัทจะต้องยื่นเอกสารเพื่อจดทะเบียนธุร กิจกับ กรมทะเบี ย นและคุ้ ม ครองวิ ส าหกิ จ กระทรวง อุตสาหกรรมและการค้า ซึ่งได้จัดระบบให้บริการ จ ด ท ะ เ บี ย น ธุ ร กิ จ ณ จุ ด เ ดี ย ว (One Stop Service) ไว้ เ พื่ อ อ านวยความสะดวกแก่ ผู้ ข อจด ทะเบียนธุรกิจสาหรับธุรกิจประเภททั่วไป เรียกว่า บริการจดทะเบียนธุรกิจแบบ “ประตูเดียว” เมื่อผู้ประกอบธุรกิจศึกษารายละเอียดในการ ดาเนินธุรกิจใน สปป.ลาว และกาหนดลักษณะของ องค์กรธุรกิจได้แล้ว ผู้ขอจดทะเบียนธุรกิจสามารถ ขอใช้บริการจดทะเบียนธุรกิจแบบ “ประตูเดียว” ได้จ ากหน่ ว ยงานในพื้น ที่ ที่ตนดาเนิ น ธุร กิจ หรือ พื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง ซึ่ ง หน่ ว ยงานที่ รั ฐ มอบหมายให้ ดาเนินการแทนได้มีดังนี้ 1. นครหลวงเวียงจันทน์ กรมทะเบียนและคุ้มครองวิสาหกิจ กระทรวง อุตสาหกรรมและการค้า 2. แขวงอื่นๆ แผนกอุตสาหกรรมและการค้าในแต่ละแขวง 3. ระดับเมือง สานักงานอุตสาหกรรมและการค้าเมืองของแต่ ละเมืองทั่วประเทศ
ระดั บ เมื อ งนั้ น อาจมี ค วามแตกต่ า งกั น ตาม ป ร ะ ก า ศ เ ล ข ที่ 0458/อ ค .ส ล ท ล ง วันที่ 1 มีนาคม 2555 กาหนดว่าการจดทะเบียน บริษัทมหาชนต้องขออนุมัติการจดทะเบียนธุรกิจ กั บ ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น ทั่ ว ไ ป กระทรวงอุ ต สาหกรรมและการค้ า ซึ่ ง เป็ น ผู้รับผิดชอบ และมีธุรกิจบางประเภทที่กระทรวงที่ เกี่ยวข้องขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาอนุมัติด้วย ตนเอง เช่ น การจดทะเบี ย นธุ ร กิ จ เพื่ อ ลงทุ น ใน สัมปทานรัฐต้องติดต่อหน่วยงานแผนการและการ ลงทุนส่วนกลาง การจดทะเบียนธุรกิจเพื่อลงทุนใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ ต้อง ติดต่อคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองเขต เศรษฐกิจพิเศษ หรือ เขตเศรษฐกิจเฉพาะในแต่ละ แห่ง เป็นต้น ทั้งนี้ อานาจในการอนุมัติการจดทะเบียนธุรกิจ ที่กล่ าวมานี้ ไม่รวมถึงการจดทะเบียนธุรกิจ เพื่ อ ลงทุ น ในสั ม ปทานรั ฐ ซึ่ ง ต้ อ งติ ด ต่ อ หน่ ว ยงาน แผนการและการลงทุ น ส่ ว นกลาง กระทรวง แผนการและ การลงทุ น หรื อ ส านั ก งานที่ รับผิ ดชอบการให้ บริ การในท้ องถิ่นนั้ นๆ และไม่ รวมการจดทะเบี ย นธุ ร กิ จ เพื่ อ ลงทุ น ในเขต เศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ ซึ่งต้อง ติดต่อคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองเขต เศรษฐกิจพิเศษ หรือเขตเศรษฐกิจเฉพาะในแต่ละ แห่ง
สาหรับขอบเขตสิทธิในการพิจารณาอนุมัติการ จดทะเบียนธุรกิจ ณ ส่วนกลาง ระดับแขวง และ 1
ปรับปรุงข้อมูลจากศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในอาเซียน สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์, สปป.ลาว (2558)
Page | 7
ขั้นตอนการขอจดทะเบียนธุรกิจสาหรับการลงทุนทั่วไป ขั้นที่ 1 การเตรียมข้อมูลและเอกสาร (1) เตรียมเอกสารเบื้องต้น - สาเนาบัตรประชาชน และหนังสือเดินทาง - ใบยืนยันสถานภาพจากตารวจสันติบาล - ใบยืนยันสถานะทางการเงิน จากธนาคารพาณิชย์ภายใน สปป.ลาว - ใบมอบฉันทะ หรือใบมอบสิทธิ์ ของผู้ได้รับมอบหมายให้มาแจ้งขึ้นทะเบียนวิสาหกิจ - รูปถ่ายขนาด 3×4 นิ้ว จานวน 3 ใบ (2) กาหนดทุน และทุนจดทะเบียน โดยกาหนดทุนจดทะเบียนขั้นต่า 1,000 ล้านกีบ (ประมาณ 4 ล้าน บาท /คน) (3) เขียนคาร้องแจ้งขึ้นทะเบียนวิสาหกิจ แล้วยื่นผ่านบริการจดทะเบียนธุรกิจแบบ “ประตูเดียว” ขั้นที่ 2 การยื่นเอกสารขอจดทะเบียน ผู้ลงทุนจะต้องเขียนคาร้องดังกล่าวต่อหน้าเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในท้องที่ที่ตนจะลงทุน (1) การลงทุนทั่วไป ยื่นเอกสารผ่านบริการจดทะเบียนธุรกิจแบบ “ประตูเดียว” - กิจการนอกบัญชีควบคุม เจ้าหน้าที่ทะเบียนวิสาหกิจจะพิจารณาออกใบทะเบียนวิสาหกิจให้ ภายใน 10 วันทาการ นับแต่วันที่ได้รับคาร้อง - กิจการในบัญชีควบคุม เจ้าหน้าที่ทะเบียนวิสาหกิจจะส่งคาร้องให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องพิจารณา เห็นชอบหรือไม่เห็นชอบภายใน 10 วันทาการ หากผลออกมาว่าเห็นชอบ เจ้าหน้าที่ทะเบียนวิสาหกิจ จะ อนุมัติการจดทะเบียนธุรกิจให้ภายใน 3 วันทาการ หลังจากนั้นจึงส่งใบทะเบียนวิสาหกิจไป ยังฝ่ายป้องกัน ความสงบเพื่อตรวจตราประทับ ซึ่งจะแล้วเสร็จภายใน 7 วันทาการ (2) การลงทุนในสัมปทานรัฐ ติดต่อ หน่วยงานแผนการและการลงทุนส่วนกลาง กระทรวงแผนการและ การลงทุน หรือสานักงานที่รับผิดชอบการให้บริการในท้องถิ่นนั้น (3) การลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ ติดต่อคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการ คุ้มครอง เขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือเขตเศรษฐกิจเฉพาะในแต่ละแห่ง ขั้นที่ 3 สิ่งที่ต้องทาเมื่อได้ใบทะเบียนธุรกิจ (1) ขออนุญาตดาเนินการกิจการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแล้วแต่กรณี เช่น การขออนุญาตทางด้าน เทคนิค การขอใบยืนยันเพื่อดาเนินการกิจการ เป็นต้น (2) นาใบทะเบียนธุรกิจ (ภาษาลาวใช้คาว่า ใบทะเบียนวิสาหกิจ) พร้อมเอกสารประกอบ ไปดาเนินการ เรื่องจัดทาตราประทับ (ภาษาลาวใช้คาว่า “ขอควัดกาประทับ”) และขอใบอนุญาตใช้ตราประทับ ณ
Page | 8
กรมคุ้มครองสามะโนครัว กระทรวงป้องกันความสงบ (Ministry of Public Security) ในนครหลวง เวียงจันทน์ (3) ปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินการธุรกิจ อาทิ การประชุมผู้ถือหุ้น และการจัดจ้างแรงงาน ให้ สอดคล้องตามระเบียบและกฎหมายของ สปป.ลาว (4) ดาเนินการธุรกิจภายใน 90 วัน (5) โอนเงินเพื่อชาระทุนเบื้องต้นเข้ามายัง สปป.ลาวภายใน 90 วันทาการและส่วนที่เหลือภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้รับใบทะเบียนธุรกิจ
Page | 9
ผู้ลงทุนใน สปป.ลาว สามารถเลือกจดทะเบียนธุรกิจใน สปป.ลาวได้ 8 รูปแบบ ซึ่งกาหนดใช้เอกสาร จานวนต่างกัน ดังนี้
เอกสารที่ใช้ในการขอจดทะเบียนธุรกิจ
ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
รูปแบบธุรกิจ วิสาหกิจส่วนบุคคล วิสาหกิจหุ้นส่วน สามัญ วิสาหกิจหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัด บริษัทจากัดผู้เดียว บริษัทมหาชน บริษัทรัฐวิสาหกิจ บริษัทผสม
สัญญาจัดตั้ง วิสาหกิจ
ใบคาร้อง แจ้งขึ้น ทะเบียน วิสาหกิจ
กฎระเบียบ ของวิสาหกิจ
ใบคาร้องแจ้งขึ้น ใบเสนอ ทะเบียนวิสาหกิจ จองชื่อ ส่วนบุคคล วิสาหกิจ
หมายเหตุ : การจดทะเบียนเป็นบริษัทจากัดและบริษัทมหาชน จะต้องยื่นบทบันทึกการประชุมจัดตั้งบริษัท เพิ่มเติม นโยบายของรัฐที่ต้องการสงวนธุรกิจขนาดเล็ก ในท้องถิ่นไว้สาหรับประชาชนลาว ดังนั้นการจด ทะเบี ย นธุ ร กิ จ แบบวิ ส าหกิ จ ส่ ว นบุ ค คล เป็ น รู ป แบบธุร กิจ ที่มีขอบเขตมูล ค่าความรั บ ผิ ด ชอบ
น้อยเหมาะสาหรับธุรกิจขนาดเล็กของประชาชน ลาว ส่วนนักธุรกิจชาวต่างชาติหากประสงค์จะถือ หุ้นในองค์กรธุรกิจ เต็ม 100% รัฐจะแนะนาให้จด ทะเบียนธุรกิจเป็น “บริษัทจากัดผู้เดียว” แทน
ขั้นตอนการจดทะเบียนธุรกิจในสปป.ลาว Page | 10
ที่มา : สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว (2558)
3.3
ขั้นตอนการลงทุนใน สปป.ลาว การลงทุนใน สปป.ลาว มีขั้นตอนและข้อกาหนดตามรูปแบบของประเภทกิจการ ดังนี้ กิจการทั่วไป
ผู้ ล ง ทุ น ต้ อ ง ยื่ น ค า ร้ อ ง ผ่ า น ศู น ย์ บ ริ ก า ร One Stop Service ข อ ง แ ผ น ก อุ ต สาหกรรมและการค้ า เพื่ อ ขอขึ้ น ทะเบี ย น วิ ส าหกิ จ ผู้ ล งทุ น ต่ า งประเทศที่ ล งทุ น ในกิ จ การ ทั่วไปต้องลงทุนไม่น้อยกว่า 1 พันล้านกีบ
กิจการทั่วไปที่ไม่ใช่กิจการควบคุมจะได้รับแจ้ง ผลการพิ จ ารณาภายใน 10 วั น ท าการ กิ จ การ ควบคุมใช้เวลาพิจารณาไม่เกิน 13 วันทาการ เมื่อ ได้ รั บ ใบทะเบี ย นวิ ส าหกิ จ แล้ ว ผู้ ล งทุ น สามารถ ดาเนินธุรกิจได้ทันที
กิจการสัมปทาน
กิ จ การสั ม ปทานเป็ น กิ จ การลงทุ น ที่ ไ ด้ รั บ อนุญาตจากรัฐให้ใช้สิทธิในกรรมสิทธิ์ และสิทธิอื่น ของรั ฐ ตามระเบี ย บการ เพื่ อ พั ฒ นาและด าเนิ น ธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง อาทิ สิทธิสัมปทาน ที่ดิน เหมือง แร่ พลั ง งานไฟฟ้ า สายการบิ น โทรคมนาคม ประกันภัย และสถาบันการเงิน โดยรัฐบาลเป็นผู้ กาหนดบัญชีกิจการสัมปทาน ผู้เสนอลงทุนในกิจการสัมปทาน ต้องได้ผ่ าน การคัดเลือกตามแต่ละกรณีด้วยวิธีการต่างๆ อาทิ การเปรียบเทียบ การประมูล หรือการประเมินผล โดยหน่ ว ยงานด้ า นแผนการและการลงทุ น บน พื้นฐานการประสานงานกับหน่วยงานและท้องถิ่น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งตามระเบี ย บกฎหมาย และในการ
คัดเลือกผู้ลงทุนนั้น ต้องรับประกันความโปร่ งใส การเปิดเผย และสามารถตรวจสอบได้ ผู้ลงทุนในกิจการสัมปทานต้องยื่นคาร้องผ่าน ศู น ย์ บ ริ ก า ร One Stop Service ข อ ง แ ผ น ก แผนการและการลงทุน เพื่อพิจารณาและนาเสนอ รัฐบาลหรือแขวง การคัดเลือกผู้ลงทุนอาจใช้การ เปรียบเทียบ การประมูล หรือการประเมินผล เมื่อ รัฐบาลหรือแขวงอนุมัติแล้ว กระทรวงแผนการและ การลงทุนหรือแผนกแผนการและการลงทุนประจา แขวง (แล้วแต่กรณี) จะออกใบทะเบียนสัมปทาน ใ ห้ ผู้ ล ง ทุ น แ ล ะ ผู้ ล ง ทุ น ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร ภายใน 90 วัน
Page | 11
กิจการการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ
กิ จ การการพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษเป็ น กิ จ การลงทุ น ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ เพื่ อ สร้ า ง โครงสร้างพื้นฐานให้สมบูรณ์ และพัฒนาให้เป็นตัว เมื อ งใหม่ ส่ ว นกิ จ การการพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะเป็ น กิ จ การลงทุ น ในเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะ เพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาให้เป็นเขต ต่างๆ ตามสภาพที่เป็นจริงและระเบียบกฎหมาย อาทิ เขตอุ ต สาหกรรม เขตการผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออก เขตตัวเมืองท่องเที่ยวและอื่นๆ
3.4
การเสนอลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขต เศรษฐกิจเฉพาะของผู้ลงทุนอื่น นอกจากผู้พัฒนา แล้ว ผู้ลงทุนอื่นที่ต้องการลงทุนในเขตเศรษฐกิจ พิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะนั้นต้องเสนอผ่ าน การบริการการลงทุนประตูเดียวของคณะบริหาร เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษและเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะที่ เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาตามระเบียบการ โดยการ ลงทุนของผู้ลงทุนอื่นในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ เขตเศรษฐกิจเฉพาะไม่จากัดอายุการลงทุน
สิทธิประโยชน์ของนักลงทุนชาวต่างชาติ
การลงทุนของวิสาหกิจต่างประเทศหรือของนักลงทุนชาวต่างชาติจะได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก สปป. ลาว โดยจะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้ (1) ก าไรของวิ ส าหกิ จ ที่ น าไปลงทุ น ขยาย กิจการที่ได้รับอนุญาตจะได้รับการยกเว้น อากรกาไรในปีบัญชีนั้น (2) วิ ส า ห กิ จ ต่ า ง ช า ติ ส า ม า ร ถ ส่ ง ผ ล กาไร ทุน และรายรับอื่นๆ (ภายหลังที่ได้ ปฏิบัติตามพันธะทางด้านภาษีอากร และ ค่าธรรมเนียมอื่นๆ ตามระเบียบกฎหมาย แล้ว) กลับประเทศของตน หรือประเทศ ที่สาม โดยผ่านธนาคารที่ตั้งอยู่ใน สปป. ลาว (3) ได้รับการยกเว้นภาษีนาเข้า และอากรที่ เก็ บ จากการน าเข้ า อุ ป กรณ์ เครื่ อ ง อะไหล่ พาหนะที่ใช้เพื่อการผลิตโดยตรง วัตถุดิบที่ไม่มีอยู่ภายในประเทศ หรือมีแต่ ไม่เพียงพอ ผลิตภัณฑ์กึ่งสาเร็จรูปที่นาเข้า
มาเพื่อแปรรูปหรือประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่ อ ส่ ง ออก เว้ น แต่ ก ารน าเข้ า น้ ามั น เชื้อเพลิงทุกประเภท (4) ได้รับยกเว้นภาษีขาออกสาหรับผลิตภัณฑ์ เ พื่ อ ส่ ง อ อ ก เ ว้ น แ ต่ ก า ร ส่ ง อ อ ก ท รั พ ย า ก ร ธ ร รม ช าติ ใ ห้ ป ฏิ บั ติ ต าม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง (5) ได้ รั บ การยกเงิ น ขาดทุ น ประจ าปี ไ ปหั ก ออกในปี ถั ด ไปได้ หากมี ก ารขาดทุ น ประจ าปี (ตามที่ ไ ด้ รั บ การตรวจสอบ รั บ รองจากเจ้ า หน้ า ที่ ภ าษี อ ากรภายใน กาหนดเวลา 3 ปี) (6) อนุญาตให้ ช าวต่างชาติที่ลงทุนใน สปป. ลาวมากกว่ า 500,000 ดอลลาร์ ส หรั ฐ มีสิ ทธิถือครองที่ดินเพื่ออยู่อาศัยหรื อ ใช้
Page | 12
เป็ น สถานที่ดาเนิ น ธุร กิจ ตามระยะเวลา ของโครงการลงทุน แต่สิทธิในการซื้อสิทธิ เหนื อ ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วนั้ น มี ข้ อ จ ากั ด คื อ ชาวต่ า งชาติ จ ะมี สิ ท ธิ เ หนื อ ที่ ดิ น เฉพาะ ส่ ว นของที่ ดิ น ที่ รั ฐ บาลเป็ น ผู้ ก าหนด เท่านั้น และซื้อสิทธิได้เพียง 800 ตาราง เมตร (7) ผู้ ล ง ทุ น ต่ า ง ช า ติ พ ร้ อ ม ด้ ว ยส มาชิ ก ครอบครั ว มี สิ ท ธิ อ าศั ย ในดิ น แดน สปป. ลาวตามระยะเวลาของการลงทุ น โดย นั ก วิ ช าการ ผู้ เ ชี่ ย วชาญต่ า งประเทศ มี สิทธิอาศัยในดิน แดนของ สปป.ลาวตาม สั ญ ญาว่ า จ้ า งแรงงาน และผู้ ล งทุ น ต่างประเทศพร้อมด้วยสมาชิกครอบครัว
นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ ได้รับ ความสะดวกในการเข้า - ออก สปป.ลาว รวมทั้ ง การขอวี ซ่ า เข้ า - ออกหลายครั้ ง ซึง่ แต่ละครัง้ ไม่ให้เกินห้าปี Page | 13
นอกจากสิทธิประโยชน์ข้างต้น การลงทุนใน สปป.ลาวได้ แ บ่ ง ระดั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ออกเป็น 3 ระดับและแบ่งพื้นเขตที่ตั้งของกิจการที่ ลงทุ น เป็ น 3 เขต รวมทั้ ง การก าหนดประเภท กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนไว้ 7 ประเภท ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น จะมีผลต่อสิทธิประโยชน์ใน ด้ า นการยกเว้ น ภาษี ข องแต่ ล ะกิ จ การด้ ว ย ดั ง รายละเอียดต่อไปนี้
การยกเว้นภาษีตามระดับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
แบ่งตามเขตที่ตั้งของกิจการ ระดับกิจการ นโยบายส่งเสริมทั่วไป ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 นโยบายส่งเสริมเฉพาะ โรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัย ศูนย์ ค้นคว้าวิจัยสาธารณูปโภค บางโครงการ
เขตที่ 1
เขตที่ 2
เขตที่ 3
ยกเว้นภาษีกาไร 10 ปี ยกเว้นภาษีกาไร 6 ปี ยกเว้นภาษีกาไร 4 ปี
ยกเว้นภาษีกาไร 6 ปี ยกเว้นภาษีกาไร 4 ปี ยกเว้นภาษีกาไร 2 ปี
ยกเว้นภาษีกาไร 4 ปี ยกเว้นภาษีกาไร 2 ปี ยกเว้นภาษีกาไร 1 ปี
ยกเว้นค่าเช่า หรือค่า สัมปทาน 15 ปี และ ยกเว้นภาษีกาไรเพิ่มอีก 5 ปี จากนโยบายส่งเสริม ทั่วไป
ยกเว้นค่าเช่า หรือค่า สัมปทาน 10 ปี และ ยกเว้นภาษีกาไรเพิ่ม อีก 5 ปี จากนโยบาย ส่งเสริมทั่วไป
ยกเว้นค่าเช่า หรือค่า สัมปทาน 3 ปี และ ยกเว้นภาษีกาไรเพิ่ม อีก 5 ปี จากนโยบาย ส่งเสริมทั่วไป
การยกเว้นภาษีการลงทุนในธุรกิจที่รัฐบาล สปป.ลาว ให้การส่งเสริม การลงทุนในธุรกิจทีร่ ัฐบาล สปป.ลาว ส่งเสริมจะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นภาษี ดังนี้ Page | 14
เขตที่
ปีที่มีการลงทุน
อัตราอากรกาไร
1
0-7 ปี ปีที่ 8 เป็นต้นไป 0-5 ปี 6-8 ปี ปีที่ 8 เป็นต้นไป 0-2 ปี 3-4 ปี ปีที่ 5 เป็นต้นไป
ยกเว้นอากรกาไร 10% ยกเว้นอากรกาไร 7.5% 15% ยกเว้นอากรกาไร 10% 20%
2 3
ทั้งนี้ ระยะการยกเว้น ภาษี ก าไร ให้ นั บตั้ ง แต่ วันที่ได้ดาเนินธุรกิจเป็นต้นไป สาหรับกิจการผลิต สินค้าใหม่ กิจการค้นคว้าและสร้างเทคโนโลยีใหม่ นั้ น การยกเว้น ภาษีกาไร ให้ นั บ ตั้งแต่วัน ที่มีกาไร
เป็นต้นไป หลังจากสิ้นสุดระยะยกเว้นภาษีกาไรดังที่ กล่าวมาข้างต้นนั้นแล้ว กิจการดังกล่าวต้องได้เสีย ภาษีกาไรตามกฎหมายว่าด้วยส่วยสาอากร
3.5
กฎหมายและข้อควรรูอ้ ื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน2
1) กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Law) Page | 15
กฎหมายทรั พย์ สิ น ทางปั ญญา (Intellectual Property Law) เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้ม ครอง ลิ ขสิ ทธิ์และสิ ทธิที่เกี่ย วข้อง เครื่ องหมายการค้ า ความลั บ ทางการค้ า สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ การ ออกแบบทางอุตสาหกรรมสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร การออกแบบแผนผังวงจรรวม การคุ้มครองความ หลากหลายทางพันธุ์พืช เนื่องจาก สปป.ลาวเป็น ภาคีสมาชิกขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual Property Organization)
แ ล ะ ล ง น า ม ใ น Paris Convention for the Protection of Intellectual Property แ ล ะ Patent Cooperation Treaty ทั้งนี้ การบังคับใช้ กฎหมายทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาอยู่ ภ ายใต้ ค วาม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง Science and Technology Authority (STA), Customs and the Economic Police และศาล และนักลงทุนต่างชาติมีสิทธิ์ที่จะ ได้รับความคุ้มครองในทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้จด ทะเบียนผ่ านหน่ว ยงานที่ เกี่ยวข้ องใน สปป.ลาว แล้ว
2) กฎหมายล้มละลาย (Bankruptcy Law)
3) การระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement)
กฎหมายล้มละลาย (Bankruptcy Law) ให้ สิทธิเจ้าหนี้ในการยื่นขอต่อศาลให้มีคาพิพากษา ล้มละลายของกิจการ และให้สิทธิ์กิจการนั้นๆ ร้อง ขอให้มีการไกล่เกลี่ย (Mediation)
การระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement) โดยวิธีอนุญาโตตุลาการเป็นวิธีระงับข้อพิพาทวิธี หนึ่งที่บังคับใช้ได้เนื่องจาก สปป.ลาวเป็นภาคี สมาชิกของ 1958 New York Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards
2
ปรับปรุงข้อมูลจาก “รอบรู้เรื่องการลงทุนในอาเซียน : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
(1) การระงับข้อพิพาทบริษัทภายในประเทศจะ กระทาได้ดังนี้ - คู่พิพาทต้องระงับข้อพิพาทด้ว ยการ ไกล่เกลี่ยก่อน - ถ้ า ภายใน 30 วั น ท าการไม่ ส ามารถ ตกลงกันได้ ให้คู่พิพาทยื่นคาร้ องต่อ CPMI ที่ออกใบอนุญาตลงทุนให้ - ถ้าคู่พิพาทไม่พอใจในการตัดสินของ Committee for Promotion and Management of Investment (CPMI) ใ ห้ ยื่ น ค า ร้ อ ง ต่ อ อ ง ค์ ก ร อนุ ญ าโตตุ ล าการในข้ อ พิ พ าททาง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ (State Arbitration Agency for Economic Dispute) หรื อ กระบวนการยุ ติ ธ รรมตามที่ คู่พิพาทได้ตกลงกัน ในกรณีที่บริษัททาสัญญากับรัฐบาล การระงับ ข้อพิพาทต้องเป็นไปตามข้อกาหนดและเงื่อนไขที่ ตกลงกันไว้ในสัญญา
(2) การระงับข้อพิพาทบริษัทต่างชาติ ในกรณี ที่ ข้ อ พิ พ าทเกิ ด ขึ้ น จากการประกอบ ธุ ร กิ จ ภายใต้ สั ญ ญาใดๆ การระงั บ ข้ อ พิ พ าทให้ เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในสัญญานั้น ในกรณีเกิดข้อ พิ พ าท ระหว่ า งคู่ สั ญ ญาในกิ จ การร่ ว มทุ น หรื อ บริษัทที่ต่างชาติถือหุ้นทั้งหมด ให้คู่พิพาทระงับข้อ พิพาทตามลาดับ ดังต่อไปนี้ - คู่พิพาทต้องระงับข้อพิพาทด้ว ยการ ไกล่เกลี่ยก่อน - ถ้ า ภายใน 30 วั น ท าการไม่ ส ามารถ ตกลงกันได้ ให้คู่พิพาทยื่นคาร้องต่อ CPMI ที่ออก ใบอนุญาตลงทุนให้ - ถ้าคู่พิพาทไม่พอใจในการตัดสินของ CPMI ใ ห้ ยื่ น ค า ร้ อ ง ต่ อ อ ง ค์ ก ร อ นุ ญ า โ ต ตุ ล า ก า ร ใ น ข้ อ พิ พ า ท ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ห รื อ กระบวนการยุติธรรมตามที่คู่พิพาทได้ ตกลงกัน
4) การทางานของแรงงานต่างชาติ กฎหมายว่าด้วยแรงงาน (ฉบับแก้ไข) พ.ศ. 2550 กาหนดหลักเกณฑ์ในการควบคุมการใช้แรงงานเวลา ทางาน อัตราค่าจ้าง และการประกันสังคม ดังนี้
Page | 16
ระเบียบการควบคุมและการใช้แรงงาน - ไม่จากัดสิทธิในการรับคนงาน แต่บังคับให้ ทาสัญญาจ้างแรงงาน - ต้องกาหนดระเบียบการโดยอยู่ภายใต้การ ควบคุมของรัฐ - กาหนดให้ตั้งกรรมบาล (องค์กรแรงงานที่ จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มแรงงาน) ภายในสถานที่ ทางาน มีหน้าที่ชักชวนแรงงานให้ปฏิบัติ ตามระเบียบและเป็นสื่อกลางไกล่เกลี่ยข้อ พิพาทระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง - ห้ามใช้แรงงานด้วยการบังคับ ยกเว้นกรณี เพื่ อ การรั ก ษาความมั่ น คงภายใน หรื อ กรณี เ มื่ อ เกิ ด วิ ก ฤตการณ์ ซึ่ ง รั ฐ บาลเป็ น ผู้ใช้อานาจ เวลาทางานและหยุดงาน - เวลาทางาน : งานธรรมดา สัปดาห์ละไม่ เกิ น 6 วั น วั น ละไม่ เ กิ น 8 ชั่ ว โมง หรื อ สั ป ดาห์ ล ะไม่ เ กิ น 48 ชั่ ว โมง งานหนั ก (ได้แก่ งานที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ ได้ง่าย และมีความเสี่ยงสูงเมื่อคนงานต้อง สัมผัสกับรังสีหรือสารเคมี) วันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง หรือสัปดาห์ละไม่เกิน 36 ชั่วโมง - ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาหากทางาน นอกเวลาปกติ แต่การทางานนั้นจะต้องไม่ เกิน 3 ชั่วโมงต่อวัน ไม่เกิน 30 ชั่วโมงต่อ เดือน หรือหากมีความจาเป็นต้องทางาน ล่วงเวลาเกิน 30 ชั่วโมงต่อเดือน จะต้อง ขออนุ ญ าตเป็ น การเฉพาะต่ อ องค์ ก ร คุ้ ม ครองแรงงาน โดยมี ห นั ง สื อ รั บ รอง เห็นชอบจากกรรมการ หรือผู้แทนแรงงาน เพื่อพิจารณาอนุญาตเสียก่อนจึงจะทาได้
- มีวันหยุดประจาสัปดาห์อย่างน้อ ย 1 วัน ต่อสัปดาห์ ส่วนวันหยุดราชการรัฐบาลจะ เป็นผู้กาหนด - ลูกจ้างทุกคนมีสิทธิไ ด้รับการพักงานตาม วั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ โดยได้ รั บ เงิ น เดื อ น หรือค่าจ้างแรงงานตามปกติ ถ้าวันหยุด นักขัตฤกษ์ตรงกับวันหยุดประจาสั ปดาห์ ให้มีการหยุดชดเชยแทน - การลาป่ว ยไม่ เ กิน 30 วันต่อปี หากเกิ น 30 วัน ผู้ป่วยจะใช้กองทุนอุดหนุนทดแทน ตามระเบี ย บการประกั น สั ง คม ซึ่ ง ผู้ ใ ช้ แรงงานจะได้รับเงินเดือนตามปกติแต่ไม่ เกิน 180 วัน และจะได้รับเพียงร้อยละ 50 หากเกิน 180 วัน - การลาพั ก ผ่ อ นประจ าปี (เฉพาะลู ก จ้ า ง รายเดื อ นที่ มี อ ายุ ง านไม่ ต่ ากว่ า 1 ปี ) มี สิทธิลาพักผ่อนประจาปีได้ปีละไม่เกิน 18 วัน หากผู้ ใดไม่ต้องการลา ก็มีสิ ทธิเรียก เงินอุดหนุนตามจานวนวันที่มีสิทธิ ลาหยุด โดยให้คิดเท่ากับรายได้ของวันทางานปกติ - ในส่วนของลูกจ้างหญิงนั้น มีสิทธิหยุดพัก ก่อนและหลังคลอดบุตรอย่างน้อย 90 วัน อย่างไรก็ตาม หลังคลอดบุตร ลูกจ้างหญิง ต้ อ งได้ ห ยุ ด พั ก อย่ า งน้ อ ย 42 วั น โดย ระหว่ า งเวลาหยุ ด พั ก นั้ น ลู ก จ้ า งหญิ ง ดั ง กล่ า วจะได้ รั บ เงิ น เดื อ นหรื อ ค่ า จ้ า ง ตามปกติ และในกรณีที่ได้รับการรับรอง จากแพทย์ ว่ า ลู ก จ้ า งหญิง ป่ ว ยเนื่ อ งจาก การคลอดบุตร ลูกจ้างหญิงนั้นมีสิทธิหยุด พักเพิ่มอีกอย่างน้อย 30 วันโดยระหว่าง หยุดพักเพิ่มจะได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้าง เท่ า กั บ ร้ อ ยละ 50 ของเงิ น เดื อ นหรื อ ค่าจ้างที่ได้รับก่อน การหยุดพัก
Page | 17
5)
อัตราค่าแรงขั้นต่าและอัตราจ้างล่วงเวลาใน สปป.ลาว3
อัตราค่าแรงขั้นต่า อัตราค่าแรงขั้นต่าใน สปป.ลาว ทีม่ ีผลบังคับใช้ 1 เมษายน 2558 ไม่รวมค่าล่วงเวลา บานาญ และ สวัสดิการต่างๆ มีดังนี้ - รายเดือน 900,000 กีบ/เดือน (ประมาณ 3,600 บาท) โดยมี วั น ท างาน 26 วั น / เดือน 6 วัน /สั ป ดาห์ และ 8 ชั่ว โมง/วั น
- รายวัน ต้องไม่น้อยกว่า 24,614 กีบ/วัน (ประมาณ 99 บาท) - รายชั่ ว โมง ต้ อ งไม่ น้ อ ยกว่ า 4,327 กี บ / ชั่วโมง (ประมาณ 17 บาท) - กรณี เ ป็ น งานเสี่ ย งภั ย อั ต ราค่ า แรงจะ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 15 ของอั ต ราจ้ า งหรื อ มากกว่า
อัตราจ้างล่วงเวลา วันทางาน วันทางานปกติ จันทร์ – เสาร์ 17.00 – 20.00 น. 20.00 เป็นต้นไป วันอาทิตย์ / วันหยุดนักขัตฤกษ์ / เทศกาล 08.00 – 20.00 น. 20.00 น. เป็นต้นไป
อัตราจ้างล่วงหน้า 150% ของค่าแรงชั่วโมงปกติ 200% ของค่าแรงชั่วโมงปกติ 250% ของค่าแรงชั่วโมงปกติ คิด 300% ของค่าแรงชั่วโมงปกติ
การคานวณอัตราจ้างล่วงเวลา กรณีลูกจ้างรายเดือน การคานวณค่าแรงเป็นวันให้หารด้วยจานวนวันที่มีใน เดื อ นนั้ น ๆ (เช่ น มกราคม ให้ ห ารด้ ว ย 31 เป็ น ต้ น ) และกรณี ท างานหลั ง 22.00 น. จนถึ ง เช้ า ของ อีกวัน จะต้องได้รับเงินเพิ่มอีกไม่น้อยกว่า 15% ของค่าแรงในชั่วโมงปกติ
3
สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาวอ้างอิงจาก กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สปป.ลาว (2558)
Page | 18
การจ่ายค่าแรงในกรณีอื่นๆ กรณี กรณีนายจ้างหยุดพักหรือชะลอการผลิตตลอดระยะเวลาที่หยุด งานชั่วคราว กรณีนายจ้างล้มละลายโดยต้องชาระค่าจ้างให้ครบถ้วนก่อนแล้ว นาเงินไปชาระหนี้ส่วนอื่นได้ - ลูกจ้างขาดงานเกิน 4 วัน โดยไม่แจ้งเหตุผล - ไม่ซื่อสัตย์ต่อการทางาน หรือมีเจตนาสร้างความเสียหายต่อ นายจ้าง - ละเมิดกฎระเบียบการทางาน โดยนายจ้างตักเตือนแล้ว แต่ยังคงปฎิบัติเช่นเคย
6)
อัตราค่าจ้าง มากกว่า 50% ของค่าจ้าง มากกว่า 100% ของค่าจ้าง พร้อมเงิน บาเหน็จและเงินสนับสนุนอื่นๆ 0% ของค่าจ้าง
กฎหมายทีด่ ิน
กฎหมายที่ดิน ส าหรั บ การเป็ น เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ที่ดิน ตาม กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว กาหนดว่าที่ดินทั้งหมดใน สปป.ลาว เป็ น ของชาติ ล าว นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ส ามารถเช่า ที่ ดิ น ในสปป.ลาวได้ เ ป็ น ระยะเวลา 30 ปี 50 ปี
และ 80 ปี ขึ้นอยู่กับประเภทของการลงทุนและ การเจรจากั บ ผู้ มี อ านาจของแขวงต่ า งๆ ส่ ว น หน่วยงานที่มีอานาจในการให้สัมปทานที่ดินแก่นัก ล ง ทุ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ ข น า ด ข อ ง ที่ ดิ น
หน่วยงานที่มีอานาจในการให้สัมปทานที่ดินแก่นักลงทุน ขนาดที่ดิน 1 - 3 เฮกตาร์ 3 - 100 เฮกตาร์ 101 - 10,000 เฮกตาร์ ตั้งแต่ 10,001 เฮกตาร์
หน่วยงานที่มีอานาจอนุมัติ แผนกกสิกรรมและป่าไม้ในแขวง กระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ รัฐบาล สปป.ลาว สภาแห่งชาติ
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่ ที่มา : สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว
Page | 19
สิทธิการเช่าที่ดิน 1) ระยะเวลาที่อนุญาตให้เช่าเท่ากับระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้ลงทุนแต่ไม่เกิน 75 ปี แต่ผู้ลงทุนสามารถขอเช่าที่ดินต่อได้ 2) หากระยะเวลาการเช่ามากกว่า 30 ปีขึ้นไปจะได้รับการยกเว้นค่าเช่าเป็นระยะเวลา 12 ปี 3) การโอนสิทธิที่ดินให้บุคคลอื่นจะทาได้ก็ต่อเมื่อผู้เช่ารายแรกจ่ายค่าเช่าที่ดินครบแล้ว
7)
กฎหมายค้าปลีกและค้าส่ง4
ใน สปป.ลาว ธุ ร กิ จ ค้ า ส่ ง ( Wholesale) เรี ย กว่ า ธุ ร กิ จ ขายยก ในขณะที่ ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก (Retail) จะเรียกว่า ธุรกิจขายย่อย โดยกฎหมาย หลักของ สปป.ลาวที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ดั ง กล่ า วมี 2 ฉบั บ ได้ แ ก่ ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยธุ ร กิ จ การค้าขายยกและการค้าขายย่ อย เลขที่ 0977/ อค.คพม ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2555 (“ข้อตกลง ว่าด้วยการค้าขายยกและการค้าขายย่อย”) และ แจ้งการเรื่องประเภทสินค้าและอัตราส่วนทุนที่เปิด ให้ผู้ลงทุนต่างประเทศประกอบทุนเพื่อสร้างตั้งหัว หน่ ว ยธุ ร กิ จ น าเข้ า เพื่ อ ขายยกอยู่ สปป.ลาว เลขที่ 1489/อค.สลท ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2555 (“แจ้ งการเพื่อสร้ างตั้งหั ว หน่ ว ยธุร กิจ น าเข้าเพื่ อ ขายยก”)
4
ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในลาว (2558)
ภายใต้กฎหมาย สปป.ลาวธุรกิจการค้าขายยก หมายถึ ง การจ าหน่ า ยสิ น ค้ า ให้ บุ ค คล โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้ ซื้ อสิ น ค้าดั งกล่ าวนาสิ น ค้ า เหล่ านั้นไปผลิ ตสิ น ค้ าต่ อ นาไปขายยกหรื อ ขาย ย่อยต่อในขณะที่ธุรกิจการค้าขายย่อย หมายถึง ธุ ร กิ จ จ าหน่ ายสิ น ค้ า ในทอดสุ ด ท้ า ยให้ แก่ บุ คคล หรือครัวเรือนเพื่อให้ผู้ซื้อสินค้าดังกล่าวนาสินค้าไป บริโ ภค จากนิยามที่กฎหมายกาหนดข้างต้น จะ เห็ นได้ว่าการจาแนกธุรกิจขายยกและธุรกิจขาย ย่ อ ยใน สปป.ลาวจะใช้ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการซื้ อ สินค้าดังกล่าวเป็นเกณฑ์ในการตัดสินว่าการขาย สินค้าดังกล่าวเป็นการขายยกหรือการขายย่อย
Page | 20
การประกอบธุรกิจขายยกและขายย่อย ภายใต้ข้อตกลงว่าด้วยการค้าขายยกและการ ค้าขายย่ อย การจ าหน่ ายสิ น ค้าไม่ว่าจะเป็ น การ ประกอบธุรกิจ ขายยกหรือขายย่อยถือเป็น อาชีพ สงวนส าหรั บ พลเมื อ ง สปป.ลาวเท่ า นั้ น ดั ง นั้ น ชาวต่างชาติจึงไม่สามารถประกอบธุรกิจจาหน่าย
สิ น ค้ า ไม่ ว่ า จะเป็ น การขายยกหรื อ ขายย่ อ ยใน สปป.ลาวได้ อย่ า งไรก็ ต าม กฎหมาย สปป.ลาวอนุ ญ าตให้ ชาวต่างชาติสามารถประกอบธุรกิจจาหน่ายสินค้า ใน สปป.ลาวได้ ใ นบางกรณี ภ ายใต้ เ งื่ อ นไขและ ข้อจากัดบางประการ
ข้อยกเว้นในการประกอบธุรกิจขายยก ข้อตกลงว่าด้วยการค้าขายยกและการค้าขาย ย่ อยได้เปิ ดช่องให้ นั กลงทุน ต่างประเทศสามารถ ลงทุนในธุรกิจขายยกใน สปป.ลาวได้โดยนักลงทุน ต่ า งประเทศสามารถเข้ า ร่ ว มลงทุ น กั บ นั ก ลงทุน สปป.ลาวเพื่อดาเนินธุร กิจ ขายยก อย่างไรก็ ต าม รัฐบาล สปป.ลาวมีการกาหนดประเภทธุรกิจและ อัตราส่วนการลงทุนที่นักลงทุนต่างประเทศจะเข้า ร่วมลงทุนได้ โดยประกาศการจั ดตั้งธุร กิจน าเข้า เพื่อขายยกได้กาหนดประเภทธุรกิจที่รัฐบาล สปป. ลาว อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติสามารถเข้าร่วม ลงทุน กับ นั กลงทุน สปป.ลาว ได้แก่ ธุร กิจ สิ่ งทอ (Textile) ธุ ร กิ จ เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม (Clothing) ธุ ร กิ จ รองเท้า (Footwear) นอกเหนือจากธุรกิจที่กล่าว มาข้างต้น แล้ ว นั กลงทุน ต่างชาติไม่ส ามารถร่วม ลงทุนกับนักลงทุน สปป.ลาว เพื่อดาเนินธุรกิจขาย ยกได้
ข้อตกลงว่าด้วยการค้าขายยกและการค้าขาย ย่อยยังเปิดช่องให้นักลงทุนต่างชาติสามารถขายยก สิ น ค้ า ของตนได้ ใ นกรณี ที่ สิ น ค้ า ที่ จ ะจ าหน่ า ย ดังกล่าวผลิตจากโรงงานที่ตั้งใน สปป.ลาว อย่างไร ก็ ต ามเป็ น ที่ น่ า สั ง เกตว่ า กฎหมาย สปป.ลาว ยิ น ย อ ม ใ ห้ โ ร ง ง า น ข า ย ย ก เ ฉ พ า ะ สิ น ค้ า ที่ โรงงานผลิ ตเท่านั้น โรงงานไม่ส ามารถจาหน่ า ย สิ น ค้ า หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น ๆ ที่ ต นไม่ ไ ด้ ผ ลิ ต อาจ กล่าวได้ว่าการประกอบธุรกิจขายยกใน สปป.ลาว ไม่ใช่อาชีพต้องห้ามสาหรับนักลงทุนต่างประเทศ อย่างเด็ดขาด หากแต่กฎหมาย สปป.ลาวกาหนด ขอบเขตการประกอบธุรกิจขายยกโดยชาวต่างชาติ ไว้ อ ย่ า งจ ากั ด เพื่ อ คุ้ ม ครองและสงวนอาชี พ ดังกล่าวไว้ให้พลเมือง สปป.ลาวโดยเฉพาะ
Page | 21
ข้อยกเว้นในการประกอบธุรกิจขายย่อย ข้อตกลงว่าด้วยการค้าขายยกและการค้าขาย ย่อยได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ธุรกิจขายย่อยถือเป็น อาชีพสงวนไว้เฉพาะสาหรับพลเมืองลาว นักลงทุน ต่างประเทศจึงไม่สามารถประกอบธุรกิจขายย่อย ได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ กฎหมาย สปป.ลาวยัง อนุญาตให้นักลงทุนต่างประเทศสามารถเข้าร่ว ม ลงทุ น ในธุ ร กิ จ ขายย่ อ ยบางประเภทได้ เ ป็ น การ เ ฉ พ า ะ เ ช่ น Hypermarket, Supermarket, Shopping Center อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม นั ก ล ง ทุ น ต่างประเทศต้องดาเนินการตามที่กฎหมายอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกาหนด เช่น กฎหมายส่งเสริมการลงทุน
เป็ น ต้ น เช่ น เดี ย วกั บ การประกอบธุ ร กิ จ ขายยก กฎหมาย สปป.ลาวอนุญาตให้ โรงงานที่ตั้งในสปป. ลาวสามารถขายย่ อ ยสิ น ค้ า ที่ ต นผลิ ต ได้ เมื่ อ พิ จ ารณาภาพรวมของข้ อ ก าหนดที่ เ กี่ ยวข้ อ งกับ ธุ ร กิ จ ขายย่ อ ยใน สปป.ลาวแล้ ว อาจสรุ ป ได้ ว่ า กฎระเบียบของ สปป.ลาวในปัจจุบันไม่เอื้อให้นัก ลงทุนต่างประเทศเข้าไปลงทุนในธุรกิจขายย่อยใน สปป.ลาวเท่าใดนัก ในทางตรงกันข้ามกฎหมาย สปป.ลาวแสดงออกอย่างชัดแจ้ งในการมุ่งคุ้มครอง อาชี พ ขายย่ อ ยไว้ ส าหรั บ พลเมื อ งลาวเป็ น การ เฉพาะ
Page | 22
รัฐบาล สปป.ลาวให้ความสาคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศอย่างต่อเนื่องสะท้อนได้จาก การเติบโตของเศรษฐกิจของสปป.ลาวซึ่งขยายตัว เฉลี่ยร้อยละ 7-8 ต่อปี การสนับสนุนเศรษฐกิจของ รั ฐ บาล สปป.ลาวให้ ค วามส าคั ญ การลงทุ น จาก ต่างประเทศ รวมทั้งการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone) และเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะ (Specific Economic Zone) การพั ฒ นา เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจ เฉพาะของ สปป.ลาวเริ่มขึ้นในปลายปี 2543 และในปัจจุบัน (2558) สปป.ลาวมีเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษและเขต เศรษฐกิจเฉพาะ 10 เขต เป็นเขตเศรษฐกิจเฉพาะ 8 เ ข ต แ ล ะ เ ข ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ 2 เขต ซึ่งในแผนแม่บ ทการพัฒ นาเขตเศรษฐกิ จ พิเศษของรัฐบาล สปป.ลาว ปี 2554-2563 ตั้งเป้า สร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษให้ได้ 25 เขต ภายในปี 2563 ส่ ง ผลให้ สปป.ลาวมี ศั ก ยภาพการรองรั บ กิ จ กรรมทางการค้ า และการลงทุ น ที่ ค าดว่ า จะ เพิ่ ม ขึ้ น อี ก มากในอนาคต อั น จะเป็ น เป็ น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น รั ฐ บาลที่ต้องการให้ สปป.ลาวหลุ ดพ้น จากการเป็ น หนึ่ ง ในกลุ่ ม ประเทศที่ มี ร ะดั บ การ พัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries : LDCs) ภายในปี 2563
เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ ใน สปป.ลาว มีหลักการสาคัญในการจัดตั้ง ดังนี้ 1) ก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องเขตเศรษฐกิ จพิ เศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะอย่างชัดเจน 2) ก าหนดผลประโยชน์ ข องรั ฐ ผู้ พั ฒ นาและ ประชาชนอย่างชัดเจน 3) เป็นเขตที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของแต่ละ เขตเศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ 4) กาหนดเนื้อที่และเขตแดนอย่างชัดเจน 5) มีนโยบายส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจของแต่ ละ เขตโดยเฉพาะ 6) มีระบบการบริหารด้านเศรษฐกิจในแต่ละเขตที่ เป็นอิสระ 7) อยู่ ใ ต้ ก ารคุ้ ม ครองของรั ฐ บาล หรื อ องค์ ก าร ปกครองระดับแขวง ตามการตกลงของรัฐบาล 8) คณะบริ ห ารเขตมี สิ ท ธิ ใ ห้ ผู้ อื่ น เช่ า ที่ ดิ น และ ก า ห น ด ค่ า เ ช่ า ด้ ว ย ต น เ อ ง โ ด ย ไ ม่ เ กิ น กาหนดเวลาของสัญญาสัมปทาน 9) คณะบริหารเขตสามารถดาเนินการพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะภายใน เขตของตน 10) คณะบริหารเขตสามารถดึงดูด และอนุมัติการ ลงทุ น ของบุ ค คล หรื อ นิ ติ บุ ค คลอื่ น ทั้ ง ภายใน และต่างประเทศภายในเขตของตน 11) รั บ ประกั น ความมั่ น คง ความสงบ ความ ปลอดภั ย และการปกปั ก รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม ภายในเขต
4.1
เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะของ สปป.ลาว
ลักษณะเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะของ สปป.ลาว1 1) ลักษณะเขตเศรษฐกิจพิเศษของ สปป.ลาว (Special Economic Zone) เขตเศรษฐกิจ พิเศษของ สปป.ลาว หมายถึง เขตที่รัฐบาลกาหนดเพื่อพัฒนาให้เป็นตัวเมืองใหม่ ที่ ทั น สมั ย อย่ า งรอบด้ า น เป็ น สถานที่ ดึ ง ดู ด การ ลงทุ น ทั้ ง ภายในและต่ า งประเทศ มี เ นื้ อ ที่ ตั้ ง แต่ 1,000 เฮกตาร์ หรื อ 6,250 ไร่ ขึ้ น ไป มี น โยบาย ส่ ง เสริ ม พิ เ ศษ มี ร ะบบเศรษฐกิ จ การเงิ น การ บริ ห ารจั ด การ มี ร ะบบรั บ ประกั น ความสงบ ปลอดภัย และปกป้ องรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อมให้ ยั่ ง ยื น หากมีประชาชนที่อาศัยอยู่ก่อนแล้ว ในพื้นที่ก็ไม่ จาเป็นต้องย้ายออก รูปแบบการลงทุน ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษของ สปป.ลาว มี 2 แบบคือรัฐบาลลงทุน 100% หรือ
เอกชนร่ว มทุนกับรัฐ บาล โดยในการจัดการจะมี คณะบริหาร ซึ่งจะมี ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เป็น ประธานและสภาบริห ารเศรษฐกิจ ซึ่งมี ผู้ พัฒ นา เขตเศรษฐกิจพิเศษเป็นประธาน 2) ลั ก ษณะเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะ (Specific Economic Zone) เขตเศรษฐกิจเฉพาะ หมายถึง เขตที่รัฐ บาล กาหนดให้เป็นเขตอุตสาหกรรม เขตการผลิต เพื่อ การส่งออก เขตตัวเมืองท่องเที่ยว เขตการค้าปลอด ภาษี เขตพัฒนาเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสาร เขต เศรษฐกิ จ ชายแดนและอื่ น ๆ เป็ น เขตที่ รั ฐ บาล กาหนดให้เพื่อส่งเสริมในสาขาใดหนึ่งโดยเฉพาะ มี สภาบริหารกากับดูแลการดาเนินการภายใน โดย ต้องเป็นเขตที่ไม่มีประชาชนอาศัยอยู่
รูปแบบการลงทุนในเขตเศรษฐกิจเฉพาะของ สปป.ลาว มี 3 แบบ คือ รัฐบาลลงทุน 100% เอกชนร่วมทุน กับรัฐบาล และเอกชนลงทุน 100% ซึ่งในการจัดการจะมีเฉพาะสภาบริหารเศรษฐกิจ ซึ่งผู้พัฒนาเขตเศรษฐกิจ เฉพาะทาหน้าที่เป็นประธาน การพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษและเขต เศรษฐกิจเฉพาะใน สปป.ลาวสามารถดาเนินการ ด้วยรูปแบบ ดังนี้ (1) รัฐลงทุนพัฒนาร้อยละร้อย (100%) หมายถึง เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะที่ รัฐเป็นผู้ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่ง 1
สาธารณูปโภคต่างๆ ทั้งหมดของเขต โดยใช้ งบประมาณของรัฐ (2) รัฐลงทุนร่วมกับเอกชนพัฒนา หมายถึง เขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษและเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะที่ รั ฐ ล ง ทุ น ร่ ว ม กั บ เ อ ก ช น ภ า ย ใ น ห รื อ ต่างประเทศพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่ ง
ปรับปรุงข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลธุรกิจไทยในลาว สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต
สาธารณู ป โภคต่า งๆ ทั้ ง หมดของเขต ซึ่ ง รั ฐ อาจประกอบทุนด้วยสิทธิ์ใช้ที่ดิน โดยรัฐถือ หุ้นอย่างน้อยร้อยละสามสิบ (30%) หรือการ ประกอบทุนด้วยรูปการอื่นตามตกลงเห็นชอบ ของทั้งสองฝ่าย ส่วนผู้พัฒนาเอกชนประกอบ ทุนเข้าร่วมหุ้นด้วยเงินสดและทรัพย์สิน (3) เอกชนลงทุ น พั ฒ นาร้ อ ยละร้ อ ย (100%) หมายถึง เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจ เฉพาะ ที่เอกชนภายในหรือต่างประเทศเป็นผู้ ลงทุ น พั ฒ นาโ ครงสร้ า งพื้ น ฐ านแล ะ สิ่ ง สาธารณูป โภคต่างๆ ทั้งหมดของเขตโดยใช้ งบประมาณของผู้พัฒนาเอง
ทั้งนี้ ในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขต เศรษฐกิ จ เฉพาะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการแห่ ง ชาติ ล าวเพื่ อ คุ้ ม ครองเขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษและเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะ (Lao National Committee for Special Economic Zone) และลงนามสัญญาสัมปทานกับรัฐบาล และ หากเป็นเขตเศรษฐกิจเฉพาะที่ อยู่ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษจะต้องดาเนินการจัดตั้งโดยลงนามสั ญ ญา ระหว่างผู้ลงทุนกับคณะบริหารหรือสภาบริหารเขต เศรษฐกิจพิเศษนั้นๆ และหากผู้ลงทุนสนใจดาเนิน กิ จ การในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ผู้ ล งทุ น ต้ อ ง ดาเนินการเสนอแผนการลงทุนต่อคณะบริหารของ เขตเศรษฐกิจพิเศษที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาตาม ระเบียบและสิทธิประโยชน์ทางภาษีของแต่ละเขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษจะแตกต่ า งกั น ไปตามแต่ ล ะเขต เศรษฐกิจ
เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ 10 เขต ที่มีการอนุมัติและดาเนินการแล้ว เขตเศรษฐกิจพิเศษ/ เขตเศรษฐกิจเฉพาะ
ที่ตั้ง
1. เขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน -เซโน แขวงสะหวันนะเขต (Savan-Seno Special Economic Zone) - ก่อตั้งในปี 2546 - รัฐบาล สปป.ลาวเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 75 ปี
2. เขตเศรษฐกิจพิเศษบ่อเต็นแดนคา แขวงหลวงน้าทา (Boten Beautiful Land Specific Economic Zone) - ก่อตั้งใน ปี 2546 - ภาคเอกชนของจีนเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 50 ปี 3. เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษสามเหลี่ ย ม ทองค า (Golden Triangle Special Economic Zone) - ก่อตั้งในปี 2550 - รั ฐ บ า ล ส ป ป .ล า ว ร่ ว ม กั บ ภาคเอกชนของจีนเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 50 ปี
เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว
พื้นที่
ประเภทธุรกิจ
- ธุ ร กิ จ บริ ก าร ธนาคาร สถาบั น ก า ร เ งิ น แ ล ะ ป ร ะ กั น ภั ย การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร ศู น ย์ บั น เทิ ง ศู น ย์ ป ระชุ ม สั ม มนา ศูนย์กีฬา กิจการขนส่ง คลังสินค้า - ธุ ร กิ จ การค้ า ร้ า นค้ า ปลอดภาษี น าเข้ า - ส่ ง ออก ศู น ย์ แ สดงสิ น ค้ า ร้านค้าส่ง-ค้าปลีก - อุ ต สาหกรรม การผลิ ต สายไฟฟ้ า กา ร แ ป ร รู ป อา ห า ร ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เกี่ ย วกั บ ไม้ สิ่ ง ทอ เสื้ อ ผ้ า รองเท้ า กระเป๋า ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ และ ชิ้นส่วนยานยนต์ 1,640 เฮกตาร์ - ธุรกิจเกษตร ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และ (10,250 ไร่) การแปรรูปเกษตร - ธุ ร กิ จ บริ ก าร ท่ อ งเที่ ย ว โรงแรม สนามกอล์ฟ การศึกษา วัฒนธรรม สุ ข ภาพอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ การเงิ น การธนาคาร และตลาดหลักทรัพย์ - ไปรษณีย์ และโทรคมนาคม - คลังสินค้าและการขนส่ง 3,000 เฮกตาร์ - โครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (18,750 ไร่) - ธุรกิจเกษตร ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และ การแปรรูปเกษตร - ธุ ร กิ จ บริ ก าร ท่ อ งเที่ ย ว โรงแรม สนามกอล์ ฟ ร้ า นอาหาร สถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว บั น เทิ ง การศึ ก ษาและ สุ ข ภาพ อสั งหาริ ม ทรั พ ย์ การเงิ น การธนาคาร และการขนส่ง 954 เฮกตาร์ (5,962.5 ไร่)
- ธุ ร กิ จ ไ ป ร ษ ณี ย์ โ ท ร ค ม นา ค ม อินเตอร์เน็ต และการพิมพ์ - ธุรกิจการค้า เช่น ร้านค้าปลอดภาษี และเขตปลอดภาษี
เขตเศรษฐกิจพิเศษ/ เขตเศรษฐกิจเฉพาะ 4. เขตนิคมอุตสาหกรรมและการค้า เวี ย งจั น ทน์ (Vientiane Industrial and Trade Area) - ก่อตั้งในปี 2552 - รั ฐ บ า ล ส ป ป .ล า ว ร่ ว ม กั บ ภาคเอกชนของสาธารณรั ฐ จี น (ไต้หวัน) เป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 75 ปี 5. เขตพั ฒนาไซเสดถา (Saysetha Development Zone) - ก่อตั้งในปี 2553 - รัฐบาล สปป.ลาวร่วมกับภาคของ เอกชนของจีนเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 50 ปี 6. เขตเศรษฐกิ จ เฉพาะพู เ ขี ย ว (Phoukhyo Specific Economic Zone) - ก่อตั้งในปี 2553 - ภาคเอกชนของ สปป.ลาวเป็ น ผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 99 ปี 7. เขตเศรษฐกิจเฉพาะบึงทาดหลวง (Thatluang Lake Specific Economic Zone) - ก่อตั้งในปี 2554 - ภาคเอกชนของจีนเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 99 ปี
ที่ตั้ง
พื้นที่
ประเภทธุรกิจ
เมืองไซธานี นครหลวง เวียงจันทน์
110 เฮกตาร์ (687.5 ไร่)
- อุตสาหกรรม สิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ - ธุรกิจการค้า ร้านค้าปลีก ศูนย์การค้า และอาคารที่ให้บริการด้านการค้า - ธุรกิจบริการ ท่องเที่ยว โรงแรม - ศูนย์ฝึกอบรม การศึกษาและสุขภาพ
เมืองไซธานี นครหลวง เวียงจันทน์
1,000 เฮกตาร์ - อุ ต สาหกรรมปรุ ง แต่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (6,250 ไร่) เกษตรเพื่ อ ส่ ง ออก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ ป ร ะ ก อ บ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ชิ้ นส่ วน อิเลคทรอนิกส์ เครื่องใช้แสงอาทิตย์ และอุตสาหกรรมเบา - ธุรกิจบริการ ท่องเที่ยว 4,850 เฮกตาร์ - ธุ ร กิ จ การค้ า ห้ อ งจั ด แสดงสิ น ค้ า (30,312.5 ไร่) และอาคารที่ให้บริการด้านธุรกิจ - ธุ ร กิ จ บริ ก าร ท่ อ งเที่ ย ว โรงแรม บั น เ ทิ ง ส ว น น้ า ศู น ย์ กี ฬ า สนามกอล์ ฟ ขนส่ ง ทางรถและ เครื่องบิน สนามบิน โรงเรียน - อุ ต สาหกรรมผลิ ต สิ น ค้ า เพื่ อ การ ส่งออก วัสดุก่อสร้าง 365 เฮกตาร์ - ธุ ร กิ จ บริ ก าร การเงิ น ท่ อ งเที่ ย ว (2,281.3 ไร่) โรงแรม บันเทิง ศูนย์กลางการแสดง สนามกอล์ฟ โรงเรียน สุขภาพ - ธุรกิจการค้า ห้างสรรพสินค้า อาคาร เพื่อการค้า
เมืองท่าแขก แขวงคาม่วน
เมืองไซเสดถา นครหลวง เวียงจันทน์
8. เขตเศรษฐกิ จ เฉพาะลองแทง เมื - องหาดซายฟอง เวี ย งจั น ทน์ (Longthanh - Vientiane นครหลวง Specific Economic Zone) เวียงจันทน์ - ก่อตั้งในปี 2551 - ภาคเอกชนของเวี ย ดนามเป็ น ผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 50 ปี
557.75 เฮกตาร์ - ธุรกิจบริการ โรงแรม ที่พักระดับสูง (3,485.9 ไร่) หอประชุ ม สนามกอล์ ฟ ศู น ย์ กี ฬ า โรงเรียน - ธุรกิจการค้า ศูนย์การค้า
9. เขตเศรษฐกิ จ เฉพาะดงโพสี เมืองหาดซายฟอง ( Dongphosy Specific Economic นครหลวง Zone) เวียงจันทน์
53.94 เฮกตาร์ - ธุรกิจการค้า ร้านค้า อาคารการค้า (337.2 ไร่) ห้างสรรพสินค้า
เขตเศรษฐกิจพิเศษ/ เขตเศรษฐกิจเฉพาะ - ก่อตั้งในปี 2552 - ภาคเอกชนมาเลเซียเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 50 ปี 10. เขตเศรษฐกิ จ เฉพาะท่ า แขก (Thakhek Specific Economic Zone) - ก่อตั้งในปี 2555 - รัฐบาล สปป.ลาวเป็นผู้พัฒนา - อายุสัมปทาน 75 ปี
ที่ตั้ง
เมืองท่าแขก แขวงคาม่วน
พื้นที่
ประเภทธุรกิจ
- ธุ ร กิ จ บริ ก าร โรงแรม ร้ า นอาหาร โ ร ง เ รี ย น สุ ข ภ า พ ค ลั ง สิ น ค้ า ศูนย์การเงิน 1,035 เฮกตาร์ - ธุรกิจการค้า ห้างสรรพสินค้า (6,468.8 ไร่) - ธุ ร กิ จ บริ ก าร ธนาคาร สถาบั น การเงิน ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร โรงแรม บันเทิง ศูนย์ประชุม กีฬา โรงเรียน ขนส่งสินค้า สถานีขนส่งโดยสาร
ที่ ม า : Investment Promotion Department, Ministry of Planning and Investment, Investment Promotion Department (2015)
นอกจากนี้ยังมีเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะใน สปป.ลาวที่อยู่ระหว่างการศึกษาโครงการ ดังนี้ เขตเศรษฐกิจ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.
เขตการค้าชายแดนลาวบาว เขตห้วยซอน เขตเศรษฐกิจเฉพาะดอนเซียงซู้ เขตสวนวัฒนธรรม (ดงโพสี) เขตพัฒนาเมืองใหม่ หนองปิง เขตเศรษฐกิจ พิเ ศษเฉพาะ ท่องเที่ย ว ธรรมชาติ เมืองเซียงขวางใหม่ เขตมหานทีสี่พันดอน เขตที่ราบสูงบอละเวน เขตวังเต่า-ช่องเม็ก เขตจุดสุมเวียงคาท่าสะอาด เขตหนองค้าง เขตคอสะพานห้วยซาย
แขวงที่ตั้ง
วัตถุประสงค์
แขวงสะหวันนะเขต นครหลวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ แขวงเซียงขวาง
การค้าและบริการ การค้าและท่องเที่ยว การค้าและบริการ การบริการและท่องเที่ยว การบริการและท่องเที่ยว การบริการและท่องเที่ยว
แขวงจาปาสัก แขวงจาปาสัก แขวงจาปาสัก แขวงบอลิคาไซ แขวงหัวพัน แขวงบ่อแก้ว
เขตเศรษฐกิจพิเศษ การค้าและบริการ การค้าและบริการ เขตเศรษฐกิจพิเศษ เขตเศรษฐกิจพิเศษ การบริการและท่องเที่ยว
ที่มา : ศูนย์ข้อมูลธุรกิจไทยในลาว สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต (2558)
4.2
สิทธิประโยชน์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะใน สปป.ลาว
จากข้อมูลศูนย์ข้อมูลธุรกิจ ไทยในลาว สถาน กงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต พบว่าปัจจุบันมี นั กลงทุน ต่างชาติที่เข้ามาลงทุน ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษในทั่วประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีบริษัท ต่างชาติที่จดทะเบียนและลงทุนแล้ว 198 บริษัท 217 ห้างร้าน มีมูลค่าการลงทุนตามสัญญามากกว่า 6 พันล้านดอลลาร์ สหรั ฐ และการมีการลงทุ น ไป แล้ ว กว่ า 1 พั น ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ เงิ น ลงทุ น ดังกล่าว มีส่วนช่วยพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ
และสั งคมโดยรวมของ สปป.ลาวเป็นอย่างดี ใน การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ สิ่งที่จูงใจนักลงทุนให้ เข้ า มาลงทุ น ในพื้ น ที่ คื อ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ พิ เ ศษที่ ให้แก่นักลงทุน ทั้งนี้รัฐบาล สปป.ลาวกาหนดสิทธิ ประโยชน์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจ เฉพาะไว้เพื่อสนับสนุนและจูงใจนักลงทุนในทั้งใน และต่างประเทศสามารถสรุปได้ดังนี้
สิทธิประโยชน์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะใน สปป.ลาว สิทธิประโยชน์
รายละเอียด ผู้พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ - ได้รั บ การยกเว้นภาษีนาเข้า วัส ดุอุปกรณ์ วัตถุดิบ เครื่องจักร และ พาหนะสาหรับการก่อสร้าง - เสียภาษีรายได้ และภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราต่าตามประเภทกิจกรรม
ด้านภาษี นักลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ - ได้ รั บ การยกเว้ น ภาษี น าเข้ า วัส ดุ อุ ป กรณ์ วั ต ถุ ดิ บ เครื่ อ งจั ก ร และ พาหนะที่ใช้ในการผลิตและการบริการ - เสียภาษีรายได้ และภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราต่าตามประเภทกิจกรรม ผู้พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ - ได้รับสิทธิในการใช้ที่ดินตามอายุสัมปทานก่อสร้าง (ระยะเวลา 50-99 ปี แต่ละเขตกาหนดไม่เท่ากัน) - มีสิทธิกาหนดค่าเช่าที่ดินในเขตของตน ด้านที่ดิน นักลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ - นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ที่ ล งทุ น มากกว่ า 500,000 ดอลลาร์ ส หรั ฐ มี สิ ท ธิ ถื อ ครองที่ ดิ น เพื่ อ อยู่ อ าศั ย ตามระยะเวลาของโครงการลงทุ น (ร ะ ย ะ เ ว ล า 50-99 ปี แ ต่ ล ะ เ ข ต ก า ห น ด ไ ม่ เ ท่ า กั น )
สิทธิประโยชน์ การคุ้มครองการลงทุน
รายละเอียด - นักลงทุนได้รับความคุ้มครองทั้งกิจการ และทรัพย์สิน - ได้รับการปฏิบัติโดยเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ
- มี สิ ท ธิ โ อนรายได้ ห ลั ง จากหั ก ภาษี แ ล้ ว ไปยั ง ธนาคารที่ อ ยู่ ใ น การเงิน และการโอนเงินออก ต่างประเทศได้เสรี นอกประเทศ - ไม่มีข้อจากัดการแลกเปลี่ยนเงินตรา ผู้พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ - มีสิทธิ์เข้าร่วมเป็นคณะในสภาบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษ - ได้รับสิทธิการอยู่อาศัยใน สปป.ลาวพร้อมทั้งครอบครัวตามระยะเวลา ของสัญญาการลงทุนพัฒนา (ระหว่าง 50-99 ปี แต่ละเขตกาหนดไม่ เท่ากัน)
ด้านอื่นๆ
นักลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ - ได้รับใบทะเบียนวิสาหกิจ และการบริการอื่นๆ จากคณะบริหาร หรือ สภาบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยผ่านรูปแบบการบริการ One Stop Service จากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ( Administration of Special Economic Zone: ASEZ) อย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เช่ น การจดทะเบียนการลงทุน พิธีการศุลกากร และการจัดการด้านแรงงาน - ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ก า ร อ ยู่ อ า ศั ย ใ น ส ป ป .ล า ว พ ร้ อ ม ทั้ ง ค ร อ บ ค รั ว ตามระยะเวลาของสั ญ ญาการลงทุ น พั ฒ นา (อยู่ ร ะหว่ า ง 50-99 ปี แต่ละเขตกาหนดไม่เท่ากัน) - ได้ รั บ นโยบายส่ ง เสริ ม พิ เ ศษอื่ น ๆ ที่ ท างผู้ บ ริ ห ารหรื อ สภาบริ ห าร เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ และเขตเศรษฐกิ จ เฉพาะได้ ก าหนดไว้ เ ป็ น สิทธิพิเศษเพื่อจูงใจ
ที่มา : รายงาน “เศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนในกลุ่มประเทศ CLMV ปี 2557” ธนาคารแห่งประเทศไทย (2558)
4.3
ข้อมูลเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน (Savan-Seno Special Economic Zone)2
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษสะหวั น -เซโน ตั้ ง อยู่ ใ น แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาวจัดตั้งขึ้นเพื่อให้เป็น ศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการบริการแห่ง หนึ่ ง ในภู มิ ภ าค โดยมี จุ ด เด่ น ในด้ า นที่ ตั้ ง ซึ่ ง ใกล้ บริ เ วณชายแดนไทย - สปป.ลาวอยู่ บ นเส้ น ทาง หมายเลข 9 อันเป็นส่วนหนึ่งของแนวพื้นที่พัฒนา เศรษฐกิ จ ตะวั น ออก -ตะวั น ตก (East-West Economic Corridor- EWEC) และอยู่ ใ นกรอบ ความตกลงว่ า ด้ ว ยการขนส่ ง ข้ า มพรมแดน อ นุ ภู มิ ภ า ค ลุ่ ม น้ า โ ข ง (GMS Cross-Border Transport Agreement: CBTA) ในการดึงดูดนักลงทุนและได้สร้างสิ่งอานวยความ
สะดวกเพื่อเอื้อให้เขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน -เซโน ให้ เ ป็ น แหล่ ง อุ ต สาหกรรมที่ ทั น สมั ย ช่ ว ยสร้ า ง อาชีพและยกระดับความรู้ ความสามารถด้านฝีมือ แรงงานในอุตสาหกรรมของประเทศ ประกอบกับ สปป.ลาวมี เ สถี ย รภาพทางการเมื อ ง และความ ปลอดภั ย ในสั ง คมสู ง การลงทุ น ของนั ก ลงทุ น ต่างชาติจึงมักเป็นการย้ายฐานการผลิตมายังแหล่ง ที่ มี ต้ น ทุ น การผลิ ต ต่ ากว่ า ในด้ า นวั ต ถุ ดิ บ และ แรงงาน นอกจากนี้นักลงทุนต่างชาติยังสามารถ ใช้ ประโยชน์จากสิทธิพิเศษ (GSP) ที่ สปป.ลาวได้รับใน การส่งออกไปยังประเทศพัฒนาแล้ว อาทิ สหภาพ ยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
นโยบายส่งเสริมการลงทุนภายในเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน ผู้ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน -เซโนจะ ได้รับสิทธิพิเศษ ดังนี้ 1) ได้รับการยกเว้นภาษีกาไร (อากรกาไร) เป็น ระยะเวลา 2-10 ปีนับตั้งแต่เริ่มมีผล กาไร หลังจากนั้นจะเสียในอัตราร้อยละ 810 ตามปกติจะยกเว้นภาษีกาไรเป็นระยะเวลา 2-7 ปี หลังจากนั้นจะเสียในอัตราร้อยละ 1020 สาหรับนักลงทุนต่างชาติ และในอัตราร้อย ละ 35 สาหรับนิติบุคคลลาว 2) เสียภาษีรายได้ส่วนบุคคล (อากรรายได้ส่วน บุคคล) สาหรับคนต่างชาติในอัตราร้อยละ 5 ตามปกติคนต่างชาติเสียในอัตราร้อยละ 10
2
3) ได้รับการยกเว้นภาษีทางอ้อม ได้แก่ ภาษี การค้า (อากรตัวเลขธุรกิจ) และภาษี สรรพสามิต (อากรชมใช้) ตามปกติจะเสียภาษี การค้าในอัตราร้อยละ 5-10 และภาษี สรรพสามิตในอัตราร้อยละ 5-90 4) ได้ รั บ การยกเว้ น ภาษี ใ นการส่ ง ออก และ ยกเว้นภาษีในการนาเข้าวัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ก่อสร้างและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 5) ได้รับสัมปทานเช่าที่ดินมีระยะเวลานานสุดถึง 99 ปี แ ล ะ ส า ม า ร ถ ข อ ต่ อ สั ม ป ท า น ไ ด้ นอกจากนี้ หากเช่าที่ดินเกิน 30 ปี จะได้รับ การยกเว้นค่าเช่าเป็นระยะเวลา 12 ปี 6) นั ก ลงทุ น ที่ มี ทุ น จดทะเบี ย นตั้ ง แต่ 100,000 ดอลลลาร์สหรัฐขึ้นไป พร้อมคู่สมรสและบุตร
รวบรวมข้อมูลจากสถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต (2558)
อายุต่ากว่า 21 ปี จะได้รับ Foreign ID Card ซึ่งอนุญาตให้ทางานใน สปป.ลาวได้และได้รับ วีซ่าประเภทเข้าออกได้หลายครั้ง มีอายุอย่าง น้อย 1 ปี หากมีทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 10 ล้าน
เหรี ย ญสหรั ฐ ขึ้ น ไป จะได้ รั บ Permanent Resident ID Card หรือได้รับวีซ่าประเภทเข้า ออกได้หลายครั้ง มีอายุอย่างน้อย 1 ปี หรือ ได้รับหนังสือเดินทางลาว
ประเภทธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริม ในเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน 1. ธุรกิจการผลิตและการแปรรูป
การผลิ ต สิ น ค้า สาเร็จ รูป เพื่อการส่ง ออก การผลิ ต ชิ้ น ส่ วนอิ เล็ก ทรอนิกส์ การประกอบชิ้ น ส่ ว นให้ เ ป็ น สิ น ค้ า ส าเร็ จ รู ป การแปรรู ป สิ น ค้ า น าเข้ า เพื่อส่งขายต่อภายในหรือต่างประเทศ การแปรรูปสินค้าเกษตร การผลิต สินค้าหัตถกรรม โรงงานรับบรรจุหีบห่อสินค้าและผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
2. ธุรกิจการค้า
ร้านค้าปลอดภาษี การขายส่งสินค้าผ่านแดนปลอดภาษี การขายส่งสินค้า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภ ายในประเทศ (เช่ น สิ น ค้ า หั ต ถกรรม ไม้ เ นื้ อ หอม) ศูน ย์ แสดงสิ นค้า ห้ า งสรรพสิ น ค้า ศูน ย์ ป ระชุ ม การส่ ง ออก น าเข้า และ การค้าผ่านแดน
3. ธุรกิจบริการและการจัดส่งกระจาย ระบบโกดัง เก็บสินค้า ศูน ย์ กระจายสินค้า บริษั ท รับ เหมาขนส่ง โรงแรม อาคารหรือสานักงานให้เช่า บ้านจัดสรร บริษัทนาเที่ยว การพัฒนาแหล่ง สินค้า (Logistics) พักผ่อน สถานที่เล่นกีฬา สวนสนุก แหล่งท่องเที่ยว ธนาคารหรือสถาบัน การเงิน การประกันภัย กองทุนสวัสดิการสังคม โรงเรียนวิชาชีพและพัฒนา ฝีมือแรงงาน โรงเรียนสามัญศึกษา มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ร้านอาหาร ไปรษณีย์
4. สานักงานตัวแทนและสาขาบริษัท ส านั ก งานตั ว แทนการค้ า เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว สาขาบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาต่ า งประเทศ สาขาบริ ษั ท การบิ น และการขนส่ ง ภายในหรือต่างประเทศ ต่างประเทศ
ปั จ จุ บั น (2558) มีนั กลงทุน ได้รั บ ใบอนุญาต ลงทุน ในโครงการสะหวัน ปาร์ ก ในเขตเศรษฐกิ จ พิเศษสะหวัน-เซโนแล้ว 41 ราย โดย 3 ประเทศที่ เข้ามาลงทุนสูงสุด ได้แก่ สปป.ลาว 12 ราย ไทย 6 ราย และญี่ปุ่น 5 ราย เช่น บริษัทโตโยต้า โบโชคุ บริษัทผลิตเบาะรถยนต์ในเครือโตโยต้า บริ ษัทแอ โรเวอร์ ค ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นเครื่ อ งบิ น บริษัทนิคอน โดยบริษัทจากไทยที่เข้าไปลงทุนใน
โครงการสะหวันปาร์กแล้ว ได้แก่ บริษัท เอสซีจี โล จิส ติกส์ บริษัทเด็นโซ่ บริษัทอุไรพาณิช ย์ บริษัท บุญศิริ ทาให้ขณะนี้ในพื้นที่สะหวันปาร์ก มีผู้ผลิต สีทาอาคาร บรรจุภัณฑ์อาหารแช่แข็ง ชิ้นส่วนยาน ยนต์ รวมไปถึงชิ้นส่วนเครื่องบิน
Page | 1
5.1
ภาพรวมการลงทุนไทยในสปป.ลาว
รัฐบาล สปป.ลาวมีนโยบายส่งเสริมการลงทุน และให้ สิ ทธิป ระโยชน์ แก่นักลงทุนต่างชาติหลาย ประการ ปัจจัยที่ทาให้การลงทุนมีการเติบโตเป็น ผลมาจากมี ก ารปรั บ กฎหมายการลงทุ น ซึ่ ง ได้ กาหนดชัดเจนเกี่ยวกับการแบ่งหน้าที่การทางานใน การพิจารณาอนุมัติการลงทุนระหว่างฝ่ายแผนงาน และการลงทุนกับฝ่ายอุตสาหกรรมและการค้า ซึ่ง ได้ ก าหนดให้ ฝ่ า ยแผนงานและการลงทุ น เป็ น ผู้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ โ ครงการลงทุ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สัมปทานของรัฐบาล ส่วนการลงทุนทั่วไปมอบให้ ฝ่ า ยอุ ต สาหกรรมและการค้ า พิ จ ารณา ใน ขณะเดี ย วกั น กรมส่ ง เสริ ม การลงทุ น ยั ง ได้ ส ร้ า ง กลไกวิธีการทางานให้ มี ความสะดวกและมีความ คล่องตัวขึ้น โดยเฉพาะการให้บริการแบบช่องทาง เดียว ได้แก่ การออกโฉนดใบเดียว ด้วยการกาหนด เลขประจาตัววิสาหกิจและเลขประจาตัวผู้เสียภาษี ไว้ในใบเดียว นอกจากนี้ ยังได้สร้างกลไกส่งเสริม การลงทุ น ในรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น สร้ า งเว็ บ ไซต์ เพื่ อ ให้ นั ก ลงทุ น สามารถรั บ รู้ แ ละเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารในการลงทุ น ได้ อ ย่ า งสะดวกด้ ว ยการ ประชาสัมพันธ์นโยบาย ระเบียบกฎหมาย ขั้นตอน การพิ จ ารณาการอนุ มั ติ ก ารลงทุ น ผ่ า นระบบ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้นักลงทุนได้สะดวกในการเลือก ประเภทโครงการการลงทุนที่สนใจ
สาหรับประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้าน และมีอาณาเขตติดต่อกับ สปป.ลาวเป็นระยะทาง ประมาณ 1,810 กิโ ลเมตร ใน 12 จังหวัด ได้แก่ เชี ย งราย พะเยา น่ า น อุ ต รดิ ต ถ์ พิ ษ ณุ โ ลก เลย หนองคาย นครพนม มุ ก ดาหาร อ านาจเจริ ญ อุ บ ลราชธานี และบึ ง กาฬ มี ก ารลงทุ น ของ ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนของไทยใน สปป.ลาว ตั้งแต่ปี 2532-2557 คิดเป็นมูลค่า 4,455,364,613 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ใน 746 โครงการลงทุ น เป็ น ประเทศที่มีการลงทุนสะสมใน สปป.ลาว รองจากจีน ปัจจุบันจีนเป็นประเทศที่ลงทุนใน สปป.ลาวมาก ที่สุดทั้งยังให้ความช่วยเหลือแก่รัฐบาล สปป.ลาว เช่น โครงสร้างพื้นฐาน เขื่อนผลิ ต พลั งงานไฟฟ้า เหมืองแร่ และ ศูนย์การค้า นอกจากนี้ ยังมีการ ร่วมมือด้านการเงินของทั้งสองประเทศ และความ ร่วมมือโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟลาว-จีนด้วย ซึ่งจะทาให้ สปป.ลาวเปลี่ ยนจากประเทศที่ ไ ม่ มี ทางออกสู่ทะเลให้กลายเป็นจุดเชื่อมโยงในภูมิภาค หรื อจาก Land Lock สู่ Land Link ส่ วนเวี ยดนาม เข้ามาลงทุนใน สปป.ลาว ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนใน ภาคเกษตรกรรม และเขื่อนผลิตพลังงานไฟฟ้า
มูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศสะสมใน สปป.ลาว แยกตามประเทศ ปี 2532 – 2557 (10 อันดับแรก) Page | 2
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ประเทศ
จีน ไทย เวียดนาม เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ มาเลเซีย นอร์เวย์ สหราช 10 อาณาจักร รวม
จานวนโครงการ 830 746 421 291 223 102 16 101 6
มูลค่าเงินลงทุน (ดอลลาร์สหรัฐ) 5,396,814,087 4,455,364,613 3,393,802,891 751,072,139 490,626,243 438,242,441 434,466,484 382,238,773 346,435,550
สัดส่วน (ร้อยละ) 33.1 27.4 20.8 4.6 3.0 2.7 2.7 2.3 2.1
52
197,863,480
1.2
2,788
16,286,926,701
100.0
ที่มา : Investment Promotion Department, Lao PDR (2015)
ส าหรั บ ไทยในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา (ปี 2553 2557) มูลค่าการลงทุนสะสมของไทยใน สปป.ลาว อยู่ ที่ 1,141,135,749 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ใน 115 โครงการ เช่น การลงทุนในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ซึ่ ง มี มู ล ค่ า มากที่ สุ ด คิ ด เป็ น 502,456,313 ดอลลาร์ ส หรั ฐ รองลงมาเป็ น การท าเหมื อ งแร่ อุตสาหกรรมและหัตถกรรม และการทาการเกษตร และเกษตรแปรรูป
มูลค่าการลงทุนสะสมของไทยใน สปป.ลาว รายสาขา (2553-2557) สาขา
จานวน โครงการ
พลังงานไฟฟ้า เหมืองแร่ อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม เกษตรและเกษตรแปร รูป การค้า บริการ ก่อสร้าง โรงแรมและร้านอาหาร อุตสาหกรรมไม้ ที่ปรึกษา อื่นๆ รวม
8 6 25
มูลค่าการลงทุน (ดอลลาร์สหรัฐ) เอกชน รัฐบาล ไทย สปป.ลาว สปป.ลาว 53,914,000 280,144,860 502,456,313 8,017,718 328,683,870 4,624,355 282,600 150,485,929
836,515,173 336,701,588 155,392,884
24
2,723,784
102,032,121
17 17 2 7 4 3 2 115
10,197,141 21,923,389 32,120,530 7,722,000 17,728,000 25,450,000 3,060,000 12,940,000 16,000,000 566,000 4,424,912 4,990,912 1,210,000 2,990,000 4,200,000 605,000 615,000 1,220,000 499,999 499,999 92,639,998 281,347,460 1,141,135,749 1,515,123,207
920,000
98,388,337
Page | 3
รวม
ที่มา : สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว (2558)
การลงทุนใน สปป.ลาวของผู้ประกอบการไทยนั้น มีหลากหลายประเภททั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พลังงาน และบริการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ (1) กลุ่ม ช.การช่าง (2) บริษทั ปากซองไฮแลนด์จากัด (กลุ่มเบียร์ช้าง) (3) กลุ่ม CP (4) บริษัทน้าตาลมิตรผล / บริษัทน้าตาลสะหวัน (5) กลุม่ ปตท. (6) บริษัททีโอเอ เพ้นท์ (7) บริษัทไทยน้าทิพย์
ลงทุนโรงไฟฟ้าพลังน้า การปลูกและผลิตกาแฟ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ธุรกิจอาหาร สาเร็จรูปพัฒนาไซโลและโรงอบข้าวโพด ปลูกอ้อยและผลิตน้าตาลทราย ธุรกิจค้าปลีกน้ามัน ธุรกิจค้าปลีกในสถานีบริการ น้ามัน โรงงานผลิตสี ธุรกิจเครื่องดื่ม ผลิตเครื่องดื่มบรรจุขวด
นอกจากนี้ ยังมีบริษัทหรือธุรกิจอื่นๆ อีก ที่ไป ลงทุ น ใน สปป.ลาว เช่ น บริ ษั ท ปู น ซี เ มนต์ ไ ทย การปลู ก ยางพาราของบริ ษั ท ฮั้ ว ยางพารา LAO AGRO TECH บริ ษั ท พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมปาล์ ม น้ามันครบวงจรใน สปป.ลาว บริษัท ลาว อุตสาหกรรม-กสิกรรม จากัด เป็นบริษัทร่วมทุน ระหว่าง บริษัท ลาปางฟู้ดส์โปรดักส์ จากัด ผลิต อาหารผักและผลไม้บรรจุกระป๋อง เช่ น มะม่วงใน
5.2
น้าเชื่อม หน่อไม้ในน้าเปล่า และข้าวโพดฝักอ่อน รวมถึงธุรกิจบริการ เช่น ธนาคารที่เปิดให้บริการใน สปป.ลาว เช่ น ธนาคารกรุ ง เทพ กรุ ง ไทย ไทย พาณิชย์ กสิกรไทย กรุงศรีอยุธยา และกสิกรไทย เป็ น ต้ น คอมมิ ว นิ ตี้ ม อลล์ "วิ ว มอลล์ " และ ร้ า นอาหารของกลุ่ ม ตนานุ วั ฒ น์ และคลิ นิ ก ให้บริการเสริมความงามนิติพลคลินิก
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของการลงทุนใน สปป.ลาว
แม้ว่า สปป.ลาวมีเศรษฐกิจ ที่ มี ก ารขยายตั ว ร้อยละ 7-8 ต่อปี และเป็นประเทศที่เป็นเป้าหมาย ของนั ก ลงทุ น ทั้ ง การลงทุ น ด้ า นเกษตรกรรม
อุ ต สาหกรรม และพลั ง งานไฟฟ้ า รวมทั้ ง การมี นโยบายสนั บ สนุ น การลงทุ น จากต่ า งประเทศ อย่ า งไรก็ ต ามผู้ ป ระกอบการควรพิ จ ารณาถึ ง จุ ด อ่ อ น จุ ด แข็ ง โอกาส และอุ ป สรรคของการ ลงทุนใน สปป.ลาวซึ่งสรุปได้ดังนี้
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคใน สปป.ลาว
จุดแข็ง
มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลาย อุดมสมบรูณ์ โดยเฉพาะป่าไม้ น้า และแร่ธาตุ สถานการณ์ทางการเมืองที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ มีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลายทั้งแหล่งอารยธรรม แหล่งมรดกโลกและแหล่งท่องเที่ยวตาม ธรรมชาติ สปป.ลาวตั้งอยู่ระหว่างประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็วและเป็นตลาดขนาดใหญ่ ได้แก่ จีน เวียดนาม ไทย และกัมพูชา จึงมีความได้เปรียบในฐานะที่เป็นประตูการค้า (Land Link) สู่กลุ่มประเทศดังกล่าว นอกจากนี้ ตามแนวชายแดนระหว่าง สปป.ลาว และ กลุ่มประเทศข้างต้นยังเป็นแหล่งการค้าที่สาคัญ สปป.ลาวอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยที่สุด จึงทาให้ได้รับความช่วยเหลือจาก ต่างประเทศในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะประเด็นด้านสิทธิพิเศษทางการค้าต่างๆ
Page | 4
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคใน สปป.ลาว
จุดอ่อน
โอกาส
โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศใน สปป.ลาวยังอยู่ในช่วง เริ่มต้นของการพัฒนาและประยุกต์ใช้งานทั้งในส่วนของภาครัฐและเอกชน ทาให้ระบบ ฐานข้อมูลสาหรับการบริหารจัดการและการตัดสินใจยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขาเป็นข้อจากัดด้านคมนาคมและการขนส่งสินค้า กฎหมายต่าง ๆ ของ สปป.ลาวเป็นกฎหมายเชิงคุ้มครองมากกว่าเชิงส่งเสริม และขาด ประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย จึงทาให้ไม่คล่องตัวต่อการลงทุน ค่าเงินกีบของ สปป.ลาวขาดเสถียรภาพ และมีอัตราแลกเปลี่ยนที่ค่อนข้างผันผวนทาให้ ยากต่อการวางแผนด้านการตลาดและการลงทุน การบังคับใช้กฎหมายใน สปป.ลาวยังขาดประสิทธิภาพ อีกทั้งข้อกฎหมายด้านการลงทุน ต่างๆ ยังเป็นในลักษณะของการคุ้มครองมากกว่าเพื่อส่งเสริมการลงทุน แรงงานส่วนใหญ่ของลาวเป็นแรงงานไร้ฝีมือและมีแรงงานจานวนน้อย ตลาดในประเทศมีขนาดเล็กยังมีอานาจซื้อไม่มากนัก และยังกระจุกตัวอยู่ในบางพื้นที่ ต้นทุนการผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าต่า เพราะเป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน้าที่ สาคัญของเอเชีย เปรียบเป็น Battery of Asia อัตราค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่า อัตราค่าจ้างขั้นต่า ปี 2558 อยู่ที่ 110 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (กัมพูชา 128 ดอลลาร์สหรัฐ/ เดือน เวียดนาม 100-145 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน) มีเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะที่มีสิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุน สปป.ลาวได้รับสิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากร (Generalized System of Preferences : GSP) จากสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ซึ่งส่งผลให้การส่งออกสินค้าของ สปป.ลาว ไป ยังประเทศดังกล่าวมีอัตราภาษีที่ต่ากว่าประเทศคู่แข่ง จึงเป็นโอกาสสาหรับนักลงทุนที่จะ ใช้ สปป.ลาวเป็นฐานการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก รัฐบาลอนุญาตให้ภาคเอกชนสามารถตั้งราคาสินค้าที่สอดคล้องกับอุปทานของตลาด นักลงทุนได้รับการยกเว้นภาษีซ้าซ้อน และยกเว้นจากการนาเข้าวัตถุดิบที่จาเป็นสาหรับ การผลิตเพื่อส่งออกและได้รับการยกเว้นภาษีส่งออกตามระยะเวลาของประเภทธุรกิจ สปป.ลาวยังอยู่ระหว่างการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งด้านสาธารณูปโภค คมนาคม และ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเป็นโอกาสสาหรับผู้ประกอบการสาหรับการรับจ้าง ดาเนินการ รวมถึงโอกาสทางธุรกิจที่หลากหลายสาหรับการให้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศด้วย ภาคการเกษตรของ สปป.ลาวยังไม่ค่อยพัฒนา จึงเป็นโอกาสของผู้ประกอบการของไทยที่ มีทั้งองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการเกษตรและศักยภาพในการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์
Page | 5
อุปสรรค
จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคใน สปป.ลาว มีการกระจายอานาจจากส่วนกลางไปยังแขวงต่าง ๆ ทาให้แต่ละแขวงมีกฎระเบียบ และ แนวทางปฏิบัติในการค้าและการลงทุนที่แตกต่างกันบ้าง อาจเกิดความล่าช้าและเพิ่ม ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ การขนส่งส่วนใหญ่ใช้ทางรถทาให้มีต้นทุนการขนส่งค่อนข้างสูงและทาให้เกิดความล่าช้า เทคโนโลยียังได้รับการพัฒนาไม่มาก ทาให้การลงทุนใน สปป.ลาวต้องนาเข้าปัจจัยการ ผลิตวัตถุดิบ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องจักร การฝึกฝนทักษะแรงงานต้องใช้ระยะเวลาและเกิดต้นทุนค่าใช้จ่าย ธนาคารพาณิชย์ใน สปป.ลาวมีน้อย และส่วนใหญ่อยู่ในนครหลวงเวียงจันทน์ ทาให้ไม่ สะดวกในการใช้บริการ และมีปัญหาในการจัดหาเงินทุนจากการกู้ยืมเงินในประเทศการ หาแหล่งเงินกู้เพื่อการลงทุนใน สปป.ลาวจาเป็นต้องหาจากต่างประเทศ
Page | 6
5.3
อุตสาหกรรม / ธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและโอกาสใน สปป.ลาว
ด้วยภาวะเศรษฐกิจของ สปป.ลาวในปัจจุบันที่ เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 7-8 ต่อปี ประกอบกับนโยบาย ส่งเสริมการลงทุนของรัฐบาล ศักยภาพและโอกาส ของการลงทุนใน สปป.ลาวรวมทั้งผลประโยชน์ที่
จะได้รับจากการเข้าไปลงทุนแล้ว มีอุตสาหกรรม และธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและโอกาสใน สปป.ลาว ดังนี้
ธุรกิจโรงแรมและบริการเกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว การท่ อ งเที่ ย วใน สปป.ลาว ในปี 2557 มี นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้าไปท่องเที่ยวใน สปป.ลาว จ านวน 3.8 ล้ า นคน หรื อ จ านวนครึ่ ง หนึ่ ง ของ จานวนประชากรลาว มีรายได้จากการท่องเที่ยว ประมาณ 600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และคาดว่า ปี 2563 มีนักท่องเที่ยว 4.7 ล้านคน สร้างรายได้จาก การท่องเที่ยวประมาณ 643 ล้านดอลลาร์
นักท่องเที่ยวให้ เข้าไปเที่ยวได้จานวนมาก ธุรกิจ โรงแรม เกสตเฮ์าส้ และบริการเกี่ยวเนื่องทั้งการ ฝึกอบรมเกี่ยวกับการให้บริการด้านการท่องเที่ยว ร้ า นอาหารรองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วในเมื อ งที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย ว จึ ง เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น โอกาสสาหรับ ผู้ประกอบการไทยที่มีศักยภาพใน ธุรกิจประเภทนี้
สปป.ลาว มีทรัพยากรที่เอื้อประโยชน์ต่อการ ท่องเที่ยวที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น ความสมบูรณ์ ด้านทัศนียภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ ศาสนา ศิลป วัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตน สามารถดึงดูด
ทั้งนี้ ธุรกิจท่องเที่ยวที่น่าสนใจใน สปป.ลาว ไ ด้ แ ก่ Eco-Tourism, Cultural Tourism, Agro Tourism และธุรกิจการท่องเที่ยวใน สปป.ลาวเปิด โอกาสให้นักลงทุนต่างชาติถือหุ้นถึงร้อยละ 70
Page | 7
ธุรกิจก่อสร้าง การรับเหมา รับช่วงก่อสร้างอุตสาหกรรมก่อสร้าง Page | 8
ธุรกิจก่อสร้าง และอุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็น อีกหนึ่งธุรกิจที่น่าสนใจสาหรับผู้ประกอบการไทย เนื่ องจาก สปป. ลาวอยู่ ในยุ คของการสร้ า งและ พัฒนาสาธารณูปโภคต่างๆ มากมายที่จาเป็ นต่ อ เศรษฐกิจ เช่น ระบบการคมนาคมขนส่ง ระบบการ สื่อสาร ระบบไฟฟ้า ส่งผลให้เกิดโครงการก่อสร้าง ต่างๆ จากปัจจัยเหล่านี้ธุร กิจ รับ เหมาก่อสร้าง มี แนวโน้มขยายตัวอย่างรวดเร็ว และเป็นที่สนใจของ นั กลงทุน อย่ างมาก แต่อย่ างไรก็ดี นั กลงทุนควร ศึ ก ษาเงื่ อ นไขและข้ อ จ ากั ด เชิ ง กฎหมายก่ อ น ตั ด สิ น ใจลงทุ น โดยการประกอบธุ ร กิ จ รั บ เหมา ก่อสร้างและรับเหมาช่วงอยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วย การก่ อ สร้ า ง ฉบั บ เลขที่ 05/สพช . ลงวั น ที่ 29 พฤศจิกายน 2552 ธุร กิจ รั บ เหมาก่อสร้ าง และรั บ เหมาช่ว ง 1 ถูก กาหนดให้เป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการก่อสร้างประเภท หนึ่งภายใต้กฎหมายการก่อสร้าง โดยเริ่มตั้งแต่ก่อน การดาเนินการก่อสร้าง กล่าวคือ ก่อนดาเนิน การ ก่อสร้าง เจ้าของโครงการและนิติบุคคลซึ่งประกอบ ธุ ร กิ จ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งจะต้ อ งท าสั ญ ญารั บ เหมา ก่อสร้างที่มีเนื้ อหาเป็ น ไปตามที่กฎหมายก่อสร้า ง กาหนด และนาสัญญาดังกล่าวไปจดทะเบียนตาม กฎหมาย สปป.ลาว ในส่วนของการดาเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ผู้ ประกอบกิจการควรให้ความสาคัญ กับเงื่อนไขใน 1
ข้อมูลจากสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว (2558)
การด าเนิ น ธุ ร กิ จ โดยกฏหมายการก่ อ สร้ า งได้ ก าหนดเงื่ อ นไขเฉพาะส าหรั บ ผู้ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ การก่ อ สร้ า งไว้ ห ลายประการ กล่ า วคือ ห้ า มด าเนิ น การกิ จ การก่ อ สร้ า งนอกเหนื อ จาก ประเภทที่ได้ขึ้นทะเบียนวิส าหกิจ หรือทะเบีย น สัมปทานไว้ดาเนินการก่อสร้างตามแบบก่อสร้าง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ท า ง เ ท ค นิ ค มี ม าตรการรั ก ษาความปลอดภั ย และรั ก ษา สิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คม ห้ า มขาย หรื อ มอบโอน โครงการก่อสร้างให้กับบุคคลอื่น เว้นเสียแต่ได้รับ อนุญาตจากเจ้าของโครงการ ห้ามขุดดิน หรือถม ดินนอกพื้นที่ที่ได้ก าหนดในเวลาการด าเนิ น การ ก่อสร้าง เว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งด าเนิ น การตามที่ ก าหนดในสั ญ ญา รับเหมาก่อสร้างห้ามตัดไม้เพื่อนามาเป็นไม้ค้าแบบ โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต ไ ม่ ด า เ นิ น ก า ร ใ ด ๆ ที่ละเมิดกฎหมาย นอกจากเงื่อนไขเฉพาะตามที่กล่าวมาข้างต้น แล้ ว กฎหมาย สปป.ลาวยั ง ได้ ก าหนดเงื่ อ นไข เพิ่มเติมอื่นๆ ที่บริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างต้องปฏิบัติ โดยหากมี ก ารละเมิ ด เงื่ อ นไขดั ง กล่ า ว บริ ษั ท ผู้รับเหมาก่อสร้างอาจถูกดาเนินคดีทางแพ่ง และ/ หรือทางอาญา รวมถึงอาจถูกเรียกค่าปรับได้
ธุรกิจโรงพยาบาล Page | 9
ปัจจุบันชาวลาวนิยมเดินทางไปใช้บริการทาง การแพทย์ในต่า งประเทศโดยเฉพาะประเทศไทย แม้ว่านักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในธุรกิจบริการ ทางการแพทย์ใน สปป.ลาวเพิ่มขึ้น ธุรกิจบริการ ทางการแพทย์ใน สปป.ลาวจึงยังมีโอกาสขยายตัว ได้ อี ก มาก โดยเฉพาะการรั ก ษาพยาบาลที่ ไ ด้ มาตรฐานเป็ น ที่ย อมรับ ในระดับ สากล ทั้งนี้ การ ลงทุนธุรกิจโรงพยาบาลเป็นการลงทุนที่มีมูลค่าการ ลงทุนค่อนข้างสูงไม่เหมาะสาหรับผู้ประกอบการ/ นักลงทุน รายย่อย นักลงทุนจึงควรศึกษาข้อมูลให้ ละเอียดก่อนตัดสินใจลงทุน
อย่ า งไรก็ ต าม กฎหมายของ สปป.ลาวเปิ ด โอกาสให้นักลงทุนต่างชาติสามารถเข้ามาลงทุนใน ธุ ร กิ จ โรงพยาบาลเอกชนได้ ทั้ ง นี้ สปป.ลาว ก าหนดให้ ธุ ร กิ จ โรงพยาบาลเอกชนเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ได้รับการส่งเสริมตามกฎหมายส่งเสริมการลงทุน ซึ่ ง นั ก ลงทุ น จะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ อาทิ การ ยกเว้นภาษีกาไรหรือภาษีนาเข้าสินค้าที่เกี่ ยวข้อง กับการดาเนินธุรกิจ
ธุรกิจขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ ผู้ประกอบการขนส่งไทยควรใช้โอกาสจากการ เปิด AEC ขยายกิจการไปยังประเทศเพื่อนบ้านซึ่ง ยังขาดความสามารถด้านโลจิสติกส์ เพื่อเป็ นการ รองรับธุรกิจอื่นๆ ของไทยที่จะเข้าไปขยายตลาด ด้วย ทั้งนี้ธุรกิจขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ ถือเป็น ธุร กิจ หนึ่ งที่จ ะเป็ น โอกาสส าหรั บ ผู้ ป ระกอบการ ไทย เนื่องด้วย นโยบายภาครัฐส่งเสริ มให้ สปป. ลาวเป็ น “Landlink” เชื่อมต่อการขนส่ งทางบก กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ผู้ ป ระกอบการขนส่ ง ใน สปป.ลาวที่มีความพร้ อมด้านการบริ ห ารจั ด การ เครื่องมือ บุคลากร และเงินลงทุน ยังมีจานวนไม่ มาก อี ก ทั้ ง สปป.ลาวได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ เงิ น
ลงทุนพัฒ นาโครงสร้ างพื้ นฐานจากต่า งประเทศ ด้วย ปัจจุบันมีบริษัทไทยไปประกอบธุรกิจด้านโลจิ สติ ก ส์ แ ละขนส่ ง ในประเทศเพื่ อ นบ้ า นแล้ ว เช่น เครือซีเมนต์ไทยได้เข้าไปทาธุรกิจด้านขนส่งและโล จิสติกส์ใน สปป.ลาว อย่างไรก็ตาม ยังขาดแคลน บุ ค ลากรด้ า นการจั ด การด้ า นการขนส่ ง อาทิ พนักงานขับรถบรรทุก ดังนั้น ต้องพัฒนาพนักงาน โดยการจัดฝึกอบรม การสอบใบอนุญาตขับ รถบรรทุกระหว่างประเทศ การพัฒนาด้านภาษา เป็นต้น นอกจากนี้ กฎระเบียบในประเทศดังกล่าว ยังขาดความชัดเจน เช่น การกาหนดน้าหนักสินค้า
บรรทุกในการผ่านเข้า-ออก ดังนั้น ผู้ประกอบการ จึ ง ต้ อ งติ ด ตามกฎระเบี ย บด้ า นการขนส่ ง อย่ า ง
สม่ าเสมอ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น กั บ ผู้ ใ ห้ บริการโลจิสติกส์รายอื่นๆ
ธุรกิจเกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร Page | 10
อุตสาหกรรมการเกษตรเป็นโอกาสที่น่าสนใจ การเกษตรของ สปป.ลาวยั ง ไม่ ค่ อ ยได้ รั บ การ พัฒนามากนัก เกษตรกรลาวยังทาการเกษตรแบบ ยั งชีพ พึ่งพิงธรรมชาติ ลงทุน น้ อย ดังนั้ น หากมี การร่วมทุนในอุตสาหกรรมการเกษตรร่ว มกัน ใน รูปแบบเกษตรแบบมีสัญญา (Contract Farming) ย่อมก่อให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกัน และนั ก ลงทุ น ไทยจะสามารถใช้ ป ระโยชน์ จ าก ทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ของสปป.ลาว อย่างไรก็ดี นักลงทุนไทยควรมีแผนดาเนินงานเป็นขั้นตอน มี การฝึกอบรมเกษตรกรลาวเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ
ในการผลิ ต และนั ก ลงทุ น ควรค านึ ง ถึ ง ความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม และผลกระทบทางด้ า น สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ด้วย นอกจากนี้ ธุ ร กิ จ หรื อ กิ จ กรรมการผลิ ต ที่ น่ า สนใจ ได้ แ ก่ การผลิ ต และการแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตรที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น เกษตร อินทรีย์ การแปรรูปผลิตผลจากป่า การบริการทาง การเกษตรโดยใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกลขนาดเล็ ก ใช้ เทคโนโลยีอย่างง่าย เป็นต้น
ธุรกิจอู่ซ่อมรถยนต์และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการเกี่ยวกับรถยนต์ ธุรกิจประเภทนี้ไทยมีศักยภาพและได้เปรียบ คู่ แ ข่ ง เพราะเป็ น ฐานการผลิ ต ชิ้ น ส่ ว น อุ ป กรณ์ รถยนต์และส่งออกไปทั่วโลก รวมถึ งมีช่างฝี มือที่ เชี่ยวชาญ จึงควรเร่งผลักดันกลุ่มธุรกิจนี้ให้มีการ ขยายฐานการผลิ ต ออกไป ประกอบปั จ จุ บั น เศรษฐกิจของ สปป.ลาวมีอัตราการเติบโตเพิ่มมาก ขึ้น เนื่องจากประชากรลาวเริ่มมีกาลังซื้อมากขึ้น
ดังนั้น ธุรกิจอู่ซ่อมรถยนต์และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ร ถ ย น ต์ จึงเป็นโอกาสที่จะรองรับการขยายตัวของปริมาณ รถยนต์ ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจของ สปป. ลาว นอกจากนั้ น ผู้ ป ระกอบการยั ง มี โ อกาสได้ ดาเนินธุรกิจ หรือให้ บริการชาวต่า งชาติ ที่ อ ยู่ ใ น สปป.ลาวอีกด้วย
5.4
อัตราภาษีใน สปป.ลาวที่เกี่ยวข้องกับนักลงทุนต่างชาติ2
สปป.ลาวมีการจัดเก็บภาษีอากรที่ต้องคานวณ และเรียกเก็บเป็นสกุลเงินกีบเท่านั้น โดย สปป.ลาว ลงนามในอนุสั ญญาเพื่อยกเว้น การเก็บภาษี ซ้ อน (The Avoid of Double Taxation) กั บ ประเทศ
ไทย เริ่ ม ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2531 ท าให้ รายได้ต่างๆ ที่ผู้ประกอบธุรกิจชาวไทยได้รับจาก การดาเนินธุรกิจใน สปป.ลาวไม่มีปัญหาเรื่องภาษี ซ้อน
ระบบภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจชาวต่างชาติใน สปป.ลาว ประเภทภาษี อัตราภาษี หมายเหตุ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporation Tax) 24% หรือไม่เกิน 20% สาหรับธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริม การ ลงทุน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 0 - 24% ใช้อัตราเดียวกัน ทั้งคนลาวและคนต่างประเทศ (Personal Income Tax) ภาษีการค้า (Business Turnover Tax) 10% เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการขายสินค้าตั้งแต่ขาย ส่งจาก โรงงานถึงผู้ค้าปลีกจัดเก็บจากบริษัทต่างชาติที่ไม่อยู่ใน ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) 10% ใช้กับทุกประเภทสินค้าไม่มีการจาแนก ภาษีศุลกากร 0 - 40% ขึ้ น อยู่ กั บ ประเภทสิ น ค้ า มี ทั้ ง ภาษี น าเข้ า และภาษี (Import and Export Duty) ส่งออก ภาษีสรรพสามิต หรือภาษีชมใช้ (Excise 5 - 150% เก็บจากการนาเข้าสินค้าฟุ่มเฟือย หรือกรณีผลิตสินค้า Tax) ภายในประเทศจะคิดจากมูลค่าสินค้า ภาษีกาไร (Profit Tax) 0 - 24% -
2
ปรับปรุงข้อมูลจากศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์, สปป.ลาว (2558)
Page | 11
1)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
คานวณจากรายได้บางประเภท เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ และรายได้จากการให้กู้ยืม หรือ เงินปันผล สาหรับบุคคลหรือนิติบุคคลไม่ว่าจะเป็นสัญชาติ สปป.ลาว หรือนักธุรกิจชาวต่างชาติ และมีรายได้ ระหว่างปีภาษี มีหน้าที่เสียภาษีรายได้ตามอัตราภาษีก้าวหน้าบนฐานการคานวณเดียวกันโดยตั้งแต่วันที่ 1 ตุ ล าคม 2555 เป็ น ต้ น ไป สปป.ลาวก าหนดให้ ผู้ เ สี ย ภาษี ใ ช้ อั ต ราภ าษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดาใหม่ ซึ่งลดลงจากเดิมเป็นร้อยละ 0-24 ร้อยละ 5 และร้อยละ 10 ของรายได้ ขึ้นอยู่กับแหล่งที่มา (1)
อัตราภาษีตั้งแต่ร้อยละ 0 ถึง ร้อยละ 24
กรณีรายได้จากเงินเดือน ค่าแรง ค่าล่วงเวลา เงินประจาตาแหน่ง เงินบาเหน็จประจาปี เบี้ยประชุม และ ผลประโยชน์อื่นๆ ที่เป็นเงิน หรือวัตถุตามฐานรายได้แต่ละขั้น ดังนี้ ขั้น
ฐานเงินเดือนแต่ละขั้น
1 2 3 4 5 6 7
ตั้งแต่ 1,000,000 กีบลงมา ตั้งแต่ 1,000,001 – 3,000,000 กีบ ตั้งแต่ 3,000,001 – 6,000,000 กีบ ตั้ ง แ ต่ 6,000,001 – 12,000,000 ตักีบ้ ง แต่ 12,000,001 – 24,000,000 ตักีบ้ ง แต่ 24,000,001 – 40,000,000 ตักีบ้งแต่ 40,000,001 กีบขึ้นไป
ฐานการคานวณ อัตราภาษี 1,000,000 กีบ 2,000,000 กีบ 3,000,000 กีบ 6,000,000 กีบ 12,000,000 กีบ 16,000,000 กีบ ............................
ภาษี ภาษีแต่ละขั้น
ภาษีทั้งหมดที่ ต้องจ่าย 0% 0 กีบ 0 กีบ 5% 100,000 กีบ 100,000 กีบ 10% 300,000 กีบ 400,000 กีบ 12% 720,000 กีบ 1,120,000 กีบ 15% 1,800,000 กีบ 2,920,000 กีบ 20% 3,200,000 กีบ 6,120,000 กีบ 24% ......................... .........................
Page | 12
แหล่งที่มาของรายได้ที่ต้องเสียภาษีในอัตราภาษีที่ร้อยละ 5 และ 10 อัตราภาษี ร้อยละ 10
ร้อยละ 5
2)
แหล่งที่มาของรายได้ รายได้จ ากดอกเบี้ยเงิน กู้ ค่านายหน้า หรือตัว แทนของบุคคล หรือนิติบุคคล รายได้จากการค้าประกันที่ได้รับตามสัญญา หรือข้อผูกพันอื่นๆ รายได้จากการประกอบ กิจ การในลั กษณะองค์กรของรัฐ ศูนย์กลางแนวลาวสร้างชาติ องค์กร มหาชน และ องค์กรด้านสังคม รายได้ จ ากรางวั ล สลากกิ น แบ่ ง ไม่ ว่ า เป็ น เงิ น หรื อ วั ต ถุ ที่ มี มู ล ค่ า เกิ น กว่ า 1,000,000 กีบ รายได้จากการให้ เช่า เช่นที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง พาหนะ เครื่องจักรหรือ ทรัพย์สินอื่นๆ รายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา เช่น สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า หรือ สิทธิอื่นๆ ของบุคคลหรือนิติบุคคล รายได้จากการซื้อขาย การโอนสิทธิใช้ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง หรือที่ดินพร้อมสิ่งปลูก สร้าง นอกเหนือมาตรา 46 (รายได้ที่ได้รับการยกเว้นอากร) ข้อ 18 ของกฎหมายว่าด้วย ส่วยสาอากรฉบับปรับปรุง ปี 2555
ภาษี ก ารค้ า หรื อ อากรตั ว เลขธุ ร กิ จ (Business Turnover Tax)
เป็นภาษีที่เก็บจากการขายสินค้าตั้งแต่การขาย ส่งจากโรงงานจนถึงผู้ค้าปลีก จัดเก็บในอัตรา 10% จ า ก ก า ร น า เ ข้ า สิ น ค้ า วั ต ถุ สิ่ ง ข อ ง ม า จ า ก ต่างประเทศ และการสนองสินค้าหรือการบริการ อยู่ภายใน ประเทศจากหน่วยธุรกิจที่ไม่เข้าอยู่ใน ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม 3)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ส าหรั บ การน าเข้ า หรื อ ขาย สินค้าและบริการภายใน สปป.ลาว จัดเก็บในอัตรา ร้ อยละ 10 ไม่มีการจ าแนกประเภท โดยองค์ ก ร ธุ ร กิ จ ที่ มี ร า ย ไ ด้ ต่ อ ปี ตั้ ง แต่ 400,000,000 กี บ (ประมาณ1,600,000
บาท) ขึ้ น ไป จะต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ ข้ อ บั ง คั บ การจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 4)
ภ า ษี ศุ ล ก า ก ร (Import and Export Duty)
กฎหมายว่าด้ว ยศุล กากรก าหนดการจั ด เก็ บ ภาษีศุลกากรสาหรับนาเข้าและส่งออกสินค้า และ บริการเข้าและออกจาก สปป.ลาว ทั้งนี้ กฎหมาย ดั ง กล่ า วอยู่ ร ะหว่ า งปรั บ ปรุ ง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การจั ด เก็ บ ภาษี ศุ ล กากร รวมทั้ ง อั ต ราการ จั ด เก็ บ ที่ ไ ด้ ท าความตกลงภายใต้ ส นธิ สั ญ ญา ระหว่างประเทศเกี่ ยวกับการค้าเสรี สามารถหา ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอัตราภาษีของสินค้าแต่ละ ประเภท ได้ที่กรมภาษี กระทรวงการเงิน สปป.ลาว (http://www.laocustoms.laopdr.net/)
Page | 13
5)
ภาษีสรรพสามิต หรือภาษีชมใช้ (Excise Tax)
เป็นภาษีที่เก็บจากการนาเข้าการผลิตภายในประเทศ และการให้บริการในกลุ่มผลิตภัณฑ์ฟุ่มเฟือย ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิคส์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ผลิตภัณฑ์เสริมความงาม และ ยานพาหนะ อัตราจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ตามมาตรา 20 ของกฎหมายว่าด้วยการเสียภาษีฉบับปรับปรุงปี 2555
อัตราภาษีสรรพสามิต หรือภาษีชมใช้ (Excise Tax) ประเภทสินค้า น้ามันเชื้อเพลิง แอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ อื่นๆ
รายการ น้ามันเบนซินพิเศษ น้ามันเบนซินธรรมดา น้ามันดีเซล เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 90 ดีกรี ขึ้นไป เบียร์ เหล้า ไวน์ หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ต่ากว่า 50 ดีกรี น้าอัดลมและเครื่องดื่มบารุงกาลัง บุหรี่สาเร็จรูป น้าหอมและเครื่องสาอาง
อัตราภาษีสรรพสามิต (ร้อยละ) 23 20 10 40 30 20 30 10
ที่มา : Tax Department, Ministry of Finance, Lao PDR (2015)
6)
ภาษีกาไร (Profit Tax)
ภาษี ก าไร (Profit Tax) ค านวณจากก าไรที่ เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นองค์กร ธุ ร กิ จ สั ญ ชาติ ล าวหรื อ ชาวต่ า งชาติ โดยให้ แ บ่ ง ช าระเป็ น 4 งวดต่ อ ปี ส าหรั บ อั ต ราภาษี ก าไร นั บ ตั้งแต่วัน ที่ 1 ตุล าคม 2555 เป็ น ต้น ไป ให้ นิติ บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป แ ล ะ ผู้ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ อิ ส ร ะ
คานวณที่อัตราก้าวหน้าตั้ งแต่ร้ อยละ 0-24 ของ กาไรที่องค์กรธุรกิจนั้นๆ ได้รับ เว้นแต่เป็นบริษัทที่ จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ จ ะได้ รั บ การลด อัตราภาษีกาไรลงร้อยละ 5 เป็นระยะเวลา 4 ปี นับจากวันที่จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์
Page | 14
ตารางคานวณอัตราภาษีกาไร ขั้น 1 2 3 4 5 6
5.5
ฐานกาไรแต่ละขั้น
ฐานการคานวณ อัตรา อากรกาไร อากร แต่ละขั้น ตั้งแต่ 3,600,000 กีบลงมา 3,600,000 กีบ 0% 0 กีบ ตั้งแต่ 3,600,001 – 8,000,000 กีบ 4,400,000 กีบ 5% 220,000 กีบ ตั้งแต่ 8,000,001 – 15,000,00 กีบ 7,000,000 กีบ 10% 700,000 กีบ ตั้งแต่ 15,000,001 – 25,000,000 10,000,000 กีบ 15% 1,500,000 กีบ ตักีบ้งแต่ 25,000,001 – 40,000,000 15,000,000 กีบ 20% 3,000,000 กีบ ตักีบ้งแต่ 40,000,001 กีบขึ้นไป ........................... 24% .........................
อากรทั้งหมดที่ ต้องจ่าย 0 กีบ 220,000 กีบ 920,000 กีบ 2,420,000 กีบ 5,420,000 กีบ .........................
ค่าใช้จ่ายสาหรับการดาเนินธุรกิจ สปป.ลาว ในปี 2558 ต้นทุนด้านแรงงาน ค่าแรง และอัตราเงินเดือน
นอกจากอัตราเงินเดือนภาครัฐแล้ว สปป.ลาว ยั ง ไม่ มี บ รรทั ด ฐานค่ า แรงอย่ า งชั ด เจนมากนั ก ถึ ง แม้ รั ฐ จะก าหนดอั ต ราค่ า แรงขั้ น ต่ าส าหรั บ แรงงานไร้ ฝี มื อ ไว้ ที่ 626,000 กี บ หรื อ ประมาณ 2,500 บาทต่อเดือน แต่ในทางปฏิบัติแล้ว มักไม่ สามารถใช้อัตราจ้างดังกล่าวได้จริง
ปัจจุบันอัตราค่าแรงภาคเอกชนลาวขั้นต่าจะ อยู่ ร าว 100 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ซึ่ ง มั ก จะน้ อ ยกว่ า ค่าแรงภาคเอกชนไทย ขณะที่พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลาวระดับทั่วไปได้ค่าแรงน้อยกว่าภาคเอกชนลาว ประมาณ 2 เท่า
Page | 15
ค่าแรงภาคเอกชนลาว ระดับ ผู้จัดการทั่วไป รองผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการฝ่าย บัญชี-การเงิน พนักงานทั่วไป แม่บ้าน พนักงานรักษาความปลอดภัย คนขับรถ ช่างไฟฟ้า / เครื่องจักร
อัตราเงินเดือน (ดอลลาร์สหรัฐ) 200 – 1,000 200 – 800 800 120-800 100 – 300 180 100 – 180 100- 200 100
หมายเหตุ โบนัส 1 เดือน -
ค่าแรงภาคเอกชนไทย (ธุรกิจข้ามชาติ) ระดับ ผู้จัดการทั่วไป รองผู้จัดการทั่วไป บัญชี-การเงิน พนักงานทั่วไป แม่บ้าน พนักงานรักษาความปลอดภัย คนขับรถ คนทาสวน
อัตราเงินเดือน (ดอลลาร์สหรัฐ) 1,800 – 2,500 1,500 - 1,800 275-300 300-700 250 480 - 500 200 - 250 70- 100
หมายเหตุ โบนัส 1-2 เดือน โบนัส 1-2 เดือน Outsource Outsource -
Page | 16
ค่าสาธารณูปโภค 1)
ค่าน้าประปา
Page | 17
รัฐวิสาหกิจน้าประปานครหลวงคิดค่าน้าประปาในนครหลวงเวียงจันทน์ในปี 2558 ตามประเภทและ ปริมาณการใช้น้า ดังนี้ *ราคา/ลูกบาศก์เมตร (2558) LAK THB USD
ประเภท ประเภทที่ 1 : ผู้ใช้น้าภายในครัวเรือน - ใช้น้าตั้งแต่ 1 – 10 ลบ.ม. - ใช้น้าตั้งแต่ 11 – 30 ลบ.ม. - ใช้น้าตั้งแต่ 31 – 50 ลบ.ม. - ใช้น้าตั้งแต่ 51 ลบ.ม. ขึ้นไป ประเภทที่ 2 : หน่วยงานภาครัฐ สถานทูต องค์การนานาชาติ ประเภทที่ 3 : องค์กรธุรกิจการค้า โรงแรม ร้านอาหาร โรงงาน น้าดื่ม น้าแข็ง
1,339 1,854 2,369 2,884 2,369 2,884
5.36 7.42 9.48 11.54 9.48 11.54
0.17 0.23 0.30 0.36 0.30 0.36
*คานวณจากอัตราแลกเปลี่ยน 250 กีบ/ 1 บาท และ 8,000 กีบ / 1 ดอลลาร์สหรัฐ ราคาน้าประปาในแขวงอื่นๆ ขึ้นอยู่กับอัตราท้องถิ่นในแขวงนั้นๆ
2)
ค่าไฟฟ้า รัฐวิสาหกิจการไฟฟ้าลาวกาหนดอัตราค่าไฟฟ้ารายเดือนประเภทแรงดันต่าสาหรับที่อยู่อาศัย ตั้งแต่ปี 2557 – 2560 ไว้ดังนี้ หน่วย : กีบ
ขนาดกาลังไฟฟ้า(กิโลวัตต์/ชั่วโมง) 0-25 KWH ขนาดกาลั งไฟฟ้า (กิโลวัตต์/ 25-150 KWH ชั่วโมง)า 150 KWH มากกว่
2557 334 398 960
2558 341 405 979
2559 348 414 999
2560 355 422 1,019
อัตราค่าไฟฟ้ารายเดือนสาหรับหน่วยงานหรือธุรกิจประเภทอื่นๆ โดยรัฐวิสาหกิจการไฟฟ้าลาว กาหนด อัตราค่าไฟฟ้าตั้งแต่ปี 2557 – 2560 ไว้ดังนี้ หน่วย : กีบ
ประเภทธุรกิจ องค์การสากล ธุรกิจบริการ ไฟฟ้าชั่วคราว ธุรกิจศึกษา และกีฬา ธุรกิจบันเทิง กิจการที่รัฐบริหาร กสิกรรม ชลประทาน อุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ ไฟฟ้าชั่วคราว ธุรกิจศึกษา และกีฬา ธุรกิจบันเทิง กิจการที่รัฐบริหาร กสิกรรม ชลประทาน อุตสาหกรรม (ต่ากว่า 5 MW) อุตสาหกรรม (สูงกว่า 5 MW) ทุกประเภท
2557 แรงดันต่า 1,338 1,037 815 1,374 815 496 734 แรงดันกลาง 881 692 1,305 692 422 624 673 แรงดันสูง 673
2558
2559
2560
1,365 1,058 831 1,401 831 506 749
1,392 1,079 848 1,429 848 516 764
1,420 1,101 865 1,458 865 526 779
898 706 1,331 706 431 636 687
916 720 1,358 720 439 649 700
935 734 1,385 734 448 622 714
687
700
714
Page | 18
3)
ค่าโทรศัพท์ ลาดับที่
1
2
ประเภทบริการ ราคา อัตราค่าใช้บริการโทรศัพท์มือถือ ( Mobile Phone Service) บริการแบบรายเดือน ( Post Paid Service) - โทรภายในประเทศ/Domestic Call - โทรต่างประเทศ/International Call - ส่ง SMS ในเครือข่าย (LTC) - ส่ง SMS ภายในประเทศ - ส่ง SMS ไปต่างประเทศ - ค่าบริการรายเดือน บริการแบบเติมเงิน (Pre Paid Service) - โทรภายในประเทศ/Domestic Call - โทรต่างประเทศ/International Call - ส่ง SMS ในเครือข่าย (LTC) - ส่ง SMS ภายในประเทศ - ส่ง SMS ไปต่างประเทศ
300 กีบ/นาที 2,000 กีบ/นาที(Zone A) 100 กีบ/ครั้ง 200 กีบ/ครั้ง 500 กีบ/ครั้ง 25,000 กีบ/เดือน 800 กีบ/นาที 2,000 กีบ/นาที (Zone A) 100 กีบ/ครั้ง 200 กีบ/ครั้ง 500 กีบ/ครั้ง
อัตราค่าใช้บริการโทรศัพท์พื้นฐานแบบรายเดือน (Basic Telephone Service) 3
- โทรภายในประเทศ/Domestic Call โทรภายในเครือข่าย (LTC) โทรไปยังเครือข่ายอื่น - โทรต่างประเทศ/International Call - ค่าบริการรายเดือน
250 กีบ/นาที 350 กีบ/นาที 2,000 กีบ/นาที (Zone A) 15,000 กีบ/เดือน
อัตราค่าใช้บริการโทรศัพท์พื้นฐานแบบเติมเงิน วินโฟน (Win Phone Service) 4
- โทรภายในประเทศ/Domestic Call โทรภายในเครือข่าย (LTC) โทรไปยังเครือข่ายอื่น - โทรต่างประเทศ/International Call
250 กีบ/นาที 350 กีบ/นาที 2,000 กีบ/นาที (Zone A)
หมายเหตุ : โทรต่างประเทศ/International Call แบ่งออกเป็น 5 Zone ทุกบริการใช้อัตราค่าใช้บริการเดียวกันดังนี้ Zone A =2,000 กีบ/นาที, Zone B = 5,000 กีบ/นาที, Zone C =10,000 กีบ/นาที, Zone D =20,000 กีบ/นาที, Zone E = 50,000 กีบ/นาที
Page | 19
4)
ค่าอินเทอร์เน็ต
ค่าเช่าสาย Leased Line (MPLS) Page | 20
ลาดับที่
ความเร็ว
ค่าติดตั้ง
1 2 3 4
512Kbps 1Mbps 2Mbps >2Mbps
4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000
ค่าบริการอินเทอร์เน็ต/ เดือน 2,500,000 4,000,000 6,400,000 3,000,000/1Mbps
ค่าบริการรับส่งข้อมูล/ เดือน 1,300,000 3,000,000 4,500,000 2,000,000/1Mbps
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านเคเบิลใยแก้วนาแสง ความเร็ว 1 - 5 Mbps ชาระ ล่วงหน้า 1 Mbps 1 เดือน 320,000 3 เดือน 900,000 6 เดือน 1,680,000 12 เดือน 3,240,000 ความเร็ว 6 - 10 Mbps ชาระ ล่วงหน้า 6Mbps 1 เดือน 1,800,000 3 เดือน 5,040,000 6 เดือน 9,720,000 12 เดือน 18,000,000
2Mbps 640,000 1,800,000 3,360,000 6,480,000
ความเร็ว / ราคา 3Mbps 960,000 2,700,000 5,040,000 9,720,000
4Mbps 1,280,000 3,600,000 6,720,000 12,960,000
5Mbps 1,500,000 4,200,000 8,100,000 15,000,000
7Mbps 2,100,000 5,880,000 11,340,000 21,000,000
ความเร็ว / ราคา 8Mbps 2,400,000 6,720,000 12,960,000 24,000,000
9Mbps 2,700,000 7,560,000 14,580,000 27,000,000
10Mbps 2,500,000 7,200,000 7,200,000 26,400,000
หมายเหตุ : ราคาไม่รวมค่าติดตั้ง ค่าโมเด็ม และค่าเดินสายเคเบิล ซึ่งอาจมีหรือไม่มี แล้วแต่ประเภทของความเร็ว และ ระยะเวลาในการชาระล่วงหน้า
ค่าเช่าที่ดิน3 ตามรัฐบัญญัติของประธานประเทศ สปป.ลาว ว่าด้วยอัตราค่าเช่าและค่าสัมปทานที่ดินของรัฐ ลง วันที่ 8 พฤศจิกายน 2552 กาหนดค่าเช่ าและค่า สัมปทานที่ดินของ สปป.ลาวโดยจะขึ้นอยู่กับสถาน ที่ตั้งทางด้านภูมิศาสตร์สภาพเศรษฐกิจสังคมของ แต่ละเขต และขึ้นกับนโยบายส่งเสริมของรั ฐตาม โครงสร้างเศรษฐกิจ
เขตที่ 1 เขตที่ไม่มีโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ที่อานวยความสะดวกแก่การลงทุน เขตที่ 2 เขตที่มีโ ครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สามารถรองรับการลงทุนได้ส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว เขตที่ 3 เขตมีโครงสร้างพื้นฐานรองรับการลงทุนดี มากแล้วสาหรับอัตราค่าเช่าและค่าสัมปทานที่ดิน ของรัฐเพื่อกิจการต่างๆ กาหนดเอาไว้ ดังนี้
อัตราค่าเช่าที่ดินของรัฐเพื่อกิจการอุตสาหกรรม ลาดับ
เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ
1
โรงงานผลิตยารักษาโรค ผลิตอุปกรณ์การแพทย์ ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขอนามัย โรงงานอุปกรณ์การศึกษา เครื่องกีฬา เครื่องดนตรี ของเล่นเด็ก โรงพิมพ์จาหน่าย และสื่อสิ่งพิมพ์ โรงงานผลิตวัสดุก่อสร้างประเภทต่างๆ โรงจักรไฟฟ้าพลังน้า สถานีจ่ายไฟฟ้า โรงงานฆ่าสัตว์ แปรรูปอาหาร เครื่องดื่มที่ ไม่มีแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม ผลิตเครื่องมือเกษตรกรรม หัตถกรรม โรงงานผลิตเส้นด้าย เส้นใย ผ้าผืนและตัดเย็บ โรงงานผลิตเครื่องใช้สานักงาน เครื่องจักรสมองกล โรงงานผลิตเครื่องจักรกล พาหนะขนส่งและอะไหล่ โรงงานผลิตและประกอบเครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า วิทยุ โทรทัศน์ อุปกรณ์การ สื่อสาร
2 3 4 5 6 7 8 9 10
3
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 100 200 300 100
200
400
100 100 100 100
200 200 300 200
400 400 500 300
200 200 200 200
300 300 300 400
600 600 600 600
ข้อมูลจากรอบรูเ้ รื่องการลงทุนในอาเซียน :สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)
Page | 21
ลาดับ 11 12 13 14 15 16 17
เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ โรงงานไฟฟ้าถ่านหิน โรงงานแปรรูปแร่ธาตุที่ไม่ใช่โลหะ เชื้อเพลิง ถ่าน หิน และโรงงานแปรรูปโลหะเบื้องต้น ผลิตภัณฑ์ โลหะ และโรงงานผลิตปูนซีเมนต์ โรงงานแปรรูปยางไม้ ผลิตกระดาษ หนังสัตว์ โรงงานเกี่ยวกับการแปรรูปใหม่ โรงงานแปรรูปเคมี ผลิตภัณฑ์เคมี ผลิตภัณฑ์ พลาสติก โรงงานแปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์ที่ทาจากไม้และ หวาย เฟอร์นิเจอร์ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยาสูบและ เครื่องดื่ม ประเภทที่มีแอลกอฮอล์
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 200 400 600 200 400 600 200 100 500
300 200 800
400 400 1,000
500
1,000
2,000
1,000
2,000
3,000
สาหรับค่าเช่าที่ดินของรัฐเพื่อขอผ่านเสาสายไฟฟ้าแรงสูง มอบให้รัฐบาลเป็นผู้ตกลงตามแต่ละกรณี สาหรับเสาสายไฟฟ้าแรงสูงของผู้ลงทุนที่ทาเขื่อนไฟฟ้าใน สปป.ลาวให้ยกเว้นค่าเช่าที่
อัตราค่าเช่าที่ดินของรัฐ เพื่อใช้ในกิจการบริการ ในเขตท่องเที่ยววัฒนธรรม ธรรมชาติ และประวัติศาสตร์ ลาดับ 1 2 3 4
เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ ระดับหมู่บ้าน ระดับเมือง ระดับแขวง ระดับชาติ
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 70 100 200 100 200 300 200 300 400 300 400 500
Page | 22
อัตราค่าเช่าที่ดินของรัฐเพื่อก่อสร้างกิจการ การบริการ และที่อยู่อาศัย ลาดับ
เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ
1
กิจการบริการที่มีลักษณะเพื่อสาธารณประโยชน์ เช่น สวนสาธารณะ โรงเรียน โรงพยาบาล สนามเด็กเล่น และศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ ปลูกสร้างบ้าน และอาคารเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย กิจการบริการที่มีลักษณะส่วนบุคคล เช่น ธนาคาร ห้างสรรพสินค้า กิจการปลูกสร้างบ้านจัดสรร บ้านพัก ร้านอาหาร ภัตตาคาร ศูนย์การประชุมสานักงาน กิจการพัฒนาโครงสร้าง เช่น โทรคมนาคม ตลาด สถานีจอดรถผู้โดยสาร สถานีขนส่งสินค้า และระบบ โกดังสินค้า กิจการบริการที่มีลักษณะส่วนบุคคล เช่น โรงแรม รี สอร์ท สถานบันเทิง
2 3 4 5 6
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 100 300 500 300 500
500 10,000
1,000 50,000
1,000
5,000
10,000
3,000
5,000
10,000
5,000
10,000
70,000
อัตราค่าสัมปทานที่ดินของรัฐเพื่อกิจการเกษตรกรรม ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7
เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ กิจการปลูกพืชล้มลุก และพืชเป็นอาหาร กิจการเลี้ยงสัตว์ใหญ่ เช่น วัว ควาย แพะ แกะ และ อื่นๆ กิจการปลูกไม้ผล และพืชยืนต้น กิจการปลูกพืชเศรษฐกิจ กิจการปลูกเครื่องป่าของนาและพืชสมุนไพร กิจการเลี้ยงสัตว์ปีก และสัตว์เล็กอื่นๆ กิจการเลี้ยงสัตว์น้า
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 5 10 15 5
10
20
5 6 7 10 10
10 10 15 15 20
20 20 25 25 30
Page | 23
อัตราค่าสัมปทานที่ดินของรัฐเพื่อกิจการปลูกไม้ ลาดับ 1 2 3
เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ กิจการปลูกไม้เศรษฐกิจ 10 ปี ขึ้นไป กิจการปลูกไม้โตเร็ว ไม่เกิน 10 ปี กิจการปลูกยางพารา
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 8 15 25 10 20 30 30 40 50
อัตราค่าสัมปทานที่ดินของรัฐเพื่อกิจการคาสิโน การเก็บค่าสัมปทานที่ดินของรัฐเกี่ยวกับกิจการคาสิโนให้คานวณตามพื้นที่สัมปทานจริงทั้งหมด ส่วนการ สัมปทานที่ดินของรัฐเพื่อดาเนินโครงการโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค และเขตเศรษฐกิจเฉพาะรัฐบาล สปป.ลาวเป็นผู้ตกลงขึ้นอยู่กับกรณี เป้าหมายการเช่าที่ดินของรัฐ กิจการคาสิโนทุกประเภท
อัตราค่าเช่าที่ดินต่อเฮกเตอร์ต่อปี (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ) เขตที่ 1 เขตที่ 2 เขตที่ 3 200,000 400,000 800,000
Page | 24
6.1
Page | 1
ข้อควรรู้ในการไปลงทุนใน สปป.ลาว
ใ น แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ จ ะ มี ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมที่แตกต่าง กัน ดังนั้นในการทาธุรกิจในแต่ละประเทศจะต้อง คานึงถึงสภาพแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ ด้วย สาหรับใน กรณีของประเทศ สปป.ลาวจากการศึกษาข้อมูล
พบว่ าวัฒ นธรรมต่างๆ มี ความคล้ ายคลึ ง กับชาติ อื่นๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะประเทศไทย การเข้าไป ลงทุนใน สปป.ลาว นักธุรกิจไทย ควรเรียนรู้และ เข้ า ใจขนบธรรมเนี ย ม วั ฒ นธรรม ตลอดจน มารยาทต่างๆ ดังนี้
สิ่งที่ ควร ปฏิบัติสาหรับนักลงทุนไทยที่จะไปประกอบธุรกิจใน สปป.ลาว
ขนบธรรมเนียมประเพณีของลาวมีความคล้ายคลึงกับประเทศไทยมาก อาทิ การไหว้ การถือว่าศี รษะ เป็นของสูงไม่ควรแตะต้องเล่น เท้าถือเป็นของต่า ขณะนั่งสนทนากันต้องเก็บปลายเท้าให้เรียบร้อย แต่ง กายสุภาพเรียบร้อย การให้เกียรติผู้อาวุโส มีความสุภาพอ่อนน้อม เป็นต้น ควรแต่งกายสุภาพเรียบร้อยในการติดต่อสถานที่ราชการและวัด การต่อรองราคาถือเป็นเรื่องปกติ การมอบของที่ระลึกเป็นการแสดงน้าใจและช่วยสร้างมิตรภาพ ควรเรียกชื่อจริงหรือชื่อเล่นของบุคคลมากกว่าการเรียกนามสกุล ควรกล่าวคาว่า สะบายดี เป็นคาทักทาย ควรกล่าวคาว่า ขอโทด เป็นการแสดงความเสียใจ หรือขอโทษ ควรกล่าวคาว่า ขอบใจ เพื่อเป็นการแสดงความขอบคุณ ควรกล่าวคาอาลาด้วยการกล่าวว่า ลาก่อน เช่นเดียวกับคนไทย ควรรับประทานอาหารโดยให้ความสาคัญกับลาดับอาวุโส ควรรินน้าให้คนอื่นก่อนรินให้ตนเอง การเดินผ่านผู้อาวุโสที่นั่งอยู่ ควรค้อมตัวลง ใน สปป.ลาวการขับรถจะขับทางขวา การติดต่อสถานที่ราชการต้องนุ่งซิ่น หลีกเลี่ยงการซื้อน้าหอมให้กัน
สิ่งที่ ไม่ควร ปฏิบัติสาหรับนักลงทุนไทยที่จะไปประกอบธุรกิจใน สปป.ลาว
ภิกษุและสามเณร ถือเป็นบุคคลที่คนลาวให้ความเคารพนับถือมากที่สุด ห้ามผู้หญิงแตะเนื้อต้องตัวภิกษุและสามเณรโดยเด็ดขาด ห้ามแจกขนมหรือสิ่งของต่างๆ ให้กับเด็กๆ ในสถานที่ที่ไปเที่ยว เพราะจะเป็นการสนับสนุนให้มีขอทาน เกิดขึ้น ไม่ควรพูดจาก้าวร้าวและส่งเสียงดัง ไม่ควรกินเนื้อสัตว์สดๆ โดยเฉพาะเนื้อหมูหรือเนื้อไก่ดิบ ไม่ควรดื่มน้าประปา ควรซื้อน้าดื่มจากร้านสะดวกซื้อเพื่อความปลอดภัย การเที่ยววัดวาอาราม ไม่ควรสวมกางเกงขาสั้น รองเท้าแตะ หรือเสื้อโชว์ไหล่ ห้ามซื้อวัตถุโบราณ เนื่องจากเป็นของต้องห้ามและผิดกฎหมาย
Page | 2
6.2
ภาพรวมการเตรียมตัวสาหรับการลงทุนในกลุ่มประเทศอาเซียน
นักลงทุนไทยที่จะเข้าไปลงทุนในกลุ่มประเทศอาเซียนควรมีการเตรียมตัวเพื่อดาเนินธุรกิจในต่างประเทศ ไว้ดังต่อไปนี้1 การเลือกประเทศที่จะเข้าไปลงทุน
การเลือกรูปแบบที่จะเข้าไปลงทุน
(1) ควรศึกษาประเทศที่สนใจและเหมาะกับกิจการ ของตน โดยอาจพิ จารณาจากทั้ งในส่ ว นของ เศรษฐกิจ ขนาดตลาด ระยะทาง และอื่นๆ อาทิ อิ นโดนี เซี ยเป็ นประเทศที่ ก ารเมื อ งค่ อ นข้ า ง มั่นคง เศรษฐกิจ และตลาดขนาดใหญ่ สปป. ลาวเป็นประเทศที่กาลังมาแรงแม้จะอยู่ในช่วง ล้ ม ลุ ก ค ลุ ก ค ล า น แ ต่ ก า ร เ ข้ า ต ล า ด ไ ม่ จ าเป็ น ต้องคอยจนกระทั่งประเทศนั้ น พร้อม เพราะบางทีห ากเข้าไปช้าอาจจะสายเกินไป เป็นต้น (2) ประเทศในอาเซียนหลายประเทศได้สิทธิพิเศษ ทางการค้า (GSP) จากประเทศตะวันตก อาทิ กั ม พู ช า และ สปป.ลาว เพราะสิ ท ธิ พิ เ ศษ ดังกล่าวในไทยกาลังจะหมดไป เพราะฉะนั้นจึง น่าจะเป็นโอกาสของนักลงทุนไทยที่จะรุกเข้าไป ในประเทศเหล่านี้
(1) การเริ่มต้นธุรกิจอาจจะเริ่มจากการทาธุรกิจซื้อ มาขายไป (Trading) ก่ อ น ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งไป ลงทุ น ตั้ ง โรงงานเลย เพราะมี ค วามเสี่ ย งสู ง โดยเฉพาะธุรกิจ SMEs (2) การลงทุนในช่วงแรกๆ ควรเป็นแบบค่อยเป็น ค่อยไป และทดสอบตลาดก่อนเพื่อให้คนรู้จัก (3) การเข้ าไปลงทุ น เปิ ดโอกาสให้ ใกล้ ชิ ดลู กค้ า เข้าถึงแหล่งวัตถุดิบและจ้างแรงงานท้องถิ่นใน อัตราที่ต่า (4) รู ปแบบที่ จะเข้ าไปลงทุ น คื อ การลงทุ นใหม่ หรือซื้อกิจการเดิม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความพร้อม และความเหมาะสมของแต่ละธุรกิจ ที่ส าคั ญ คือ ต้องสร้างประโยชน์ให้กับธุรกิจและสั งคม โดยรวมของประเทศนั้นๆ
1
ข้อมูลจากผูเ้ ชี่ยวชาญ ในงานสัมมนา รุกหรือรับ ธุรกิจไทยในอาเซียน..12 ธันวาคม 2555 จัดโดยคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน (BOI) ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Page | 3
Page | 1
การเข้าไปทาธุรกิจในประเทศ สปป.ลาวของ นักลงทุนและผู้ประกอบการ การทราบข้อมูลของ หน่วยงานต่างๆ ทั้งของไทยและ สปป.ลาวจะช่วย
อานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์ต่อการทา ธุรกิจ สาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่สาคัญใน ประเทศ สปป.ลาว มีดังนี้
หน่วยงานราชการและเอกชนของไทย ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน หน่วยงานราชการและเอกชนของไทย 1. สถานเอกอัครราชทูต ณ เวียงจันทน์ Address: # Kaysone Phomvihane Avenue, Xaysettha, Vientiane Capital, Lao PDR Tel: (856 21) 214581 – 2 (02) 354-6196 - 97 Fax: (856 21) 214580 (02) 354-6194 Email: thaivte@mfa.go.th 2. สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต Address: # 229 Thahae Road, Ban Thameuang, Kaysone Phomvihane District, Savannakhet, Lao PDR Tel: (856-41) 212-373, 252-080 Fax: (856-41) 212-370, 252-078 Email: thaisvk@mfa.go.th 3. สานักงานส่งเสริมการค้าไทยในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์ Address: # 028 Ban Phonsay, Kaysone Phomvihane Avenue, Saysettha District, Vientiane Capital, Lao PDR P.O. Box 128 Tel: 007-856-21-413704, 413706 Fax: 007-856-21-413704, 413706 Email: vtdepthai@laotel.com ที่มา : Laos Telephone Directory (2557)
หน่วยงานราชการและเอกชนของ สปป.ลาว ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน หน่วยงานราชการและเอกชนของ สปป.ลาว 1. Investment Promotion Department : IPD Address: # Luangprabang Road, Vientiane 01001, Lao PDR Tel: + 856-21-222 691, 217 005 Fax: + 856-21-215 491, 222 691 Website: http://www.investlaos.gov.la 2. Ministry of Planning and Investment Address: # Luangprabang Road, Vientiane 01001, Lao PDR Tel: + 856-21-216 653, 216 562, 217 001, 217 020 Fax: + 856-21-216 552, 217 010, 217 019, 216 754 Website: http://www.investlaos.gov.la 3. Ministry of Industry and Commerce Address: # Phonxay Road, Ban Phonxay, Xiasettha District, Vientiane, Lao PDR Tel: +856-21-412014 Fax: +856-21-412434 Email: citd@moc.gov.vn/ 4. Ministry of Finance Address: # Thatluang Road, Ban Phonxay, Xiasettha District, P.O. Box 46, Vientiane, Lao PDR Tel: +856-21-412409 Fax: +856-21-412407 5. Lao National Chamber of Commerce and Industry Address: # Ban Phonphanao, Kaysone Phomvihane Road, Saysettha District, Vientiane Capital, Lao PDR P.O.Box 4596 Vientiane, Lao PDR Tel: 007-856-21-452579, 453312-4 Fax: 007-856-21-452580 Email: incci@laotel.com Website: www.incci.laopdr.com ที่มา : Laos Telephone Directory (2557)
Page | 2
Web Site ที่น่าสนใจ สาหรับการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ สปป.ลาว Page | 3
หน่วยงาน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ศูนย์บริการข้อมูลการค้าชายแดนไทยกับประเทศ เพื่อนบ้าน กรมการค้า ต่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือกรม ศุลกากร สถานเอกอัครราชทูต ณ เวียงจันทน์ สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต Thailand Oversea Investment Center, The Board of Investment of Thailand Bank of Thailand International Monetary Fund (IMF) Asian Development Bank (ADB) The United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) The World Bank
เว็ปไซต์ http://www.ditp.go.th http://bts.dft.go.th/btsc/ http://www2.ops3.moc.go.th/ http://www.ops3.moc.go.th/ http://vientiane.thaiembassy.org/ http://www.thaisavannakhet.com http://toi.boi.go.th/
http://www.bot.or.th/ http://www.imf.org/ http://www.adb.org/ http://unstats.un.org/unsd/trade/imts/a nnual%20totals.htm http://www.worldbank.org/en/country/l ao Bank of the Lao PDR http://www.bol.gov.la/ Lao National Chamber of Commerce and http://www.laocci.com/ Industry Ministry of Planning and Investment http://www.investlaos.gov.la/show_enc ontent.php?contID=1 Lao National Committee for Special Economic http://www.sncsez.gov.la/index.php/en/ Zone, Secretariat Office (NCSEZ) Ministry of Industry and Commerce http://www.moc.gov.la/default.asp Department for Planning and Investment of http://www.dpichamp.com/ Champasak province
Page | 4