บ้ า นอี ก หลายโครงการ อาทิ จี น อิ น เดี ย และ
for Multi-Sectoral Technical and Economic
ประเทศในกลุ่มสมาชิก Bay of Bengal Initiative
Cooperation (BIMSTEC)
4) สัตว์น้ำ
Page | 9
เมีย นมามีช ายฝั่ง ทะเลยาว 2,000 ไมล์ หรือ
เลี้ ย งหอย ขณะที่ เ กาะทางใต้ ก็ ขึ้ น ชื่ อ ทางด้ า น
ประมาณ 3,710 กิโลเมตร มีพื้น ที่แหล่งน้าต่างๆ
อุตสาหกรรมไข่มุก นอกจากนี้ รัฐบาลยังส่งเสริม
ประมาณ 8.2 ล้า นเฮกเตอร์ น่า นน้ าเมีย นมามี
การทาฟาร์มเลี้ยงกุ้งอีกด้วย ซึ่งปริมาณผลผลิตของ
แ ห ล ่ง ส ัต ว ์น้ า ที ่อ ุด ม ส ม บ ูร ณ ์ อ ย่ า ง ม า ก
สั ต ว์ น้ า ที่ ส า คั ญ จ ะ ม า จ า ก ภ า ค ต ะ น า ว ศ รี
ประกอบด้วยสัตว์น้ามากถึง 646 สายพันธุ์ อาทิ
(Tanintharyi Division) รองลงมาคือ ภาคอิระวดี
ปลาคาร์ฟ ปลาดุก ปลาซาร์ดีน ปลาแมคาเรล ปลา
( Ayeyarwady Division) รั ฐ ย ะ ไ ข่ ( Rakhine
ทู น่ า ปลาไหล ปลากระพง ปลาจาระเม็ ด กุ้ ง
State) แ ล ะ ภ า ค ย่ า ง กุ้ ง ( Yangon Division)
ปลาหมึก และหอยต่างๆ ซึ่งชายฝั่งตะวันตกของรัฐ
ตามลาดับ
ยะไข่ (Rakhine State) มี ชื่ อ เสี ย ง ทางด้ า นการ
ประชำกร และชนกลุ่มน้อยที่สำคัญในเมียนมำ ประเทศเมียนมามีประชากรจานวน 51 ล้านคน ประกอบไปด้วยหลายชาติพันธุ์ หรือ ประมาณ 135 เชื้อ ชาติ ได้แก่ เชื้อชาติพม่า (Burman) ประมาณร้อยละ 68 ส่วนที่เหลือประมาณร้อยละ 32 เป็นเชื้อชาติอื่นๆ ได้ แ ก่ ฉาน (Shan) ร้ อ ยละ 9 กะเหรี่ ย ง (Karen) ร้ อ ยละ 7 ยะไข่ (Rakhine/Arakanese) ร้ อ ยละ 4 จี น (Chinese) ร้อยละ 3 มอญ (Mon) ร้อยละ 2 อินเดีย (Indian) ร้อยละ 2 และอื่นๆ ร้อยละ 5 โดยมีโครงสร้าง ประชากร ดังนี้
โครงสร้ำงประชำกรในเมียนมำ ปี 2553-2557 รำยกำร
2553
2554
2555
2556
2557
จานวนประชากร
49.70
50.11
50.54
50.98
51.42
อัตราการขยายตัว
0.57
0.82
0.86
0.87
0.86
(ร้อยละ) ที่มา : IMF (2558)