ภำษำ ศำสนำ ประเพณีและวัฒนธรรม ภำษำ เมี ย นมามี ก ารใช้ ภ าษาเมี ย นมา (Burmese) เป็นภาษาทางการ และสามารถใช้ภาษาอังกฤษใน การติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้ เมียนมายังมีภาษาที่ ใช้ในประเทศอีกถึง 18 ภาษา โดยแบ่งตามตระกูล ภาษาได้ดังนี้
- ตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน (Austronesian Language Family) ได้แก่ ภาษามอเกน และ ภาษามาเลย์ ซึ่งใช้กันมากในภาคตะนาวศรี (Tanintharyi Division)
ศำสนำ เมียนมาได้บัญญัติให้ ศาสนาพุทธเป็นศาสนา
- ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic
ประจ าชาติ ไ ว้ เ มื่ อ ปี 2517 เนื่ อ งจากมี ผู้ นั บ ถื อ
Language Family) ได้แก่ ภาษามอญ ภาษา
ศาสนาพุทธมากถึงร้อยละ 89 ซึ่งเป็นศาสนาพุทธ
ปะหล่อง ภาษาปลัง (ปะลัง) ภาษาปะรวกและ
นิกายหินยานหรือเถรวาท ชาวเมียนมาส่วนใหญ่จะ
ภาษาว้า
นับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด ดังจะเห็นได้จากการ
- ตระกู ล ภ าษาจี น -ทิ เ บต (Shino-Tibetan
เข้าวัดและปฏิบัติธรรมอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้
Language Family) ได้ แ ก่ ภาษาเมี ย นมา
ชาวเมี ย นมายั ง นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ ร้ อ ยละ 5
(ภาษาทางการ) ภาษากะเหรี่ยง ภาษาอารากัน
ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 4 และอื่นๆ ร้อยละ 2
(ยะไข่) ภาษาจิงผ่อ (คะฉิ่น) และภาษาอาข่า - ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai-Kadai Language Family) ได้แก่ ภาษาไทใหญ่ (ฉาน) ภาษาไท ลื้อ ภาษาไทขึน ภาษาไทคาตี่ นิยมใช้กันในรัฐ ฉาน (Shan State) และรั ฐ คะฉิ่ น (Kachin State) ส่วนภาษาไทยถิ่น ใต้ ภาษาไทยกลาง และภาษาไทยถิ่นอีสาน มีการใช้ในภาคตะนาว ศรี (Tanintharyi Division) - ต ร ะ กู ล ภ า ษ า ม้ ง - เ มี่ ย น (Hmong-Mien Language Family) ได้แก่ ภาษาม้งและภาษา เย้า(เมี่ยน)
ลักษณะทำงสังคมและวัฒนธรรม ช า ว เ มี ย น ม า เ ป็ น ช น ช า ติ ที่ ยึ ด มั่ น ใ น ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมที่สั่งสมมา ตั้งแต่อดีตอย่างเหนียวแน่น การยึดมั่นในคุณค่า ของอดีตเช่ นนี้จึงทาให้ ช าวเมียนมายัง คงด าเนิ น ชีวิตตามแบบที่คนโบราณเคยยึดถือโดยเฉพาะใน เรื่องของศีลธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติตาม ประเพณีที่ได้รับการสืบทอดต่อกันมา ซึ่งในแต่ละ รัฐและภาคของเมียนมามีประเพณีและวัฒนธรรม ที่สาคัญดังนี้
Page | 11
ประเพณีและวัฒนธรรมที่สำคัญของเมียนมำ จำแนกตำมรัฐ/ภำค รัฐ/ภำค รัฐชิน (Chin State)
ประเพณีและวัฒนธรรมที่สำคัญ ประเพณีเก็บเกี่ยวหรือลามะคา ประเพณีอุ่นเรือนหรือเองคา และ ประเพณี ยูลักควาโดหรือวันปีใหม่
รัฐคะฉิ่น (Kachin State)
พิธีมะนอ และ การเต้นทองกา
รัฐกะเหรี่ยง
ประเพณีตีกลองกบหรือพาสี่ งานราตง ประเพณีอุ่นเรือน งานเล่น
(Kayin State)
กองไฟ งานฉลองปีใหม่ งานก่อเจดีย์ทราย งานแข่งเรือ พิธีเก็บอัฐิ และพิธีเลี้ยงผี
รัฐกะยา (Kayah State)
ประเพณีกูโตโบ
รัฐมอญ (Mon State)
งานพุทธบูชาของเจดีย์ไจทีโย งานต้อนรับแขก และงานถวาย น้ามัน
รัฐยะไข่
งานพุทธบูชาที่เจดีย์ซังดอฉิ่ง เจดีย์ซิตทอง เจดีย์บูดอมอ ประเพณี
(Rakhine State)
ตาข้าวในวันออกพรรษา งานแข่งเรือ และงานแข่งมวยปล้า
รัฐฉาน
ประเพณีแห่พระพองด่ออู ประเพณีแป่วส่ายลอง (ปอยส่างลอง)
(Shan State)
งานบูชาเจดีย์ปีงดายะและงานลอยโคมไฟ
ภาคอิระวดี
งานไหว้พระเจดีย์ปะเตง มอตีงซูน และงานบูชาพระปยีด่อเปี่ยง
(Ayeyarwady Division) ภาคพะโค
ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว ประเพณีแห่เจ้าแม่ที่ญองเลปี่ง ประเพณี
(Bago Division)
ลอยประทีป ประเพณีแห่พระเจ้า 28 องค์ และงานธรรมฉันทะ
ภาคมาเกว (Magway Division)
งานฉลองเจดีย์มยะตะลูน และงานฉลองพระธาตุชเวแซะด่อ
ภาคมัณฑะเลย์
งานบูชานัตและประเพณีเต้นช้างที่เจ้าก์แซ
(Mandalay Division) ภาคสะกาย (Sagaing Division)
ประเพณีถวายข้าวที่เจดีย์ปะดะมยา
ภาคตะนาวศรี
ประเพณีลุจา ประเพณีฝังไหทองและประเพณีแห่พระเจ้า 28 องค์
(Tanintharyi Division)
Page | 12
ภาคย่างกุ้ง (Yangon Division)
ประเพณีไหว้เจดีย์ชเวดากอง เจดีย์แม่ละมุ และประเพณีสงกรานต์
ที่มา : บริษัทสานักพิมพ์หน้าต่างสูโ่ ลกกว้าง จากัด. “พม่า” Page | 13
ระบบกำรศึกษำ ระบบกำรศึกษำของเมียนมำ 1) การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน มี ก ารจั ด แบ่ ง ระดั บ การศึกษาออกเป็น 5 : 4 : 2 กล่าวคือ - ระดั บ ประถมศึ ก ษา ระยะเวลา 5 ปี ประกอบด้ ว ย ระดั บ อนุ บ าล 1 ปี และ ระดับ ประถม 4 ปี (ซึ่งถือเป็ น การศึกษา ภาคบังคับ) - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลา 4 ปี - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะเวลา 2 ปี 2) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา ระยะเวลา 1-3 ปี อาทิ ด้ า นเกษตรกรรม ประมง คหกรรม พ า ณิ ช ย ก ร ร ม ช่ า ง เ ท ค นิ ค แ ล ะ วิศวกรรมเครื่องกล เป็นต้น โดยการเรียนการ
สอนมีทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว เพื่อ ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานใน ปัจจุบัน 3) การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะเวลา 4-6 ปี มีทั้งมหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีที่จั ด การศึกษาวิชาชีพระดับสูงแยกตามสาขาวิชา การศึ ก ษาในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย จะอยู่ ใ น 3 เมืองหลัก คือ กรุงย่างกุ้ง (Yangon) มัณฑะเลย์ (Mandalay) และเมาะลาไย (Mawlamyine) โ ด ย มี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ที่ อ ยู่ ใ น เ ค รื อ ข่ า ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย อ า เ ซี ย น 2 แ ห่ ง ไ ด้ แ ก่ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง (University of Yangon) และ สถาบันเศรษฐศาสตร์ ย่า งกุ้ ง (Yangon Institute of Economics) ซึ่ ง ทั้ ง ส อ ง แ ห่ ง ตั้งอยู่ในกรุงย่างกุ้ง (Yangon)
ปัญหำและอุปสรรคของระบบกำรศึกษำในเมียนมำ ระบบการศึ ก ษาของเมี ย นมามี ก ารพั ฒ นา
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ส่งผลทาให้เกิด
ค่อนข้างล่าช้า อันเนื่องมาจากปัญหาทางการเมือง
การขาดแคลนทรั พ ยากรทางการศึ ก ษาและ
และการบริหารประเทศ ภาครัฐไม่ให้ความสาคัญ
บุคลากรอย่างมาก โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กับการศึกษาเท่าที่ควร ดังจะเห็นได้จากการจัดสรร
ที่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ของประเทศ อย่างไรก็ตาม
งบประมาณด้านการศึกษาเพียงร้อยละ 0.8 ของ
เมี ย นมาก าลั ง เข้ า สู่ ก ารปฏิ รู ป ประเทศ ดั ง นั้ น