ภาคย่างกุ้ง (Yangon Division)
ประเพณีไหว้เจดีย์ชเวดากอง เจดีย์แม่ละมุ และประเพณีสงกรานต์
ที่มา : บริษัทสานักพิมพ์หน้าต่างสูโ่ ลกกว้าง จากัด. “พม่า” Page | 13
ระบบกำรศึกษำ ระบบกำรศึกษำของเมียนมำ 1) การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน มี ก ารจั ด แบ่ ง ระดั บ การศึกษาออกเป็น 5 : 4 : 2 กล่าวคือ - ระดั บ ประถมศึ ก ษา ระยะเวลา 5 ปี ประกอบด้ ว ย ระดั บ อนุ บ าล 1 ปี และ ระดับ ประถม 4 ปี (ซึ่งถือเป็ น การศึกษา ภาคบังคับ) - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลา 4 ปี - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะเวลา 2 ปี 2) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา ระยะเวลา 1-3 ปี อาทิ ด้ า นเกษตรกรรม ประมง คหกรรม พ า ณิ ช ย ก ร ร ม ช่ า ง เ ท ค นิ ค แ ล ะ วิศวกรรมเครื่องกล เป็นต้น โดยการเรียนการ
สอนมีทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว เพื่อ ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานใน ปัจจุบัน 3) การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะเวลา 4-6 ปี มีทั้งมหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีที่จั ด การศึกษาวิชาชีพระดับสูงแยกตามสาขาวิชา การศึ ก ษาในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย จะอยู่ ใ น 3 เมืองหลัก คือ กรุงย่างกุ้ง (Yangon) มัณฑะเลย์ (Mandalay) และเมาะลาไย (Mawlamyine) โ ด ย มี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ที่ อ ยู่ ใ น เ ค รื อ ข่ า ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย อ า เ ซี ย น 2 แ ห่ ง ไ ด้ แ ก่ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง (University of Yangon) และ สถาบันเศรษฐศาสตร์ ย่า งกุ้ ง (Yangon Institute of Economics) ซึ่ ง ทั้ ง ส อ ง แ ห่ ง ตั้งอยู่ในกรุงย่างกุ้ง (Yangon)
ปัญหำและอุปสรรคของระบบกำรศึกษำในเมียนมำ ระบบการศึ ก ษาของเมี ย นมามี ก ารพั ฒ นา
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ส่งผลทาให้เกิด
ค่อนข้างล่าช้า อันเนื่องมาจากปัญหาทางการเมือง
การขาดแคลนทรั พ ยากรทางการศึ ก ษาและ
และการบริหารประเทศ ภาครัฐไม่ให้ความสาคัญ
บุคลากรอย่างมาก โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กับการศึกษาเท่าที่ควร ดังจะเห็นได้จากการจัดสรร
ที่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ของประเทศ อย่างไรก็ตาม
งบประมาณด้านการศึกษาเพียงร้อยละ 0.8 ของ
เมี ย นมาก าลั ง เข้ า สู่ ก ารปฏิ รู ป ประเทศ ดั ง นั้ น
ภาครั ฐ จึ ง เริ่ ม ให้ ค วามส าคั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น ในการ ปรับปรุงการศึกษาขั้นพื้นฐานและระบบการศึกษา ของประเทศ
สำธำรณูปโภคพื้นฐำน หมายเลขโทรศัพท์บ้าน (ล้านเลขหมาย)
8.40
การใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน (ล้านครัวเรือน)
2.57
การใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ)
28.26
ที่มา : Myanmar Posts and Telecommunications (MPT), Myanmar Electric Power Enterprise
ไฟฟ้ำ การให้บริการด้านการผลิต วางแผน ออกแบบ
ของจ านวนประชากรทั้ ง หมด โดยมี ก ารใช้
ก่ อ สร้ า ง บ ารุ ง รั ก ษา ด าเนิ น การภายใต้ ค วาม
กระแสไฟฟ้ า เฉลี่ ย อยู่ ที่ 104 กิ โ ลวั ต ต์ ต่ อ คนต่ อ
รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง Myanmar Electric Power
ชั่ ว โมง ซึ่ ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ าที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของโลก
Enterprise ซึ่งเป็นของรัฐบาล ในปี 2557 เมียน
ขณะที่ความต้องการใช้กระแสไฟฟ้าในเมียนมามี
มามีกาลังการผลิตไฟฟ้าอยู่ที่ 4,581 เมกะวัตต์ โดย
แนวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ตามการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ
ผลิ ต จากโรงไฟฟ้ า พลั ง น้ า 3,044 เมกะวั ต ต์
ส่งผลให้รัฐบาลเมียนมาจาเป็นต้องประกาศระงับ
โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ 1,325 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้า
การใช้กระแสไฟฟ้าในเขตอุตสาหกรรมและโรงงาน
ถ่านหิน 120 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซล 87
ในช่วงเวลา 17.00-23.00 น. ตั้งแต่ เดือนเมษายน
เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้า
ปี 2555เป็นต้นมา เพื่อกระจายกระแสไฟฟ้ า ให้
ชีวมวล 5 เมกะวัตต์
ปั จ จุ บั น รั ฐ บาลเมี ย นมาได้ ข ยายก าลั ง การผลิ ต กระแสไฟฟ้าเพื่อให้บริ การแก่ประชาชนได้ทั่ว ถึง มากยิ่งขึ้น
ภาคครัวเรือนได้ใช้มากยิ่งขึ้น เมียนมามีโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้ารวมทั้งสิ้น 31 แห่ง แบ่งเป็นเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า 15 แห่ง
อย่ า งไรก็ ต ามจากรายงานของธนาคารโลก
โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยถ่านหิน 1 แห่ง และ
(World Bank) และธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian
โรงงานผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ด้ว ยก๊ า ซธรรมชาติ 15
Development Bank : ADB) พ บ ว่ า อั ต ร า ก า ร
แห่ ง และก าลั ง อยู่ ร ะหว่ า งการก่ อ สร้ า งโรงงาน
เข้าถึงกระแสไฟฟ้าของเมียนมามีเพียงร้อยละ 25
ไฟฟ้าเพิ่มเติมอีกจานวนทั้งสิ้น 61 แห่ง เมียนมาได้
Page | 14