สาธารณูปโภคพื้นฐานประเทศเมียนมา

Page 1

ภาครั ฐ จึ ง เริ่ ม ให้ ค วามส าคั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น ในการ ปรับปรุงการศึกษาขั้นพื้นฐานและระบบการศึกษา ของประเทศ

สำธำรณูปโภคพื้นฐำน หมายเลขโทรศัพท์บ้าน (ล้านเลขหมาย)

8.40

การใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน (ล้านครัวเรือน)

2.57

การใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ)

28.26

ที่มา : Myanmar Posts and Telecommunications (MPT), Myanmar Electric Power Enterprise

ไฟฟ้ำ การให้บริการด้านการผลิต วางแผน ออกแบบ

ของจ านวนประชากรทั้ ง หมด โดยมี ก ารใช้

ก่ อ สร้ า ง บ ารุ ง รั ก ษา ด าเนิ น การภายใต้ ค วาม

กระแสไฟฟ้ า เฉลี่ ย อยู่ ที่ 104 กิ โ ลวั ต ต์ ต่ อ คนต่ อ

รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง Myanmar Electric Power

ชั่ ว โมง ซึ่ ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ าที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของโลก

Enterprise ซึ่งเป็นของรัฐบาล ในปี 2557 เมียน

ขณะที่ความต้องการใช้กระแสไฟฟ้าในเมียนมามี

มามีกาลังการผลิตไฟฟ้าอยู่ที่ 4,581 เมกะวัตต์ โดย

แนวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ตามการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ

ผลิ ต จากโรงไฟฟ้ า พลั ง น้ า 3,044 เมกะวั ต ต์

ส่งผลให้รัฐบาลเมียนมาจาเป็นต้องประกาศระงับ

โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ 1,325 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้า

การใช้กระแสไฟฟ้าในเขตอุตสาหกรรมและโรงงาน

ถ่านหิน 120 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซล 87

ในช่วงเวลา 17.00-23.00 น. ตั้งแต่ เดือนเมษายน

เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้า

ปี 2555เป็นต้นมา เพื่อกระจายกระแสไฟฟ้ า ให้

ชีวมวล 5 เมกะวัตต์

ปั จ จุ บั น รั ฐ บาลเมี ย นมาได้ ข ยายก าลั ง การผลิ ต กระแสไฟฟ้าเพื่อให้บริ การแก่ประชาชนได้ทั่ว ถึง มากยิ่งขึ้น

ภาคครัวเรือนได้ใช้มากยิ่งขึ้น เมียนมามีโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้ารวมทั้งสิ้น 31 แห่ง แบ่งเป็นเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า 15 แห่ง

อย่ า งไรก็ ต ามจากรายงานของธนาคารโลก

โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยถ่านหิน 1 แห่ง และ

(World Bank) และธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian

โรงงานผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ด้ว ยก๊ า ซธรรมชาติ 15

Development Bank : ADB) พ บ ว่ า อั ต ร า ก า ร

แห่ ง และก าลั ง อยู่ ร ะหว่ า งการก่ อ สร้ า งโรงงาน

เข้าถึงกระแสไฟฟ้าของเมียนมามีเพียงร้อยละ 25

ไฟฟ้าเพิ่มเติมอีกจานวนทั้งสิ้น 61 แห่ง เมียนมาได้

Page | 14


ร่ ว มมื อ กั บ ประเทศในเอเชีย หลายประเทศ เช่น

รัฐกะเหรี่ยง (Kayin State) และโครงการโรงไฟฟ้ า

ไทย จีน เกาหลีใต้ และบังกลาเทศ ในการพัฒนา

พลั งน้ าตะนาวศรี ที่ ภ าคตะนาวศรี (Tanintharyi

โครงการไฟฟ้ า พลั ง น้ าเนื่ อ งจากมี ค วามอุ ด ม

Division) นอกจากโครงการผลิตกระแสไฟฟ้ าพลั ง

สมบู ร ณ์ทางด้า นแหล่ ง น้ า ซึ่งจะช่ว ยให้ เมี ย นมา

น้าแล้ว รัฐบาลเมียนมายังมีโครงการร่วมทุนกับไทย

แก้ปั ญหาพลั งงานไฟฟ้าขาดแคลนและพร้ อมรับ

เพื่อการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติในอ่าวเมาะ

การลงทุนของชาวต่างชาติ สาหรับไทยได้เข้าไปมี

ตะมะ ที่ ภ าคตะนาวศรี (Tanintharyi Division)

ส่วนร่วมพัฒนาโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าของเมียน

และที่ภาคย่างกุ้ง (Yangon Division) อีกด้วย เพื่อ

มา คือ โครงการโรงไฟฟ้าพลั งน้ าท่ าซางที่รั ฐ ฉาน

สนับสนุนการส่งออกมายังไทย

(Shan State) โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง น้ าฮั จ จี ที่

ประปำ จากรายงานผลส ารวจระบบสาธารณู ป โภค

เสียยังไม่ดีเท่าที่ควร สาหรับพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม

น้ าประปาและการก าจั ด น้ าเสี ย ในเมี ย นมา โดย

มี เ พี ย งนิ ค มอุ ต สาหกรรมมิ น กะลาดอง (ใกล้

สมาพั น ธ์ นั ก ธุ ร กิ จ คั น ไซ ( Kansai Economic

กรุ ง ย่ า งกุ้ ง ) ที่ พั ฒ นาโดยญี่ ปุ่ น เท่ า นั้ น ที่ มี ส ถาน

Federation: Kankeiren) ที่ เ ข้ า ไปส ารวจกิ จ การ

บ าบั ด น้ าเสี ย ดั ง นั้ น รั ฐ บาลญี่ ปุ่ น จึ ง มี แ ผนที่ จ ะ

ด้านน้าและโอกาสการลงทุนในประเทศเมี ยนมา

ช่วยเหลือการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคแก่ เมียน

พบว่ า คุ ณ ภาพน้ าประปาในเมื อ งใหญ่ ยั ง ไม่ ไ ด้

มา สาหรับนักธุรกิจไทยได้เข้ามามีส่วนรวมในการ

มาตรฐาน ระบบน้าประปายังครอบคลุมเพียงร้อย

พัฒนาระบบสาธารณูปโภคด้านน้าให้แก่ เมียนมา

ละ 60 ของพื้ น ที่ ย่ า งกุ้ ง (Yangon) ในพื้ น ที่ ที่

เช่นกัน อาทิ การบาบัดน้าเสียในนิคมอุตสาหกรรม

น้าประปายังเข้าไม่ถึง จะอาศัยน้าบาดาลในการ

มัณฑะเลย์ มูลค่าราว 400-500 ล้านบาท และได้

อุปโภคบริโภค น้าดื่มยังไม่ถูกสุขลักษณะ มีการเน่า

ร่วมประมูลการก่อสร้างโรงผลิตน้าประปาในเมียน

เสียของน้าในแม่น้ าลาคลอง และระบบกาจัด น้า

มา มูลค่าราว 800 - 1,000 ล้านบาท เป็นต้น

Page | 15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.