ส้นทางคมนาคม - ทางเรือ ประเทศเมียนมา

Page 1

9

ย่างกุ้ง - เมืองแปร (Yangon-Pyay)

10

เมาะลาไย - ทวาย (Mawlamyine-Dawei)

ที่มา : http://www.modins.net/myanmarinfo/media/transport.htm

Page | 23

ทำงเรือ เมียนมามีการสัญจรทางน้าทั้งทางแม่น้าและ

สาละวินและแม่น้าสะโตง และมีความยาวชายฝั่ง

ทางทะเล เส้นทางสัญจรทางน้าในประเทศมีความ

ทะเล 2,832 กิโลเมตร โดยมีท่าเรือที่ตั้งอยู่กระจาย

ยาวทั้ ง สิ้ น 12,800 กิ โ ลเมตร แม่ น้ าสายหลั ก ที่

อยู่ ต ามล าน้ าและเมื อ งชายทะเลในรั ฐ และภาค

ส าคัญ ได้แก่ แม่น้ าอิร ะวดี แม่น้ าชิน ต์วิน แม่น้า

ต่างๆ ดังนี้

ท่ำเรือในรัฐและภำคต่ำงๆ ของเมียนมำ ท่ำเรือ

รัฐ/ภำค

ย่างกุ้ง (Yangon)

ภาคย่างกุ้ง (Yangon Division)

ซิตต่วย (Sittwe)

รัฐยะไข่ (Rakhine State)

จ้าวผิ่ว (Kyaukphu) ตั่งตแว (ตันต่วย) (Thandwe) ปะเตง (Pathein)

ภาคอิระวดี (Ayeyarwady Division)

เมาะลาไย (Mawlamyine)

รัฐมอญ (Mon State)

ทวาย (Dawei)

ภาคตะนาวศรี (Tanintharyi Division)

มะริด (Myeik) เกาะสอง (Kawthoung) ที่มา : http://www.modins.net/myanmarinfo/media/transport.htm


Page | 24

ที่มาภาพ : https://commons.wikimedia.org

ท่ำเรือสำคัญในเมียนมำ


ที่มา : http://www.modins.net/myanmarinfo/media/transport.htm

ท่ำเรือที่สำคัญของเมียนมำ ได้แก่

Page | 25

1) ท่ำ เรื อย่ำ งกุ้ ง (Yangon) สามารถรั บเรื อ ที่

มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งจะ

ขนาดลึ ก 9 เมตร ยาว 167 เมตร ถื อ เป็ น

ช่วยร่นระยะทางการขนส่งสินค้าจากประเทศ

ท่าเรือที่มีการขนส่งมากที่สุด ประมาณร้อยละ

ไทยสู่ สหภาพยุ โรปและตะวั นออกกลาง โดย

90 ของการขนส่งทางเรือทั้งหมด ปัจจุบันมีท่า

สั ญจรผ่ านทางช่ องแคบมะละกาและแหลม

เทียบเรือหลักอยู่ 5 จุด โดยทางการเมียนมามี

มลายู อย่ า งไรก็ ต าม ท่ า เรื อ นี้ ยั ง ไม่ ส ามารถ

โครงการยกระดั บ ท่ า เรื อ ย่ า งกุ้ ง ให้ ไ ด้ ต าม

รองรับเรือเดินสมุทรได้

มาตรฐานสากลภายในเวลา 3 ปี (ปี 2556-

3) ท่ำ เรื อแอมเฮิร สท์ (Amhurst) หรือไจกะมี

2558) ซึ่งโครงการประกอบด้วย การก่อสร้าง

(Kyaikami) เ ป็ น ท่ า เ รื อ เ ก่ า ส มั ย อั ง ก ฤ ษ

ท่าเทียบเรือท่าใหม่ให้ได้ตามมาตรฐานสากล

ปกครองเมียนมา ท่าเรือนี้ติดต่อกับไทยทางฝั่ง

การสร้างอาคารพื้นฐานที่ทันสมัย ยกระดับท่า

เจดีย์สามองค์ จังหวัดกาญจนบุรี

เทียบเพื่อให้สามารถจัดการกับเรือสินค้า และ การติดตั้งอุปกรณ์จัดการสินค้า

4) ท่ำเรือติละวำ (Thilawa) เป็นท่าเรือที่อยู่ใกล้ นิคมอุตสาหกรรมย่างกุ้ง ห่างจากกรุงย่างกุ้ง เป็นระยะทาง 25 กิโลเมตร ท่าเรือติละวาเป็น พื้นที่ส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจพิเศษติละวามี พื้นที่ส าหรับรองรับ การขนส่ ง 75 เฮกเตอร์ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ท่ า เ ที ย บ เ รื อ โ ร ง ง า น อุตสาหกรรม พื้นที่ธุรกิจค้าปลีกและพื้นที่วาง ตู้คอนเทนเนอร์ 5) ท่ ำ เรื อ มะริ ด (Myeik) เป็ น ท่ า เรื อ ชายฝั่ ง ที่

ที่มาภาพ : www.mcot.net

ส าคั ญ ตั้ ง อยู่ ที่ บ ริ เ วณปากน้ าตะนาวศรี ใช้ ประโยชน์ในการประมง และการค้าขายกั บ

2) ท่ำเรือเมำะลำไย (Mawlamyine) ในรัฐมอญ มีร ะยะห่ างจากแม่ส อด จั งหวัดตากของไทย 170 กิ โ ลเมตร ท่ า เรื อ นี้ ถื อ เป็ น ท่ า เรื อ เปิ ด สู่

ไทยและหมู่เกาะอันดามันของอินเดีย


6) ท่ำเรือซิตต่วย (Sittwe) เป็นท่าเรือที่อินเดีย ได้เข้ามาลงทุนจานวน 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อปรับปรุงและยกระดับท่าเรือแห่งนี้ Page | 26

นอกจำกนี้รัฐบำลเมียนมำมีแผนที่จะสร้ำงท่ำเรือน้ำลึกขึ้น 4 แห่ง คือ 1) ท่ำเรือจ้ำวผิ่ว (Kyaukpyu) อยู่บริเวณอ่าวเบ

3) ท่ ำ เรื อ กะเลก๊ ว ก (Kalegauk) อยู่ บ ริ เ วณ

งกอล (รัฐยะไข่) ระยะทาง 400 กิโลเมตร ทาง

ชายฝั่ ง ทะเลอั น ดามั น ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า งเมื อ ง

ตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงย่างกุ้ง (Yangon)

เมาะลาไย (Mawlamyine) และเมืองเย (Yai)

ใกล้เมืองซิตต่วย (Sittwe) ท่าเรือนี้เป็นท่าเรือ

ในรัฐมอญ และอยู่ห่างจากอาเภอแม่สอดของ

ที่ ใ ช้ ท าการค้ า ระหว่ า งจี น กั บ เมี ย นมา และ

ประเทศไทยประมาณ 150 กิโลเมตร

เมีย นมาก็ใช้ท่าเรื อนี้เชื่อมต่อไปสู่มหาสมุทร

4) ท่ำเรือปกเปี้ยน (Bokpyin) อยู่บริเวณริมฝั่ง

อินเดียและยุโรป การก่อสร้างท่าเรือน้าลึกแห่ง

ทะเลอันดามัน ระหว่างเมืองมะริด (Myeik)

นี้ได้เสร็จสิ้นเมื่อต้นปี 2556 พร้อมท่อน้ามัน

และเกาะสอง (Kawthoung) ในภาคตะนาว

(ความยาว 1,500 กิโลเมตร) และก๊าซ (ความ

ศรี และอยู่ฝั่ งตรงข้ามกับอาเภอบางสะพาน

ยาว 1,700 กิโลเมตร) เพื่อที่ต่อเชื่อมกับคุนห

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ของไทย

มิ ง ของจี น แล้ ว จึ ง นั บ ว่ า ท่ า เรื อ แห่ ง นี้ ไ ด้ กลายเป็นจุดขนถ่ายน้ามันและก๊าซธรรมชาติที่ สาคัญของประเทศเมียนมาและจีน 2) ท่ำเรือทวำย (Dawei) อยู่ใกล้กับเมืองทวาย (Dawei) ภาคตะนาวศรี และอยู่ห่างจากย่าง กุ้ง (Yangon) ระยะทาง 614 กิโลเมตร ท่าเรือ นี้มีความลึกประมาณ 12 เมตร ซึ่งโครงการนี้ ถือเป็นโครงการที่เมียนมาให้ความสาคัญเพื่อ ใช้ ใ นการเดิ น ทางแล ะขนส่ ง สิ น ค้ า ผ่ า น มหาสมุทรอินเดีย จีน และประเทศต่างๆ ใน คาบสมุทรอินโดจีน

สาหรับหน่วยงานที่กากับดูแลท่าเรือของเมียน มา คือ Myanmar Port Authority (MPA) และ หน่ ว ยงานที่ ก ากั บ ดู แ ลเรื่ อ งการขนส่ ง สิ นค้ า คื อ Shipping Agency Department บริ ษั ท เดิ น เรื อ รายใหญ่ ที่ สุ ด ของเมี ย นมา คื อ Myanmar Five Star มีเรือ 26 ลา ซึ่งให้บริการด้วยเรือขนส่งสินค้า ตรงไปยังหลายประเทศ ได้แก่ อินเดีย บังกลาเทศ ไทย มาเลเซีย จีน ฮ่องกง เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ และสหราชอาณาจั ก ร โดยมี เ ส้ น ทางตามเมื อ ง ส า คั ญ คื อ ตั่ ง ต แ ว ( Thandwe) จ้ า ว ผิ่ ว (Kyaukphyu) ซิ ต ต่ ว ย (Sittwe) เ ม า ะ ล า ไ ย (Mawlamyine) ทวาย (Dawei) มะริ ด (Myeik)


และเกาะสอง (Kawthaung) นอกจากนี้ ยั ง มี

China Overseas Co (COSCO), Mitsui OSK

บริ ษั ท ขนส่ ง รายอื่ น ๆ ซึ่ ง เป็ น ของต่ า งชาติ อาทิ

Line และ Nippon Yusen Kaisha Line (NYK)

ทำงอำกำศ

Page | 27

นานาชาติ แ ห่ ง ที่ ส อง คื อ สนามบิ น นานาชาติ ห ง ส า ว ดี 2 ( Hanthawaddy International Airport) ในเขตพะโค (Bago) ซึง่ ตัง้ อยูห่ ่างจากย่าง กุ้งประมาณ 80 กิโ ลเมตร เดิมโครงการก่อสร้าง สนามบิ น นานาชาติ ห งสาวดี เ คยได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ด าเนิ น การในปี 2539 แต่ ถู ก ระงั บ ไป เนื่ อ งจาก ที่มาภาพ : www.letsgotomyanmar.net

บริษัทที่ได้รับสัมปทานไม่สามารถดาเนินโครงการ ได้ ต่อมา Department of Civil Aviation (DCA)

ปัจจุบันเมียนมามีสนามบินทั้งสิ้น 38 แห่ง เป็น

ของเมียนมาได้ยกโครงการก่อสร้างดั งกล่าวขึ้นมา

สนามบินนานาชาติ 3 แห่ง คือ สนามบินนานาชาติ

สานต่อ ในปี 2557 กลุ่มบริษัทญี่ปุ่น -สิงคโปร์ ใน

ย่ า งกุ้ ง (Yangon International Airport) ซึ่ ง อยู่

นามกลุ่ม Yongnam-CAPE-JGCC เป็นผู้ชนะการ

ทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงย่างกุ้ง สนามบิน

ประมูลสร้างสนามบินในมูลค่า 1,500 ล้านดอลลาร์

นานาชาติมัณฑะเลย์ (Mandalay International

สหรัฐ โดยร้อยละ 49 ของทุนจะมาจากเงินกู้ยืม

Airport) และ สนามบิ น นานาชาติ เ นปิ ด อว์

เพื่อการพัฒนา และส่วนที่เหลือเป็นการกู้ยืมของ

(Naypyidaw International Airport) ถื อ เ ป็ น

ภาคเอกชน และกลุ่ ม บริ ษั ท ทั้ ง นี้ มี ก าหนดการ

สนามบินนานาชาติแห่งที่ 3 (เปิดอย่างเป็นทางการ

ก่อสร้างแล้วเสร็จภายในปี 2565

เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2554) เพื่อรองรับนักลงทุน และนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เมียนมายังมีแผนที่จะสร้างสนามบิน 2

ที่มา : ศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ (2557), ธนาคารเพื่อการ ส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (2557)

สายการบิ น ที่ มี เ ที่ ย วบิ น ไปยั ง เมี ย นมา อาทิ Myanmar Airways International, Silk Air, Air China, Indian Airlines Ltd., Jetstar Asia,


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.