สถานการณ์ด้านการลงทุนประเทศในเมียนมา

Page 1

อื่นๆ มูลค่านาเข้ารวม

1,798.04 117,414.38

1,932.79 120,380.56

79,256.84 80,213.20

ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)

2.3

Page | 13

สถานการณ์ด้านการลงทุนในประเทศเมียนมา

การลงทุนในเมียนมามีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ในปีงบประมาณ 2556/57 เมียนมามีการ ลงทุนจากต่างประเทศ รวม 4.10 พันล้านดอลลาร์ สหรั ฐ จ านวน 123 โครงการ ส่ ว นใหญ่ ล งทุ นใน ภาคอุตสาหกรรม และโทรคมนาคม ทั้งนี้มูลค่าการ ลงทุ น จากต่ า งประเทศ ตั้ ง แต่ ปี 2531 จนถึ ง ปี ง บประมาณ 2556/57 มี ย อดคงค้ า งรวม 46.2 พั น ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยมี จ านวนทั้ ง สิ้ น 652 โครงการ ส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนทางด้านพลังงาน น้ามันและก๊าซ และอุตสาหกรรมจากประเทศจีน ไทย และ ฮ่องกง

สาหรับนโยบายของทางการในการรองรับการ ลงทุนจากต่างประเทศที่สาคัญ คือ การพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษ โดยให้ ความส าคัญ กับโครงการ ขนาดใหญ่ 3 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษทวาย ติละวา และจ้าวผิ่ว ตลอดจน การปรับปรุงกฎหมายการลงทุนจากต่างประเทศ ฉบั บ ใหม่ ที่ ป ระกาศในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2555 และประกาศเพิ่ ม เติ ม กฎหมายลู ก ในช่ ว งเดื อ น มกราคม 2556 เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ นั ก ลงทุนจากต่างประเทศ


เงินลงทุนจากต่างประเทศ แยกตามประเทศจนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2556/57 หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ

Page | 14

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย (2558)

มูลค่าการลงทุนสะสมจากต่างประเทศ (มูลค่าการลงทุนที่ได้รับการอนุมัติ) ตั้งแต่ปี 2532 – 31 สิงหาคม 2558 จาแนกรายประเทศ ประเทศ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

จีน สิงคโปร์ ไทย ฮ่องกง สหราชอาณาจักร เกาหลีใต้ มาเลเซีย เนเธอร์แลนด์ อินเดีย

จานวนโครงการ 105 170 89 110 81 121 52 13 22

มูลค่าการลงทุนสะสม (ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) 14,790.09 10,645.77 10,291.51 7,199.69 4,051.86 3,384.63 1,662.69 981.99 730.65

สัดส่วน (%) 25.89 18.64 18.02 12.60 7.09 5.93 2.91 1.72 1.28


10. เวียดนาม 11. ญี่ปุ่น 12. ฝรั่งเศส อื่นๆ รวม

9 75 4 128 979

690.91 555.49 541.61 1,592.08 57,118.97

1.21 0.97 0.95 2.79 100.00

Page | 15

ที่มา : Directorate of Investment and Company Administration (2015) (http://dica.gov.mm.x-aas.net/)

มูลค่าการลงทุนสะสมจากต่างประเทศ ปี 2557

ดอลลาร์ส หรัฐ จานวนโครงการ 89 โครงการ คิด

ประเทศจี น มี มู ล ค่ า การลงทุ น สะสม 14,790.09

เป็ น ร้ อ ยละ 18.02 ของมู ล ค่ า การลงทุ น สะสม

ล้านดอลลาร์สหรัฐ มีจานวนโครงการ 105 โครงการ

ทั้ ง หมด หากจ าแนกมู ล ค่ า การลงทุ น สะสมตาม

คิดเป็ น สั ดส่ ว นร้ อยละ 25.89 รองมาเป็ น ประเทศ

ประเภทการลงทุน พบว่า การลงทุนประเภท น้ามัน

สิ งคโปร์ มีมูล ค่าการลงทุน สะสม 10,645.77 ล้ าน

และก๊าซ มีสัดส่วนมากที่สุด ที่ร้อยละ 39.97 อันดับ

ดอลลาร์ ส หรั ฐ มี จ านวนโครงการ 170 โครงการ

การลงทุน รองลงมา ได้แก่ พลังงาน อุตสาหกรรม

สาหรับไทย มีการลงทุนสะสมในเมียนมาเป็นอันดับ

การผลิต และการขนส่งและสื่อสาร เป็นต้น

ที่ 3 โดยมีมูล ค่าการลงทุน สะสม 10,291.51 ล้ าน

มูลค่าการลงทุนสะสมจากต่างประเทศ ตั้งแต่ปี 2532 - 31 สิงหาคม 2558 จาแนกตามประเภทการลงทุน ประเภทการลงทุน

จานวนโครงการ

น้ามันและก๊าซ พลังงาน อุตสาหกรรมการผลิต การขนส่งและสื่อสาร เหมืองแร่ โรงแรมและการท่องเที่ยว

93 7 453 19 10 41

มูลค่าการลงทุนสะสม (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 18,718.36 13,294.54 4,718.30 3,098.11 2,339.04 1,948.38

สัดส่วน (%) 39.97 28.39 10.08 6.62 4.99 4.16


การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ อื่นๆ รวม

18 66 707

1,649.19 1063.97 46,829.89

3.52 2.27 100.00

ที่มา : Directorate of Investment and Company Administration (2015) (http://dica.gov.mm.x-aas.net/)

2.4

ระบบสถาบันการเงิน1 ระบบการธนาคารของเมียนมาประกอบด้วยธนาคารกลาง ธนาคารพาณิชย์ของรัฐ ธนาคารพาณิชย์เอกชน

และสถาบันการเงินอื่นๆ ซึ่งมีลักษณะการดาเนินงาน ดังนี้ ธนาคารกลางของเมียนมา (The Central Bank of Myanmar : CBM) ธนาคารกลางของเมี ย นมาภายใต้ สั ง กั ด

ช นิ ด 1,5,10 แ ล ะ 20 ห น่ ว ย ส า ห รั บ

กระทรวงการคลั ง และรายได้ (The Minister of

นักท่องเที่ยวและนักลงทุนต่างชาติในเมียนมา

Finance and Revenue) ตามกฎหมายธนาคาร

โ ด ย ส า ม า รถ แ ลก เ งิ นส กุ ลจั๊ ต ไ ด้ ที่ ศู น ย์

กลางของเมี ย นมา ปี 2533 (The Central Bank

ดาเนินการแลกเปลี่ยนในกรุงย่างกุ้งและเมือง

of Myanmar Law 1990) ท า ห น้ า ที่ ค ว บ คุ ม

ห ลั ก อื่ น ๆ ห รื อ ฝ า ก ไ ว้ ใ น บั ญ ชี เ งิ น ต ร า

สถาบั น การเงิ น ทั้ ง ของรั ฐ และเอกชน ด าเนิ น

ต่างประเทศก็ได้

นโยบายการเงิ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระ อาทิ ก าหนด อัตราแลกเปลี่ยนและออกธนบัตร อัตราดอกเบี้ย เงินกู้และเงินฝาก และอัตราส่วนของสินทรัพย์และ หนี้สิน โดยมีบทบาทและหน้าที่ดังนี้

2) เป็นนายธนาคารของรัฐบาล ทาหน้าที่ในการ ดูแลบัญชีและช าระหนี้ ให้ กับ รัฐ บาลและท า หน้ า ที่ แ ทนรั ฐ บาลในการรั บ ฝากเงิ น ของ

1) การออกธนบั ตรเพื่อใช้ห มุนเวีย นในประเทศ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารออกใช้ FECs (Foreign

รัฐวิสาหกิจ 62 แห่ง และเงินฝากของกระทรวง ทบวง กรม 167 แห่ง

Exchange Certificates) อี ก 4 ชนิ ด ได้ แ ก่ 1

สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. คู่มือการประกอบธุรกิจ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. (2556),

Page | 16


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.