Page | 1
3.1
กฎระเบียบและมาตรการด้านการส่งเสริมการลงทุน1 รัฐบาลเมียนมามีความพยายามอย่างมากที่จะ
การกระจายรายได้ประชากร พัฒนาฝีมือแรงงาน
เปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนของประเทศใหม่
และพัฒ นาเทคโนโลยี ก ารผลิ ตชั้นสู งในประเทศ
อีกครั้ งหลั งจากการปิ ดประเทศมายาวนาน โดย
เป็นต้น และเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012
ส่วนหนึ่งรัฐบาลต้องการที่จะดึงดูดการลงทุนจาก
รัฐบาลเมียนมาได้ประกาศใช้กฎหมายการลงทุน
ต่ า งประเทศ เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา
จากต่างชาติฉบับใหม่ขึ้น (Foreign Investment
ประเทศ ในขณะเดี ย วกั น ก็ ต้ อ งการให้ ต ลาดใน
Law 2012) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด การ
ประเทศเกิดการขยายตัว และเกิดภาวะการแข่งขัน
พั ฒ นาประเทศ โดยส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การลงทุ น
ที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยพัฒนาภาคเกษตรกรรมอย่าง
ดังต่อไปนี้
ยั่ ง ยื น เ พื่ อ น า ไ ป สู่ ก า รท า ให้ เกิ ด เ ศร ษฐ กิ จ อุตสาหกรรม ทาให้การพัฒนาในเขตปกครองและ รัฐต่างๆ เป็นไปอย่างเท่าเทียม และประชากรได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างทั่วถึง เมียนมามีนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยตรง จากต่างชาติมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1988 ซึ่งเป็นปีที่เริ่ม ประกาศใช้ ก ฎหมายการส่ ง เสริ ม การลงทุ น จาก ต่ า งชาติ หรื อ Myanmar Foreign Investment Law (FIL) โดยมี เ ป้ า หมายให้ นั ก ลงทุ น สามารถ ลงทุน ในทรั พยากรธรรมชาติของเมียนมาเพื่อให้
(1) เป็ น การลงทุ น ที่ ส่ ง เสริ ม และขยายการ ส่งออก (2) เป็ น การลงทุ น ที่ ใ ช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ และเงินลงทุนจานวนมาก (3) เป็นการลงทุ น ที่ใ ช้เ ทคโนโลยีชั้ นสู ง เพื่ อ สร้างและพัฒนาการใช้เทคโนโลยี (4) เป็นการลงทุนขนาดใหญ่ที่สนับสนุนภาค การผลิตและภาคบริการ (5) เป็นการลงทุนที่สร้างโอกาสการจ้างงาน ภายในประเทศ
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งด้าน 1
ปรับปรุงข้อมูลจากคู่มือการประกอบธุรกิจ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)
(6) เป็ น การลงทุน ที่มีการทางานเพื่อพัฒ นา และประหยัดพลังงาน
(7) เป็ น การลงทุ น ที่ ส่ ง ผลต่ อ การพั ฒ นา ประเทศสู่ระดับภูมิภาคได้ Page | 2
กฎหมายที่สาคัญต่อการลงทุนในประเทศเมียนมา ได้แก่ 1) กฎหมายการลงทุนจากต่างประเทศฉบับใหม่
2) กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน ได้แก่
(Foreign Investment Law) ประกาศใช้เมื่อ
พระราชบัญญัติการจัดตั้งบริษัท ปี ค.ศ.1914
วันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012เป็นกฎหมาย
(The Myanmar Companies Act 1914) ซึ่ ง
ที่ว่าด้วยการลงทุนจากต่างชาติ เพื่อดูแลและ
เป็นกฎหมายหลักในการควบคุมธุรกิจทั้ง ของ
ส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากต่ า งประเทศ ซึ่ ง
ต่างชาติและชาวเมียนมาในประเทศเมียนมา
กฎหมายฉบับนี้มีความสาคัญกับประเทศเมียน
และพระราชบัญญัติว่าด้วยบริษัทพิเศษ (The
มาอย่างมาก เพราะเปรียบเสมือนเป็น ประตู
Special Company Act 1950)
บานใหม่ที่จะต้อนรับนักลงทุนต่างชาติที่เข้าไป ทาธุรกิจในประเทศ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน ได้แก่ 1) ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ล ง ทุ น เ มี ย น
แห่งชาติ (Ministry of National Planning an
มา (Myanmar Investment Commission:
d Economic Development) รั บ ผิ ด ชอบใน
MIC) เป็ น หน่ ว ยงานที่ อ นุ มั ติ ก ารลงทุ น และ
การออกใบอนุ ญ าตท าการค้ า (Permit to
สิ ท ธิ พิ เ ศษในการลงทุ น โดยเป็ น ผู้ อ อก
Trade) และการจดทะเบียนนิติบุคคล
ใบอนุญาตลงทุนที่เรียกว่า Myanmar Foreign
3) คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น และการ
Investment Commission Permit (MIC
บ ริ ห า ร ง า น บ ริ ษั ท ( Directorate of
Permit)
Investment and Company Administration:
2) ส า นั ก ง า น จ ด ท ะ เ บี ย น
DICA) ทาหน้าที่ออกใบรับรองการประกอบธุรกิจ
บริ ษั ท (Company Registrations Office: C
( Certificate of Commencement of
RO) ภายใต้ ก ระทรวงพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ
Business)
ว
า
ง
แ
ผ
น
รูปแบบการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในเมียนมา รูปแบบการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติตามกฎหมายการลงทุนต่างชาติ ปี ค.ศ. 2012 (Foreign Investment Law 2012) มี 3 รูปแบบ ได้แก่ Page | 3
1) กิจการที่ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด (Wholly Foreign-Owned Enterprises) ข้ อ ก าหนดการลงทุ น รู ป แบบนี้ ต้ อ งขออนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการการลงทุ น เมี ย นมา (Myanmar Investment Commission: MIC) เป็นกรณีไป และหลังจากได้รับอนุมัติแล้ว นักลงทุนต้องขอใบอนุญาตทา การค้ า (Permit to Trade) และจดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง บริ ษั ท จากส านั ก งานจดทะเบี ย นบริ ษั ท (Company Registration Office: CRO) ด้วย องค์กรธุรกิจมี 2 แบบ ดังนี้ บริ ษั ท จ ากั ด (Limited Company)ผู้ ถื อ หุ้ น มี
ธุ ร กิ จ (Certificate of Commencement of
ความรับผิดในกิจการของบริษัทเฉพาะเท่าจานวน
Business) จากคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การ
หุ้นที่ตนถืออยู่โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ลงทุนและการบริหารงานบริษัท (Directorate of
- บ ริ ษั ท เ อ ก ช น จ า กั ด (Private Limited Company) หมายถึง บริษัทที่กฎหมายห้ามมิ ให้ มี ก ารโอนหุ้ น และไม่ อ าจเสนอขายหุ้ นแก่ สาธารณชนได้ โดยบริษัทประเภทนี้จะต้องมี กรรมการและผู้ถือหุ้น 2 คนขึ้นไป โดยมีผู้ถือ หุ้นได้ไม่เกิน 50 คน - บ ริ ษั ท ม ห า ช น จ า กั ด (Public Limited Company) บริ ษั ท ประเภทนี้ ต้อ งมี จ านวนผู้ ถือหุ้ น 7 คนขึ้น ไป และไม่จ ากัด จ านวนผู้ถือ หุ้นโดยสามารถเสนอขายหุ้นแก่สาธารณชนได้ ภายหลั ง จากที่ มี ก ารจดทะเบี ย นบริ ษั ท แล้ว จะต้องมีการขอรับใบรับรองการประกอบ
Investment
and
Company
Administration: DICA) เพื่ อ ที่ จ ะเริ่ ม ด าเนิ น กิจการของบริษัท สานักงานสาขาหรื อสานักงานผู้แ ทนของบริ ษั ท ต่างชาติ (Branch or Representative Offices of a Foreign Company) ตามกฎหมายของประเทศเมี ยนมา สาขาของ บริษัทต่างชาติจะถูกถือเสมือนว่าเป็นที่ทาการแห่ ง หนึ่งของบริษัทต่างชาตินั้น ความรับผิดของสาขาใน เมียนมาจึงเท่ากับความรับผิ ดของส านั กงานใหญ่ ที่ ต่างประเทศ ซึ่งแตกต่างจากการตั้งบริษัทลูกขึ้นเป็ น นิติบุคคลต่างหากจากบริษัทแม่ เพราะความรับผิดใน บริษัทลูกนี้จะเป็นความรับผิดจากัดเท่าที่ได้ลงหุ้นไว้
และเมื่อเกิดความเสียหายก็จะไม่ขยายไปถึงบริษัทแม่
ใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จ (Permit to Trade) และ
ที่อยู่ต่างประเทศ การดาเนินกิจการในรูปแบบสาขา
ต้องจดทะเบียนนิติบุคคลเช่นเดียวกับการจัดตั้งบริษัท
ของบริ ษั ท ต่ า งชาติ จ ะต้ อ งมี ก ารด าเนิ น การขอ
ประเภทอื่น Page | 4
2) กิจการร่วมทุน (Joint Venture) กับเอกชนเมียนมา การลงทุนรูปแบบนี้สาหรับกรณีชาวต่างชาติที่ไม่ต้องการถือหุ้นในบริษัททั้งหมด หรือต้องการประกอบ กิจการที่ไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบกิจการโดยตรง ดังนั้น จึงทาการร่วมทุนกับบุคคลธรรมดาหรือนิติ บุคคลชาวเมียนมา ซึ่งกฎหมายการลงทุนต่างชาติ ปี 2555 อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติร่วมลงทุนกับเอกชน เมียนมาได้ โดยสามารถเลือกที่จะจดทะเบียนเป็นบริษัทจากัดข้างต้นได้ ซึ่งในกรณีการร่วมทุนนี้ สัดส่วนการถือ หุ้ น ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ หุ้ น ส่ ว น ต ก ล ง กั น แ ต่ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร โ ค ร ง ส ร้ า ง เงินทุน (Capital Structure Committee: CSC) มีอานาจกาหนดสั ดส่วนการลงทุนโดยแปรผันตามลักษณะ ธุรกิจแต่ละสาขา กิจการร่ วมลงทุนในรู ปแบบเอกชนต่ างชาติเป็น
หน่วยงานของรัฐบาลเมียนมาที่รับผิดชอบ กิจการ
ผู้รับสัมปทาน (Build-Operate-Transfer: BOT)
ที่ ต้ อ งลงทุ น ด้ ว ยวิ ธี สั ม ปทานเท่ า นั้ น เช่ น การ
การลงทุนในรูปแบบนี้ เป็นรูปแบบการลงทุน
ก่อสร้างอาคารพาณิชย์ สานักงานให้เช่าขนาดใหญ่
ของเอกชนต่ า งชาติ เ พื่ อ รั บ สั ม ปทานในกิ จ การ
ที่ช าวต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด และการผลิ ต
ขนาดใหญ่ โดยเอกชนชาวต่างชาติจะเป็นผู้ลงทุ น
และขายพลังงานไฟฟ้าที่ใช้พลังงานน้าและถ่านหิน
การออกแบบดาเนิ นการก่อสร้างและการบริห าร
เป็นต้น
จัดการภายในระยะเวลาที่ตกลง เมื่อสิ้นสุดสัญญา เอกชนผู้รับสัมปทานจะโอนกิจการทั้งหมดให้ กับ
ทั้งนี้ จากข้อมูล ข้างต้น สามารถสรุ ปรู ป แบบ การดาเนินธุรกิจของต่างชาติได้ดังนี้