อาคารพาณิชย์/สานักงานให้เช่าขนาดใหญ่ที่
(5) สาขาที่มีการกาหนดสัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ
ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด และการผลิต
ที่ต้องใช้ เช่น การผลิตน้ามันจากพืชและสัตว์
และขายพลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานน้ าและ
เครื่องดื่ม บุหรี่ น้าหอม เครื่องสาอาง เป็นต้น
ถ่านหิน เป็นต้น
(6) สาขาที่กาหนดสัดส่วนการลงทุนของต่างชาติ และชาวเมียนมา เช่น
กิจการ กิจการป่าไม้
เงื่อนไข/สัดส่วนการถือหุ้น ต่างชาติถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 25-45
การผลิตวารสาร/นิตยสารเฉพาะ ชาวเมียนมาต้องถือหุ้นร้อยละ 51 และ 2 ใน 3 ของพนักงานหลักๆ ต้อง ทางที่เป็นภาษาต่างประเทศ เป็นชาวเมียนมา กิจการสปา
ต่ า งชาติ ส ามารถถื อ ครองกิ จ การได้ ร้ อ ยละ 100 เฉพาะในการด าเนิ น กิจการโรงแรมระดับ 3 ดาวขึ้นไป
กิจการค้าปลีกขนาดใหญ่
ชาวเมียนมาต้องถือหุ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ 50
(7) สาขาที่ ก าหนดระยะเว ลาอนุ ญ าตการ
(8) สาขาที่มีการกาหนดช่วงเวลาให้เริ่มดาเนินการ
ประกอบการ เช่น การทาเหมืองแร่ขนาดใหญ่
เ ช่ น กิ จ ก า ร ค้ า ป ลี ก ข น า ด ใ ห ญ่ จ ะ เ ริ่ ม
อนุญาต 15 ปี ต่ออายุได้ 4 ครั้งๆ ละ 5 ปี การ
ดาเนินการได้ภ ายหลั งปี ค.ศ. 2015 เท่านั้น
เลี้ยงหอยมุกอนุญาต 15 ปี ต่ออายุได้ 2 ครั้งๆ
(นอกเหนื อ จากเงื่ อ นไขการร่ ว มทุ น กั บ ชาว
ละ 5 ปี
เมียนมา)
3.4
สิทธิประโยชน์ของนักลงทุนต่างชาติในเมียนมา การลงทุนในพื้นที่ทั่วไปนอกเขตอุตสาหกรรม จะต้องได้รับการอนุมัติจาก MIC โดย MIC จะเป็นผู้พิจารณา
สิทธิประโยชน์ให้ โดยพิจารณาตามกิจการที่จะทาการลงทุนเป็นรายกรณี โครงการที่ไม่ผ่านการอนุมัติจาก MIC จะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ในการลงทุนตามที่ระบุ โดยสิทธิประโยชน์ในการลงทุนได้ระบุไว้ในกฎหมายว่าด้วย การลงทุนจากต่างชาติ (Foreign Investment Law 2012) สรุปได้ดังนี้
Page | 20