ภำษำ ศำสนำ ประเพณีและวัฒนธรรม ภำษำ ประเทศเวียดนามใช้ภาษาเวียดนามเป็นภาษา ทางการและมี ภ าษาอั ง กฤษเป็ น ภาษาที่ ส อง นอกจากนียังมีภาษาอื่นของคนเชือชาติแตกต่างกัน ที่อาศัยอยู่ในประเทศเวียดนาม เช่น ฝรั่งเศส จีน เขมร ภาษาชาวเขา มอญ-เขมร และมลายู เป็นต้น ภาษาของเวี ย ดนามในช่ ว งแรกใช้ ภ าษาจี น โบราณเรียกว่า จื๋อญอ (Chu Nho) ต่อมาใช้อักษร ภาษาเวี ย ดนาม ที่ เ รี ย กว่ า จื๋ อ โนม (Chu Nom) เมื่อปี พ.ศ. 2463 จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรภาษาโรมัน ภาษาเวีย ดนามมีว รรณยุ กต์ที่ใกล้ เคีย งกับ ภาษา เขมร โดยในแต่ละพยางค์ จะมีโทนเสียงที่แตกต่าง กั น 6 เสี ย งที่ ส ามารถใช้ เ ปลี่ ย นนิ ย ามแ ละ ความหมายของค้า
Page | 9
ที่มา : www.vietnamtourism.com
ส้าหรับรูปแบบการเขียนของภาษาเวียดนาม จะใช้อักษรโรมันและเครื่องหมายเน้นเสียงเพื่อแสดงระดับ เสียง ระบบการเขียนแบบนีเรียกว่า “quoc ngu” ถูกสร้างขึนโดยมิชชันนารีชาวคาทอลิกในช่วงศตวรรษที่ 17 ซึ่งใช้ในการแปลพระคัมภีร์ แต่ในภายหลังจากที่สงครามโลกครังที่ 1 การเขียนก็ถูกแทนที่ด้วยอักขระภาษาจีน (Chu Nom) ซึ่งเป็นรูปแบบการเขียนอย่างไม่เป็นทางการที่ใช้กันมานานหลายศตวรรษ
ศำสนำ
คนเวี ย ดนามมี ค วามเชื่ อ ถื อ ในสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เพราะได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อ ค่านิยมความ เชื่อทัศนคติขึนกับถิ่นที่อยู่ ประเทศเวียดนามเป็น ประเทศที่มีความหลากหลายทางศาสนา โดยแบ่ง ออกเป็น พุทธร้อยละ 9.30 คาทอลิกร้อยละ 6.70 ฮวาห่ า วร้ อ ยละ 1.50 กาวด่ า ยร้ อ ยละ 1.10 โปรเตสแตนต์ ร้ อ ยละ 0.50 อิ ส ลามร้ อ ยละ 0.10 และไม่ มี ศ าสนาร้ อ ยละ 80.80 มี กิ จ กรรม ส้าคัญทางศาสนาที่ส้าคัญ ได้แก่
เทศกาลเต๊ด (Tet) หรือเต๊ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan) แปลว่ า เทศกาลแห่ ง รุ่ ง อรุ ณ แรกของปี เป็นเทศกาลที่ส้าคัญที่สุดจะเริ่มต้น ขึนสัปดาห์ก่อนจะถึงวันขึนปีใหม่ตามจันทรคติ อยู่ ร ะหว่ า งปลายเดื อ นมกราคมถึ ง ต้ น เดื อ น กุ ม ภาพั น ธ์ เป็ น การเฉลิ ม ฉลองในภาพรวม ทังหมดของความเชื่อในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า และ ลั ท ธิ ข งจื๊ อ ศาสนาพุ ท ธ รวมถึ ง การเคารพ บรรพบุรุษ เทศกาลกลางฤดู ใ บไม้ ร่ ว ง โดยนั บ ตาม จันทรคติตรงกับวันขึน 15 ค่้าเดือน 8 ของทุก ปี มีการประดับโคมไฟ พร้อมทังจัดงานขับร้อง เพลงพืนบ้านชาวบ้าน จัดประกวด “ขนมบัน ตรังทู” หรือขนมเปี๊ยะโก๋ญวน ที่มีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้พร้อมทังจัดขบวนแห่เชิด มังกรขึน เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร
ลักษณะทำงสังคมและวัฒนธรรม เวียดนามนับเป็นประเทศที่มีขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเก่าแก่ และยังคงสืบทอด มาถึงปัจจุบัน ประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ ของ เวี ย ดนามหลายอย่ า งได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากจี น รวมทังลัทธิขงจื๊อที่ให้ความส้าคัญต่อการนับถือเซ่น ไหว้บรรพบุรุษ ลัทธิเต๋าที่สอนเรื่องความสมดุลของ ธรรมชาติ รวมไปถึงศาสนาพุทธนิกายมหายานที่ สอนเรื่ อ งกรรมดี แ ละกรรมชั่ ว แม้ ว่ า รั ฐ บาล คอมมิวนิสต์ของเวียดนามจะล้มล้างความเชื่อและ ศาสนาส่วนหนึ่งไปในช่วงปฏิวัติระบบการปกครอง แต่ปัจจุบันมีการผ่อนปรนมากขึน
ชาวเวียดนามเชื่อว่าทุกหนทุกแห่ งมีเทพเจ้า สถิตอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเทพเจ้าดิน เทพเจ้าน้า หรือ เทพเจ้าอื่นๆ ดังนัน นอกจากวัดในศาสนาพุทธ (จั่ว - Chua) ศาลาประชาคม (ดิ น ห์ - Dinh) หรื อ แท่ น บู ช า จั ก รพรรดิ ใ นอดี ต (เดน - Den) แล้ ว ยั ง มี ก ารตัง แท่ น บู ช าเทพเจ้ า (เหมี ย ว - Mieu) กระจายอยู่ โดยทั่วไป ประชาชนนิยมน้าดอกไม้ ธูป เทียน และ ผลไม้ มาสั ก การบู ช าในวั น ที่ 1 และ15 ค่้ า ตาม ปฏิทินจันทรคติ
Page | 10