โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปประเทศเวียดนาม
ชื่อประเทศ เมืองหลวง เมืองสาคัญทางเศรษฐกิจ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ สามเหลี่ยมปากแม่น้าแดง
สามเหลี่ยมปากแม่น้าโขง ที่สูงตอนกลาง ชายฝั่งตอนกลางเหนือ ชายฝั่งตอนกลางใต้
ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม วันชาติ
เวียดนามมีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) กรุงฮานอย (Hanoi)
ลายเจิว (Lai chau) เตวียนกวาง (Tuyen Quang) กว๋างนินห์ (Quang Ninh) โฮจิมินห์ (Ho Chi Min) บาเรีย หวุงเต่า (Baria-Vung Tau) หล่าวกาย (Loa Cai) ฮานอย (Hanoi) ไฮฟอง (Hai Phong) เตี่ยนซาง (Tien Giang) ซอนลา (Son-La) เถื่อ เทียน เว้ (Thua Thein Hue) ดานัง (Da-nang) กว๋างนาม (Quang Nam) นายเจือง เติ๊น ซาง (Truong Tan Sang) นายเหวียน เติ๊น สุง (Nguyen Tan Dung) นายเหวียน ฝู จ่อง (Nguyen Phu Trong) 2 กันยายน 1-1
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
สกุลเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน เ วี ย ด น า ม ใ ช้ ส กุ ล เ งิ น ด่ อ ง (Vietnam Dong: VND) เป็ น สกุ ล เงิ น ทางการ ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะสนับสนุนให้นักท่องเที่ยวต้องใช้ เงิ น ด่ อ ง แต่ ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วทั่ ว ไป โรงแรม เวี ย ดนาม ร้ า นอาหารเวี ย ดนาม ร้ า นขายของที่ ระลึ ก ก็ ยั ง คงรั บ เงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ ซึ่ ง สามารถ แลกเปลี่ ย นเงิ น ได้ ที่ สนามบิ น เวี ย ดนาม หรื อ ธนาคาร โรงแรม และร้านที่ได้รับอนุญาตให้แลก เงิ น ร้ า นเหล่ า นี จะเขี ย นอั ก ษรสี ท อง ว่ า "Hieu Vang" หรือ "Hieu Kim Hoan” ที่มาภาพ : www.uasean.com
สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยนในตลาด ปี 25571
ด่อง (Vietnam Dong : VND) 1 USD = 20,854 VND 1 THB = 0.0015 ด่อง (VND)
ที่มา : 1 Foreign Currency Exchange Rates and Currency Converter Calculator (2558)
1-2
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
เวี ย ดนาม เป็ น ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพทาง เศรษฐกิ จ สู ง เศรษฐกิ จ ภายในประเทศขยายตัว อย่างรวดเร็ว ภายใต้นโยบายปฏิรูเศรษฐกิจ “โด่ ย เหมย” (Doi Moi) ซึ่ ง เริ่ ม ตั งแต่ ปี 2529 ปั จ จุ บั น เวี ย ดนาม พย าย า มปรั บป รุ ง แ ก้ ไ ข กฎระเบี ย บต่ า งๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ ก้ า หนด ขององค์ ก ารการค้ า โลก (WTO) ซึ่ ง เวี ย ดนาม เข้ า เป็ น สมาชิ ก เมื่ อ วั น ที่ 11 มกราคม 2550 เวียดนามเป็นที่สนใจของนักลงทุนจากทั่วโลก เนื่ อ งจากความน่ า สนใจในด้ า นทรั พ ยากรที่ อุดมสมบูรณ์ เป็นปัจจัยสนับสนุนการผลิตและการ ลงทุน อีกจ้ านวนมาก ความได้เปรี ย บในการเป็น
แหล่งแรงงานและวัตถุดิบที่มีอยู่มาก การได้สิทธิ ประโยชน์ทางภาษี และผลจากนโยบายกระตุ้ น เศรษฐกิจของรัฐบาล แต่อย่างไรก็ตาม เวียดนาม ยั ง ขาดสิ่ ง สนั บ สนุ น ในด้ า นอื่ น ๆ เช่ น ระบบ โครงสร้ า งพื นฐาน และสาธารณู ป โภค ที่ ยั ง ไม่ พ ร้ อ ม ก า ร ผ ลิ ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม ต้ น น้ า แ ล ะ อุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น ยั ง ไม่ พ ร้ อ มต้ อ งน้ า เข้ า ชินส่ ว นหรือวัตถุดิบจากต่ างประเทศ กฎหมาย ต่างๆ ยังขาดความชัดเจนเป็นอุปสรรคต่อการเข้า มาลงทุนของนักลงทุน เป็นต้น จึงท้าให้เวียดนาม ต้องเร่งพัฒนาประเทศและแก้ปัญหาความไม่พร้อม ในด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ รองรั บ การเข้ า มาลงทุ น ของ ต่างชาติ และเข้าสู่การแข่งขันในตลาดโลก
ที่มาภาพ : www.bugbog.com
1-3
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
แผนที่ประเทศเวียดนาม 1-4
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
พื้นที่ตั้ง ภูมิประเทศและสภาพอากาศ พืนที่เพาะปลู กที่ส้า คั ญมีส องแห่ ง คือ ที่ ราบลุ่มปากแม่น้า แดง (Red River Delta) ทาง ภาคเหนือ และที่ราบลุ่มปากแม่น้าโขง (Mekong River Delta) ทางทิศ ใต้ เวียดนามเป็น ประเทศ ที่ มี พื นที่ แ คบแต่ มี ค วามยาวมาก ท้ า ให้ ลั ก ษณะ ภูมิประเทศและภูมิอากาศแตกต่างกันค่อนข้างมาก โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และ ภาคใต้ ประเทศเวียดนาม มีลักษณะภูมิประเทศ เป็น แนวยาวโค้งเป็นรูปตัวเอส ตังอยู่ทางทิศตะวันออก ของคาบสมุทรอินโดจีน มีพืนที่ประมาณ 331,689 ตารางกิโลเมตร ทิ ศ เหนื อ มี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศจี น ยาว 1,281 กิโลเมตร ทิศตะวัน ตก มีพรมแดนติดประเทศลาว ยาว 2,130 กิโลเมตร ทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ พรมแดนติ ด กั บ ประเทศกั ม พู ช า ยาว 1,228 กิ โ ลเมตร และอ่าวไทย ทิศตะวันออก มีชายฝั่งทะเล ติดกับทะเล จีนใต้ ยาว 3,444 กิโลเมตร ประเทศเวี ย ดนามมี พื นที่ ป ระมาณ 3 ใน 4 ส่วนเป็นภูเขาและป่าไม้ นอกนันเป็นไหล่เขาและ หมู่ เ กาะต่ า งๆ นั บ พั น เกาะเรี ย งราย ตั ง แต่ อ่าวตังเกี๋ย ไปจนถึงอ่าวไทย มีกรุงฮานอยซึ่ งเป็น เมื อ งหลวงตั งอยู่ ท างเหนื อ และนครโฮจิ มิ น ห์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่ส้าคัญ อยู่ทางตอน ใต้
ภาคเหนื อ ภู มิ ป ระเทศส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ภู เ ขาสู ง มี เทื อ กเขาฟานซี ป าน (Fan Si Pan) ซึ่ ง สู ง ที่ สุ ด ใน คาบสมุทร อินโดจีน สู งถึง 3,143 เมตร มีดิน ดอนสามเหลี่ ย ม (Red River Delta) ซึ่ ง เกิ ด จาก แม่น้าส้าคัญคือ แม่น้ากุง (Cung) ไหลไปบรรจบกับ แม่น้าแดง ท้าให้พืนที่บริเวณนีอุดมสมบูรณ์ เหมาะ แก่การเพาะปลูก และเป็นที่ตังของเมืองหลวง คือ กรุงฮานอย (Ha Noi) ภาคกลาง พืนที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงเต็มไปด้วย หินภูเขาไฟ หาดทราย เนินทรายและทะเลสาบ ภาคใต้ พืนที่ส่ ว นใหญ่เป็นที่ราบสู ง มีที่ราบลุ่ ม แม่น้ าโขง (Mekong River Delta) หรื อที่ รู้จั กกั น ในชื่ อ กู๋ ล องยาง (Cuu Long Giang) อั น อุ ด ม สมบูรณ์ เป็นแหล่งเพาะปลูกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และเป็นที่ตังของ นครโฮจิมินห์ (Ho Chi Minh City) หรืออดีตเรียกว่าไซ่ง่อน (Saigon)
1-5
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
สภาพภูมิอากาศ เวียดนามมีภูมิอากาศที่หลากหลาย เนื่องจาก ภูมิประเทศอยู่ตามแนวคาบสมุทร เวียดนามทาง ตอนเหนื อ มี ภู มิ อ ากาศคล้ า ยเขตเมื อ งร้ อ น มี อุ ณ หภู มิ แ ตกต่ า งกั น อย่ า งมากระหว่ า งช่ ว งร้ อ น ที่สุด และหนาวที่สุด โดยมี 4 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (มี.ค. – เม.ย.) ฤดูร้อน (พ.ค. – ส.ค.) ฤดูใบไม้ร่วง (ก . ย . – พ . ย .) แ ล ะ ฤ ดู ห น า ว (ธ . ค . – ก . พ .) เวี ย ดนามทางตอนใต้ มี ภู มิ อ ากาศคล้ า ยกั บ ประเทศไทย มี อุ ณ ภู มิ ป ระมาณ 27 - 30 องศา เซลเซียส มี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน (พ.ค.–ต.ค.) และฤดู ร้อน (พ.ย.–เม.ย.)
4) เวี ย ดนามมี ช ายฝั่ ง ทะเลยาวกว่ า 3,260 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง อุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยสั ต ว์ ท ะเล รวมทั งแหล่ ง น้ า จื ด ในอ้ า เภอตุ ย ฟอง (Tuy Phong) ทางด้ านเหนื อของจั ง หวั ดบิ น ห์ ถ่ ว น (Binh Thuan) เป็ น เขตที่ ส ภาพน้ า เหมาะสม ที่ สุ ด ในการเพาะเลี ยงกุ้ ง มี แ หล่ ง ทรั พ ยากร ประมงสมบู ร ณ์ โดยทรั พ ยากรประมงที่ เวียดนามมีอยู่สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ได้ถึง 4.2 ล้านตันต่อปี โดยทางการอนุญาตให้จับได้ ประมาณ 1.7 ล้ า นตั น ต่ อ ปี แต่ เ รื อ ประมง เวี ย ดนามมี ศั ก ยภาพท้ า การประมงได้ เ พี ย ง 960,000 ตันต่อปี
ทรัพยากรธรรมชาติ เ วี ย ด น า ม เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ห นึ่ ง ที่ มี ค ว า ม หลากหลายทางชีวภาพ ท้าให้มีทรัพยากรธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ประกอบด้วย 1) มีพันธ์ไม้ 13,000 ชนิด 2) มีพันธ์สัตว์กว่า 15,000 ชนิด 3) มีแร่ธาตุที่ส้าคัญ สารฟอสเฟส ถ่านหิน แร่ บอกไซต์ มีป่าไม้ พลังงานน้า น้ามันและก๊าซ ธรรมชาติ โดยเวียดนามมีโรงกลั่นน้ามันแห่ง แรก อยู่ ใ นจั ง หวั ด กว๋ า งไหง (Quang Ngai) ใกล้กับนครดานัง (Da Nang) ในภาคกลางของ ประเทศ เวี ย ดนามเป็ น ประเทศที่ ส่ ง ออก น้ า มั น ดิ บ รายใหญ่ เ ป็ น อั น ดั น 3 ในเอเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ร องจากอิ น โดนี เ ซี ย และ มาเลเซีย
ที่มาภาพ : www.aseantravelandtours.com นอกจากนีเวียดนามยังมีทรัพยากรชายฝั่งทะเล รวมทังสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และแหล่ง โบราณสถานเก่ า แก่ ซึ่ ง ได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ จาก นิตยสารท่องเที่ยวชันน้าต่างๆ ให้เป็นจุดหมายใน การท่องเที่ยวที่โดดเด่นแห่งหนึ่งในเอเชีย มีแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ รั บ การขึ นทะเบี ย นเป็ น มรดกโลก หลายแห่ ง ได้แก่ หมู่โ บราณสถานเมือ งเว้ เมือ ง โบราณฮอยอัน พระราชวังแห่งราชวงศ์โห่ จึงเป็น โอกาสที่ดีส้าหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ ธุรกิจต่อเนื่อง
1-6
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ประชากร และชนกลุ่ ม น้ อ ยที่ ส าคั ญ ในเวี ย ดนาม ในปี 2556 มีประชากร 89.7 ล้านคน ดินแดน เวียดนามแต่เดิมเป็นถิ่นที่อยู่ ของพวกมอย (Moi) ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น เผ่ า ย่ อ ยๆ อี ก หลายสิ บ เผ่ า ซึ่ ง ชนเผ่ า เหล่ า นี ไม่ มี ตั ว หนั ง สื อ ใช้ ประชากรส่ ว นใหญ่ ในปัจจุบันเป็นคนเชื อชาติเวียดนามแท้ ประมาณ ร้อยละ 86 เป็นชาวจีนประมาณร้อยละ 2 ที่เหลือ เ ป็ น ช น ก ลุ่ ม น้ อ ย ป ร ะ ม า ณ ร้ อ ย ล ะ 13 ประกอบด้วย ชาวม้ง (Muong) ไท (Thai) แม้ว
(Meo) เขมรมอญ ( Mon) และจาม ( Cham) โดยโครงสร้างของประชากรในเวีย ดนาม แสดง รายละเอียดในตาราง จ้ า นวนประชากรของเวี ย ดนามมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ น ตั งแต่ ปี 2553 เป็ น ต้ น มา เวี ย ดนามมี จ้านวนประชากรเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 มีจ้านวนประชากรมากที่สุด เท่ากับ 90.63 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัว ร้อยละ 1.05
จานวนประชากรเวียดนาม ปี 2553 - 2557 รายการ
2553
2554
2555
2556
2557
จ้านวนประชากร (ล้านคน) อัตราการขยายตัว (ร้อยละ)
86.93 1.06
87.84 1.04
88.76 1.05
89.69 1.05
90.63 1.05
ที่มา: International Monetary Fund (2558)
1-7
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
รายการ อัตราส่วนเพศชายต่อหญิง (sex ratio)
ปี 2557
ที่มา: CIA, The World Factbook https://www.cia.gov/library/publications/theworld-factbook/geos/vm.html (2558)
โครงสร้างอายุ (age structure)
อายุมัธยฐาน ( median age)
ที่มา : The World Factbook (2558)
1-8
อายุ 0-14 ปี มี สั ด ส่ ว น 24.1% (ชาย 11,948,130 คน/หญิ ง 10,786,381 คน) อายุ 15-24 ปี มี สั ด ส่ ว น 17.22% (ชาย 8,411,108 คน/หญิ ง 7,833,327 คน) อายุ 25-54 ปี มี สั ด ส่ ว น 45.05% (ชาย 21,358,647 คน/หญิ ง 21,145,416 คน) อายุ 55-64 ปี มี สั ด ส่ ว น 7.81% (ชาย 3,376,706 คน/หญิ ง 3,995,035 คน) อายุ ตั งแต่ 65 ปี ขึ นไป มี สั ด ส่ ว น 5.82% (ชาย 2,115,057 คน/หญิ ง 3,379,028 คน อายุ 0-14 ปี : 1.11% อายุ 15-24 ปี : 1.07% อายุ 25-54 ปี : 1.01% อายุ 55-64 ปี : 0.85% อายุ ตั งแต่ 65 ปี ขึ นไป: 5.5% ทังหมด: 29.20 ปี ชาย: 28.10 ปี หญิง: 30.20 ปี
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ภาษา ศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรม ภาษา ประเทศเวียดนามใช้ภาษาเวียดนามเป็นภาษา ทางการและมี ภ าษาอั ง กฤษเป็ น ภาษาที่ ส อง นอกจากนียังมีภาษาอื่นของคนเชือชาติแตกต่างกัน ที่อาศัยอยู่ในประเทศเวียดนาม เช่น ฝรั่งเศส จีน เขมร ภาษาชาวเขา มอญ-เขมร และมลายู เป็นต้น ภาษาของเวี ย ดนามในช่ ว งแรกใช้ ภ าษาจี น โบราณเรียกว่า จื๋อญอ (Chu Nho) ต่อมาใช้อักษร ภาษาเวี ย ดนาม ที่ เ รี ย กว่ า จื๋ อ โนม (Chu Nom) เมื่อปี พ.ศ. 2463 จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรภาษาโรมัน ภาษาเวีย ดนามมีว รรณยุ กต์ที่ใกล้ เคีย งกับ ภาษา เขมร โดยในแต่ละพยางค์ จะมีโทนเสียงที่แตกต่าง กั น 6 เสี ย งที่ ส ามารถใช้ เ ปลี่ ย นนิ ย ามแ ละ ความหมายของค้า
ที่มา :
ส้าหรับรูปแบบการเขียนของภาษาเวียดนาม จะใช้อักษรโรมันและเครื่องหมายเน้นเสียงเพื่อแสดงระดับ เสียง ระบบการเขียนแบบนีเรียกว่า “quoc ngu” ถูกสร้างขึนโดยมิชชันนารีชาวคาทอลิกในช่วงศตวรรษที่ 17 ซึ่งใช้ในการแปลพระคัมภีร์ แต่ในภายหลังจากที่สงครามโลกครังที่ 1 การเขียนก็ถูกแทนที่ด้วยอักขระภาษาจีน (Chu Nom) ซึ่งเป็นรูปแบบการเขียนอย่างไม่เป็นทางการที่ใช้กันมานานหลายศตวรรษ
1-9
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ศาสนา คนเวี ย ดนามมี ค วามเชื่ อ ถื อ ในสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เพราะได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อ ค่านิยมความ เชื่อทัศนคติขึนกับถิ่นที่อยู่ ประเทศเวียดนามเป็น ประเทศที่มีความหลากหลายทางศาสนา โดยแบ่ง ออกเป็น พุทธร้อยละ 9.30 คาทอลิกร้อยละ 6.70 ฮวาห่ า วร้ อ ยละ 1.50 กาวด่ า ยร้ อ ยละ 1.10 โปรเตสแตนต์ ร้ อ ยละ 0.50 อิ ส ลามร้ อ ยละ 0.10 และไม่ มี ศ าสนาร้ อ ยละ 80.80 มี กิ จ กรรม ส้าคัญทางศาสนาที่ส้าคัญ ได้แก่
เทศกาลเต๊ด (Tet) หรือเต๊ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan) แปลว่ า เทศกาลแห่ ง รุ่ ง อรุ ณ แรกของปี เป็นเทศกาลที่ส้าคัญที่สุดจะเริ่มต้น ขึนสัปดาห์ก่อนจะถึงวันขึนปีใหม่ตามจันทรคติ อยู่ ร ะหว่ า งปลายเดื อ นมกราคมถึ ง ต้ น เดื อ น กุ ม ภาพั น ธ์ เป็ น การเฉลิ ม ฉลองในภาพรวม ทังหมดของความเชื่อในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า และ ลั ท ธิ ข งจื๊ อ ศาสนาพุ ท ธ รวมถึ ง การเคารพ บรรพบุรุษ เทศกาลกลางฤดู ใ บไม้ ร่ ว ง โดยนั บ ตาม จันทรคติตรงกับวันขึน 15 ค่้าเดือน 8 ของทุก ปี มีการประดับโคมไฟ พร้อมทังจัดงานขับร้อง เพลงพืนบ้านชาวบ้าน จัดประกวด “ขนมบัน ตรังทู” หรือขนมเปี๊ยะโก๋ญวน ที่มีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้พร้อมทังจัดขบวนแห่เชิด มังกรขึน เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม เวียดนามนับเป็นประเทศที่มีขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเก่าแก่ และยังคงสืบทอด มาถึงปัจจุบัน ประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ ของ เวี ย ดนามหลายอย่ า งได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากจี น รวมทังลัทธิขงจื๊อที่ให้ความส้าคัญต่อการนับถือเซ่น ไหว้บรรพบุรุษ ลัทธิเต๋าที่สอนเรื่องความสมดุลของ ธรรมชาติ รวมไปถึงศาสนาพุทธนิกายมหายานที่ สอนเรื่ อ งกรรมดี แ ละกรรมชั่ ว แม้ ว่ า รั ฐ บาล คอมมิวนิสต์ของเวียดนามจะล้มล้างความเชื่อและ ศาสนาส่วนหนึ่งไปในช่วงปฏิวัติระบบการปกครอง แต่ปัจจุบันมีการผ่อนปรนมากขึน
1-10
ชาวเวียดนามเชื่อว่าทุกหนทุกแห่ งมีเทพเจ้า สถิตอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเทพเจ้าดิน เทพเจ้าน้า หรือ เทพเจ้าอื่นๆ ดังนัน นอกจากวัดในศาสนาพุทธ (จั่ว - Chua) ศาลาประชาคม (ดิ น ห์ - Dinh) หรื อ แท่ น บู ช า จั ก รพรรดิ ใ นอดี ต (เดน - Den) แล้ ว ยั ง มี ก ารตัง แท่ น บู ช าเทพเจ้ า (เหมี ย ว - Mieu) กระจายอยู่ โดยทั่วไป ประชาชนนิยมน้าดอกไม้ ธูป เทียน และ ผลไม้ มาสั ก การบู ช าในวั น ที่ 1 และ15 ค่้ า ตาม ปฏิทินจันทรคติ
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ระบบการศึกษา ปัจจุบันเวียดนามแบ่งลักษณะของการจัดการศึกษาไว้ 5 ลักษณะ คือ 1) การศึ ก ษาระดั บ ก่ อ นประถมศึ ก ษา (PreSchool Education) ประกอบด้วยการเลียงดู เด็ ก ส้ า หรั บ เด็ ก อายุ 6 เดื อ นถึ ง 3 ปี และ อนุบาลส้าหรับเด็กอายุ 3-5 ปี 2) การศึกษาสามัญ (ระบบ 5 - 4 – 3) - ระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี ชัน 1 - 5 - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 4 ปี คือชัน 6 – 9 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี คือ ชัน 10 – 12
3) การศึ ก ษาด้ า นเทคนิ ค และอาชี พ มี ก ารจั ด การศึ ก ษาที่ ส ามารถเที ย บเคี ย งได้ กั บ ระดั บ มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
4) การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา แบ่ ง เป็ น ระดั บ อนุปริญญา (Associate degree) และระดั บ ปริญญา 5) การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง เป็ น การศึ ก ษาส้ า หรั บ ประชาชนที่พลาดโอกาสการศึกษาในระบบทัง สายสามัญและสายอาชีพ มหาวิทยาลั ยขนาดใหญ่และเป็นที่รู้จักอย่าง แพร่หลายมีเพียง 2 แห่ง คือ Vietnam National University, Hanoi ( VNU) แ ล ะ Vietnam National University, Ho Chi Minh City (VNU0HCM)
รายชื่อมหาวิทยาลัย 10 อันดับในเวียดนาม ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
มหาวิทยาลัย Vietnam National University, Hanoi Ho Chi Minh City University of Technology Can Tho University Foreign Trade University Ho Chi Minh City University of Information Technology National Economics University Ho Chi Minh City University of Natural Sciences Vietnam National University, Ho Chi Minh City Hanoi University of Science and Technology Thai Nguyen University
ที่ตั้ง Hanoi Ho Chi Minh City Can Tho Hanoi Ho Chi Minh City Hanoi Ho Chi Minh City Ho Chi Minh City Hanoi Thai Nguyen
ที่มา : UNIVERSITY WEB RANKING (WWW.4ICU.ORG/VN/) 1-11
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
สาธารณูปโภคพื้นฐาน ด้านการสื่อสาร โทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ จ้านวนคนใช้ Boardband ทังหมด ณ สินปี 2555
64.00 ล้านเลขหมาย 136.60 ล้านเลขหมาย 6 ล้านคน
ที่มา : General Statistics Office of Vietnam, http://www.gso.gov.vn (2558)
ด้านไฟฟ้า ก้าลังการผลิตไฟฟ้า การบริโภคไฟฟ้า
106 พันล้านกิโลวัตต์ 101 พันล้านกิโลวัตต์
ที่มา : The World Factbook. Central Intelligence Agency Vietnam. (http://www.cia.gov.) (2558)
1-12
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
เส้นทางคมนาคม ทางบก เวีย ดนามมีร ะบบเครื อข่ายทางถนนยาว 2.1 แสนกิโลเมตร ประกอบด้วยทางหลวงแผ่นดิน ยาว ประมาณ 14,935 กิโลเมตร และมีการก่อสร้างทาง ด่ว นพิเศษหลายแห่ ง รวมทังมีโ ครงการปรั บปรุง ถนนหลวงให้ มีมาตรฐาน ถนนทุกสายในจั งหวั ด ต้องลาดยางหรือเป็นคอนกรีต โดยรัฐบาลจะเปิด ให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนพัฒนา ปัจจุบันเวียดนามมี ทางหลวงแผ่นดินที่ส้าคัญๆ ได้แก่
ที่มาภาพ : www.tedi.vn
เส้นทาง
ระยะทาง เส้นทาง ฮานอย (Ha Noi) ดานัง (Da Nang) โฮจิมินห์ ร ะ ย ะ ท า ง 2,289 ก ิโ ล เ ม ต ร หมายเลข 1 (Ho Chi Minh City) ถึงจังหวัดมินห์ ฮาย (Minh Hai) ปัจ จุบัน รัฐ บาลเวีย ดนามอนุมัติ ส ร้า ง ท าง หลว งหม าย เลข 1B ทางใต้สุดของเวียดนาม เป็นทางคู่ขนาน เส้นทาง ฮานอย (Ha Noi) ห่าซาง (Ha Giang) ถึงชายแดน ระยะทาง 319 กิโลเมตร หมายเลข 2 มณฑลยูนนานของจีน เส้นทาง ฮานอย (Ha Noi) กาวบั่ง (Cao Bang) ถึงชายแดน หมายเลข 3 มณฑลยูนนานของจีน
ระยะ ทาง 218 กิโลเมตร
เส้นทาง ฮานอย (Ha Noi) ไฮฟอง (Hai Phong) หมายเลข 5 เส้นทาง ฮาตินห์ (Ha Tinh) วินห์(Vinh) ถึงชายแดนแขวง หมายเลข 8 บอลิค้าไซของ สปป.ลาว
ระยะทาง 105 กิโลเมตร
เส้นทาง ดานัง (Da Nang) เว้ (Hue) กว๋างจิ (Quang Tri) หมายเลข 9: ถึงชายแดนแขวงสะหวันนะเขตของสปป. ลาว เส้นทาง โฮจิมินห์ (Ho Chi Minh City) หวุงเตา (Vung Tau) หมายเลข 51
ระยะทาง 25 กิโลเมตร
ระยะทาง 90 กิโลเมตร
ระยะทาง 75 กิโลเมตร
1-13
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ที่ ม า : ปรั บ ปรุ ง จาก ส้ า นั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น . เวี ย ดนาม :เส้ น ทางการคมนาคมขนส่ ง (http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_vietnam/2010_vietnam)
เส้นทางการคมนาคมขนส่งทางบกของเวียดนาม
ที่มา : This map depicts all the major and minor roads of Vietnam.
1-14
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ทางรถไฟ เครือข่ายระบบขนส่งทางรถไฟของเวียดนามมี ความยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร โดยเป็น เส้นทางรางเดี่ยวทังหมด และมีจ้านวน ชานชาลา 260 แห่ง เส้นทางที่ยาวที่สุดและมี ความส้าคัญมาก คือ ฮานอย (Hanoi) – โฮจิมินห์ (Ho Chi Minh) มีความยาวประมาณ 1,726 กิโลเมตร เป็นการบริการด้วยรถไฟความเร็วพิเศษ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 30 ชั่วโมง และ ยังเชื่อมต่อระหว่างเวียดนามถึงจีน แบ่งเป็น 6 สาย ประกอบไปด้วย ที่มาภาพ :
เส้นทาง ฮานอย (Ha Noi) โฮจิมินห์ (Ho Chi Minh)
ระยะทาง 1,726 กิโลเมตร
ฮานอย (Ha Noi) ไฮฟอง (Hai Phong)
102 กิโลเมตร
ฮานอย (Ha Noi) ลาวกาย (Lao Cai)
296 กิโลเมตร
ฮานอย (Ha Noi) หลั่งเซิน (Lang Son)
148 กิโลเมตร
ฮานอย (Ha Noi) ท้ายเหงียน (Thai Nquyen)
75 กิโลเมตร
ท้ายเหงียน (Thai Nguyen) ไบเซย์ (Bai Chay)
166 กิโลเมตร
1-15
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
เส้นทางการคมนาคมขนส่งทางรถไฟของเวียดนาม
ที่มา : This map depicts all the major and minor roads of Vietnam.
1-16
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ทางเรือ เวียดนามมีท่าเรือพาณิชย์ทังหมดกว่า 100 แห่ง สามารถรองรับสินค้าได้ประมาณ 15 ล้านตันต่อวัน และ สามารถรองรับเรือระวางบรรทุกสูงสุด 1 หมื่นตันได้ ทังนีท่าเรือส้าคัญของเวียดนาม ได้แก่ ท่าเรือโฮจิมินห์ เป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตังอยู่ที่ โฮ จิมินห์ ปัจจุบันการขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือโฮจิ มินห์-กรุงเทพฯ ยังมีน้อยเที่ยว เมื่อเทียบกับการ ขนส่ งจากเวีย ดนามไปสิ ง คโปร์ ดังนั นการขนส่ ง สินค้าจากไทยผ่านสิงคโปร์ไปเวียดนามจะสะดวก กว่า มีการพัฒนาท่าเรือนีให้รองรับเรือขนาดใหญ่ รัฐบาลเวียดนามมีแผนพัฒนาท่าเรื อโฮจิมินห์ ให้ เป็นท่าเรืออันดับ 15 ของโลก (จากอันดับที่ 29 ใน ปี 2552) โดยลงทุนเพิ่มอีก 440 ล้านด่อง ในช่วง 2554-2563
ที่มาภาพ : www.vpa.org.vn ท่าเรือไฮฟอง ตังอยู่ในเมืองไฮฟอง (Hai Phong) เป็นท่าเรือที่ ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ แต่ใหญ่ที่สุดในเขต ภาคเหนือ ไฮฟองเป็นศูนย์กลางการส่งออกสินค้า ของจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคเหนือของเวียดนาม ที่มาภาพ : www.haiphongtourism.gov.vn
ท่าเรือดานัง ดานั ง (Da Nang) มี ท่ า เรื อ น้ า ลึ ก Tien Sa Seaport นั บ เป็ น ท่ า เรื อ ส้ า คั ญ ของเวี ย ดนามใน ภาคกลาง รัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ท่าเรือแห่งนี เป็นท่าเรือใหญ่อันดับ 5 ของโลก ที่มาภาพ : www.tedi.vn
1-17
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ทางอากาศ เวียดนามมีสนามบินนานาชาติในระดับสากล 3 แห่ง คือ 1) Noi Bai International Airport ตังอยู่ทางตอนเหนื อห่ างจากกรุ งฮานอย (Hanoi) ประมาณ 30 กิ โ ลเมตร ให้ บ ริ ก าร ขนส่งผู้โดยสารและสินค้า มีเที่ยวบินไปฮ่องกง กั ว ลาลั ม เปอร์ ไทเป ดู ไ บ ปารี ส เบอร์ ลิ น มอสโก มะนิลา และกรุงเทพฯ 2) Da
Nang
International
Airport
ตังอยู่ทางภาคกลาง ห่างจากใจกลางนคร ดานังไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 2.5 กิโลเมตร เนือที่รวม 150 เฮกตาร์ เคยเป็นฐาน ทัพของสหรัฐฯ ในสมัยสงครามกลางเมือง ปัจจุบันให้บริการการบินภายในประเทศ และ ระหว่างประเทศ 3) Tan Son Nhat International Airport เป็ น สนามบิ น ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ของประเทศ ตังอยู่ ห่ างจากนครโฮจิ มิ น ห์ (Ho Chi Minh) ประมาณ 7 กิโลเมตร มีเที่ยวบินไปทังในยุโรป และเอเชี ย เบอร์ ลิ น ปารี ส แฟรงค์ เ ฟิ ร์ ต อั ม สเตอร์ ดั ม โซล โอซากา กวางเจา ไทเป ฮ่ อ งกง กรุ ง เทพฯ สิ ง คโปร์ กั ว ลาลั ม เปอร์ จาการ์ตา ซิดนีย์ มอสโค และมะนิลา เป็นต้น ที่มาภาพ : http://en.vietnamairport.vn
1-18
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
นอกจากนียังมีสนามบินขนาดใหญ่อีก 2 แห่ง ได้แก่ สนามบินลองแถ่ง (Long Thanh) ในจังหวัดด่องไน (Dong Nai) และ สนามบินจูลาย (Chu Lai) ซึง่ ตังอยูใ่ นจังหวัดกว๋างนาม (Quang Nam) ทางภาคกลางของ เวียดนาม ในปัจจุบันได้ถูกพัฒนาไปสู่การเป็นศูนย์กลาง การบิ น และ Global Transpark หรื อ ศู น ย์ ก ลาง การขนส่งสินค้าระดับนานาชาติ ซึ่งประกอบด้วย โครงสร้ า งพื นฐานที่ ส มบู ร ณ์ แ บบทั ง ระ บบ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการต่าง ๆ ภายใน สนามบิ น ตลอดจนสามารถเชื่ อ มโยงต่ อ ไปยั ง โครงสร้างพืนฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการ ขนส่งอย่างครบวงจร อาทิ ท่าเรือน้าเส้นทางรถไฟ และทางด่วน เป็นต้น ที่มาภาพ : www.tinnhanhchungkhoan.vn และยังมีสนามบินเล็กๆ ตามจังหวัดต่างๆ อีก 18 แห่ง เพื่อรองรับการขนส่งภายในประเทศ ทังนีสนามบินใน จังหวัดต่างๆ มีหลายแห่งที่ก้าลังอยู่ระหว่างการยกฐานะให้เป็นสนามบินนานาชาติ และยังมีสนามบินเพื่อ รองรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวด้วย คือ สนามบินบนเกาะกงด๋าว (Con Dao Island) เกาะใหญ่อันดับ 2 ของ เวียดนาม ตังอยู่ปลายสุดของแหลมญวนในเขตทะเลจีนใต้ และสนามบินเกาะฟู้ก๊วก (Phu Quoc Island) จังหวัดเกียนยาง (Kien Giang) ซึ่งถือเป็นเกาะใหญ่ที่สุดของเวียดนาม ปัจจุบันเวียดนามมีสายการบิน เวียดนาม แอร์ไลน์ (Vietnam Airlines) เป็นสายการบินประจ้าชาติ ให้บริการทังการบินภายในและต่างประเทศ ทังใน เอเชีย ออสเตรเลี ย ยุโ รปและอเมริกาเหนือ ฮับ ใ ห ญ่ ข อ ง ส า ย ก า ร บิ น ตั ง อ ยู่ ที่ Noi Bai International Airport ใกล้ กั บ กรุ ง ฮานอย และ Tan Son Nhat International Airport ณ น ค ร โฮจิมินห์ ที่มาภาพ : svhttdldienbien.gov.vn นอกจากนียังมีสายการบินเจ็ทสตาร์ แปซิฟิก (Jetstar Pacific Airlines) เป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มเจ็ทสตาร์ ที่ นั บ เป็ น สายการบิ น ราคาประหยั ด ชั นน้ า แห่ ง หนึ่ ง ในภู มิ ภ าคเอเชี ย - แปซิ ฟิ ก ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเส้ น ทางบิ น ภายในประเทศถึง 11 เส้นทางระหว่างเมืองส้าคัญๆ ของประเทศเวียดนาม เช่น นครโฮจิมินห์ ฮานอย ดานัง วินห์ ไฮฟอง เว้ บวนมาถวด ญาจาง และฟู้ ก๊วก โดยมีผู้ถือหุ้นใหญ่คือสายการบินเวียดนามแอร์ไลน์ และสาย การบินแควนตัสของออสเตรเลีย และสายการบินเวียดเจ็ทแอร์ เป็นสายการบินเอกชนแห่งแรกในประเทศ เวียดนาม และสายการบินต้นทุนต่้า ได้รับใบอนุญาตบินทังในประเทศและระหว่างประเทศ 1-19
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ระบบการเมือง การปกครอง และบุคคลสาคัญ
ระบบการเมืองการปกครอง การเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ เนื่องจาก มี พ รรคคอมมิ ว นิ ส ต์ เ วี ย ดนาม เป็ น องค์ ก รที่ มี อ้ า นาจสู ง สุ ด เพี ย งพรรคการเมื อ งเดี ย ว การ ปกครองของเวียดนามปกครองโดยระบอบสังคม นิยม มีพรรคการเมืองเดียวคือ พรรคคอมมิวนิสต์ แห่ ง เวี ย ดนาม (Communist Party of Vietnam หรื อ CPV) ที่ มี อ้ า นาจสู ง สุ ด ตามรั ฐ ธรรมนู ญ ที่ ประกาศใช้เมื่อปี 2535 มีสภาแห่งชาติ (National Assembly) ที่มาจากการเลือกตัง มีวาระการด้ารง ต้าแหน่ง 5 ปี มีภารกิจที่ส้าคัญ 3 ด้าน คือ ด้านนิติ บั ญ ญั ติ ด้ า นการตั ด สิ น ใจปั ญ หาส้ า คั ญ ของชาติ และด้านการควบคุมสูงสุดในทุกกิจกรรมของรัฐ โครงสร้างการปกครองของเวียดนาม แบ่งเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ 1) ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ สภาแห่งชาติ (Quoc Hoi หรือ National Assembly) มีสมาชิก รว ม 493 คน มี อ้ า นาจสู ง สุ ด ในการ ก้ า ห น ด น โ ย บ า ย ทั ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ต่างประเทศ มีห น้ าที่บั ญญัติ และแก้ ไ ข กฎหมาย แต่ ง ตั งประธานาธิ บ ดี ต ามที่ พรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ เ สนอ ให้ ก ารรั บ รอง หรื อ ถอดถอนนายกรั ฐ มนตรี ต า มที่ ประธานาธิ บ ดี เ สนอ รวมทั งแต่ ง ตั ง คณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ 2) ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ห รื อ รั ฐ บ า ล ก ล า ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี รวมไป ถึ ง ต้ า แหน่ ง ส้ า คั ญ ในพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ เช่น สมัชชาของพรรคคอมมิวนิสต์ มีวาระ ด้ารงต้าแหน่ ง 5 ปี มีหน้ าที่พิจารณาให้ ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การด้ า เนิ น งานของ
องค์กรบริหารระดับสู ง เลขาธิการพรรค คอมมิ ว นิ ส ต์ เป็ น ผู้ มี อ้ า นาจสู ง สุ ด ของ พรรค คณะกรรมการกลางของพรรค คอมมิว นิส ต์ท้า หน้า ที่ก้า หนดนโยบาย ด้า นการเมือ ง เศรษฐกิจ สัง คม และ วัฒ นธรรม และคณะกรรมการบริห าร ก า ร เ ม ือ ง (Politburo) เ ป ็น อ ง ค ์ก ร บริหารสูงสุด เป็นศูนย์กลางอ้านาจในการ ก้ า ห น ด น โ ย บ า ย แ ล ะ ค ว บ คุ ม ก า ร ด้าเนินงานให้เป็นไปตามแนวทางที่ก้าหนด 3) การปกครองส่วนท้องถิ่น ในแต่ละจังหวัด จะมีคณะกรรมการประชาชน (Provincial People’s Committee) ท้ า ห น้ า ที่ บริหารงานภายในท้องถิ่นให้ เป็นไปตาม กฎ หมายรัฐ ธ รรมนูญ นโยบายและ กฎระเบียบต่างๆ ที่บัญญัติโดยองค์กรของ รัฐที่อยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริหาร ราชการท้องถิ่นขอเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด แ ล ะ เ ที ย บ เท่า มี 59 จังหวัดกับอีก 5 นคร คื อ ฮานอย (Hanoi) โฮจิ มิ น ห์ ( Ho Chi Minh) ไ ฮ ฟ อ ง (Hai Phong) ดานัง (Da Nang) และ เกิ่นเธอ (Can Tho) ซึ่งจะได้รับ ง บ ป ร ะ ม า ณ จ า ก ส่ ว น ก ล า ง โดยตรง รวมทั งข้ า ราชการจะ ได้ รั บ การแต่ ง ตั งโดยตรงจาก ส่ ว นกลาง จึ ง มี อ้ า นาจในการ ตัดสิ นใจอย่างเต็มที่ ช่ว ยให้ เกิด ความคล่องตัวในการบริหารงาน 2. ร ะ ดั บ เ มื อ ง แ ล ะ เ ท ศ บ า ล มี ประมาณ 600 หน่วย 3. ระดั บ ต้ า บลมี ป ระมาณ 1 หมื่ น ต้าบล 1-20
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
ระบบกฎหมาย ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย ที่ มี ร า ก ฐ า น จ า ก ก ฎ ห ม า ย แนวความคิ ด สั ง คมนิ ย ม (Communist Legal Theory) และระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษรของ ฝรั่ งเศส (French Civil Law) และไม่ย อมรั บ เขต อ้านาจโดยบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice: ICJ) รัฐบาลเวียดนามส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ โดยได้ อ อกกฎหมายเกี่ ย วกั บ การลงทุ น จาก ต่ า งประเทศ ชื่ อ Unified Enterprise Law และ Common Investment Law ป ร ะ ก า ศ ใ ช้ เ มื่ อ เดือนกรกฎาคม 2548 เป็นกฎหมายการลงทุนของ
เวียดนามที่ค่อนข้างชัดเจนและเอือประโยชน์แ ก่ นักลงทุนโดยรัฐ บาลยืนยันที่จะไม่ยึดกิจการเป็น ของรัฐ รวมทังอนุญาตให้ส่งเงินทุนและก้าไรกลับ ประเทศได้ รั ฐ บาลจะไม่ เ ก็ บ ภาษี เ ครื่ อ งจั ก ร อุ ป กรณ์ และวั ส ดุ ก่ อ สร้ า งที่ น้ า เข้ า มาเพื่ อ ผลิ ต สิ น ค้ า ส่ ง ออก นอกจากนี ยั ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุมัติโครงการลงทุน จากต่างชาติ โดยใช้ระบบ “One-stop Service” เพื่อแก้ปัญหาความล่าช้าเกี่ยวกับการขออนุ ญาต ลงทุน
1-21
โครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน
เวลาทาการของหน่วยงานและวันหยุดนักขัตฤกษ์ ประเทศเวี ย ดนามใช้ เ ขตแบ่ ง เวลาเดี ย วกั บ ประเทศไทยคือ เวลามาตรฐานโลก ที่เมืองกรีนิช
เวลาราชการ เวลาทาการของเอกชน
เวลาทาการของร้านค้า วันหยุดนักขัตฤกษ์
(Greenwich Mean Time: GMT) บ ว ก อี ก 7 ชั่ ว โมง และมี เ วลาท้ า การของหน่ ว ยงานและ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ดังนี
วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00 -12.00 น. และ 13.30 -16.30 น. โรงงานอุตสาหกรรมท้างานวันจันทร์ - ศุกร์ และวันเสาร์อีกครึ่งวัน โดยเวลา ท้างานรวมไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หากเกินจากนีต้องจ่ายเงินค่าล่วงเวลา ส้าหรับวันหยุดประจ้าสัปดาห์ต้องจ่ายค่าจ้างเพิ่ม 2 เท่า และวันหยุดนักขัต ฤกษ์จ่ายเพิ่ม 3 เท่า ร้านค้าเอกชนทั่วไปเปิดให้บริการระหว่าง 6.00 – 21.00 น. วันขึนปีใหม่ 1 มกราคม หยุด 1 วัน เทศกาลเต๊ด (Tet) หรือวันตรุษเวียดนาม ระหว่างปลายเดือนมกราคมถึง ต้นเดือนกุมภาพันธ์ หยุด 4 วัน วันปฐมกษัตริย์ วันที่ 10 ของเดือนที่ 3 ตามปฏิทินจันทรคติ หยุด 1 วัน วันฉลองเอกราช( Victory Day ) 30 เมษายน หยุด 1 วัน วันแรงงานแห่งชาติ 1 พฤษภาคม หยุด 1 วัน วันชาติ 2 กันยายน หยุด 1 วัน
1-22