2.1
Page | 1
ข้อมูลทางเศรษฐกิจและดัชนีชี้วัดที่สาคัญ
เศรษฐกิ จ เวี ย ดนามเปลี่ ย นจากระบบการ วางแผนจากส่วนกลางมาเป็นระบบเศรษฐกิจแบบ เสรี ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม ของภาครั ฐ บาล โดยใช้ นโยบายเศรษฐกิจแบบใหม่ ที่มีการกระจายอานาจ ทางเศรษฐกิจ สู่ ท้องถิ่น มากขึ้น นโยบายปฏิรูป นี้ เรี ย กว่า นโยบายโด่ยเหมย (DOI MOI) พร้ อมทั้ง กระตุ้นให้เอกชนมีบทบาทในการดาเนินธุรกิจ และ ส่งเสริมการค้าและการลงทุนจากต่างประเทศมาก ขึ้ น จากสภาพภู มิ ป ระเทศและภู มิ อ ากาศ ที่ เอื้ อ อ านวยต่ อ การท าเกษตรกรรม มี ค วามอุ ด ม สมบู ร ณ์ ทั้งทรั พยากรธรรมชาติ และสิน แร่ ทาให้ เวีย ดนามสามารถผลิ ตผลผลิ ตทางการเกษตรได้ เป็นจานวนมาก ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นแรงดึงดูด ให้นักลงทุนต่างชาติสนใจที่จะเข้ามาลงทุน ทาการ ผลิตสินค้าในเวียดนาม จากโครงสร้ า งเศรษฐกิ จ เวี ย ดนามปี 2555 พบว่า เวียดนามมีการพึ่งพาภาคอุตสาหกรรมเป็น หลัก คิดเป็นร้อยละ 39.90 รองมาเป็นภาคบริการ ร้อยละ 38.10 และภาคการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 22.00 ตามลาดับ ในปี 2557 เวียดนามมีผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศมู ล ค่ า 186.20 พั น ล้ า น
ดอลลาร์สหรัฐ มีอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบ 3 ปี ที่ร้อยละ 5.98 เมื่อเทียบกับปี 2556 แม้ว่าในปี 2557 เวี ย ดนามจะเผชิ ญกั บ วิ ก ฤติ ธ นาคาร และ ราคาน้ามันในตลาดโลกที่ล ดลง ส่ งผลต่อรายได้ จากการส่ ง ออกน้ ามั น ดิ บ ของเวี ย ดนามลดลง ขณะเดี ย วกั น ส่ ง ผลต่ อ ต้ น ทุ น การผลิ ต และการ ขนส่งของภาคธุรกิจที่ลดลง ทาให้ภาค ส่งออกของ เวี ย ดนามมี ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น มากขึ้ น ประกอบกั บใ นปี 2558 เวี ย ดนามจะ มี ก า ร ลงนามข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) กับหลายประเทศ ได้ แ ก่ เกาหลี ใ ต้ สหภาพยุ โ รป กลุ่ ม ประเทศ คาซัค สถาน เบราลุ ส และ TPP ซึ่งจะยิ่งส่ งเสริม การส่งออกของเวียดนามอีกทางหนึ่งด้วย และยัง ส่งผลต่อกาลังซื้อของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นด้วย ดังนั้น จึ ง ค า ด ว่ า ก า ร ส่ ง อ อ ก แ ล ะ ก า ร บ ริ โ ภ ค ภายในประเทศเวีย ดนามจะขยายตั ว มากขึ้ น อี ก นอกจากนี้ รั ฐ บาลเวี ย ดนามมี น โยบายควบคุ ม อัตราแลกเปลี่ ยน เพื่อไม่ให้ ส่ งผลกระทบต่อการ ส่งออกและต่อเศรษฐกิจของประเทศที่พึ่งพาการ ส่งออกเป็นหลัก รัฐบาลเวียดนามยังได้ตั้งเป้าการ เติบโตทางเศรษฐกิจของปี 2558 ไว้ที่ร้อยละ 6.20 อีกด้วย