3.1
นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเวียดนาม
Page | 1
1
เวียดนามเป็นอีกประเทศหนึ่งในภูมิภาคอาเซียนที่ได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างชาติเป็นจานวนมาก เศรษฐกิจของเวียดนามมีการพัฒนาที่ดีขึ้นและยังปรับตัวในทิศทางที่สอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจโลก โดย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาเวียดนามประสบความสาเร็จในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ รัฐบาลมีการ ปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบทางการค้าและการลงทุนให้เกิดความคล่องตัว สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดย กาหนดทิศทาง การพัฒนาประเทศไปสู่อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงขึ้น และปรับเปลี่ยนนโยบายส่งเสริม การลงทุนจากต่างประเทศจากกิจการร่วมทุนมาเป็นกิจการที่ลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด รัฐบาลเวียดนามมีนโยบายสนับสนุนให้นักลงทุน ต่ างชาติ เข้ ามาลงทุ น ในประเทศ โดยการให้ สิ ทธิ ประโยชน์ ห ลายประการแก่ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ นอกจากนี้ การที่ เ วี ย ดนามเข้ า มาเป็ น สมาชิ ก องค์การการค้าโลก (World Trade Organization : WTO) เมื่อปี 2550 ทาให้รัฐบาลเวียดนามต้องเร่ ง เปิดเสรีการลงทุนให้เป็นไปตามเกณฑ์ของ WTO ยิ่ง ส่ ง ผลให้ เ วี ย ดนามน่ า สนใจในสายตานั ก ลงทุ น ต่างชาติ แม้ว่าประเทศเวียดนามจะมี ระบอบการ ปกครองแบบสังคมนิยม แต่ก็เปิดกว้างด้านนโยบาย การลงทุน ซึ่งกฎหมายการลงทุนของเวียดนามเอื้อ ประโยชน์แก่นักลงทุน โดยรัฐบาลได้รับประกันว่าจะ ปฏิ บั ติ กั บ นั กลงทุ น ต่ างชาติ ที่ ล งทุ น ในเวี ย ดนาม อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรมในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ไม่มีการยึดทรัพย์สินหรือโอนกิจการลงทุนของ ต่างประเทศเป็นของรัฐตลอดช่วงระยะเวลาของ การลงทุน 2) ปกป้ อ งสิ ท ธิ ใ นทรั พ ย์ สิ น อุ ต สาหกรรม และ ผลประโยชน์ ใ นการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ใ น เวียดนาม
1
3) ปกป้ อ งผลประโยชน์ ข องนั ก ลงทุ น อย่ า ง สมเหตุสมผล หากมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ใดๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นักลงทุน เช่น หากกฎหมายที่ ประกาศใช้ ในภายหลั ง ท าให้ ผลประโยชน์ ของนั กลงทุ นลดลง นั กลงทุ นที่ ลงทุนก่อนหน้าที่กฎหมายนั้นจะประกาศใช้มี สิทธิเลือกใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายเดิมได้ 4) ให้สิทธิในการโอนย้ายรายได้ และกาไรที่ได้รับ จากการดาเนินธุรกิจ เงินต้น และดอกเบี้ยเงินกู้ จากต่างประเทศในระหว่างดาเนินกิจการ เงิน ลงทุ น และทรั พย์ สิ นอื่ นๆ ที่ มี กรรมสิ ทธิ์ โ ดย ชอบด้วยกฎหมาย รวมถึงรายได้หลั งหั กภาษี เงินได้ของแรงงานต่างชาติที่ทางานในเวียดนาม ไปต่างประเทศได้ 5) เมื่อเกิดข้อพิพาทระหว่างผู้ร่วมทุน หรือระหว่าง บริษัทต่างชาติ กับสถาบั นใดๆ ของเวียดนาม และไม่ สามารถตกลงกั นได้ สามารถเสนอให้ อนุญาโตตุลาการหรือองค์กรอื่นๆ ตามที่ตกลง กันเป็นผู้ไกล่เกลี่ยหรือประนีประนอมได้ 6) อนุญาตให้บริษัทต่างชาติในเวียดนามลงทุนได้ เป็นระยะเวลา 50 ปี และสามารถต่อเวลาได้ถึง 70 ปี
คู่มือการประกอบธุรกิจสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)
3.2
กฎระเบียบการลงทุน
หน่ ว ยงานที่ ดู แ ลรั บ ผิ ดชอบโดยตรงด้า นการ ลงทุ น ของต่ า งชาติ ใ นเวี ย ดนาม คื อ กระทรวง วางแผนและการลงทุน หรือ Ministry of Planning and Investment (MPI) ท าหน้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การ วางแผนนโยบายและสิ ทธิประโยชน์ในการลงทุน ให้แก่ ชาวเวียดนามและต่างชาติ รวมถึงกากับดูแล ให้ความช่วยเหลือด้านข้อมูลและส่งเสริมการลงทุน ในเวียดนาม และการพิจารณาอนุมัติการลงทุนใน โครงการต่างๆ รั ฐ บาลเวีย ดนามได้ ป ระกาศใช้ก ฎหมายการ ลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ หรือที่เรียกว่า Law on
Foreign Direct Investment เพื่ อ รั บ ประกั น การ ปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมให้กับนักลงทุน ประกอบกั บ การเข้ า เป็ น สมาชิ ก WTO ของ เวียดนามในปี 2550 เป็นผลให้รัฐบาลเร่งเปิดเสรี ด้านการลงทุน ซึ่งมีส่วนอย่างมากในการสร้างความ มั่นใจให้แก่นักลงทุนต่างชาติ อย่างไรก็ตามรัฐบาล เวียดนามได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายการลงทุน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และดึ ง ดู ด ให้ เ กิ ด การ ลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น กฎหมายที่เกี่ยวกับ การลงทุ น ในเวี ย ดนาม ในปั จ จุ บั น คื อ Low on Investment ซึ่ ง มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ เ มื่ อ 1 กรกฎาคม 2558
Page | 2
3.3
การจัดตั้งองค์กรธุรกิจ/บริษัท และการลงทุนในเวียดนาม
3.3.1 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจในเวียดนาม การลงทุน โดยตรงในเวีย ดนามของนั ก ลงทุ น ต่างชาติส ามารถเข้ามาลงทุน ในรู ปแบบต่างๆ ได้ ดังนี้ 1) กิ จ การที่ ช าวต่ า งชาติ เ ป็ น เจ้ า ของทั้ ง หมด (Wholly Foreign-Owned Enterprise)
3) สาขาบริ ษั ท ต่ า งชาติ (Foreign Company Branch) สาขาบริษัทต่างชาติ กฎหมายของเวียดนาม อนุญาตให้ นักลงทุนต่างชาติเปิดบริษัทสาขาเพื่ อ ดาเนินธุรกิจได้หากมีการ จดทะเบียนอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย หรือมีใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ในประเทศของนักลงทุนมาแล้ว มากกว่า 5 ปี
เป็ น การลงทุ น ขององค์ ก รหรื อ เอกชนจาก ต่ า งประเทศทั้ ง หมด การลงทุ น ในลั ก ษณะนี้ มี สถานะเป็ น นิ ติบุ คคลตามกฎหมายของเวียดนาม ซึ่งได้รับอนุมัติจาก MPI หรือเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น การ ลงทุ น แบบนี้ เ ป็ น การลงทุ น ที่ มี ก ารบริ ห ารงาน คล่ อ งตั ว เนื่ อ งจากผู้ ล งทุ น มี อ านาจเต็ ม ที่ ใ นการ บริหาร ระยะเวลาใน การลงทุนสามารถถึง 50 ปี และไม่มีการจากัดในเงินลงทุน
สาขาบริษัทต่างชาติ สามารถดาเนินการค้าได้ 2 ประเภทคื อ สิ น ค้ า เพื่ อ ส่ ง ออก อาทิ งาน หั ต ถกรรม ผลไม้ การแปรรู ป อาหาร สิ น ค้ า อุตสาหกรรมของ ผู้บริโภค เนื้อสัตว์และเนื้อสั ตว์ ปี ก สิ น ค้ า เกษตร (ยกเว้ น ข้ า วและกาแฟ) สิ น ค้ า นาเข้าจากต่างประเทศอาทิ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ส าหรั บ การท าเหมื อ ง การแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตร วัสดุในการผลิตยา ปุ๋ย และยาฆ่าแมลง
2) ส า นั ก ง า น ตั ว แ ท น ( Representative Office: RO)
4) บริษัทร่วมทุน (Joint Venture) ระหว่าง นักลงทุนต่างชาติกับคนชาติ
ส านั ก งานตั ว แทนท าหน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ แ ทนของ บริษัทแม่ในการเจรจาต่อรองและลงนามขอสัญญา ซื้อขาย ควบคุมการดาเนินของสัญญา บริการข้อมูล ด้ า นการตลาดติ ด ตามและให้ ค าปรึ ก ษาด้ า น กฎหมาย แสวงหาโอกาสในการลงทุ น /คู่ ค้ า ท า กิจกรรมทางการตลาดประชาสัมพันธ์และส่งเสริม สินค้า/บริการของบริษัท
กิจการร่วมทุนก่อตั้งโดยสัญญาร่วมทุนระหว่าง นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ร ายเดี ย วหรื อ หลายรายกั บ นักลงทุนของเวียดนามรายเดียวหรือหลายราย เพื่อ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ร่ ว มกั น หรื อ บางกรณี อ าจเป็ น การ ดาเนินการระหว่างรัฐบาลต่างประเทศกับรัฐ บาล เวี ย ดนาม การลงทุ น ในรู ป แบบกิ จ การร่ ว มทุนนี้ เป็นการตั้งบริษัทใหม่ในรูปหุ้ นส่ ว นที่จากัดความ รับผิดชอบ มีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของ เวี ย ดนาม การจั ด ตั้ ง ต้ อ งจดทะเบี ย นและได้ รั บ อ นุ มั ติ จ า ก Ministry of Planning and Investment (MPI) มี ก ารก าหนดระยะเวลาของ การลงทุนไว้ชัดเจนในสัญญา หากไม่สามารถทาได้ ตามเวลาที่กาหนดอาจถูกยกเลิกสัญญาทันที
Page | 3
ทั้งนี้ ระยะเวลาของสัญญามีกาหนดไว้ไม่เกิน 50 ปี แต่ขึ้นกับเงินลงทุนด้วย กิ จ ก า ร ร่ ว ม ทุ น จ ะ ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย ค ณะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ( Board of Management: BOM) ซึ่งประกอบด้ว ยผู้ แทนจากนั กลงทุนแต่ละ ฝ่ายตามสัดส่วนของเงินลงทุน ทั้งนี้ สมาชิกอย่าง น้อย 2 คน ใน BOM จะต้องมาจากฝ่ายเวียดนาม ส่ ว นประธานของ BOM มาจากการแต่ งตั้ งโดยผู้ ร่วมทุนทั้งสองฝ่ายซึ่งเห็นชอบร่วมกันเป็นเอกฉันท์ และ BOM จะแต่งตั้งผู้ อานวยการทั่ว ไปและรอง ผู้ อานวยการทั่ว ไป เพื่อรั บ ผิ ดชอบในการบริห าร กิจการ ซึ่งผู้อานวยการทั่วไปหรือรองผู้อานวยการ ทั่ ว ไป คนใดคนหนึ่ ง จะต้ อ งเป็ น ตั ว แทนจากฝ่ าย เวียดนาม การลงทุนในรูปแบบนี้เป็นรูปแบบการลงทุนที่ รัฐบาลเวียดนามให้การส่งเสริมมากที่สุด นอกจากนี้ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ส ามารถอาศั ย หุ้ น ส่ ว นชาว เวียดนามเป็นผู้ติดต่อประสานงานกับหน่วยราชการ ต่างๆ ของเวียดนาม ทาให้ได้รับความสะดวกและ รวดเร็ว ซึ่งนักลงทุนท้องถิ่นชาวเวียดนามมักร่ว ม ทุ น โดยใช้ ที่ ดิ น และสิ่ ง ก่ อ สร้ า งในเวี ย ดนามตี ค่ า ออกมาเป็นเงินลงทุน ซึ่งมักจะประเมินสูงกว่ามูล ค่าที่แท้จริง ทาให้นักลงทุนชาวต่างชาติเสียเปรียบ อี ก ทั้ ง อาจมี ปั ญ หาด้ า นการบริ ห ารงานและการ ขยายธุรกิจ 5) สั ญ ญาร่ ว มลงทุ น ธุ ร กิ จ ( Business Cooperation Contract: BCC) สั ญ ญาร่ ว มลงทุ น ธุ ร กิ จ เป็ น การร่ ว มทุ น ทาง ธุ ร กิ จ ระหว่ า งนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ กั บ นั ก ลงทุ น เวียดนาม ซึ่งอาจมีมากกว่า 1 รายเข้าร่วมทาธุรกิจ ด้ ว ย มี ค วามยื ด หยุ่ น มากที่ สุ ด สั ญ ญาร่ ว มลงทุ น ธุรกิจสามารถเปิดสานักงานเป็นตัวแทนที่เวียดนาม การลงทุนในรูปแบบนี้ไม่มีข้อกาหนดเรื่องเงินลงทุน ขั้นต่าของต่างชาติ รวมทั้งไม่ได้กาหนดสัดส่วนการ
ถื อ หุ้ น ของต่ า งชาติ ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ การตกลงท า สั ญ ญ า ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ กั บ นั ก ลงทุ น เวี ย ดนาม ส่ ว น ระยะเวลาของสั ญ ญาขึ้ น อยู่ กั บ การตกลงกั น อย่างไรก็ตามแม้จะไม่มีข้อจากัดเรื่องระยะเวลา แต่ โดยส่วนใหญ่แล้วสัญญาชนิดนี้จะเป็นสัญญาระยะ สั้ น ข้อเสี ยของการลงทุนประเภทนี้ คือ ไม่มีการ จากัดความรับผิดชอบหากเกิดการขาดทุน อีกทั้ง นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ยั ง ขาดความเป็ น อิ ส ระในการ บ ริ ห า ร ง า น ใ น สั ญ ญ า ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย วัตถุประสงค์ทางธุรกิจ เนื้อหาของความร่วมมือทาง ธุ ร กิ จ ระหว่ า งหุ้ น ส่ ว น ระยะทางธุ ร กิ จ ความ รั บ ผิ ด ชอบของหุ้ น ส่ ว น เป็ น ต้ น แต่ นั ก ลงทุ น ต่างชาติสามารถโอนเงินที่เป็นผลกาไรกลับประเทศ ได้ค่อนข้างง่าย 6) กิ จ การที่ ท าสั ญ ญากั บ ภาครั ฐ (PublicPrivate Partnership: PPP) กิจการที่ทาสัญญากับภาครัฐเป็นรูปแบบการ ลงทุนที่เป็นข้อตกลงระหว่า งหน่ว ยงาน ราชการ ของเวี ย ดนามกั บ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ซึ่ ง อาจเป็ น บริษัทต่างชาติถือหุ้นทั้งหมดหรือบริษัทร่วมทุนกับ เวี ย ดนามก็ ไ ด้ เ พื่ อ ที่ จ ะสร้ า งหรื อ ด าเนิ น การใน โครงการสาธารณูปโภคขั้น พื้นฐาน เช่น สะพาน ถนน สนามบิน ท่าเรือ ประปา ไฟฟ้า เป็นต้น ผู้ ลงทุ น จะได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ด าเนิ น โครงก ารใน ระยะเวลาที่ จ ะท าให้ ส ามารถได้ รั บ เงิ นลงทุ นคืน พร้อมกาไรที่สมเหตุสมผล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อกาหนด ในสัญญา ดังนี้
Page | 4
(1) Build-Operate-Transfer ( BOT) คื อ เ มื่ อ ก่อสร้างเสร็จแล้วสามารถหาผลประโยชน์ได้ใน ช่วงเวลาหนึ่งก่อนโอนกิจการเป็นของรัฐ (2) Build-Transfer-Operate (BTO) คื อ เ มื่ อ ก่อสร้ างเสร็ จ แล้ ว ต้ อ งโอนให้ รั ฐ ก่ อ น จึงเปิ ด ดาเนินการเพื่อหาผลประโยชน์ได้ในช่วงเวลา หนึ่ง (3) Build-Transfer-Contract (BT) คื อ รั ฐ บาล เวี ย ดนามอนุ ญ าตให้ นั ก ลงทุ น ต่ า ง ช า ติ ดาเนิ น การก่อสร้ างโครงการก่อสร้ างจนแล้ ว เสร็ จ หลั งจากนั้ น นั ก ลงทุน ต่า งชาติต้ อ งโอน โครงการก่ อ สร้ า งดั ง กล่ า วให้ กั บ รั ฐ บาล เวียดนาม โดยรัฐบาลเวียดนามจะอนุญาตให้ นั กลงทุน ต่างชาติไปดาเนิ น การก่อสร้ า งหรื อ บริ ห ารโครงการลงทุน อื่น ๆ เพื่อให้ นั กลงทุ น ต่ า งชาติ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทนคุ้ ม กั บ ต้ น ทุ น ค่ า ก่อสร้างและมีผลกาไรตามสมควร กิ จ การที่ ท าสั ญ ญากั บ ภาครั ฐ มี ห น่ ว ยงาน รับผิดชอบหลักคือ กระทรวงการวางแผนและการ ลงทุ น (MPI) ท าหน้ า ที่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษาส าหรั บ นั ก ลงทุ น เอกช นในการเตรี ย มโ ครงการ และ ประสานงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ทาหน้าที่รายงานข้อมูลต่อนายกรัฐ มนตรี
เพื่อขออนุมัติโครงการ ซึ่งรัฐบาลเวียดนามได้จัดตั้ง คณะกรรมการอานวยการด้านการลงทุนรูป แบบ PPP เพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ หน่ ว ยงานภาครั ฐ เจ้าของโครงการ นอกจากนี้รัฐบาลเวียดนามจะให้ การสนับสนุนการลงทุนต่างชาติ โดยการให้ สิ ทธิ พิเศษในการใช้ ที่ ดิน และสิ่ งอ านวยความสะดวก ต่างๆ รวมทั้งสิทธิพิเศษทางด้านภาษี เป็นต้น 7) รูปแบบการลงทุนอื่นๆ นอกจากที่กล่าว มาแล้ว (1) การตั้งส านักงานตัว แทนทางการค้า และ การลงทุนในเวียดนาม เพื่อทาหน้าที่แทน บริษัทแม่ในต่างประเทศ (2) การขยายสาขาของธุรกิจบางประเภท เช่น ธนาคาร ประกั น ภั ย การบั ญ ชี หรื อ กฎหมาย เป็ น ต้ น แต่ จ ะมี ข อบเขตการ ดาเนินกิจการที่ค่อนข้างจากัด (3) ก า ร ค ว บ ร ว ม บ ริ ษั ท ( Merger and Acquisition: M & A) (4) ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ท า ง เ งิ น ทุ น ( Capital Contribution) ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร บริษัท
Page | 5
3.3.2 ขั้นตอนการจัดตั้งบริษัทและการลงทุน สาหรับผู้ประกอบการที่จะลงทุนในเวียดนาม เมื่อผู้ประกอบการประเมินศักยภาพของตนเอง ทั้งในด้าน ความเชี่ยวชาญในธุรกิจ ความสามารถในด้านการตลาด การพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากร ประสบการณ์ใน การลงทุนต่างประเทศ และวิสัยทัศน์ในการดาเนินธุรกิจ เนื่องจากสภาพแวดล้อมการลงทุนในแต่ละประเทศจะ แตกต่างกัน เมื่ อ ศึ ก ษาและท าการวิ เ คราะห์ ป ระเมิ น โครงการเสร็จสิ้นแล้ว ผู้ประกอบการจะต้องเลือก รู ป แบบในการลงทุ น ซึ่ ง เวี ย ดนามอนุ ญ าตให้ ต่างชาติลงทุนได้ทั้งในลักษณะสัญญาร่วมลงทุนกับ นั ก ธุ ร กิ จ เ วี ย ด น า ม ( Business Cooperation Contract: BCC) กิ จ การร่ ว มทุ น กั บ นั ก ธุ ร กิ จ เวี ย ดนาม (Joint Venture: JV) หรื อ กิ จ การที่ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ล งทุ น เองทั้ ง หมด
(Wholly Foreign – own Enterprise) หรื อ การ ทาสัญญากับภาครัฐในกรณีโครงการก่อสร้างขนาด ใหญ่ หากเป็นการลงทุนเองทั้งหมด นักลงทุนจะมี อิส ระในการบริ ห ารงานอย่ า งเต็ มที่ ทั้งนี้รัฐ บาล เวียดนามยังไม่อนุญาตให้ ต่างชาติส ามารถลงทุน เองทั้ ง หมดในบางกิ จ การ โดยเฉพาะในสาขา บริ ก าร เช่ น ร้ า นอาหาร โรงแรม การลงทุ น ใน เวียดนามมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การขอใบอนุญาตการลงทุน การพิจาณาอนุมัติใบอนุญาตลงทุนจะขึ้นอยู่กับชนิดของโครงการ และมูลค่าเงินลงทุน โดยใบอนุญาต ลงทุนของนักลงทุนต่างชาติจะมีระยะเวลาที่แน่นอนตามกฎหมาย คือ ไม่เกิน 50 ปี อย่างไรก็ตามอาจขยาย เวลาได้สูงสุดถึง 70 ปี แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐบาล ใบอนุญาตลงทุนจะระบุข อบเขตของกิจกรรม ทางธุรกิจซึ่งนักลงทุนต่างชาติได้รับอนุญาตให้ดาเนินการในเวียดนาม จานวนเงินลงทุน รวมทั้งสถานที่และ จานวนพื้นที่ที่ใช้ ดังนั้นนักลงทุนควรเตรียมจัดทาข้อเสนอโครงการ (Proposal) ให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญ เกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ วัตถุประสงค์ ที่ตั้งของโครงการ ลักษณะการลงทุน และผู้ร่วมทุนท้องถิ่น (ถ้ามี) เพื่อ เสนอต่อผู้มีอานาจอนุมัติโครงการ ส าหรั บ ผู้ มี อ านาจในการอนุ มั ติ โ ครงการจะ แตกต่างกัน ตามมู ล ค่ าเงิน โดยในปั จ จุ บั น จั ง หวั ด สามารถอนุ มั ติ อ อกใบอนุ ญ าตลงทุ น โครงการที่ ตั้งอยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรมหรื อเขตส่งเสริม การส่งออก ซึ่งมีมูลค่าเงินลงทุนน้อยกว่า 20 ล้าน ดอลลาร์ ส หรั ฐ และเป็ น โครงการที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ น ประเภทการลงทุนที่มีเงื่อนไข ได้ทุกโครงการ หาก
เงินลงทุนมากกว่า 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือเป็น โครงการที่มีเงื่อนไขการลงทุน MPI จะเป็นผู้อนุมัติ ออกใบอนุญาตลงทุน ส่วนโครงการที่ลงทุนในเขต นิ ค มอุ ต สาหกรรม คณะกรรมการบริ ห ารนิ ค ม อุตสาหกรรมที่จะดาเนินการลงทุนจะเป็นผู้อนุมัติ
Page | 6
การจัดประเภทโครงการและหน่วยงานอนุมัตกิ ารลงทุน โครงการลงทุน เงินลงทุนน้อยกว่า 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และไม่จัดอยู่ในประเภทที่มี เงื่อนไข (Conditional Investment ) เงินลงทุนมากกว่า 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็นโครงการที่มีเงื่อนไข การลงทุน (Conditional Investment ) โครงการที่ลงทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมทุกโครงการ
หน่วยงานอนุมัติ จังหวัดสามารถอนุมัติได้ ทุกโครงการ MPI เป็นผู้อนุมัติ BOM เป็นผู้อนุมัติ
ที่มา : กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ (2554)
การยื่นเอกสารขอใบอนุญาตลงทุน นักลงทุน จะต้องจัดเตรียมเอกสารเป็นภาษาเวียดนามตาม แบบฟอร์ ม มาตรฐานของ MPI ที่มีการเผยแพร่ 2 และต้ อ งจั ด ส่ ง เอกสารถึ ง ส านั ก งานตั ว แทน (Representative Office: RO) ที่เกี่ยวข้องกับการ ขอจดทะเบี ย นเพื่อขอใบอนุ ญาตลงทุน ทั้งนี้ได้มี การก าหนดเงื่ อ นไขตามมู ล ค่ า การลงทุ น และ ป ร ะ เ ภ ท ก า ร ล ง ทุ น โ ด ย โ ค ร ง ก า ร ล ง ทุ น ภายในประเทศ และโครงการลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ที่ มี มู ล ค่ า ก า ร ล ง ทุ น น้ อ ย ก ว่ า 300 ล้ า น ด่อง (ประมาณ 19 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) และไม่จัด อ ยู่ ใ น ป ร ะ เ ภ ท ก า ร ล ง ทุ น ที่ มี เ งื่ อ น ไ ข ต้ อ ง
จดทะเบียนเพื่อขอใบอนุญาตลงทุน ส่วนโครงการ ลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) หรือโครงการในประเทศ มูลค่า ก า ร ล ง ทุ น ม า ก ก ว่ า 300 ล้ า น ด่อง (ประมาณ 19 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ) และไม่จัด อยู่ในประเภทการลงทุนที่มีเงื่อนไขต้องได้รับการ ประเมินการลงทุนโดยหน่วยงานผู้อนุมัติโครงการ
2
3
http://fia.mpi.gov.vn/Default.aspx
ส าหรั บ รายละเอี ย ดและเงื่ อ นไขในการขอ ใบอนุญาตลงทุนของโครงการลงทุนในแต่ ละขนาด และประเภทต่างๆ3 มีดังนี้
กรมส่งเสริมการส่งออก (2554)
Page | 7
1) การลงทุ น ภายในประเทศมู ล ค่ า การลงทุน น้อยกว่า 300 ล้านด่อง (ประมาณ 19 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ) และไม่จัดอยู่ในประเภทการ ลงทุนที่มีเงื่อนไข ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ข อ ใ บ รั บ ร อ ง ก า ร ลงทุ น นอกจากเอ กส าร ที่ ต้ อ งเต รี ย ม ต า ม แบบฟอร์มที่ MPI กาหนดแล้วนักลงทุนจะต้องระบุ รายละเอี ย ดในข้ อ เสนอโครงการ เพื่ อ เสนอต่ อ หน่วยงานผู้อนุมัติโครงการ ดังต่อนี้ (1) นักลงทุนต้องมีสถานภาพตามที่กฎหมาย การลงทุนของเวียดนามกาหนด (2) ระบุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องโครงการ รวมถึ ง ขนาดและสถานที่ตั้งของโครงการ (3) เงิ น ลงทุ น และแผนการด าเนิ น งานของ โครงการ (4) จ า น ว น พื้ น ที่ ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ แ ล ะ ก า ร รับประกันในการดูแลสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี) (5) ข้อมูลอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ในการลงทุน (ถ้ า มี ) เช่ น ประโยชน์ ที่ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นา ประเทศ การใช้ แ รงงานในประเทศ การ ถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นต้น
2) การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) มูลค่าการลงทุน น้อยกว่า 300 ล้านด่อง (ประมาณ 19 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ) หรือไม่จัดอยู่ในประเภทการ ลงทุนที่มีเงื่อนไข การจดทะเบียนสาหรับการขอใบอนุญาตลงทุน นอกจากเอกสารที่ ต้ อ งเตรี ย มตามแบบฟอร์ ม ที่ MPI กาหนดแล้วนักลงทุนจะต้องระบุรายละเอียด ในข้ อ เสนอโครงการ เพื่ อ เสนอต่ อ หน่ ว ยงาน ผู้อนุมัติโครงการ ดังนี้ (1) นักลงทุนต้องมีสถานภาพตามที่กฎหมาย การลงทุนของเวียดนามกาหนด (2) ระบุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องโครงการ รวมถึ ง ขนาดและสถานที่ตั้งของโครงการ (3) เงิ น ลงทุ น และแผนการด าเนิ น งานของ โครงการ (4) จ า น ว น พื้ น ที่ ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ แ ล ะ ก า ร รับประกันในการดูแลสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี) (5) คาร้องอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ในการลงทุน (ถ้ามี) เช่น ประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนา ประเทศ อาทิ การใช้แรงงานในประเทศ การถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นต้น (6) รายงานงบการเงินของผู้ลงทุนที่ได้รับการ ตรวจสอบและรับรองจากผู้ตรวจสอบบัญชี แล้ว (ผู้ลงทุนต้องจัดเตรียมเอง) (7) สัญญาการร่วมทุนในกรณีของกิจการร่วม ทุน (Joint Venture: JV) หรือใบอนุญาต จั ด ตั้ ง บ ริ ษั ท ใ น ก ร ณี ข อ ง กิ จ ก า ร ที่ ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด (Wholly Foreign-owned Enterprise) หรือสัญญา ร่วมดาเนินธุรกิจ ในกรณีของสั ญญาร่ ว ม ลงทุ น ธุ ร กิ จ ( Business Co-operation Contract: BCC) (ถ้ามี)
Page | 8
3) การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) และโครงการใน ประเทศ มูลค่าการลงทุนมากกว่า 300 ล้าน ด่อง (ประมาณ 19 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) และ ไม่จัดอยู่ในประเภทการลงทุนที่มีเงื่อนไข สาหรับโครงการลงที่มูลค่าการลงทุนมากกว่า 300 ล้ านด่อง ทั้งโครงการลงทุน ในประเทศและ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ และไม่จัดอยู่ใน ประเภทการลงทุ น ที่ มี เ งื่ อ นไขจะมี ก ารประเมิ น ความเหมาะสมในการออกใบอนุ ญ าตการลงทุ น ดังนี้ (1) เอกสารค าขอที่ ร ะบุ ร ายละเอี ย ดใน ข้อเสนอโครงการเพื่อเสนอต่อหน่วยงาน ผู้อนุมัติ โครงการ (2) เอกสารรั บ รองสถานะ และการจด ทะเบียนของโครงการ
(3) รายงานงบการเงินของผู้ลงทุนที่ได้รับการ ตรวจสอบและรั บ รองจากผู้ ต รวจสอบ บัญชีแล้ว (ผู้ลงทุนต้องจัดเตรียมเอง) (4) สัญญาการร่วมทุนในกรณีของกิจการร่วม ทุน (Joint Venture: JV) หรือใบอนุญาต จั ด ตั้ ง บ ริ ษั ท ใ น ก ร ณี ข อ ง กิ จ ก า ร ที่ ช า ว ต่ า ง ช า ติ เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง ทั้ ง ห ม ด (Wholly Foreign - owned Enterprise) ห รื อ สั ญ ญ า ร่ ว ม ด า เ นิ น ธุรกิจ ในกรณีของสัญญาร่วมลงทุนธุรกิจ (Business Co - operation Contract: BCC) (ถ้ามี) (5) ข้อความชี้แจงเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ต่ า งๆ ที่ ส ามารถประหยั ด พลั ง งานตาม มาตรฐานสากล (Eco - technical) ใน โครงการที่ลงทุน คาชี้แจงการขอรับการ ช ดเช ยตามเงื่ อ นไขทางกฎหมายที่ โครงการจะได้รับ
ขั้นตอนที่ 2 การจัดตั้งบริษัท เมื่อโครงการได้รับอนุมัติใบอนุญาตลงทุนแล้ว นั ก ลงทุ น จึ ง จะสามารถจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ได้ โดยมี ขั้นตอนการจัดตั้งดังต่อไปนี้ 1) จัดตั้งคณะกรรมการบริหารบริษัท (Board of Management) แต่ ง ตั้ ง ประธานและรอง ประธานคณะกรรมการบริห ารบริ ษัทภายใน 30 วั น นั บ จากวั น ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ใ บอนุ ญ าต ล ง ทุ น 4 ส า ห รั บ กิ จ ก า ร ร่ ว ม ทุ น (Joint Venture) คณะกรรมการบริ ห ารต้ อ ง มาจากผู้ แทนแต่ล ะฝ่ ายตามสั ดส่ ว นของเงิ น ลงทุ น และสมาชิ ก อย่ า งน้ อ ย 2 คนในคณะ
4
กฎหมายเวียดนามอนุญาตให้บุคคลเพียงคนเดียว สามารถจัดตั้งบริษัทจากัดได้
กรรมการบริ ห ารต้ อ งมาจากฝ่ า ยเวี ย ดนาม ส่วนประธานคณะกรรมการบริหารมาจากการ แต่งตั้งร่วมกันของทั้ง 2 ฝ่าย 2) จัดประชุมคณะกรรมการบริหารบริษัทภายใน 60 วัน นับจากวันที่ได้รับใบอนุญาตลงทุน เพื่อ กาหนดกฎระเบียบและแผนการด าเนิ น งาน ของคณะกรรมการบริ ห ารบริ ษั ท รวมถึ ง แต่ ง ตั้ ง ผู้ อ านวยการ รองผู้ อ านวยการ และ หั ว หน้ า ฝ่ า ยบั ญ ชี ทั้ ง นี้ ก รณี กิ จ การร่ ว มทุ น ผู้ อ านวยการหรือ รองผู้ อ านวยการคนใดคน หนึ่งต้องเป็นผู้แทนจากฝ่ายเวียดนาม
Page | 9
3) ส่ ง บั น ทึ ก การประชุ ม คณะกรรมการบริ ห าร ข้ า ง ต้ น ไ ป ยั ง Department of Planning and Investment (DPI) ข อ ง จั ง ห วั ด ห า ก ลงทุน ในนิ คมอุ ตสาหกรรม ให้ ส่ งไปยั ง คณะ กรรมการบริหารนิคมอุตสาหกรรมที่ตั้งโรงงาน 4) จดทะเบี ย นคณะกรรมการบริ ห ารบริ ษั ท ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ กับ DPI หาก ลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมให้จดทะเบี ยนกับ BOM
5) ประกาศการจัดตั้งบริษัทในหนังสื อพิม พ์เป็น เวลา 3 วันติดต่อกัน โดยระบุชื่อและที่อยู่ของ บริษัท ประเภทของการลงทุน เลขที่ใบอนุญาต ลงทุน วันที่ได้รับอนุมัติ มูลค่าทุนจดทะเบียน จุดประสงค์ และขอบเขตการดาเนินการของ บริษัท 6) นาใบอนุญาตลงทุนไปยื่นขอตรายางบริษัทที่ สถานีตารวจในท้องที่ และนาใบอนุญาตลงทุน และเอกสารที่เกี่ ยวข้องทั้งหมดไปแจ้งขอรับ เลขประจ าตั ว ผู้ เ สี ย ภาษี อ ากรที่ ส รรพากร จังหวัด
ขั้นตอนการจัดตั้งบริษัทในเวียดนาม 1. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารบริษัท
2. จัดประชุมคณะกรรมการบริหารบริษัทภายใน 60 วัน
3. ส่งบันทึกการประชุมไปยัง Department of Planning and Investment (DPI) 4. จดทะเบียนคณะกรรมการบริหารบริษัทที่ Department of Planning and Investment (DPI) ของจังหวัด หรือ Board of Management (BOM) ของนิคมอุตสาหกรรม 5. ประกาศจัดตั้งในหนังสือพิมพ์เป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน 6. นาบัตรส่งเสริมการลงทุนไปยืน่ ขอตรายางบริษัทที่สถานีตารวจ และขอรับเลขประจาตัวผูเ้ สียภาษี อากร ที่สรรพากรจังหวัด
ที่มา : กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ (2554)
Page | 10
สรุปขั้นตอนการขอใบอนุญาตลงทุนและจัดตั้งบริษทั ขั้นตอน
การดาเนินการ
1
ศึกษาประเภทกิจการ ศึกษาเมือง จังหวัด นิคมอุตสาหกรรมที่จะลงทุนให้เหมาะสมกับความ ต้องการ ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร เดินทางไปศึกษาดูงาน หรือ รับคาแนะนาจากบริษัทที่ปรึกษาเพื่อทราบ ข้อมูลเชิงลึก ศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) โดยอาจขอรับคาปรึกษา จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จัดทาข้อเสนอโครงการ เพื่อยื่นขอรับใบอนุญาตลงทุน โดยสามารถยื่นขออนุมัติจากหน่วยงาน ต่างๆ ได้ ดังนี้ - นาเสนอ DPI ของจังหวัด เพื่ออนุมัติโครงการที่ตั้งอยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรมหรือเขต ส่งเสริมการส่งออก ซึ่งมีมูลค่าเงินลงทุนน้อยกว่า 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็น โครงการที่ไม่ได้อยู่ในประเภทการลงทุนที่มีเงื่อนไข (Conditional Investment) - นาเสนอ MPI เพื่ออนุมัติโครงการ เงินลงทุนมากกว่า 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และ เป็น โครงการที่มีเงื่อนไข (Conditional Investment) - นาเสนอ BOM ของนิคมอุตสาหกรรม เพื่ออนุมัติโครงการที่ลงทุนในเขตนิคม อุตสาหกรรม DPI ของจังหวัด หรือ MPI หรือ BOM ของนิคมอุตสาหกรรมพิจารณาอนุมัติออกใบอนุญาตลงทุน และแจ้งผลการพิจารณาแก่บริษัท เมื่อได้รับการอนุมัติออกใบอนุญาตลงทุนให้แล้ว จะต้องปฏิบัติดังนี้ คือ - จัดตั้งบริษัท - จัดตั้งคณะกรรมการบริหาร - แต่งตั้งประธานและรองประธาน - จัดตั้งคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้จะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้รับใบอนุญาตลงทุน ประชุมคณะกรรมการบริหารบริษัท เพื่อกาหนดกฎระเบียบและแผนการดาเนินงานรวมทั้งแต่งตั้ง ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ และหัวหน้าฝ่ายบัญชี ภายใน 60 วันนับจากวันที่ได้รับใบอนุญาต ลงทุน ส่งบันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารไปยัง DPI ของจังหวัด หรือ BOM ของนิคม อุตสาหกรรมที่กิจการตั้งอยู่ จดทะเบียนคณะกรรมการบริหารบริษัท ณ DPI ของจังหวัด หรือ BOM ของนิคมอุตสาหกรรมที่ กิจการตั้งอยู่
2 3 4
5 6
7 8 9
Page | 11
ขั้นตอน
การดาเนินการ
10
- ลงประกาศการจัดตั้งบริษัทในหนังสือพิมพ์ 3 วันติดต่อกัน - นาใบอนุญาตการลงทุนไปยื่นขอตรายางบริษัทที่สถานีตารวจในท้องที่ - นาใบอนุญาตการลงทุนและเอกสารที่เกี่ยวข้องไปขอรับเลขประจาตัวผู้เสียภาษีที่ สรรพากรจังหวัด - ทั้งนี้ สามารถดาเนินการไปพร้อมกันได้ สรรหาแรงงาน โดยนายจ้างอาจสรรหาแรงงานในท้องถิ่น หรือนายจ้างติดต่อสานักงานแรงงาน ท้องถิ่นเพื่อการขอใบอนุญาตทางาน (Work Permit) ในกรณีที่ต้องจ้างแรงงานต่างชาติ แจ้งรายชื่อคณะกรรมการบริหาร ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ และพนักงานทั้งหมดไปยัง DPI ของจังหวัด นาหลักฐานการนาเงินลงทุนซึ่งอาจอยู่ในรูปเงินสดหรือเครื่องจักรเข้ามาในประเทศ พร้อมกับนาใบอนุญาตลงทุน ที่ได้จาก MPI หรือ DPI หรือ BOM ไปเปิดบัญชี Capital Account5 กับธนาคาร ทั้งนี้ สามารถดาเนินการไปพร้อมกันได้ เริ่มดาเนินการด้านการผลิต
11 12 13 14
ที่มา : กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ (2554)
5 บัญชีทุน (Capital Account) คือ รายรับรายจ่ายที่เกิดจากธุรกรรมการโอนย้ายเงินทุนทั้งในรูปตัวเงินและ ไม่ใช่ตัวเงิน
Page | 12
3.3.3 ขั้นตอนการขออนุมัติจัดตั้งสานักงานสาขาหรือสานักงานผู้แทน บริ ษั ท ต่ า งชาติ ส ามารถขอจั ด ตั้ ง ส านั ก งาน ส า ข า (Branch) ห รื อ ส า นั ก ง า น ผู้ แ ท น (Representative Office) ในเวียดนามได้ในฐานะ เป็ น ตั ว แทนของบริ ษั ท แม่ ใ นต่ า งประเทศ แต่ ไ ม่ สามารถด าเนิ น กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การหา รายได้ เช่น การลงนามในสัญญา การรับชาระเงิน โดยตรง และการซื้อขายสินค้า เป็นต้น การตั้งสานักงานตัวแทนเป็นประโยชน์สาหรับ การดาเนินกิจกรรมพื้นฐานเพื่อจัดตั้ งบริษัทจากัด ในอนาคต สานักงานตัวแทนสามารถจ้างแรงงาน ท้องถิ่นนาเข้าเครื่องมืออุปกรณ์สานักงาน และทา หน้าที่ให้บริการลูกค้า วิจัยตลาด และศึกษาความ
เป็นไปได้ของโครงการ (ยกเว้นสถาบันการเงินซึ่ง อยู่ ภ ายใต้ ก ารก ากั บ ดู แ ลของธนาคารช าติ เวียดนาม) และต้องปฏิบัติตามกฎหมายการลงทุน จากต่างประเทศ ซึ่งมีข้อกาหนดขั้นต่าคือ - ต้องดาเนินธุรกิจในเวียดนามอย่างน้อย 5 ปี - ต้ อ งเป็ น โครงการที่ มี ส่ ว นช่ ว ยพั ฒ นา เศรษฐกิจเวียดนาม ทั้งนี้ ยกเว้นกิจการที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต หรื อ แปรรู ป ในเวี ย ดนาม อาจไม่ จาเป็นต้องมีคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นครบถ้วน
เอกสารที่ต้องใช้ในการจัดตั้งสาขาหรือสานักงานตัวแทน มีดังนี้ o แบบคาขออนุญาตจัดตั้งสานักงานสาขาหรือสานักงานผู้แทนในเวียดนาม o ส าเนาใบรั บ รองบริ ษั ท ซึ่ ง ประทั บ ตราโดยหน่ ว ยงานราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ งในประเทศของ ผู้ลงทุน กรณีของไทย คือ สาเนาบริคณห์สนธิ ประทับตราโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์ o สาเนาใบรับรองบริษัท (ตามข้อ 2) ที่แปลเป็นภาษาเวียดนามและประทับตรารับรองโดยสถานทูต เวียดนามในประเทศไทย DPI จะพิจารณาอนุมัติจัดตั้งสานักงานสาขาหรือสานักงานผู้แทนภายใน 15 วัน นับจากวันที่ได้รับเอกสาร ถูกต้องครบถ้วน
Page | 13
3.4
ประเภทของกิจการตามข้อจากัดในการลงทุน กิจการที่อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติลงทุน Page | 14
การที่เวียดนามเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้า โลก (World Trade Organization: WTO) เมื่อปี 2550 ทาให้ รั ฐ บาลเวียดนามต้องเร่งเปิ ดเสรีการ ลงทุนให้เป็นไปตามเกณฑ์ของ WTO ดังนั้นรัฐบาล เวี ย ดนามจึ ง ได้ มี ก ารก าหนดรู ป แบบการลงทุ น ธุรกิจสาหรับนักลงทุนต่างชาติ โดยกาหนดให้การ ลงทุ น ใน บางสาขาต้ อ งลงทุ น กั บ บริ ษั ท ท้ อ งถิ่ น ในขณะที่บางสาขาอนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติถือ
หุ้ น ข้ า งมากหรื อ ทั้ ง สิ้ น ได้ ทั้ ง นี้ การลงทุ น แต่ ล ะ สาขามีการกาหนดรูปแบบการลงทุน และเงื่อนไข ในการลงทุ น แตกต่ า งกั น อย่ า งไรก็ ต าม รั ฐ บาล เวียดนามไม่ได้กาหนดสาขาที่เปิ ดให้ต่างชาติลงทุน ได้ ไ ว้ ชั ด เจน นอกจากนี้ นั ก ลงทุ น ที่ จ ะลงทุ น ใน เวี ย ดนามต้ อ งติ ด ตามกฎหมายการลงทุ น ของ เวี ย ดนามอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากกฎหมายการ ลงทุนของเวียดนามมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
กิจการที่ห้ามนักลงทุนต่างชาติลงทุน การลงทุนบางประเภทถูกสงวนสิทธิ์ในการลงทุนเนื่องจากเหตุผลด้านความมั่นคงของชาติ ความสงบ เรียบร้อยของสังคม และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งข้อห้ามนี้บังคับใช้กับนักลงทุนต่างชาติและ นักลงทุนในประเทศอย่างเท่าเทียมกัน ได้แก่ โครงการ 4 ประเภทหลักต่อไปนี้ (1)
(2)
โครงการที่ส่ งผลต่อความมั่น คงของชาติ และต่อประโยชน์สาธารณะ อาทิ การผลิต ยาเสพติด การลงทุนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การสื บ หาความลับ ของรัฐบาล และการ ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล โครงการที่ ส่ ง ผลต่ อ ประวั ติ ศ าส ตร์ วัฒนธรรม และศีลธรรม อาทิ โครงการที่ มีผลกระทบทางลบต่อสถาปัตยกรรมและ ภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม การผลิ ต สิ น ค้ า ลามกอนาจาร การผลิ ต สินค้าเกี่ยวกับไสยศาสตร์ การผลิตเกมส์
(3)
(4)
และของเล่นที่เป็นอันตรายต่อเด็ก กิจการ ค้าประเวณี และการค้าสตรีและเด็ก โครงการที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน และทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาทิ การผลิตสารเคมีที่เป็นอันตราย การ ผลิตยาหรือสารเคมีที่ไม่อนุญาตให้ ใช้ ใน เวี ย ดนาม ผลผลิ ต จากชี ว ภาพ และ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทาลายแมลงและแบคทีเรีย ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในเวียดนาม โครงการผลิ ต สารเคมี ที่ เ ป็ น พิ ษ และ สารเคมีตั้งต้นต้องห้ามตามข้อกาหนดของ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ
กิจการที่รัฐบาลเวียดนามห้ามหรือมีเงื่อนไขในการลงทุนของต่างชาติ (1) กิ จ การที่ ต้ อ งลงทุ น ในลั ก ษณะสั ญ ญาร่ ว ม ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ ( Business Co-Operation Contact: BCC) เป็นการร่วมลงทุนทางุรกิจ ระหว่ า งนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ แ ละนั ก ลงทุ น เวียดนาม (1) พัฒนาเครือข่ายโทรคมนาคม (2) บริการโทรคมนาคม (3) บริ ก ารขนส่ ง พั ส ดุ ภั ณ ฑ์ ทั้ ง ในและ ระหว่างประเทศ (4) กิจกรรมเกี่ยวกับสื่อมวลชน กระจาย เสียงทางวิทยุและโทรทัศน์ (2) กิ จ การที่ ต้ อ งลงทุ น ในลั ก ษณะสั ญ ญาร่ ว ม ลงทุ น ธุ ร กิ จ (BCC) หรื อ กิ จ การร่ ว มค้ า (Joint Venture) เท่านั้น (1) ขุดค้นทรัพยากรธรรมชาติและน้ามัน (2) การขนส่งทางอากาศ ทางรถไฟ และ ทางทะเล การขนส่งผู้โดยสาร (3) การสร้ า งท่ า เรื อ และการสร้ า งท่ า อากาศยาน ยกเว้ น กรณี ท าสั ญ ญา ลักษณะ BOT BTO หรือ BT
(4) (5) (6) (7) (8)
บริการทางทะเลและทางอากาศ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้ การผลิตวัตถุระเบิดเชิงอุตสาหกรรม บริการที่ปรึกษา (ยกเว้นที่ปรึกษาทาง เทคนิค)
(3) กิ จ ก า ร ที่ ต้ อ ง ข อ อ นุ มั ติ จ า ก ส า นั ก นายกรัฐมนตรีโดยตรง (1) (2)
กิจการประมงนอกชายฝั่ง กิจการนาเข้าและกระจายสินค้า ในประเทศ (4) กิจการที่ต้องมีการลงทุนพัฒนาวัตถุดิบ (1) (2) (3)
การผลิตและแปรรูปนม การผลิ ต น้ ามั น พื ช และน้ าตาล จากอ้อย การแปรรูปไม้ (ยกเว้นโครงการที่ ใช้ไม้นาเข้าจากต่างประเทศ)
Page | 15
กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากรัฐบาล6 (1) กิ จ การเกี่ ย วกั บ การเพาะปลู ก การแปรรู ป สินค้าเกษตร ป่าไม้ และสัตว์น้า การผลิตเกลือ การขยายพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ (2) กิ จ การหรื อ โ ครงการที่ เ กี่ ย ว กั บ การใช้ เทคโนโลยี แ ละเทคนิ ค ขั้ น สู ง การดู แ ล สิ่งแวดล้อม การวิจัยและพัฒนา โครงการที่ใช้ เทคโนโลยี ชีว ภาพ และการสร้ างเทคโนโลยี ใหม่ (3) อุตสาหกรรมที่ต้องใช้แรงงานเป็นหลัก (4) อุตสาหกรรมสาคัญขนาดใหญ่ และโครงการ พั ฒ น า โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น แ ล ะ พั ฒ น า สาธารณูปโภคของประเทศ (5) โครงการหรื อ กิ จ การที่ พั ฒ นาบุ ค ลากรที่ มี อาชี พ ในด้ า นการศึ ก ษา การอบรม สุ ข ภาพ การกี ฬ า พลศึ ก ษา และวั ฒ นธรรมของ
6
เวี ย ดนาม รวมถึ ง การพั ฒ นางานฝี มื อ และ อุตสาหกรรม (6) อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุใหม่ (7) โครงการที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ หม่ ใ นการผลิ ต อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม (8) การผลิตวัสดุคุณภาพสูงเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม รองเท้าและสิ่งทอเพื่อการส่งออก (9) การผลิตเหล็กคุณภาพสูง (10)โครงการฝึกอบรมแรงงานด้านเครื่องจั กรกล และอิเล็กทรอนิกส์ (11)โครงการด้ า นการศึ ก ษาในสาขาวิ ศ วกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และเศรษฐศาสตร์ (12)การสร้างโรงพยาบาลที่ทันสมัย และการผลิต ยารักษาโรคร้ายแรง เช่น วัณโรค มะเร็ง เอดส์ การเพาะเนื้อเยื่อ และการผลิตสารปฏิชีวนะ
สามารถดูรายละเอียดประเภทกิจการภายใต้หมวดต่างๆ ได้ที่ http://www.trade.hochiminhcity.gov.vn
Page | 16
3.5
สิทธิประโยชน์ของนักลงทุนต่างชาติ
(1) การยกเว้นภาษีนาเข้าวัตถุดิบ ซึ่งใช้ผลิตสินค้า เพื่ อ ส่ ง ออกภายในเวลาไม่ เ กิ น 270 วั น นับตั้งแต่วันที่นาเข้าวัตถุดิบ รวมถึงสิ่งทอและ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ซึ่ ง เป็ น การผลิ ต เพื่ อ การ ส่งออก (2) ส่ ง ผลก าไรกลั บ ประเทศได้ อ ย่ า งเสรี โดย รั ฐ บาลเวี ย ดนามได้ ป ระกาศยกเลิ ก การเก็บ ภาษีจ ากผลกาไรที่โ อนกลั บ ประเทศ (Profit Remittance Tax) ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2547 (3) อั ต ราภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คลต่ า งชาติ ส าหรั บ ธุรกิจทั่วไป เป็นอัตราเดียวที่ร้อยละ 25 (Flat Rate) เช่นเดียวกับชาวเวียดนาม (4) สิทธิในการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าและ ทรัพย์สินทางปัญญาในเวียดนาม เพื่อป้องกัน การละเมิดลิขสิทธ์ (5) การยกเลิ ก ระบบสองราคา เช่ น การคิ ด ค่ า สาธารณูปโภคในอัตราที่เท่าเทียมของต่างชาติ และชาวเวียดนาม (6) การลดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล โดยเก็ บ ภาษีในอัตราร้อยละ 10 – 20 จากอัตราปกติ
ร้ อ ยละ 25 ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ เงื่ อ นไขของแต่ล ะ กิจการ (7) สิทธิในการได้รับยกเว้นจากการเก็บภาษีซ้อน (ประเทศไทยได้รับสิทธินี้) (8) สิทธิในการใช้ที่ดิ นในลักษณะสัญญาเช่าระยะ ยาว โดยเสียค่าธรรมเนียมในการใช้ที่ดิน และ ได้รับสิทธิในการใช้ที่ดินสูงสุด 50 ปี หรืออาจ ขยายถึง 70 ปี หากเป็นโครงการลงทุนที่ได้รับ การส่งเสริมเป็นพิเศษ (9) อั ต ร า ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ บุ ค ค ล ธ ร ร ม ด า ข อ ง ชาวต่างชาติที่พานักในเวียดนามเกิน 183 วัน ต่อปี ได้รับสิทธิเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็ น อั ต ราเดี ย วกั บ ชาวเวี ย ดนามแบบอั ต รา ก้าวหน้า หากไม่ได้พานักอยู่ในเวียดนาม หรือ พานักไม่เกิ น 183 วัน เสี ยภาษีเงินได้ บุ ค คล ธรรมดาในอัตราเดียว คือร้อยละ 20 (10)สิ ท ธิ ใ นการจ้ า งแรงงานต่ า งชาติ โดยต้ อ ง เป็นไปตามกฎหมายแรงงานของเวียดนาม (11)สิทธิประโยชน์พิเศษอื่นๆ หากมีการลงทุนใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ
Page | 17
3.6
กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน
3.6.1 กฎหมายแรงงาน7 กฎหมายแรงงานของเวียดนามบังคับใช้กับชาวเวียดนามที่ทางานกับทั้งบริษัทหรือองค์กรของเวียดนาม บริษัทหรือองค์กรต่างชาติที่อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวต่างชาติที่ทางานในบริษัทและองค์กรต่างๆ ของ เวียดนาม รวมถึงทางานกับนายจ้างชาวเวียดนาม แต่ไม่ใช้บังคับกับชาวต่างชาติที่ทางานอยู่ในบริษัทและ องค์กรต่างชาติในเวียดนาม สัญญาการจ้างงานต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษร การตกลงด้วยวาจาจะกระทาได้ เฉพาะในกรณีที่เป็นการจ้างลูกจ้างทางานในบ้านเรือน และเป็นการจ้างงานชั่วคราว (ระยะเวลาน้อยกว่า 3 เดือน) อย่างไรก็ตาม ลูกจ้างและนายจ้างในกรณีหลังนี้ยังคงต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในกฎหมายแรงงานด้วย เช่นกัน ทั้งนี้ มีรายละเอียดเกี่ยวกับการจ้างงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนจากต่างประเทศดังนี้
1) การจ้างและการฝึกอบรม (1) บริษัทสามารถจ้างชาวเวียดนามอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปได้โดยวิธีดังต่อไปนี้ - จ้างโดยตรง - มอบหมายให้ ห น่ ว ย งาน จั ด หางานของรั ฐ เป็ น ผู้ จั ด หา อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ถ้ า บุ ค ค ล ที่ หน่วยงานของรัฐจัดหาให้ไม่เป็น ที่ พ อใจ บริ ษั ท สามารถจั ด หา แรงงานเองได้ (2) เพื่อวัตถุประสงค์ในการฝึ กอบรม บริษัท อาจจ้างแรงงานอายุระหว่าง 16-18 ปีได้ และหากหลั ง จากสิ้ น สุ ด เวลาฝึ ก อบรม คนงานเหล่านั้นยังอายุไม่ถึง 18 ปี บริษัท สามารถขออนุ ญ าตจ้ า งงานจากบิ ด า มารดาของคนงาน หรือผู้ให้การอุปถัมภ์ ในกรณี ที่ ค นงานนั้ น เป็ น เด็ ก ก าพร้ า ได้
7
อย่ า งไรก็ ต าม การว่ า จ้ า งจะต้ อ งได้ รั บ อนุญาตจากหน่วยงานจัดหางานท้องถิ่น (3) บริ ษั ท สามารถจ้ า งชาวต่ า งชาติ ไ ด้ ใ น ต าแหน่ ง ที่ ต้ อ งการความช านาญด้ า น เทคนิค หรือไม่สามารถหาชาวเวียดนาม มาปฏิบัติหน้าที่นั้นได้ (4) บริ ษั ท ต้ อ งวางแผนและจั ด หลั ก สู ต ร ฝึกอบรม รวมถึงต้องสามารถส่งคนงานไป ฝึ ก ในศู น ย์ ฝึ ก อบรมในประเทศหรื อ ใน ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ด้ เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ ขี ด ความสามารถของคนงานทุ ก ระดั บ ใน บริษัท (5) ผู้ ป ระกอบการเวี ย ดนามและบริ ษั ท ต่ า งชาติ รวมถึ ง ส านั ก งานตั ว แทนและ สาขาของบริษัทต่างชาติที่ต้องการจ้างงาน แรงงานต่างชาติต้องลงประกาศรับสมัคร งานในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ข องเวี ย ดนามอย่ า ง น้อย 1 ฉบับเป็นเวลา 3 วัน
คู่มือประกอบธุรกิจ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)
Page | 18
2) สัญญาจ้าง สัญญาจ้างต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษรและลง นามโดยผู้อานวยการของบริษัทและลูกจ้าง (1) สั ญ ญ า จ้ า ง จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย รายละเอียดดังต่อไปนี้ - ขอบข่ายการปฏิบัติงานของลูกจ้าง - สถานที่ทางาน - ค่าจ้าง / เงินเดือน - ระยะเวลาการจ้างงาน - การคุ้มครองแรงงานตามสิทธิ์ที่ได้รับ8 - การประกันสังคม - เงื่อนไขสาหรับการทดลองงาน (ถ้ามี) (2) ระยะทดลองงานจะต้องไม่เกิน 30 วัน แต่ ในกรณี ที่ เ ป็ น งานด้ า นเทคนิ ค หรื อ การ จั ดการที่ซับ ซ้อนอาจมีร ะยะทดลองงาน นานกว่านั้น แต่ต้องไม่เกิน 60 วัน (3) สั ญ ญาการจ้ า งงานสามารถก าหนด ระยะเวลาการจ้างงาน ได้ครั้งละ 1-3 ปี และต่อสั ญญาได้ อีก 1 ครั้ ง ครั้ งละ 1-3 หลังจากนั้นจะต้องเป็นการทาสัญญาจ้าง ถาวร
8
การคุ้มครองแรงงานในเรื่องทั่วไป เช่น ค่าจ้าง วันทางาน เวลาทางาน วันหยุด วันลา เป็นต้น
(4) สัญญาจ้างงานจะเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ ทั้งสองฝ่ายตกลงกัน (5) หากนายจ้างละเมิดสัญญาการว่าจ้าง โดย การเลิ กจ้างซึ่งเป็นการขัดต่อสัญญาการ ว่าจ้าง นายจ้างจะต้องรั บลู ก จ้า งคนนั้ น กลั บ เข้ า ท างานหรื อ ต้ อ งจ่ า ยค่ า ชดเชย เท่ากับรายได้ที่ลูกจ้างต้องสูญเสียจากการ ถูกบอกเลิกจ้าง โดยลูกจ้างจะได้รับค่าจ้าง เท่ า ที่ สู ญ เสี ย ไปรวมกั บ เงิ น เพิ่ ม เติ ม อี ก ครึ่งหนึ่งของเงินเดือนที่ได้รับในแต่ ล ะปี และเงินเพิ่มเติมอื่นๆ (ถ้ามี) (6) ในกรณีที่ลูกจ้างลาออก หรือนายจ้างให้ ออกโดยไม่ มี ค วามผิ ด นายจ้ า งต้ อ ง จ่ายเงินพิเ ศษอี ก 0.5 เท่าของเงิ น เดื อ น เดื อ นสุ ด ท้ า ย x จ านวนปี ที่ ท างาน เช่ น ทางานนาน 10 ปี ต้องจ่าย 0.5 x เงินเดือน เดือนสุดท้าย x 10 ปี (7) นายจ้างสามารถไล่คนงานออกได้หากขาด งานเกิน 5 วันต่อเดือน หรือ 20 วันต่อปี โดยไม่ จ าเป็ น ต้ อ งแจ้ ง เหตุ ผ ลใดๆ แก่ แรงงานที่ถูกไล่ออก
Page | 19
3) เวลาทางาน (1) ชั่ ว โมงการท างานปกติ ต้ อ งไม่ เ กิ น 8 ชั่วโมง/วัน และ 48 ชั่วโมง/สัปดาห์ (2) ในการทางานแต่ละผลัด ต้ องมีการหยุด พักอย่างน้อย 30 นาที (3) ในแต่ ล ะสั ป ดาห์ คนงานต้ อ งมี วั น หยุ ด อย่างน้อย 1 วัน (4) ชั่ ว โมงท างานผลั ด กลางคื น คื อ ตั้ ง แต่ 22.00 น. ถึง 06.00 น. (5) เวลาทางานปกติ ต้ องลดลงอย่ า งน้ อ ย 1 ชั่ ว โมง ส าหรั บ คนงานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน
9
งานหนัก" หมายความว่า ลักษณะงานที่ใช้แรงมาก หรือ ใช้กาลังงานที่ทาให้เกิดการเผาผลาญอาหารในร่างกายเกิน กว่า 350 กิโลแคลอรี/ชั่วโมง ถึง 500 กิโลแคลอรี/ชั่วโมง
อันตราย คนงานที่ปฏิบัติงานหนัก 9 หรือ สภาวะที่ มี ส ารพิ ษ คนงานหญิ ง ที่ มี บุ ต ร อายุต่ากว่า 12 เดือน และคนงานที่มีอายุ ต่ากว่า 18 ปี (6) คนงานหญิงสามารถลาคลอดได้ 5 เดือน โดย 4 เดือนแรกได้รับเงินเดือนเต็ มจาก รัฐบาล และเดือนที่ 5 ได้รับเงินเดือนจาก นายจ้ า ง (ช่ ว งลาคลอด 4 เดื อ นแรก นายจ้างไม่ต้องจ่าย)
เช่น งานที่ใช้พลั่วหรือเสียม ขุดตัก งานเลื่อยไม้ งานเจาะ ไม้ เ นื้ อ แข็ ง งานทุ บ โดยใช้ ฆ้ อ นขนาดใหญ่ งานยกหรื อ เคลื่อนย้ายของหนักขึ้นที่สูงหรือที่ลาดชัน เป็นต้น หรือ งานที่เทียบเคียงได้กับงานดังกล่าว
Page | 20
4) อัตราค่าจ้างขั้นต่า รัฐบาลเวียดนามได้มีการแก้ไขกฎหมายภายในเมื่อปลายปี 2014 รัฐบาลเวียดนามได้ปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่า ของแรงงานไร้ฝีมือ (อัตราค่าจ้างขั้นต่า (Decree 103/2014/ND-CP)) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 โดยค่าจ้างแตกต่างออกไปตามพื้นที่10 ดังนี้ พื้นที่ / ค่าจ้างขั้นต่า Region I : ฮานอย (เขตเมือง) โฮจิมินห์ ไฮฟง (เขตเมือง) ด่องไน (บินฮัว) บิ่นเยืองห์ (ถูเหย่ามบ) หวุงเต่า Region II : ฮานอย (รอบนอก) ไฮฟง เว้ ดาลัด แฟนทีค เกิ่นเทอ ไตเนิน Region III : เหล่าไก (ซาปา) เมืองชนบท Region IV : อื่นๆ
2015 (ด่อง) 3,100,000 (145 USD) 2,750,000 (129 USD) 2,400,000 (112 USD) 2,150,000 (101 USD)
ที่มา : สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์ (2557)
5) การประกันสุขภาพ การประกันสังคม และการประกันการว่างงาน 10
Region I Region II Region III Region IV
covering urban and suburban districts of Hanoi, Hai Phong, Ho Chi Minh city; Bien Hoa city and some rural districts of Dong Nai; Thu Dau Mot city and some towns, rural districts of Binh Duong province; and Vung Tau city of Ba Ria – Vung Tau province covering the remaining rural districts of Hanoi, Hai Phong; Hai Duong city of Hai Duong province; Hung Yen city and some rural districts of Hung Yen province covering remaining provincial cities (except those of region I, II); Chi Linh town and some rural districts of Hai Duong province; rural districts of Vinh Phuc province; etc. covering the remaining localities
Page | 21
แรงงานในเวี ย ดนามจะได้ รั บ ความคุ้ ม ครอง จากการประกันสุขภาพ การประกันสังคมและการ ประกันการว่างงาน โดยมีหน่วยงาน Ho Chi Minh City Social Security Authority (HCMC SS) ไ ด้ ประกาศลงใน Official Letter 4064/BHXH-THU เมื่อวัน ที่ 14 ธัน วาคม 2557 เพื่อแก้ไขกฎหมาย Employment Law 38/2013/QH13 ส รุ ป สาระสาคัญ คือ
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 บริษัทที่มีการจ้าง ลูกจ้าง ชาวเวียดนาม ระยะเวลา ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้น ไป จะต้องจ่ายค่ าประกัน การว่ า งงาน สมทบให้ ลู ก จ้ า ง ในอั ต ราร้ อ ยละ 1 ของค่ า จ้ า งต่ อ เดื อ น (ลูกจ้าง จ่ายอัตราร้อยละ 1 ของค่าจ้างต่อเดือน) ครอบคลุมทุกหน่วยงานไม่ว่าจะมีลูกจ้างจานวนกี่ คนก็ตาม ดังนี้
การจ่ายเงินสมทบให้ลูกจ้าง - ค่าประกันสังคม ร้อยละ 18 ของเงินเดือน - ค่าประกันสุขภาพ ร้อยละ 3 ของเงินเดือน - ค่าประกันการว่างงาน ร้อยละ 1 ของเงินเดือน รวมทั้งหมด ร้อยละ 22 ของเงินเดือน
6) ข้อกาหนดเรื่องการเข้าเมือง และการขออนุญาตทางานสาหรับแรงงานเวียดนาม และ แรงงานต่างชาติ (1) แรงงานเวียดนาม ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ต่ า งชาติ ส ามารถจ้ า งแรงงาน ท้องถิ่นได้โดยตรง ยกเว้น สถานเอกอัครราชฑูต และองค์ ก รระหว่ า งประเทศเท่ า นั้ น ที่ ต้ อ งจ้ า ง แรงงานผ่ า นรั ฐ บาล โดยจ่ า ยเงิ น เดื อ นผ่ า น หน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้บริษัทต้องจ่ายเงินสมทบค่า
ประกันสังคม ร้อยละ 15 และค่าประกันสุ ขภาพ ร้อยละ 2 ของค่าจ้างแต่ละเดือนให้กับแรงงานชาว เวียดนามด้วย ขณะเดียวกันแรงงานชาวเวียดนาม ต้องจ่ายเงินสมทบ ค่าประกันสังคมร้อยละ 5 และ เงินสมทบค่าประกันสุขภาพร้อยละ 1
Page | 22
(2) แรงงานต่างชาติ
(3) การขอใบอนุญาตจ้างแรงงานต่างชาติ11
MOLISA) ของเวียดนาม ใบอนุญาตทางานดังกล่าว จะมีอายุไม่เกิน 36 เดือน และสามารถต่ออายุได้ อีกไม่เกิน 36 เดือน ยกเว้นแรงงานต่างชาติที่เข้า มาทางานบางประเภทซึ่งรัฐบาลเวียดนามอนุญาต ให้ ไ ม่ ต้ อ งขอใบอนุ ญ าตท างาน อาทิ แรงงาน ต่างชาติที่เข้ามาแก้ ไ ขปัญหาฉุ กเฉิ นที่เ กิด ขึ้ น กั บ กิจการ ซึ่งแรงงานในเวียดนามไม่สามารถแก้ไขได้ ชาวต่ า งชาติ ที่ เ ป็ น กรรมการของบริ ษั ท ซึ่ ง จด ทะเบี ย นก่ อ ตั้ ง ตามกฎหมายของเวี ย ดนาม ชาวต่ า งชาติ ที่ ด ารงต าแหน่ ง หั ว หน้ า ส านั ก งาน ตัวแทนหรือสาขาของบริษัทต่างชาติในเวียดนาม และนักกฎหมายต่างชาติที่ได้รับใบรับรองรองจาก กระทรวงยุติธรรมของเวียดนามให้ปฏิบัติหน้าที่ใน เวียดนาม เป็นต้น
แรงงานต่ า งชาติ ที่ ท างานในเวี ย ดนามเป็ น ระยะเวลาตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไปต้องขอใบอนุญาต ท างาน (Work Permit) ซึ่ ง ออกโดยหน่ ว ยงาน ท้ อ ง ถิ่ น ( Department of Labour – Invalids and Social Affairs: DOLISA) สั ง กั ด ก ร ะ ท รว ง แรงงานผู้ทุพพลภาพ และกิจการสังคม (Ministry of Labour – Invalids and Social Affairs:
อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการที่ว่าจ้างแรงงาน ต่างชาติซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาตทางาน จะต้ อ งแจ้ ง ชื่ อ อายุ สั ญ ชาติ หมายเลขหนั ง สื อ เดิ น ทางรวมทั้ ง วั น ที่ เ ริ่ ม ต้ น และวั น ที่ สิ้ น สุ ด การ ทางานของแรงงานต่างชาติ ต่อหน่วยงาน MOLISA ของเวียดนาม ก่อนที่แรงงานดังกล่าวจะเริ่มทางาน อย่างน้อย 7 วัน
The Local Department of Labour, War Invalids and Social Affairs (DOLISA) ก า ห น ด เงื่ อ นไขการจ้ า งแรงงานต่ า งชาติ ไ ว้ ว่ า บริ ษั ท สามารถจ้างแรงงานต่างชาติได้เฉพาะตาแหน่ งที่ ต้องใช้ทักษะความชานาญสูง และไม่สามารถสรร หาได้ ภ ายในเวี ย ดนาม โดยให้ ยื่ น ค าร้ อ งขอจ้ า ง แรงงานต่างชาติต่อส านั กงานแรงงานในท้อ งถิ่ น และต้องระบุ ร ะยะเวลาการจ้ างแรงงานต่างชาติ ดั ง กล่ า ว พร้ อ มแผนการฝึ ก อบรมแรงงานชาว เวียดนามให้มีความสามารถทัดเทียม เพื่อทางาน แทนแรงงานต่างชาติได้ในอนาคต
11
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์( 2557)
Page | 23
3.6.2 กฎหมายที่ดิน12 ประเทศเวียดนามไม่อนุญาตให้เอกชนเป็นเจ้าของที่ดิน ที่ดินทั้งหมดในเวียดนามเป็นของรัฐ และรัฐจะเป็น ผู้จัดสรรให้ หรือให้เช่าระยะยาว กฎหมายที่ดินของเวียดนามแบ่งที่ดินออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ที่ดินการเกษตร ที่ดินสาหรับเพาะปลูกพืชผลตามฤดูกาลและป่าไม้ 2. ทีด่ ินที่ไม่ใช่พื้นที่การเกษตร พื้นที่สาหรับอยู่อาศัย พื้นที่ก่อสร้างสานักงาน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม และแหล่งธุรกิจ พื้นที่ใช้สาหรับสาธารณูปโภค พื้นที่ภูมิทัศน์ พื้นที่ทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสถานที่ทางศาสนา 3. ที่ดินว่างเปล่า เวี ย ดนามได้ แ ก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง กฎหมายการใช้ ที่ ดิน (Land Law) ฉบั บปี 2557 เพื่อบังคับใช้และถือปฏิบัติทั่วไปในสิทธิการ เป็นเจ้าของโดยชอบธรรมเพื่อความถูกต้องในการใช้ที่ดิน รวมไปถึง การแลกเปลี่ยน การโอนสิทธิ การให้เช่า การให้เช่าช่วง การให้ การยกมรดกให้ การใช้สิทธิจานองที่ดินหรือกรณีการใช้ที่ดินค้าประกัน หรือวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือเงินทุน ส าหรั บ การบริ ห ารที่ ดิ น มี ก ารด าเนิ น การ ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ใ ห้ ก ร ะ ชั บ แ ล ะ ก า ห น ด วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการใช้ ที่ ดิ น ให้ ถู ก ต้ อ งและ เหมาะสมกั บ ขั้ น ตอนการจดทะเบี ย น โดยมี กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง 2 ฉบั บ คื อ 1) กฎหมาย เกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรั พย์ (มีผลบังคับใช้เมื่อ เดือนมกราคม 2550) และ 2) กฎหมายการเคหะ (มีผ ลบั งคับ ใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม 2549) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการเตรีย มการและการเข้า ร่ว ม ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ วี ย ดนามของนั ก ลงทุ น ต่างชาติและเวียดนามโพ้นทะเล
บริษัทต่างชาติสามารถขอใช้ที่ดินระยะยาวได้ 3 วิธี ดังต่อไปนี้
1) ร่ ว ม ล ง ทุ น ใ น กิ จ ก า ร ร่ ว ม ทุ น ( Joint Venture: JV) กั บ หุ้ น ส่ ว น ช า ว เวียดนามที่ได้รับการจัดสรรสิทธิในการใช้ที่ดิน ระยะยาวจากรัฐบาล โดยส่วนใหญ่การลงทุน ร่วมดังกล่าวนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนชาวเวียดนามจะ ลงทุนในลักษณะของการให้ใช้สัญญาร่วมกัน จึงทาให้กิจการลงทุนของต่างชาติไม่ต้อ งเช่า ที่ดินจากรัฐบาล 2) ก า ร เ ช่ า ที่ ดิ น จ า ก Provincial People’s Committee ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ มี อ านาจในการให้ บ ริ ษั ท ต่ า งชาติ เ ช่ าที่ดิน การขอรั บ จั ด สรรสิ ท ธิ์ ใ นการใช้ ที่ ดิ น ระยะ โดยมีกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ยาวสาหรับนักลงทุนต่างชาติ และสิ่งแวดล้อมเป็นตัวแทนฝ่ายเวียดนามใน ภายใต้ ก ฎหมายที่ ดิ น ของประเทศเวี ย ดนาม การทาสัญญาให้เช่าที่ดิน 12
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
Page | 24
3) เช่ า ช่ ว งที่ ดิ น จากเขตอุ ต สาหกรรม เขต อุ ต สาหกรรมเพื่ อ การส่ ง ออก หรื อ เขต เทคโนโลยีขั้นสูง การใช้ที่ดินนี้เป็นการเช่าช่วง ต่อจากนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ ได้จัดสรร ที่ดินเป็นเขตพิเศษต่างๆ เช่น เขตอุตสาหกรรม เขตอุ ต สาหกรรมเพื่ อ การส่ ง ออก หรื อ เขต เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อให้นักลงทุนเข้ามาดาเนิน กิจการในเขตนั้นโดยการเช่าช่วง ซึ่งโดยปกติ จะมีการสร้างสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินนั้น และให้ เช่าไปพร้อมกับที่ดิน 4) ทั้งนี้เพื่อการอานวยความสะดวกในการใช้สิทธิ ในที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยของชาวต่างชาติที่เข้า มาลงทุนหรือทางานในเวียดนาม ดังนั้นรัฐบาล เวี ย ดนามจึ ง อนุ ญ าตให้ บ ริ ษั ท ต่ า งชาติ หรื อ ชาวต่างชาติส ามารถเช่าซื้อและเป็น เจ้าของ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ส าหรั บ เป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ได้ แม้ว่าประเทศเวียดนามไม่อนุญาตให้ทั้งบุคคล ธรรมดา หรือ นิติบุคคลเป็นเจ้าของที่ดิน และ การใช้ที่ดินทาได้โดยการได้รับจัดสรรสิทธิให้ ใช้ที่ดินโดยการเช่าจากรัฐบาลเท่านั้น โดยได้ ริเริ่มโครงการนาร่องขึ้นเมื่อปี 2552 ที่อนุญาต ให้บุคคลธรรมดาและนิ ติบุ คคลต่างชาติซื้ อ อ พาร์ตเมนต์ในเขตที่รัฐบาลจัดสรรไว้ให้ ทั้งนี้ เป็ น การเช่าซื้อแบบไม่มีสิ ทธิเด็ ดขาด แต่จะ กาหนดระยะเวลาในการเป็นเจ้าของไว้ และ ในขณะนี้ยังไม่อนุญาตให้มีการซื้อบ้าน สาหรับ โครงการน าร่ องนี้ มีร ะยะเวลา 5 ปี เป็ นการ ทดลองให้ ช าวต่ า งชาติ 5 กลุ่ ม ดั ง ต่ อ ไปนี้ สามารถซื้ออพาร์ตเมนต์เป็นที่อยู่อาศัยได้
1) ชาวต่างชาติที่เข้ามาลงทุนตามกฎหมายว่า ด้วยการลงทุน 2) ชาวต่ า งชาติ ที่ ท าคุ ณ ประโยชน์ ต่ อ ประเทศเวี ย ดนามและได้ รั บ ค าสั่ ง Page | 25 พิ เ ศ ษ จ า ก ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี แ ล ะ นายกรัฐมนตรีให้ซื้อที่อยู่อาศัยได้ 3) ชาวต่างชาติที่มีคู่สมรสเป็นชาวเวียดนามที่ อาศัยอยู่ในประเทศเวียดนาม 4) ชาวต่างชาติที่ประกอบวิชาชีพพิเศษที่เป็น ที่ขาดแคลนในประเทศเวียดนาม 5) ธุรกิจต่างชาติที่ไม่เกี่ยวข้องกับด้าน อสังหาริมทรัพย์ ซึ่งซื้ออพาร์ตเมนต์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ที่ พั ก ของพนั ก งานของ บริษัท ผู้ที่มีสิทธิดังกล่าวข้างต้นที่ต้องการจะซื้อที่พัก อาศัยจะต้องมีเอกสารที่ส ามารถแสดงได้ว่าตนมี สิทธิที่จะอยู่ในประเทศเวียดนาม และได้พานักอยู่ ในประเทศเวี ย ดนามมาแล้ ว อย่ า งน้ อ ยเป็ น ระยะเวลา 1 ปี โดยชาวต่างชาติที่เข้ามาทางานใน ประเทศเวียดนามนั้น สามารถเป็นเจ้าของอพาร์ต เมนต์ได้เป็ นระยะเวลาไม่ เกิ น 50 ปี ไม่ส ามารถ ขยายเกิ น กว่ า นี้ ไ ด้ หลั ง จากที่ ค รบก าหนด ต้ อ ง ขายอพาร์ตเมนต์นั้นให้ บุคคลอื่นต่อไป อย่างไรก็ ตาม ชาวต่ า งชาติ ที่ เ ข้ า มาท างานในเวี ย ดนาม สามารถขอสินเชื่อกู้ซื้อที่อยู่อาศัย หรือโอนอพาร์ต เมนต์ที่ซื้อไว้ให้แก่คนอื่น หรือโอนให้เป็นมรดกได้
ทั้ ง นี้ เ มื่ อ วั น ที่ 29 พฤศจิ ก ายน 2556 สภา แห่งชาติเวียดนามได้ผ่านกฎหมายที่ดิน ฉบั บ ใหม่ โดยให้มีผลใช้แทนฉบับเดิมซึ่งใช้มาตั้งแต่ปี 2546 และให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ภายใต้กฎหมายฉบับใหม่นี้ ผู้ลงทุนจากต่างชาติมี สิทธิ์เพิ่มมากขึ้นจนอาจะเรียกได้ว่าเท่าเทียบกับคน ในพื้นที่
ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายที่ดินฉบับปี 2557 นั ก ลงทุ น ทั้ ง ชาวต่ างชาติ และชาวท้ อ งถิ่น สามารถเช่าที่ดินจากรัฐบาลเวียดนาม และสามารถ จ่ายค่าเช่าที่ดินได้ทั้ งรูปแบบการจ่ายรายปี หรือ จ่ายเป็นก้อนตามแต่ตกลง นอกจากนี้ ยังสามารถ ซื้อที่ดินโดยการจัดสรรของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม การซื้อที่ดินจากรัฐ บาลสามารถนาไปใช้เพื่อการ สร้างที่พักอาศัยได้เท่านั้น
กฎหมายที่ดินฉบับปี 255713 ได้เพิ่มเติมเงื่อนไขเกี่ยวกั บการครอบครองที่ดิน โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1) การเช่า หรือการจัดสรรที่ดินต้องเป็นไปตาม แ ผ น ก า ร ใ ช้ ที่ ดิ น ร า ย ปี ซึ่ ง ก า ห น ด โ ด ย คณะกรรมการประชาชนประจาเขต นักลงทุน ต้องมั่นใจว่า ที่ดินที่ตนต้องการครอบครองได้ ถูกกาหนดไว้ในแผนการใช่ที่ดินประจาปีของ เขตแล้ว 2) นักลงทุนต้องมีเงินทุนตามที่กฎหมายเวียดนาม กาหนด เช่น สาหรับโครงการที่ลงทุนในพื้นที่ที่ มีอาณาเขตน้อยกว่า 20 เฮกตาร์ นักลงทุนต้อง มีเงินทุนอย่างน้อยร้อยละ 20 ของมูลค่ารวม การลงทุนของโครงการ หรือสาหรับโครงการที่ ลงทุ น ในพื้ น ที่ ที่ มี อ าณาเขตมากกว่ า 20 เฮกตาร์ นักลงทุนต้องมีเงินทุนอย่างน้อยร้อย ละ 15 ของมูลค่ารวมการลงทุนของโครงการ เป็นต้น 3) นักลงทุนจากต่างชาติต้องจ่ายเงินฝากบางส่วน แก่รัฐบาลเวียดนามเพื่อประกันว่านักลงทุนจะ 13
สามารถจ่ายค่าเช่าที่ดิน หรือค่าธรรมเนียมการ ใช้ที่ดินได้ และจะพัฒนาโครงการตามช่วงเวลา ที่ได้กาหนดไว้
ความไม่แน่นอนของราคาที่ดิน ตามกฎหมายที่ดินฉบับปี 2546 ราคาที่ดิน (ซึ่ง อาจหมายความรวมถึงค่าเช่า หรือค่าธรรมเนีย ม การใช้ที่ดิน) สามารถคานวณได้จากตารางราคาที่ กาหนดโดยคณะกรรมการประชาชนประจาจังหวัด ซึ่ ง จั ด พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ข้ อ มู ล รายปี อย่ า งไรก็ ต าม กฎหมายที่ดินฉบับปี 2557 การคานวณราคาที่ดิน ได้ ก าหนดให้ พิ จ ารณาตามแต่ ล ะกรณี โดย คณะกรรมการประชาชนประจ าจั ง หวั ด เป็ น ผู้ พิจารณา อย่างไรก็ตาม ทางภาครัฐอาจจ้างบริษัท เพื่อประเมิน และให้คาแนะนาเกี่ยวกับราคาที่ดิน ในบางกรณี การพิจารณากาหนดราคาด้วยวิธีการ ใหม่นี้ จึงอาจส่งผลกระทบต่อนักลงทุ น เนื่องจาก
ข้อมูลจาก สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอย จากบทความเรื่ อ ง VIETNAM’S NEW LAND LAW: THE IMPACT ON FOREIGN DEVELOPERS โ ด ย MR. VINH QUOC NGUYEN, SENIOR ATTORNEY-AT-LAW, TILLEKE & GIBBINS, A LEADING REGIONAL LAW FIRM IN SOUTHEAST ASIA (2557)
Page | 26
ไม่ มี ค วามแน่ น อนด้ า นราคา รวมถึ ง ระยะเวลา สาหรับใช้พิจารณา
ข้อบังคับเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรื้อถอนที่ดิน ตามกฎหมายที่ ดิน ฉบั บ ปี 2557 การรื้ อ ถอน ที่ ดิ น เ พื่ อ ป ลู ก ส ร้ า ง ที่ พั ก อ า ศั ย ห รื อ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างการพาณิ ช ย์ ต้ อ งด าเนิ น การ ต่อเมื่อสอดคล้องกับเงื่อนไข 2 ข้อ คือ (1) ต้องเป็นไปเพื่อโครงการสาคัญเท่านั้น เช่น โครงการการก่อสร้างเมืองใหม่ (2) ต้องได้รับการอนุญาตจากสภาประชาชน ประจาจังหวัดล่วงหน้า
ทางเลือกเพิ่มเติมสาหรับโครงการก่อสร้างที่ พักอาศัย กฎหมายที่ดินฉบับปี 2557 อนุญาตให้ผู้ลงทุน สามารถถ่ายโอนบางส่วนของโครงการ เช่น การ แบ่ งที่ดิน ออกเป็ น ส่ ว นๆ แล้ ว ถ่ายโอนส่ ว นต่ า งๆ รวมทั้ ง สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ อ ยู่ บ นที่ ดิ น แต่ ล ะส่ ว นนั้ น ให้แก่นักลงทุนบุคคลอื่น ภายใต้เงื่อนไข 2 ประการ คือ 1) ผู้ ข ายหรื อ ผู้ ถ่ า ยโอนที่ ดิ น แก่ ผู้ อื่ น ต้ อ งจ่ า ย
ค่ า ธรรมเนี ย มการใช้ ที่ ดิ น หรื อ ค่ า เช่ า หรื อ ราคาที่ตกลงซื้อที่ดินอย่างเต็มจานวน 2) ต้องมีเอกสารรับรองสิทธิ์การครอบครองที่ดิน อย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ข้อกาหนด เอกสาร และขั้นตอน เพื่ อ การถ่ า ยโอนที่ ดิ น ไปสู่ ผู้ อื่ น นั้ น ยั ง ไม่ มี ก าร กาหนดอย่างแน่ชัด กฎหมายที่ ดิ น ฉบั บ ปี 2557 ยั ง อนุ ญ าตให้ ผู้ ลงทุนสามารถถ่ายโอนที่ดินเปล่าในการครอบครอง ให้แก่ผู้ซื้อรายอื่นได้ โดยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข 4 ประการ คือ (1) นักลงทุนต้องจ่ายเงินตามราคาที่ ดินอย่าง เต็มจานวนแก่โครงการเจ้าของที่ดิน (2) นักลงทุนต้องสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่จาเป็นให้กับโครงการของตน (3) โครงการที่จะลงทุนต้องไม่ตั้งอยู่ในบริเวณ เขตศูนย์กลางของเมืองหรือจังหวัด (4) ต้องได้รับ อนุญ าตการถ่า ยโอนที่ ดิ น จาก คณะกรรมการประชาชนประจาจั ง หวั ด ของเขตพื้นที่ของโครงการ
Page | 27
3.6.3 กฎหมายคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา14 เวียดนามได้มีการออกกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา (Law on Intellectual Property) เมื่อปี พ.ศ. 2549 และได้ มี ก ารแก้ ไ ขครั้ ง ล่ า สุ ด มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ เ มื่ อ เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2553 โ ด ย ใ น ก ฎ ห ม า ย ฉ บั บ ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ แ บ่ ง ก า ร รั บ รองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาเป็ น 3 ประเภท คื อ สิ ท ธิ ใ น ท รั พ ย์ ส ิ น ท า ง ปั ญ ญ า ด้ า น ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ลิ ข สิ ท ธิ ์ แ ล ะ สิ ท ธิ อื ่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ลิ ข สิ ท ธิ์ และสิ ท ธิ ที่ เ กี่ ย วกั บ ความ หลากหลายในพั น ธุ์ พื ช ประเทศเวี ย ดนามเป็ น ภาคี ใ นอนุ สั ญ ญา คุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาสองฉบั บ คื อ Geneva Universal Copyright Convention (1952) แ ล ะ Berne Convention (1886) นอกจากนี้ประเทศเวียดนามยังผูกพันในความตก ลงว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญญาของ องค์ ก ารการค้ า โลกอี ก ด้ ว ย ถึ ง แม้ ว่ า ประเทศ เวี ย ดนามจะมี ก ฎหมายคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทาง ปั ญญา และมีพัน ธกรณี ต ามสนธิสั ญ ญาระหว่ า ง
14
ประเทศที่ จ ะปกป้ อ งและคุ้ ม ครองทรัพ ย์ สิ น ทาง ปัญญาในประเทศเวียดนามก็ตาม แต่การบังคับใช้ กฎหมายยังไม่ประสบผลสาเร็จอย่างเต็มที่ ผู้ที่เข้า ไปลงทุนทาการค้าในประเทศเวียดนามมักประสบ ปัญหาเรื่องการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาจนถือ ว่ า เป็ น อุ ป สรรคที่ ส าคั ญ ในการด าเนิ น กิ จ การใน ประเทศเวียดนาม แม้รัฐบาลเวียดนามจะจัดให้มีหน่วยงานและ องค์กรต่างๆ ทั้งระดับรัฐบาล และระดับท้ อ งถิ่น เ ช่ น ต า ร ว จ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ( Economic Police), Market Management Bureau, Inspectorate of Science and Technology แ ล ะ Inspectorate of Culture, Sports and Tourism คอยตรวจตราดูแลไม่ให้มีการละเมิดทรัพย์สินทาง ปั ญ ญาแล้ ว ก็ ต าม แต่ ปั ญ หาในเรื่ อ งการละเมิ ด ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า ยั ง เ ป็ น ปั ญ ห า ใ ห ญ่ ที่ ผู้ประกอบการไทยและชาติอื่นๆ ต้องให้ความใส่ใจ เป็นอย่างมาก
คู่มือประกอบธุรกิจ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 2556
Page | 28
สาหรับนิยามของสิ่งที่ได้รับความคุ้มครองใน ประเทศเวียดนาม มีดังนี้ 1) ลิ ข สิ ท ธิ์ หมายถึ ง สิ ท ธิ ที่ ไ ด้ รั บ ในการ เปิดเผย โฆษณา เผยแพร่งานอันมีลิขสิทธิ์ และสิ ท ธิ ใ นการให้ ผู้ อื่ น กระท าในสิ่ ง ดังกล่าว 2) งานอัน มีลิ ขสิ ทธิ์ ได้แก่ งานวรรณกรรม งานนาฏกรรม งานดนตรี ก รรม งาน ศิ ล ปกรรม งานทางโสตทั ศ นวั ส ดุ งาน ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียง แพร่ภาพ งาน Derivative works15 และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3) สิทธิข้างเคียงที่ได้รับความคุ้มครอง ได้แก่ สิ ท ธิ ข องนั ก แสดง สิ ท ธิ ข ององค์ ก รแพร่ ภาพและกระจายเสี ย ง และสิ ท ธิ ข อง องค์กรวิทยุกระจายเสียง สาหรับอายุความคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์ทุก ประเภทมีอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 50 ปี ภายหลัง จากทีผ่ ู้สร้างสรรค์ถึงแก่กรรม
กฏหมายทรัพย์สินทางปัญญา16 ในปี 2549 เวี ยดนามได้ เข้ าร่ ว มเป็ นภาคี ข อง Madrid Protocol ที่ มี เนื้ อหาเกี่ ยวกั บเครื่ องหมาย การค้ า ซึ่ งตามข้ อก าหนดของกฎหมายเวี ย ดนาม เจ้าของทรัพย์สินด้านอุตสาหกรรมต้องจดทะเบียน เพื่อให้ได้รับการปกป้องทรัพย์สินของตนในเวียดนาม โดยการคุ้มครองแบ่งออกเป็น
15
derivative work คือ การดัดแปลงงานไปจาก ต้นแบบ (เกี่ยวข้องกับกฎหมายลิขสิทธิ์)
- สิทธิบัตรได้รับการคุ้มครองเป็นเวลา 20 ปี - หนังสือรับรองสิทธิประโยชน์ มีอายุ 10 ปี - หนังสือรับรองการออกแบบด้านอุตสาหกรรม มีอายุ 5 ปี และต้อ งทาการต่ อ อายุ ห ลั ง จาก หมดอายุ อย่ า งไรก็ ต ามหนั ง สื อ รั บ รองการ ออกแบบด้ า นอุ ต สาหกรรมจะมี อ ายุ ร วม ทั้ ง หมดได้ ไ ม่ เ กิ น 15 ปี ภายหลั ง จาก 15 ปี แล้ ว ต้ อ งยื่ น เรื่ อ งท าหนั ง สื อ รั บ รองการ ออกแบบด้านอุตสาหกรรมใหม่ - หนั ง สื อ รั บ รองการจดทะเบี ย นเครื่ อ งหมาย การค้า มีอายุ 10 ปี และสามารถต่ออายุได้ไม่ จากัดจานวน National Office of ntellectual Property of VietNam (NOIP) อยู่ ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารของ Ministry of Science and Technology ทาหน้าที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการจดทะเบียนทรัพย์สิ นทาง อุ ต สาหกรรม ได้ แ ก่ สิ ท ธิ บั ต ร ตราเครื่ อ งหมาย การค้า สัญลักษณ์ของท้องถิ่น บุคคลต่างชาติอาศัย ที่อยู่ในเวียดนามอย่างไม่ถาวร และองค์กรต่างชาติ และบุคคลที่ไม่ได้ผลิตหรือจัดตั้งธุรกิจในเวียดนาม ที่ต้องการจดทะเบียนสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาของ ตนในเวี ย ดนามต้ อ งด าเนิ น การผ่ า นส านั ก งาน ตัวแทนทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อจัดทาเอกสารขอ ยื่นจดทะเบียนที่ National Office for Industrial Property
16
สานักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์ (2552)
Page | 29