5.1
Page | 1
ภาพรวมการลงทุนไทยในเวียดนาม
เวียดนามเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการดึงดูด เ งิ น ล ง ทุ น ข อ ง ต่ า ง ช า ติ อั น เ นื่ อ ง จ า ก ทรัพยากรธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณ์ ประชากรใน วั ย แรงงานที่ มี จ านวนมาก ประกอบกั บ เป็ น ประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจมี การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งค่าจ้างแรงงานยัง ไม่สูง รวมทั้งการพัฒนาอุตสาหกรรมจากการเน้น การใช้ แ รงงาน ไปอุ ต สาหกรรมที่ เ น้ น การใช้ เทคโนโลยี ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการเตรียมความพร้ อม เพื่ อ รองรั บ เงิ น ลงทุ น ต่ า งชาติ และแข่ ง ขั น ใน ตลาดโลกได้ จากข้อมูลการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ของส านั ก งาน สถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ข องเวี ย ดน าม GENERAL STATISTICS OFFICE OF VIET NAM พบว่า นับตั้งแต่ปี 2531 ถึง 31 ธันวาคม 2557 มี การลงทุนจากต่างประเทศแล้ว 17,768 โครงการ
มูล ค่าเงินลงทุน 252,716.0 ล้ านดอลลาร์ส หรัฐ โดยเป็ น การลงทุ น ในปี 2557 จ านวน 1,843 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 21,922.0 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ สาหรับการลงทุนไทยในเวียดนาม ปัจจุบันนี้มี ผู้ประกอบการไทยไปลงทุนในเวียดนามแล้ว 100 กิ จ การ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ มี ก ารลงทุ น สะสมในเวียดนาม ณ สิ้นปี 2557 เป็น อันดับที่ 9 ด้วยมูลค่าเงินลงทุน 6,749.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน 379 โครงการ และในปี 2557 ลงทุ น ใน เวียดนาม เป็นอันดับที่ 13 จานวน 41 โครงการ 232.8 ล้ านดอลลาร์ส หรัฐ และจากข้อมูล ล่ า สุ ด ของสานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครโฮจิ มิ น ห์ พบว่ า ในช่ ว ง 1 มกราคม – 20 มิถุนายน 2558 มีบริษัทไทยเข้ามาลงทุนเพิ่มเติม 13 โครงการ มู ล ค่ า ทั้ ง หมด 56.3 ล้ า นดอลลาร์ สหรัฐ
การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ ในเวียดนาม ประเทศ
1. Rep. of Korea 2. Japan 3. Singapore 3. Taiwan 4. British Virgin Islands 5. Hong Kong SAR 6. United States 7. Malaysia 8. China, PR 9. Thailand 10. Netherlands 11. Cayman Islands 12. Canada 13. Samoa 14. Germany Other Total
การลงทุนสะสม 2531 - 2557
การลงทุน ในปี 2557
จานวน โครงการ
ทุนจดทะเบียน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
จานวน โครงการ
ทุนจดทะเบียน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
4,190 2,531 1,367 2,387 551 883 725 489 1,102 379 229 57 143 122 247 2,366 17,768
37,726.3 37,334.5 32,936.9 28,468.5 17,990.0 15,603.0 10,990.2 10,804.7 7,983.9 6,749.2 6,625.4 5,948.5 4,995.2 4,270.2 1,359.7 22,929.8 252,716.0
588 101 119 342 29 112 43 36 112 41 31 2 13 17 28 229 1,843
7,705.0 1,228.9 2,892.7 2,299.0 790.4 3,036.4 309.6 388.4 497.1 232.8 204.5 87.9 297 261.5 174 1,517.0 21,922
ที่มา : GENERAL STATISTICS OFFICE of VIET NAM (2015)
Page | 2
รายชื่อธุรกิจไทย/ธุรกิจร่วมทุน ในเวียดนาม1 กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต 49 บริษัท Page | 3
ที่
ธุรกิจ
1 2 3 4
Amata Vietnam JSC Thai Hoa SCG – Chemtech SCG – Viet-Thai Plastchem Co., Ltd 5 SCG – TPC Vina Chemical and Plastic Corp 6 SCG – Tien Phong Plastics JSC 7 SCG – Binh Minh Plastics JSC 8 SCG – Minh Thai House Component 9 SCG – Long Son Petro Chemicals 10 SCG – Vina Kraft Paper 11 SCG – New Asia Industry 12 SCG – Alcamax Packaging (Vietnam) 13 SCG – AP Packaging (Hanoi)
ประเภท นิคมอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม พลาสติกคอมพาวด์ พีวีซีคอมพาวด์
ด่องไน หวางนิน ลองอัน บินห์เยือง – สาหรับสายไฟฟ้า บินห์เยือง
พีวีซี
ด่องไน
ท่อและข้อต่อ พีวีซี เอชดีพี อี พีพีอาร์ ท่อและข้อต่อ พีวีซี เอชดีพี อี พีพีอาร์ ประตู / หน้าต่างพีวีซี
ไฮฟอง วินห์ บินห์เยือง – แบรนด์ Tien Phong โฮจิมินห์ ลองอาน ไหเยือง – แบรนด์ BMPlasco โฮจิมินห์ แบรนด์ Winsor
ปิโตรเคมี
บาเรียหวุงเต่า – (อยู่ระหว่าง ประมูลผู้รับเหมาก่อสร้าง) บินห์เยือง โฮจิมินห์
กระดาษบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์กระดาษ กล่องลูกฟูก บรรจุภัณฑ์กระดาษ กล่องลูกฟูก บรรจุภัณฑ์กระดาษ กล่องลูกฟูก บรรจุภัณฑ์พลาสติก บรรจุภัณฑ์พลาสติก
14 SCG – Packmex (Vietnam) 15 SCG – Tin Thanh Packaging (BATICO) 16 SCG – BUU Long Industry & ซีเมนต์ขาว Investment JSC 1
หมายเหตุ
สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์
บินห์เยือง ไหเยือง โฮจิมินห์ ลองอาน ด่องไน แบรนด์ SCG – White cement
ที่
ธุรกิจ
17 SCG – The Concrete Products and Aggregate (Vietnam) 18 SCG – The SCG Concrete Roof (Vietnam) 19 PTT – Hoang Long & Hoan Vu 20 PTT – VT Gas 21 22 23 24 25 26 27 28 29
ประเภท คอนกรีตผสมเสร็จ
เสื้อผ้ากีฬา เสื้อผ้ากีฬา
32 Phuong Dong Menufacturing ผลิตภัณฑ์พลาสติก and Trading 33 Thai Nakorn Patana เวชภัณฑ์ 34 Pranda Vietnam 35 Camel Rubber Vietnam 36 LS Pack
ลองอัน โฮจิมินห์ – แบรนด์ SCG Concrete
กระเบื้องคอนกรีตมุง บินห์เยือง แบรนด์ SCG, หลังคา Prestige สารวจและผลิตปิโตรเลียม บาเรียหวุงเต่า
บรรจุ / จาหน่ายก๊าซแอลพีจี Thai Oil – Top Solvent (VN) ปิโตรเคมี Hicrete (VN) JSC วัสดุก่อสร้าง Srithai (VN) ผลิตภัณฑ์เมลามีน United Packaging JVC บรรจุภัณฑ์กระดาษ Starprint Vietnam Company บรรจุภัณฑ์กระดาษ หนังสือ 4 Oranges สีทาอาคาร TOA Paint (VN) สีทาอาคาร EUP – อุไรพาณิชย์ สีพ่นจักรยานยนต์ Alliance One Garment เสื้อผ้ากีฬา
30 Hong Seng Thai – Vina 31 Oriental Garment
หมายเหตุ
อัญมณี เครื่องประดับ ยางรถมอเตอร์ไซด์ หลอดยาสีฟัน
ด่องไน ด่องไน ลองอัน บินห์เยือง – Superware โฮจิมินห์ ด่องไน แบรนด์ My Color บินห์เยือง ฮานอย เบิ้นแจ – OEM (Adidas, Nike, Puma) ลองอัน – OEM (Nike) อันยาง – OEM (Adidas, Nike, Reebok) เบิ้นแจ ฟู้อิง ฮานอย – แบรนด์ ทิฟฟี่, แอนตาซิล, ซาร่า,นีโอติก้าบาล์ม, ไดฟิลีน ด่องไน หวางจี่ กู๋จี – โฮจิมินห์ (ให้แบรนด์ PS ของยูนิลิเวอร์)
Page | 4
ที่
ธุรกิจ
37 38 39 40
Sitto Vietnam Baconco Cropcare Dinh Phu Thinh Modern Cass International Cosmetics (VN) Red Bull (Vietnam) Siam Brothers Vietnam THAVINET JSC Thai KK Industry (Vietnam) RCK Rungcharoen Vietnam
41 42 43 44 45 46 47 48 49
CP Packaging Vietnam Lucky Star Plastic TBC Ball Beverage Can Royal Can Industries (Vietnam)
ประเภท ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมี เครื่องสาอาง ยาย้อมผม เครื่องสาอาง ยาย้อมผม เครื่องดื่มชูกาลัง เชือก แห อวน ตาข่าย เชือก แห อวน ตาข่าย ลาเบล เทปกาว โครงรถยนต์ / บรรทุก (Chassis) บรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ (ถุงกระสอบ) กระป๋องเครื่องดื่ม กระป๋อง (อาหารทะเล / ผลไม้)
หมายเหตุ ด่องไน บาเรียหวุงเต่า ด่องไน บินห์เยือง / ร้านทาผม – โฮจิมินห์ บินห์เยือง – แบรนด์กระทิงแดง บินห์เยือง โฮจิมินห์ ไตนิน บินห์เยือง ด่องไน ด่องไน บินห์เยือง เตี่ยงแยง
กลุ่มธุรกิจบริการ 35 บริษัท ที่
ธุรกิจ
1 2 3
Bangkok Bank Siam Commercial Bank Kasikorn Bank
4 5
Limcharoen Golden Elephant (Changthong) Samyan Seafood Thai House
6 7
ประเภท
หมายเหตุ
ธนาคาร – สาขา ธนาคาร – สาขา ธนาคาร – สานักงาน ตัวแทน สานักงานทนายความ ร้านอาหารไทย
ฮานอย / โฮจิมินห์ ฮานอย / โฮจิมินห์ ฮานอย / โฮจิมินห์
ร้านอาหารไทย / ทะเล ร้านอาหารไทย
โฮจิมินห์ โฮจิมินห์
โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ 2 สาขา
Page | 5
ที่ 8 9
ธุรกิจ
10 Sawadee Spa 11 Venus Star Beauty Salon 12 Orient Skincare & Laser Center 13 Pan Clinic Medical Beauty Center
สปา / นวดไทย ร้านทาผม คลินิกเสริมความงาม คลินิกเสริมความงาม
โฮจิมินห์
14 15 16 17
Dusit Thani Anantara Avani Habourview Hotel Kantana Post Production Vietnam Golden Jade Trading Service River Orchid Paramee Advertising SCG – SCG Trading (Vietnam)
โรงแรม / รีสอร์ท โรงแรม / รีสอร์ท โรงแรม รายการโทรศัทน์ / หนัง / สื่อ โฆษณา
ญาแจง (อยู่ระหว่างก่อสร้าง) มุ่ยเน้ ไฮฟง โฮจิมินห์ – กันตนา กรุ๊ป
Unithai Logistics (Vietnam) CLMV 2014 Thai Airways International Thai – Vietjet Nok Airlines Central Global Services JSC
ขนส่ง / โลจิสติกส์ ขนส่ง / โลจิสติกส์ สายการบิน สายการบิน สายการบิน ห้างค้าปลีก
โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ ฮานอย โฮจิมินห์ ฮานอย โฮจิมินห์ เครือเซ็นทรัล - ห้าง Robins (ฮานอย/โฮจิมินห์) - Supersport (ห้างขายเสื้อผ้า และอุปกรณ์กีฬา)
19 20 21
22 23 24 25 26 27
ร้านอาหารไทย ร้านอาหารไทย/กาแฟ
หมายเหตุ โฮจิมินห์ ฮานอย (AEON Mall – open soon) โฮจิมินห์ / ฮอยอัน โฮจิมินห์ โฮจิมินห์
18
Monsoon Black Canyon
ประเภท
โฮจิมินห์ – ประกิต แอดเวอร์ไทซิ่ง โฆษณา โฮจิมินห์ โฆษณา โฮจิมินห์ ขนส่ง / โลจิสติกส์ / โฮจิมินห์ – แบรนด์ SCG เทรดดิ้ง (อาทิ วัสดุ Logistics, COTTO, SCG ก่อสร้าง สุขภัณฑ์ ถ่านหิน Smartwood, แป้งมันสาปะหลัง) SCG Smartboard
Page | 6
ที่
ธุรกิจ
ประเภท
28 B’s mart 29 Metro Cash and Carry 30 Thai Corp International (Vietnam) 31 Saha Vietnam 32 Change and Challenge
ร้านค้าปลีก ห้างค้าปลีกค้าส่ง ผู้กระจายสินค้า
33 Vina Siam Food 34 SBN (Vietnam)
ผู้กระจายสินค้าอาหาร ร้านขายชุดชั้นใน – ซาบีนา กระจายสินค้า / แผนตั้ง โรงงานผลิตนมเปรี้ยว ใน 3–5 ปี
35 Betagen Vietnam
ผู้กระจายสินค้า ผู้กระจายสินค้า
หมายเหตุ - Nguyen Kim (ห้างขายเครื่องใช้ไฟฟ้า) - ตัวแทนจาหน่าย M&S, Croc, etc. BJC BJC BJC – กระทิงแดง สามแม่ครัว Cellox เครือสหพัฒน์ โฮจิมินห์ ฮานอย ดานัง – แบรนด์ อิมพีเรียล เด็กสมบูรณ์ ทิปโก้ ดอกบัว Abonne โฮจิมินห์ - Siam Makro ฮานอย โฮจิมินห์ ญาแจง เกิ่นเทอ ฮานอย โฮจิมินห์ ดานัง - แบรนด์ บีทาเก้น
Page | 7
5.2
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของการลงทุนในเวียดนาม
แม้ว่าเวียดนามจะเป็นประเทศที่เป็นเป้าหมาย ของนั ก ลงทุ น หลายประเทศ ด้ ว ยมู ล ค่ า ของเงิ น ลงทุ น จากต่ า งประเทศที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น โดยตลอด ประกอบกับเวียดนามมีนโยบายส่งเสริมการลงทุน ต่างประเทศและการส่งออกในประเทศมากขึ้น ซึ่ง ความต้องการนาเข้าวัตถุดิบ สินค้า ในปริมาณสูง
จึงมีการจ้างงานและมีรายได้มากขึ้น ส่งผลให้ความ ต้องการบริโภคสินค้าในประเทศมากขึ้น ทั้งนี้ใช่ว่า การค้าการลงทุนจะไม่มีอุปสรรค หรือ ไม่มีจุดอ่อน ดังนั้นผู้ประกอบการควรพิจารณาถึงจุ ดอ่อน จุด แข็ ง โอกาส และอุ ป สรรคของการลงทุ น ใน เวียดนาม ซึ่งสรุปได้ดังนี้
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค -
จุดแข็ง
-
เวียดนามมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก มีชายฝั่งทะเลยาวถึง 3,260 กิโลเมตร มีความสมบูรณ์ด้านพลังงานทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่ง ผลผลิตทางการเกษตรอุดมสมบูรณ์มีความหลากหลายและเป็นที่ต้องของตลาด เช่น ข้าว กาแฟ และพริกไทย เป็นต้น การเมืองมีเสถียรภาพ เนื่องจากเป็นระบบคอมมิวนิสต์ทาให้การกาหนดนโยบาย มีเอกภาพและมีความต่อเนื่อง เวียดนามมีมรดกโลกถึง 4 แห่ง เป็นสิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ อีกทั้งเวียดนามยังพยายามส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง ทา ให้ปริมาณนักท่องเที่ยวมากขึ้นทุกๆปี
เศรษฐกิจของเวียดนามมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง (ปี 2005 – 2014 เศรษฐกิจ เวียดนามขยายตัวเฉลี่ยปีละ 6.2%) ทาให้สภาพเศรษฐกิจมีความคล่องตัว - ประชากรมากกว่า 90 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีตลาดขนาดใหญ่และกาลัง เติบโต - แรงงานของเวียดนามมีประสิทธิภาพในการแข่งขัน วัดจากอัตราการอ่านออก เขียนได้ (Literary Rate) คนเวียดนามร้อยละ 94 สามารถอ่านออกและเขียนได้ เป็นรองสิงคโปร์ ในอาเซียน และแรงงานของเวียดนามก็มีคุณสมบัติที่ขยันและ อดทนมาก -
Page | 8
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค “จากรายงาน “Economic Insight South East Asia Q1/2015 ของ Institute of Chartered Accountants in England and Wales (ICAEW) ร่วมกับ Cerb พบว่า ประสิทธิภาพซึ่งวัดจากค่าดัชนีผลผลิตต่อแรงงาน (Output per worker Index) ปี 1991 – 2012 แรงงานเวียดนาม มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 184 % ไทยเพิ่มขึ้น 85 % สิงคโปร์ 81 % และมาเลเซีย 80 % นอกจากนี้สัดส่วนของแรงงานที่มีฝีมือ (ผู้จัดการ ผู้เชี่ยวชาญ ช่างเทคนิคและวิชาชีพ) ต่อแรงงานไม่มีฝีมือของเวียดนามเพิ่มขึ้นเป็น 76 เปอร์เซ็นต์ สูงที่สุดในประเทศอาเซียน (วิธีคานวณคือทาการเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 กับข้อมูลล่าสุดของแต่ละประเทศที่มีอยู่
จุดอ่อน
โอกาส
ประเทศเป็นรูปตัว S ซึ่งทอดตัวในแนวยาว ทาให้ยากลาบากและใช้เวลานานในการขน ถ่ายสินค้า อาจเป็นผลทาให้ต้นทุนโลจิสติกส์สูงและใช้เวลานานรวมทั้งทาให้เกิดความ แตกต่างกันมากในด้านสังคม วิถีชีวิตระหว่างภาคต่างๆ โดยเฉพาะทางเหนือและทางใต้ ขาดเสรีภาพและความหลากหลายทางความคิด ไม่มีการตรวจสอบที่เข้มข้นชัดเจน มีความรู้สึกชาตินิยมเข้มข้น หากถูกกระตุ้น อาจนาไปสู่ความรุนแรงได้ มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบบ่อยครั้ง กฎหมายและข้อระเบียบต่างๆ ยังขาดความ ชัดเจนและไม่เป็นสากล และต้องอาศัยการตีความ ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่รัฐเอง ระบบโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคยังไม่มีความพร้อมเท่าที่ควร โดยเฉพาะ กระแสไฟฟ้า ที่ปรากฏว่าในปัจจุบันมีการขาดแคลนอยู่บ่อยครั้ง เวียดนามเป็นประเทศที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษ เวียดนามให้นักลงทุนต่างชาติเช่าเช่าที่ดินในระยะเวลาเริ่มแรก 50 ปี และสามารถต่อได้ถึง 70 ปี และค่าเช่าที่ดินในเขตอุตสาหกรรมก็มีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศใน CLMV และอินโดนีเซีย ลดหย่อนภาษีนิติบุคคลได้ร้อยละ 50 สูงสุดถึง 9 ปี โดย 4 ปีของ การลงทุนได้รับการยกเว้นภาษีนิติบุคคลอีกด้วย เวียดนามมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศและการส่งออกในประเทศมากขึ้น ซึ่ง ความต้องการนาเข้าวัตถุดิบ สินค้า ในปริมาณสูง จึงมีการจ้างงานและมีรายได้มากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการบริโภคสินค้าในประเทศมากขึ้น เวียดนามจัดทาเขตการค้าเสรีกลับหลายประเทศ เป็นโอกาสของการผลิตเพื่อส่งออก การได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี GSP จากการลงทุนในเวียดนาม ได้รับประโยชน์จาก ข้อตกลง TPP ซึ่งเอื้อให้การส่งออกง่ายขึ้น อัตราค่าจ้างยังอยู่ในระดับต่า 100 – 145 ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน (2558)
Page | 9
อุปสรรค
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค แม้จะมีประชากรกว่า 90 ล้านคน ซึ่งถือว่าเป็นตลาดขนาดใหญ่ แต่กาลังซื้อของประชากร ส่วนใหญ่ในเวียดนามอยู่ในระดับต่า ยกเว้นในเมืองใหญ่ เช่น นครโฮจิมินห์ และกรุง ฮานอย อย่างไรก็ตาม บริเวณเมืองใหญ่ผู้ประกอบการต้องเผชิญกับการแข่งขันสูงเพื่อช่วง ชิงส่วนแบ่งตลาด ระบบการเงินการธนาคารในเวียดนามอยู่ระหว่างการปฏิรูปให้เป็นสากลมากขึ้น ระบบโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคยังไม่มีความพร้อมเท่าที่ควร ต้นทุนการลงทุนสูง โดยเฉพาะค่าเช่าสานักงานในเมืองใหญ่ โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมสนับสนุนยังไม่สมบูรณ์ นักลงทุนท้องถิ่นขาดแคลนเงินทุนในการร่วมทุนกับชาวต่างชาติ และขาดประสบการณ์ใน การดาเนินธุรกิจและการแข่งขันในตลาดโลก
Page | 10
5.3
อุตสาหกรรม / ธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและมีโอกาสในเวียดนาม
นอกจากจุดอ่อน จุดแข็ง รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคของเวียดนามสาหรับนักลงทุนแล้ว สิ่งที่ต้องพิจารณา ประกอบสาหรับการลงทุนในเวียดนามคือ อุตสาหกรรมหรือธุรกิจที่รัฐบาลเวียดนามสนับสนุน ซึ่งประกอบด้วย อุตสาหกรรมต่างๆ ดังนี้
รัฐบาลเวียดนามให้การส่งเสริมการลงทุนในกิจการหมวดต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1) กิ จ การเกี่ ย วกั บ การเพาะปลู ก การแปรรู ป สินค้าเกษตร ป่าไม้ และสัตว์น้า การผลิตเกลือ การขยายพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ 2) กิ จ การหรื อ โ ครงการที่ เ กี่ ย ว กั บ การใช้ เทคโนโลยี แ ละเทคนิ คขั้ น สู ง การดู แ ล สิ่งแวดล้อมการวิจัยและพัฒนา โครงการที่ใช้ เทคโนโลยี ชีว ภาพ และการสร้ างเทคโนโลยี ใหม่ 3) อุตสาหกรรมที่ต้องใช้แรงงานเป็นหลัก 4) อุตสาหกรรมสาคัญขนาดใหญ่ และโครงการ สร้างและพัฒนาสาธารณูปโภคของประเทศ 5) โครงการหรื อ กิ จ การที่ พั ฒ นาบุ ค ลากรที่ มี อาชี พ ในด้ า นการศึ ก ษา การอบรม สุ ข ภาพ การกี ฬ า พลศึ ก ษา และวั ฒ นธรรมของ เวี ย ดนาม รวมถึ ง การพั ฒ นางานฝี มื อ และ อุตสาหกรรมต่างๆ 6) อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุใหม่
7) โครงการที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ หม่ ใ นการผลิ ต อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม 8) การผลิตวัสดุคุณภาพสูงเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม รองเท้าและสิ่งทอเพื่อการส่งออก 9) การผลิตเหล็กคุณภาพสูง 10) โครงการฝึกอบรมแรงงานด้านเครื่องจั กรกล และอิเล็กทรอนิกส์ 11) โครงการด้ า นการศึ ก ษาในสาขาวิ ศ วกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และเศรษฐศาสตร์ 12) การสร้างโรงพยาบาลที่ทันสมัย และการผลิต ยารักษาโรคร้ายแรง เช่น วัณโรค มะเร็ง เอดส์ การเพาะเนื้อเยื่อ และการผลิตสารปฏิชีวนะ 13) การต่ อ เรื อ และซ่ อ มเรื อ เดิ น สมุ ท รขนาด 1 หมื่นตันขึ้นไป 14) ธุรกิจเกี่ยวกับการบาบัดของเสียจากเมืองและ โรงงานอุตสาหกรรม
Page | 11
ด้วยจุดแข็งและโอกาสของเวียดนามรวมทั้งการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งสิทธิ ประโยชน์ในการลงทุน เมื่อพิจารณาจากข้อมูลต่างๆ พบว่าธุรกิจที่นักลงทุนไทยน่าไปลงทุนในเวียดนาม มี ดังนี้ อุตสาหกรรมประมงและประมงแปรรูป อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูปของเวียดนาม เป็นอุตสาหกรรมที่สาคัญต่อเศรษฐกิจของเวียดนามเป็น อย่างมาก เนื่องจากสามารถสร้างรายได้จากการส่งออกได้ถึง 6,556 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2557 ซึ่งเพิ่มขึ้น จากปี 2556 ที่มีมูลค่าส่งออก 5,510 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นอัตราการขยายตัวร้อยละ 18.9 จากการ ส่งออกในปี 2557 ข้างต้น ถือได้ว่าอุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูปสามารถสร้างรายได้เข้าประเทศได้มากเป็น อันดับที่ 4 รองจากน้ามันดิบ สิ่งทอ และรองเท้า โดยปัจจุบันประเทศเวียดนามเป็น 1 ใน 10 ของประเทศผู้ ส่งออกอาหารทะเลแปรรูปรายใหญ่ของโลก มีตลาดคู่ค้าที่สาคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ แคนาดา และออสเตรเลีย สาหรับมูลค่าการนาเข้าอาหารทะเลแปรรูปของเวียดนามในปี 2557 มีมูลค่าประมาณ 4,809 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยตั้งแต่ปี 2553 – 2557 เวียดนามมีอัตราขยายตัวของการนาเข้าอาหารทะเลแปรรูปเพิ่ม มากขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้รัฐบาลเวียดนามมีนโยบายลดการ ขาดดุลการค้า โดยกระทรวงอุตสาหกรรมและการ พาณิชย์เวียดนามได้สนับสนุนการดาเนินงานตาม แผนยุทธศาสตร์ด้านการนาเข้าและส่งออกสินค้า ในช่วงปี 2554 – 2563 โดยส่งเสริมให้เกิดการแปร รู ป สิ น ค้ า เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ลดการส่ ง ออกวั ต ถุ ดิ บ สนับสนุนการสร้างมูลค่าจากกิจกรรมการส่งออก ส่ ว นการน าเข้ า สนั บ สนุ น ภาคการผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ สาหรับการผลิตสินค้าส่งออก และหาตลาดนาเข้า แห่ ง ใหม่ เ พื่ อ สร้ า งความหลากหลายของตลาด น าเข้ า ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารในเวียดนามเพิ่ มมาก ขึ้น ส าหรั บ ตลาดภายในประเทศ พบว่ า ความ ต้ อ งการสิ น ค้ า อาหารแปรรู ป ของเวี ย ดนามมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ด้วยจานวนประชากรเวียดนาม ประมาณ 90 ล้ า นคน ถื อ ว่ า เป็ น ตลาดที่ มี ข นาด ใหญ่
ประกอบกับปัจจุบันมีความต้องการสินค้าอาหาร แปรรูปเพิ่มสูงขึ้นตามพฤติกรรมและรสนิย มการ บริโภคของชาวเวียดนามที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมี วิถีชีวิตแบบเมืองมากขึ้นและเต็มไปด้วยความเร่ง รีบ ประชากรส่วนใหญ่อายุน้อยและให้ความสาคัญ กับความปลอดภัยของอาหาร จึงช่วยกระตุ้นให้มี การใช้วัตถุดิบอาหารแปรรูปในการประกอบอาหาร มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นโอกาสของผู้ประกอบการไทย ที่มีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพในการดาเนิน ธุรกิจประเภทนี้ ซึ่งเวียดนามขาดเทคโนโลยี ก าร แปรรู ป อาหารและการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ทันสมัย จึงเป็นโอกาสของนักลงทุนที่มีเทคโนโลยี และประสบการณ์สูงในการจัดระบบเวียดนามยัง ขาดการพัฒ นาและวิจั ยผลิ ตภัณ ฑ์ อ าหาร โดยมี ปัจจัยสนับสนุนคือ วัตถุดิบ อัตราค่าจ้างแรงงานที่ ค่อนข้างต่า และสิทธิพิเศษ GSP ที่เวียดนามได้รับ จากประเทศคู่ค้าสาคัญ เช่น สหรัฐอเมริกา และ สหภาพยุโรป
Page | 12
อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มของเวียดนามเติบโตอย่างก้าวกระโดดในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา จาก มูลค่าส่งออกเสื้อผ้าอันดับที่ 7 ของโลกด้วยมูลค่าการส่งออก 13 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2011 จนกระทั่งปี 2013 มูลค่าการส่งออกอยู่ที่ 18,298 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนมูลค่าการส่งออกสิ่งทอของเวียดนามอยู่ที่ 3,324 ล้านดอลลาร์สหรัฐ การเติบโตดังกล่าวเป็นผลมาจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้2 1) มีการจัดเขตการค้าเสรี (FTA) ของเวียดนาม กับประเทศต่างๆ มากมาย ปัจจุบันเวียดนามมี FTA ทั้งหมด 19 ฉบับ ทั้งในกรอบของทวิภาคี ระหว่างประเทศเวียดนามกับคู่ค้าโดยตรง กับ เขตการค้าเสรีในกรอบของอาเซียน 2) ความพร้อมของอุตสาหกรรมเสื้อผ้า - ปี 2555 เวียดนามมีบริษัทเสื้อผ้าจานวน มากกว่ า 6,000 บริ ษั ท กระจายอยู่ ทั่ ว ประเทศ โดยร้อยละ 70 อยู่ในเขตบริเวณ เมืองโฮจิมินท์ ได้แก่ เมืองดองไน่ (Dong Nai) เมืองลองอาน (Long An) และเมือง บินเยือง (Binh Doung) เฉพาะเมืองดอง ไน่ จ ะมี บ ริ ษั ท ต่ า งชาติ ที่ เ ข้ า มาลงทุ น ใน อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เช่น ไต้หวันและเกาหลี ใต้ ส่วนที่เหลืออยู่บน สามเหลี่ยมแม่น้าแดง (Red River Delta) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือบริเวณเมืองฮานอย - มี ก ารจ้ า งงานทั้ ง หมด 2.5 ล้ า นคน โดย จ า น ว น 1 ล้ า น ค น ตั้ ง อ ยู่ ใ น เ ข ต อุตสาหกรรม
2
3) การมีเขตอุตสาหกรรมจานวน 200 แห่ ง ซึ่ง เป็นจานวนที่มากที่สุดในประเทศอาเซียน ทา ให้เป็นทางเลือกและจูงในให้นักลงทุนต่างชาติ เข้ามาลงทุนในเวียดนาม 4) การมี VINATEX (Vietnam National Textile and Garment) ซึ่ ง เป็ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ เข้ า มา กากับดูแลและกาหนดนโยบายของการพัฒนา อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและสิ่งทอของเวียดนามก็ เป็นอีกหนึ่งปัจจัยทีผลักดันให้ธุรกิจเสื้อผ้าของ เวียดนามก้าวกระโดด
อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเวียดนามขึ้นแท่นเบอร์หนึ่งอาเซียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช (2557)
Page | 13
5) ค่ า จ้ า งที่ ถู ก ยั ง เป็ น ตั ว ผลั ก ให้ อุ ต สาหกรรม เสื้ อผ้ าเวีย ดนามมีศักยภาพในการแข่งขันใน ตลาดต่างประเทศมากขึ้นอีก ปัจจุบันค่าจ้าง ต่อเดือนอยู่ ที่ 120-150 ดอลลาร์ ส หรั ฐ หรือ ประมาณ 3,720 – 4,650 บาทต่อเดือน เมื่อ เที ย บกั บ อิ น โดนี เ ซี ย ถื อ ได้ ว่ า ยั ง ต่ ากว่ า มาก (อินโดนีเซียประมาณ 7,000 บาทต่อเดือน) 6) การได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี โดย เวี ย ดนามได้ รั บ สิ ท ธิ GSP จากสหภาพยุโ รป โดยอยู่ในกลุ่ม Standard GSP สาหรับตลาด ญี่ปุ่ น เวีย ดนามได้รับ สิทธิพิเศษทางภาษีจาก ญี่ปุ่นทั้งภายใต้สิทธิ GSP รวมไปถึงความตกลง ทางการค้ า ทั้ ง แบบทวิ ภ าคี คื อ ความตกลง หุ้ น ส่ ว นเศรษฐกิ จ เวี ย ดนาม-ญี่ ปุ น (JapanVietnam Economic Partnership Agreement) และความตกลงทางการค้าแบบ พหุ ภ าคี คื อ ความตกลงหุ้ น ส่ ว นเศรษฐกิ จ อาเซียน-ญี่ปุ่น (ASEAN-Japan
Comprehensive Economic Agreement: AJCEP)
Partnership
7) รั ฐ บาลเวี ย ดนามประกาศเป้ า หมายพั ฒ นา เวี ย ดนามให้ ก้ า วสู่ ป ระเทศอุ ต สาหกรรมที่ ทันสมัยภายในปี 2563 โดยมีเป้าหมายของ สาขาสิ่งทอคือ รายได้จากการส่งออกสาขาสิ่ง ทอเป็ น 18พั น ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ภายในปี 2558 และ 25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2563 ซึ่ ง เพิ่ ม มากขึ้ น เป็ น 2เท่ า และเกื อ บ 3 เท่าของรายได้จากการส่งออก ปี 2551 จากปั จ จั ย ต่ า งๆ ข้ า งต้ น จะเป็ น ส่ ว นช่ ว ย ส นั บ ส นุ น นั ก ล ง ทุ น ที่ ไ ท ย ที มี ศั ก ย ภ า พ ใ น อุ ต สาหกรรมนี้ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามต้ อ งพิ จ ารณา ข้อมูลอย่างครบถ้วนเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Page | 14
อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปรรูป
เวียดนามเป็นประเทศที่มีพื้นฐานการเกษตรกรรมใกล้เคียงกับประเทศไทย ประกอบกับสัดส่วนการเติบโต ทางเศรษฐกิ จ ในช่ ว ง 10 ปี ที่ ผ่ า นมา (2548 – 2557) มาจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมในประเทศหรื อ GDP เกษตรกรรม ร้อยละ 19.1 หรือมูลค่า 33.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2557 ด้วยปัจจัยพื้นฐานของเวียดนาม และศักยภาพ ในการแปรรูปสินค้าเกษตรของผู้ประกอบการไทย ซึ่งมีความสามารถในด้านการใช้เทคโนโลยีการผลิต ขั้ น สู ง แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ด้ า น ก า ร ต ล า ด ที่ มี ประสิทธิภาพ อุตสาหกรรมเกษตรและเกษตรแปร รู ป จึ งเป็ น อีกหนึ่ งอุตสาหกรรมที่มีโอกาสส าหรับ ผู้ ป ระกอบการหรื อ นั ก ลงทุ น ส าหรั บ การเข้ า ไป ลงทุนในเวียดนาม นอกจากนี้ยังมีปัจจัยสนับสนุน อื่นๆ อีกไม่ว่า จะเป็ น อั ต ราค่ า จ้ า งแรงงานที่ ค่ อ นข้ า งต่ า และ ได้รั บ สิ ทธิพิเ ศษทางภาษี ศุล กากรเป็ น การทั่ ว ไป ( Generalized System of Preferences: GSP) จากประเทศคู่ค้าสาคัญ เช่น สหรัฐฯ และสหภาพ ยุโรป การสนับสนุนของรัฐบาลในการเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตรของประเทศ ทาให้คุณภาพการผลิต
สิ น ค้ า เกษตรเพิ่ ม สู ง ขึ้ น จนทั ด เที ย มกั บ นานา ประเทศ ส่ ง ผลให้ ป ระเทศก้ า วขึ้ น เป็ น ผู้ ส่ ง ออก สิ น ค้ า เกษตรรายส าคั ญ ของโลก ขณะที่ ค วาม ต้องการสินค้าอาหารแปรรูปในเวียดนามเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากประชากรมีจานวนมากกว่า 90 ล้านคน และให้ความสาคัญกับความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) เป็นสาคัญ ประกอบกับการที่เวียดนามมีแนวโน้มพัฒนา เป็นศูนย์กลางการลงทุ น ในอุ ตสาหกรรมอาหาร แปรรูปในอนาคต หลังจากมีบริษัทต่างชาติขนาด ใหญ่หลายแห่งเริ่มเข้ามาลงทุนในเวียดนามมากขึ้น โดยเฉพาะบริษัทผลิตอาหารแปรรูปจากญี่ปุ่นและ เกาหลีใต้ ซึ่งเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าว และส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่ในเมืองฮานอย นคร โฮจิมินห์ และจังหวัดดานัง
Page | 15
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
เวี ย ดนามเป็ น ตลาดขนาดใหญ่ ที่ มี ศั ก ยภาพ ด้วยจานวนประชากรกว่า 90 ล้านคน ขณะที่ความ ต้ อ งการสิ น ค้ า อาหารแปรรู ป เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ตาม พฤติ ก รรมและรสนิ ย มการบริ โ ภคของชาว เวี ย ดนามที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ชาว
เวียดนามมีวิถีชีวิตแบบเมืองมากขึ้นและเต็มไปด้วย ความเร่งรีบ อีกทั้งประชากรส่วนใหญ่อายุน้อยและ มักให้ความสาคัญกับความปลอดภัยของอาหาร ซึ่ง มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มีการใช้วัตถุดิบอาหารแปรรูป ในการประกอบอาหารมากขึ้น
ประกอบกั บ เวี ย ดนามมี แ นวโน้ ม พั ฒ นาเป็น ศูนย์กลางการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ในอนาคต หลังจากบริษัทต่างชาติขนาดใหญ่หลาย แห่งโดยเฉพาะบริษัทผลิตอาหารแปรรูปจากญี่ปุ่น และเกาหลีใต้เช่น บริษัท Acecook บริษัท Lotte บริษัท Kyoei Food บริษัท Meiji บริษัท Nittofuji และ บริษัท Nissui เข้ามา ลงทุนในเวียดนาม โดย การลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าวส่วนใหญ่กระจุก
ตัวอยู่ในกรุงฮานอย เมืองหลวงของ เวียดนามนคร โฮจิ มิ น ห์ แ ละจั ง หวั ด ดานั ง 3 ด้ ว ยปั จ จั ย ต่ า งๆ ข้างต้น รวมกับโอกาสและสิ ทธิประโยชน์ในการ ลงทุนแล้ ว อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจึงเป็นอีก หนึ่งอุตสาหกรรมที่น่าสนใจสาหรับผู้ประกอบการ ไทย โดยเฉพาะในปัจจุบันได้มีบริษัทของไทยไป ลงทุนในอุตสาหกรรมประเภทนี้ในเวียดนามแล้ว ด้วย
3
สานักความร่วมมือการค้าและการลงทุน กระทรวง พาณิชย์ (2556)
Page | 16
ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง
ธุรกิจก่อสร้างที่มีโอกาสสาหรับผู้ประกอบการไทยในเวียดนาม อาทิ การรับเหมาก่อสร้างที่พักอาศัย ระบบ คมนาคม ก่อสร้างที่พักสาหรับการท่องเที่ยว และก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ทั้งนี้ความต้องการที่อยู่ อาศัยในเวียดนามเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงปี 2553 - 2563 เวียดนามมีแผนพัฒนาพื้นที่ในเขตเมืองให้ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยมากกว่า 364 ล้านตารางเมตร ซึ่งต้องใช้เงินทุนกว่า 36 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นปัจจัย ให้ธุรกิจก่อสร้างในเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ การ ลงทุนด้านการขนส่ง โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างและพัฒนาท่าเรือเพื่อเชื่อมโยงเครื อข่ายโลจิสติกส์ก็เป็นอีก หนึ่งช่องทางของผู้ประกอบการไทยสาหรับการเข้าไปลงทุน
Page | 17
5.4
ปัญหา อุปสรรค และข้อควรระวังในด้านการค้าการลงทุน
1) ข้อจ ากัดด้านสาธารณูป โภค โดยเฉพาะการ ขาดแคลนไฟฟ้ า และน้ าในฤดู แ ล้ ง ดั ง นั้ น จึ ง ค ว ร ล ง ทุ น ใ น Industrial Park เ พ ร า ะ สาธารณูปโภคจะดีกว่า 2) ระบบคมนาคมขนส่งในปั จจุบันยั งไม่ส ะดวก และมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ทาให้การส่งออก สินค้าจากไทยไปเวียดนามมีต้นทุนค่าขนส่งสูง 3) ค่ า แรงในเวี ย ดนามเริ่ ม สู ง ขึ้ น และในพื้ น ที่ นิคมฯ ค่าแรงงานจะสูงกว่าที่กฎหมายกาหนด ทาให้ ในอนาคตไทยอาจไม่ได้ ป ระโยชน์ จ าก การลงทุนในอุตสาหกรรมที่เน้นใช้แรงงาน 4) กฎหมายและกฎระเบียบด้านการค้าและการ ลงทุน มีการเปลี่ย นแปลงบ่ อยครั้ ง ก่อให้ เกิด ความสับสน ขณะเดียวกันทาให้ผู้ประกอบการ ต้องมีค่าใช้จ่ายในการติดตามการเปลี่ยนแปลง ของกฎระเบี ย บโดยการใช้ นั ก กฎหมายมื อ อาชีพ เนื่องจากการทาผิดกฎหมายเวียดนามมี บทลงโทษค่อนข้างรุนแรง
5) ปัญหาการละเมิดลิ ขสิ ทธิ์สิ นค้าไทยและการ ปลอมแปลงสิ น ค้ า ยั ง มี อ ยู่ เ ป็ น จ านวนมาก สิ น ค้ า ละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ส ามารถจ าหน่ า ยได้ ใ น ราคาต่ากว่าสินค้าไทยมาก ไทยจึงสูญเสียส่วน แบ่งตลาดสินค้าในเวียดนามมากขึ้นเป็น ลาดับ ในช่วงที่ผ่านมา และที่สาคัญกว่านั้น คือ สินค้า ไทยต้องเสียชื่อเสียงจากสินค้าปลอมแปลงของ เวี ย ดนามที่ ติ ด ป้ า ย Made in Thailand แต่ เป็ น สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพต่ า หรื อ เป็ น สิ น ค้ า หมดอายุแล้ว 6) ภั ย ธรรมชาติ โดยเฉพาะน้ าท่ ว ม และโรค ระบาด ซึ่งส่ งผลต่อการลงทุนในภาคเกษตร และประมง 7) ผู้ ป ระกอบการไทยต้ อ งพึ่ ง พาผู้ จั ด จ าหน่ า ย เวียดนาม จึงอาจโดนหุ้นส่วนท้องถิ่นโกงได้ 8) การทาธุรกิจยังต้องชาระค่าสินค้าเป็นเงินสด 9) ปัญหาลั กลอบค้าขายตามแนวชายแดนของ เวี ย ดนามกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น (สปป.ลาว กัมพูชา และจีน) ทาให้มีสินค้าคุณภาพต่าจาก ประเทศดังกล่ าวเข้ ามาแข่ง ขันและสามารถ แย่งตลาดได้
Page | 18
5.5
การเข้าไปทางานของแรงงานต่างชาติในเวียดนาม
แรงงานต่างชาติที่ทางานในเวียดนามเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไปต้องขอใบอนุญาตทางาน (Work Permit) ซึ่งออกโดยหน่วยงานท้องถิ่น (Department of Labour – Invalids and Social Affairs: DOLISA) สังกัดกระทรวงแรงงานผู้ทุพพลภาพ และกิจการสังคม (Ministry of Labour – Invalids and Social Affairs: MOLISA) ของเวียดนาม ใบอนุญาตทางานดังกล่าวจะมีอ ายุไม่เกิน 36 เดือน และสามารถต่ออายุได้อีกไม่เกิน 36 เดือน ยกเว้นแรงงานต่างชาติที่เข้ามาทางานบางประเภท ซึ่งรัฐบาลเวียดนามอนุญาตให้ไม่ต้องขอใบอนุญาต ทางาน อาทิ แรงงานต่างชาติที่เข้ามาแก้ไขปัญหา ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นกับกิจการ ซึ่งแรงงานในเวียดนาม ไม่ส ามารถแก้ไขได้ ชาวต่างชาติที่เป็ น กรรมการ ของบริษัทซึ่งจดทะเบียนก่อตั้งตามกฎหมายของ เวี ย ดนาม ชาวต่ า งชาติ ที่ ด ารงต าแหน่ ง หั ว หน้ า สานักงานตัวแทนหรือสาขาของบริษัทต่างชาติใน เวี ย ดนามและนั ก กฎหมายต่ า งชาติ ที่ ไ ด้ รั บ
ใบรับรองจากกระทรวงยุติธรรมของเวียดนามให้ ปฏิบัติหน้าที่ในเวียดนาม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการที่ว่าจ้างแรงงาน ต่างชาติซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาตทางาน จะต้ อ งแจ้ ง ชื่ อ อายุ สั ญ ชาติ หมายเลขหนั ง สื อ เดิ น ทางรวมทั้ ง วั น ที่ เ ริ่ ม ต้ น และวั น ที่ สิ้ น สุ ด การ ทางานของแรงงานต่างชาติ ต่อหน่วยงาน MOLISA ของเวียดนาม ก่อนที่แรงงานดังกล่าวจะเริ่มทางาน อย่างน้อย 7 วัน
การขอใบอนุญาตจ้างแรงงานต่างชาติ (Work Permit)4 บริ ษั ท ต้ อ งน าหลั ก ฐานต่ า งๆ อาทิ ห นั ง สื อ เดินทางและทะเบียนบ้าน ทั้งต้นฉบับและสาเนา พร้อมด้วยสัญญาจ้างงาน ระบุเหตุผลการว่าจ้าง ที่ อยู่ ข องบริ ษั ท เป็ น ภาษาเวี ย ดนาม แผนภู มิ โครงสร้ า งบุ ค ลากรของบริ ษั ท รายชื่ อ แรงงาน ต่ า งชาติ ทั้ ง หมดทะเบี ย นบริ ษั ท หนั ง สื อ ระบุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องบริ ษั ท รายชื่ อ คณะกรรมการ บริ ห ารบริ ษั ท หนั ง สื อ รั บ รองคุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา ประวัติการทางาน หนังสือรับรองสุขภาพออกโดย โรงพยาบาลที่ รั ฐ ก าหนด หนั ง สื อ รั บ รองประวัติ
4
อาชญากรรมโดยถ้ า มาจากประเทศไทยต้ อ งให้ สั น ติ บ าลพิ ม พ์ ล ายนิ้ ว มื อ และรั บ รองว่ า ไม่ เ คยมี ประวัติอาชญากรรม หลั ง จากนั้ น ให้ ก ระทรวงการต่ า งประเทศ ประทับตรา และสถานเอกอัครราชทูตเวียดนามใน ประเทศไทยรับรองความถูกต้องของเอกสารและ ส่ ง ต่ อ ไปยั ง กระทรวงต่ างประเทศของเวียดนาม เพื่อรับรองตราของสถานทูตหรือสถานกงสุลไทย ท้ า ยที่ สุ ด น าไปแปลเป็ น ภาษาเวี ย ดนามพร้ อ ม รับรองความถูกต้องที่ Notary Public
รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ โครงการเตรียมการรองรับการเคลือ่ นย้ายของแรงงานสู่การเป็นประชาคมอาเซียน กระทรวงแรงงาน
Page | 19
นายจ้างสามารถจ้างแรงงานต่างชาติที่เป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษและแรงงานเวียดนามไม่สามารถทางานนั้นได้ แรงงานต่างชาติต้ อ งได้ รั บ ใบอนุ ญาตทางานจากกรมแรงงานประจ าแต่ ล ะจั งหวั ดซึ่ งจะเรี ย กขอเอกสาร ประกอบการพิจารณาต่างๆ และใช้เวลาในการดาเนินการ รวมทั้งอาจมีเงื่อนไขเพิ่มเติม เช่น คุณสมบัติทางการ ศึกษาที่เหมาะสมกับตาแหน่งงานและประสบการณ์พิเศษเฉพาะด้าน เป็นต้น
คุณสมบัติของผู้เดินทางเข้าประเทศเวียดนามเพื่อทางาน -
ต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีและมีความสามารถในประเภทของงานที่รับสมัคร ชาวต่างชาติต้องมีใบอนุญาตทางาน (Work Permit) ซึ่งนายจ้างต้องเป็นผู้ดาเนินการขอให้ ไม่มีประวัติอาชญากรรรมหรือเคยถูกดาเนินคดีใดๆ ต้องมีคุณสมบัติหรือประสบการณ์ทักษะเฉพาะด้านในงานนั้นๆ ที่สูงกว่าชาวเวียดนาม อย่างไรก็ ตาม ต้องขึ้นอยู่กับคุณสมบัติที่นายจ้างต้องการเป็นหลัก สาหรับพ่อครัว แม่ครัวจะต้องได้รั บการ เปรียบเทียบวุฒิหรือไม่ขึ้นอยู่กับความต้องการของนายจ้างเป็นหลัก
เอกสารที่ต้องจัดเตรียม -
เอกสารที่จาเป็นสาหรับชาวต่างชาติที่ต้องการสมัครงานในเวียดนาม ยื่นเอกสารทั้งหมด 2 ชุด ให้แก่บริษัทที่ต้องการสมัครงาน ใบสมัครงาน บัตรประจาตัวประชาชนหรือหนังสือเดินทาง ประวัติย่อพร้อมรูปถ่าย ใบรับรองสุขภาพ สาเนาใบรับรองการศึกษา หรือประกาศนียบัตรทางวิชาชีพ สาหรับผู้ที่มีความสามารถแต่ไม่มีหลักฐาน ใช้รูปถ่าย 3 ใบ ขนาด 3 X 4 ซม. (ถ่ายหน้าตรงเห็นใบหู ไม่สวมแว่น ถ่ายไม่เกิน 1 ปี) เอกสารทั้งหมดจะต้องถูกรับรองโดยกระทรวงต่างประเทศและต้องจดทะเบียนและแปลเป็นภาษา เวียดนามภายใต้การรับรองโดยฝ่ายกฎหมายภาษาเวียดนาม แบบฟอร์มสมัครงาน ใบรับรองอนุญาตการทางานจากประเทศไทย ประวัติการทางาน (Resume) ใบรับรองสุขภาพ สาเนาเอกสารประกอบการทางาน รูปถ่าย 3 ใบ ขนาด 3 x 4 ซม.
Page | 20
5.6 ค่าใช้จ่ายสาหรับการดาเนินธุรกิจในเวียดนาม5 1) อัตราค่าเช่าที่ดิน (USD/ตารางเมตร/เดือน) ปี 2556 นครโฮจิมินห์
กรุงฮานอย
นครดานัง
0.10-0.28 40-50 34-36 95 2,700
0.17 62 17-25 25-50 100
0.04-0.12 12-15 15-23 10-25 1,000-1,800
4,000
2,000-2,006
1,800-2,000
4,000
3,400-4,000
1,806
ค่าเช่าที่ดิน (เขตอุตสาหกรรม) ค่าเช่าสานักงาน Grade A Grade B ค่าเช่าร้าน / โชว์รูม (ใจกลางเมือง) ค่าเช่าอพาร์ทเม้นท์ Grade A (USD/เดือน) ค่าเช่าบ้านพักวิลล่า Grade A (USD/เดือน)
ที่มา : The 23rd Survey of Investment Related Costs in Asia and Oceania, Overseas Research DepartmentJapan External Trade Organization (JETRO), May 2013 (ค่าเช่าที่ดินที่เขตอุตสาหกรรม/เดือน/ตารางเมตร (1) 0.20–0.28 USD/เดือน/ตารางเมตร Reference: AMATA Industry Park (2) 0.10–0.28 USD/เดือน/ตารางเมตร Reference: My Phuoc Industrial Park (3) 0.06–0.23 USD/เดือน/ตารางเมตร Reference: HEPZA)
2) ราคาค่าก่อสร้างโรงงาน - ราคาเฉลี่ยจากทั้งประเทศเวียดนามปี 2556 ประเภท โรงงานอุตสาหกรรม
ราคาค่าก่อสร้าง (USD/ตารางเมตร)
อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมหนัก โรงงานทั่วไป
225 - 370 375 - 480 370 - 480
หมายเหตุ: ราคาค่าก่อสร้างโรงงานบนพื้นที่ราบ ไม่รวม อุปกรณ์ บริการพิเศษ เครื่องปรับอากาศ และระบบจาหน่ายไฟฟ้า ที่มา : Global Construction Consultants, Langdon & Seah Vietnam (2013)
5
สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์
Page | 21
3) ค่าเฉลี่ยเงินเดือนและค่าจ้างแยกตามตาแหน่ง ตาแหน่ง
ประสบการณ์ (ปี)
เงินเดือนก่อนหักภาษี และก่อนหักเงินสมทบต่างๆ (สกุลเงิน: เวียดนามด่อง)
5 - 15 2 - 10 -
10,000,000 - 35,000,000 5,000,000 - 15,000,000 4,000,000 - 10,000,000
5 - 10 2-7 5-6 3-4 2-3 0–1 7 - 10
18,000,000 - 25,000,000 5,000,000 - 15,000,000 55,000,000 - 65,000,000 20,000,000 - 25,000,000 7,000,000 - 15,000,000 7,000,000 - 10,000,000 64,000,000 - 84,000,000
ผู้จัดการธุรการ พนักงานธุรการ พนักงานต้อนรับ / พนักงานรับ โทรศัพท์ เลขานุการอาวุโส เลขานุการ ผู้จัดการด้านการตลาด ผู้ช่วยผู้จัดการการตลาด ผู้จัดการด้านผลิตภัณฑ์ ผู้ช่วยผู้จัดการด้านผลิตภัณฑ์ ผู้จัดการโรงงาน
ที่มา: The Adecco Vietnam Salary Guide (2557)
4) อัตราภาษีในเวียดนาม ปี 2557 ประเภทภาษี ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax rates)
รายละเอียด
อัตราภาษี
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั่วไป ธุรกิจที่เกี่ยวกับการค้นหา สารวจและทาเหมืองแร่ ภาษีจากดอกเบี้ย ภาษีจากค่าตอบแทนการใช้สิทธิ (Royalty)
ร้อยละ 22 ร้อยละ 32-50 ร้อยละ 5 ร้อยละ 10
Page | 22
ประเภทภาษี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax: VAT) ภาษีสรรพสามิต (Excise Tax)
รายละเอียด
อัตราภาษี
เวีย ดนามมีการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แบบก้าวหน้า โดยบุคคลธรรมดาไม่ว่าจะเป็นชาว เวียดนามหรือชาวต่างชาติที่พานักอยู่ในเวียดนาม จะต้ อ งจ่ า ยภาษี โดยบุ ค คลที่ พ านั ก อยู่ อ ยู่ ใ น เวียดนามเป็นระยะเวลา 183 วัน หรือมากกว่า 12 เดือนติดต่อกันตามปีปฏิทิน นับจากวันแรกที่เข้า มาในประเทศ หรือมีถิ่นพานักในเวียดนามเป็นหลัก แหล่งและอาศัยอยู่ในเวียดนามรวม 90 วัน หรือ มากกว่าตามปีปฏิทินจะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา รายได้จากเงินลงทุน (เช่น เงินปันผลและดอกเบี้ย) รายได้จากค่าลิขสิทธ์ การขายแฟรนไชส์ รายได้จากการแข่งขันและของรางวัล รายได้จากการได้รับมรดกและของขวัญ สินค้าและบริการ สินค้าที่มีการส่งเสริมการค้าและบริการ เช่น น้า สะอาด ปุ๋ย อาหารสด และน้าตาล เป็นต้น ยาสูบ / บุหรี่ สุรา / ไวน์ เบียร์ รถยนต์ที่มีจานวนไม่เกิน 24 ที่นั่ง รถจักรยานยนต์ที่มีความจุของกระบอกสูบเกิน 125 ลูกบาศก์เซนติเมตร เครื่องบิน เรือ น้ามัน เครื่องปรับอากาศ (ที่มีขนาดไม่เกิน 90,000 BTU) ไพ่ กระดาษสาหรับพิธีกงเต็ก (Votive Papers) ดิสโกเทค
ร้อยละ 5 - 35 Page | 23
ร้อยละ 5 ร้อยละ 5 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10 ร้อยละ 5 ร้อยละ 65 ร้อยละ 25 - 45 ร้อยละ 45 ร้อยละ 10 - 60 ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 ร้อยละ 30 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10 ร้อยละ 40 ร้อยละ 70 ร้อยละ 40
ประเภทภาษี
รายละเอียด
นวดสปา/คาราโอเกะ คาซิโน, แหล่งการพนัน สถานบันเทิงเริงรมย์ สนามกอล์ฟ ลอตเตอรี่ ภาษีศุลกากร (Customs Duty) การส่งออกของเวียดนามได้รับการส่งเสริม ดังนั้น สินค้าและบริการที่ส่งออกส่วนใหญ่จะได้รับการ ยกเว้นภาษี ภาษีส่งออกจะเก็บกับสินค้าบาง ประเภทเท่านั้น การส่งออกแร่ธาตุ ผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ และเศษ เหล็ก การส่งออกทองคา อากรแสตมป์ มีการเก็บอากรแสตมป์จากการซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์ขึ้นอยู่กับประเภทของ อสังหาริมทรัพย์ บ้านและที่ดิน ยานพาหนะ รถจักรยานยนต์ ภาษีอสังหาริมทรัพย์ มีการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์ โดยจะคิดอัตรา (Property Tax) ภาษีแบบอัตราก้าวหน้า ขึ้นอยู่กับการจัดสรรที่ดิน ภาษีสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เวียดนามมีการ (Environment Protection กาหนดใช้กฎหมายว่าด้วยภาษีสิ่งแวดล้อม Tax) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (น้ามัน ลิตร/กิโลกรัม) ถ่านหิน (ตัน) สาร HCFC (กิโลกรัม) ผลิตภัณฑ์ไนล่อน (กิโลกรัม) ผลิตภัณฑ์สาหรับการใช้งานเกี่ยวกับสารเคมี (กิโลกรัม)
อัตราภาษี ร้อยละ 30 ร้อยละ 30 ร้อยละ 30 ร้อยละ 20 ร้อยละ 15
ร้อยละ 0-45 ร้อยละ 10
0.5 2-20 1-5 0.03 – 0.15
300 – 4,000 ด่อง 10,000 – 50,000 1,000 – 5,000 30,000 – 50,000 500 – 3,000
Page | 24
หมายเหตุ : อนุสัญญาระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับเวียดนาม เพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนและการป้องกันการ เลี่ยงการรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับภาษีเก็บจากเงินได้ เวียดนามได้ทาอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศต่างๆ กว่า 60 ประเทศ โดยเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียน 8 ประเทศ ได้แก่ บรูไน ฟิลิปปินส์อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมาร์ สิงคโปร์ และไทย ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
Page | 25