1_1

Page 1

ฉบับที่ 1

คูมือการระบุความหมาย และคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา โดย

ยงยุทธ ไตรสุรัตน John Howes

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-1


1-2

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


คูมือการระบุความหมาย และคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชมุ น้ํา

พื้นที่ชุมน้ําใหประโยชนทางดานผลผลิต บทบาททางนิเวศ และ คุณลักษณะพิเศษ การจัดการพื้นที่ ชุมน้ําอย างชาญฉลาดเพื่ ออํานวย ประโยชนอยางยั่งยืนนั้น หนวยงานหรือเจาหนาที่ที่รับผิดชอบและผูมี สวนได -สวนเสีย ต องมีค วามเขาใจคุ ณลักษณะทางนิเวศที่สําคัญ ของ พื้นที่ชุมน้ํา ซึ่งประกอบดวยดานกายภาพ ชีวภาพ และเคมีเปนอยางดี เสียกอน รวมทั้งควรศึกษาปจจัยทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และนโยบายตางๆ ที่จะมีผลตอความยั่งยืนของการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํา ด ว ย เพื่ อ จะได ว างแผนการจั ด การพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถระบุไดวาพื้นที่ใดมีความเปราะบางควรอนุรักษ พื้นที่ใดใหใชประโยชนได และพื้นที่ใดควรตองมี การปรับปรุง ฟนฟู

คุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา หมายถึง องคประกอบดานชีววิทยา ดานกายภาพ ดานฟสิกส-เคมี ของระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา และการปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันขององคประกอบทั้งสาม ซึ่งมีความสําคัญในการรักษาผลผลิต ความ บริ บู ร ณ และบทบาทหน า ที่ ข องพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า ให ดํ า เนิ น ไปอย า งประสิ ท ธิ ภ าพดั ง เดิ ม รวมทั้ ง การใช ประโยชนอยางยั่งยืนดวย

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-3


ภาพ 1 การปฏิสัมพันธขององคประกอบคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

คุณลักษณะทางนิเวศมีอยู 4 ประเภท คือ • ลักษณะทางชีววิทยา แบงออกเปน 3 ประเภทยอย o พืช ประกอบดวย ชนิดพืชหลัก ชนิดเดน พืชหรือวัชพืชตางถิ่น แหลงที่อยูอาศัยของ พืชที่สําคัญตอการอนุรักษ ชนิดของปา o สัตว ประกอบดวย สัตวชนิดเดนในพื้นที่ ชนิดสัตวที่สําคัญตอการอนุรักษ จํานวน ประชากร ชนิดตางถิ่นและเปนภัยคุกคาม o ถิ่นที่อยูอ าศัยของสัตว รวมทั้งพื้นที่ที่มีความสําคัญ • ลักษณะทางกายภาพ ประกอบดวยที่ตั้งทางภูมิศาสตร ความสูง-ต่ําจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ลักษณะพื้นที่ สัณฐานของทองน้ํา ชนิดดิน ตะกอน ระดับการขึ้นลงของน้ําผิวดินและน้ําใตดิน • ลักษณะทางฟสิกส-เคมี ของน้ําผิวดินและน้ําใตดิน ประกอบดวยอุณภูมิของน้ํา ความเปน กรด-ดาง ความเค็ม ความโปรงแสง และปริมาณธาตุอาหาร • การใช ป ระโยชน โ ดยมนุ ษ ย ประกอบด ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละคุ ณ ค า ของพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า การใช ประโยชนที่ดินและน้ํา ประเด็นปญหาการจัดการ ภัยคุกคาม แผนการจัดการและติดตาม ประเมินผล เปนตน

1-4

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


ตาราง 1 ตัวอยางการจําแนกคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําในแตละองคประกอบ ชื่อขอมูล ลักษณะดานกายภาพ • ลักษณะภูมิประเทศของ พื้นที่ชุมน้ํา • ชวงระดับความสูง

• ขอบเขตพื้นที่

คุณลักษณะดานเคมี น้ําผิวดิน • อุณหภูมิ

คําอธิบาย

แหลงขอมูล

เชน ลุมน้ํา รองน้ํา ที่ราบ ที่ชัน เนิน/ที่ราบ ระดับความสูงจากน้ํา ทะเลปานกลาง

แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1: 50,000 แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1: 50,000 การจําลอง digital elevation model (DEM) แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1: 50,000 หรือฐานขอมูล GIS พื้นที่ลุมน้ํา

ขนาดพื้นที่ของพื้นที่ ชุมน้ํา

วิธีการ

จุดสูงสุด-จุดต่ําสุด

ลากขอบเขตบนแผนที่ ภูมิประเทศ ใช dot grid วางทาบนับจํานวนจุด และคํานวณพื้นที่

อุณหภูมิเฉลี่ย ชวงระดับ การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิ ประเภทของ อุณหภูมิ และรหัสจุด สํารวจ ชวงของความเค็ม ประเภทของน้ํา (จืด กรอย เค็ม) และรหัส จุดสํารวจ

ขอมูลจากกรมควบคุม มลพิษ กรมประมง กรมอนามัย ขอมูลการ ศึกษาวิจัย

เทอรโมมิเตอรจุมน้ํา ประมาณ 20 วินาที

ขอมูลจากกรมควบคุม มลพิษ กรมประมง กรมอนามัย ขอมูลการ ศึกษาวิจัย

• ระดับความเปนกรดดาง ชวงของ pH รายป ประเภทของความเปน (pH) กรด-ดาง และรหัสจุด สํารวจ น้ําใตดิน อุณหภูมิเฉลี่ย ชวงระดับ • อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิ ประเภทของ อุณหภูมิ และรหัสจุด สํารวจ

ขอมูลจากกรมควบคุม มลพิษ กรมประมง กรมอนามัย ขอมูลการ ศึกษาวิจัย

เก็บขอมูลน้ําที่ระดับ ความลึก 20 ซม. จาก ผิวน้ํา แลวนําไปวิเคราะห ในหองปฏิบัติการ หรือ เครื่องมือวัดในภาคสนาม เทอรโมมิเตอรจุมน้ํา ประมาณ 20 วินาที

• ระดับความเค็ม

ขอมูลจากกรมควบคุม มลพิษ กรมประมง กรมอนามัย ขอมูลการ ศึกษาวิจัย

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

เทอรโมมิเตอรจุมน้ํา ประมาณ 20 วินาที

1-5


ตาราง 1 (ตอ) ชื่อขอมูล • ระดับความเค็ม

แหลงขอมูล ขอมูลจากกรมควบคุม มลพิษ กรมประมง กรมอนามัย ขอมูลการ ศึกษาวิจัย

• ระดับความเปนกรดดาง ชวงของ pH รายป ประเภทของความเปน (pH) กรด-ดาง และรหัสจุด สํารวจ พืชพรรณ • ชนิดเดนในแตละสังคม ชื่อชนิดพืชเดนที่พบใน แตละจุด พืช

ขอมูลจากกรมควบคุม มลพิษ กรมประมง กรมอนามัย ขอมูลการ ศึกษาวิจัย

• ชนิดพืชตางถิ่น

ขนาดพื้นที่ และชื่อ ชนิดพืชตางถิ่นที่พบใน แตละจุด สถานภาพการอนุรักษ ชนิดพืช ตามทะเบียน รายการของ IUCN Red List และของ สผ.

ขอมูลการศึกษาวิจัย ภาพถายทางอากาศ สผ. ขอมูลการศึกษาวิจัย สผ. ขอมูลจากสวน ราชการ

ชื่อชนิดสัตว และระดับ ความชุกชุม

ขอมูลการศึกษาวิจัย สผ. ขอมูลจากสวน ราชการ

สถานภาพการอนุรักษ ชนิดสัตว ตามทะเบียน รายการของ IUCN Red List และของ สผ.

ขอมูลการศึกษาวิจัย สผ. ขอมูลจากสวน ราชการ

• สถานภาพการอนุรักษ

สัตว • ชนิดสัตวเดน

• สถานภาพการอนุรักษ

• จํานวนประชากร

1-6

คําอธิบาย ชวงของความเค็ม ประเภทของน้ํา (จืด กรอย เค็ม) และรหัส จุดสํารวจ

ขอมูลการศึกษาวิจัย

ขอมูลจากรายงาน

วิธีการ เก็บขอมูลน้ําที่ระดับ ความลึก 20 ซม. จาก ผิวน้ํา แลวนําไปวิเคราะห ในหองปฏิบัติการ หรือ เครื่องมือวัดในภาคสนาม เทอรโมมิเตอรจุมน้ํา ประมาณ 20 วินาที

การสํารวจสังคมพืชใน ภาคสนาม วิเคราะห ดัชนีความสําคัญของ พันธุไม และดัชนีความ มากมาย เปนตน การสํารวจภาคสนาม เปรียบเทียบกับรายงาน นําขอมูลที่ได เปรียบเทียบกับทะเบียน รายการที่ไดจัดทําไวโดย สผ. การสํารวจภาคสนาม เชน การวางแนวสํารวจ จุดสํารวจ เปนตน ทุกฤดูกาล นําขอมูลที่ได เปรียบเทียบกับทะเบียน รายการที่ไดจัดทําไวโดย สผ. การนับโดยตรง การ ประเมินเทียบกับขนาด พื้นที่ ฯลฯ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


ตาราง 1 (ตอ) ชื่อขอมูล • ชนิดสัตวตางถิ่น

ถิ่นที่อยูอาศัย • ประเภทถิ่นที่อยูอาศัย

คําอธิบาย ขนาดพื้นที่ และชื่อชนิด สัตวตางถิ่นที่พบ

แหลงขอมูล ขอมูลการศึกษาวิจัย

ประเภทถิ่นที่อยูอาศัย ตามการจําแนกของ แรมซาร

• ความสําคัญของถิ่น ที่อยูอาศัยตอพื้นที่ ชุมน้ํา ลักษณะการใชประโยชนโดยมนุษย ผลิตภัณฑ และ บทบาทของพื้นที่ชุมน้ํา การใชประโยชนที่ดิน และน้ํา ชนิด ปริมาณที่เก็บ • พื้นที่จับปลา ชนิด ปริมาณที่เก็บ • พื้นที่เก็บหาของปา ชนิดสัตว ชวงเวลา • พื้นที่เลี้ยงสัตว ชื่อสถานที่ ประเภท • พื้นที่นันทนาการ กิจกรรม ปญหาการจัดการและ ไมใชขอมูลเชิงพื้นที่ ภัยคุกคาม ไมใชขอมูลเชิงพื้นที่ แผนงานติดตาม ประเมินผลและการจัดการ ขอบเขตการปกครอง (administration boundary) ชื่อจังหวัด • จังหวัด ชื่ออําเภอ • อําเภอ ชื่อตําบล จํานวน • ตําบล ประชากร จํานวนผูหญิงชาย ชื่อหมูบาน จํานวน • หมูบาน ประชากร จํานวนผูหญิงชาย รายไดตอครัวเรือน

ขอมูลการประกาศพื้นที่ แรมซาร (ถามี)

ขอมูลจากสวนราชการ ขอมูลจากสวนราชการ แผนที่การใชประโยชน ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน สศก. และกรมอุทยานฯ

วิธีการ การสํารวจ ภาคสนาม และเปรียบเทียบกับ บัญชีรายการที่ไดจัดทํา ไวโดย สผ. ขอมูลจากสังคมพืชเดน เปรียบเทียบกับประเภท พื้นที่ชุมน้ําของแรมซาร (http://www.ramsar.org /key_ris_types.htm) ขอมูลจากสังคมพืชดีเดน เปรียบเทียบกับตาราง 3 หรือภาคผนวก 2 การประเมินชุมชนอยาง มีสวนรวม (PRA) การประเมินชุมชนอยาง มีสวนรวม (PRA) การแปลภาพถายทาง อากาศและภาพถาย ดาวเทียม

ขอมูลจากสวนราชการ หรือองคกรที่มีกิจกรรม แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ภูมิประเทศ กรมการปกครอง สํานักงานสถิติแหงชาติ อบต. กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน อบต.

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

การสํารวจโดย PRA และ GPS

1-7


ความสําคัญของคุณลักษณะทางนิเวศตอการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา การสํารวจและศึกษาคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํามีความสําคัญเปนลําดับแรกตอการ จัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ตามหลักการใชประโยชนอยางยั่งยืนและใชประโยชนอยางชาญฉลาด เพราะจะทําใหผูที่รับผิดชอบในการจัดการพื้นที่ชุมน้ําและผูมีสวนได-สวนเสีย ทราบและมีความเขาใจใน ประเด็นตางๆ ดังนี้ • สามารถระบุหนาที่และคุณคาของพื้นที่ชุมน้ํา • จัดทําฐานขอมูลเพื่อใชในการติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงในอนาคต • กําหนดขอบเขตพื้นที่ชุมน้ํา คุณลักษณะทางนิเวศที่สําคัญ และลําดับความสําคัญของพื้นที่ ในการอนุรักษ • เปนเครื่องมือในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ทั้งในระดับปฏิบัติการและในระดับการ ตัดสินใจ • ใชในการเปรียบเทียบสถานภาพพื้นที่ชุมน้ํา และการจัดการทั้งในระดับพื้นที่ ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

ภาพ 2 ความเชือ่ มโยงระหวางคุณลักษณะทางนิเวศและการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําอยางยั่งยืน

1-8

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


คุณคาของพื้นที่ชุมน้ํา แบงออกไดเปน 3 ดานกวางๆ คือ • การใหผลผลิตตามธรรมชาติแกสังคม ทั้งใชประโยชนโดยตรงเพื่อบริโภค และใชเปนปจจัย การผลิตเพื่อสรางผลผลิตในรูปสินคาสูตลาด เชน ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรสัตวปา ทรัพยากรประมง ทรัพยากรพืชอาหารสัตว ทรัพยากรเกษตร ทรัพยากรน้ํา และพลังงาน เปนตน • การทําหนาที่ทางระบบนิเวศ เปนประโยชนโดยทางออมที่ชุมชนหรือสังคมไดรับ เชน การ ปองกันน้ําทวม การรักษาสมดุลของชายฝงและการปองกันการชะลางพังทลายของดิน การ ปอ งกั น พายุ แ ละการลดความรุ น แรงของลม การคมนาคมทางน้ํ า นั น ทนาการและการ ทองเที่ยว เปนตน • การมีคุณสมบัติพิเศษ ไดแก ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเปนมรดกทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม ซึ่งทั้งสองอยางเปนคุณคาที่มีอยูในตัวพื้นที่ชุมน้ําเอง แตจําเปนตองไดรับ การคุมครอง หรือสงวนไวใหมีความอุดมสมบูรณ พื้นที่ชุมน้ําแตละประเภทและแตละแหง จะใหคุณคาแตกตางกัน ขึ้นอยูกับความสัมพันธระหวาง คุณลักษณะทางนิเวศ ระดับความคงอยู และความบริบูรณขององคประกอบทางนิเวศ ทางดานกายภาพ เคมี และชีวภาพของพื้นที่ชุมน้ํา ยกตัวอยางพื้นที่ชุมน้ําประเภททะเลสาบจะมีคุณคามากในการเปนแหลงน้ํา เพื่อการใชสอย ชลประทาน แหลงที่อยูอาศัยของสัตวน้ํา การประมง บรรเทาความรุนแรงของน้ําทวม และกักเก็บตะกอนและธาตุอาหาร เปนตน ในขณะที่พื้นที่ชุมน้ําที่เปนปาชายเลนจะมีคุณคาดานทรัพยากร ปาไม แหลงอนุบาลสัตว รักษาสมดุลของชายฝง ปองกันการพายุและความรุนแรงของคลื่น และความ หลากหลายทางชีวภาพ เปนตน มูลคาของทรัพยากรพื้นที่ชุมน้ําในทางเศรษฐศาสตร แบงออกเปน 3 ประเภท คือ • มูลคาที่ไดรับประโยชนจากการใชโดยตรงของผลผลิตของพื้นที่ชุมน้ํา คือการไดรับประโยชน ที่เกิดจากบทบาทหนาที่ทางระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา เชน การกํากับควบคุมภัยทางธรรมชาติ หรือการเปนแหลงที่อยูอาศัยของปลาและนกน้ํา • มูลคาจากการใชประโยชนทางออม และ • มูลคาจากการไมไดใช เชน ความหลากหลายทางชีวภาพ เปนตน

ขั้นตอนการศึกษาคุณลักษณะทางนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา แบงเปน 6 ขั้นตอนกวางๆ คือ • การจําแนกประเภทพื้นที่ชุมน้ําและขอบเขตพื้นที่ชุมน้ํา • การคัดเลือกผูม ีสวนได-สวนเสีย ที่ใชประโยชนพนื้ ที่ชุมน้ํา • การจําแนกการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําและสถานภาพของทรัพยากร • การวิเคราะหระบบและรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา • การประเมินความคงอยูและความบริบูรณของคุณลักษณะทางนิเวศ สถานภาพในปจจุบัน และสถานภาพในอนาคตที่ตองการ และ • การวิเคราะหภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศพื้นทีช่ ุมน้ํา

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-9


การจําแนกประเภทพื้นที่ชุมน้ําและขอบเขตพื้นที่ชุมน้ํา พื้นที่ชุมน้ําในทวีปเอเชียแบงออกเปน 8 ประเภทหลัก คือ พื้นที่ปากแมน้ํา/น้ํากรอย, ปาชายเลน, พื้นที่ชายฝงและทะเล, พื้นที่ราบน้ําทวมถึง, พื้นที่ลุมชื้นแฉะน้ําจืด, ทะเลสาบ อางเก็บน้ํา, พื้นที่พรุ และ ปาที่ลุมน้ําขัง หรือ 13 ประเภทตามลักษณะภูมิประเทศและการทวมขังของน้ํา (ภาคผนวก I) ขอบเขตของพื้นที่ชุมน้ําที่จะศึกษาคุณลักษณะทางนิเวศ กําหนดจากแผนที่ภูมิประเทศ และ สอบถามจากผูมีสวนได-สวนเสีย ไมใชการครอบคลุมเฉพาะพื้นที่ที่ประกาศเปนแรมซารไซต (Ramsar Site) หรือขอบเขตตามกฎหมายเทานั้น แตควรครอบคลุมขอบเขตทางนิเวศทั้งฤดูฝนและฤดูแลง เชน ขอบเขตลุ ม น้ํ า ที่ น้ํ า ไหลลงสู พื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า การกระจายของปลาและนกน้ํ า พื้ น ที่ ที่ มี ก ารใช ป ระโยชน ทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําโดยสอดคลองกับการบริหารงาน และเหมาะสมในทางปฏิบัติ เชน พื้นที่ชุมน้ํา หนองบงคาย มีขอบเขตครอบคลุมระบบนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา และพื้นที่ของ 2 ตําบลที่คาบเกี่ยวและมี ประชาชนเขามาใชประโยชน (ภาพ 3) ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • ประเภทและขอบเขตพื้นที่ชม ุ น้ํา • ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ชุมน้ําเบื้องตน

พื้นที่ชุมน้ําหนองบงคายมีขนาดพื้นที่ประมาณ 4 กม2 มีขนาดพื้นที่รับน้ําประมาณ 16 กม2 คาบเกี่ยวตําบลปาสักและตําบลโยนก อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จึงกําหนดใหพื้นที่วางแผนครอบคลุมทั้ง 2 ตําบล

ภาพ 3 การวางแผนขอบเขตพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย

1-10

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


การคัดเลือกผูมีสวนได-สวนเสีย ที่ใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํา ผูมีสวนได-สวนเสียในการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา หมายถึง บุคคล กลุมบุคคล ชุมชน หรือองคกร ที่มี สวนเกี่ยวของโดยตรงกับการจัดการระบบนิเวศหรือเปนผูรับผิดชอบโดยตรง เชน ผูจัดการพื้นที่ชุมน้ํา (หัวหนาเขตหามลาสัตวปา) ผูที่พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติในการดํารงชีพ (ผูใชน้ํา เกษตรกร ชาวประมง เปนตน) ผูที่สนับสนุนการทํางาน (องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด ชลประทาน กลุมอนุรักษนก เปนตน) รวมทั้งประชาชนที่อาศัยอยูใกลเคียงกับทรัพยากร แตไมไดดํารงชีวิตอยูกับ ทรัพยากรนั้นๆ หรืออาจจะเปนองคกรที่สนับสนุนการทํางานของหนวยงานระดับชาติหรือระดับนานาชาติ เชน IUCN, DANIDA, WWF ในขั้นตอนนี้จะใหความสําคัญกับผูมีสวนได-สวนเสียที่มีความสัมพันธโดยตรงกับพื้นที่ชุมน้ํา ผลที่คาดวาจะไดรับ คือ • กลุมผูใชประโยชนจากทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําทางตรงและทางออม • หนวยงานทีร่ ับผิดชอบโดยตรง และสนับสนุนการจัดการพืน้ ที่ชุมน้ํา

การจําแนกการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําและสถานภาพของทรัพยากร พื้นที่ชุมน้ําแตละประเภทและแตละแหงมีบทบาทหนาที่ คุณสมบัติพิเศษ และผลผลิตแตกตาง กัน ดังนั้น ในขั้นตอนนี้จะจัดประชุมประเมินชุมชนอยางมีสวนรวม เพื่อรวบรวมขอมูลทรัพยากรในพื้นที่ ชุมน้ํา บทบาทหนาที่ ความคิด/ความเชื่อของบุคคล กลุม/องคกร ที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ํา การใช ประโยชนทรัพยากร (ประเภทและชวงเวลา) และพื้นที่ใชประโยชน (ภาพ 4) ประเด็นปญหาการจัดการ และปญหาที่เกิดขึ้นจากการใชประโยชนทรัพยากร (ตาราง 2) รวมทั้งการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร ของการใชทรัพยากร ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • ชนิดและปริมาณของทรัพยากรในพืน้ ที่ชุมน้ําที่นํามาใชประโยชน ผูใชประโยชน และพืน้ ที่ที่ ใชประโยชน • มูลคาทางเศรษฐศาสตรที่เกิดจากการใชและไมใชประโยชนทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ํา • สภาพปญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใชประโยชนและการจัดการพื้นที่ชุมน้ําเบื้องตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-11


เก็บพืชน้า ํ เก็บของปา

200 ครัวเรือน

จับปลา

150

เลีย ้ งหมู ไก

100

เลีย ้ งปลา เลีย ้ งสัตว

50

สวนผลไม โค ง ง าม ดอ ยง าม สน ัต น เ ปา

ปา งห มอ หล วง ปา ส กั น อ ดอ  ย ยศ รแี กว  ปา แ สด หน อง บว ัส ด ดอ ยจ าํ ป  ดอ ยค าํ รอ งบ ง

กเ ู ต า

พืชไร

0

ชลประทาน

ชือห ่ มูบ  าน

ราษฎรจํานวน 12 หมูบาน จากทั้งหมด 21 หมูบานของตําบลปาสักและตําบลโยนก รวมประมาณ 500 ครัวเรือน เขามาใช ประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา ในการเพาะปลูก การจับปลา และการใชน้ําเพื่อการเกษตร การอุปโภคและบริโภค ฯลฯ กอใหเกิดรายได ทางตรงประมาณ 15 ลานบาทตอป

ภาพ 4 กรณีศึกษาการใชประโยชนทรัพยากรพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย

ตาราง 2 ตัวอยางประเด็นปญหาการใชทรัพยากรและการจัดการพื้นที่ชุมน้ําที่สําคัญของหนองบงคาย จากการประเมินชุมชนอยางมีสวนรวม พื้นที่หนองน้ํา 1/ • ความขัดแยงในการรักษาระดับน้ําในหนอง โดย ชาวบานตําบลปาสักตองการกักเก็บน้ําเพื่อจับปลา สวนตําบลโยนกตองการน้ําเพื่อทํานา • คุณภาพน้ําเสื่อมโทรมจากการใชสารเคมี ในสวน สม และน้ําเสียจากรีสอรต พืชลอยน้ํา (ปง) เนาเสีย • การบุกรุกหนองน้ําของนายทุนรอบหนองน้ํา โดย การทําเขื่อนกั้น “จอ” และถมที่ • ความตองการใชน้ําในอนาคต จากการขยายตัวของ เมืองเชียงแสน และการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม • ปริมาณน้ําในอางไมเพียงพอกับความตองการ เพื่อ การบริโภค อุปโภค และการทํานา (ตําบลโยนก) และสวนสมและพืชไร

พื้นที่เนินเขา (เขตลุมน้ํา)2/ และพื้นที่รอบหนองน้ํา3/ • การซื้อขายที่ดินโดยนายทุนและผูมีอิทธิพล ระดับชาติ รอบหนองน้ํา และความกังวลในการเปลี่ยนมือเปน ของตางชาติ • การสรางบาน ฟารมเลี้ยงสัตว ในหรือติดหนองน้ํา • ไมมีการควบคุมการสรางรีสอรตรอบหนองน้ํา รวมทั้งการจัดการขยะและน้ําเสีย • เกษตรกรทําสวนสม สวนขาวโพด ใชปุยเคมี และ เปดหนาดินมากขึ้น ทําใหเกิดการกัดชะหนาดิน และตะกอนดินไหลลงหนองน้ํา • การจัดการพื้นที่ชุมน้ําไมมีประสิทธิภาพ ไมมีการ รังวัดหมายแนวเขตหามลาฯ บุคคลทั่วไปเขาใจวา ขอบหนองน้ําคือแนวเขต แตระดับน้ําเปนแปลง ประมาณ 1-2 เมตร จึงเปนชองวางในการบุกรุก พื้นที่

• ปลาชะโดซึ่งเปนปลากินสัตวเปนอาหาร รบกวนนก น้ํา และกินปลาพันธุพื้นเมืองในหนอง จนปริมาณ ลดลง รวมทั้งการช็อตปลาดวยไฟฟา หมายเหตุ: 1/: พื้นที่หนองน้ํา (4 กม2); 2/ พื้นที่เนินเขา ครอบคลุมขอบเขตลุมน้ํารอบหนอง (16 กม2); 3/ พื้นที่ที่เหลือของ 2 ตําบล (100-16 = 84 กม2)

1-12

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


การวิเคราะหระบบและรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา ผลจากการประเมินชุมชนอยางมีสวนรวม จะทําใหหนวยงานรับผิดชอบและผูมีสวนได-สวนเสีย ซึ่งทําหนาที่เปนทีมวางแผนพื้นที่ชุมน้ํา มีความเขาใจเกี่ยวกับระบบพื้นที่ชุมน้ําที่ตองการวางแผนมากขึ้น กอนจะลงมติคัดเลือกคุณลักษณะทางนิเวศที่มีความสําคัญ (ตาราง 1) ที่สามารถบงชี้ความสําคัญของ พื้นที่ชุมน้ําในการเปนแรมซารไซต (กรณีไดรับการประกาศ) (ตาราง 3) และ/หรือผลผลิต รวมทั้งบทบาท หนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําที่ใหประโยชนตอประชาชนและสังคม ตลอดจนประเด็นปญหาสําคัญที่ตองแกไข ซึ่งเปรียบเสมือนการกําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา และติดตาม ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงตอไป ตาราง 3 ความสําคัญทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําในการเปนแรมซารไซต กรณีศึกษาหนองบงคาย เกณฑแรมซารไซต • เปนตัวแทนที่ดีของระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา หายาก และมีความเปนเอกลักษณ และยังมี สภาพเปนธรรมชาติ ในเขตชีวภูมิศาสตร • เปนแหลงที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต ที่ใกลสูญ พันธุ หรือเสี่ยงตอการสูญพันธุ หรือเปน ระบบนิเวศที่ ถูกรบกวน

• •

• •

การประเมินเชิงปริมาณ: ใชหรือไมใช ไมใช: พื้นที่ทะเลสาบเชียงแสนมีขนาดเล็ก เกิดจากการ สรางของมนุษย และพบทั่วไปในภาคเหนือของประเทศไทย

ใช: ทะเลสาบเชียงแสน เปนที่อยูอาศัยของนกน้ําอพยพใน ฤดูหนาวที่อยูในสถานภาพถูกคุกคามในระดับโลก 2 ชนิด และใกลถูกคุกคาม 3 ชนิด ในระดับชาติ มีนกน้ําที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุจํานวน 5 ชนิด ถูกคุกคาม 9 ชนิด ซึ่งปลาที่ถูกคุกคาม 3 ชนิด และ ปลา 1 ชนิด เปนปลาชนิดประจําถิ่น พบเฉพาะในแมน้ําโขง เทานั้น เปนพื้นที่รองรับประชากรพืชและสัตว ชนิดที่ ไมใช: จํานวนประชากรของชนิดสําคัญที่มาอยูอาศัยหรือใช สําคัญ เอื้ออํานวยตอการรักษาความหลาย พื้นที่ชุมน้ําหนองบงคายคอนขางนอย ทางชีวภาพในแตละเขตชีวภูมิศาสตร เปนแหลงที่อยูอาศัยของพืชหรือสัตว ในชวง ใช: พื้นที่ทะเลสาบเชียงแสนเปนที่พักพิงของนกอพยพใน ระยะเวลาที่สําคัญของวงจรชีวิต หรือที่แหลง ฤดูหนาว มากกวา 70 ชนิด พักพิงในสถานภาพที่แหลงอาศัยเดิมถูก รบกวน ในสภาพปกติมีนกน้ําอาศัยอยูได 20,000 ตัว ไมใช: จํานวนนกน้ําในฤดูหนาวที่นับสูงสุด รวมกัน ประมาณ 3,500 ตัว สวนมากเปนชนิดที่พบทั่วไป หรือ หรือมากกวา ชนิดประจําถิ่น ในสภาพปกติมีนกน้ําอาศัยอยูรอยละ 1 ของ ไมใช: จํานวนนกน้ําที่อาศัยในพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคายมี คอนขางนอย จํานวนเปดดําหัวดําที่นับไดมากสุดเทากับ จํานวนนกน้ําที่พบทั้งหมด 15 ตัว ซึ่งนอยกวารอยละ 1 ของเปดดําหัวดําที่พบทั้งหมด ในโลก เปนแหลงที่อยูอาศัยของปลาชนิดประจําถิ่น ใช: ถึงแมวาทะเลสาบเชียงแสน จะมีปลาไมกชี่ นิด แตมี หรือชนิดที่ตองใชพื้นที่น้ําในชวงระยะเวลาที่ ปลาหลายชนิดเปนปลาประจําถิ่น และมีปลาตางถิ่นหลาย สําคัญของวงจรชีวิต หรือการปฏิสัมพันธของ ชนิดดวย ชนิด หรือประชากร บงบอกถึงคุณคาและ ประโยชนของพื้นที่ชุมน้ําตอความ หลากหลายทางชีวภาพของโลก

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-13


ตาราง 3 (ตอ) เกณฑแรมซารไซต

การประเมินเชิงปริมาณ: ใชหรือไมใช • เปนแหลงอาหารที่สําคัญ ที่วางไขและพักพิง ใช: ทะเลสาบเชียงแสนเปนแหลงจับปลาที่สําคัญของชุมชน ของลูกปลา หรือเปนเสนทางอพยพของปลา ในทองถิ่น พืชน้ําที่เกาะกลุมเปนกอน หรือปง และพืชชายน้ํามีความ สําคัญตอการผสมพันธุ วางไข และเปนที่อาศัยของตัวออน

หลังจากนั้น เจาหนาที่รับผิดชอบ นักนิเวศวิทยาและประชาชนในพื้นที่ จะรวมกันเก็บรวบรวม ขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศตามความถนัดและความสามารถของแตละบุคคล ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความรูสึก การเปนเจาของพื้นที่ เกิดความเขาใจที่ตรงกัน และยอมรับผลการศึกษาขอมูล ซึ่งสามารถดําเนินการได หลายวิธี เชน การรวบรวมรายงานที่เกี่ยวของจากสวนราชการตางๆ การใชแผนที่ภูมิประเทศ ภาพถาย ทางอากาศ ภาพถายดาวเทียม การสํารวจภาคสนามโดยเครื่องหาพิกัดดวยดาวเทียม การวางแปลงสํารวจ พันธุไม การสํารวจนก ปลา เปนตน การเก็บขอมูลขางตนจะดําเนินการตามแนวทางของการสํารวจพื้นที่ชุมน้ําในทวีปเอเชีย (Asian Wetland Inventory: AWI) โดยยังคงจําแนกขอมูลออกเปน 3 คุณลักษณะทางนิเวศตามที่กลาวไวขางตน แลว คือ • ขอมูลดานกายภาพ • ขอมูลดานชีวภาพ และ • ขอมูลดานฟสิกส-เคมี รวมทั้งการใชประโยชนทรัพยากรของประชาชน สภาพเศรษฐกิจ-สังคม และภัยคุกคามตางๆ พรอมทั้งศึกษาความเชื่อมโยงทางระบบนิเวศ จัดทํารายงานและสรางฐานขอมูล GIS คุณลักษณะทาง นิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา เพื่อนําไปใชประโยชนในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําตอไป ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • คุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําที่สําคัญ ที่บงชี้สถานภาพผลผลิต บทบาทหนาที่ และ คุณลักษณะพิเศษของพื้นที่ชุมน้ํา • รายงานและแผนที่กระดาษ หรือขอมูล GIS แสดงขอบเขตพื้นที่ชุมน้ํา พื้นวางแผน คุณลักษณะ ทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําและพื้นที่ใกลเคียง (ดานกายภาพ ชีวภาพ และฟสิกส-เคมี และ การใชประโยชน)

1-14

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


สังคมพืชลอยน้ํา

สังคมพืชชายน้ํา

สังคมพืชโผลผิวน้ํา 3

2

1

สังคมพืชใตน้ํา

เขตยอยพืชลมลุก 4.1

เขตยอยไมพุม 4.2

เขตยอยไมไผ ไมพุม และไมตน 4.3

จากภาพถายดาวเทียมเมื่อป พ.ศ. 2546 สามารถแบงการใชประโยชนที่ดินได 11 ประเภท คือ พืชไร, สวนผลไม, ไรราง หรือไรเลื่อนลอย, ปาเบญจพรรณ ปาเสื่อมโทรม หรือปาไผ, นาขาว, พื้นที่ชุมน้ําผสมไมไมลมลุก, พื้นที่ชุมน้ําผสมไมพุม (ไมยราบ ยักษ), สิ่งกอสราง, หมูบาน, แหลงน้ํา และสันทราย ลักษณะพรรณพืชของพื้นที่ชุมน้ําที่พบในหนองบงคาย ประกอบดวยสังคมพืชลอยน้ํา พืชใตน้ํา พืชโผลผิวน้ํา พืชชายน้ํา และไมพุม พันธุไมที่พบในสังคมพืชลอยน้ํา ไดแก ผักตบชวา จอกหูหนู ที่เกาะรวมกันเปนกอน เรียกวา “ปง” สวนบริเวณสังคมพืช ชายน้ําสามารถแบงออกเปน 3 เขตยอยดังภาพ อนึ่งในชวง 20-30 ปที่ผานมา ไมยราบยักษซึ่งเปนไมตางถิ่นไดเขามายึดครอง พื้นที่บางสวน โดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่ชุมน้ํา บริเวณขอบอางน้ํา และเจริญเติบโตไดดี ขยายตัวไดอยางรวดเร็วและกําจัดไดยากมาก พบปลาอยางนอย 46 ชนิด โดยปลา 17 ชนิดเปนชนิดที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ มีปลาที่มีความสําคัญควรแกการอนุรักษ และอยูในสถานภาพถูกคุกคาม 5 ชนิด สํารวจพบนก 225 ชนิด เปนสัตวปาคุมครอง 219 ชนิด นกอพยพ 19 ชนิด อยูใน สถานภาพถูกคุกคามในระดับประเทศและระดับนานาชาติ จํานวน 19 ชนิด และ 5 ชนิด ตามลําดับ

ภาพ 6 กรณีศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย

พื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย เดิมเปนหนองน้ําธรรมชาติ ในป พ.ศ. 2528 มีการสรางฝายน้ําลน จนกลายเปนทะเลสาบ มีพื้นที่รวม ประมาณ 2,700 ไร มีความลึกเฉลี่ย 2.0 เมตร สามารถกักเก็บน้ําไดสูงสุด 4.9 ลานลูกบาศกเมตร จากการคาดคะเนการสูญเสีย หนาดิน พบวาอีก 500 ปขางหนาจะมีปริมาณตะกอนทับถมเต็มพื้นที่ทะเลสาบ หากไมมีมาตรการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม

ภาพ 7 แผนที่สัณฐานของทะเลสาบเชียงแสน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-15


ตัวอยางการศึกษาความเชื่อมโยงทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย ระบบพื้นที่ชุมน้ําแตละแหงสวนมากจะไมอยูโดดเดี่ยว แตจะเชื่อมโยงกับพื้นที่อื่นในระดับที่ใหญกวา ใน กรณีพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย มีความเชื่อมโยงใน 3 ระดับ คือ • ความเชื่อมโยงในระดับนานาชาติ : - การอพยพของนกน้ําในฤดูหนาว ระหวางไซบีเรีย ประเทศจีนตอน ใต และประเทศไทย • ความเชื่อมโยงในระดับภูมิภาค : - การอพยพเคลื่อนยายของนก ปลา และความเชื่อมโยงของระบบน้ํา กับแมน้ําโขง • ความเชื่อมโยงในระดับทองถิ่น : - การอพยพเคลื่อนยายของนก ปลา และน้ําใตดิน ระหวางหนองบงคาย กับหนองหลวง ซึ่งตั้งอยูในลุมน้ําลั๊วะเหมือนกัน ความเชื่อมโยงระบบนิเวศดังกลาว จะมีผลตอการจัดการพื้นที่ชุมน้ําในระดับตางๆ ดังนี้ • ความเชื่อมโยงในระดับนานาชาติ : - การจัดการแหลงที่อยูอาศัยของนกน้ํา และประกาศเปนพื้นที่ แรมซาร เพื่ออนุรักษประชากรและแหลงที่อยูอาศัย • ความเชื่อมโยงในระดับภูมิภาค : - ติดตาม ตรวจสอบโครงการพัฒนาตางๆ (ทาเรือ และนิคมอุตสาหกรรม) และวางแผนการจัดการพื้นที่ เพื่อไมใหมีผลกระทบตอการอพยพ เคลื่อนยายของนก ปลา และความ เชื่อมโยงของระบบน้ํา • ความเชื่อมโยงในระดับทองถิ่น : - การจัดการแหลงน้ําเพื่อการประมง การเกษตร และที่อยูอาศัยของ นกน้ําในพื้นที่ชุมน้ําใหเหมาะสม จากการเก็บขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย และวิเคราะหความเชื่อมโยงทางนิเวศ ในระดับลุมน้ําในทองถิ่น พบวาหนองบงคายไดรับน้ําจากน้ําฝนเทานั้น ปละประมาณ 27 ลานลูกบาศกเมตร แต ไมสามารถกักเก็บน้ําได เนื่องจากระบบเหมืองฝายชํารุด และสูญเสียน้ําใตดิน ระบบน้ําจากหนองหลวงและ หนองบงคายถูกตัดขาด และมีการทับถมของตะกอน นกน้ําสวนมากอาศัยและพักผอนในบริเวณจอทองดํา หนองบงคาย และหนองแฉลบ แหลงน้ําที่อื่นใชเปนที่อาศัยนอย เพราะถูกรบกวนจากคนและสัตวเลี้ยง

การประเมินความคงอยูและความบริบูรณของคุณลักษณะทางนิเวศ จะทําใหเราทราบสถานภาพในปจจุบันวาพื้นที่ชุมน้ํานั้นๆ เปนอยางไร รวมทั้งสถานภาพที่ ตองการในอนาคตดวย ซึ่งพื้นที่ชุมน้ําจะสามารถเอื้ออํานวยประโยชนในรูปแบบผลผลิต บทบาทหนาที่ และคุณลักษณะพิเศษของพื้นที่ชุมน้ํา ตอมนุษยและสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืนได ก็ตอเมื่อคุณลักษณะที่ สําคัญทางระบบนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําคงอยูไดในระยะยาว หรืออยูในสถานภาพที่ดี หรือมีความบริบูรณ ถาหากมีการเปลี่ยนแปลง ตองเปนการเปลี่ยนแปลงตามสภาพธรรมชาติและอยูในชวงที่สามารถยอมรับได หรือสามารถฟนฟูไดเอง เพราะหากคุณลักษณะเหลานี้ถูกทําลายหรือถูกทําใหเปลี่ยนแปลงเกินชวงที่สามารถ ยอมรับได จะกอใหเกิดความสูญหายหรือความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศในระยะยาว ขั้นตอนการประเมินมี 3 ขั้นตอนยอย ดังนี้ การเลือกคุณลักษณะที่สําคัญทางนิเวศและตัวชี้วัด พื้นที่ชุมน้ําแตละประเภทจะมีลักษณะเฉพาะหรือที่เรียกวาคุณลักษณะที่สําคัญทางนิเวศวิทยา ซึ่งประกอบดวย ขนาด สถานภาพ และลักษณะพื้นที่โดยรอบ สามารถนํามาใชในการประเมินความคงอยู หรือความบริบูรณทางนิเวศได

1-16

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


ผลที่คาดวาจะไดรับจากการดําเนินงานในขั้นตอนนี้ คือ • เลือกคุณลักษณะทางนิเวศที่สําคัญอยางนอย 1 อยางของแตละผลผลิต บทบาทหนาที่ หรือ คุณลักษณะพิเศษของพื้นที่ชุมน้ํา • ตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่ใชในการบงชี้คุณลักษณะที่สําคัญทางนิเวศวิทยา เกณฑที่ใชประเมินความคงอยูและความบริบูรณของระบบนิเวศ • ขนาด เปน การวัด เชิ งปริ ม าณของพื้น ที่ ความชุ ก ชุม ของการปรากฏของคุ ณ ลัก ษณะทางนิ เ วศ ความ หนาแนนประชากร หรือขนาดพื้นที่ถิ่นที่อยูอาศัยที่เหมาะสม เปนตน • สถานภาพ เป น การวั ด เชิ ง สั ม พั ท ธ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพของป จ จั ย ทางกายภาพ ชี ว ภาพ โครงสร า ง องคประกอบ และกระบวนการทางนิเวศ ในพื้นที่ที่มีการปรากฏของคุณลักษณะทางนิเวศ เชน คุณภาพของ น้ํา รอยละของพืชตางถิ่นในสังคม องคประกอบทางชีวภาพ และคุณภาพ เปนตน • ลักษณะพื้นที่โดยรอบ เปนการวัดเชิงสัมพัทธเกี่ยวกับคุณภาพของพื้นที่โดยรอบ รวมทั้งสถานภาพของ ภูมิทัศน และความเชื่อมโยงของพื้นที่ที่ปรากฏกับพื้นที่ใกลเคียง ซึ่งมีผลตอการดํารงชีพ เชน การแบงแยก ของถิ่นที่อยูอาศัย การขัดขวางการแพรกระจาย การอพยพ เปนตน

การกําหนดระดับของคุณลักษณะทางนิเวศ โดยทั่วไปคุณลักษณะทางนิเวศวิทยาจะมีการเปลี่ยนแปลงในสภาพธรรมชาติตามชวงระยะเวลา ตางๆ กัน ซึ่งระดับของการเปลี่ยนแปลงของแตละคุณลักษณะทางนิเวศแบงเปน 4 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช และเลว ดังนั้น เจาหนาที่รับผิดชอบ ผูมีสวนได-สวนเสีย รวมทั้งนักวิชาการ จะตองรวมกันนํา ขอมูลจากการประเมินชุมชนอยางมีสวนรวม การรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศ หรือเอกสารทาง วิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของ มาประมวลผล และแบงระดับการเปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะพิเศษที่สําคัญ ผลที่คาดวาจะไดรับจากการดําเนินงานในขั้นตอนนี้ คือ • ชวงระดับของการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางนิเวศ ดีมาก-เลว ที่สามารถยอมรับไดของแต ละคุณลักษณะ การแบงระดับของคุณลักษณะทางนิเวศ เพื่อประเมินความคงอยูของคุณลักษณะทางนิเวศ 4 ระดับ ดังนี้ ดีมาก : คุณลักษณะทางนิเวศที่สมบูรณ มีสภาพตามธรรมชาติ สามารถทําหนาที่ไดอยางปกติ ในระบบนิเวศ การที่จะรักษาความคงอยูไดในระยะยาว (50-100 ป) อาจตองการการจัดการจากมนุษยเพียงเล็กนอย หรือไมตองการเลย ดี : คุณลักษณะทางนิเวศสามารถทําหนาที่ของมันได และอยูในชวงการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได เพื่อดํารง ความคงอยูไดในระยะยาว (50-100 ป) อาจตองการการจัดการจากมนุษยบาง พอใช : คุณลักษณะทางนิเวศอยูนอกชวงการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได และตองการการจัดการจากมนุษย ถา ไมดําเนินการ คุณลักษณะทางนิเวศจะมีสภาพเสื่อมโทรมลงมาก ต่ํา : คุณลักษณะทางนิเวศอยูเลยชวงการยอมรับไดไปมาก หรืออันตรายขั้นรุนแรง ถาไมมีการจัดการ ปลอยใหอยูในสภาพแบบนี้เปนระยะเวลานาน จะไมสามารถทําการฟนฟูหรือปองกันการสูญพันธุได เลย

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-17


การกําหนดสถานภาพของคุณลักษณะทางนิเวศพื้นที่ชุมน้ําในปจจุบันและที่ตองการ ในอนาคต การประเมินสถานภาพในปจจุบัน และสถานภาพที่ตองการในอนาคตของแตละคุณลักษณะทางนิเวศ ที่ผูมีสวนได-สวนเสียมีความเห็นรวมกัน จะพิจารณาจากแนวโนมของคุณลักษณะทางนิเวศ แรงกดดัน และมาตรการจัดการที่จะดําเนินการ ในชวงระยะของแผนที่สามารถเปนไปไดในทางปฏิบัติ ผลที่คาดวาจะไดรับ คือ • สถานภาพปจจุบันของแตละคุณลักษณะ • สถานภาพที่ตองการของแตละคุณลักษณะ

ตัวอยางการประเมินความคงอยูทางนิเวศ กรณีศึกษาพื้นที่ชุมน้ํา หนองบงคาย ผลผลิตและบทบาทหนาที่ที่สําคัญของพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย คือ การเปนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร เปนที่อยูอาศัยของนกเปดน้ํา และมีระบบนิเวศที่หลากหลาย ดังนั้น พื้นที่นี้จึงไดรับการประกาศเปนพื้นที่ แรมซาร คุณลักษณะทางนิเวศที่บงชี้ความบริบูรณของระบบนิเวศคือ “พืชน้ํา” ตัวชี้วัดที่นํามาใชในการ ประเมินความบริบูรณของพืชน้ํา คือ รอยละการครอบครองของไมยราบยักษ สวน “น้ําผิวดิน” ใชปริมาณ น้ําผิวดินในฤดูแลง และความตองการออกซิเจน เปนตัวชี้วัดดานปริมาณและคุณภาพ ตามลําดับ หรือเราอาจจะเลือกนกเปดน้ําเปนคุณลักษณะที่สําคัญทางนิเวศ และตัวชี้วัดที่นํามาใชในการ ประเมินความคงอยูไดเชนกัน คือ แบงระดับสถานภาพของจํานวนของนกเปดน้ําที่อพยพมาในฤดูหนาว ประเมินสถานภาพความคงอยูและความบริบูรณในปจจุบัน และความตองการในอนาคตหลังการเสร็จสิ้น แผน ระยะ 20 ป หรือเปาหมายระยะยาวในการอนุรักษ ตาราง 4 การประเมินความคงอยูและความบริบูรณ โดยใชเกณฑขนาดและคุณภาพ คุณลักษณะ พืชน้ํา

คุณสมบัติ ที่สําคัญ สถานภาพ

นกน้ํา

จํานวน ประชากร

น้ําผิวดิน

ปริมาณน้ํา คุณภาพน้ํา

ตัวชี้วัด %การครอบครอง พื้นที่ชุมน้ํา จํานวนนกน้ํา ที่อาศัยใน ฤดูหนาว ปริมาณน้ําใน ฤดูแลง (ลบม) ปริมาณออกซิเจน ละลายน้ํา (DO) mg/l

การแบงระดับตามตัวชี้วัด ต่ํา ปานกลาง ดี ดีมาก >30 20-30 0-10 0 <5,000

5,000 10,000

<2.0 <26.0

สถานภาพ สถานภาพ ปจจุบนั ที่ตองการ ดี ดี

20,000 ต่ํา

ปานกลาง

2.0-3.0

10,000 20,000 3.0-4.0

> 4.0

ปานกลาง

ดี

2.0-4.0

4.0-6.0

> 6.0

ดี

ดี

อนึ่ง การประเมินความคงอยูและความบริบูรณของพื้นที่ชุมน้ําอาจใชภูมิปญญาทองถิ่นโดยการ สังเกตชนิดแมลงน้ําหรือพืชน้ําที่เปนตัวชี้วัดคุณภาพน้ํา เชน โครงการนักสืบสายน้ํา นักสืบชายหาด ที่ ดําเนินการโดยมูลนิธิโลกสีเขียว เปนตน

1-18

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


ตาราง 5 การประเมินความคงอยูและความบริบูรณ โดยประยุกตใชดัชนีในคูมือนักสืบสายน้ํา ความมั่นคง ชายฝง

คุณสมบัติ ตัวชี้วัด ที่สําคัญ ต่ํา สถานภาพ การปกคลุมของ ไมมีพืช พืช ขึ้นริมฝง

การแบงระดับตามตัวชี้วัด ปานกลาง ดี พงหญา หญาถูกตัด มีพืชขนสูงต่ําไม เรียบ เทากันอยูบาง

ปลา

สถานภาพ

ชนิดปลา

ปลากาง ปลาไหล ปลาเข็ม

น้ําผิวดิน

ปริมาณน้ํา (ขนาด) คุณภาพ น้ํา คุณภาพ น้ํา

การไหลของน้ํา ในฤดูแลง สาหรายตาม ผิวน้ํา สัตวริมน้ํา

ปลาเทศบาล ปลากินยุง ปลานิล น้ําแหง ผิดปกติ มีเยอะมาก นกเอี้ยง

คุณภาพ น้ํา

ชนิดสัตวน้ํา ขนาดเล็ก

นกกางเขนบาน นกอี นกกางเขนน้ํา แพรดคอขาว นกอุมบาตร นกจับแมลงจุกดํา นกเดาลมหลัง เทา นกกวัก ชีปะขาวกลุม 2 แมลงชางกราม แมลงหนอนไมอยูใน โต กุงน้ําตก ปลอกน้ํา กลุม 2 แมลงปอ กุงฝอย หอยกาบ กลุม 1 หอยฝาเดียว กลุม 2 หอยฝาเดียว หอยกาบ กลุม 2 กลุม 1

คุณลักษณะ

หนอนริ้น น้ําจืดแดง ไสเดือนดิน

น้ําแหงหนาแลงเปน ปกติ มีมาก

ปลาแกมช้ํา ปลามะไฟ ปลากระสูบขีด น้ําไหลเอื่อยๆ มีบาง

ดีมาก พืชขึ้นสูงต่ํา หนาแนนเปน ธรรมชาติ ปลาผีเสื้อ ปลาจิ้งจก ปลาคอ น้ําไหลดีทั้งป ไมมี นาก นกกินปลา เชน นกกาน้ํา นกยางไฟ นกเปดน้ํา ชีปะขาวกลุม 1 แมลงเหาะหิน แมลงหนอนปลอก น้ํา กลุม 1

หมายเหตุ: ปรับปรุงจากคูมือนักสืบสายน้ํา

การวิเคราะหภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา เจาหนาที่รับผิดชอบและผูมีสวนได-สวนเสีย จะรวมกันวิเคราะหประเด็นปญหา หรือภัยคุกคาม ที่รายแรง หรืออาการของคุณลักษณะทางนิเวศวามีสถานภาพเสื่อมโทรมลง หรือมีโอกาสเสื่อมโทรมลง ในอนาคตหรื อ ไม เช น ถิ่ น ที่ อยู อ าศั ย ของนกน้ํ าถู ก คุ ก คาม ปริ ม าณปลาในทะเลสาบมี จํ า นวนลดลง คุณภาพน้ํามีแนวโนมลดต่ํากวามาตรฐานน้ําใช หรือสาเหตุทั้งทางตรงและทางออมที่จะมีผลกระทบตอ ความสมบูรณของคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา และการใชประโยชนอยางยั่งยืน เชน ความเสื่อม โทรมของถิ่นที่อยูอาศัยของนกน้ํา เกิดจากการเลี้ยงควายของชาวบาน และการยึดครองของพืชตางถิ่น เปนตน และใครเปนผูมีสวนได-สวนเสียกับภัยคุกคามดังกลาว พรอมทั้งวิเคราะหความเชื่อมโยงระหวาง ภัยคุกคามและสาเหตุที่มีผลตอคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา เพื่อจัดลําดับความเรงดวนในการ แกไขปญหาในขั้นตอนการทําแผนตอไป

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

1-19


ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • ภัยคุกคามหรือประเด็นปญหาที่สําคัญ ที่มีผลตอระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา • สาเหตุของภัยคุกคาม ที่มีผลตอลักษณะทางนิเวศของพืน้ ที่ชุมน้ํา • แผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางคุณลักษณะทางนิเวศ ภัยคุกคามรายแรง สาเหตุ และ ปจจัยคุกคามทางออมและโอกาสที่เกี่ยวของ

ขอควรทราบ คุณ ลั ก ษณะทางนิ เ วศที่ ไ ม ใ ช ข อมู ล เชิ ง พื้ นที่ จ ะรวบรวมในรู ป แบบของรายงานเพื่อ นํ า ไปใช ประโยชนในการวางแผนการจัดการแบบมีสวนรวม การกํากับติดตามและประเมินผล และการสราง จิตสํานึกในการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําของคนในชุมชน อันจะนําไปสูการจัดการทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําอยาง ยั่งยืนตอไป ดังนั้น การใชคูมือฉบับนี้ตองใชรวมกับคูมือฉบับอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งคูมือการประเมิน ชุมชนอยางมีสวนรวม และคูมือการจัดทําฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ทั้งนี้ เพราะผลการ ประเมินชุมชนอยางมีสวนรวมจะเปนกรอบในการดําเนินงานการรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศ และขอมูลที่รวบรวมไดเกือบทั้งหมด (ขอมูลเชิงพื้นที่) จะถูกจัดเก็บในระบบ GIS

1-20

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 1 คูมอื การระบุความหมายและคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.