3_1

Page 1

ฉบับที่ 3

คูมือการประเมินชุมชนโดยกระบวนการ วิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม โดย

สุมาลี วรรณรัตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-1


3-2

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


คูมือการประเมินชุมชนโดยกระบวนการ วิเคราะหชุมชนแบบมีสว นรวม

คูมือการประเมินชุมชน โดยกระบวนการวิเคราะห ชุมชนแบบมีสวนรวม หรือ PRA ภายใตโครงการจัดการ และ คุมครองพื้นที่ชุมน้ํา (The Management and Protection of Wetlands Project : MPW) ตามอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ํา (Ramsar Convention) ประกอบดวยเนื้อหาหลักๆ คือ รูจัก กระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม ความสําคัญของ กระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม กับการจัดการ พื้นที่ชุมน้ําในประเทศไทย ขั้นตอนการประเมินชุมชนโดยใช กระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม ตัวอยางกิจกรรม การวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม ขอเดน ขอจํากัด ของการ นํ า กระบวนการวิ เ คราะห ชุ ม ชนแบบมี ส ว นร ว มไปใช ใ นการประเมิ น ชุ ม ชน คุ ณ สมบั ติ ข องวิ ท ยากร กระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวน และภาคผนวก ตัวอยางการเขียนรายงานผลการศึกษา อยางไรก็ตาม ขอเสนอแนะไวในเบื้องตนวา การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชน แบบมีสวนรวมในคูมือเลมนี้ ไมไดเปนกระบวนการที่ตายตัว สามารถปรับเปลี่ยนยืดหยุนใหใชไดกับพื้นที่ หรือสถานการณที่แตกตางตามความเหมาะสม ทั้งนีข้ ึ้นอยูก ับ “วิจารณญาณ” ของผูท ี่จะนํากระบวนการ นี้ไปใชเปนสําคัญ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-3


รูจักกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม หรือกระบวนการ PRA การวิเคราะหชุมชนแบบมีสว นรวมคืออะไร PRA มาจากคําวา “Participatory Rural Appraisal” แปลวา “การวิเคราะหชุมชนแบบมีสวน รวม” เปนกระบวนการเรียนรูข อมูลเชิงวิเคราะหของคนในชุมชน เพื่อคลีค่ ลายสถานการณอยางใดอยาง หนึ่งรวมกันอยางเปนระบบ

หลักการการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม • • • • • •

เชื่อมั่นในสมรรถนะของคนในชุมชน สนับสนุนใหกลไกในทองถิ่นมีบทบาทสําคัญในการดําเนินงาน เนนการประสานและระดมพลังความคิด สงเสริมการตัดสินใจโดยใชเหตุผล ความเสมอภาค/เทาเทียมของคนคือสิ่งสําคัญ เรียนรูรวมกันจากสถานการณที่เปนจริงและใกลตัว

วิธีการของการวิเคราะหชุมชนแบบมีสว นรวม มีหลายรูปแบบ เชน การทําแผนที่แบบมีสวนรวม การวิเคราะหฤดูกาล การทําตารางวิเคราะห และจัดลําดับ การทําแผนภูมิความสัมพันธ การเดินสํารวจ เปนตน อยางไรก็ตาม การที่จะเลือกนําวิธีการใด วิธีการหนึ่งมาใชในการประเมินชุมชนรวมกับชาวบาน ยอมขึ้นอยูกับความเหมาะสมของเนื้อหา สภาพ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของคนในทองถิ่น รวมถึงสภาพปญหาหรือปรากฏการณที่เกิดขึ้น และระยะเวลาที่ใช ในการศึกษา ในทางปฏิบัติ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน โครงการไดเลือกใชวิธีการของการ วิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม 4 แบบ ไดแก • การทําแผนที่แบบมีสวนรวม (village mapping) ชวยใหมองเห็นรูปธรรมของขอมูลและ ตําแหนงของพื้นที่ที่ตองการศึกษา โดยมากใชศึกษาขอมูลพื้นฐานของชุมชนที่ใชประโยชน จากพื้นที่ชุมน้ํา และลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ชุมน้ํา • การวิเคราะหและจัดลําดับ (matrix ranking) ชวยใหมองเห็นประเภท/ชนิดและปริมาณ ของสิ่งที่ตองการศึกษา เชน ชนิดและปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดและปริมาณของ อาหาร ประเภทของผูใชประโยชน ปริมาณการใชประโยชน เปนตน • การวิเคราะหฤดูกาล (seasonal analysis) ชวยใหมองเห็นปรากฏการณดานตางๆ ที่ เกิดขึ้น ที่สัมพันธกับชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เชน การใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ําของผูมีสวน ไดเสียในรอบ 1 ป ชนิดและปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในพื้นที่ชุมน้ําในรอบ 1 ป เปนตน

3-4

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


• การจัดทําแผนภูมิความสัมพันธ (Venn diagram) ชวยใหสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ ของขอมูลหลายมิติเขาดวยกัน เชน การวิเคราะหความสัมพันธระหวางกลุมผูใชประโยชน หรือผูมีสวนไดเสียในพื้นที่ชุมน้ํา วิเคราะหสภาพปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น เปนตน

ความสําคัญของกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวมกับการจัดการ พื้นที่ชุมน้ําในประเทศไทย อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ําใหความสําคัญอยางยิ่งตอการมีสวนรวมของชุมชน ในการวางแผน จัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางชาญฉลาด เพื่อเสริมสรางความรูสึกเปนเจาของ หวงใย รัก และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูใน ชุมชนของตน ดังนั้นการมีสวนรวมของชุมชนในที่นี้ จึงมิไดมีความหมายเพียงการรวมกิจกรรมที่ถูก กําหนดโดยหนวยงานหรือองคกรภายนอกเทานั้น แตยังหมายรวมถึงการรวมเรียนรูและเขาใจสถานการณ ปญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้นในในเขตพื้นที่ชุมน้ํา ไปจนถึงการรวมกําหนดแนวทางการพัฒนาเพื่อแกไข ปญหา รวมลงมือแกไขปญหา และรวมรับผลประโยชนจากการพัฒนาที่เกิดขึ้น

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-5


หลักการและวิธีการของกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวมเปนแนวทางหนึ่งที่สามารถ ตอบสนองการมีสวนรวมของคนในชุมชนและผูมีสวนไดเสียในเขตพื้นที่ชุมน้ํา เพราะมิใชเปนเพียงการ สํารวจขอมูลการใชประโยชนและการอนุรักษทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําเทานั้น แตยังเปนกระบวนการ เรียนรูที่ชวยกระตุนการมีสวนรวม และปลุกจิตสํานึกในการหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของคนในชุมชน อันจะนําไปสูการจัดการอนุรักษ และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชุมน้ํา รวมกันอยางยั่งยืนตอไป

ขั้นตอนการประเมินชุมชนโดยใชกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม การกําหนดเนื้อหาที่จะศึกษา โดยทั่วไปการกําหนดเนื้อหาที่ตองการศึกษา ควรเกิดจากการพิจารณารวมกันระหวางทีม ประเมินชุมชน และผูเชี่ยวชาญหรือเจาหนาที่รับผิดชอบในพื้นที่ หลังจากนั้นจึงนําเนื้อหาที่จะศึกษามา กําหนดเปน “ประเด็นหลัก” และ “ประเด็นยอย” เพื่อใหครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการศึกษา สอดคลองกับ วิธีการตางๆ ของ PRA รวมถึงสะดวกในการจดบันทึกและจําแนกขอมูล ตัวอยางเชน การวิเคราะห ชุมชนแบบมีสวนรวมในพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย ไดกําหนดเนื้อหาในการศึกษาไวดังนี้ ประเด็นหลัก ขอมูลพื้นฐาน ชุมชน/หมูบาน และ การใชประโยชน จากพื้นที่ชุมน้ําของ ครัวเรือน กลุม/ องคกร

• • • • • • •

ขอมูลพื้นฐาน • บริเวณพื้นที่ชุมน้ํา และการใชประโยชน •

ชนิดและปริมาณ ของทรัพยากร ธรรมชาติ

3-6

• • • •

ประเด็นยอย แผนที่ชุมชน/หมูบาน มีรายละเอียดของสถานที่สําคัญ พื้นที่ทํา กิน พื้นที่อนุรักษ พื้นที่เลี้ยงสัตว ฯลฯ จํานวนครัวเรือน จํานวนประชากร ชาติพันธุ กลุม/องคกรในชุมชน ผูนําชุมชน แกนนํากลุมอนุรักษ แกนนํา กลุมอาชีพ แกนนําแมบาน แกนนําเยาวชน ฯลฯ ขอมูลพื้นฐานอื่นๆ จํานวนครัวเรือน กลุม/องคกร ที่ใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา ประเภทของการใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ําของแตละ ครัวเรือน กลุม/องคกร แผนที่บริเวณพื้นที่ชุมน้ําและชุมชนโดยรอบที่ใชประโยชนจาก พื้นที่ชุมน้ํา ความเชื่อมโยงของพื้นที่ชุมน้ํากับระบบนิเวศอื่นๆ เชน แมน้ํา ภูเขา ฯลฯ สถานที่สําคัญในบริเวณพื้นที่ชุมน้ํา การใชประโยชนของผูมีสวนไดเสีย ชนิดของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในพื้นที่ชุมน้ํา (ทั้งในน้ําและ บนบก) ปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในพื้นที่ชุมน้ํา (ทั้งในน้ํา และบนบก)

เครื่องมือ PRA การทําแผนที่แบบ มีสวนรวม

การทําแผนที่แบบ มีสวนรวม

ตารางวิเคราะห และจัดลําดับ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


ประเด็นหลัก การใชประโยชน จากทรัพยากร ธรรมชาติ จากพื้นที่ ชุมน้ําในรอบ 1 ป ความสัมพันธ ระหวางกลุมผูใช ประโยชนจากพื้นที่ ชุมน้ํา

สภาพปญหาที่ เกิดขึ้นในพื้นที่ ชุมน้ํา

การอนุรักษและ คุมครองทรัพยากร ธรรมชาติ

ประเด็นยอย • ประเภทการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในรอบ 1 ป • ปริมาณการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในรอบ 1 ป

เครื่องมือ PRA การวิเคราะห ฤดูกาล

• • • • • • •

การทําแผนภูมิ ความสัมพันธ

• • • • • • • • •

แนวทางการ คุมครอง และใช ประโยชนจากพื้นที่ ชุมน้ําอยางยั่งยืน

• • • • •

กลุมผูใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา ทั้งในและนอกชุมชน ปริมาณ/จํานวนผูใชประโยชนของแตละกลุม ปริมาณ/ระยะเวลาในการใชประโยชน ประเภทของการใชประโยชน คูกรณีที่มีความขัดแยงระหวางกัน เนื้อหา/สาระของความขัดแยง ประเภทของปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ทั้งปญหาที่เกิดกับพื้นที่ ชุมน้ําโดยตรง และปญหาที่เปนผลกระทบ หรือมีผลกระทบ จากพื้นที่ชุมน้ํา ขนาด/ลําดับความสําคัญของปญหา ความเรงดวนในการแกไขปญหา สาเหตุของปญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้น บุคคล กลุม/องคกรที่เกี่ยวของกับการจัดการดูแล คุมครอง หรืออนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ ลําดับความสําคัญของบทบาทหนาที่ ความตอเนื่องของการดําเนินงาน กิจกรรม วิธีการในการจัดการดูแล คุมครอง หรืออนุรักษ พื้นที่ ชุมน้ําของแตละบุคคล กลุม/องคกร ความคิด/ความเชื่อของบุคคล กลุม/องคกร ที่เกี่ยวของในการ อนุรักษ ขอเสนอแนวทางการจัดกิจกรรม/วิธีการดูแลพื้นที่ชุมน้ํา ให ไดรับการดูแล อนุรักษ อยางยั่งยืน และเอื้อประโยชนตอทุกฝาย ลําดับความสําคัญของแนวทางหรือวิธีการดูแล ความเรงดวนของการดําเนินงาน บุคคล กลุม/องคกร หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ/รับผิดชอบ วิธีการ/ขั้นตอนการดําเนินงาน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

การทําแผนภูมิ ความสัมพันธ

การทําแผนภูมิ ความสัมพันธ

การทําแผนภูมิ ความสัมพันธ

3-7


ทําความเขาใจชุมชน การใชกระบวนการ PRA ในการประเมินชุมชน จําเปนตองศึกษาขอมูลพื้นฐานของชุมชนใน พื้นที่ และขอมูลของพื้นที่ชุมน้ําที่ทําการศึกษา เชน ประวัติความเปนมา ประเพณีวัฒนธรรมในทองถิ่น การทํามาหากิน การใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา เปนตน ขอมูลเหลานี้อาจไดจากการพูดคุยกับชาวบาน ผูนําชุมชน เอกสาร แผนผัง แผนที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ฯลฯ รวมถึงการเดินสํารวจพื้นที่จริงใหมาก ที่สุดเทาที่จะทําได การเขาใจขอมูลพื้นฐานจะชวยใหเกิดประโยชนในการตั้งคําถามขณะทํากิจกรรม PRA

คนหาทีมเรียนรู ภายใตกระบวนการ PRA ตองการการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ที่มีอยูหลากหลาย ในพื้นที่เขามาเปน “ทีมเรียนรู” โดยควรคัดเลือกจากบุคคลที่มีประสบการณที่เหมาะสมกับประเด็นที่จะ ศึกษา, มีความหลากหลายทางชาติพันธุ ความเชื่อ อายุ, เปนตัวแทนของกลุมที่หลากหลาย เชน กลุม พอบาน กลุมแมบาน กลุมเยาวชน กลุมอาชีพหรือผูใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา ผูนําที่เปนทางการและ ไมเปนทางการ เปนตน รวมทั้งควรมีสัดสวนของเพศชาย เพศหญิง ใกลเคียงกัน ทีมเรียนรูแบงเปน 2 ระดับคือ • ทีมเรียนรูระดับหมูบาน ประกอบดวยตัวแทนของกลุมตางๆ ในหมูบาน ผูนําชุมชน คุมบานละประมาณ 8-10 คน • ทีมเรียนรูระดับตําบล/เทศบาล ประกอบดวยตัวแทนของกลุมตางๆ หมูบานละประมาณ 8-10 คน โดยคัดเลือกจากตัวแทนของทีมเรียนรูระดับหมูบาน นอกจากนั้นควรมีตัวแทน จากหนว ยงานที่ เ กี่ ยวข อ งที่ อยู ใ นพื้ นที่ เช น ตั ว แทนจากภาคราชการ องค ก รปกครอง ทองถิ่น องคกรพัฒนาเอกชน ผูประกอบการ ที่อยูในพื้นที่รวมอยูดวย

การจัดเวทีประเมินชุมชนโดยใช PRA สามารถจัดไดหลายรูปแบบ ยืดหยุนไปตามสถานการณและความพรอมของชุมชนเปาหมาย สําหรับการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม ภายใตโครงการจัดการและคุมครองพื้นที่ชุมน้ํา ใชรูปแบบการ จัดเวทีตามเนื้อหาที่กําหนดไว มี 3 ขั้นตอน ดังนี้

3-8

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


ขั้นตอน 1

ขั้นตอน 2

ขั้นตอน 3

เวทีระดับหมูบาน หมูบานละ 1 ครั้ง

เวทีระดับตําบล ตําบลละ 1 ครั้ง

เวทีรวมทุกตําบล 1 ครั้ง

(ทีมเรียนรูระดับหมูบาน)

(ทีมเรียนรูระดับตําบล)

(ทีมเรียนรูระดับตําบล)

• วิเคราะหขอ มูลพื้นฐาน • ขอมูลพืน้ ฐานบริเวณพื้นที่ชุมน้าํ และ • นําเสนอขอมูลจาก และการใชประโยชนจากพืน้ ที่ การใชประโยชน การศึกษาในขัน้ ตอน 1 ชุมน้ํา ของครัวเรือน กลุม / • วิเคราะหชนิดและปริมาณของ และขัน้ ตอน 2 องคกร ทรัพยากรธรรมชาติ • วิเคราะหแนวทางการ คุมครองและใชประโยชน • วิเคราะหการใชประโยชนจาก จากพืน้ ที่ชมุ น้ําอยางยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติในรอบ 1 ป • วิเคราะหความสัมพันธระหวางกลุมผูใช ประโยชน • วิเคราะหสภาพปญหาที่เกิดขึน้ • วิเคราะหรูปแบบการอนุรักษ และ คุมครองทรัพยากรธรรมชาติ

การจดบันทึก และนําเสนอขอมูล ขอมูลที่ไดจากการศึกษาจะถูกบันทึกและนําเสนอใน 2 ลักษณะ คือ • บันทึกชวยจํา เปนผลงานอันเกิดจากการจัดกิจกรรม PRA ของทีมเรียนรู ซึ่งสามารถนําไป ทบทวน ตรวจสอบ เพิ่มเติมขอมูล และนําเสนอขอมูลตอชุมชน หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดเลย

การนําเสนอขอมูลจากบันทึกชวยจํา

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-9


• เอกสารรายงานผลการศึกษา ทีมประเมินชุมชนตองเรียบเรียงและจัดทําขอมูลผลการศึกษา ที่สมบูรณเปนรูปเลม เพื่อใชเปนคูมือการทํางานตอเนื่องของทีมเรียนรูและหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งภาคราชการและองคก รพัฒ นาเอกชนในพื้น ขอมู ลสําหรับ จัดทํ าเอกสารรายงานผล การศึกษาไดจาก 3 แหลงหลักๆ คือ o ขอมูลที่ไดจากการศึกษา “ขอมูลพื้นฐาน” ของพื้นทีช่ ุมน้ําที่ทําการศึกษา o บันทึกจากการจัด “เวทีประเมินชุมชน” โดยใชกระบวนการ PRA ทุกครัง้ o รายละเอียดจาก “บันทึกชวยจํา” ที่ไดจากการทํากิจกรรม PRA ทุกกิจกรรม นํารายละเอียดขอมูลทั้ง 3 สวนมาจัดหมวดหมู และนําเสนอในรูปของเอกสารรายงาน ซึ่ง โดยทั่วไปจะประกอบดวย 4 สวนหลักๆ ดังนี้

• บทนํา ประกอบดวยที่มาและความสําคัญของการศึกษา โดย ใชกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม วัตถุประสงค ขอบเขตเนื้อหา และขั้นตอน/วิธีการที่ใชศึกษา • ผลการศึกษา ประกอบดวยขอมูลพื้นฐานชุมชน และขอมูลที่ ไดจากการจัดกิจกรรม PRA ตามเนื้อหาที่กําหนดไว • สรุปผลการศึกษา ตองสังเคราะหขอมูลจากผลการศึกษา ทั้งหมด ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคที่กําหนดไว • ขอเสนอแนะ เปนขอคิดเห็นจากทีมศึกษาที่ประมวลจาก กระบวนการศึกษาทั้งหมด เพื่อเสนอแนะตอทีมเรียนรูและ ผูเกี่ยวของทั้งในและนอกพื้นที่ โดยทั่วไปจะเสนอแนะประเด็น การพัฒนาตอเนื่องที่ควรจะเกิดขึ้นในพืน้ ที่ชมุ น้ําที่ ทําการศึกษา

3-10

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


ตัวอยางกิจกรรม PRA การทําแผนที่แบบมีสวนรวม (village mapping) เนื้อหา การวิเคราะหขอมูลพืน้ ฐานชุมชน และการใชประโยชนจากพื้นทีช่ ุมน้ํา ประเด็นหลัก ขอมูลพื้นฐานชุมชน/ หมูบาน และการใช ประโยชนจากพื้นที่ ชุมน้ําของบุคคล ครัวเรือน กลุม/องคกร

• • • • • • •

ประเด็นยอย แผนที่ชุมชน/หมูบาน สถานที่สําคัญ พื้นที่ทํากิน พื้นที่อนุรักษ ฯลฯ จํานวนครัวเรือน จํานวนประชากร ชาติพันธุ กลุม/องคกรในชุมชน ผูนําชุมชน แกนนํากลุมอนุรักษ แกนนํากลุมอาชีพ แกนนําแมบาน แกนนําเยาวชน ฯลฯ ขอมูลพื้นฐานอื่นๆ จํานวนบุคคล ครัวเรือน กลุม/องคกร ที่ใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา ประเภทของการใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ําของแตละบุคคล ครัวเรือน กลุม/ องคกร

วัสดุ • กระดาษโปสเตอรสี 1-2 แผน • ปากกาเคมีสีตางๆ 2-3 ดาม • วัสดุใชแทนสัญลักษณหลายๆ ชนิด เชน กระดาษสติกเกอรสีตัดเปนรูปสี่เหลี่ยม วงกลม หรือสามเหลี่ยมขนาดและสีตางๆ กอนหินขนาดเล็ก เมล็ดขาวโพด เมล็ดฟกทอง ฯลฯ ขั้นตอน • แบงกลุมผูเขารวมกิจกรรมตามคุมบาน คุมบานละ 8-10 คน • ใชกระดาษโปสเตอรสีแทนบริเวณที่ตองการทําแผนที่ ชวนผูเขารวมกิจกรรมบอกตําแหนง สําคัญของบริเวณที่ตองการทําแผนที่ เชน ถนน แมน้ํา ฯลฯ แลวใชสัญลักษณ หรือใช ปากกาเคมีเขียนบอกตําแหนงสถานที่สําคัญลงในกระดาษโปสเตอรสี • เปดประเด็นที่ตองการศึกษาทีละประเด็น โดยการตั้งคําถามปลายเปด แลวใหผูเขารวม พูดคุยแลกเปลีย่ นและใหขอ มูลในประเด็นนัน้ ๆ เชน o บริเวณนี้มีสถานที่สําคัญอะไรบาง (เชน วัด โรงเรียน รีสอรท ฯลฯ) ใชสีของปากกาเคมี หรือเลือกใชสัญลักษณแทนสถานที่สําคัญนั้นๆ o บริเวณนี้มีบานอยูกี่หลัง อยูตรงไหนบาง เปนบานของใคร ใหใชกระดาษรูปสี่เหลี่ยม แทนบานแตละหลัง

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-11


o บานแตละหลังมีผูอาศัยอยูกี่คน แยกตามเพศ แยกตามกลุมอายุ (เชน เด็กกอนวัยเรียน เด็กที่เรียนระดับประถมศึกษา เด็กเรียนระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป ผูใหญวยั ทํางาน ผูสูงอายุ ฯลฯ) โดยใชสัญลักษณที่เตรียมไวแทนประชากรกลุมตางๆ o มีบานหลังไหนหรือสถานที่ใดใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ําบาง ใชสัญลักษณแทนการใช ประโยชนแตละดาน • ตั้งคําถามอื่นๆ ตามที่กําหนดไวทีละประเด็น จนไดครบตามเนื้อหาที่ตองการ • แตละกลุมนําเสนอผลงาน เพื่อใหกลุมอืน่ ๆ ตรวจสอบความถูกตอง เพิม่ เติมขอมูลที่ยังขาด • คัดลอกหรือทําแผนที่ใหถาวรขึ้นใหม โดยการรวบรวมขอมูลของทุกคุมบาน ทําใหเปนแผน ที่ภาพรวมของหมูบาน และสามารถนําแผนที่กลับไปศึกษาขอมูลเพิ่มเติม หรือตรวจสอบ ความถูกตองไดอีกหลายๆ ครั้ง

การทําแผนที่แบบมีสวนรวม หมายเหตุ • การทําแผนที่แบบมีสวนรวม เนนการเรียนรูข อมูลเชิงสังคม แผนที่ไ มจํา เปน ตองถูก ตองตาม มาตราสวน • สามารถใชการทําแผนที่แบบมีสวนรวมในการศึกษาขอมูลทางกายภาพของบริเวณพื้นที่ชุมน้ํา โดย วิธีการเดียวกัน

3-12

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


การวิเคราะหและจัดลําดับ (matrix ranking) เนื้อหา การวิเคราะหชนิดและปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติและอาหาร ประเด็นหลัก ชนิดและปริมาณของ ทรัพยากรธรรมชาติ และ อาหาร

ประเด็นยอย • ชนิดของทรัพยากรธรรมชาติและอาหารที่มีอยูในพื้นที่ชุมน้ํา (ทั้งในน้ําและ บนบก) • ปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติและอาหารที่มีอยูในพื้นที่ชุมน้ํา (ทั้งในน้ํา และบนบก)

วัสดุ • กระดาษโปสเตอรสี 1-2 แผน • ปากกาเคมีสีตางๆ 2-3 ดาม • กระดาษสติกเกอรสีตางๆ ขนาด 1.5x1.5 นิ้ว ประมาณ 200 ชิ้น ขั้นตอน • เชิญชวนใหผูเขารวมกิจกรรมชวยกันบอกชื่อทรัพยากรธรรมชาติและอาหารที่มีอยูในพื้นที่ ชุมน้ํา (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา) ที่มีอยูทั้งในน้ําและบนบก แลวชวยกันเขียนชื่อทรัพยากรธรรมชาติ และอาหารที่ชวยกันคิดไดตามลําดับกอนหลัง ลงในกระดาษโปสเตอรสี ใหครบถวนทุก รายการ หรือใหไดมากที่สุดเทาที่จะทําได โดยเขียนชื่อทรัพยากรธรรมชาติและอาหารไว ทางดานซายมือของกระดาษ เวนชองวางดานขวามือไวสําหรับการใหคะแนน • ใหผูเขารวมกิจกรรมชวยกันวิเคราะหและตัดสินใจใหคะแนน เพื่อจัดลําดับวาทรัพยากร ธรรมชาติและอาหารประเภทใดมีปริมาณมากนอยตางกันอยางไร เพราะเหตุใด โดยให คะแนนเต็ม 10 สําหรับทรัพยากรธรรมชาติหรืออาหารที่มีปริมาณมากที่สุด หากมีปริมาณ นอยก็ใสคะแนนลดหลั่นกันลงไปตั้งแต 9 ถึง 1 โดยใสคะแนนไวทางดานขวามือของทรัพยากร หรืออาหารนั้นๆ ควรใชกระดาษสติกเกอรสี (ที่ยังไมลอกกระดาษกาวออก) แทนการเขียน ดวยปากกา เพื่อใหสะดวกตอการแกไขเมื่อมีการถกเถียงแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวาง ผู เ ข าร ว มกิ จ กรรม ระวั ง อย า ให ล อกสติ ก เกอร ติ ด จนกว า การถกเถี ย งแลกเปลี่ ย นความ คิดเห็นจะยุติ • ในขณะที่ ทํ ากิ จกรรม วิ ท ยากรควรสั ง เกตและจดบั น ทึก เหตุผ ล หรือ ประเด็ น ถกเถี ย งที่ สมาชิกในกลุมกําลังอภิปราย ไมควรแสดงความคิดเห็นโตแยงหรือไมเห็นดวย แตสามารถ ตั้งคําถามปลายเปดในบางประเด็นที่สงสัย เชน ทําไมจึงคิดวาทิวทัศนเปนทรัพยากรธรรมชาติ ทําไมปลามีนอยกวาหอยเชอรี่ เปนตน • ตัวแทนผูรวมกิจกรรมนําเสนอผลการวิเคราะหตอที่ประชุมเพื่ออภิปรายซักถาม ตรวจสอบ เพิ่มเติมขอมูลที่ยังไมครบ • จดบันทึกขอมูล เก็บเอกสารขอมูลตารางจัดลําดับไวเพื่อใชเปนบันทึกชวยจํา

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-13


การทําตารางวิเคราะหและจัดลําดับ

การวิเคราะหฤดูกาล (seasonal analysis) เนื้อหา วิเคราะหการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและอาหารในรอบ 1 ป ประเด็นหลัก การใชประโยชนจากทรัพยากร ธรรมชาติจากพื้นที่ชุมน้ํา. (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา).ในรอบ 1 ป

ประเด็นยอย • ประเภทการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในรอบ 1 ป • ปริมาณการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในรอบ 1 ป

วัสดุ • ตารางวิเคราะหฤดูกาล ใชกระดาษโปสเตอรสี 2 แผนตอกัน ใหไดขนาดประมาณ 43x63 นิ้ว จัดทําตารางวิเคราะหฤดูกาล ดังภาพ

3-14

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


เดือน

เดือน

การใชประโยชน จาก..(ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา).. ตําบล

สามารถเพิ่มจํานวนวงกลมไดจนเทากับประเภทของการใชทรัพยากร โดยใหแตละวงหางกัน ประมาณ 2 นิ้ว • ปากกาเคมี 2-3 ดาม • กระดาษสติกเกอรสี ขนาดประมาณ 1×1 นิ้ว เพื่อใชติดสัญลักษณ หรือชื่อของการใชประโยชน จากพื้นที่ชุมน้ํา ชนิดละไมนอยกวา 100 ชิ้น ขั้นตอน • ผูเขารวมกิจกรรมและวิทยากรในพื้นที่หนองบงคายนั่งลอมรอบวงกลมวิเคราะหฤดูกาล สนทนาซักถามถึงการนับ หรือเรียกชื่อเดือนในรอบ 1 ป จากนั้นใหผูเขารวมกิจกรรมเขียนชื่อเดือนตางๆ ในรอบ 1 ป เรียงตามลําดับ ลงในชองวงกลมจนครบทั้ง 12 เดือน • วิทยากรตั้งคําถามใหผูเขารวมกิจกรรมชวยกันคิดวา “ในรอบ 1 ปมีการใชประโยชนอะไรจาก พื้นที่ (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา) บาง” เขียนสัญลักษณของการใชประโยชนแตละประเภทลงในกระดาษสติกเกอรสี ควรใหผูเขารวมกิจกรรมในกลุมทําสัญลักษณประเภทการใชประโยชนนั้นๆ เตรียมไวหลายๆ ชิ้น (การ เขียนสัญลักษณลงบนสติกเกอร ควรใชสติกเกอรสีเดียวกันเขียนสัญลักษณการใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา ประเภทเดียวกัน) • ติ ด สั ญ ลั ก ษณ ที่ เ ราใช แ ทนการใช ป ระโยชน แ ต ล ะอย า งไว ด า นข า งวงกลม และเขี ย น ความหมายของสัญลักษณนั้นกํากับไว

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-15


• ผูเขารวมกิจกรรมชวยกันวิเคราะหและตัดสินใจวาการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ แตละชนิด ในรอบ 1 ป ที่ชวยกันคิดในขอที่ 2 นั้น มีการใชประโยชนอะไรในเดือนไหนบาง และใน ปริมาณมากนอยเพียงใด ใชสติกเกอรสีสัญลักษณที่เตรียมไวใหคะแนน โดยใสคะแนนเต็ม 10 สําหรับ เดือนที่มีการใชทรัพยากรธรรมชาติปริมาณมากที่สุด หากเดือนไหนมีการใชในปริมาณนอย ก็ใสคะแนน ลดหลั่นกันลงไปตั้งแต 9 ถึง 1 หากเดือนไหนไมไดใชประโยชน ก็ไมตองใสคะแนน สนับสนุนใหผูเขารวม กิจกรรมชวยกันวิเคราะหเชนนี้ไปเรื่อยๆ ทีละประเภทของการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติใน พื้นที่ชุมน้ํานั้นๆ จนครอบคลุมการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภท • ในขณะที่ทํากิจกรรม วิทยากรควรสังเกตและจดบันทึกเหตุผล รวมถึงประเด็นถกเถียงที่ สมาชิกในกลุมกําลังอภิปราย ไมควรแสดงความคิดเห็นโตแยง หรือไมเห็นดวย แตสามารถตั้งคําถาม ปลายเปดในบางประเด็นที่สงสัย • ตัวแทนผูรวมกิจกรรมนําเสนอผลการวิเคราะห วิทยากรชวยตั้งประเด็นคําถามเพื่อการ เรียนรู รวมกัน ตามขอ มูลที่เกิ ดขึ้น ระหวางทํ ากิจกรรม เช น มีการหาหน อไมเพิ่ มขึ้นในระหวางเดือ น มิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคมสงผลตอความเปนอยูของชาวบานอยางไร ในเดือนที่มีปริมาณการใชน้ํามาก เกิดผลดีผลเสียอยางไร เปนตน • จดบันทึก เก็บเอกสารขอมูลตารางวิเคราะหฤดูกาลที่ไดจากกิจกรรมไวเปนบันทึกชวยจํา

หมายเหตุ สามารถใชการวิเคราะหฤดูกาล ในการศึกษาขอมูลชนิดและปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติในรอบ 1 ปได โดยใชวิธีการเดียวกัน

3-16

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


การทําแผนภูมิความสัมพันธ (Venn diagram) เนื้อหา การวิเคราะหความสัมพันธระหวางกลุมผูใชประโยชน ประเด็นหลัก กลุมผูใชประโยชนจากพื้นที่ (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา)

• • • • • •

ประเด็นยอย กลุมผูใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา) ทั้งในและนอกชุมชน ปริมาณ/จํานวนผูใชประโยชนของแตละกลุม ปริมาณ/ระยะเวลาในการใชประโยชน ประเภทของการใชประโยชน คูกรณีที่มีความขัดแยงระหวางกัน เนื้อหา/สาระของความขัดแยง

วัสดุ • กระดาษโปสเตอรสี 1 แผน • ปากกาเคมี 3 สี • กระดาษการดสี ตัดเปนรูปวงกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 8 นิ้ว 1 ชิ้น • กระดาษการดสี (ใชสีตางจากกระดาษในขอ 3) ตัดเปนรูปวงกลมขนาดลดหลั่นกันลงไป 9 ขนาด ตั้งแต 6 นิ้ว 5.5, 5, 4.5, 4, 3.5, 3, 2.5 และ 2 นิ้ว ขนาดละ 10 ชิ้น • กระดาษการดสีรูปสี่เหลี่ยมขนาด 1x5 นิ้ว 2 สี สีละประมาณ 50 ชิ้น • กาว ขั้นตอน • แจกกระดาษโปสเตอรสีและกระดาษรูปวงกลมขนาด 8 นิ้ว เขียนขอความ “กลุมผูใชประโยชน จากพื้นที่ (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา)” ลงในกระดาษสีรูปวงกลม แลวติดไวตรงกึ่งกลางของกระดาษ โปสเตอรสี • วิทยากรตั้งคําถาม “ใหชวยกันคิดวามีคนกลุมไหนทั้งในและนอกชุมชนใชประโยชนจาก พื้นที่ (ชื่อพื้นที่ชุมน้ํา) บาง” สมาชิกในกลุมชวยกันวิเคราะหเปรียบเทียบ “จํานวน” กลุม ผูใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ําดังกลาววามีจํานวนมากนอยเพียงใด กลุมไหนมีจํานวนสมาชิก มากใหเขียนชื่อกลุมลงในกระดาษรูปวงกลมขนาดใหญ กลุมไหนมีจํานวนสมาชิกนอยก็ใส ชื่อกลุมลงในกระดาษที่มีขนาดลดหลั่นกันลงไปจนครบทุกกลุม • สมาชิกในกลุมชวยกันวิเคราะหตอวาจากรายชื่อกลุมทั้งหมดที่ชวยกันคิดมานั้น กลุมไหนมี “ปริมาณ” การใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํามากนอยเพียงใด แลวนําวงกลมที่มีชื่อกลุมที่ใช ประโยชนมากที่สุดมาวางไวใกลกับวงกลมที่มีขอความ “กลุมผูใชประโยชนจากพื้นที่ (ชื่อ พื้นที่ชุมน้ํา)” กลุมไหนใชประโยชนนอยก็ใหติดหางออกไปเรื่อยๆ กลุมไหนใชประโยชน มากนอยเทาๆ กัน ก็ติดใหมีระยะหางเทาๆ กัน (ในขั้นตอนนี้วิทยากรชวยแนะนําใหการวาง ชื่อกลุมผูใชประโยชนกระจายไปทั่วทั้งกระดาษโปสเตอร เพื่อสะดวกตอการวิเคราะหและ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-17


• •

เพิ่มเติมขอมูลในประเด็นถัดไป) เมื่อสมาชิกทําการวิเคราะหเปรียบเทียบจนเปนที่พอใจแลว ใหใชกาวติดเพื่อปองกันขอมูลคลาดเคลื่อน วิทยากรตั้งประเด็นใหชวยกันคิดวาผูใชประโยชนแตละกลุม ใชประโยชนอะไรจากพื้นที่ชุมน้ํา ดังกลาว ใหเขียนประเภทการใชประโยชนของแตละกลุมลงในกระดาษรูปสี่เหลี่ยม ประเภทละ 1 แผน (โดยใชกระดาษสีเดียวกันทุกประเภท) แลวนําไปติดไวใกลๆ กับกลุมผูใชประโยชน นั้นๆ จนครบทุกกลุม สมาชิกในกลุมชวยกันวิเคราะหอยางละเอียดรอบคอบ วากลุมผูใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา กลุมใดมีความขัดแยงหรือกระทบกระทั่งอันเนื่องมาจากการใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ํา รวมกันบาง ใหใชปากกาเคมีลากเสนเชื่อมโยงกลุมที่มีความขัดแยง หรือกระทบกระทั่งกัน จนครบทุกกลุม ซึ่งผูใชประโยชนหนึ่งกลุมอาจมีความขัดแยงกับกลุมอื่นๆ หลายกลุมก็ได ดังนั้นวิทยากรควรเรียนรูรวมกับชาวบานอยางใกลชิด ไมควรโตแยงในขณะที่สมาชิกใน กลุมกําลังอภิปรายถกเถียง แตอาจตั้งคําถามในประเด็นที่สงสัย และจดบันทึกขอมูลให ครบถวน วิทยากรตั้งประเด็นใหชวยกันคิดวาคูกรณีแตละคูมีความขัดแยงกันเรื่องอะไรบาง ใหเขียน เนื้อหาความขัดแยงนั้นๆ ลงในกระดาษการดสีรูปสี่เหลี่ยม (ใชสีที่ตางจากประเด็นการใช ประโยชน) แลวนําไปติดไวระหวางเสนที่โยงความขัดแยงของแตละคูกรณี ชวยกันวิเคราะห ไปทีละคูกรณีจนครบทุกคู นําผลการวิเคราะหทั้งหมดมานําเสนอเพื่อสรุปประเด็น และเพิ่มเติมขอคิดเห็นรวมกันอีกครั้ง จดบันทึก เก็บเอกสารขอมูลแผนภูมิความสัมพันธที่ไดจากกิจกรรมไวเปนบันทึกชวยจํา

การทําแผนภูมิความสัมพันธ หมายเหตุ สามารถนําการทําแผนภูมิความสัมพันธไปใชวิเคราะหขอมูลดานอื่นๆ เชน การวิเคราะหสภาพปญหา และผลกระทบของพื้นที่ชุมน้ํา การวิเคราะหรูปแบบการอนุรักษและคุมครองทรัพยากรธรรมชาติ การวิเคราะห แนวทางการคุมครองและใชประโยชนจากพื้นที่ชุมน้ําอยางยั่งยืน

3-18

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


ขอควรทราบ ขอเดน ขอจํากัดของการนํากระบวนการ PRA ไปใชในการประเมินชุมชน ขอเดน • เปนวิธีการที่เรียบงาย เนนการใชสัญลักษณ ชวยใหมองเห็นเปนรูปธรรม • ใชไดดีกับกลุมเปาหมายที่มีการศึกษาคอนขางจํากัด • คนในชุมชนมีสวนรวมอยางเสมอภาค • ชวยใหเรียนรูขอ มูลสําคัญเกี่ยวกับชุมชนไดเร็ว ขอมูลเชื่อถือได • ขอมูลที่ได สะทอนภาพที่แทจริงของชุมชน เพราะมาจากมุมมองของคนในชุมชนเอง • สงเสริมศักยภาพของชุมชน ในการศึกษาวิเคราะหขอมูล ชี้ชัดปญหา และมองเห็นแนว ทางแกไขปญหาดวยตนเอง ขอจํากัด • ใชเวลามากกับการประสานงาน เตรียมกลุมเปาหมาย และเตรียมวัสดุในการจัดกิจกรรม • ตองคัดเลือกทีมเรียนรูใหครอบคลุม และเหมาะสมกับเนื้อหาที่ตองการศึกษา • ทีมวิทยากรกระบวนการ PRA และทีมเรียนรู ตองทําความรูจักคุนเคยกันกอนพอสมควร • ตองเตรียมและเลือกใชกิจกรรมใหเหมาะสมกับเนื้อหาที่จะศึกษา

คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการ PRA • • • • • •

ศรัทธาในแนวคิด หลักการของ PRA ผานการฝกอบรมกระบวนการ PRA มาเปนอยางดี มีความรู ความเขาใจ และทักษะในการจัดกระบวนการกลุม มีมนุษยสัมพันธที่ดี ใจกวาง รับฟง ไมชนี้ ํา กระตือรือรน มีความพรอมที่จะเรียนรูสิ่งใหมๆ ละเอียดรอบคอบ มีความสามารถในการจัดการ เชน วางแผนการจัดกิจกรรมอยางรอบคอบ จดบันทึกขอมูล อยางเปนระบบ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-19


บรรณานุกรม ดุสิต ดวงสา และคณะ. คูมือการใช PRA ในการทํางานดานเอดสในชุมชน. โครงการเอดสศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. นิคม ภูสกุลสุข และคณะ. 2546. รายงานขอมูลระดับตําบล โครงการจัดการและคุมครองพื้นที่ ชุมน้ําปากแมน้ํากระบี่ จังหวัดกระบี่. สุมาลี วรรณรัตน และคณะ. 2546. รายงานการศึกษาและสํารวจขอมูลระบบนิเวศน และการใช ทรัพยากรธรรมชาติพื้นที่หนองบงคาย โดยเนนการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น. แอนดรู คอรนิศ และคณะ. 2542. เครื่องมือการศึกษาและการเก็บขอมูลชุมชนชายฝงอยางเรงดวน. องคการพื้นที่ชุมน้ํานานาชาติประจําประเทศไทย. Chambers. Robert. 1992. Relaxed and Participatory Rural Appraisal Note on Practical Approaches and Methods : Note for Participants in the Workshop Held in Chiang Mai. Social Research Institute Chiang Mai University.

3-20

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


ภาคผนวก ตัวอยางการเขียนรายงานผลการศึกษา ตัวอยาง 1 การใชประโยชนจากพื้นที่หนองบงคายของคนในชุมชน จํานวนครัวเรือนที่ใชประโยชนจากพื้นที่หนองบงคาย การใชประโยชนจากพื้นที่หนองบงคายของชาวบาน 2 ตําบล คือ ตําบลโยนก 5 หมูบาน และ ตําบลปาสัก 7 หมูบาน รวม 12 หมูบาน มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมดและครัวเรือนที่ใชประโยชน ดังนี้ ตาราง 1 แสดงจํานวนครัวเรือนทัง้ หมด และครัวเรือนที่ใชประโยชนจากหนองบงคาย ของตําบลโยนก และ ตําบลปาสัก พื้นที่ จํานวนครัวเรือนทั้งหมด จํานวนครัวเรือนที่ใชประโยชน ตําบลโยนก 557 234 ตําบลปาสัก 1,354 284 รวมทั้งสิ้น 1,911 518 จากตารางขอมูลจํานวนครัวเรือนทั้งหมดและขอมูลครัวเรือนที่ใชประโยชนจากหนองบงคาย มี เพียง 518 ครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 27.10 เทานั้นที่ใชประโยชนจากหนองบงคาย ทั้งนี้เนื่องจาก พื้นที่รอบหนองบงคายถูกขายใหกับนายทุนตางถิ่น

ตําบลปาสัก 54.83%

ตําบลโยนก 45.17%

แผนภูมิ 1 แสดงจํานวนการใชประโยชนจากหนองบงคายของ 2 ตําบล

จากแผนภูมิการใชประโยชนจากหนองบงคาย ตําบลปาสักใชประโยชนรอยละ 54.83 ตําบล โยนกใชประโยชนรอยละ 45.17

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-21


ประเภทของการใชประโยชน ศึกษาโดยการทําแผนที่แบบมีสวนรวมกับทีมเรียนรูระดับหมูบานทุกหมูบานของ 2 ตําบล รวม 12 หมูบาน สามารถจําแนกประเภทการใชประโยชนจากพื้นที่หนองบงคายได 6 ลักษณะคือ • การใชน้ําทํานา • การใชพื้นที่ทําไร ทําสวน • ใชเปนพื้นที่เลีย้ งสัตว เชน วัว ควาย • การใชน้ําเลี้ยงปลาในบอดิน • หาของปา เชน หนอไม ไมไผ ผัก เห็ด • หาปลา สัตวน้ํา สาหรายน้ําจืด ตาราง 2 แสดงการใชประโยชนของชาวบาน 12 หมูบาน ในเขตพื้นที่หนองบงคาย (นับจํานวนตาม ครัวเรือนที่ใชประโยชน) การใชประโยชน (ครัวเรือน) ชื่อหมูบาน ใชน้ํา ทําไร ใชน้ํา หาของ ทํานา ทําสวน เลี้ยงสัตว เลี้ยงปลา ปา บานกูเตา 0 0 11 0 0 บานสันตนเปา 13 1 0 0 1 บานรองบง 77 7 0 0 4 บานโคงงาม 50 0 19 0 1 บานดอยงาม 11 0 7 0 0 บานปาสักนอย 0 0 2 0 0 บานดอยจําป 0 0 0 0 0 บานดอยศรีแกว 0 0 0 0 19 บานปางหมอปวง 0 0 0 0 0 บานดอยคํา 10 50 0 8 87 บานปาแดด 7 1 0 0 1 บานหนองบัวสด 2 0 13 0 0 รวม 170 59 52 8 113 หมายเหตุ นับซ้ําครัวเรือนที่มีการใชประโยชนหลายอยาง

3-22

หาปลา สัตวน้ํา 9 8 13 2 0 5 41 4 3 13 7 11 116

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


22.39%

ใชน้ําทํานา ทําไรทาํ สวน

21.81%

เลีย้ งสัตว

32.82% 1.54% 10.04%

ใชน้ําเลีย้ งปลา หาของปา

11.39%

หาปลา สัตวน้ํา

แผนภูมิ 2 แสดงอัตราสวนการใชประโยชนจากหนองบงคายของชาวบาน 12 หมูบาน

ประเภทของการใชประโยชนจากหนองบงคายมากที่สุดของชาวบานทัง้ 12 หมูบาน คือ การใชน้ํา จากหนองบงคายทํานา มีมากถึง 170 ครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 32.82 รองลงมาคือหาปลาหรือสัตวน้ํา 116 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 22.39 หาของปา 113 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 21.81 ใชพื้นที่ทําไรทําสวน 59 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 11.39 ใชพื้นทีเ่ ลี้ยงสัตว 52 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 10.04 และขุดบอเลี้ยง ปลาโดยใชน้ําจากหนองบงคาย 8 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 1.54 ตามลําดับ

ตัวอยาง 2 ขอเสนอแนะ การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม (PRA) กับทีมเรียนรูของ ชุมชนในเขตพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย ทีมศึกษาขอมูลมีขอเสนอแนะเพื่อการดําเนินงานตอเนื่องดังนี้ • วิธีการศึกษาขอมูลในระยะเวลาที่ผานมาเปนการสรางพื้นฐานการเรียนรูรวมกันของคนใน ชุมชน ในประเด็นตางๆ ไดแก การเรียนรูขอมูลพื้นฐานของชุมชน การเรียนรูเรื่องการมีอยู ของทรัพยากร การพึ่งพาและการใชประโยชนจากทรัพยากรในพื้นที่หนองบงคาย สถานการณ ปญหา ความขัดแยง ความรุนแรงของปญหาที่เกิดขึ้นระหวางกลุมผูใชประโยชนจากพื้นที่ ชุมน้ําหนองบงคาย ตลอดจนขอเสนอแนวทางปองกันและแกไขปญหา การหาทางออกใน การใชทรัพยากรรวมกันในอนาคตอยางยั่งยืนของคนในชุมชน ดังนั้นการสนับสนุนกิจกรรม การพัฒนาตอเนื่องในอนาคต จึงควรใชกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมของคนในพื้นที่ ควบคูไปกับงานพัฒนาเพื่อสรางสํานึกรวมในการใชทรัพยากรอยางยั่งยืนตอไป • การระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อการจัดการและใชประโยชนอยางชาญฉลาด จากการศึกษา พบวา พื้นที่หนองบงคาย นอกจากจะมีทรัพยากรธรรมชาติอยูเปนจํานวนมากแลว ยังพบวา คนในชุมชนที่ใชประโยชนจากพื้นที่หนองบงคายนั้นมีทรัพยากรบุคคล มีวิธีการทํางานที่มี

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม

3-23


คุณคาตอการจัดการอนุรักษทรัพยากร เชน บุคลากรในองคการบริหารสวนตําบล กลุม เหมืองฝายโยนก พิธีกรรม “ฮองขวัญนก” ฯลฯ บุคลากรและพิธีกรรมเหลานี้สามารถสราง สํานึกของการมีสวนรวมของคนในชุมชนไดเปนอยางดี ควรมีการสนับสนุนกิจกรรมอยาง ตอเนื่อง • การจัดกระบวนการเรียนรูสําหรับคนในทองถิ่น การจัดการศึกษาสําหรับเยาวชนคนรุนใหม ควรเนนการสรางสํานึกรวมของเยาวชนในการอนุรักษมรดกของทองถิ่น ผานหลักสูตรที่ สรางขึ้นภายใตการมีสวนรวมของชุมชน สําหรับชาวบานทั่วไปและผูนําชุมชน จําเปนตอง ไดรับรูขาวสารขอมูลรวมกันอยางตอเนื่อง รวมทั้งการเพิ่มขอมูลใหมๆ เพื่อใหพรอมรับมือ กับสถานการณ หรือการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เชน นโยบายการพัฒนาของ รัฐบาลที่มีผลกระทบกับวิถีชีวิตของประชากรในพื้นที่ การพัฒนาตามโครงการสี่เหลี่ยม เศรษฐกิจ ฯลฯ • ประเด็นขอขัดแยงหรือปญหาเกี่ยวกับการใชประโยชนในพื้นที่หนองบงคาย เปนประเด็นที่ ซับซอนและเชื่อมโยงกับผูมีสวนไดเสีย หรือปญหาอื่นๆ เชน ความตองการในการยกคัน ฝายกั้นน้ําใหสูงขึ้นของกลุมเหมืองฝายโยนก จะสงผลกระทบทําใหเกิดน้ําทวมพื้นที่ของบาง หมูบานในตําบลปาสัก และสํานักงานเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย ในขณะเดียวกัน หาก ไมสามารถยกคันกั้นน้ําใหสูงขึ้น ชาวนาในตําบลโยนกก็ไมสามารถทํานาได ตองเปลี่ยนไป ประกอบอาชีพอื่น และขายที่นาใหนายทุนตางถิ่น อาจกอใหเกิดผลกระทบอื่นๆ ตามมา ดังนั้นกระบวนการสรางความเขาใจ การวิเคราะหและเชื่อมโยงปญหาตางๆ รวมกับชุมชน จึงเปนสิ่งที่ควรทําอยางสม่ําเสมอ • การจัดเวทีเรียนรูของชุมชน มีหลายประเด็นที่คนในชุมชนไมทราบขอมูลชัดเจน และไม สามารถหาขอสรุปหรือทางออกในการจัดการกับปญหาโดยลําพัง เพราะปญหาบางอยาง เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่หนวยงานภาคราชการหลายหนวยงาน ดังนั้นการจัดเวทีเรียนรู ทั้งระดับหมูบาน ระดับตําบล หรือเวทีเรียนรูรวมของทุกตําบลในเขตพื้นที่ชุมน้ํา ควรมี ตัวแทนของภาคราชการและองคกรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวของเขารวม เพื่อรับฟงขอสรุปและ ตอบคําถามบางประการที่มีขึ้นในเวทีพูดคุย

3-24

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 3 คูมอื การประเมินชุมชนโดยกระบวนการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.