4_1

Page 1

ฉบับที่ 4

คูมือการประเมินทางเศรษฐศาสตร ของพื้นที่ชุมน้ํา โดย

เพ็ญพร เจนการกิจ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-1


4-2

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


คูมือการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร ของพืน้ ที่ชุมน้าํ

การประเมิ น มู ล ค า ทางเศรษฐศาสตร ข องพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า เป น ข อ มู ล ประกอบการตั ด สิ น ใจในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุมน้ํา เมื่อมี การใช ป ระโยชน ห รื อ มี แ รงกดดั น ทางเศรษฐกิ จ ในด า น ตางๆ เกิดขึ้น โดยอาศัยการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชน เพื่อตัดสินใจวาจะอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําอยางไรในระดับใด โดยเปรียบเทียบระหวางมูลคาทางเศรษฐศาสตรที่ไดจาก การใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําในรูปสินคาและบริการเมื่อมี การอนุรักษ และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ไดจากการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่ชุมน้ําเพื่อนําพื้นที่ไปใชประโยชนในรูปอื่น

ทําไมตองประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ํา ปญหาการสูญเสียพื้นที่ชุมน้ําในประเทศไทย ก็เชนเดียวกับปญหาที่เกิดขึ้นทั่วโลก จากในอดีตที่ พื้นที่ชุมน้ําถูกมองวาเปนพื้นที่ไรคา ไมมีประโยชน เปนเพียงที่น้ําขัง แหลงวัชพืชหรือแหลงเพาะพันธุยุง แมการตระหนักในคุณคาของพื้นที่ชุมน้ําจะมีเพิ่มขึ้นหลังจากการมีอนุสัญญาแรมซาร แตการเปลี่ยนแปลง สภาพพื้นที่ชุมน้ําเพื่อนําไปทํากิจกรรมตางๆ ก็ยังเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ทําใหทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย สูญเสียระบบนิเวศในลักษณะนี้เปนอันมาก ทั้งนี้เพราะมูลคาทางเศรษฐกิจของการนําพื้นที่ไปใชประโยชน ในรูปแบบอื่นๆ สามารถเห็นไดอยางชัดเจนและเปนรูปธรรมมากกวา

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-3


ตัวอยางที่แสดงใหเห็นความสําคัญของการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรเพื่อใชในการจัดการ พื้นที่ชุมน้ํา การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลนเพื่อเลี้ยงกุงกุลาดํา ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการเลี้ยงกุงกุลาดํา ที่เกิดกับผูประกอบการสามารถเห็นเปนตัวเงิน แตอาจเกิดขึ้นไดเพียง 5-10 ป ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของพื้นที่ปาชายเลนหากไมมีการเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทํานากุงจะเกิดกับ ชุมชนตลอดไป โดยสวนที่สามารถเห็นเปนรูปธรรม ไดแก ผลประโยชนหรือมูลคาจากการใชโดยตรงที่เกิดกับ ชุมชน เชนผลผลิตในรูปไมฟน และผลิตภัณฑอื่นๆ จากปา ตลอดจนผลผลิตสัตวน้ําที่ชุมชนสามารถเก็บหาได ตลอดทั้งป หรือคุณประโยชนโดยตรงที่เกิดกับชุมชนและบุคคลภายนอก จากการเปนแหลงทองเที่ยวธรรมชาติ และแหลงศึกษาวิจัย ขณะที่ยังมีมูลคาจากการใชโดยออมที่เกิดกับชุมชนและสังคมโดยรวม จากการเปนแหลง ดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด การเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําวัยออนกอนที่จะเติบโตและหากินในทองทะเล สรางรายไดแกชาวประมงพื้นบาน การเปนแหลงกรองของเสีย ตลอดจนการเปนแหลงกําบังคลื่นลม ปองกันการ กัดเซาะชายฝง เปนตน ซึ่งสิ่งเหลานี้ไมสามารถเห็นเปนตัวเงินอยางเปนรูปธรรมไดหากไมมีการประเมินมูลคา

การใชประโยชนของคําถามในเชิงนโยบาย การประเมินมูลคา ความรูในการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรจะชวยใหผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา สามารถนําผลการศึกษาไปใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจเพื่อการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ใน 3 ประเด็นหลัก ดังตอไปนี้ • การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ํา ทําใหทราบถึงความสําคัญที่มีตอชุมชน และสังคมสวนรวมในดานตางๆ เพื่อนําไปใชเปนขอมูลในการสรางจิตสํานึกถึงคุณคาของทรัพยากรที่ควร อนุรักษไว ตัวอยางเชน การวิเคราะหเพื่อตองการทราบวาพื้นที่ชุมน้ําใหประโยชนเชิงนันทนาการคิดเปน มูลคาเทาไร มีผลประโยชนตกแกใครบาง หรือตองการทราบวาชุมชนที่อาศัยโดยรอบพื้นที่ชุมน้ําไดรับ ประโยชนจากการเปนแหลงน้ําดื่มน้ําใชและการประมงเปนมูลคาเทาไร เปนตน • การประเมินมูลคาผลกระทบ เมื่อพื้นที่ชุมน้ําไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการหรือ กิจกรรมที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของทรัพยากร หากเปนการเปลี่ยนแปลงในทางลบตอ ทรัพยากร การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรก็เพื่อเปนการประเมินตนทุนผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของ ทรัพยากร ซึ่งเปนสวนหนึ่งของตนทุนที่เกิดจากการดําเนินโครงการนั้นๆ • การประเมินมูลคาทรัพยากรสวนที่จะมีการเปลี่ยนแปลง สําหรับใชเปรียบเทียบทางเลือกใน การใชประโยชนของพื้นที่ชุมน้ําในรูปแบบตางๆ แทนที่จะอนุรักษไว เปนการวิเคราะหก็เพื่อเปรียบเทียบ ผลประโยชนสุทธิที่เกิดขึ้นจากการใชทรัพยากรที่มีอยูในแตละทางเลือก ตัวอยางเชน การผันน้ําจาก ทะเลสาบเชียงแสนเพื่อใชในการเกษตรและครัวเรือน การพัฒนาพื้นที่ชุมน้ําใหเปนแหลงทองเที่ยว หรือ การนําปาชายเลนมาพัฒนาเปนบอเลี้ยงกุง

การประเมินมูลคา ทั้งนี้ผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา อาจกําหนดวัตถุประสงคที่เปนรูปธรรมเพื่อเชื่อมโยง ไปสูแนวคําถามเชิงนโยบายตางๆ ดังตอไปนี้

4-4

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


• ตองการทราบผลประโยชนสุทธิที่เกิดจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุมน้ํา โดยคําถามเชิงนโยบายเชน มูลคาของพื้นที่ชุมน้ําที่เกิดขึ้นเปนเทาไร ซึ่งสามารถกําหนดเปนแนวคําถาม ในหลายระดับ เชน ระดับพื้นที่/ชุมชน ระดับภาคหรือระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อใหเห็นความสําคัญของทรัพยากร ในระดับตางๆ กัน เชนมูลคาทางเศรษฐศาสตรโดยรวมของอุทยานแหงชาติเขาใหญ มูลคาเชิงนันทนาการ ของเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย หรือมูลคาทางเศรษฐศาสตรจากการเปนแหลงน้ํา เพื่อการเกษตร หรือจากการเปนแหลงเติมน้ําใตดินของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค เปนตน • ตองการทราบผลประโยชนสุทธิที่เกิดจากการลงทุนในโครงการที่เกี่ยวของหรือมีผลกระทบ ตอทรัพยากรของพื้นที่ชุมน้ํา โดยคําถามเชิงนโยบายที่เกิดขึ้นก็คือ เมื่อมีโครงการอนุรักษสิ่งแวดลอม ผลประโยชนที่เกิดขึ้นจะคุมคาหรือไม ซึ่งตางจากกรณีแรกที่พิจารณามูลคาโดยรวมของพื้นที่ชุมน้ํา ใน กรณีนี้ เปนการประเมิน มูลค าการเปลี่ยนแปลงของทรัพ ยากรบางส วน อั นเนื่ องมาจากกิ จกรรมหรื อ โครงการตางๆ ตัวอยางเชน ตองการทราบความคุมคาของจัดตั้งโครงการจัดหาที่อยูอาศัยใหสัตวปา หรือ โครงการสรางเขื่อนที่จําเปนตองสละผืนปาบางสวนออกไป เปนตน • ตองการทราบการกระจายผลประโยชนและตนทุนที่เกิดจากทรัพยากรของพื้นที่ชุมน้ํา โดย แนวคําถามเชิงนโยบายที่เกี่ยวของเชน กลุมใดเปนผูไดและเปนผูเสียประโยชนจากโครงการอนุรักษ ทรัพยากรและสาเหตุที่เกิดขึ้น กลุมใดที่อนุรักษทรัพยากร หรือกลุมใดที่ทําใหทรัพยากรเสื่อมโทรม คํ า ตอบต อ คํ า ถามเหล า นี้ เ ป น สิ่ ง จํ า เป น สํ า หรั บ การจั ด การพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า ที่ จ ะต อ งสร า งแรงจู ง ใจที่ มี ประสิทธิภาพ เพื่อกอใหเกิดการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวคิดโดยทั่วไปก็คือจําเปนตองใหความสนใจตอชุมชนในพื้นที่ กลุมผูดอยโอกาส หรือกลุมคน พื้นเมืองกอน เพื่อมนุษยธรรมและความเปนธรรมของสังคม และเพื่อสรางการมีสวนรวมในระดับราก หญา ตัวอยางเชน การกระจายผลประโยชนเชิงนันทนาการของเขตหามลาสัตวปาหนองบงคายที่มีตอ ชุมชน กลุมผูทําธุรกิจดานนันทนาการและนักทองเที่ยว หากทราบวาไมมีผลประโยชนตกแกชุมชนเลย ก็ พอจะทราบไดวาเปนการยากที่จะใหชุมชนรวมกันอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําเพื่อเปนแหลงนันทนาการ • ตองการพิจารณาแหลงทุนเพื่อการอนุรักษ ถึงแมวาความสําคัญของการอนุรักษเพื่อให ทรั พ ยากรคงสภาพการให บ ริ ก ารทางธรรมชาติ จ ะเป น ที่ ต ระหนั ก กั น ดี ใ นสั ง คม แต สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ และ จําเปนตองตระหนักเชนกันคือ ในการอนุรักษยอมตองอาศัยการสรางกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ ซึ่งมี ตนทุนเกี่ยวข องเสมอ และผลของการอนุรักษยอ มมีทั้งผูไดรับประโยชน ผูไดรับผลกระทบหรือเสี ย ประโยชน แตเนื่องจากโครงการหรือกิจกรรมการอนุรักษจําเปนตองมีการลงทุน การพึ่งพารายไดจาก ภาครัฐหรือแหลงทุนภายนอกเพื่อการอนุรักษเพียงอยางเดียวอาจไมเพียงพอ ดังนั้นการประเมินมูลคา ทางเศรษฐศาสตรจะทําใหทราบวาผลประโยชนจากการอนุรักษเปนมูลคาเทาไรและกระจายไปสูกลุมใด อยางไร โดยสามารถใชหลักผูไดรับประโยชนเปนผูจาย เพื่อพิจารณาสรางกลไกในการจัดหาแหลงทุน เพื่อการอนุรักษจากผูที่ไดรับประโยชนโดยตรง หรือสรางกลไกในการชดเชยสําหรับผูดําเนินกิจกรรมการ อนุรักษ และผูที่ไดรับผลกระทบจากโครงการอนุรักษ เปนตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-5


ความรูเบื้องตนเพื่อการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร คุณลักษณะ บทบาทหนาที่ และมูลคาทางเศรษฐศาสตร ในการประเมิ น มู ล ค า ทางเศรษฐศาสตร นั้ น จํ า เป น จะต อ งมี ค วามรู ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ โครงสรางและองคประกอบของระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ําและพื้นที่ใกลเคียง รวมทั้งรูปแบบการใชประโยชน ทรัพยากรของประชาชน และจําเปนตองมีการบูรณาการความรูระหวางนักเศรษฐศาสตรกับนักนิเวศ อยางใกลชิด พื้นที่ ชุม น้ําในแตละแห งจะมี ความแตกตางกัน ในรายละเอี ยด ไม วาจะเปน ดานคุณ ลัก ษณะ บทบาทหนาที่ ตลอดจนการใชประโยชนที่เกิดขึ้นของชุมชน หรือบุคคลภายนอก ในดานการเปนสินคา และบริการซึ่งอยูในรูปผลผลิตและการใหบริการทางธรรมชาติที่มีตอสังคม คุณสมบัติเหลานี้เองที่ทําให มูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ําแตละแหงแตกตางกันไป

คุณลักษณะดานตางๆ ของทรัพยากร & สิ่งแวดลอม เชิงนิเวศ นิเวศวิทยา

เชิงกฎหมายและสถาบัน

บทบาทและการทําหนาที่ดานตางๆ ของทรัพยากร & สิ่งแวดลอม - การใหผลผลิต - การกํากับควบคุมฯ

นิเวศเศรษฐ ศาสตร

เศรษฐศาสตร

- การใหขอมูลขาวสาร - การใหอยูใหอาศัยฯ

การใชประโยชนทรัพยากร & สิ่งแวดลอมของสังคม ในรูปปจจัยการผลิตและผลผลิต

ในรูปการใหบริการทางธรรมชาติ

มูลคาของทรัพยากร & สิ่งแวดลอม จากการใชโดยตรง

จากการใชโดยออม

จากการไมไดใช

เผื่อจะใช มูลคาทางเศรษฐศาสตรโดยรวมของทรัพยากรฯ

ภาพ 1 ความเชื่อมโยงระหวางนิเวศวิทยาและเศรษฐศาสตร ในการประเมินมูลคาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

4-6

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


คุณลักษณะ ประกอบดวย รายละเอียดของลักษณะดานชีวภาพ กายภาพ และเคมีของพื้นที่ ชุ ม น้ํ า ไม ว า จะเป น สถานที่ ตั้ ง ความลาดเท ปริ ม าณและคุ ณ ภาพน้ํ า ชนิ ด /ปริ ม าณ/คุ ณ ภาพของ ทรัพยากร ธรรมชาติประเภทตางๆ ของพื้นที่ชุมน้ํา เชนพืช สัตว น้ํา ที่ดิน ธาตุอาหาร ตลอดจนสถานภาพ ของทรัพยากรในเชิงกฎหมายและสถาบัน รวมทั้งนโยบาย มาตรการ และแผนงานที่เกี่ยวของ ตลอดจน สภาพปญหาที่เกิดขึ้น เปนตน บทบาทหนาที่ พิจารณาวาพื้นที่ชุมน้ํามีบทบาทหนาที่เกิดขึ้นอยางไร (รายละเอียดในสวนตอไป) ไมวาจะเปนการเปนแหลงที่อยูและอาหารแกสิ่งมีชีวิตอื่นๆ การเปนแหลงเติมน้ําใตดินใหแกชุมชน หรือ สําหรับพื้นที่ชุมน้ําชายฝงดังเชนปาชายเลน จะมีบทบาทในการชวยลดการกัดเซาะชายฝง ชวยกรองของ เสีย ชวยลดความเสี่ยงภัยจากพายุ เปนตน การใชประโยชน ผลผลิตซึ่งเกิดจากการทําหนาที่ของทรัพยากรสามารถแบงไดเปนผลผลิตในรูป สินคาและบริการ สําหรับสินคานั้น สังคมสามารถใชประโยชนไดโดยตรงไมวาจะเปนการใชน้ําโดยตรง ตลอดจนการใชน้ําเปนปจจัยเพื่อการผลิตทางการเกษตร หรือการใชประโยชนจากผลผลิตประมงหรือพืช น้ํ า ต า งๆ หรื อ แม แ ต ผ ลผลิ ต ไม แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากป า ชายเลน ในขณะที่ บ ริ ก ารทางธรรมชาติ ข อง ทรัพยากรเปนประโยชนโดยออมที่ชุมชนหรือสังคมไดจากการทําหนาที่เชิงนิเวศของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมนั้นๆ เชน พื้นที่ชุมน้ําที่เปนทะเลสาบ ไดแกการทําหนาที่เปนแหลงเติมน้ําใตดิน แหลง สรางความชุมชื้นโดยรอบบริเวณ พื้นที่ชุมน้ําประเภทชายฝงทะเล ปาชายเลน หาดเลน ตลอดจนแหลง หญาทะเล ไดแกการทําหนาที่เปนแหลงเพาะพันธุและอนุบาลสัตวน้ําวัยออน เปนตน มูลคาของทรัพยากร การไดรับประโยชนจากผลผลิตของพื้นที่ชุมน้ํากอใหเกิดมูลคาจากการใช โดยตรง สวนการไดรับประโยชนที่เกิดจากการใหบริการทางธรรมชาติ เชนบริการดานการกํากับควบคุม หรือบริการดานการเปนแหลงที่อยูอาศัย กอใหเกิดมูลคาจากการใชโดยออม และสวนหนึ่งเปนมูลคาจาก การไมไดใช (อานรายละเอียดเรื่องมูลคาในหัวขอถัดไป)

บทบาทหนาที่เชิงนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา บทบาทและหนาที่เชิงนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํานั้นมีมากมาย ไมวาจะเปนดานสังคม วัฒนธรรม และ ประวัติศาสตร แตบางครั้งคุณคาของพื้นที่ชุมน้ําในหลายแหงไมเปนที่ประจักษในรูปตัวเงิน จึงมีการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อทําประโยชนในรูปอื่นๆ เชน ถมดินเพื่อสรางสนามบิน สรางที่อยูอาศัย หรือทํานา กุง เปนตน หลังการเปลี่ยนแปลงพื้นที่จึงพบวาเกิดปญหาในระยะยาวตามมา เชน เกิดอุทกภัยบอยขึ้น มี การสูญเสียที่อยูอาศัยของสัตวตางๆ หรือสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เปนตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-7


ตาราง 1 บทบาทหนาที่และการใหบริการดานตางๆ ของพื้นที่ชุมน้ํา บริการดานการใหผลผลิต พื้นที่ชุมน้ําใหผลผลิตตาม ธรรมชาติแกสังคม เชน ทรัพยากร ประมง น้ํา และปาไม เปนตน สามารถใชประโยชนโดยตรงหรือ เพื่อบริโภค และใชเปนปจจัยการ ผลิตเพื่อสรางผลผลิตสูตลาด

บริการดานการควบคุม บริการดานสังคมและวัฒนธรรม พื้นที่ชุมน้ําทําหนาที่กํากับควบคุม พื้นที่ชุมน้ําทําหนาที่ใหขอมูล กระบวนการทางธรรมชาติ ตาม ขาวสารแกสังคมจากการเปนแหลง ความสามารถทางธรรมชาติ เชน วัฒนธรรม ประเพณี ประวัติศาสตร ปาไมควบคุมการชะลางพังทลาย การใหประโยชนเชิงนันทนาการ ของดิน ลดความเสี่ยงดานอุทกภัย และการศึกษาวิจัยเปนตน และภัยแลง พื้นที่ชุมน้ําชวยควบคุม ปริมาณน้ําใตดิน ปาชายเลน ควบคุมการกัดเซาะของชายฝง ชวยกรองของเสียและลดการรุกล้ํา ของน้ําเค็ม บริการดานค้ําจุน พื้นที่ชุมน้ําทําหนาที่ใหที่อยูใหอาศัย แกสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เปนบริการที่มีความตอเนื่องไปยัง การทําหนาที่ดานอื่นๆ ของระบบนิเวศ ทําใหมนุษยไดอยูไดอาศัย และรับประโยชนดานตางๆ บริการดานนี้เชน การหมุนเวียนของธาตุอาหารในดิน กําเนิดของดิน การที่ปาไมเปนแหลงอาหารและที่อยูของสัตวปาชนิดตางๆ หรือปาชายเลนเปนแหลงที่อยูและแหลงเพาะพันธุของสัตวน้ําวัยออน ที่มา ดัดแปลงจาก Millennium Ecosystem Assessment (2003)

การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ดังกลาวเกิดขึ้นพรอมๆ กับบทบาทหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําที่สูญสิ้นไป ไม สามารถหวนกลับคืนเปนดังเดิมได ความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่เชิงนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา เปน จุ ด เริ่ ม ต น สํ า คั ญ ที่ นั ก เศรษฐศาสตร จ ะสามารถเชื่ อ มโยงกั บ แนวคิ ด ด า นการประเมิ น มู ล ค า ทาง เศรษฐศาสตร และสามารถจําแนกมูลคาของพื้นที่ชุมน้ําไดอยางถูกตอง

มูลคาทางเศรษฐศาสตรของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มู ล ค า ทางเศรษฐศาสตร โ ดยรวมของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มนั้ น ประเมิ น จาก คุณประโยชนที่มีตอสังคม ไมไดเกิดกับเฉพาะชุมชนที่อยูโดยรอบบริเวณพื้นที่ชุมน้ําเทานั้น แตรวมถึงผูท ี่ ไดรับประโยชนทุกภาคสวนของสังคม ซึ่งไดรับประโยชนทั้งโดยตรงและโดยออม ทั้งในสวนที่เกิดจาก การทําหนาที่ตามธรรมชาติของทรัพยากรและการคงอยูของทรัพยากร มู ลค าทางเศรษฐศาสตร โดยรวมของทรั พยากรเมื่ อพิ จารณาร วมกั บบทบาทหน าที่ เชิ งนิ เวศ ประกอบดวย • มูลคาจากการใช ซึ่งไดแกมูลคาจากการใชโดยตรง เกิดจากการทําหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําใน ดานการใหผลผลิตและใหขอมูลขาวสาร ทําใหเกิดคุณคาเชิงสังคมวัฒนธรรมและเปนความรู และมูลคาจากการใชโดยออม เกิดจากการทําหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําในการกํากับควบคุมให เกิดกระบวนการทางธรรมชาติ เพื่อสรางบริการทางธรรมชาติแกมนุษย • มู ล ค า เผื่ อ จะใช เกิ ด จากการที่ สั ง คมยั ง ไม ไ ด คิ ด จะใช ท รั พ ยากรในป จ จุ บั น แต ไ ด เ ป ด ทางเลือกในการใชไวสําหรับตนเอง หรือสําหรับลูกหลาน และ

4-8

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


• มูลคาจากการไมไดใช เกิดจากการทําหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําในดานการค้ําจุนสรรพสิ่งตางๆ ในด า นการแหล ง อาหารและที่ อ ยู มี ผ ลให ท รั พ ยากรที่ เ ป น องค ป ระกอบในพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า สามารถทําหนาที่ในอีก 2 ดานไดตอไป มูลคาที่สังคมไดรับนี้ก็คือมูลคาจากการคงอยู ของ พื้นที่ชุมน้ํานั่นเอง ตาราง 2 มูลคาทางเศรษฐศาสตรโดยรวมของพื้นทีช่ ุมน้ํา มูลคาจากการใชโดยตรง ผลผลิตจากธรรมชาติ เพื่อการผลิตและบริโภค อันไดแก ดิน พืช สัตว น้ํา การนันทนาการ แหลง เรียนรูทางวัฒนธรรม และ การศึกษาวิจัย

มูลคาจากการใช มูลคาจากการใชโดยออม เปนประโยชนที่เกิดจากการ ทําหนาที่ใหบริการเชิงนิเวศ ของพื้นที่ชุมน้ํา แหลงกรองน้ําเสีย แหลงกําบังลมพายุ แหลงปองกันการกัดเซาะ ชายฝงของปาชายเลน แหลงดูดซับกาซ คารบอนไดออกไซดของ ทรัพยากรปาไม แหลงระบายน้ํา บรรเทา การเกิดน้ําทวม แหลงเติมน้ําใตดิน

มูลคาเผื่อจะใช เปนมูลคาที่เกิดจากการที่แม จะยังมิไดใชประโยชนพื้นที่ชุม น้ําในปจจุบัน แตคาดวาจะได ใชประโยชนหรืออาจเก็บไว เพื่อการคงอยูห รือเพื่อ ลูกหลานในอนาคต ซึ่ง ประโยชนที่จะเกิดขึ้นเปนได ทั้งประโยชนโดยตรงและ/หรือ โดยออม รวมทั้งประโยชนที่ เกิดจากการคงอยูข อง ทรัพยากร

มูลคาจากการไมไดใช มูลคาของการคงอยู มูลคาที่สังคมใหกับพื้นที่ชุม น้ําโดยตองการใหระบบนิเวศ ดํารงอยูตลอดไป ไมยอมใช ประโยชนไมวาในเวลาใดๆ เพราะเห็นความสําคัญของ การทําหนาที่ตามธรรมชาติ จากการคงไวมิใหสูญหายไป ถือเปนมูลคาทางดานจิตใจที่ เกิดขึ้นกับสังคม

ความรูเบื้องตนทางเศรษฐศาสตร ความหมายของมูลคา คําวา “มูลคา” มีความหมายที่หลากหลาย เริ่มตั้งแตความหมายกวางๆ ที่วา เมื่อสิ่งนั้นมีมูลคา ก็ แสดงวาสิ่งนั้นมีความสําคัญตอผูใหหรือกําหนดมูลคา คําวา “มูลคา” จึงรวมไปถึงความสําคัญที่มีตอจิตใจ เชิงคุณคา และความสําคัญที่สามารถวัดไดในรูปธรรม บงบอกผานความยินดีที่จะจายเพื่อครอบครองสิ่งนั้น หรือผานกลไกตลาดที่ชี้ใหเห็นดวยราคาซื้อขาย เปนตน มูลคาในการใชประโยชนและมูลคาในการแลกเปลี่ยน มูลคาในการใชประโยชนเปนมูลคาที่ให หรือประมาณการโดยผูบริโภคหรือผูใชประโยชน ซึ่งอยูในรูปความยินดีจาย สวนมูลคาในการแลกเปลี่ยน คือมูลคาหรือราคาตลาด ซึ่งเกิดจากการซื้อขาย มูลคาทั้งสองมีความแตกตางกันทั้งแนวคิดและการใช ประโยชนเชิงนโยบาย โดยเฉพาะมูลคาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวอยางเชน มูลคาในการ แลกเปลี่ยน (ราคา) ของกิจกรรมทองเที่ยวเชิงนิเวศก็คือคาใชจายตอครั้งที่เกิดขึ้น ในขณะที่มูลคาในการ ใชประโยชน (มูลคาเชิงนันทนาการ) ของกิจกรรมทองเที่ยวนั้นๆ เปนความยินดีจายของนักทองเที่ยวใน แตละครั้ง ซึ่งสะทอนมากกวาเพียงคาใชจายที่เกิดขึ้น ดังนั้นมูลคาในสวนแรกจึงอาจต่ํากวามูลคาประเภท หลังอยางมาก อยางไรก็ตามมูลคาของทรัพยากรธรรมชาติเปนการพิจารณาหรือสะทอนคุณประโยชน ของทรัพยากรนั้นๆ ในรูปตัวเงิน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-9


มูลคาทางเศรษฐศาสตรและมูลคาทางนิเวศ มูลคาทางเศรษฐศาสตรเปนมูลคาที่พิจารณาจาก บุ ค คลเป น ศู น ย ก ลาง เพราะมนุ ษ ย เ ป น ผู ใ ห มู ล ค า ซึ่ ง แต ล ะบุ ค คลก็ จ ะให มู ล ค า แตกต า งกั น ไปตาม คุณประโยชนที่ไดรับ ดวยเหตุนี้การประเมินมูลคาจึงจําเปนตองพิจารณาจากบุคคลที่เกี่ยวของโดยตรง กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แตสําหรับมูลคาทางนิเวศ เปนมูลคาที่พิจารณาจากความสําคัญ และความสมบูรณในเชิงนิเวศ ซึ่งตางไปจากมูลคาทางเศรษฐศาสตร มูลคารวมและมูลคาสุทธิ ในการประเมินมูลคาหรือผลประโยชนทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุม น้ําที่เกิดขึ้น จะพิจารณาในรูปมูลคาสุทธิ หรือประโยชนสุทธิที่เกิดจากทรัพยากรเสมอ เพื่อใหเขาใจงายๆ ก็คือพิจารณาโดยหักตนทุนหรือคาใชจายในการใชประโยชนออกจากมูลคาหรือผลประโยชนโดยรวม โดยตนทุนที่หักนั้นเปน “ตนทุนผันแปร” ซึ่งหมายถึงตนทุนของปจจัยการผลิตตางๆที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ตามการใชประโยชนทรัพยากร หรือปริมาณผลผลิตที่ไดจากพื้นที่ชุมน้ํา ซึ่งเมื่อไมมีการผลิตก็จะไมมี ตนทุนสวนนี้เกิดขึ้น (เชน คาขุดบอปลาไมถือวาเปนตนทุนผันแปร แตเปนตนทุนคงที่ เปนตน) ผลประโยชน ส ว นเพิ่ ม และผลประโยชน เ ฉลี่ ย การใช ป ระโยชน เ ชิ ง นโยบายของมู ล ค า ทาง เศรษฐศาสตร ข องทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม บางครั้ ง พิ จ ารณาในรู ป บาทต อ หน ว ยของ ทรัพยากร สามารถวิเคราะหไดทั้งในรูปผลประโยชนสวนเพิ่มที่เกิดขึ้น ซึ่งจะสะทอนถึงมูลคาสวนเพิ่ม ของสินคาหรือผลผลิตหนวยนั้นๆ อยางไรก็ตาม หากการวิเคราะหในรูปผลประโยชนหรือมูลคาสวนเพิ่ม ไมสามารถกระทําได ก็สามารถนําผลประโยชนเฉลี่ยหรือมูลคาเฉลี่ยตอหนวยมาใชเพื่อประมาณการได เช น กั น ผลประโยชน เ ฉลี่ ย จะอยู ใ นรู ป ผลประโยชน ที่ หั ก ต น ทุ น เฉลี่ ย ต อ หน ว ยแล ว หรื อ เรี ย กว า ผลประโยชนสุทธิเฉลี่ย

การประเมินมูลคาทั้งสวน มูลคาบางสวน และมูลคาสวนเพิ่ม ในการประเมินมูลคาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมนั้น จําเปนตองทราบวาเปนทรัพยากร สวนใดที่ประเมิน • การประเมินมูลคาทั้งสวน เปนการประเมินมูลคาของทรัพยากรทุกสวน เชนทะเลสาบ ทั้งหมด หรือผืนปาทั้งผืน อาทิ มูลคาจากการใชทั้งหมดของทะเลสาบเชียงแสนที่เกิดขึ้นกับ สังคม หรือมูลคาเชิงนันทนาการที่เกิดขึ้นทั้งหมดของบึงบอระเพ็ด ทั้งนี้เพื่อตองการใหเห็น ความสําคัญของทรัพยากรในดานตางๆ ทั้งสวนของทรัพยากร ซึ่งมีตอผูไดรับประโยชนใน แตละกลุม • การประเมินมูลคาบางสวน เปนการประเมินมูลคาของทรัพยากรเฉพาะสวนที่เปลี่ยนแปลง จากระดับหนึ่งไปยังอีกระดับหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวของกับ สิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เชน เมื่อตองการจะ ทราบมูลคาของผืนปาชายเลนจํานวน 1,000 ไรที่ตองสูญเสียไปเพื่อการสรางทาเรือน้ําลึก ก็ ประเมินมูลคาเฉพาะสวนนั้นจากบทบาทหนาที่ที่สูญเสียไป • การประเมินมูลคาสวนเพิ่ม เปนการประเมินมูลคาตอหนวยของทรัพยากรที่พิจารณาตาม ปริมาณ ระดับ หรือความหายากของทรัพยากรที่มีอยู เชน เมื่อตองการทราบมูลคาสวนเพิ่ม ของชางปา ซึ่งแนนอนวาหากโลกนี้มีชางปาอยู 10,000 ตัว มูลคาสวนเพิ่มของชางปาในรูป บาทตอตัว ยอมต่ํากวามูลคาสวนเพิ่มของชางปาที่มีอยูเหลืออยูเพียง 10 ตัว การวิเคราะห

4-10

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


มูลคาสวนเพิ่มมีประโยชนเมื่อตองการตั้งอัตราคาใชทรัพยากร หรือเมื่อตองการกําหนดภาษี สิ่งแวดลอม ในรูปบาทตอหนวยของทรัพยากรหรือสิ่งแวดลอม เพื่อสะทอนระดับหรือความ หายากของทรัพยากร

เกณฑทางเศรษฐศาสตรเพื่อชวยในการตัดสินใจ เครื่องมือสําคัญที่นํามาพิจารณาโครงการหรือกิจกรรมดานการจัดการสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปน โครงการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอม การกําหนดมาตรการหรือกฎระเบียบดานสิ่งแวดลอมตางๆ ก็คือการ วิเคราะหตนทุนผลประโยชน เพื่อตองการทราบวาโครงการหรือกิจกรรมนั้นๆ ไดสรางผลประโยชนสุทธิ แกสังคมหรือมีความคุมคาแกการลงทุนหรือไม สําหรับโครงการสาธารณะตางๆ กอนที่จะวิเคราะหตนทุนผลประโยชน จําเปนตองทราบวามี ผลประโยชนหรือตนทุนภายในเกิดขึ้นจากโครงการโดยตรงอยางไรบาง กลุมเปาหมายเปนใคร เกิด อยางไร และมีผลประโยชนหรือตนทุนภายนอกที่เกิดขึ้นในลักษณะผลกระทบกับสังคมอยางไรบาง ทั้งนี้ เพราะเปนการใชงบประมาณภาครัฐซึ่งเปนของสังคม และโครงการนั้นๆ จะผานเกณฑการพิจารณาทาง เศรษฐศาสตรก็ตอเมื่อผลประโยชนโดยรวมตองสูงกวาตนทุนโดยรวมที่เกิดขึ้นกับสังคม นักเศรษฐศาสตรพิ จารณาผลไดแ ละผลเสี ยจากการเปลี่ ยนแปลงทรัพยากรในพื้ นที่ชุ มน้ําที่ เกิ ด ขึ้ น ให เ ป น หน ว ยวั ด เดี ย วกั น คื อ เป น รู ป ตั ว เงิ น หรื อ มู ล ค า ผลประโยชน และต น ทุ น เพื่ อ นํ า มา เปรี ย บเที ย บกั น และเกณฑ ใ นการตั ด สิ น ใจก็ คื อ จะพิ จ ารณากิ จ กรรมที่ ก อ ให เ กิ ด ผลได สุ ท ธิ ห รื อ ผลประโยชนสุทธิเปนบวก นั่นคือผลประโยชนสูงกวาตนทุน หรือในกรณีที่มีมากกวาหนึ่งทางเลือกจะ พิจารณากิจกรรมที่กอใหเกิดผลไดสุทธิสูงสุด แตเนื่องจากผลไดและผลเสียที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะเกิดขึ้น พรอมกันหรือเกิดขึ้นตางชวงเวลากัน นักเศรษฐศาสตรจะอาศัยการคิดลดเพื่อปรับคาทั้งหมดที่เกิดขึ้นให อยูในชวงเวลาเดียวกัน กลาวคือปรับใหอยูในฐานของเวลาเริ่มตน หรือที่เรียกวามูลคาปจจุบัน การคิดลดเปรียบเสมือนการใหน้ําหนักที่ตางกันระหวางมูลคาที่เกิดขึ้นในขณะนี้กับมูลคาที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต โดยธรรมชาติมนุษยยอมใหความสําคัญกับมูลคาที่เกิดขึ้นในอนาคตนอยกวา สําหรับ ผลประโยชนที่เกิดขึ้นซึ่งเปนตัวเงินในจํานวนที่เทากัน เปรียบเทียบระหวางผลประโยชนวันนี้และวันหนา เชน จํานวนเงิน 100 บาท ที่ไดรับในวันนี้ยอมมีมูลคาสูงกวาจํานวนเงิน 100 บาทที่จะตองรอคอยรับใน อนาคต ดังนั้นเงิน 100 บาท ในอนาคตเมื่อคิดลดใหอยูในรูปมูลคาปจจุบันจึงมีคาต่ํากวา 100 บาท (เชน 95 บาท) นั่นเอง ตัวปรับคาการคิดลดมีสูตร คือ

1 (1 + r) t

โดยคา r คืออัตราคิดลด ซึ่งมักใชอัตราดอกเบี้ย

พันธบัตรรัฐบาลเปนตัวแทน อยูระหวางรอยละ 3-7 และคา t คือชวงเวลาที่เกิดขึ้นตางๆ กันไป ในการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชนโดยทั่วไปจะวิเคราะหหามูลคาปจจุบันของผลประโยชน สุทธิ หรือที่เรียกทั่วไปวามูลคาปจจุบันสุทธิ ทั้งนี้จะวัดผลประโยชนและตนทุนที่เกิดขึ้นตลอดชวงอายุของ โครงการ ตั้งแตระยะเวลาเริ่มตน จนถึงระยะเวลาสิ้นสุด (t = 0, 1, 2, …., T)

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-11


มู ล ค า ป จ จุ บั น ของผลประโยชน มูลคาปจจุบันของผลประโยชนสุทธิ = มูลคาปจจุบันของผลประโยชน สุ ท ธิ ที่ เ ป น บวกสะท อ นถึ ง โครงการที่ มี - มูลคาปจจุบันของตนทุน = PV(B) – PV(C) ศักยภาพ ห ลัก ก า ร ที่ สําคัญ ข อ ง ก า ร หรือ PVNB T T B C วิเคราะหตนทุนและผลประโยชนมีดังนี้ t t =∑ −∑ t t t =0 (1 + r) t =0 (1 + r) • หากเปนการพิจารณาโครงการ หรือกิจกรรมที่มีเพียงทางเลือกเดียว โครง หรือ PVNB = B0 – C0 + B −C B −C การจะถูกเลือกก็ตอเมื่อผลประโยชนสุทธิ (11 + r)11 + .... + (1T + r) TT T เปนบวก Bt − Ct =Σ • หากเปนการพิจารณาโครงการ (1 + r) t t =0 หรื อ กิ จ กรรมที่ มี ท างเลื อ กมากกว า 1 กําหนดให Bt คือ ผลประโยชนที่เกิดขึ้น ณ ปที่ t (t = 0, 1, 2, …., T) Ct คือ ตนทุนที่เกิดขึ้น ณ ปที่ t (t = 0, 1, 2, …., T) โครงการ และจําเปนตองเลือกเพียงโครงการ r คือ อัตราคิดลดในการลงทุนของสังคม เดี ย ว ให เ ลื อ กโครงการที่ มี มู ล ค า ป จ จุ บั น ของผลประโยชนสุทธิสูงสุด การวิเคราะหประสิทธิผลของตนทุน เปนวิธีการทางเศรษฐศาสตรเพื่อประเมินผลโครงการหรือ ทางเลือกที่สามารถบรรลุเปาหมายดานผลประโยชนเทาเทียมกัน จึงไมจําเปนตองมีการประเมินผลประโยชน ทางเศรษฐศาสตรของโครงการที่ เปนทางเลื อกต างๆ วิ ธีการนี้ เหมาะสมสํ าหรั บโครงการที่ไมมีความ จําเปนตองประเมินผลประโยชนทางเศรษฐศาสตร หรือโครงการที่ไมสามารถจะประเมินผลประโยชนอยูใน รูปตัวเงินได โดยจะพิจารณาจากตนทุนของโครงการเปนหลัก กลาวคือเลือกโครงการที่มีมูลคาปจจุบันของตนทุนต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับทางเลือกอื่นๆ ที่ให ผลประโยชนเทากัน ตัวอยางเชน ชุมชนแหงหนึ่งมีปญหาจากแหลงน้ําใชที่มีอยูนั้นมีการปนเปอน จึง จําเปนตองหาแหลงน้ําอื่นๆ จากทางเลือกที่มีอยูไดแก ขุดสรางสระน้ําในพื้นที่ที่ไมมีการปนเปอน ขุดเจาะ น้ําบาดาลจากแหลงน้ําใตดินที่ไมมีการปนเปอน หรืออาศัยแหลงน้ําจากชุมชนใกลเคียงโดยตอทอสงน้ํา เขามาในพื้นที่ ในการวิเคราะหประสิทธิผลของตนทุนจะพิจารณาตนทุนที่เกี่ยวของทั้งหมด ไมวาจะเปน ตนทุนของโครงการโดยตรง หรือตนทุนดานสิ่งแวดลอมของแตละทางเลือก แลวนํามาเปรียบเทียบกันใน รูปของมูลคาปจจุบันโดยรวมหรืออยูในรูปตนทุนตอหนวยพันลูกบาศกเมตร ทั้งนี้การวิเคราะหตนทุนทาง เศรษฐศาสตรสําหรับงานดานสิ่งแวดลอมจําเปนตองพิจารณาใหครบถวน ภายใตเงื่อนไขขอจํากัดดาน สิ่งแวดลอม และความเปนไปไดในเชิงนิเวศ

4-12

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ตาราง 3 ตัวอยางแนวทางในการศึกษาและเกณฑทางเศรษฐศาสตรที่ใชในการตัดสินใจสําหรับประเด็น ตางๆ ที่เกิดขึ้น ตัวอยางประเด็นที่เกี่ยวของกับ พื้นที่ชุมน้ํา ผลกระทบจากการเลี้ยงกุง กุลาดําที่มี ตอทรัพยากรปาชายเลน

โครงการเปลีย่ นแปลงพืน้ ที่ปา ชายเลน เพื่อทําบอเลี้ยงกุง กุลาดํา

การถมพื้นที่ชุมน้ําเพื่อทํากิจกรรม อื่นๆ โครงการประกาศพื้นที่ชุมน้ําเพื่อให เปนพื้นที่อนุรักษ

แนวทางในการศึกษาและเกณฑตดั สินใจ ประเมินมูลคาผลผลิตจากพื้นที่ปาชายเลนที่สูญเสียไป ซึ่งเปนมูลคาการใชโดยตรง และ มูลคาการสูญเสียการทําหนาที่ของปาชายเลนในดานการปองกันการกัดเซาะชายฝง และ หนาที่อื่นๆ ซึ่งเปนมูลคาการใชโดยออม มูลคาที่ไดรวมเปนมูลคาความเสียหายขั้นต่ําที่คิด เพียงมูลคาจากการใชเทานั้น ยังไมไดรวมมูลคาจากการไมไดใช ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ปาชายเลน และเปรียบเทียบผลประโยชนสุทธิที่ เกิดจากปาชายเลนที่สูญเสียไป กับผลประโยชนสุทธิที่เกิดจากการเลี้ยงกุงกุลาดํา เกณฑ ตัดสินใจก็คือจะพิจารณาโครงการเลีย้ งกุงกุลาดําเมื่อมูลคาปจจุบันของผลประโยชนสุทธิ จากกรณีแรกสูงกวากรณีหลัง ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ํานั้นที่จะตองสูญเสียตลอดไป เพื่อ เปรียบเทียบกับผลประโยชนสุทธิที่เกิดจากกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ําในรูปผลประโยชนโดยรวม และหักออก ดวยตนทุนในการจัดการใหเปนพื้นที่อนุรักษ ซึ่งรวมไปถึงการสูญเสียโอกาสที่เคยใชพื้นที่ เพื่อประโยชนอื่น จะไดผลประโยชนสุทธิของการเปนพื้นที่อนุรักษ เกณฑตัดสินใจก็คือเมื่อ มูลคาปจจุบันของผลประโยชนสุทธิเปนบวก

หมายเหตุ การวิเคราะหผลประโยชนสุทธิจะอยูในรูปมูลคาปจจุบัน

ขั้นตอนในการศึกษา การเตรียมการกอนประเมินมูลคา การเตรียมการกอนประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน ขั้นตอน 1 เมื่อสามารถกําหนดประเด็นปญหาและเลือกแนวทางในการศึกษาใหสอดคลองกับ ประเด็นไดแลว ขั้นตอน 2 กํ า หนดพื้ น ที่ ศึ ก ษาและขอบเขตของทรั พ ยากรในพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า ที่ ต อ งการศึ ก ษา ตลอดจนผูที่มีความเกี่ยวของ โดยพื้นที่ศึกษาอาจรวมชุมชนโดยรอบบริเวณ และทรัพยากรธรรมชาติที่มี ความเกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ํานั้นๆ ขั้นตอน 3 ระบุองคประกอบและคุณลักษณะของทรัพยากร บทบาท หนาที่ และลักษณะการใช ประโยชนของทรัพยากรในพื้นที่ที่ตองการศึกษา ตลอดจนระบุผูใชประโยชน ขั้นตอน 4 ระบุความเชื่อมโยงระหวางบทบาทหนาที่ และการใชประโยชนของทรัพยากรในพื้นที่ ชุมน้ํา เพื่อใหทราบถึงประเภทของมูลคาที่เกิดขึ้นและที่ตองการประเมิน ในขั้นเตรียมการนี้ คูมือการประเมินชุมชนแบบมีสวนรวม และคูมอื สํารวจคุณลักษณะทางนิเวศ มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพือ่ ใหไดขอมูลทีจ่ ําเปนขางตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-13


ตาราง 4 ขั้นตอนการเตรียมการกอนและการประชุมวันมูลคาทางเศรษฐศาสตร

ขั้นตอน 1 การกําหนดประเด็นปญหาและเลือกแนวทางในการศึกษาใหสอดคลองกับ ประเด็น ขั้นตอน 2 การกําหนดพื้นที่ศึกษา ขอบเขตของทรัพยากรและผูเ กี่ยวของในพืน้ ที่ ชุมน้ําที่จะทําการศึกษา ขั้นตอน 3 ระบุองคประกอบและคุณลักษณะของทรัพยากร บทบาทและหนาทีท่ ี่ เกิดขึ้น และการใชประโยชนของทรัพยากรในพื้นที่ทตี่ อ งการศึกษา ขั้นตอน 4 กําหนดความเชื่อมโยงระหวางบทบาทหนาที่ และการใชประโยชนของ ทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ํา กับประเภทของมูลคาที่เกิดขึน้ ขั้นตอน 5 ระบุขอมูลที่ตอ งการใชและแหลงขอมูลเพื่อการประเมินมูลคาทรัพยากร ตลอดจนเลือกวิธีการประเมินที่เหมาะสมกับประเด็นและขอมูลที่มอี ยู ขั้นตอน 6 นําขอมูลมาวิเคราะหเพื่อประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร ขั้นตอน 7 นําผลการประเมินมูลคามาใชวิเคราะหตามแนวทางการศึกษาทีก่ ําหนดไว ในขั้นตอน 1 เพื่อใชในการตัดสินใจเชิงนโยบาย

การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร ประกอบดวย 3 ขัน้ ตอน (ดูตาราง) ขั้นตอน 5 ระบุขอมูลที่ตองการใชและแหลงขอมูลเพื่อการประเมินมูลคาของทรัพยากรนั้นๆ ตลอดจนเลือกวิธีการประเมินที่เหมาะสมกับประเด็นและขอมูลที่มีอยู ขั้นตอน 6 วิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร ขั้นตอน 7 นําผลการประเมินมูลคาที่ไดมาใชวิเคราะหตามแนวทางการศึกษาที่กําหนดไวใน ขั้นตอน 1 ทั้งนี้เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจเชิงนโยบายตอไป

4-14

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


วิธีการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรแบงเปนวิธีการตางๆ ตามลักษณะของขอมูลที่ใช ไดแก วิธีการประเมินมูลคาโดยใชราคาตลาด แบงไดเปน 2 กรณี y สามารถใชราคาตลาดไดโดยตรง : คือการประเมินผลผลิตตางๆ ที่ไดจากพื้นที่ชุมน้ํา ไมวา จะเปนการใชทรัพยากรน้ํา การใชทรัพยากรประมง การใชไมและผลิตภัณฑจากปา ฯลฯ ซึ่ง หากเปนผลผลิตที่มีการซื้อขายในตลาด ก็จะใชราคาตลาดในการประเมินมูลคา หากไมใช ผลผลิตที่มีการซื้อขายในตลาด ก็จะใชราคาตลาดของสิ่งทดแทน เชน การเก็บเศษกิ่งไม ใบไมแหงจากปาโดยรอบพื้นที่ชุมน้ําเพื่อใชเปนเชื้อเพลิงหุงตมในครัวเรือน อาจใชมูลคา เชื้อเพลิงอื่นๆที่มีในตลาดแทนเชนกาซที่ใชหุงตม ซึ่งเปนคาใชจายดานพลังงานที่ครัวเรือน สามารถประหยัดได หรือการใชประโยชนของพื้นที่ชุมน้ําเพื่อเปนทางน้ําสัญจร ก็สามารถใช คาใชจายในการสัญจรอื่นๆ ที่แทนการสัญจรทางน้ํานั้นๆ y ไมสามารถใชราคาตลาดไดโดยตรง : ตนทุนในการทดแทน (replacement or โดยมากจะเปนเรื่องของบทบาทหนาที่ของ substitute cost) เชนการสรางแนวกันคลื่นเมื่อ พื้นที่ชุมน้ําในดานการกํากับควบคุม ซึ่งเรา ไมมีปาชายเลน หรือการสรางแหลงบําบัดน้ําเสีย สามารถสังเกตความสําคัญของการทําหนาที่ เพื่ อ ทดแทนการทํ า หน า ที่ ก รองของเสี ย ทาง เหลานี้ได เชน การเปนแหลงกําบังลมพายุ ธรรมชาติที่ทรัพยากรเคยทําหนาที่ในสวนนี้ ตนทุนในการปองกัน (abatement or avoided แหลงดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดของผืน cost) สังเกตไดจากการลงทุนในโครงการปองกัน ปา หรือการทําหนาที่กรองของเสียของปา น้ําทวมของพื้นที่ตอนลาง เมื่อมีการสูญเสียพื้นที่ ชายเลน เปนตน การประเมินมูลคาใหใชวิธี ปาไมตนน้ําลําธาร อาศัยตนทุนของกิจกรรมที่จะมาทดแทนการ ทําหนาที่นั้นๆ ของสิ่งแวดลอม ซึ่งอาจอยูในรูปคาใชจายในการทดแทนหรือคาใชจายใน การปองกัน กลาวคือ เมื่อทรัพยากรเหลานี้หมดไป สังคมจะทดแทนดวยอะไร วิธีการนี้มี ความสะดวกแมจะมีค วามคลาดเคลื่อนไปบ างก็ตาม เราก็ยังสามารถใชตนทุนของการ กอสรางสิ่งทดแทนเหลานี้ เพื่อชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของทรัพยากรในการทําหนาที่ตางๆ ตอสังคม เพราะเมื่อมีทรัพยากรเหลานี้อยู ความจําเปนในการสรางสิ่งเหลานี้ก็หมดไป หรือ อาจคิดจากตนทุนในการปองกันไมใหเกิดความเสียหายหรือสูญเสีย อันเกิดจากการสูญสิ้น ไปของทรัพยากร ซึ่งทําใหบทบาทหนาที่ที่มีตอสังคมตองสูญสิ้นไปดวย วิธีการประเมินมูลคาโดยใชตลาดตัวแทน เปนการประเมินมูลคาของพื้นที่ชุมน้ําจากการทํา หนาที่ในดานการกํากับควบคุม และการทําหนาที่โดยตรงในดานการใหขอมูลขาวสาร โดยอาศัยวิธีการ ทางสถิ ติ เ พื่ อ ใช ป ระมาณการ ไม ใ ช วิ ธี ก ารคํ า นวณอย า งง า ยๆแบบวิ ธี แ รก วิ ธี ก ารนี้ พิ จ ารณาความ เกี่ยวของเชื่อมโยงผลการเปลี่ยนแปลงในทรัพยากรหรือคุณภาพสิ่งแวดลอมที่มีตอผลผลิต (ปริมาณ ทรัพยากรน้ําและผลผลิตเกษตร) ราคา (คุณภาพน้ํา/อากาศและราคาบาน/ทรัพยสิน/ที่ดิน) หรือกิจกรรม เชิงนันทนาการ (ความอุดมสมบูรณของปา/จํานวนนกปาและจํานวนครั้งของการมาเยือนพื้นที่) โดยจะตองสรางฟงกชันทางสถิติแสดงความสัมพันธตามรูปแบบความเกี่ยวของ ซึ่งอาจจะเปน การวิเคราะหผานฟงกชันการผลิต เชน การลดลงของพื้นที่ชุมน้ํามีผลตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและ ปริมาณน้ํา และมีผลกระทบตอผลผลิตประมงหรือผลผลิตเกษตร เปนตน การวิเคราะหผานแบบจําลอง

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-15


ราคาบาน/ทรัพยสิน เชน ราคาบานขึ้นอยูกับคุณลักษณะของบานและสิ่งแวดลอมโดยรอบ ซึ่งรวมถึง คุณภาพน้ํา/อากาศดวย หรือการวิเคราะหผานแบบจําลองคาใชจายในการเดินทาง โดยพิจารณาการ ใหบริการของพื้นที่ชุมน้ําเพื่อพักผอนหยอนใจหรือศึกษาวิจัย สามารถใชคาใชจายในการเดินทางเพื่อ ประมาณการมูลคาเชิงนันทนาการโดยวิธีการทางสถิติ ตนทุนเหลานี้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลไดรับประโยชนเชิง นันทนาการจากสิ่งแวดลอม จึงมีความยินดีจายเพื่อการเดินทางไปยังสถานที่เชิงนันทนาการนั้นๆ วิธีการ ประเมินคาที่ใชตลาดตัวแทนนี้นักเศรษฐศาสตรถือวาเปนวิธีการที่เปดเผยความพอใจ วิธีการประเมินมูลคาโดยใชคาความยินดีจาย อาศัยการวิเคราะหมูลคาความยินดีจายของผูไดรับ ประโยชนพื้นทีช่ ุมน้ํา โดยวิธีการสมมติหรือจําลองสถานการณเกี่ยวกับทรัพยากรในสถานภาพตางๆที่มี คาใชจายเกี่ยวของ แลวทําการสํารวจกลุมตัวอยาง นักเศรษฐศาสตรเรียกวิธีการนี้วาเปนวิธีการระบุความ พอใจ ซึง่ เหมาะสําหรับการประเมินมูลคาจากการไมไดใช ของพืน้ ที่ชุมน้าํ วิธีการประเมินมูลคาโดยใชขอมูลจากงานวิจัยอื่นๆ โดยพื้นที่ศึกษาดังกลาวนั้นมีคุณลักษณะ ตางๆ ใกลเคียงกับพื้นที่ชุมน้ําที่ตองการประเมินมูลคา วิธีการนี้เปนการโอนยายมูลคา ซึ่งอาจตองคํานวณ ปรับคาจากพื้นที่ศึกษาอื่นๆ หรืออาศัยวิธีการทางสถิติเพื่อประมาณการความสัมพันธแลวจึงเทียบใชกับ พื้นที่ชุมน้ําที่ตองการประเมินมูลคา สําหรับคูมือนี้จะอธิบายเฉพาะวิธีการแรกและวิธีการสุดทาย คือวิธีการประเมินมูลคาโดยใชราคา ตลาด และวิธีการโอนยายมูลคา ซึ่งเปนวิธีการที่มีความสะดวกในการรวบรวมขอมูลเพื่อใชวิเคราะหมาก ที่สุด และสามารถคํานวณไดงายและรวดเร็ว สําหรับวิธีการอื่นๆ นั้นผูอานสามารถคนควาไดจากงาน ศึกษาตางๆ ที่ระบุไวในเอกสารอางอิง

การประเมินมูลคาโดยใชราคาตลาด การประเมินมูลคาโดยใชราคาตลาดโดยตรง วิธีการนี้เหมาะสมกับการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําที่มีการใช ประโยชนโดยตรงจากประชาชน ซึ่งถือเปนมูลคาจากการใชโดยตรง มักอยูในรูปการใชผลผลิตจากพื้นที่ หรืออยูในรูปการใชทรัพยากรเพื่อการผลิต เชน การใชน้ําเพื่อการเพาะปลูก เปนตน ทั้งนี้เพราะผลผลิต ตางๆ ที่เกี่ยวของนั้นมีขอมูลดานราคาตลาดอยูแลว นอกจากนี้หากเปนคุณประโยชนที่เกิดขึ้นอยาง ตอเนื่องกันไป มักคิดในรูปบาทตอป แตหากวาคุณประโยชนที่เกิดขึ้นมีระยะเวลามาเกี่ยวของก็มักจะ คํานวณใหอยูในรูปมูลคาปจจุบัน หลักการคํานวณและขอมูลที่ใช การคํ า นวณมู ล ค า ทางเศรษฐศาสตร ข องทรั พ ยากรที่ มี ก ารใชป ระโยชนโ ดยตรงจะอยู ใ นรู ป ผลประโยชนสุทธิที่เกิดขึ้น หากเปนประโยชนที่เกิดในรูปผลผลิตตางๆ ใหนําผลประโยชนรวมหรือมูลคา รวม (หรือรายไดรวม ซึ่งคิดทั้งที่เปนตัวเงินและไมเปนตัวเงิน) หักออกดวยตนทุนในการใชประโยชน ทรัพยากรนั้นๆ หากเปนประโยชนในรูปการใชทรัพยากรเพื่อเปนปจจัยการผลิต ใหนํามูลคารวมของ ผลผลิตที่เกิดจากการใชทรัพยากรจากพื้นที่ชุมน้ําเปนปจจัยการผลิต หักออกดวยตนทุนการผลิตสวน อื่นๆ สวนที่เหลือจึงเปนมูลคาสุทธิของทรัพยากรนั้นๆ โดยตนทุนจะตองพิจารณาทั้งที่เปนตัวเงินและไม เปนตัวเงิน

4-16

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ตาราง 5 ตัวอยางการใชประโยชนโดยตรงจากพื้นที่ชุมน้ําของชุมชน การใชประโยชน

รายไดจากการใชประโยชน เปนเงินสด ไมเปนเงินสด

ตนทุนจากการใชประโยชน เปนเงินสด ไมเปนเงินสด

ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากป า และแหล ง น้ํ า ขาย เชน เห็ด หนอไม เทา เปนตน ทํานา ขาย

บริโภค

-ไมมี-

บริโภค, ทําพันธุ, แบงจายเปนคา เชา

ทําประมง

ขาย

บริโภค

คาเมล็ดพันธุ ปุย สารเคมี น้ํามัน คาไฟฟา แรงงานจางเตรียมดิน เตรียมกลา ดํานา เกี่ยว ขาว นวดขาว คาชารทแบตเตอรี่ น้ํากลั่น น้ํามันกาด

เก็บไมทําฟนหรือถาน

ขาย

ใชในครัวเรือน

-ไมมี-

แรงงานไปเก็บหา วัสดุ อุปกรณ แรงงานครัวเรือนในการ หวาน ใสปุย ไถดิน ดูแล รักษาปองกําจัดวัชพืช ยายกลา ปกดํา เกี่ยวขาว นวดขาว แรงงานครัวเรือนในการ จับสัตวน้ํา ซอมแซม บํารุงรักษา คัดและ จําหนายสัตว คาใช เครื่องมือจับสัตวน้ํา แรงงานไปเก็บหา คาใช อุปกรณ

ตัวอยางการประเมินคา ตัวอยางที่ 1 การใชทรัพยากรในรูปผลผลิต เชน การเก็บเห็ด ในชวงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม เพื่อการบริโภคและเพื่อการจําหนายของครัวเรือนจํานวน 40 ครัวเรือน รอบพื้นที่ชุมน้ํา ขอมูลที่ใช ปริมาณผลผลิตที่เก็บได ราคาที่ไดรับ ตนทุนของเครื่องมืออุปกรณ และตนทุนการ ใชแรงงาน ทั้งที่เปนตัวเงินและไมเปนตัวเงิน การคํานวณ ผลประโยชนสุทธิตอครัวเรือน (บาท/ป/ = มูลคารวมของผลผลิตที่เก็บไดตอครัวเรือน ครัวเรือน) - ตนทุนที่ใชในการเก็บเห็ด ผลประโยชนสุทธิตอชุมชน (บาท/ป) = ผลประโยชนสุทธิตอครัวเรือน (บาท/ป/ครัวเรือน) x จํานวนครัวเรือนที่ใชประโยชน รายละเอียด มูลคารวมของผลผลิตตอครัวเรือน = ผลผลิตที่เก็บไดตอป (รวมที่บริโภคและขาย) x ราคาที่ไดรบั ตนทุนที่ใชในการเก็บ = แรงงานตัวเอง + วัสดุอุปกรณ (โดยพิจารณาเปน ตนทุนตอป) ตนทุนแรงงาน (ตัวเอง) คาแรงขัน้ ต่ํา (บาท/วัน) x [จํานวนชั่วโมงที่เก็บ ทั้งหมดในปนนั้ ÷ 8 ชั่วโมง 1 ] ตนทุนการใชวสั ดุอุปกรณ = (สมมติตะกราและมีดมีอายุใชงาน 2 ป ใชมูลคาที่ ซื้อหารสอง แทนมูลคาตอป) 1

เนื่องจากคิดให 1 วันทํางาน เทากับ 8 ชั่วโมง

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-17


ตัวอยางขางตนสามารถประยุกตไดกับการประเมินผลประโยชนของชุมชนที่ไดจากการเก็บใช ทรัพยากรอื่นๆ ภายในหรือโดยรอบบริเวณพื้นที่ชุมน้ํา ตั ว อย า งที่ 2 การใช ท รั พ ยากรในรู ป ป จ จั ย การผลิ ต เช น การใช พื้ น ที่ โ ดยรอบและใช น้ํ า ชลประทานที่ไดจากพื้นที่ชุมน้ําเพื่อทํานาในชวงฤดูแลง (นาปรัง) ของครัวเรือนจํานวน 130 ครัวเรือน กรณีที่เปนการใชพื้นที่ทําประโยชน สามารถวิเคราะหได 2 แนวทางคือ วิเคราะหผลประโยชน สุท ธิที่ เกิ ดขึ้ นต อ ไร แล วคู ณด วยขนาดพื้น ที่ที่ ใช ทํานา หรือ วิ เคราะห ผ ลประโยชนสุ ทธิ ที่เ กิด ขึ้น ต อ ครัวเรือน แลวคูณดวยจํานวนครัวเรือนที่ทํานา ในที่นี้จะยกตัวอยางแนวทางที่ 1 (สําหรับแนวทางที่ 2 จะ คลายกับตัวอยางที่ 1) ขอมูลที่ใช ปริมาณผลผลิตขาวนาปรังเฉลี่ยตอไร ราคาที่ไดรับ ตนทุนตอไรของการใชปจจัยการ ผลิตตางๆ รวมทั้งตนทุนการใชแรงงาน ทั้งที่เปนตัวเงินและไมเปนตัวเงิน (เฉพาะรายการตนทุนผันแปร) การคํานวณ ผลประโยชนสุทธิตอไร (บาท/ไร) = มูลคารวมของผลผลิตขาว(นาปรัง) (บาทตอไร) - ตนทุนผันแปรที่ใชในการทํานาปรัง (บาทตอไร) ผลประโยชนสุทธิตอชุมชน (บาท/ป) = ผลประโยชนสุทธิตอไร (บาท/ไร) x พื้นที่ทํานาปรังในปที่สํารวจ (ไร) รายละเอียด มูลคารวมของผลผลิตขาวตอไร = ผลผลิตนาปรังที่ไดในปที่สํารวจ (รวมทั้งบริโภคและ ขาย) x ราคาที่ไดรับ ตนทุนผันแปรที่ใชในการทํานาปรัง = คาเมล็ดพันธุ+คาปุย+คาแรงงานจาง+คาแรงงาน ตัวเอง เปนตน การประเมินมูลคาโดยใชราคาตลาดของสินคาที่เกี่ยวของ วิธีการนี้เหมาะสมกับการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําในดาน การทําหนาที่กํากับควบคุม ซึ่งกอใหเกิดประโยชนโดยออมตอประชาชน ผลประโยชนที่เกิดมักอยูในรูป ประโยชนสาธารณะ เปนมูลคาจากการใชโดยออม วิธีการประเมินคาอาศัยพื้นฐานแนวคิดที่วา เมื่อไมมีพื้นที่ชุมน้ําแลว คุณประโยชนสาธารณะ ดังกลาวก็หมดไป สังคมจําเปนตองสรางสิ่งทดแทนการทําหนาที่ดานตางๆ ของพื้นที่ชุมน้ํา การประเมิน คาจึงอาศัยฐานคิดดานตนทุน ไดแกตนทุนในการทดแทน หรือตนทุนในการปองกัน เชน y การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรในการทําหนาที่กรองของเสียของปาชายเลน โดยอาศัย ตนทุนในการบําบัดและควบคุมของเสีย y การประเมินมูลคาดานชวยลดการพังทลายของชายคลองชายฝงของพืชพรรณในพื้นที่ชุมน้ํา โดยอาศัยตนทุนในการขุดลอกพื้นที่ปลายน้ํา เปนตน ซึ่งวิธีการเหลานี้ไมไดใชฐานคิดจากการประเมินคุณประโยชนที่เกิดจากทรัพยากรดังเชนวิธีการ อื่นๆ แตอยางนอยตนทุนเหลานี้ที่ประเมินไดก็พอจะชี้ใหสังคมเห็นความสําคัญของการมีอยูของพื้นที่ ชุมน้ําเพื่อทําหนาที่ใหบริการทางธรรมชาติตางๆ ได

4-18

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ตัวอยางการประเมินคา นักวิจัยตองการทราบความสําคัญหรือคุณประโยชนของปาชายเลนในการปองกันการกัดเซาะ ชายฝง บานทาโพธิ์ สุราษฏรธานี (รายละเอียดดูไดจาก Sathirathai and Babier, 2001) กรณีนี้ใชวิธีการคาใชจายในการทดแทน โดยอาศัยขอมูลจากสิ่งทดแทน ไดแก แนวกันคลื่น ซึ่ง มักจะกอสรางบริเวณชายฝงทะเลที่ไมมีผืนปาชายเลน ขอมูลที่ใช การกอสรางแนวกันคลื่นเพื่อปองกันการพังทลายของชายฝงทะเล จากกรมเจาทา กระทรวงคมนาคมและขนสง เฉลี่ยตารางเมตรละประมาณ 466.80 บาท หรือประมาณไรละ 700,000 บาท การคํานวณ เนื่องจากสภาพพื้นที่อาวบานดอนไมไดมีคลื่นลมแรงมากนัก จึงมีการปรับมูลคา ของตนทุนดังกลาวเหลือรอยละ 30 หรือประมาณ ไรละ 224,000 บาท การใชประโยชนและขอจํากัด วิธีการประเมินคาโดยใชราคาตลาดโดยตรงเปนวิธีที่สะดวก งายในการทําความเขาใจ ไมตอง อาศัยวิธีการทางสถิติที่ซับซอน อยางไรก็ตามวิธีการนี้สามารถประเมินคาการทําหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําใน ดานการใหผลผลิตเกือบทุกรายการ และสามารถประเมินคาการทําหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ําในการกํากับ ควบคุมไดบางรายการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอมูลที่มีอยู สําหรับผูประเมินคาควรตระหนักวา ราคาตลาดของ สินคาที่ใชในการคํานวณอาจมีความคลาดเคลื่อนไปบาง เชน ขึ้นกับฤดูกาล คุณภาพของผลผลิต หรือมี การแทรกแซงของรัฐบาล เปนตน

การประเมินมูลคาโดยใชวิธีการโอนยายมูลคา วิธีการโอนยายมูลคาอาศัยการยืมขอมูลเพื่อปรับใช หรือใชวิธีการทางสถิติเพื่อเชื่อมโยงขอมูล จากงานศึกษาดั้งเดิมในพื้นที่ศึกษา มายังพื้นที่โครงการที่ตองการวิเคราะห วิธีนี้เริ่มเปนที่นิยมอยาง แพรหลายในระยะหลังๆ เพราะ y ไมมีงานศึกษาในพื้นทีโ่ ครงการเปาหมายที่ตองการวิเคราะหมากอน y นักวิจัยหรือผูวางแผนมีเวลาและงบประมาณที่จํากัด ไมสามารถทําวิจัยเพื่อประเมินมูลคาใน พื้นที่โครงการอยางเต็มขั้นได y มีงานศึกษาดานการประเมินมูลคาในพื้นทีศ่ ึกษาอื่นๆ ซึ่งมีลักษณะดานตางๆ ที่ใกลเคียงกัน ปรากฏอยู นอกจากนี้ประเด็นในการศึกษาก็ใกลเคียงกัน

พื้นที่โครงการ พื้นที่ศึกษาตนแบบ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-19


พื้นที่โครงการเปาหมายที่ตองการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ซึ่งยังไมมีขอมูลหรือ งานวิจัยรองรับ สวนงานวิจัยของพื้นที่ศึกษาตนแบบสามารถมีไดมากกวา 1 ชิ้นงาน ซึ่งมีขอมูล หรือการ วิเคราะหที่ตองการใชประโยชน ผูศึกษาจะตองเลือกพื้นที่ศึกษาตนแบบที่มีความคลายคลึงกับพื้นที่ โครงการใหมากที่สุดในประเด็นตางๆ ไดแก y ประเด็นเชิงนโยบาย จําเปนตองพิจารณาทั้งในเชิงขนาดหรือปริมาณของผลกระทบ และ แหลงที่ทําใหเกิดผลกระทบ y ประเด็นดานสภาพทางชีวภาพและกายภาพของพื้นที่ ประเด็นดานประชากรในพื้นที่ ประเภทของการโอนยายมูลคา วิธีการโอนยายมูลคาแบงยอยๆ ไดหลายวิธี ไดแก y การโอนยายดวยมูลคาในพื้นที่ศึกษามาใชในพื้นที่โครงการ ซึ่งอาจทําไดโดยการโอนยายคาที่ มีอยูแลวและปรับใชโดยอาศัยผูเชี่ยวชาญ หรือผูกําหนดนโยบาย หรือการโอนยายคากลาง (คาเฉลี่ย) โดยอาศัยงานวิจัยในพื้นที่ศึกษาตางๆ มาหาคาเฉลี่ยแลวนํามาปรับใชในพื้นที่ โครงการ นอกจากนี้การปรับใชยังจําเปนตองพิจารณาความแตกตางดานสภาพประชากรที่ ศึกษา และความแตกตางดานเวลาของงานศึกษาดวย ซึ่งอาจจําเปนตองปรับคาเพื่อสะทอน ความแตกตางดังกลาว y การโอนยายดวยฟงกชัน หากมีงานศึกษาตนแบบที่มีการประเมินมูลคาดวยวิธีการทางสถิติ ซึ่งประมาณการฟงกชันอุปสงค หรือฟงกชันความยินดีจายเอาไว เราสามารถใชประโยชน จากฟงกชันนั้นมาเพื่อกะประมาณมูลคาสําหรับพื้นที่โครงการ หรือหากมีงานศึกษาจากพื้นที่ ตนแบบหลายพื้นที่ซึ่งคลายคลึงกับพื้นที่โครงการ เราสามารถโอนยายโดยการใชฟงกชันเม ตารีเกรสชัน เพื่อกะประมาณมูลคาของพื้นที่โครงการ ขั้นตอนในการศึกษา y ระบุแนวคําถามเพื่อตอบคําถามเชิงนโยบายของพืน้ ที่โครงการ y ตรวจเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ และคัดเลือกงานศึกษาที่มีความใกลเคียงกับพื้นที่โครงการ ที่สุด โดยพิจารณาจากทั้งในประเด็นเชิงนโยบาย เชิงภูมิศาสตร เชิงเศรษฐกิจสังคม เชิงระบบนิเวศ และ เชิงชีวกายภาพ เปนตน นอกจากนี้เอกสารงานวิจัยที่คัดเลือกนั้นจะตองมีความถูกตองตามทฤษฏี เปนที่ ยอมรับ y เลือกวิธีการกะประมาณที่เหมาะสมที่สุด ที่พิจารณาโดยผูเชี่ยวชาญและตามขอมูลที่มีอยู วา จะใชวิธีการโอนยายดวยมูลคา หรือโอนยายดวยฟงกชัน y โอนยายคาที่กะประมาณไดเพื่อปรับใชกับพื้นที่โครงการ หากคาที่ไดมาเปนมูลคาตอหนวย ก็ ปรับเปนคารวมหรือคาที่ตองการใชประโยชน y การโอนยายมูลคาจากพื้นที่ศึกษาตนแบบที่ไดคัดเลือกแลว สามารถนํามาปรับมูลคาเพื่อใช กับพื้นที่โครงการ ในกรณีของการโอนยายดวยมูลคานั้น การปรับมูลคาก็เพื่อสะทอนความแตกตางของพื้นที่ศึกษา ตนแบบที่มีผลการศึกษาไวแลวกับพื้นที่โครงการ ตามหลักการแลวความแตกตางที่เกิดขึ้นมีอยู 2 ปจจัยหลัก คือ ปจจัยดานอุปทาน ไดแก คุณลักษณะดานตางๆ ของพื้นที่ เชน สภาพทางกายภาพ ความอุดมสมบูรณ

4-20

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ของทรัพยากร เปนตน และปจจัยดานอุปสงค ไดแกคุณลักษณะดานตางๆ ของประชากร เชน คาความ ยินดีจายตอคน และคาความยืดหยุนตอรายได เปนตน การโอนยายดวยมูลคา สําหรับเอกสารฉบับนี้ จะอธิบายและยกตัวอยางเฉพาะวิธีการแรก คือวิธีการโอนยายดวยมูลคา ซึ่งเปนวิธีการที่งาย สะดวกในการหาขอมูล ไมมีความซับซอนในการคํานวณ ซึ่งอาศัยหลักการปรับคา ดังตอไปนี้ ในการนําขอมูลของพื้นที่ตนแบบ (พื้นที่ S) มาปรับใชสําหรับพื้นที่โครงการ (พื้นที่ P) ผูประเมิน ควรพิจารณาเลือกคุณลักษณะรวมที่สําคัญของพื้นที่ดังกลาว ที่คาดวานาจะมีผลทําใหมูลคาของพื้นที่ชุมน้ํา แตละที่แตกตางกัน สูตรในการเทียบยาย (1) มูลคาที่ตองการกะประมาณของพื้นทีโ่ ครงการ = มูลคาทรัพยากรของพื้นที่ตนแบบ คาที่แสดงคุณลักษณะของพื้นที่โครงการ คาที่แสดงคุณลักษณะของพื้นที่ตนแบบ (2) มูลคาที่ตองการของพื้นทีโ่ ครงการ = คาที่แสดงคุณลักษณะของพื้นที่โครงการ x มูลคาทรัพยากรของพืน้ ที่ตนแบบ คาที่แสดงคุณลักษณะของพื้นที่ตนแบบ มู ล ค า ที่ ไ ด ใ นสมการที่ (2) ก็ คื อ มู ล ค าที่ ต อ งการกะประมาณเพื่ อ นํ า ไปปรั บ ใช สํ า หรั บ พื้ น ที่ โครงการที่ยังไมมีงานศึกษามากอน เปนมูลคาเบื้องตนที่มักอยูในรูปมูลคาตอหนวย เชน ตอพื้นที่ ตอ ครัวเรือน หรือตอราย เปนตน ซึ่งจําเปนตองนําไปคูณกับขนาดพื้นที่ทั้งหมด จํานวนครัวเรือนหรือจํานวน รายที่ไดรับประโยชน เพื่อหามูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ําใหเกิดประโยชนในเชิงนโยบายตอไป ตัวอยางการประเมินคา ตัวอยางที่ 1 ผูศึกษาตองการวิเคราะหหาผลประโยชนที่ไดจากการอนุรักษ (มูลคาจากการไมได ใช) ทรัพยากรสัตวน้ําที่มีอุดมสมบูรณมากขึ้น อันเนื่องมาจากการมีโครงการอนุรักษสัตวน้ํา ในที่นี้จะใช วิธีการโอนยายดวยมูลคาโดยปรับคุณลักษณะของทรัพยากร อาศัยสูตรขางตน (ดูตัวอยางไดจาก Champ, et al; 2003: 452) ขอมูลที่ใช ขอมูลในพื้นที่ตนแบบ (พื้นที่ S) ที่มีงานศึกษาดานการประเมินมูลคาการอนุรักษสัตว น้ํา ประกอบดวยคาความยินดีจายเพื่อการอนุรักษ (บาท/ครัวเรือน/ป) และความอุดมสมบูรณของสัตวน้ํา ที่เพิ่มขึ้นเมื่อมีโครงการฯ และขอมูลในพื้นทีโ่ ครงการ (พื้นที่ P) ที่สําคัญคือผลของโครงการอนุรักษที่มีตอ ทรัพยากรสัตวน้ํา เราสามารถเทียบหาคาความยินดีจายของการอนุรักษสัตวน้ําในพื้นทีโ่ ครงการโดยอาศัยสูตรที่ 2 จะไดวา คาความยินดีจายในพื้นที่ P = คาความยินดีจา ยในพื้นที่ S x จํานวนสัตวน้ําที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ P จํานวนสัตวน้ําที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ S

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-21


โดยคาความยินดีจายในพื้นที่ P เปนมูลคาเพื่อการอนุรักษสัตวน้ําอยูในรูป บาท/ป/ครัวเรือน เรา จําเปนตองคูณดวยจํานวนครัวเรือนทั้งหมดที่เกี่ยวของ เพื่อใหไดมูลคาจากการไมไดใชเพื่อการอนุรักษ สัตวน้ําของพื้นที่ มูลคาจากการไมไดใช (บาท) = ความยินดีจายของการอนุรักษสัตวน้ําในพื้นที่ P (บาท/ป/ครัวเรือน) x จํานวนครัวเรือนที่เกี่ยวของในพื้นที่ P (ครัวเรือน)

ตัวอยางที่ 2 ผูศึกษาตองการทราบวาพื้นที่ชายฝงแหงหนึ่ง (พื้นที่ P) หากมีการปรับปรุงเปน แหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษแลว จะมีมูลคาเชิงนันทนาการจากการทองเที่ยวเปนเทาไร โดยพื้นที่แหงนี้ ไมเคยมีงานศึกษาดานการประเมินมูลคามากอน แตผูศึกษาพบวามีงานศึกษาจากพื้นที่ตนแบบ (พื้นที่ S) ที่เปนการประเมินมูลคาเชิงนันทนาการของพื้นที่ที่มีคุณลักษณะทางกายภาพคลายกัน ขอมูลที่ใช (ที่พอจะรวบรวมได) คาความยินดีจายตอคนของนักทองเที่ยวของพื้นที่ตนแบบ รายไดต อหั วของประชากรในพื้ นที่ ตน แบบและพื้ นที่ โ ครงการ จํ านวนนัก ทอ งเที่ ยวในพื้น ที่ต น แบบ ประมาณการจํานวนนักทองเที่ยวตอปของพื้นที่โครงการ ) อาศัยสูตรขางตน คาความยินดีจายของพื้นที่ P (บาท/คน/ป) = รายไดตอหัวของประชากรในพื้นที่ที่ P (บาท/คน/ป) คาความยินดีจายของพื้นที่ S (บาท/คน/ป) รายไดตอหัวของประชากรในพื้นที่ S (บาท/คน/ป)

เทียบหาคาความยินดีจายของการอนุรักษสัตวน้ําในพื้นที่โครงการโดยอาศัยสูตรที่ 2 จะไดวา คาความยินดีจายในพื้นที่ P = คาความยินดีจา ยในพื้นที่ S x รายไดตอหัวของประชากรในพื้นที่ P รายไดตอ หัวของประชากรในพื้นที่ S

เมื่อคํานวณหาคาความยินดีจายตอคนตอปสําหรับพื้นที่โครงการได (พื้นที่ P) แลวคูณดวย จํานวนนักทองเที่ยวที่คาดวาจะมาเที่ยวตอป เราก็จะไดมูลคาเชิงนันทนาการของพื้นที่ชายฝงแหงนั้น การใชประโยชนและขอจํากัด วิธีโอนยายมูลคา มีความจําเปนก็ตอเมื่องบประมาณ เวลา และบุคลากร มีจํากัด ไมสามารถทํา วิจัยในพื้นที่ศึกษาอยางเปนขั้นเปนตอนได โดยวิธีนี้จะมีความเหมาะสมมากขึ้นก็ตอเมือ่ พืน้ ทีศ่ กึ ษาตนแบบ มีความคลายกับพื้นที่โครงการที่ตองการประเมินคา นอกจากนี้ประเด็นที่ศึกษาก็ควรมีความคลายกัน (เชนมีการใชนโยบายคลายกัน หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นคลายกัน) และที่สําคัญควรเลือกงานวิจัยในพื้นที่ ต น แบบที่ มี ค วามถู ก ต อ งทางทฤษฎี และมี ก ารวิ เ คราะห ท างสถิ ติ ที่ ถู ก ต อ ง เป น ที่ ย อมรั บ มี ข อ มู ล ที่ ละเอียดเพียงพอ

ขอควรทราบ เนื่องจากคูมือการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ําฉบับนี้ มีเปาหมายสําหรับผูใช ซึ่งไมใชนักเศรษฐศาสตร วิธีการประเมินมูลคาที่ปรากฏอยูจึงจํากัดเฉพาะวิธีการที่ไมมีความยุงยากใน การหาขอ มูล และสะดวกในการวิเคราะห ซึ่งวิธี การเหลานี้ไมไดอาศัยกรอบแนวคิดจากทฤษฎีทาง เศรษฐศาสตรโดยตรง แตอาศัยความเชื่อมโยงของขอมูลที่มีอยู ดังนั้นหากผูใชคูมือตองการทราบวิธีการ

4-22

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรที่มีความละเอียดซับซอนมากยิ่งขึ้น สามารถศึกษาในเบื้องตนไดจาก เว็บไซต www.ecosystemvaluation.org ซึ่งผูแตงไดจัดทําขึ้นมาเพื่อใหผูที่ไมใชนักเศรษฐศาสตรสามารถ ทราบวิธีการและขั้นตอนในการประเมินคา ตลอดจนตัวอยางตางๆ และเขาใจในทฤษฏีเศรษฐศาสตร เบื้องตนที่เกี่ยวของ • ผูศึกษาควรกําหนดประเด็นในการศึกษา คือการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของทรัพยากร ในพื้นที่ชุมน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของในบริเวณพื้นที่โดยรอบ โดยเริ่มพิจารณาจากทรัพยากรที่ชุมชน ใชประโยชนโดยตรงในรูปผลผลิตและปจจัยการผลิตกอน กอนจะขยายวงกวางเพื่อพิจารณาถึงมูลคาการ ใชประโยชนโดยออม และมูลคาจากการไมไดใช ซึ่งในสวนหลังนี้เปนมูลคาที่เกิดขึ้นในวงกวางกวาระดับ ชุมชน โดยเฉพาะพื้นที่แรมซารที่มีความสําคัญในระดับนานาชาติ ทั้งนี้ผูศึกษาควรเลือกวิธีการศึกษาที่ สามารถใชขอมูลที่มีอยูแลวเพื่อการวิเคราะห เชนวิธีราคาตลาด หรือวิธีโอนยายมูลคา เพื่อความสะดวก และประหยัดงบประมาณ • ในการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ําเพื่อใหทราบถึงความสําคัญที่มีตอทุก ภาคสวนในสังคม อาจจะตองใชขอมูลของทรัพยากรในพื้นที่ตามระดับศักยภาพที่มีอยู หรือระดับที่ กอใหเกิดการใชอยางยั่งยืน เพื่อการประเมินคามูลคา ซึ่งผลการประเมินที่ไดอาจจะตางจากการประเมิน จากการใชประโยชนทรัพยากรที่เกิดขึ้นจริง • ในการประเมินมูลคาที่เกิดขึ้น หนวยพื้นฐานที่จะนําเสนอควรเปน “บาท/ป”, “บาท/ครัวเรือน/ป” หรือ “บาท/ไร/ป” ตามความเหมาะสม เพราะทําใหเห็นภาพของกระแสมูลคาที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องกัน ไป หากพื้นที่นั้นๆ ยังคงสภาพเปนพื้นที่ชุมน้ําที่ยังประโยชนดานนั้นๆ • มูลคาจากการใชโดยออมของพื้นที่ชุมน้ํา ซึ่งเกิดจากการทําหนาที่เชิงนิเวศ มีขอสังเกตคือ เปนประโยชนสาธารณะที่เกิดขึ้นในวงกวาง ไมไดเกิดกับรายบุคคล การประเมินมูลคาโดยใชวิธีคาใชจาย ในการทดแทน (หรือคาใชจายในการปองกัน) จําเปนตองมีความระมัดระวังในการเลือกสิ่งกอสรางที่ใช ทดแทนการทําหนาที่เชิงนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํานั้น โดยพิจารณาถึงความเปนไปไดที่มากที่สุดและสังคม ยอมรับ • เนื่องจากความจํากัดของขอมูลที่ใชในการศึกษา และวิธีการศึกษา ผูประเมินควรตระหนัก ถึงความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น เชน ขอมูลดานราคาหรือปริมาณการใชประโยชนอาจเปลี่ยนแปลง ตามฤดูกาล แนวทางหนึ่งที่เปนไปไดคือการนําเสนอมูลคาเปนชวง มากกวาเปนเพียงคาเดียว เชนคาต่ํา และคาสูง และบางครั้งก็จําเปนตองมีการวิเคราะหความออนไหวเพิ่มเติม • ผู ศึ ก ษาจํ า เป น ต อ งเชื่ อ มโยงผลการวิ เ คราะห เ พื่ อ นํ า ไปสู ก ารตอบคํ า ถามในประเด็ น การศึกษาที่ตั้งไว เพื่อใหเปนประโยชนตอการนําไปใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการอนุรักษพื้นที่ ชุมน้ํา

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-23


บรรณานุกรม Barbier, Edward B, MiKe Acreman, and Duncan Knowler (1997). Economic Valuation of Wetlands: A Guide for Policy Makers and Planners. Ramsar Convention Bureau. Ecosystem Valuation (website) http://www.ecosystemvaluation.org/default.htm. Millennium Ecosystem Assessment, 2003. Ecosystems and Human Well-being: A Framework for Assessment. Washington: Island Press. อางใน Pagiola, Stefano, Konrad von Ritter, and Joshua Bishop. 2004. Assessing the Economic Value of Ecosystem. The World Bank Environment Department, Environment Department Paper No.101. In collaboration with The Nature Conservancy and IUCN—The World Conservation Union October 2004. Moran, Dominic (2006). Wetland Valuation Manual: A Rapid Guide For Wetland Managers, January 2006. OECD (2002). Handbook Of Biodiversity Valuation: A Guide For Policy Makers Working Party on Economic and Environmental Policy Integration, Working Group on Economic Aspects of Biodiversity. ENV/EPOC/GEEI/BIO(2000)2/FINAL, January 2002 Sathirathai, S and E. Barbier (2001). “Valuing mangrove conservation in southern Thailand”, Contemporary Economic Policy: pp 109-122

4-24

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ภาคผนวก แบบฝกหัดงานกลุม ภาคผนวก 1 การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชุมน้ํา ประเด็น ผูศึกษาตองการทราบวาพื้นที่ชุมน้ําทะเลสาบแสนงาม มีประโยชนอยางไรตอสังคม แนวทางการศึกษา วิเคราะหมูลคาทางทางเศรษฐศาสตรโดยรวม และมูลคาที่เกิดขึ้นกับสวนตางๆ ของสังคม ขั้นตอน ผูศึกษาเก็บขอมูลจากกระบวนการทํา PRA และการสํารวจเชิงนิเวศ พบวา มีการใชประโยชนตางๆ ของชุมชนดังตารางผนวก 1 และจากการเก็บขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ตนทุนและผลประโยชน ดังนี้ • พื้นที่ทํานา 1,000 ไร โดยสามารถทํานาไดปละ 2 ครั้ง มีผลผลิตเฉลี่ยไรละ 400-600 กก. ราคาขาวประมาณ 5 บาท/กก. มีตนทุนในการผลิตไรละ 1,500 บาท • ปลูกถั่วและขาวโพด 200 ไร มีรายไดสุทธิไรละ 400 บาท • ทําสวนลําไย 100 ไร มีรายไดสุทธิไรละ 1,200 บาท • ชาวบานใชพื้นที่โดยรอบเพือ่ ปลอยวัวควายประมาณ 100 ตัว ไวหากินบริเวณนั้นทั้งป ซึ่ง หากตองหาซื้อหญามาเปนอาหาร ตองเสียคาใชจายตกวันละ 10 บาท/ตัว • ชาวบานสามารถเก็บหาหนอไมไดตลอดทั้งป แตสวนมากคือในชวงฤดูฝน สวนใหญเก็บหา เพื่อบริโภคในครัวเรือน เฉลี่ยครัวเรือนละ 400 กก./ป โดยมีกลุมที่เก็บหาเปนประจําจน สามารถเปนอาชีพหาเลี้ยงตัวได 5 ครัวเรือน และมีผลผลิตสูงกวาระดับเฉลี่ยอยางนอย 5 เทาตัว ราคาหนอไมอยูระหวาง 4-6 บาท/กก. เมื่อพิจารณาถึงคาใชจายประเภทเครื่องมือ และอุปกรณที่ใชคิดเปนเงินเพียง 100 บาท/ครัวเรือน/ป • ในชวงฤดูฝน ทะเลสาบแหงนี้เปนแหลงสําคัญของผลผลิตเห็ด ไดแก เห็ดโคน และเห็ดเผาะ เปนตน มูลคารวมของผลผลิตคิดเปน 10,000 บาท/ครัวเรือน ซึ่งมีคาใชจายทั้งที่เปนตัวเงิน และไมเปนตัวเงินคิดเปน 500 บาท/ครัวเรือน • ชาวบานที่อยูริมทะเลสาบสวนหนึ่งไดอาศัยเก็บดอกบัวและใบบัวเพื่อขายเปนรายไดเลี้ยง ครอบครัว ตกปละ 10,000-20,000 บาท/ครัวเรือน • ทรั พ ยากรประมงของทะเลสาบแห ง นี้ เ ป น แหล ง อาหารและรายได ข องชุ ม ชนที่ สํ า คั ญ ชาวบานสามารถจับปลาไดตลอดทั้งป ปลาสําคัญๆ ที่จับได เชน ปลาชอน ปลาดุก และปลานิล เปนตน สรางผลผลิตแกครัวเรือนประมาณ 20-100 กก./ครัวเรือนในแตละเดือน จากการ คํานวณมูลคาเฉลี่ยของผลผลิตสัตวน้ําที่จับไดตอปเทากับ 40,000 บาท/ครัวเรือน โดยมี ตนทุนผันแปรที่เกิดขึ้นทั้งเปนเงินสดและไมเปนเงินสดเฉลี่ยตอปเทากับ 15,000 บาท/ ครัวเรือน นอกจากนี้ยังเปนแหลงอาหารแกนกอพยพและนกที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นดวย • เกษตรกรสวนหนึ่งใชน้ําในทะเลสาบเพื่อเลี้ยงปลา มีรายไดเฉลี่ยปละ 200,000 บาท/ ครัวเรือน โดยมีตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอปเทากับ 80,000 บาท/ครัวเรือน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-25


• น้ําจากทะเลสาบนําไปใชเพื่อเปนน้ําดิบทําประปาใชในหมูบาน ขอมูลเทาที่รวบรวมไดมีดังนี้ มีการผันน้ํามาใชประมาณปละ 200,000-250,000 ลูกบาศกเมตร กอนมีประปาหมูบาน ชาวบานตองหาซื้อน้ําที่บรรทุกเขามาใชตกยูนิต (ลูกบาศกเมตร) ละ 4 บาท ปจจุบันทุก ครัวเรือนไดใชน้ําจากประปาหมูบาน ซึ่งคณะกรรมการหมูบานคิดคาใชจายยูนิตละ 5 บาท ตารางผนวก 1 การใชประโยชนของครัวเรือนโดยรอบบริเวณพื้นที่ชุมน้าํ การใชประโยชนของครัวเรือน จํานวนครัวเรือน ใชพื้นที่โดยรอบและใชน้ําทํานา 100 ใชพื้นที่โดยรอบเพื่อทําไร 20 ใชพื้นที่โดยรอบเพื่อทําสวนผลไม 10 ใชพื้นที่และใชน้ําเลี้ยงวัวควาย 30 หาหนอไมโดยรอบบริเวณ 50 เก็บเห็ดโดยรอบบริเวณ 60 หาบัวและเก็บใชพืชน้ํา 10 หาปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ในทะเลสาบ 150 ใชน้ําเพื่อบอปลา 20 ใชเปนแหลงน้าํ ดิบเพื่อผลิตน้ําประปา 200 ดวยสภาพธรรมชาติที่สวยงาม ทะเลสาบแสนงามยังเปนแหลงพักผอนหยอนใจและเปนแหลงดู นกที่สําคัญ มีขอมูลประกอบดวย • ขอมูลนักทองเที่ยว: มีนักทองเที่ยวชาวไทยและตางประเทศมาเยือนพื้นที่ จากตารางผนวก 2 มีคาใชจายของนักทองเที่ยว ไดแก คาเดินทางไป-กลับจากแหลงพํานัก และคาใชจายใน พื้นที่ซึ่งประกอบดวย ที่พัก อาหาร และคาใชจายอื่นๆ ดังตารางผนวก 3 • ขอมูลแหลงพํานัก: มีรีสอรท 5 แหงซึ่งเปนของนักธุรกิจนอกพื้นที่ สําหรับไกดและเรือ ทองเที่ยว ตลอดจนรานอาหารเปนธุรกิจของคนในชุมชน ตารางผนวก 2 สถิตินักทองเที่ยวที่มาเยือนทะเลสาบแสนงาม พ.ศ. 2545-2548 ป พ.ศ. นักทองเที่ยวชาวไทย นักทองเที่ยวตางประเทศ ไป-กลับ พักแรม ไป-กลับ พักแรม 2545 4,000 5,000 500 200 2546 3,000 6,000 600 150 2547 5,000 9,000 1,000 400 2547 5,000 8,000 900 300 2548 4,000 10,000 600 400

4-26

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ตารางผนวก 3 รายการคาใชจายของนักทองเที่ยวที่มาเยือนทะเลสาบแสนงาม รายการคาใชจายเฉลี่ย (บาท/คน) นักทองเที่ยวชาวไทย นักทองเที่ยวตางประเทศ คาเดินทางไป-กลับจากภูมิลําเนา 600 40,000 คาที่พักในพื้นที่ 1,000 1,500 คาอาหารในพืน้ ที่ 800 12,000 คาใชจายอื่นๆ ในพื้นที่ 200 500 รวมคาใชจายตอคน (บาท/ครัง้ ) 2,600 54,000 ขอใหกําหนดขอสมมติตามความจําเปนและตอบคําถามตอไปนี้ • สมมติขอมูลเชิงนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําทะเลสาบแสนงาม ตามความจําเปนและเหมาะสม • หามูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ โดยจําแนกเปนมูลคาจากการใช และมูลคาอื่นๆ โดยพิจารณา มูลคาที่เกิดขึ้นและการกระจายผลประโยชน มูลคาใดบางที่นาจะเกิดขึ้นแตยังไมไดประเมิน ควรหาขอมูลและประเมินอยางไร • การประเมินมูลคาจากการใชเพื่อการทําประมงและเลี้ยงปลา ทานจะมีวิธีการเก็บขอมูลอยางไร ในระยะเวลาที่จํากัด อธิบายใหละเอียด • ในการประเมินมูลคาเพื่อเชิงนันทนาการและการกระจายผลประโยชน ทานมีวิธีการประเมิน อยางไร อธิบายใหละเอียด และหากจําเปนตองเก็บขอมูลเพิ่มเติมเพื่อใชในการประเมินมูลคา สวนนี้ ทานมีขอเสนอแนะอยางไร

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-27


ภาคผนวก 2 การวิเคราะหผลประโยชนและตนทุนของการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํา ประเด็น ภาครัฐจะมีโครงการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําแหงหนึ่ง โดยมีขอมูลดานผลประโยชนและตนทุนของ การอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา แนวทางการศึกษา วิเคราะหผลประโยชนและตนทุนของสังคม โดยใชหลักการวิเคราะหโครงการ สมมติวา ในการดําเนินโครงการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําแหงหนึ่ง มีขอมูลดานผลประโยชนที่เกิดขึ้น จากการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา ดังนี้ มูลคาจากการใช การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ไมเพื่อการกอสราง ไมฟนและถาน กระจูดจากปาพรุ สมุนไพรทํายา เนื้อและหนังจากสัตว ของปา ปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ทุงหญาเลี้ยงสัตว น้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค น้ําเพื่อการขนสง แหลงเติมน้ําใตดิน ควบคุมและปองกันน้ําทวม ปองกันการพังทลายและทําใหเกิดความสมดุลของชายฝง แหลงเก็บกักตะกอน ควบคุมคุณภาพน้ํา งานวิจัยและมูลคาทางการแพทยจากพืชปา รวม

4-28

มูลคาคาดคะเน (ลานบาทตอป) 14.0 0.4 0.8 0.08 0.6 1.2 4.0 6.0 0.2 0.6 0.12 0.8 1.0 0.6 0.48 0.6 0.8 32.28

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


ขอมูลดานตนทุนของโครงการอนุรักษพนื้ ที่ชุมน้ําดังกลาว มีดังนี้ หนวย: ลานบาทตอป รายการ ภาครัฐ y คาใชจายดานการจัดการในพื้นที่ y คาใชจายในการเก็บรวบรวมและจัดการขอมูล องคกรระหวางประเทศ y คาใชจายดานการจัดการความหลากหลายของสายพันธุ y คาใชจายในการเพิ่มความสามารถของสถาบัน องคกรเอกชน y คาใชจายดานการศึกษาของชุมชน รวม

การจัดการ พื้นที่

การจัดการทรัพยากร ประมง

6

8 2

3 1 1 11

10

คํานวณมูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการอนุรักษพื้นที่ชุมน้าํ ในชวงเวลา 20 ป กําหนดใหอัตรา คิดลด เทากับรอยละ 8 โดยมีขอมูลประกอบการวิเคราะหเพิ่มเติม คือธุรกิจการทองเที่ยวเชิงอนุรักษมี คาใชจายดานแรงงาน การจัดการสถานที่ คาขนสง และคาใชจายอื่นๆ เทากับ 6 ลานบาทตอป สมมติวาเนื่องจากนโยบายของรัฐตองการใชพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของพื้นที่ชุมน้ําดังกลาวมา พัฒนาเพื่อสรางทาเรือและสิ่งอํานวยความสะดวกของนักทองเที่ยว โดยมีขอมูลประกอบการวิเคราะห ดังนี้ y รายไดที่จะไดรับจากการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว เทากับ 12 ลานบาทตอป y ตนทุนในการปรับสภาพพื้นที่ ซึ่งเกิดขึ้นในปเริ่มตน เทากับ 8 ลานบาท y ตนทุนผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการพัฒนาพื้นที่ชุมน้ํา ซึง่ เกิดขึ้นทุกปหลังจากป เริ่มตน เทากับ 6 แสนบาทตอป เปรียบเทียบมูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํากับโครงการพัฒนาสรางทาเรือ และสิ่งอํานวยความสะดวก โดยมีขอมูลประกอบการวิเคราะห กลาวคือ อัตราคิดลด คิดเปนรอยละ 8 และอายุของโครงการเทากับ 20 ป ขอใหทานพิจารณาวาทางเลือกใดดีที่สุด เพราะเหตุใด

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา

4-29


ขอใหทานวิจารณผลจากการวิเคราะหที่ไดในขอ 2 และผลการวิเคราะหดังกลาวมีขอสมมติ อยางไรบาง Comment (1) อายุโครงการ 20 ป ซึ่งการอนุรักษสามารถมีการใชประโยชนตลอดไป (2) การตัดพื้นที่ครึ่งหนึ่งเพื่อ พัฒนา เมื่อนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบกัน แสดงวากรณีอนุรักษเราสมมติใหมูลคาเฉลี่ยของพื้นที่เทากันทุกตารางนิ้ว ซึ่งความเปน จริงอาจไมใชเชนนั้น หากมีการพัฒนาในพื้นที่ที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอระบบนิเวศแลว ตนทุนดานสิ่งแวดลอมในการพัฒนายอม สูงกวาที่เห็น ซึ่งเราคิดตนทุนเพียงปละ 0.6 ลานบาท (3) การคิดตนทุนดานสิ่งลอมจากการพัฒนา ใหเทากันทุกป อาจไมเปนจริง เพราะยังไมไดคํานึงถึง accumulative and spill-over effects ที่เกิดกับความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรประมงชายฝง หรือ ผลกระทบตอคุณภาพน้ําที่จะสงผลตอไปถึงการทองเที่ยวทางน้ํา เปนตน

4-30

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 4 คูมอื การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่ชมุ น้ํา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.