5_1

Page 1

ฉบับที่ 5

คูมือการวางแผน จัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม โดย

ยงยุทธ ไตรสุรัตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-1


5-2

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


คูมือการวางแผน จัดการพื้นที่ชมุ น้ําอยางมีสวนรวม

คูมือฉบับนี้จะนําคุณลักษณะทางนิเวศที่สําคัญของพื้นที่ ชุมน้ํา การประเมินรักษาความคงอยู และภัยคุกคามที่สงผลกระทบ ตอการรักษาคุณลักษณะทางนิเวศ และการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํา อยางยั่งยืน มาใชในการวิเคราะหประเด็นปญหาและโอกาสของ การจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ตามขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร แลว กําหนดเปาหมายการอนุรักษเพื่อลดภัยคุกคาม และเพิ่มศักยภาพ ในการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา

ขั้นตอนการดําเนินการ การวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวมแบงออกไดเปน 3 ระยะ คือ • ระยะ 1 การจัดเตรียมผูมีสวนได-สวนเสียและรวบรวมขอมูล • ระยะ 2 การจัดทําแผนยุทธศาสตรการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา และ • ระยะ 3 การดําเนินงานตามแผนและการติดตามประเมินผล โดยทั้ง 3 ระยะจะแบงการทํางานออกเปน 5 ขั้นตอนหลักคือ • การจัดองคกรและรวบรวมขอมูล • การวิเคราะหประเด็นปญหาและกําหนดวิสัยทัศน • การจัดทํายุทธศาสตร • การกําหนดแผนปฏิบัติและดําเนินการ • การติดตามประเมินผล และการปรับแผน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-3


และแบงเปนขั้นตอนยอย ดังภาพ 1 (ในทางปฏิบัติ ทีมวางแผนหลัก อาจจะเปลี่ยนแปลงลําดับ ขั้นตอนไดตามความเหมาะสมเพื่อใหการวางแผนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และไดผลลัพธ ตามที่ตองการ)

ภาพ 1 การวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

การจัดองคกรและรวบรวมขอมูล การกําหนดบุคลากรที่เกี่ยวของ มีความสําคัญตอการจัดทําแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ทั้งดานการวางแผนและการดําเนินงาน ตามแผน ซึ่งสามารถแบงบุคลากรออกไดเปน 3กลุม คือ คณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ํา ทีมวางแผนหลักของ พื้นที่ชุมน้ํา และวิทยากรกระบวนการ • การจัดตั้งคณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ํา เพื่อใหการดําเนินงานเปนที่ยอมรับและสอดคลอง กับนโยบายของสวนราชการที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ํา จึงอาจเปนคณะกรรมการในระดับ จังหวัด ระดับอําเภอ ระดับตําบล หรือระดับเทศบาล ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของพื้นที่ เพื่อทําหนาที่กํากับการจัดทําแผน ใหคําแนะนําทางวิชาการและนโยบาย รวมทั้งการจัดทํา งบประมาณ คณะกรรมการฯ ชุดนี้ควรแตงตั้งโดยหัวหนาสวนราชการตามขางตน โดยมีผูที่ มีความรูความสามารถ เปนที่ยอมรับของทุกฝาย ทําหนาที่เปนประธาน และมีกรรมการจาก ผูแทนสวนราชการที่เกี่ยวของ เชน สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด ชลประทานจังหวัด สํานักงานจังหวัด นายอําเภอ หัวหนาพื้นที่ชุมน้ํา ผูนําชุมชน เปนตน ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ

5-4

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


รายชื่อคณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ํา อํานาจและหนาที่ของคณะกรรมการฯ • การจั ด ตั้ ง ที ม วางแผนหลั ก ของพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า ที ม งานวางแผนหลั ก จะถู ก คั ด เลื อ กและ แตงตั้งโดยคณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ํา โดยประกอบดวยผูมีสวนได-สวนเสียจํานวน 15-20 คน ซึ่งเปนผูแทนหนวยงานและองคกรตางๆ เชน กลุมผูใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํา (กลุมผูใชน้ํา กลุมประมง กลุมอนุรักษนก เปนตน) และผูมีหนาที่รับผิดชอบการจัดการ (หัวหนาพื้นที่ชุมน้ํา อบต./อบจ. สํานักงานจังหวัด ชลประทาน สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัด เปนตน) หลังจากนั้น จะตองประเมินความรู ความสามารถของทีมวางแผนเพื่อจัด ฝกอบรมใหความรูและสรางความตระหนักเกี่ยวกับคุณคา บทบาทและหนาที่ของพื้นที่ชุมน้ํา กระบวนการวางแผน และการทํางานเปนทีม นอกจากนี้ อาจเสนอหรือแตงตั้งคณะทํางาน ยอย หรือที่ปรึกษา เพื่อรับผิดชอบงานแตละดาน ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ การเลือกบุคลากรของทีมงานวางแผนหลักและหนาที่รับผิดชอบ การกําหนดคณะทํางานและที่ปรึกษา (ถามี) • การเลือกวิทยากรกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ วิทยากรกระบวนการจะทําหนาที่ เปน ผูแนะนํากระบวนการวางแผนและจัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวของ ดังนั้นจึงควรมีความรูดาน พื้นที่ชุมน้ํา มีความเขาใจกระบวนการวางแผน แกไขปญหาความขัดแยงและมีความเปน กลาง ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ วิทยากรกระบวนการ ในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา

ภาพ 2 ตัวอยางการจัดองคกรการวางแผนพืน้ ที่ชุมน้ําหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-5


การวิเคราะหพื้นที่และกําหนดขอบเขตของพื้นที่วางแผน ทีมงานวางแผนหลักจะรวมกันกําหนดขอบเขตพื้นที่วางแผนวาอยูที่ไหน และมีขนาดเทาไหร โดยใชแนวทางการจัดการเชิงระบบนิเวศ พรอมทั้งรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา U การกําหนดขอบเขตพื้นที่วางแผน การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําควรมีขอบเขตคลุม ไมใชเฉพาะพื้นที่ที่ประกาศเปนแรมซาร หรือขอบเขตตามกฎหมายเทานั้น แตควร ครอบคลุมขอบเขตทางนิเวศ เชน ขอบเขตลุมน้ําที่น้ําที่ไหลลงสูพื้นที่ชุมน้ํา การกระจาย ของปลาและนกน้ํ า การใช ป ระโยชน ท รั พ ยากรในพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า โดยสอดคล อ งกั บ การ บริ หารงาน และมี ค วามเหมาะสมในทางปฏิ บั ติ ดั ง ตั วอย า งการกํ า หนดขอบเขตพื้ น ที่ วางแผนพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย (ภาพ 3) ผลที่คาดวาจะไดรับจากในขั้นตอนนี้ คือ ขอบเขตและขนาดของพื้นที่วางแผน

พื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4 กม2 และคาบเกี่ยวตําบลปาสัก และตําบลโยนก อําเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย รวมพื้นที่ประมาณ 100 กม2 ประชาชนจาก 2 ตําบล เขามาใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคายเพื่อการดํารงชีพ ดังนั้น จึงกําหนดใหพื้นที่วางแผนครอบคลุมทั้ง 2 ตําบล เพื่อความเหมาะสมในการทํางาน และครอบคลุมปจจัยทางนิเวศที่เกี่ยวของ

ภาพ 3 ขอบเขตพื้นที่วางแผนพื้นทีช่ ุมน้ําหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย U การรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศและการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํา อนุสัญญา วาดวยพื้นที่ชุมน้ําไดจําแนกขอมูลลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําออกเปน 2 สวนหลัก และ 4 คุณลักษณะยอย • สวนที่ 1: คุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา ประกอบดวย 3 คุณลักษณะยอย คือ ขอมูลดานกายภาพ เชน ขอบเขตและขนาดของพื้นที่ ลักษณะภูมิประเทศ ดิน ปริมาณน้ํา ความลึก เปนตน

5-6

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


ขอมูลดานชีวภาพ เชน ชนิดพืชและสัตวที่สําคัญ สถานภาพ การกระจาย ถิ่นที่อยู อาศัย ชนิดพืชและสัตวตางถิ่น เปนตน และ ขอมูลดานฟสิกส-เคมี เชน ความเปนกรด-ดาง ความเค็ม ความโปรงแสง ปริมาณ ธาตุอาหารในน้ํา เปนตน • สวนที่ 2: สถานภาพทางกฎหมายของพื้นที่ การใชประโยชนทรัพยากรของประชาชน ภัยคุกคามตางๆ รวมทั้งนโยบาย มาตรการ และแผนงานที่เกี่ยวของกับการจัดการ พื้นที่ชุมน้ําในทุกระดับ ขอมูลทั้ง 2 สวนสามารถรวบรวมไดจากการประเมินชุมชน อยางมี สวนร วม และการประเมินคุณคาทางเศรษฐศาสตร สวนการเก็ บขอมู ล คุณลักษณะทางนิเวศในรายละเอียดบางประเด็น จะใชแนวทางการสํารวจพื้นที่ชุมน้ําใน เอเชีย รวมทั้งการจัดทําฐานขอมูล GIS ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ แผนที่แสดงขอบเขตพื้นที่วางแผน ขอมูลลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําและ พื้นที่ใกลเคียง (ดานกายภาพ ชีวภาพ และฟสิกส-เคมี) ที่จัดทําโดยระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร (GIS) หรือแผนที่กระดาษ ประเภททรั พ ยากร มู ล ค า ทางเศรษฐศาสตร และพื้ น ที่ ที่ ป ระชาชนเข า ไปใช ประโยชนในพื้นที่ชุมน้ํา นโยบาย มาตรการ และแผนงานที่เกี่ยวของ ระบบนิเวศ ชนิดพันธุพืชและสัตว ที่มีความสําคัญในกระบวนการทางนิเวศ และมี ความเปราะบาง

การวิเคราะหประเด็นปญหา และกําหนดวิสัยทัศน การวิเคราะหประเด็นปญหาและสาเหตุ ทีมวางแผนหลักจะรวมกันวิเคราะหประเด็นปญหาหรือภัยคุกคามที่รายแรง สาเหตุทั้งทางตรง และทางอ อ มที่ จ ะมีผ ลกระทบตอ ความสมบูร ณ ข องคุ ณ ลัก ษณะทางนิเ วศของพื้ นที่ ชุ ม น้ํา และการใช ประโยชนอยางยั่งยืน และใครเปนผูมีสวนได-สวนเสีย ประเด็นปญหาในเบื้องตนที่ไดรับจากการประเมินชุมชนอยางมีสวนรวม เชน จํานวนปลาลดลง ปริมาณไมเพียงพอกับความตองการ หรือจํานวนนกน้ําลดลง จะถูกนํามาจัดลําดับความเรงดวนในการ แกไขปญหาตอไป โดยมีการวิเคราะห 2 ขั้นตอน คือ การวิเคราะหแรงกดดัน และการวิเคราะหสาเหตุ ของแรงกดดัน การวิเคราะหแรงกดดันที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศชุมน้ํา แรงกดดัน คือ สิ่งรบกวนที่มีผลตอการทําลาย ทําใหเลวลง หรือทําใหเสียหายตอคุณลักษณะ ทางนิเวศ ซึ่งเกิดจากการกระทําของมนุษย ไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม ผลกระทบที่เกิดจาก ภัยคุกคาม หรืออาการของคุณลักษณะทางนิเวศที่มีสถานภาพเสื่อมโทรมลง หรือมีโอกาสเสื่อมโทรมใน อนาคต (10 ป) สวนใหญสามารถสังเกตไดเชน ถิ่นที่อยูอาศัยของนกน้ําถูกคุกคาม ปริมาณปลาในทะเลสาบ มีจํานวนลดลง และคุณภาพน้ํามีแนวโนมลดต่ํากวามาตรฐานน้ําใช เปนตน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-7


The Nature Conservancy (TNC) ไดเสนอเกณฑ ในการการลําดับความสําคัญของแรงกดดัน หรืออาการ สําหรับการวางแผนอนุรักษ 2 เกณฑ คือ สัดสวนที่ถูกคุกคาม และ ระดับความรุนแรง ที่มีผล ตอเปาหมายการอนุรักษ หรือคุณลักษณะทางนิเวศ ดังนี้ สัดสวนที่ถูกคุกคาม : บอกขนาดหรือสัดสวนของพื้นที่ทั้งหมดของพื้นที่วางแผน หรือ คุณลักษณะทางนิเวศที่ไดรับผลกระทบจากภัยคุกคามภายในระยะเวลา 10 ป แบงออกเปน 4 ระดับ ดังนี้ • อยางมาก: เกิดทั้งพื้นที่ที่ปรากฏของคุณลักษณะทางนิเวศ (>90%) • มาก: พบทั่วไป ที่ปรากฏของคุณลักษณะทางนิเวศ (50-90%) • ปานกลาง: พบบางพื้นที่ ที่ปรากฏของคุณลักษณะทางนิเวศ (10-50%) • นอย: พบนอยมากที่ปรากฏของคุณลักษณะทางนิเวศ (<10%) ระดั บ ความรุ น แรง : บอกระดั บ ความรุ น แรงที่ มี ผ ลกระทบต อ คุ ณ ลั ก ษณะทางนิ เ วศ ใน ระยะเวลา 10 ป ในสถานการณปจจุบัน แบงออกไดเปน 4 ระดับ คือ • อยางมาก: ทําลายหรือขจัดคุณลักษณะทางนิเวศ ทั้งหมด (> 75%) • มาก: คุณลักษณะทางนิเวศ ไดรับผลกระทบมาก (50-75%) • ปานกลาง: คุณลักษณะทางนิเวศ ไดรับผลกระทบบางสวน (25-50%) • นอย: คุณลักษณะทางนิเวศ ไดรับผลกระทบเล็กนอย (<25%) ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ ภัยคุกคามหรือประเด็นปญหาที่สําคัญ ที่มีผลตอระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา การระบุและจัดลําดับสาเหตุของภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศชุมน้ํา สาเหตุหรือแหลงของภัยคุกคามคือ สาเหตุโดยตรงของภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศ พื้นที่ชุมน้ํา ในการดําเนินการใหทําตนไมปญหา โดยหยิบปญหาเพียงปญหาเดียวมาเปนตัวตั้ง แลว วิเคราะหหาสาเหตุ เชน ความเสื่อมโทรมของถิ่นที่อยูอาศัยของนกน้ํา อาจมีสาเหตุมาจากการเลี้ยงควาย การทองเที่ยว และการยึดครองของพืชตางถิ่น แลวจัดลําดับของสาเหตุของภัยคุกคาม โดยใชสาเหตุที่ สําคัญ จากการวิเคราะหพบวา การเลี้ยงควาย เปนสาเหตุที่สําคัญที่สุด เปนตน ปจจัยหรือเกณฑที่ใช ประกอบดวย สัดสวนที่มีตอภัยคุกคาม และความสามารถในการฟนฟู ดังนี้ สัดสวน: สัดสวนของสาเหตุที่วิเคราะหเทียบกับสาเหตุทั้งหมดของภัยคุกคามที่มีผลตอพื้นที่ วางแผนหรือคุณลักษณะทางนิเวศ ภายในระยะเวลา 10 ป แบงออกเปน 4 ระดับ คือ • อยางมาก: มีสัดสวนมากกวา 75% ของสาเหตุทั้งหมด • มาก: มีสัดสวน 50-75% ของสาเหตุทั้งหมด • ปานกลาง: มีสัดสวน 50-75% ของสาเหตุทั้งหมด • นอย: มีสัดสวนนอยกวา 25% ของสาเหตุทั้งหมด ความสามารถฟนคื นได : ความสามารถหรือ ไมสามารถในการฟ นคืนสภาพได หาก คุณลักษณะทางนิเวศถูกทําลาย จากผลกระทบที่เกิดขึ้นขางตน ซึ่งปกติจะประเมินจากความยากงายของ วิธีการที่จะใชในการฟนฟู และคาใชจายในการฟนฟู แบงออกเปน 4 ระดับ คือ

5-8

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


• • • •

ยากมากที่สุด: ถูกทําลายถาวรไมสามารถปรับปรุงฟนฟูได ยากมาก: ผลกระทบที่ไดรับสามารถฟนฟูได แตดําเนินการไดยาก ปานกลาง: สามารถฟนฟูได ถามีงบประมาณเพียงพอในการดําเนินงาน งาย: สามารถฟนฟูไดงาย และใชงบประมาณนอย

ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ สาเหตุของภัยคุกคาม ที่มีผลตอลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา

ตัวอยางการประเมินภัยคุกคามตอคุณลักษณะทางนิเวศที่สําคัญ ในพื้นที่ชุมน้ําแหงหนึ่ง มีคุณลักษณะทางนิเวศที่สําคัญ 4 ดาน คือ น้ําผิวดิน พืชน้ํา ปลา และ นกน้ํา แตจากการวิเคราะหภัยคุกคามโดยพิจารณาจากแรงกดดัน และสาเหตุของแรงกดดัน พบวา การบุกรุกของพืชตางถิ่น (ไมยราบยักษ) เปนภัยคุกคามมากตอพืชน้ําธรรมชาติ มีผลปานกลางตอ ปลาและนกน้ํา และมีผลกระทบนอยตอคุณภาพและปริมาณน้ําผิวดิน และในภาพรวมพบวาเปนภัย คุกคามระดับปานกลาง ภัยคุกคามที่สําคัญของน้ําผิวดิน คือ การใชสารเคมีในสวนผลไม พืชไร การ ปลอยน้ําทิ้ง การทับถมของตะกอน และการระบายน้ําออกจากพื้นที่ชุมน้ํา เพื่อใชในการเพาะปลูก และ ในภาพรวมพบวากําลังถูกคุกคามอยางมาก และมีผลตอความบริบูรณในระยะยาว ภัยคุกคาม การบุกรุกของพืชตางถิ่น การจับปลามากเกินไป การใชสารเคมีในสวนผลไม ไร การปลอยน้ําทิ้งจากชุมชน และรีสอรท การทับถมของตะกอน การเลี้ยงสัตว การระบายน้ําเพื่อการเกษตร การบุกรุกพื้นที่ทะเลสาบ การขาดความเชื่อมโยงของแหลงน้ํา ภาพรวมการถูกคุกคาม

น้ําผิวดิน

พืชน้ํา

ปลา

นกน้ํา

นอย มาก ปานกลาง ปานกลาง นอย ปานกลาง นอย มาก นอย ปานกลาง นอย มาก มาก มาก ปานกลาง มาก นอย นอย ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก ปานกลาง มาก ปานกลาง มาก ปานกลาง มาก ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

ระดับของภัย คุกคามโดยรวม ปานกลาง นอย ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง

ประเมินสถานการณ เปนการวิเคราะหความเชื่อมโยงระหวาง ภัยคุกคามทางออม ที่มีผลทั้งดานลบและดานบวก ตอ สาเหตุและแรงกดดันตอคุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา หรือการใชประโยชนทรัพยากร การ ประเมินสถานการณทําไดโดยการเขียนแผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงของระบบนิเวศ ภัยคุกคาม สาเหตุ และปจจัยที่เกี่ยวของ ดังกรณีศึกษาหนองบงคาย ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • แผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวาง คุณลักษณะทางนิเวศ ภัยคุกคามรายแรง สาเหตุ และ ปจจัยคุกคามทางออมและโอกาส ที่เกี่ยวของ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-9


จากแผนภูมิขางตน พบวาภัยคุกคามตอถิ่นที่อยูอาศัยของนกน้ํา ปลา และความบริบูรณของพื้นที่ชุมน้ํา ประกอบดวย y การบุกรุกพื้นที่ทะเลสาบหนองบงคาย เนื่องจากความตองการในการซื้อขายที่ดิน และความไมชัดเจนของแนวเขตหามลาสัตวปา ที่มีการเปลี่ยนแปลงระหวางฤดูฝนและฤดูแลง และการขาดจิตสํานึกของประชาชนในการใชชองวางของกฎหมาย y การรุกรานของพืชและสัตวตางถิ่นในทะเลสาบ เชน การระบาดไมยราบยักษ เปนตน และ y การจับปลามากเกินไปและ การรบกวนพื้นที่วางไขโดยชาวประมง เปนตน

ภาพ 4 แผนภูมิแสดงการวิเคราะหสถานการณ พืน้ ที่ชุมน้าํ หนองบงคาย

การกําหนดวิสัยทัศนของพื้นที่ชุมน้ํา วิสัยทัศน หมายถึง ขอความสรุปที่บงบอกสิ่งที่ตองการในอนาคต (10-20 ป) ที่ทีมวางแผนหลัก และสาธารณชนเห็นรวมกัน วาตองการใหระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํามีสถานภาพอยางไร หรือรูปแบบการใช ประโยชนและการจัดการทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําเปนอยางไร การกําหนดวิสัยทัศน ทีมวางแผนอาจใช กระบวนการพลังสรางสรรคหรือ AIC หรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม และพิจารณาปจจัยภายในและปจจัย ภายนอกที่เกี่ยวของ ดังนี้ • ปจจัยคุณลักษณะทางนิเวศและศักยภาพของพื้นที่ชุมน้ํา เชน พืชพรรณ สัตว และน้ํา • ปจจัยผลกระทบจากกิจกรรมมนุษยภายในและภายนอกพื้นที่ เชน การนําพืชหรือสัตวตาง ถิ่นเขามาในพื้นที่ การใชประโยชนทรัพยากร การเปลี่ยนแปลงทางน้ํา การใชประโยชนที่ดิน บริเวณตนน้ํา เปนตน • ปจจัยสิ่งแวดลอมภายนอกใน เชน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงระดับน้ํา การแพรกระจายของโรคระบาด เปนตน • นโยบาย กฎหมาย และแนวโนมการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมทั้งในและนอกพื้นที่ • ประเด็นปญหาความขัดแยงในพื้นที่ระหวางผูมีสวนได-สวนเสีย เจาหนาที่กับราษฎร • ศักยภาพขององคกรในทุกระดับ เจาหนาที่ และระดับการมีสวนรวมของผูมีสวนได-สวนเสีย ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • ถอยความระบุถึงวิสัยทัศนของพื้นที่ชุมน้ํา

5-10

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


กระบวนการพลังสรางสรรค (AIC) A (appreciation): ใหผูมีสวนได-สวนเสีย แตละคนแสดงความคิดเห็นหรือความมุงหวังอยาง อิสระ (ไมมีการคัดคาน หรือโตแยง) โดยอาจใชการพูด การเขียน หรือการเลา I (interaction): วิทยากรกระบวนการ ประมวนความคิด และความมุงหวังที่คลายกันเขาดวยกัน การใหเหตุผล ความเปนไปได และความเหมาะสม โดยพิจารณาจากศักยภาพของพื้นที่ ขอมูลที่เชื่อถือ ได เปนตน C (consensus or control): การหาขอสรุปความมุงหวังหรือความตองการของผูมีสวนได-สวน เสีย โดยการใชฉันทามติ หรือความเห็นพองเหมือนกัน ไมใชการโหวตลงคะแนน ตัวอยางวิสัยทัศนพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย “หนองบงคาย มีนกหลากหลาย ฝูงปลามากมาย น้ําใสบริสุทธิ์ เพิ่มพูนปาไมเขียวขจี เปนที่ทองเที่ยว เชิงอนุรักษ พิทักษสิ่งแวดลอม ประชาพรอมรัฐรวมรักสามัคคี พัฒนาฟนฟู นําสูการใชประโยชนอยาง ชาญฉลาดและยั่งยืน”

การจัดทํายุทธศาสตรพื้นที่ชุมน้ํา การกําหนดเปาประสงค วัตถุประสงค และแนวทางการดําเนินงาน ทีมวางแผนหลักโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ํา จะรวมกันกําหนดเปาประสงค วัตถุประสงคที่อธิบายถึงจุดมุงหมายหรือความสําเร็จ พรอมทั้งการจัดทําแนวทางการจัดการที่เหมาะสม เพื่อลดภัยคุกคาม และเสริมสรางประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา และสงเสริมการใชประโยชนที่ ยั่งยืน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ การกําหนดเปาประสงค เป า ประสงค คื อ ถ อ ยความที่ บ ง บอกถึ ง ความต อ งการอย า งกว า งๆ ในระยะยาวเกี่ ย วกั บ คุณลักษณะทางนิเวศของพื้นที่ชุมน้ํา หรือการใชประโยชนทรัพยากร คุณลักษณะของเปาประสงคที่ดี มี ดังนี้ • เปนถอยความที่บงบอกถึงความมุงหวัง โดยทั่วไปครอบคลุมทั้งพื้นที่ศึกษา • เปนนามธรรม ไมสามารถตรวจวัดได ไมมีเวลากําหนด • มีความสัมพันธกับประเด็นปญหาและโอกาส และวิสัยทัศน ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอน คือ • เปาประสงคที่ตองตอบสนองหรือครอบคลุมทุกภัยคุกคาม หรืออาการ ที่มีผลตอคุณลักษณะ ทางนิเวศ หรือการจัดการที่ไดคัดเลือกไว

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-11


คําแนะนําการเขียนถอยความเปาประสงค คําที่มักใชในการเขียนเปาประสงค y เพื่อเพิ่ม... y เพื่อเสริมสรางสมรรถนะ y เพื่อใหมีปริมาณเพียงพอ... y เพือ่ รักษา... ตัวอยางเปาประสงคของพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย y เพื่อใหมีปริมาณน้ําเพียงพอตอความตองตองการของประชาชนใน 2 ตําบล ตามสมรรถนะของ พื้นที่ชุมน้ํา y เพื่อรักษาคุณภาพน้ําในทะเลสาบใหสูงกวามาตรฐานของน้ําใชสอยในครัวเรือนของประเทศไทย และการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ํา การกําหนดวัตถุประสงคที่อธิบายผลสําเร็จ วัตถุประสงค คือ ถอยคําเฉพาะที่สามารถวัดผลของสิ่งที่เราตองการได สามารถบงบอกความ กาวหนาของการดําเนินงานของโครงการ โดยทั่วไปวัตถุประสงคเปนถอยความที่บองบอกความตองการลด สาเหตุของภัยคุกคาม หรือฟนฟูคุณลักษณะทางนิเวศที่เสื่อมโทรม วัตถุประสงคที่ดีตองมีคุณลักษณะ ดังนี้ มีผลกระทบโดยรวม มีความกระชับและชัดเจน มีลักษณะเปนรูปธรรม สามารถตรวจวัดได (จํานวน พื้นที่ หรือระยะเวลา) ที่ระบุความตองการใชทรัพยากรหรือสภาพที่ตองการ ปฏิบัติไดจริงและนาเชื่อถือ คําแนะนําการเขียนวัตถุประสงค คําที่มักใชในการเขียนวัตถุประสงค • คํากริยา ทรัพยากรหรือการใชประโยชนทรัพยากร ณ สถานที่ใด และ/หรือเวลาใด ตัวอยางวัตถุประสงคของพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย y เพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและสรางเครือขายผูใชน้ําภายในป พ.ศ. 2552 y ลดปริมาณการใชสารเคมีในพื้นที่เกษตร สิ่งปฏิกูล น้ําเสียจากแหลงชุมชน ฟารมเลี้ยงสัตว อยางนอย 20% ภายใน...ป ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอน คือ • วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ดี ต อ งตอบสนองหรื อ ครอบคลุ ม ทุ ก ภั ย คุ ก คามและความเสื่ อ มโทรมของ คุณลักษณะทางนิเวศ ที่ไดคัดเลือกไว • ครอบคลุมปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความสําเร็จของการวางแผนการจัดการดวย

5-12

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


กําหนดกรอบยุทธศาสตร หรือแนวทางการจัดการ กรอบยุทธศาสตรการดําเนินงาน หรือแนวทางการจัดการ คือ การดําเนินงานที่หนวยงานหรือ บุคคลที่เกี่ยวของจะนําไปปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไว แนวทางการจัดการที่ดีควรมีคุณลักษณะดังนี้ คือ มีความสอดคลองกับวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่ง มีความชัดเจนในทางปฏิบัติ มีความเปนไปไดในการดําเนินงานและใชจายเงินนอยที่สุด และมีความ เหมาะสมกับลักษณะทางสังคมและสิ่งแวดลอม ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอนนี้ คือ • กรอบยุทธศาสตรหรือแนวทางการจัดการอยางนอยหนึ่งแนวทาง สําหรับแตละวัตถุประสงค ของการอนุรักษ ตาราง 1 ความสัมพันธระหวางประเด็นปญหา เปาประสงค และวัตถุประสงค อาการ สาเหตุ ปริมาณน้ําในทะเลสาบไมเพียงพอ ตอความตองการของประชาชน

• ระบบการจัดการน้ําไม เหมาะสม • ปริมาณน้ําจํานวนมากสูญเสีย จากการรั่วซึม

การดําเนินงาน

จัดตั้งคณะทํางานบริหารการ ใชน้ํา และทําขอตกลงระหวาง กลุมผูใชน้ํา • จัดสรางระบบชลประทาน เชื่อมโยงเหมืองฝาย เปาประสงค วัตถุประสงค • ศึกษาความเปนไปไดในการ เพิ่มปริมาณน้ําในทะเลสาบ • เพื่อใหมีปริมาณน้ําเพียงพอตอ • เพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและ ตามสมรรถนะ ความตองตองการของ สรางเครือขายผูใชน้ํา ประชาชน

การแกไขปญหาความขัดแยงและการกําหนดเขตการจัดการ พื้นที่ชุมน้ําและพื้นที่ใกลเคียงโดยมากจะมีประชาชนและผูมีสวนได-สวนเสียเขามาใชประโยชน ทรัพยากร และมีหลายหนวยงานเขามาจัดการพื้นที่ ซึ่งมีวัตถุประสงคที่แตกตางกัน และมักมีความ ขัดแยงในการใชประโยชนและเปาหมายการจัดการ ในขั้นตอนนี้ทีมวางแผนจะรับฟงความคิดเห็นจาก ประชาชนและผูมีสวนได-สวนเสีย เพื่อแกไขปญหาความขัดแยงในการใชประโยชนทรัพยากร และ กําหนดเขตการจัดการที่เหมาะสม การเจรจาแกไขปญหาความขัดแยงและการตัดสินใจ การแกไขปญหาความขัดแยง แบงออกได 4 วิธี คือ • การใชคนกลางที่มีอํานาจตัดสินใจ เชน การใชกระบวนการทางศาล อนุญาโตตุลาการหรือ การตัดสินใจแบบไตรภาคี • การใชคนกลางที่ไมมีอํานาจตัดสินใจ เชน การอํานวยความสะดวกการประชุมและจัดหา วิทยากรกระบวนการ การคนหาความจริงโดยนําขอมูลตางๆ ที่ไดรวบรวมขางตนมาใช ประโยชน หรืออาจเก็บขอมูลเพิ่มเติมในบางประเด็น การไกลเกลี่ยประนีประนอม และการ สมานฉันท

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-13


• การแกไขปญหาความขัดแยงกันเอง เชน การเจรจาตอรองโดยสันติวิธี การไมเขาไปยุงเกี่ยว การเก็บกด และการใชกําลังความรุนแรง • การมีสวนรวมของผูมีสวนได-สวนเสีย ในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม แนะนําใหใชวิธีที่ 2-4 ตามความเหมาะสม ของแตละประเด็นปญหา และการเจรจาแกไขปญหาความขัดแยงควรมีเปาหมายหลักเพื่อรักษาความ สมบูรณของระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา และการใชประโยชนอยางยั่งยืน หลังจากที่ไดผลการเจรจาแกไข ความขัดแยง ควรทําขอตกลงระหวางผูมีสวนได-สวนเสีย ไวเปนหลักฐาน ผลที่คาดวาจะไดรับใน ขั้นตอน คือ • ขอตกลงระหวางผูมีสวนได-สวนเสีย ในการใชประโยชนทรัพยากรที่เปนขอขัดแยง • แนวทางดําเนิ นการ ในการลดปญ หาความขั ดแยง หรื อภั ยคุ กคาม เชน ทางเลื อ กในใช ทรัพยากรที่เหมาะสม เปนตน ตัวอยางการเจรจาแกไขปญหาความขัดแยงพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย ในพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย ชาวบานจากตําบลปาสัก ซึ่งอาศัยอยูเหนือน้ํา มีอาชีพหลักในการจับปลา และทําไร ต องการรัก ษาน้ําในทะเลสาบเพื่อเปนแหลงจับปลา แตป ระชาชนตําบลโยนก ที่อาศัยอยูท ายน้ํา ตองการน้ําเพื่อทําการเกษตร โครงการ MPW ไดจัดใชวิธีการอํานวยความสะดวกในการจัดประชุมระหวาง ชาวบานทั้ง 2 ตําบล แลวเชิญผูแทนจากชลประทานจังหวัด และหัวหนาเขตฯ มาเขารวมประชุมใหขอมูล และ ดําเนินการเก็บขอมูลเพิ่มเติมในบางประเด็น จากนั้นก็เปดใหมีการเจรจาแกไขปญหาความขัดแยงโดยสันติวิธี ผลจากการเจรจา สรุป วาประชาชนทั้ง 2 ตําบล จะรวมกัน จัด การปริม าณน้ําในเขื่ อนใหเหมาะสมกั บความ ตองการของทั้ง 2 ฝาย และรวมกันทําขอตกลงการจัดสรรน้ํา สวนชลประทานจังหวัดรวมกับเขตหามลาฯ และ จะปรับปรุงระบบชลประทานที่มีสภาพทรุดโทรม เพื่อใหสามารถกักเก็บและเพิ่มปริมาณน้ําเพียงพอกับความ ตองการ แตไมสงผลกระทบตอระบบนิเวศของพื้นที่ชุมน้ําโดยรวม

การแบงเขตการจัดการ เขตการจัดการเปรียบเหมือนกรอบแนวทางการจัดการ หรือแบงพื้นที่ตามความตองการการใช ประโยชนทรัพยากรอยางกวางๆ ตามศักยภาพของพื้นที่ และเปนเครื่องมือในการแกไขปญหาความขัดแยง อนุสัญญาแรมซารแนะนําใหแบงเขตการจัดการเปน 3 เขต ตามแนวทางของการจัดการพื้นที่สงวนชีวมณฑล (Man and Biosphere Reserve: MAB) ประกอบดวย • เขตแกนกลาง (core zone) เปนพื้นที่ที่มีระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ําที่เปราะบาง เปนที่อยูอาศัย และเปนที่ผสมพันธุ วางไข ของนกและปลาที่หายาก • เขตกันชน (buffer zone) เปนพื้นที่ที่อยูรอบเขตแกนกลาง อนุญาตใหมีการใชประโยชน ทางออม หรือมีความสอดคลองกับการอนุรักษคุณลักษณะที่สําคัญของพื้นที่ชุมน้ํา เชน การ ทองเที่ยว การศึกษา วิจัย การจับปลาในบางฤดูกาล เปนตน และอาจแบงเปนเขตยอยหาก จําเปน

5-14

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


• เขตรอบนอก (transition zone) เปนพื้นที่ที่เหลือในบริเวณพื้นที่วางแผน มีการใชประโยชน ที่ ห ลากหลาย หรื อ การใช ป ระโยชน อ ย า งเอนกประสงค เช น เป น ที่ อ ยู อ าศั ย พื้ น ที่ เกษตรกรรม เปนตน แตอยางไรก็ตาม การแบงเขตการจัดการควรพิจารณา รูปแบบการใชประโยชนที่ดิน หรือการ แบ ง เขตการใช ที่ ดิน ในปจ จุ บั น เช น การแบ ง ผั ง เมื อ ง ของกรมโยธาธิ การและผั ง เมื อ ง ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให สอดคลองกับมาตรการทางกฎหมาย และมีความเปนไปไดในทางในทางปฏิบัติ ผลที่คาดวาจะไดรับใน ขั้นตอน คือ • คําอธิบาย และแผนที่เขตการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ที่ครอบคลุมพื้นที่วางแผนทั้งหมด รวมทั้ง ขอบเขตของแรมซาร และแสดงตําแหนงที่สําคัญ • ขนาดพื้นที่ของแตละเขตการจัดการ และกิจกรรมในที่เหมาะสม และเหมาะสมในแตละเขต ตัวอยางเขตการจัดการพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย

ทีมวางแผนหลักมีมติใหแบงเขตการจัดการพื้นที่ชุมน้ําหนองบงกาย เปน 3 เขตหลัก และ 8 เขตยอย ดังนี้ • เขตปองกันและรักษาพื้นที่ชุมน้ํา แบงออกเปน 3 เขตยอย คือ - เขตหวงหาม - เขตอนุรักษนกน้ําพิเศษ - เขตอนุรักษแหลงน้ํา • เขตใชประโยชนเชิงอนุรักษ แบงออกเปน 2 เขตยอย คือ - เขตเกษตรพัฒนาเชิงอนุรักษ - เขตบริการและนันทนาการ • เขตใชประโยชนเอนกประสงค ตามมาตรการผังเมือง จังหวัดเชียงราย แบงออกเปน 3 เขตยอย คือ - เขตรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหลงน้ําและการประมง - เขตชนบทและเกษตรกรรม - เขตที่อยูอาศัยไมหนาแนน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-15


การนําแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําไปปฏิบัติ หลังจากที่ทีมวางแผนหลักไดจัดทําแผนยุทธศาสตรเสร็จเรียบรอย และประชุมขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ําแลว ก็จะเปนการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติ โดยการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประกอบดวย โครงการ หนวยงานที่รับผิดชอบ และวงเงินงบประมาณ กําหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติการจะเปนชวงๆ ละ 5 ป จะมีรายละเอียดประกอบดวย แนวคิดโครงการ (กิจกรรมยอย) ของแตละแนวทางการจัดการหรือกรอบยุทธศาสตร กรอบงบประมาณ และหนวยงานหรือผูรับผิดชอบ (เสนองบประมาณ) ที่เหมาะสม รวมทั้งระบุสถานที่และระยะเวลาในการดําเนินการดวย ผลที่คาดวาจะ ไดรับในขั้นตอนนี้ คือแผนปฏิบัติการ ประกอบดวยแนวคิดโครงการ และหนวยงานที่รับผิดชอบ • คณะทํางานกลั่นกรองขอเสนอโครงการ และงบประมาณ • การประมาณคาใชจายของโครงการ และระยะเวลา ตัวอยางเกณฑที่ใชในการพิจารณาแหลงงบประมาณ องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบต. อบจ. และเทศบาล) • โครงการขนาดเล็กใชงบประมาณไมมาก • ดําเนินงานในขอบเขตพื้นที่ขนาดเล็ก • สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมในชุมชน หนวยงานในระดับจังหวัด • เปนโครงการขนาดใหญใชงบประมาณมาก • สงผลกระทบตอพื้นที่บริเวณกวาง หนวยงานในสวนกลาง • โครงการที่เกี่ยวของกับกฎหมาย เชน การปรับปรุงแนวเขต • ตองการผูเชี่ยวชาญในการศึกษาวิจัย การกลั่นกรองคําของบประมาณ ควรจัดตั้งคณะทํางานกลั่นกรองขอเสนอโครงการ และงบประมาณ ประกอบดวยกลุมบุคคล ประมาณ 8-10 คน จากพื้นที่ชุมน้ํา องคกรทองถิ่น หนวยงานที่รับผิดชอบ สํานักงานจังหวัด พรอมทั้ง ประเมิ นศั ก ยภาพของคณะทํ างานฯ และจัด ฝ ก อบรมเสริ มสร างศั กยภาพ เช น การกลั่น กรองคํา ขอ งบประมาณ ระเบียบที่เกี่ยวของ และการประเมินผลโครงการ เปนตน (ถาจําเปน) โดยกรรมการบางทาน ควรมากจากทีมวางแผนหลักเพื่อใหเกิดความเชื่อมโยง ผลที่คาดวาจะไดรับ ในขั้นตอน คือ • สรุปศักยภาพของโครงการฯ • ความตองการในการเสริมสรางประสิทธิภาพของโครงการ เชน หลักสูตรการฝกอบรม เปนตน (ถามี)

5-16

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


การติดตามประเมินผล และการปรับปรุงแผนการจัดการ การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผล หรือตรวจวัดความสําเร็จของแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา สามารถ ดําเนินการไดใน 3 ระดับคือ • ความกาวหนาของโครงการ • สถานภาพของวัตถุประสงค และ • ผลกระทบของแผนฯ ตอคุณลักษณะทางนิเวศและทัศนคติของประชาชนตอพื้นที่ชุมน้ํา โดย มีขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้ กําหนดตัวชี้วัดที่จะใชในการตรวจวัดความสําเร็จ ตัวชี้วัด คือ สิ่งที่ใชวัดการเปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะที่สําคัญทางนิเวศวิทยา ระดับของภัย คุกคาม และความกาวหนาหรือสถานภาพของวัตถุประสงค ดังนั้น ในแตละวัตถุประสงคตองมีตัวชี้วัด อยางนอยหนึ่งตัวชี้วัด ที่สามารถบอกถึงประสิทธิภาพของยุทธศาสตรที่กําลังดําเนินงาน ลักษณะของ ตัวชี้วัดมีดังนี้ • สามารถตรวจวัดขนาดได และมีความชัดเจน • ไวตอการเปลี่ยนแปลง และสามารถหาขอมูลได เชน จํานวนตัวที่พบในแตละชวงเวลา ขนาดพื้นที่ระบบนิเวศ การกระจายของชนิดพืชและสัตวที่สําคัญ คาความเปนกรด-ดางของ แหลงน้ํา อัตราการเกิด โครงสรางอายุ เปนตน • บงบอกคุณคาทางเศรษฐกิจ เชน รายไดตอครัวเรือนเพิ่มขึ้นเทาไร ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอน คือ • ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ในการติดตามวัตถุประสงคหรือแนวทางการจัดการ • ตัวชี้วัดที่จะใชในการประเมินสถานภาพของภัยคุกคาม กําหนดวิธีการที่จะใชติดตามตัวชี้วัด วิธีการ หมายถึง วิธีการเฉพาะที่ใชในการเก็บขอมูลและตรวจวัดตัวชี้วัด ทีมวางแผนฯ ควรจะ เลือกวิธีการที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพ สามารถหาขอมูลและเชื่อถือได และผูมีสวนได-สวนเสีย ควรมี สวนรวมในการติดตามประเมินผล ผลที่คาดวาจะไดรับในขั้นตอน คือ • คําอธิบายอยางยอๆ วิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลของแตละตัวชี้วัด

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

5-17


ตัวอยางการกําหนดวิธีการวัดและติดตามผล กรณีศึกษาพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย วัตถุประสงค ประเภทตัวชี้วัด ตัวชี้วัด วิธีการเก็บขอมูล • การจัดการ • จํานวนเครือขายผูใชน้ํา ใชขอมูลบันทึกการประชุมกลุม • เพิ่มประสิทธิภาพการ สังเกตโดยตรงโดยอาสาสมัครใน ใชน้ําและสรางเครือขายผูใช • คุณลักษณะที่ • ระดับน้ําในเขื่อน หนาแลง สําคัญ น้ํา ระดับความเปนกรด-ดาง (pH) ใชขอมูลบันทึกคุณภาพน้ํา โดย • ลดปริมาณการใชสารเคมีใน • ภัยคุกคาม เจาหนาที่หรืออาสาสมัคร พื้นที่เกษตร สิ่งปฏิกูล

การวิเคราะหผลการติดตามผล และปรับปรุงแผน

ผลที่ไดจากการติดตามประเมินผล จะนํามาประมวลผลอยางเปนระบบ เพื่อนําทบทวนและ ปรับแกเปาหมายและวัตถุ ประสงค พรอมทั้งจัดทําเอกสารเกี่ยวกับบทเรียน ประสบการณที่ไดรับ เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงาน • วิเคราะหผลการดําเนินงานและขอมูลที่ไดจากการติดตามประเมินผล ทีมวางแผนฯ จะนําผลการประเมินผลและขอสังเกต มาวิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีการสถิติหรือการบรรยาย เพื่อเพิ่มความเขาใจกับแผนฯ และสามารถปฏิบัติงานในอนาคตใหดีขึ้น ผลที่คาดวาจะ ไดรับในขั้นตอน คือ วิธีการและกําหนดเวลาที่เหมาะสมในการวิเคราะหขอมูล • การปรับแกวัตถุประสงค กรอบยุทธศาสตร กิจกรรม นําผลการประเมินและบทเรียนที่ ไดรับจาการวิเคราะหขอมูล มาใชในการปรับปรุงแผนการจัดการ ผลที่คาดวาจะไดรับใน ขั้นตอน คือ ปรับปรุงการวิเคราะหพื้นที่ และภัยคุกคามใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น การปรับแกวัตถุประสงค กรอบยุทธศาสตร กิจกรรมและแผนการติดตามประเมินผลให เหมาะสมยิ่งขึ้น

ขอควรทราบ

คูมือฉบับนี้ ไดจัดทําขึ้นภายใตสมติฐานการมีสวนรวมของผูมีสวนได-สวนเสีย ทีมวางแผนมีการ ทํางานเปนทีม มีเก็บขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศและการใชประโยชนทรัพยากรโดยการประเมินชุมชน อยางมีสวนรวม ซึ่งเปนระยะที่ 1 การจัดเตรียมผูมีสวนได-สวนเสียและรวบรวมขอมูล อาจใชเวลา 6-12 เดือน ขึ้นอยูกับขนาดและความซับซอนของพื้นที่ชุมน้ํา กอนที่จะเขาสูระยะ 2 คือการจัดทําแผน ยุทธศาสตรการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา และระยะ 3 คือ การดําเนินงานตามแผนและการติดตามประเมินผล แตอยางไรก็ตาม การวางแผนสามารถสับเปลี่ยนขั้นตอนหรือดําเนินการซ้ําเสริมได เพื่อใหเกิดความ ชัดเจน ถูกตอง และหาขอสรุปที่เปนที่ยอมรับได

บทสรุป

ปจจัยที่มีความสําคัญตอการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม คือ การมีขอมูล คุณลักษณะทางนิเวศและการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําที่เพียงพอ ขอบเขตพื้นที่วางแผนครอบคลุมขอบเขต ระบบนิเวศ และ/หรือการใชประโยชนของประชาชน และมีการเตรียมความพรอมผูมีสวนได-สวนเสีย และทีมวางแผนซึ่งมาจากผูมีสวนได-สวนเสีย ตองเขามามีสวนรวมในทุกขั้นตอนของการวางแผน และ เปนผูมีสวนได-สวนเสียที่แทจริง

5-18

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


สรุปกระบวนการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม ขั้นตอน การจัดองคกรและรวบรวมขอมูล • การกําหนดบุคลากรที่เกี่ยวของ การจัดตั้งคณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ํา การจัดตั้งทีมวางแผนหลักของพื้นที่ชุมน้ํา

เครื่องมือ และอุปกรณที่สําคัญ

คําสั่งแตงตั้ง หรือการประชุมรวม การวิเคราะหผูมีสวนได-สวนเสีย การสรางทีม การศึกษาดูงาน

การเลือกวิทยากรกระบวนการ

การวิเคราะหพื้นทีแ่ ละกําหนดขอบเขตของพื้นที่วางแผน การกําหนดขอบเขตพื้นที่วางแผน การรวบรวมขอมูลคุณลักษณะทางนิเวศ และการใชประโยชนพื้นที่ ชุมน้ํา

การวิเคราะหประเด็นปญหาและโอกาส และการกําหนดวิสัยทัศน • การวิเคราะหประเด็นปญหาและสาเหตุ การวิเคราะหภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศชุมน้ํา การระบุและจัดลําดับสาเหตุของภัยคุกคามที่มีผลกระทบตอระบบ นิเวศชุมน้ํา การประเมินสถานการณ

แผนที่ภูมิศาสตร การประเมินชุมชนอยางมีสวนรวม การประเมิน คุณคาทางเศรษฐศาสตร และการสํารวจขอมูล พื้นที่ชุมน้ําในเอเชีย (AWI) และ GIS

การวิเคราะหภัยคุกคามโดยพิจารณาจากแรง กดดันและสาเหตุ (threat ranking by TNC), Root Cause Analysis การวิเคราะหจุดออน-จุดแข็ง (SWOT) หรือ ตนไม ปญหา (problem trees)

การกําหนดวิสัยทัศน การประชุมทีมวางแผนกําหนดวิสัยทัศน การจัดทํายุทธศาสตรการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา • การกําหนดเปาประสงค วัตถุประสงคและการดําเนินงาน การกําหนดเปาประสงค การกําหนดวัตถุประสงคที่อธิบายผลสําเร็จ กําหนดกรอบยุทธศาสตร หรือแนวทางการจัดการ • การแกไขปญหาความขัดแยงและการกําหนดเขตการจัดการ การแกไขปญหาความขัดแยงและการตัดสินใจ การแบงเขตการจัดการ การนําแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ําไปปฏิบัติ • การจัดทําแผนการปฏิบัติงาน กําหนดแผนปฏิบัติงาน การกลั่นกรองคําของบประมาณ การติดตามประเมินผล และการปรับปรุงแผนการจัดการ • การติดตามประเมินผล การกําหนดตัวชี้วัดที่จะใชในการตรวจวัดความสําเร็จ กําหนดวิธีการที่จะใชติดตามตัวชี้วัด •

การวิเคราะหผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงแผน วิเคราะหผลการดําเนินงานและขอมูลที่ไดจากการติดตามประเมินผล การปรับแกวัตถุประสงค กรอบยุทธศาสตร กิจกรรม ใหเหมาะสม ยิ่งขึ้น

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม

เทคนิคพลังสรางสรรค (AIC)

คูมือการเขียนแผนการจัดการทรัพยากร (Ministry of Forests, 1999)

เทคนิคการแกไขปญหาความขัดแยงโดยสันติวิธี GIS และการซอนทับขอมูล

การประเมินความตองการฝกอบรม

การสํารวจภาคสนาม การสัมภาษณ ขอมูลจาก สวนราชการ การวิเคราะหทางสถิติ

5-19


บรรณานุกรม โครงการจัดการและคุมครองพื้นที่ชุมน้ํา. 2548. ยุทธศาสตรการจัดการพื้นที่ชุมน้ําหนองบงคาย อําเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย. สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ. Finlayson, C.M., G.W. Begg, J. Howes, J. Davies, K. Tagi, and J. Lowry. 2002. A Manual for an Inventory of Asian Wetlands: Version 1.0. Wetlands International Global Series 10. Kuala Lumpur, Malaysia. Groves, R.G. 2003. Drafting a Conservation Blueprint: a Practitioner’s Guide to Planning for Biodiversity. The Nature Conservancy, Island Press, Washington. Ministry of Forests. 1999. Guide to Write Effective Resource Management Plans: With an Emphasis on Higher Level Plans. Ministry of Forests in Collaboration with Ministry of Environment, Lands and Parks & land Use Coordination Office, Victoria, British Columbia, Canada. Ramsar Convention. 2003. New Guidelines for management planning for Ramsar sites and other wetlands. Ramsar Convention Bureau, Gland, Switzerland Trisurat, Y. 2004. Wetland GIS Database: Nong Bong Kai Non-hunting Area, Chiang Rai Province. Implementation of the Ramsar Convention in Thailand: Management and Protection of Wetland Area Project (MPW-DANIDA Project), Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok. 106 pp.

5-20

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 5 คูมอื การวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางมีสวนรวม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.