7_1

Page 1

ฉบับที่ 7

คูมือการกํากับติดตามและ การประเมินผล โดย

อินทวัฒน บุรีคํา

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล

7-1


7-2

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล


คูมือการกํากับติดตามและการประเมินผล

คูมือปฏิบัติการกํากับติดตามและการประเมินผล เล ม นี้ คื อ เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บเจ า หน าที่ ภ าคสนามและผู มี สว นได สว นเสี ยในพื้ น ที่ชุ ม น้ํา ใช ในการกํากับ ติ ดตาม และประเมิ น ผลลั พ ธ ข องการดํ า เนิ น งานตามแผน ยุทธศาสตรการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา ทั้งในสวนพื้นที่ที่ขึ้น ทะเบียนตามอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ําและในพื้นที่อื่น ที่สําคัญระดับชาติ เพื่อตรวจสอบวาการปฏิบัติงานตางๆ บรรลุตามวัตถุประสงคในการใชประโยชนของพื้นที่ชุมน้ํา อย า งชาญฉลาดหรื อ ไม เพี ย งใด รวมทั้ ง เพื่ อ ให ก าร ปฏิบัติงานสอดคลองไปกับคูมืออื่นๆ ของการจัดการพื้นที่ชุมน้ําของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวย

ขั้นตอนในการดําเนินงานเพื่อกํากับติดตามประเมินผล ภาพรวมของโครงการและการวางแผน

ทุกโครงการ ไมวาโครงการขนาดเล็กหรือใหญ จะมีขั้นตอนโดยทั่วไป ดังนี้ • เริ่มโครงการ อาจเริ่มจากการมี “ความคิดที่ดี” นาทําเปนโครงการ • ดูความเปนไปได พิจารณาวาโครงการนั้นๆ “ทําไดไหม?” • การประเมิน วาโครงการที่จะทํานั้น “คุมคาไหม?” โดยใชคูมือการประเมินมูลคาทาง เศรษฐศาสตร และดูวาผลที่ไดจะคงอยูตอไปไดเองหรือไม? (ดูความยั่งยืน) • หาแหลงทุน เมื่อหาไดก็ทําขอตกลง “เซ็นสัญญา”

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล

7-3


• ดําเนินการ เพือ่ ทําให “แผนทีว่ างไวกลายเปนความจริง” ในระหวางนี้มีการกํากับติดตาม งานควบคูไปดวย • ทําการ “ประเมินผลลัพธ” ผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงบทเรียนที่ปรากฏ ทําไดทั้งระหวาง ดําเนินโครงการหรือเมื่อสิ้นสุดโครงการไปแลว วงจรของโครงการ (ตั้งแตเริ่มตน-ไปจนจบ

เตรียมโครงการ

ระยะที่ 2 (ทําตอ) มอบ/โอนอุปกรณ/เครื่องมือ

ลงนามในสัญญา

กํากับติดตาม ประเมินผล

เริ่มโครงการ

ดําเนินการ

ความเชื่อมโยงของผลที่ไดรับ และการจัดการ ปจจัยนําเขา Æ Inputs ปจจัยการผลิต ทรัพยากรธรรมชาติ เครื่องมือ ฯลฯ อะไรที่ตองใชเพื่อทํากิจกรรม หรืองาน

Æ กิจกรรม Æ Activities กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทรัพยากร วิธีการ หรือเทคโนโลยี ทําไดอยางไร? ตองทําอะไรบาง?

Æผลที่ไดรับ Results บริการ ผลผลิตที่ตองการ จุดมุงหมาย ผลที่พึงประสงค เมื่อทํากิจกรรมครบ คาดวาอะไรจะเกิดขึ้น

ขอสังเกต • ทุกกิจกรรมตองมีปจจัยนําเขา (inputs) และผลที่ไดรับ/ผลที่เกิดขึ้น (results) • สามารถวัดความสําเร็จของกิจกรรม (activities) ไดจากปริมาณของการใชปจจัยนําเขา และ/ หรือผลลัพธที่ไดรับหลังทํากิจกรรมเสร็จ • การจัดการ หรือการบริหารจัดการ เปนรูปแบบหนึ่งของกิจกรรม ถือเปนปจจัยนําเขา • การจัดการควบคุมกิจกรรมอืน่ ๆ เปนเครือ่ งตัดสินใจในการใชปจจัยนําเขา • โครงการหนึ่งๆ อาจมีกิจกรรมมากมาย แตละกิจกรรมจะมีผลลัพธเกิดขึ้น ซึ่งผลลัพธทเี่ กิด บางอยางอาจกลายเปนปจจัยนําเขาของกิจกรรมอืน่ • เปาหมายคือจํานวนมากนอยของผลลัพธที่เราคาดวาจะเกิดขึ้นจากกิจกรรมแตละอยาง

7-4

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล


กระบวนการของการบริหารจัดการ ในระหวางการดําเนินโครงการ (implementation) จําตองมี • การวางแผน (ปรับแผน) (planning) • การกํากับติดตาม (monitoring) • การประเมินความเสี่ยง (risk assessment) • การตัดสินใจ (decision making)

ขอสังเกต • โครงการตองมีวันสิ้นสุด มีกําหนดเวลา • โปรแกรมประกอบดวยกิจกรรมหรือโครงการหลายอยาง • การกํากับติดตามตองประกอบไปกับการวางแผน • การจัดการที่สัมฤทธิ์ผลตองมีแผนที่ดี • ผลลัพธที่เกิดขึ้นสําคัญกวารายละเอียดปลีกยอยดานงบประมาณ

ความหมายของคําที่ควรทราบ • สารสนเทศ คือขอมูลหรือตัวเลขที่เปนประโยชนในการบริหารจัดการ • ปญหา/อุปสรรค คือผลทางลบที่เราไมไดคาดคิด แตแกไขไดโดยการบริหารจัดการ • ประเด็นปญหา คือปญหาที่การบริหารจัดการโครงการอยางเดียว ไมสามารถแกไขได

แผนของโครงการ การวางแผน หรือแผนโครงการมีหลายรูปแบบ เชน แผนยุทธศาสตร (Strategic Planning) แผนล็อกเฟรม (Logical Framework Approach - LFA, LogFrame) แผนเนนผลลัพธที่เกิดขึ้น (ResultBased Management - RBM) ฯลฯ ซึ่งแผนที่นิยมสําหรับโครงการพัฒนาในพื้นที่ชุมน้ํา คือแผนล็อกเฟรม ที่มีสาระสําคัญ ดังนี้

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล

7-5


สรุปสาระสําคัญ เหตุผลเชิงตรรกะ

ตัวชี้วัดที่เที่ยงตรงตาม แหลงที่มา/ รองรอย วัตถุประสงค ตัวชี้วัดที่มีนัยสําคัญ

แผนล็อกเฟรมสามารถสรุปเปนผังแมบทดังนี้ สวนประกอบหลักโครงการ ตัวชี้วัด วัตถุประสงคเชิงพัฒนา) ผลกระทบ วัตถุประสงคสิ้นสุดโครงการ

ผลลัพธ

ผลผลิต

ความกาวหนา

กิจกรรม

ปจจัยนําเขา

แหลงที่มา แหลงที่มา/ รองรอย แหลงที่มา/ รองรอย แหลงที่มา/ รองรอย งบประมาณ

สมมติฐาน/ความเสี่ยง/ ขอจํากัด

ปจจัยภายนอก สมมุติฐาน สมมุติฐาน สมมุติฐาน สมมุติฐาน

เปรียบเทียบคําที่ใชในแผนล็อกเฟรมขององคกรที่แตกตางกัน วัตถุประสงคโดยรวม วัตถุประสงคเชิงพัฒนา โครงการมีสวนสนับสนุน ผลักดัน ในเรื่องนโยบาย หรือโปรแกรมระดับชาติ จุดมุงหมายของโครงการ วัตถุประสงคเมื่อสิ้นสุดโครงการ เปนประโยชนโดยตรงตอกลุมเปาหมาย ผลลัพธที่เกิดขึ้น ผลผลิต เปนสิ่งที่สามารถจับตองได คือ สิ่งกอสราง อาคาร เครื่องมือ ผูที่ ผานการอบรม กิจกรรม งานหรือการกระทําที่กอใหเกิดผลที่ตองการ ปจจัยนําเขา เงิน วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ บุคลากร ทรัพยากร บริการ การจัดการ ฯลฯ

ตัวอยางของวัตถุประสงค วัตถุประสงคมีความหมายแตกตางกัน ขึ้นอยูกับระดับความเฉพาะเจาะจง ที่ผูกําหนดบงชี้ เชน • น้ําประปาสําหรับครัวเรือนยานชานเมือง (เปนวัตถุประสงคเชิงพัฒนา) • น้ําประปาเฉลี่ย 3 ลูกบาศกเมตรตอวัน ตอครัวเรือนที่ยากจน 1,500 ครัวเรือน ทางฝง ตะวันออกของยานชานเมือง ภายในเดือนกันยายน 2550 (เปนวัตถุประสงคที่ตองการจะ ไดรับ) • ระบบน้ําประปาที่ถาวรและตอเนื่อง ในราคาที่เหมาะสม เฉลี่ย 3 ลูกบาศกเมตรตอวัน ตอ ครัวเรือนที่ยากจน 1,500 ครัวเรือน ทางฝงตะวันออกของยานชานเมือง ภายในเดือนกันยายน 2550 (เปนวัตถุประสงคเมื่อสิ้นสุดโครงการ) • ระบบน้ําประปาที่ถาวรและตอเนื่อง ในราคาที่เหมาะสม เฉลี่ย 3 ลูกบาศกเมตรตอวัน ตอ ครัวเรือนที่ยากจน 1,500 ครัวเรือน ทางฝงตะวันออกของยานชานเมือง ภายในเดือนกันยายน 2550 โดยมีศักยภาพที่จะขยายเครือขายออกไปครอบคลุมอีกปละ 300 ครัวเรือนในอนาคต (เปนวัตถุประสงคเมื่อสิ้นสุดโครงการ ที่สมบูรณและรัดกุม)

7-6

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล


ขอสังเกต • การกํากับติดตามกิจกรรมโครงการ ขึน้ อยูกบั ตัวชี้วัดที่มีนัยสําคัญ โดยดูวาบรรลุถึงเปาที่ตั้ง ไวหรือไม • การประเมินผลโครงการ เปนการประเมินตัวชี้วัดที่ปรากฏในตอนตนของแผน หรือตัวชี้วัดที่ มีระดับความสําคัญสูง วาบรรลุตามเปาที่ตั้งไวหรือไม • จะเห็นวาการกําหนดเปาเปนสิ่งที่จําเปนสําหรับตัวชี้วัด

การกํากับติดตามและการประเมินผล ลักษณะสําคัญ • การกํากับติดตาม เกิดขึ้นระหวางการดําเนินโครงการ • การประเมินผล อาจเกิดขึ้นกอน (มักเปนเรื่องมูลคาทางเศรษฐศาสตร) ระหวาง และหลัง สิ้นสุดโครงการ • กํากับติดตาม เพื่อดูวาเกิดอะไรขึ้น มีปญหาอุปสรรคใดบาง • การประเมินผล เพื่อตรวจหาวามีผลกระทบดานใดบาง โครงการมีสวนมากนอยเพียงใด • การกํากับติดตาม เปรียบเทียบผลที่เกิดจริงกับผลที่วางแผนเอาไวระหวางดําเนินงาน • การประเมินผล เปรียบเทียบผลที่เกิดจริง กับผลกอนมีโครงการ กับผลนอกพื้นที่นอก โครงการ ทั้งระหวางการดําเนินงานและหลังสิ้นสุดโครงการ ขอเปรียบเทียบ ขอเปรียบเทียบ ความถี่ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงคหลัก เพงเล็ง แหลงขอมูล ผูดําเนินการ รายการเสนอ

การกํากับติดตาม เปนครั้งคราว, สม่ําเสมอ กํากับติดตาม ดูแล เพิ่มประสิทธิภาพงาน, ปรับแผนปฏิบัติ การ ปจจัยนําเขา, ผลผลิต, ผลที่ไดรับ, แผนปฏิบัติการ งานทําประจํา, งานภาคสนาม, รายงาน ความกาวหนา ผูจัดการโครงการ, เจาหนาที่สนาม, ผูนําชุมชน, หัวหนาโครงการ ผูจัดการโครงการ, เจาหนาที่สนาม, ผูนําชุมชน, ผูใหทุน

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล

การประเมินผล เปนชวง (ชวงกลาง, เมื่อสิ้นสุดโครงการ) ประเมินการทํางาน เพิ่มประสิทธิผล, ดูผลกระทบ, โครงการใน อนาคต ประสิทธิผล, สภาพเปนจริง, ผลกระทบ, จุดคุมทุน เชนเดียวกัน และเพิ่มการสํารวจ, การทํา แบบสอบถาม ผูจัดการโครงการ, ผูใหทุน, ผูเชี่ยวชาญ ภายนอก, ผูรับประโยชน ผูจัดการโครงการ, หัวหนาเจาหนาที่ผูให ทุน, ผูกําหนดนโยบาย, ผูรับประโยชน

7-7


ตัวชี้วัด สิ่งสําคัญที่สุดในการกํากับติดตามและการประเมินผล คือตัวชี้วัด ซึ่งควรตองมีลักษณะเปน ตัวชี้วัดที่เที่ยงตรงตามวัตถุประสงค Objectively Verifiable Indicators (OVI) มีเกณฑในการปรับตัวชี้วัด อยู 2 ลักษณะ คือ S M A R T หรือ T Q Q T L (เลือกอยางใดอยางหนึ่ง) SMART Specific เฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค Measurable วัดไดทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ Available ทําไดในงบประมาณที่เหมาะสม Relevant ตรงตามความตองการ (ของผูบริหาร) Time-bound ภายในระยะเวลาที่กําหนด

TQQTL Target group กลุมเปาหมาย Quantity เชิงปริมาณ Quality เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ใช Timeframe กรอบเวลาที่กําหนด Location จะทําที่ไหน

เมื่อกําหนดตัวชี้วัดแลว ตองแนใจวา: • ลักษณะเปน TQQTL หรือ SMART • มีการกําหนดแหลงที่มาชัดเจน แหลงที่มาทันสมัย • เหมาะสมในดานคาใชจาย • เปนจริง • การเก็บขอมูลตัวชี้วัดเปนกิจกรรมที่ไดกําหนดไวในโครงการ ตารางตรวจสอบ ตัวชี้วัด

วัตถุประสงค/ ผลที่เกิดขึ้น/ ผลผลิต คําอธิบายตัวชี้วัด เชิงปริมาณ (จํานวน หนวย) เชิงคุณภาพ (มาตรฐานทีใ่ ช) กรอบเวลา (หลักเวลา/ ระยะเวลา)

7-8

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล


แผนผังการกํากับติดตาม ความถี่ของการกํากับติดตาม ชวงการปฏิบัติงาน

การดําเนินงานโครงการ ในชวงเวลาหนึ่ง

ติดตาม2

ติดตาม1

สํารวจพื้นที่ บันทึกขอมูล ตรวจผลการสั่งงาน

สํารวจพื้นที่ บันทึกขอมูล วิเคราะหขอมูล

ดําเนินการ สั่งงาน

มีการตัดสินใจ

ทํารายงานเสนอ

เจาหนาที่ภาคสนาม ผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ ผูจัดการโครงการ ผูอ  ํานวยการโครงการ

การทํารายงาน การทํารายงานเรื่องการกํากับติดตามกิจกรรมและผลที่เกิดขึ้นในโครงการ เปนสิ่งสําคัญ ดังปรากฏ ใหเห็นความเชื่อมโยงในผังที่แสดงของหัวขอที่ผานมา คําอธิบายของรายงานในที่นี้ ใชประกอบกับไฟลคอมพิวเตอร เปนไฟลไมโครซอฟท ออฟฟศ เอ็กเซล (Microsoft® Office Excel) สามารถทําการกรอกขอมูลบนคอมพิวเตอรไดโดยตรง การทํารายงานประกอบดวย หัวขอสําคัญๆ ดังนี้ รายละเอียด • ระบุชื่อของกิจกรรม พรอมกํากับหรืออางอิงแผน เชน ผล 4 / กิจ 3 = ผลที่เกิดขึ้น 4 (ผลผลิต 4) / กิจกรรม 3 เปนตน • สถานที่ดําเนินการ และกํากับดวยตําแหนงจีพีเอส (ถาตองการ) • วัน-เดือน-ป ที่สังเกตการณหรือสํารวจ เจาของและผูใ ช • ผูทํารายงาน • ผูรับรายงาน ระบุชื่อหรือตําแหนงของผูทรี่ ายงานฉบับนีน้ ําเสนอถึง • ผูที่เกี่ยวของอืน่ กับรายงานนี้ ที่ควรรับทราบ

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล

7-9


สวนแผน • วัตถุประสงคของกิจกรรมที่กาํ ลังรายงาน • ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของงานและเปาที่ตั้งไว การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของงาน • ใหคะแนนประสิทธิภาพของงานโดยรวม ระดับคะแนน 1 - 5 • ใหคะแนนประสิทธิภาพของงานเฉพาะอยาง ระดับคะแนน 1 – 5 ถาไมเขาเกณฑหรือไม ทราบ/ไมแนใจ ใหเปน 0 คะแนน ผลลัพธและผลกระทบ • ความสําเร็จที่ปรากฏใหเห็น ผลที่ไดอื่นๆ (จุดแข็ง) • ปญหาอุปสรรคที่พบ (จุดออน) • ผลการวิเคราะหปญหาอุปสรรคในเบื้องตน และแนวทางแกไข • ปญหาที่แกไขไมไดกลายเปนประเด็นปญหา (ขอจํากัด) • บทเรียนที่ไดรบั (โอกาสที่พบ) ติดตามงาน • กิจกรรมที่จะตองทําตอไป เชื่อมโยง • เชื่อมโยงกับกิจกรรมอืน่ อยางไร? • เอกสารอื่นที่อา งถึงเรื่องนี้ (ถามี)

7-10

คูมือการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา : ฉบับที่ 7 คูมอื การกํากับติดตามและการประเมินผล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.