การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : บูรณาการสู่นโยบายและแผน นายประเสริฐ ศิรินภาพร ผู้อานวยการสานักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๑
• เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ นานาประเทศเห็นพ้องที่จะแก้ไข ปัญหาร่วมกันอย่างจริงจัง • โดยกาหนดเป็นกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพิธีสารเกียวโต เพื่อใช้เป็น กรอบแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างนานาชาติใน การแก้ไขปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ รับมือต่อภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้น
๒
• ประเทศไทยได้ลงนามและให้สัตยาบันต่ออนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศว่าด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2537 และพิธีสารเกียวโต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2545 • สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) โดยสานักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (สปอ.) ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่หน่วย ประสานงานกลางของอนุสัญญาดังกล่าว ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา
สานักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๓ (สปอ.)
• ได้ดาเนินการจัดทา นโยบาย / แผน / มาตรการ /เครื่องมือ /กลไก ต่างๆ เพื่อรองรับการดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของประเทศไทย ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) มาอย่างต่อเนื่อง • และเพื่อให้การดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของประเทศไทยสามารถรองรับสถานการณ์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทาแผนแม่บทขึ้น ...
แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ พ.ศ. 2556 – 2593
๔
เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และ ประชาชน มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนแม่บทฉบับนี้
•
แผนแม่บทฉบับนี้สามารถใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานในการ รองรับสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นระบบ ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
รายละเอียดโดยสรุป (ร่าง) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ ๕ พ.ศ. 2556 – 2593 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ที่สาคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1. การปรับตัวต่อผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) 2. การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) และเพิ่มแหล่งกัก เก็บคาร์บอน (Carbon Sink Enhancement) 3. การสร้างขีดควาสามารถของบุคลากร องค์กร และประเทศด้านการ บริหารจัดการการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Capacity Building)
(ร่าง) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แห่งชาติ พ.ศ. 2556 – 2593 • มีข้อเสนอกลไกการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์และการติดตาม ประเมินผลแผนแม่บท ได้แก่ 1. กลไกในการขับเคลือ่ นและการแปลงแผนแม่บทไปสู่การปฏิบัติ 2. กลไกในการติดตามประเมินผลและปรับปรุงแผนแม่บท
๖
วิสัยทัศน์
๗
“ประเทศไทยสามารถรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและ ก้าวสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่าอย่างยั่งยืน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๙๓”
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation)
๘
แนวทางการดาเนินงาน แบ่งเป็น 7 ด้าน ได้แก่ 1. การปรับตัวต่อ Extreme events 2. การปรับตัวด้านการเกษตร 3. การปรับตัวด้านสาธารณสุข 4. การปรับตัวด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 5. การปรับตัวด้านทรัพยากรน้า 6. การปรับตัวด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 7. การปรับตัวด้านอื่นๆ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ๙ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) และเพิ่มแหล่งกักเก็บคาร์บอน (Carbon Sink Enhancement) แนวทางการดาเนินงาน แบ่งเป็น ๕ ด้าน ได้แก่ ๑. ด้านอุตสาหกรรม การค้า และการบริการ ๒. ด้านพลังงาน ๓. ด้านการขนส่ง ๔. ด้านป่าไม้ ๕. ด้านการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างขีดความสามารถของบุคลากร องค์กร และประเทศด้านการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Capacity Building) แนวทางการดาเนินงาน แบ่งเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. ด้านการวิจัยและพัฒนา ๒. ด้านกฎหมาย การเงินการคลัง ๓. ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ๔. ด้านอื่นๆ
๑๐
ตัวอย่างแนวทางการดาเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ ๑
๑๑
การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) ๑. การปรับตัวต่อ Extreme events ๑.๑ พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสภาวะรุนแรงของลมฟ้าอากาศ (Extreme weather) ของประเทศให้มีความถูกต้องและทันสมัย อยู่เสมอ พร้อมทั้งจัดทาระบบฐานข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกต่อการใช้งานและสามารถเชือ่ มต่อระหว่างผู้ต้องการใช้ งานได้สะดวก รวดเร็ว
การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) (ต่อ) ๑๒ ๑.๒ พัฒนาระบบพยากรณ์เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรง (Extreme events) ให้มีความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีที่ถูกต้องและ ทันสมัย และสามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้นานพอที่ผู้จะได้รับผลกระทบ สามารถเตรียมรับมือได้ทันเหตุการณ์ ทั้งในระดับประเทศและระดับพื้นที่ ๑.๓ กาหนดพื้นที่เสี่ยง พื้นที่อ่อนไหวต่อภัยพิบัติ อย่างถูกต้อง เหมาะสม บน พื้นฐานองค์ความรู้และระบบการพยากรณ์ภัยพิบัติที่ถูกต้องแม่นยา และการ มีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนพื้นที่ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑.๔ กาหนดแผนป้องกัน เฝ้าระวัง และรับมือภัยพิบัติในทุกพื้นที่เสี่ยง และพื้นที่ อ่อนไหว ให้เป็นแผนที่สามารถปฏิบัติได้ เป็นที่ยอมรับของพื้นที่ โดยให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดทาแผน
การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) (ต่อ) ๑๓ ๑.๕ พัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้มีความถูกต้อง ทันสมัย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และบุคคลท้องถิ่น เกษตรกร นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และบุคคลในภาคส่วนอื่นๆ ของประเทศ สามารถเข้าถึง ระบบได้สะดวก รวดเร็ว ๑.๖ ส่งเสริมการจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่และระดับประเทศ โดยการให้ความรู้ การอบรม การฝึกปฏิบัติ เพื่อให้ประชาชน ชุมชน และองค์กรมี ความสามารถในการรับมือที่ถูกต้อง ปลอดภัย และสามารถจัดทาแผนปฏิบัติ การเฉพาะพื้นที/่ ชุมชน ได้เองอย่างถูกต้องเหมาะสม เกิดความเข็มแข็งใน การรับมือกับภัยพิบัติ ๑.๗ จัดทายุทธศาสตร์ประเทศรองรับภัยพิบัติภัยระยะยาว
การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) (ต่อ) ๑๔ ๑.๘ พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติตามนโยบายรัฐบาล โดยเน้นการ บริหารวิกฤตการณ์เพื่อรับมือภัยพิบัติและภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ร่วมกับด้านอื่นๆ ของระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
แนวทางการดาเนินงานของพื้นที่/ชุมชน ๑๕
• การแปลงแผนแม่บทสู่แผนกลยุทธ์ระยะปานกลาง ระยะสั้น แต่ละ ยุทธศาสตร์ • การแปลงแผนสูพ่ ื้นที่/การประเมินความเสีย่ งถึงผลกระทบจากโลกร้อน ในพื้นที่ • การสื่อสาร การให้การศึกษา และเสริมสร้างความตระหนัก • การเสริมสร้างศักยภาพและส่งเสริมการใช้ประโยชน์องค์ความรู้ดั้งเดิม ของชุมชน
• ภูมิปัญญาดั้งเดิมในวิถีอยู่ร่วมกับธรรมชาติ-รับรู้/ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง • ภูมิปัญญาในการจัดการภัยพิบัติซ้าซาก-ปรับวิถีชีวิตให้อยู่รอด
ขอบคุณครับ
17