ClimateChange

Page 1

ศูนย์ วจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อ่ าวไทยตอนกลาง

กรมทรั พยากรทางทะเลและชายฝัง


การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ และผลกระทบ (ทางทะเลและชายฝั่ง) นิภาวรรณ บุศราวิช


การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ - กิจกรรมของมนุษย์ - ธรรมชาติ



ภาวะเรือนกระจก (GREEN HOUSE EFFECT) ภาวะโลกร้ อน (GLOBAL WARMING) การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิ (CLIMATE CHANGE)


ก๊ าซเรือนกระจก - ช่วยดูดกลืนพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ - ได้แก่ โอโซน (O3) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) - กิจกรรมที่ก่อให้เกิดก๊าซเรื อนกระจก ปุ๋ ยคอก มูลสัตว์- N2O การรั่วซึมของสาร CFC จากอุตสาหกรรมทาความเย็น ฝังกลบขยะมย่อยสลาย - CH4 เชื้อเพลิงจากยานพาหนะ - CO2 การเผาทาลายขยะอิเล็คโทรนิค- โลหะหนัก




การสั งเคราะห์ แสง



- ระดับคาร์ บอนไดออกไซด์ สูงขึน้ - อุณหภูมิสูงขึน้ - ธารนา้ แข็งละลาย - มหาสมุทรร้ อนขึน้ - ระดับนา้ ทะเลสู งขึน้ - เกิดไฟป่ าบ่ อยขึน้ - ทะเลสาบเล็กลง - ทะเลสาบจับตัวเป็ นนา้ แข็งช้ าลง - แห้ งแล้งยาวนาน - ธารนา้ ในเขตภูเขาเหือดแห้ ง -ฤดูกาลเปลีย่ นแปลง

-

โรคภัยไข้ เจ็บลุกลาม ช่ วงเวลาอพยพเปลีย่ นแปลง ถิ่นอาศัยเปลีย่ นไป ปะการังฟอกขาว สั ตว์ ต่างถิ่นรุกราน แนวชายฝั่งสึ กกร่ อน ป่ าในเขตภูเขาสู งแห้ งแล้ง การทับถมของหิมะลดลง สั ตว์ สะเทินนา้ สะเทินบกหายไป ความต้ องการพลังงานมากขึน้

.......…เกิดอะไรขึน้ กับโลกกันแน่ ”


สาเหตุของโลกร้ อน


ผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกร้ อนในภาพรวม การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลก  การเพิม ่ ขึน้ ของระดับนา้ ทะเล  การเปลีย ่ นแปลงของระบบนิเวศ  การเปลีย ่ นแปลงด้ านป่ าไม้ เกษตรกรรม และการประมง  การเพิม ่ ขึน้ ของภาวะภัยธรรมชาติต่างๆ  ผลกระทบต่ อภาคอุตสาหกรรม การตั้งถิน ่ ฐาน และ สั งคม  ผลกระทบต่ อสุ ขภาพของมนุษย์ 


ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ (ทะเลและชายฝั่ง)    

การละลายของน้ าแข็งขั้วโลกมากขึ้น ระดับน้ าทะเลสูงขึ้น ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง – ปะการังและหอยมือเสื อ ฟอกขาว, สูญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ -- การอพยพ และ แพร่ กระจายไปสู่ ที่อากาศเย็นกว่า, เพศของเต่า การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล และภาวะภัยธรรมชาติ– มรสุ ม, ภัยแล้ง, อุทกภัย, พายุเฮอริ เคน : การกัดเซาะชายฝั่ง เกิดมลภาวะหรื อภาวะวิกฤตที่ไม่คาดเดามากขึ้น– dead zone


การละลายของนา้ แข็งขั้วโลกมากขึน้


ระดับนา้ ทะเลสูงขึน้ • ภาวะนา้ ท่ วม • เกาะเล็กๆ หายไป • ทีอ่ ยู่อาศัยลดน้ อยลง • มีผลกระทบต่ อการตั้งถิ่นฐาน • การรุกคืบของนา้ ทะเล มีผลต่ อระบบนิเวศ และ เขตเกษตรกรรม • เขตภูมิอากาศเปลีย่ นแปลง เขตอบอุ่นจะ เคลือ่ นไป 150-500 กิโลเมตร


ระบบนิเวศเปลีย่ นแปลง


สูญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ


การลดปริมาณลงของทรัพยากรชีวภาพทางทะเล • การเปลี่ยนแปลงในเรื่ องความชุกชุมและการแพร่ กระจายของชนิดพันธุ์ สิ่ งมีชีวิตส่ งผลกระทบอย่างหนักต่อมนุษย์ โดยสาเหตุหลักเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การแพร่ กระจายทางภูมิศาสตร์ของสังคมพืชและสัตว์ทวั่ โลกมีการ เปลี่ยนแปลง คือ สิ่ งมีชีวิตจะอพยพมุ่งหน้าสู่ข้วั โลกมากขึ้น • ภายในทศวรรษที่ 21 สิ่ งมีชีวิตในทะเลมีแนวโน้มที่จะอพยพไปอยูใ่ น บริ เวณน้ าเย็นมากขึ้น ส่ งผลให้มหาสมุทรและทะเลในเขตร้อนมีความ หลากหลายทางชีวภาพที่ลดลง และยังส่ งผลต่อการทาประมง การ สันทนาการ การท่องเที่ยว และบริ การด้านอื่นๆ จากระบบนิเวศ


การเปลีย่ นแปลงของฤดูกาล และภาวะภัยธรรมชาติต่างๆ



เกิดมลภาวะหรือภาวะวิกฤตที่ไม่ คาดเดามากขึน้ Dead Zone



ต้ องช่ วยกัน • ปลูกต้ นไม้ ปลูกป่ า ปลูกพืช • เก็บขยะ และ แยกขยะ • ดูแลรักษาแม่ นา้ ลาคลอง ชายฝั่ง และ ทะเล • ท่ องเทีย่ วอย่ างมีคุณค่ า • ใช้ นา้ และพลังงานอย่ างประหยัดและคุ้มค่า • ทาความเข้ าใจและเรียนรู้ข้อมูลทีถ่ ูกต้ อง • ร่ วมมือร่ วมใจดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม • ใช้ ชีวติ อย่ างพอเพียง • เตรียมรับมือกับการเปลีย่ นแปลง


ลด หรือ เลิก • การตัดไม้ ทาลายป่ า การเผาป่ า • การทิง้ ขยะ และสิ่ งสกปรก สิ่ งปฏิกลู ลงนา้ • การพัฒนาชายฝั่งทีเ่ สี่ ยงต่ อภัยพิบัติ • การพัฒนาทีก่ ระทบต่ อระบบนิเวศและทรัพยากรชายฝั่ง • การใช้ สารเคมี ยาฆ่ าแมลงและปราบศัตรูพชื • การใช้ พลังงาน และอุปกรณ์ ทกี่ ่อมลพิษ •



สิ่ งทีต่ ้ องสนใจ และ ตระหนัก • ความถี่และความรุ นแรงของภัยพิบตั ิ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • กิจกรรมของมนุษย์ที่ทาลายธรรมชาติ เช่นการทาลายป่ าไม้ ป่ าชายเลน • การสร้างศักยภาพเพื่อลดความเสี่ ยง • การพัฒนากลยุทธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อลดความเปราะบางของสังคม บรรเทาความ เสี ยหายจากภัยพิบตั ิ • การวางแผนการใช้ที่ดิน และการจัดการระบบนิเวศทางทะเล • การพัฒนาแผนการจัดการฉุกเฉินท้องถิ่น ที่ต้ งั อยูบ่ นฐานของความถูกต้องและ แม่นยาในการระบุความเสี่ ยงของชุมชน และ ประเมินความเหมาะสมในการจัดการ • การร่ วมมือ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างภาครัฐ องค์กรต่างๆ และชุมชน เพื่อการ เตรี ยมการ สอดส่ อง เตือนภัย และปฏิบตั ิการ


คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ

สังคม/ชุมชน

การเมือง

ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


การเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เกษตรกรรม

อุตสาหกรรม

ชุมชน

วิเคราะห์ ปัญหา

การใช้ ประโยชน์ ฯ มากเกินไป

สาเหตุ

ปล่ อยนา้ ทิง้ และของเสี ยลงสู่ แหล่ งนา้ และพืน้ ที่ชายฝั่ง

ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และสิ่ งแวดล้ อมเปลีย่ นแปลง ปริมาณสารอาหารมาก

อาหารทะเลมีพษิ แบคทีเรียในนา้ มาก สะสมสารพิษในสัตว์นา้

ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ลดลง / เพิม่ ขึน้ ความหลากหลาย ผลผลิตทางชีวภาพ

แนวปะการัง

การสารวจและติดตามการเปลีย่ นแปลงทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม

ผลกระทบ

ขีป้ ลาวาฬ

การปนเปื้ อน ของ

มูลเหตุให้ ตดิ ตาม


World Meteorological Organization (WMO)

ปี พ.ศ. 2523

United Nations Environment Programme (UNEP) Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)

คณะกรรมการระหว่ างรัฐบาลด้ านการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ปี พ.ศ. 2531

ปี พ.ศ. 2533 IPCC จัดทา First Assessment Report –

ยืนยันว่ ากิจกรรมต่ างๆของมนุษย์ ส่งผลกระทบต่ อสภาพภูมอิ ากาศจริง ทีป่ ระชุ มของสหประชาชาติ-ยกร่ างจัดตั้ง Intergovernmental Negotiating Committee for a Framework Convention on Climate Change (INC/FCCC)

เพือ่ ประสานความร่ วมมือระหว่ างรัฐบาลในการแก้ ปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ปี พ.ศ. 2535 United Nation Framework Convention on Climate Change (UNFCCC)

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ มีผลบังคับใช้วนั ที่ 21 มีนาคม 2537


พิธีสารเกียวโต (KYOTO PROTOCOL) – พ.ศ. 2540 ลดปริมาณการปล่อยก๊ าซทีท่ าลายชั้นบรรยากาศลงในปริมาณอย่ างน้ อยร้ อยละ 55 ของปริมาณทีร่ ะดับปี พ.ศ. 2533 มีกลไกในการดาเนินการ - การซื้อขายก๊าซเรือนกระจก - การดาเนินการร่ วม - กลไกการพัฒนาทีส่ ะอาด


ขอบคุณค่ ะ

ช่ วยกันดูแลรั กษาทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ งของเรา








Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.