CVCA_Thai_Version1

Page 1

คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริม การวิเคราะห์ ขดี ความสามารถและความเปราะบาง ทีเ่ สี่ ยงต่ อการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ Climate Vulnerability and Capacity Analysis Hand Book

มูลนิธิรักษ์ไทยได้จาทาคู่มือฉบับนี้ข้ ึน โดยได้รับการสนับสนุนจากสหภาพยุโรป โปรแกรมด้านสิ่ งแวดล้อม และการจัดการทรัพยากรอย่างยัง่ ยืนรวมถึงด้านพลังงาน คาจากัดสิ ทธิ์ความรับผิดชอบ คู่มือฉบับนี้จดั ทาขึ้นโดยได้รับความช่วยเหลือจากสหภาพยุโรป เนื้อหาของสิ่ งพิมพ์อยูภ่ ายใต้ความรับผิดชอบ ของ มูลนิธิรักษ์ไทยแต่เพียงผูเ้ ดียว และมิได้สะท้อนมุมมองของสหภาพยุโรปแต่อย่างใด


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กล่ าวนา โครงการเสริ มสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนชายฝั่งทะเลเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในประเทศไทยได้พฒั นาต่อยอดจากการดาเนิ นงานมูลนิ ธิรักษ์ไทยและองค์การแคร์ ในการ ฟื้ นฟูสู่การพัฒนาของชุ มชนชายฝั่งที่ประสบธรณี พิบตั ิภยั สึ นามิชายฝั่งอันดามัน ตั้งแต่ปลายปี 2004 จนถึง 2008 และผนวกกับสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ ความเสี่ ยงภัยพิบตั ิธรรมชาติต่างๆ มูลนิธิรักษ์ไทยและองค์การแคร์ จึงได้มีการศึกษาสถานการณ์ปัญหาและ ความจาเป็ นสาคัญเร่ งด่วนในการแก้ไขปั ญหา รวมทั้งช่องว่างซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อมาตรการปรับตัวเพื่อรับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เสนอต่อคณะกรรมาธิ การสหภาพยุโรป โปรแกรมด้านสิ่ งแวดล้อมและ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน รวมถึงด้านพลังงาน(EC- ENRTP) ดาเนิ นกิจกรรมโครงการใน 4 จังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย คือ ชุ มพร นครศรี ธรรมราช กระบี่ ตรัง และ จังหวัดสุ ราเวสี ใต้ ใน ประเทศอินโดนีเซีย วัตถุประสงค์โดยรวมของโครงการนี้คือ: ประชากรที่อาศัยตามแนวชายฝั่งทะเลในประเทศไทยและ อินโดนีเชีย มีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้นสามารถรับมือกับผลกระทบเชิ งลบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยมี ผลลัพธ์ที่คาดหวัง 2 ประการคือ  หน่วยงานพื ้นที่และองค์กรในภาคประชาสังคมบูรณาการเรื่ องการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศไว้ ในยุทธศาสตร์ และแผนงานในการพัฒนา การรักษาสภาพแวดล้ อม และ การลดความเสี่ยงจากภัยพิบตั ใิ นระดับท้ องถิ่น  หน่ว ยงานพื น้ ที่ แ ละองค์ ก รในภาคประชาสัง คมร่ ว มมื อ กัน ออกแบบกิ จ กรรมและด าเนิ น กิจกรรมด้ านการปรับตัวที่มีพื ้นฐานจากชุมชนเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบตั ิบริเวณชายฝั่ ง Climate Vulnerability and Capacity Analysis หรือ CVCA เป็ น วิธีการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความ เปราะบางในการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระดับชุมชน โดยเหตุที่กระบวนการ นี้ ตระหนักถึงบทบาทอันสาคัญของคนในท้องถิ่นในการกาหนดและขับเคลื่อนอนาคตของตนเอง โดยองค์การ แคร์ นานาชาติ ได้จดั ทาขึ้น โดยมูลนิธิรักษ์ไทยจะได้นากระบวนการดังกล่าวมาใช้ในการฝึ กอบรม การวิเคราะห์ และใช้ในการออกแบบการดาเนิ นการอย่างมีส่วนร่ วมกับภาคีภาคส่ วนต่างๆ ภายใต้โครงการเสริ มสร้างความ เข้มแข็งให้ประชาชนชายฝั่งทะเลเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และหวังว่าคู่มือเล่มนี้ จ ะเป็ น ประโยชน์สาหรับทุกท่านที่ทางานการศึกษาและปฏิ บตั ิงานชุ มชนที่เกี่ ยวข้องกับการวางแผนเพื่อให้เกิดการบูร ณาการประเด็นความเปราะบางที่มีความเสี่ ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการลดผลกระทบจากภาวะโลก ร้อน เข้าไว้ในการวางแผนและในโครงการต่างๆ ของหน่ วยงาน องค์กร และต้องขอขอบคุณ องค์การแคร์


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

นานาชาติ และภาคี ระหว่า งประเทศ ในการผลิ ตคู่มื อ CVCA ที่ เป็ นประโยชน์ ส าหรั บ การท างาน รวมทั้ง คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ที่ให้การสนับสนุนด้านเงินทุนสาหรับการดาเนินโครงการนี้ มูลนิธิรักษ์ ไทย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คานา โดย ศาสตราจารย์ โรเบิร์ต เชมเบอร์ส รองนักวิจยั สถาบันการพัฒนาศึกษา มหาวิทยาลัยซัสเซค สหราชอาณาจักร เป็ นที่ประจักษ์แล้วว่า การเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศได้ส่งผลกระทบต่อชุ มชนแล้วเป็ นจานวนนับไม่ ถ้วน ทาให้ชุมชนเหล่านั้นต้องเผชิญกับภัยร้ายแรงเพิ่มขึ้น และมีความเปราะบางมากขึ้น ในอนาคตอันใกล้น้ ี เราสามารถคาดได้วา่ สภาวะเช่นนี้ จะร้ายแรงยิ่งขึ้น และสาหรับชุ มชนบางชุ มชนอาจกลายเป็ นความหายนะ เพื่อให้สามารถทาการวางแผนดาเนินการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างมีประสิ ทธิ ผลได้ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในเชิ งวิทยาศาสตร์ จึงเป็ นเรื่ องสาคัญสาหรับบริ บทในระดับกว้าง อย่างไรดี สาหรับในระดับท้องถิ่นนั้น มักจะมีองค์ความรู ้และข้อมูลที่สาคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงที่สุดกับเรื่ อง นี้อยูแ่ ล้ว หรื อข้อมูลและองค์ความรู ้ที่สามารถค้นหามาได้จากการวิเคราะห์ของกลุ่มผูม้ ีส่วนได้เสี ยเอง องค์ ความรู ้ ทอ้ งถิ่ นยังเป็ นแหล่ งข้อมูลที่ เชื่ อถื อได้สาหรั บนาไปบอกกล่ าวให้ระดับนโยบายได้รับทราบ และ สามารถมีอิทธิ พลต่อการกาหนดนโยบายได้ ดังนั้น คู่มือส่ งเสริ มเล่มนี้ ที่นาเสนอวิธีการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ ยงต่อ การเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศ จึงมาในเวลาที่เหมาะมาก จุดมุ่งเน้นของคู่มือส่ งเสริ มเล่มนี้ ที่อยูท่ ี่ระดับชุ มชน นั้นมีความแหลมคมและเป็ นเรื่ องน่าสรรเสริ ญ เนื้ อหาในคู่มือส่ งเสริ มได้เน้นย้ าประเด็นที่วา่ ชุ มชนต่างๆ จะ ไม่มีลกั ษณะเหมือนกันไปหมดทุกอย่าง รวมทั้งเน้นย้ าถึ งความจาเป็ นที่จะต้องให้ความใส่ ใจเป็ นพิเศษแก่ กลุ่มคนที่มีความเสี่ ยงมากกว่าและมีความสามารถน้อยกว่าในการปรับตัวลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุ่มผูห้ ญิงและกลุ่มคนที่ถูกละเลยหรื อกลุ่มคนชายขอบ คู่มือส่ งเสริ มเล่มนี้ มี สาระสาคัญเกี่ ยวกับวิธีการเอื้ ออานวยกระบวนการวิเคราะห์ความเปราะบางและความสามารถในการลด ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงภูมิ อากาศที่ ชุมชนเป็ นผูท้ าการวิเคราะห์ ด้วยตนเอง โดยนาวิธีก ารและ กระบวนการแบบมี ส่วนร่ วมรวมทั้งคุ ณค่าของการมี ส่วนร่ วมมาประยุก ต์ใช้ในกระบวนการวิเคราะห์ น้ ี เพื่อให้คนในท้องถิ่ นสามารถแสดงความรู ้และความเข้าใจของตน เสริ มสร้างให้ตนเองมีความรู ้ความเข้าใจ มากขึ้น และสามารถวางแผนดาเนินการแก้ไขปั ญหาได้ ดังนั้น แนวทางการวิเคราะห์ที่อยูใ่ นคู่มือส่ งเสริ มนี้ จึงพัฒนามาจากพื้นฐานที่มกั มีการยืนยันว่าเป็ นจริ ง พื้นฐานที่เชื่ อว่า “พวกเขาสามารถทาได้” และที่เชื่ อว่า คนท้องถิ่นมีองค์ความรู ้และมีความสามารถมากกว่า มืออาชีพจากภายนอกที่มกั จะเชื่อกัน คู่มือส่ งเสริ มเล่มนี้มีแนวทางที่ชดั เจนและสามารถนาไปปฏิบตั ิได้จริ ง เป็ นแนวทางที่ให้ความสาคัญ กับการเสริ มสร้างพลังอานาจให้คนท้องถิ่นสามารถจัดการแก้ไขปั ญหาได้ดว้ ยตนเอง และให้ความสาคัญกับ การดาเนิ นกระบวนการทางานที่คานึ งถึงประเด็นอ่อนไหวรอบด้าน ซึ่ งเป็ นแนวทางที่เหมาะสมควรค่าแก่


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การให้ความใส่ ใจ กุญแจดอกสาคัญของแนวทางนี้ คือ พฤติกรรมและทัศนคติของผูด้ าเนินกระบวนการและ หรื อวิท ยากรกระบวนการ รวมทั้ง ความสามารถของพวกเขาในการ “มอบบทบาทและหน้าที่ ใ ห้ ” คู่ มื อ ส่ งเสริ มเล่ มนี้ นบั เป็ นคู่มือส่ งเสริ มการปฏิ บตั ิ งานและเป็ นแหล่งความคิดที่หาค่ามิได้สาหรับผูป้ ฏิ บตั ิงาน ภาคสนาม เป็ นคู่มือส่ งเสริ มที่ถูกออกแบบมาให้เป็ นเอกสารที่มีชีวิต ถ้ามีการนาไปใช้กนั อย่างกว้างขวาง และมีการปรับปรุ งให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ พร้อมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุ งให้ดีข้ ึนตามประสบการณ์ที่ได้จากการ นาไปประยุกต์ใช้ ยิ่งจะทาให้คู่มือส่ งเสริ มเล่มนี้ ยงั ประโยชน์ได้มากขึ้น จึงขออวยพรให้คู่มือส่ งเสริ มเล่มนี้ ชักพาให้เกิดผลดี เป็ นทวีคูณ ขอให้มีคนนาไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์กบั คนจานวนมากมายที่มกั ถูกละเลยกัน ง่ายๆ กับคนและชุ มชนทั้งชุ มชนอีกจานวนนับไม่ถว้ นที่ชีวิตและวิถีชีวิตของพวกเขากาลังถูกคุ กคามด้วย ภาวะโลกร้อน เพื่อช่วยให้คนเหล่านี้ มีความสามารถที่จะปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากปั ญหาท้าทายที่พวก เขาเผชิญอยู่


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กิตติกรรมประกาศ จัดทาโดย Angie Daze, Kaia Ambrose และ Charles Ehrhart ลิขสิ ทธิ์ขององค์ การแคร์ นานาชาติ พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤษภาคม 2552 องค์ การแคร์ ไม่ หวงห้ ามถ้ าองค์ กรพัฒนาเอกชนใดจะนาคู่มือส่ งเสริ มเล่ มนี้ท้ งั เล่ มหรือเพียงบางส่ วนไปผลิต ซ้า ขอเพียงแต่ ให้ ใส่ ข้อความต่ อไปนีไ้ ว้ในทีๆ่ เห็นชัดเจนด้ วย “คู่ มื อ ส่ งเสริ ม ส่ งเสริ ม การวิ เ คราะห์ ขี ด ความสามารถและความเปราะบางที่ เ สี่ ย งต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ภูมิอากาศ” จดลิขสิ ทธิ์ปี 2552 โดยองค์ การแคร์ นานาชาติ จัดทาและแปลเป็ นภาษาไทย โดย มูลนิธิรักษ์ ไทย มีนาคม 2554 การผลิตซ้าครั้งนีไ้ ด้ รับอนุญาตแล้ ว ผูส้ นใจสามารถดาวน์โหลดคู่ มื อส่ ง เสริ ม นี้ ไ ด้จากเว็บ ไซท์ด้า นการเปลี่ ยนแปลงภู มิอากาศของ องค์การแคร์ฯ ที่ http://www.careclimatechange.org คู่มือส่ งเสริ มส่ งเสริ ม ถูกออกแบบมาให้เป็ นเอกสาร ที่มีชีวติ ดังนั้น จึงใคร่ ขอให้ผทู ้ ี่นาคู่มือส่ งเสริ มนี้ไปใช้ โปรดส่ งข้อคิดเห็นและคาแนะนากลับไปให้องค์การ แคร์ ฯ ที่ cvca@careclimatechange.org ด้วยจักขอบคุณยิ่ง องค์การฯ ยินดีที่จะได้รับทราบประสบการณ์ และคาแนะนาของผูใ้ ช้ เพื่อนาไปปรับปรุ งคู่มือส่ งเสริ มให้ดียงิ่ ขึ้น ผูเ้ ขี ย นคู่มือส่ งเสริ มนี้ ขอแสดงความขอบคุ ณต่อเพื่อนร่ วมงานหลายท่ านในองค์การแคร์ ฯ ที่ ใ ห้ ข้อคิ ดเห็ นและค าแนะนาที่ มี คุณค่ า ทาให้คู่ มือส่ งเสริ ม เล่ มนี้ มี ความเหมาะสมสาหรั บ นักพัฒนามากขึ้ น บุคคลเหล่านี้ ได้แก่ Cythia Awuor, Shafigul Islam, Amilcar Lucas, Marcos Athias-Neto, Richard Paterson, Morten Fauerby Thomsen และ Nguyen Thi Yen และ ขอขอบคุณบุคคลต่อไปนี้ สาหรับ คาแนะนาที่มีประโยชน์ของพวกเขาเช่นกัน Sam Boardley (CHF–Partners in Rural Development), Gina Castillo (Oxfam America), Anne Hammill (International Institute for Sustainable Development), Mark Janz (World Vision International), Mary Morris (World Vision International), Kimberly Rafuse (Canadian Red Cross) และ Tom tanner (Institute of Development Studies)


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

นอกจากนี้ ในช่วงที่ได้นาคู่มือส่ งเสริ มไปทาการทดสอบในพื้นที่ ก็ได้รับคาแนะนาที่หาค่ามิได้จากเจ้าหน้าที่ ขององค์การแคร์ ฯและเจ้าหน้าที่ ขององค์กรภาคี ที่ร่วมงานกัน รวมทั้งจากคนในชุ มชนในประเทศกานา ประเทศไนเจอร์ และประเทศเนปาล บุ ค คลเหล่ า นี้ มี จานวนมากมายเกิ นกว่า จะเอ่ ย ชื่ อไว้ ณ ที่ น้ ี ไ ด้ แต่ องค์การแคร์ ฯ ก็หวังว่า คู่มือส่ งเสริ มฉบับสมบูรณ์ที่ผลิตขึ้นมานี้ มีสาระสาคัญเป็ นไปตามที่พวกเขาคาดหวัง ไว้ และมีคาแนะนาของพวกเขาผนวกอยูใ่ นคู่มือส่ งเสริ มนี้แล้ว


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

บัญชีคาย่ อ CBA

ชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

CBO

องค์กรชุมชน

CIDA

องค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งแคนาดา

CVCA

การวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ ยงต่อภูมิอากาศ

EWS

ระบบเตือนภัยล่วงหน้า

FAO

องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ

FEWS Net

เครื อข่ายระบบเตือนภัยด้านทุพภิกขภัย

FG

กลุ่มเป้ าหมายหลักในการประชุมกลุ่มย่อย

HIV&AIDS

โรคภูมิคุม้ กันบกพร่ องหรื อโรคเอดส์

IISA

สถาบันนานาชาติเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน

IUCN

สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์

IPCC

คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

M&E

การติดตามและประเมินผล

NAP

แผนปฏิบตั ิการแห่งชาติวา่ ด้วยการต่อต้านความแห้งแล้งและการเปลี่ยนแปลง สภาพเป็ นทะเลทราย

NAPA

แผนปฏิบตั ิการแห่งชาติวา่ ด้วยการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

NGO

องค์การพัฒนาเอกชน

PLA

การเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วมเชิงปฏิบตั ิการ

RBA

แนวทางการทางานที่เน้นด้านสิ ทธิ

SEI

สถาบันสิ่ งแวดล้อมสต๊อคโฮล์ม

UN

องค์การสหประชาชาติ

UNCCD

อนุสัญญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็ นทะเลทราย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

UNDP

สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ

UNFCCC

อนุสัญญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

UNISDR

ยุทธศาสตร์ นานาชาติเพื่อการลดภัยพิบตั ิแห่งองค์การสหประชาติ

VCA

การประเมินความเปราะบางและขีดความสามารถ

WRI

สถาบันทรัพยากรโลก


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

สารบัญ เรื่อง บทนา สาระสาคัญเกีย่ วกับวิธีการวิเคราะห์ ขดี ความสามารถทีเ่ สี่ ยงต่ อภูมอิ ากาศ Climate Vulnerability and Capacity Analysis หรือ CVCA วัตถุประสงค์หลักของกระบวนการ CVCA วิธีการ CVCA มีอะไรที่แตกต่างและที่เป็ นนวัตกรรม

หน้ า 1 2 2 3

คู่มือส่ งเสริ มนี้สาหรับใคร

5

คู่มือส่ งเสริ ม CVCA มีวธิ ีใช้อย่างไร

6

คู่มือส่ งเสริ ม CVCA ไม่สามารถทาสิ่ งใดได้ แนวคิดหลัก

7 7

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

7

ความเปราะบางที่มีความเสี่ ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

8

ขีดความสามารถในการปรับตัว

8

ความเข้มแข็งจัดการความเสี่ ยงภัยพิบตั ิ

10

ภัยอันตราย

11

การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

11

ความเชื่อมโยงกับวิธีวเิ คราะห์รูปแบบอื่น

12

บทบาทหญิง-ชายและความหลากหลาย กรอบการวิเคราะห์ ด้านวิถีชีวิต แนวทางด้ านสิ ทธิ กระบวนการ การวิเคราะห์ ขดี ความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สี่ยงต่ อการเปลีย่ นแปลง ภูมอิ ากาศ กรอบการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโดยชุมชน (CBA Framework)

12 13 14 15 15


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

วิธีการ CVCA ใช้ที่ไหนและเมื่อไร

20

การกาหนดขอบเขตและความละเอียดของการวิเคราะห์

21

การจัดทีมงาน

21

การสร้างดุลภาพของการวิจยั กับการเรี ยนรู ้

22

การดาเนินการวิเคราะห์ ระดับชาติ

23 23

เครื่ องมือวิเคราะห์

26

การวิเคราะห์ข้ นั ทุติยภูมิ

26

การทาแผนที่สถาบัน

27

การวิเคราะห์นโยบาย

28

การสัมภาษณ์ผใู ้ ห้ขอ้ มูลหลัก

28

ระดับหน่วยงานราชการท้องถิ่น/ระดับชุมชน

29

เครื่ องมือวิเคราะห์

31

การวิเคราะห์ข้ นั ทุติยภูมิ การวิเคราะห์นโยบาย การทาแผนที่สถาบัน การสัมภาษณ์ผใู ้ ห้ขอ้ มูลหลัก

31 32 32 33

ระดับครัวเรื อน/บุคคล

34

เครื่ องมือวิเคราะห์

36

การวิจยั ขั้นทุติยภูมิ

36

เครื่ องมือส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วม

36

การเรี ยบเรี ยงและวิเคราะห์ขอ้ มูล

39

การตรวจสอบยืนยันความถูกต้อง

39


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การพัฒนาที่เน้นคนเป็ นศูนย์กลาง

40

การบันทึกการวิเคราะห์และการเผยแพร่

41

กรอบรายงานจากการใช้ กระบวนการ CVCA

42

บริ บทของภูมิอากาศ

42

ความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชีวติ และภูมิอากาศ

42

ความเสี่ ยงต่อภัยพิบตั ิที่เปลี่ยนแปลงไป

43

บริ บทของสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

43

ปัจจัยเชิงโครงสร้างนโยบายของความเปราะบาง

43

การเสริ มสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

44 45

การบูรณาการประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้าไว้ในโครงการพัฒนา

46

การประยุกต์ใช้ผลการวิเคราะห์

โครงการปรับตัวต่ อการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโดยชุมชน (CBA) ระดับชาติ การปรับตัวลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการ: กรณี ตัวอย่างเรื่ อง การสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายด้าน

48 48 50

สิ ทธิในน้ าสะอาดในประเทศบังคลาเทศ ระดับหน่วยงานราชการส่ วนท้องถิ่น/ระดับชุมชน การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการ:

51 53

ตัวอย่างเรื่ องการบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เข้าไว้ในการวางแผนอาเภอในประเทศกานา ระดับครัวเรื อน/บุคคล การปรับตัวลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการ:กรณี ตวั อย่าง ความมัน่ คงทางอาหารในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศทาจิกิสถาน

54 55


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การวิจยั เพิ่มเติม คู่มอื ส่ งเสริมปฏิบัติงานภาคสนาม: วิธีใช้ เครื่องมือวิเคราะห์ แบบมีส่วนร่ วม คู่มือส่ งเสริ มปฏิบตั ิงานภาคสนาม 1: เคล็ดลับการอานวยกระบวนการ คู่มือส่ งเสริ มปฏิบตั ิงานภาคสนาม 2: การทาแผนที่ภยั อันตราย คู่มือส่ งเสริ มปฏิบตั ิงานภาคสนาม 3: ปฏิทินฤดูกาล คู่มือส่ งเสริ มปฏิบตั ิงานภาคสนาม 4: การลาดับเหตุการณ์สาคัญในอดีต คู่มือส่ งเสริ มปฏิบตั ิงานภาคสนาม 5: ตารางวิเคราะห์ความเปราะบาง คู่มือส่ งเสริ มปฏิบตั ิงานภาคสนาม 6: แผนผังเวนน์ (Venn Diagram)

57 58 59 64 67 70 73 76


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

บทนา การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อภาวะโลกร้ อน ทาให้ การทางานพัฒนาที่ม่งุ ขจัดภาวะยากจนและสร้ าง ความเท่าเทียมกันในสังคมมีอปุ สรรคเพิ่มขึ ้น ปรากฏการณ์ตา่ งๆ อาทิ อุณหภูมิที่สงู ขึ ้นเรื่ อยๆ ในแต่ละปี ฝนตก ผิดฤดูกาลมากขึ ้น อุทกภัย พายุและความแห้ งแล้ งที่รุนแรงขึ ้นและถี่ขึ ้น ต่างส่งผลเสียหายอย่างมากต่อความ มัน่ คงในการดารงชีวิตของคนยากจน ภาวะการณ์ เช่นนี ้ทาให้ บคุ ลากรในแวดวงงานพัฒนาต่างพากันประสบ กับปั ญ หาอันเป็ นผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศในงานพั ฒนาที่ อยู่ในความรั บผิดชอบที่ กาลัง ดาเนินการอยูท่ วั่ โลก เพื่ อให้ แน่ใจว่าโครงการพัฒ นาต่างๆ จะช่วยลดความเสี่ ยงของคนต่อผลกระทบการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ เราต้ องมีความเข้ าใจว่า ใครบ้ างที่มีความเสี่ยงต่อผลกระทบเหล่านันและท ้ าไม จากนันจึ ้ งนาข้ อมูล นี ้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบการดาเนินการ การติดตามและการประเมินผลกิจกรรมต่างๆ แนวทางการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศขององค์การแคร์ ฯ พัฒนามาจากองค์ความรู้ ที่ว่า คนจะต้ อ งมี พ ลัง อานาจที่ จ ะปรั บ เปลี่ ยน ดัด แปลงและรั กษาสิท ธิ และวิ ถีชี วิ ตของตนเอง แนวทางนี ใ้ ห้ ความสาคัญต่อบทบาทอันสาคัญ ยิ่ง ของสถาบันต่างๆ ทัง้ ในส่วนกลางและส่วนท้ องถิ่ น ตลอดจนนโยบาย สาธารณะในการเสริมสร้ างขีดความสามารถของคนด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ วิธีการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเสี่ยงต่อภูมิอากาศ ช่วยให้ เราเข้ าใจถึงผลเกี่ยวโยงของการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีตอ่ ชีวิตและวิถีชีวิตของคนที่เราให้ ความช่วยเหลือและสนับสนุน การนาภูมิปัญญา ท้ องถิ่นมาใช้ ร่วมกับข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ ในกระบวนการวิเคราะห์นี ้ ทาให้ คนเกิดความเข้ าใจเกี่ยวกับความ เสี่ยงต่อภูมิ อากาศที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทัง้ เข้ าใจถึงยุทธศาสตร์ ต่างๆ ในการปรับตัวต่อการเปลี่ ยนแปลง ภูมิอากาศ กระบวนการวิเคราะห์ดงั กล่าวจะทาให้ ได้ กรอบสาหรับการพูดคุยกันภายในชุมชนและระหว่างชุมชน รวมทัง้ การพูดคุยกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอื่นๆ ผลการวิเคราะห์จะทาให้ ได้ ฐานข้ อมูลที่แน่นหนา สาหรับการ กาหนดยุทธศาสตร์ ในการอานวยความสะดวกต่อการดาเนินงานชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ นาไปปฏิบตั ไิ ด้ จริง

ภาพการขนกล้าไม้ และ ภาพการปลูกป่ าชายเลน ต.คลองประสงค์ อ.เมื อง จ.กระบี ่


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

สาระสาคัญเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่ อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Vulnerability and Capacity Analysis หรื อ CVCA) วิธีการ CVCA เป็ นการอบรมเกี่ ยวกับกระบวนการวิเคราะห์ ขีดความสามารถและความเปราะบางที่ เสี่ ย งต่อ และในการปรั บ ตัว เพื่ อ ลดผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงภูมิ อ ากาศในระดับ ชุม ชน โดยเหตุที่ กระบวนการนี ้ ตระหนักถึงบทบาทอันสาคัญของคนในท้ องถิ่นในการกาหนดและขับเคลื่อนอนาคตของตนเอง การเก็บรวบรวมข้ อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลของกระบวนการนี ้ จึงให้ ความสาคัญต่อ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ที่ เกี่ยวข้ องกับความเสี่ยงต่อและยุทธศาสตร์ ที่ใช้ อยูใ่ นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเป็ นลาดับแรก

วัตถุประสงค์ หลักของกระบวนการ CVCA คือ  เพื่อวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเพื่อการปรับตัว ในระดับชุมชน กระบวนการ CVCA เป็ นวิธีการเก็ บรวบรวม จัดระเบียบ และวิเคราะห์ ข้อมูลต่างๆ ที่ เกี่ ย วกับ ความเปราะบางและขี ด ความสามารถของชุม ชน ของครั ว เรื อ น และของปั จ เจกบุค คลใน การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยให้ แนวทางและเครื่ องมือต่างๆ สาหรับการวิจยั วิเคราะห์ และการเรี ยนรู้แบบมีสว่ นร่วม กระบวนการนี ้คานึงถึงบทบาทของสถาบันต่างๆ ทังในส่ ้ วนกลางและในส่วน ท้ องถิ่น ตลอดจนนโยบายที่เกี่ยวข้ อง ในการอานวยความสะดวกต่อการดาเนินงานลดผลกระทบจากภาวะ โลกร้ อน  เพื่อนาองค์ความรู้ ของชุมชนมาใช้ ควบคู่กับข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ และช่วยให้ เกิดความเข้ าใจเกี่ยวกับ ผลกระทบของภาวะโลกร้ อนในระดับท้ องถิ่ นมากขึน้ ความท้ าทายอย่างหนึ่ง ของการทางานด้ านการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระดับท้ องถิ่น คือ ขาดข้ อมูลข่าวสารด้ านผลกระทบที่ผ่านการคัด กรองให้ มีปริมาณน้ อย ผนวกกับปั ญหาการขาดแคลนข้ อมูลด้ านการพยากรณ์อากาศและภูมิอากาศที่ยงั มี ไม่เพียงพอ จึงทาให้ การทางานในด้ านนี ้มีความท้ าทายมากยิ่งขึ ้น กระบวนการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้ อมูลข่าวสารที่ดงึ ชุมชนเข้ ามามีสว่ นร่วม จะช่วยเสริ มสร้ างภูมิปัญญาท้ องถิ่นเกี่ยวกับประเด็นปั ญหาด้ าน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสมสาหรับการลดผลกระทบ การทากิจกรรม CVCA แบบมีสว่ นร่วมและการอภิปรายพูดคุยในเรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่อง จะช่วยให้ เกิดการเชื่อมโยงองค์ความรู้ของ ชุมชนกับข้ อมูลทางวิทยาศาสตร์ ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีอยู่ กิจกรรมเหล่านี ้จะช่วยเสริ มสร้ าง ให้ กลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในท้ องถิ่น เกิดความเข้ าใจในผลเกี่ยวโยงของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีตอ่ วิถีชีวิตของพวกเขา ซึ่งจะทาให้ พวกเขาสามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงและสามารถวางแผนปรับตัวเพื่อลด ผลกระทบได้ ดียิ่งขึ ้น  วิธีการ CVCA เป็ นวิธีวิเคราะห์ข้อมูลตามกรอบ “ปั จจัยที่เกื ้อหนุน” สาหรับการดาเนินงานชุมชนปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Community-based Adaptation หรื อ CBA) ในคู่มือส่งเสริ มส่งเสริ มจะมี


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คาแนะนาเกี่ยวกับคาถามหลักๆ สาหรับเปิ ดประเด็นการวิเคราะห์ข้อมูลในระดับชาติ ระดับท้ องถิ่น และ ระดับครอบครัว บุคคล และมีแนวทางสาหรับการเอื ้ออานวยกระบวนการทางานแบบมีส่วนร่วม อาทิ การ วิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายๆ ฝ่ าย และการเรี ยนรู้ ร่วมกันแบบมีส่วนร่ วม กระบวนการ CVCA ออกแบบมาเพื่ อ ช่ ว ยเสริ ม สร้ างความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ก ระบวนการวางแผน ด้ ว ยการให้ ข้ อ มูล ส าคัญ ที่เกี่ยวข้ องกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและจุดเปราะบางที่มีความเสี่ยงในบริ บทเฉพาะ ที่เกี่ยวข้ อง กระบวนการเก็บรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์และพิสจู น์ความถูกต้ องของข้ อมูล จะช่วยให้ เกิด การพูดคุยกันภายในชุมชน ระหว่างชุมชน และการพูดคุยกันกับผู้มีส่วนได้ ส่วยเสียอื่นๆ ซึ่งมีคณ ุ ค่ามาก วิธีการ CVCA สามารถนาไปปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมและนาไปใช้ เก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร สาหรับโครงการริเริ่มด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รวมทังส ้ าหรับการบูรณาการประเด็ น การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในโครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการประกอบ อาชีพ นอกจากนี ้ กระบวนการ CVCA ยังสามารถให้ ข้อมูลหลักฐานที่เป็ นประโยชน์สาหรับการรณรงค์เชิง นโยบายเกี่ ยวกับประเด็นการปรั บ ตัวต่อ การเปลี่ ยนแปลงภูมิ อากาศ สาระส าคัญ ของคู่มื อ ส่ ง เสริ ม นี ้ ประกอบด้ วย รายละเอียดโดยรวมของวิธีการ CVCA รวมทังแนวทางและค ้ าแนะนาสาหรับการประยุกต์ใช้ วิธีการ CVCA ในการออกแบบและการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ

วิธีการ CVCA มีอะไรที่แตกต่ างและที่เป็ นนวัตกรรม คุณลักษณะหลายอย่างที่ทาให้ กระบวนการ CVCA แตกต่างไปจากกระบวนการเรี ยนรู้ และวิเคราะห์ แบบมีสว่ นร่วมรูปแบบอื่นๆ มีดงั ต่อไปนี ้ 1. มุ่งเน้ นประเด็นการเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศ: กระบวนการ CVCA มีการวิเคราะห์ประเด็นการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างจริ งจัง ทังนี ้ ้เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจอย่างถ่องแท้ ว่า ภาวะโลกร้ อนจะมีผลต่อ ชีวิตและวิถีชีวิตของกลุ่มประชากรเป้าหมายอย่างไร โดยพิจารณาข้ อมูลทุกด้ านอย่างละเอียด อาทิ ภัย พิบตั ชิ นิดต่างๆ จุดเปราะบางทังหลายที ้ ่มีความเสี่ยงต่อภาวะโลกร้ อน และขีดความสามารถในการปรับตัว จากภาวะโลกร้ อน โดยหวังว่ากระบวนการนี ้จะมีส่วนช่ วยเสริ มสร้ างขีดความสามารถของชุมชนในการฟื น้ ตัว การปรับตัวสาหรับอนาคต เครื่ องมือวิเคราะห์หลายชนิดที่แนะนาไว้ เป็ นเครื่ องมือสาหรับการเรี ยนรู้ เพื่อการปฏิบตั ิงานแบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning for Action หรื อ PLA) ที่สามารถนาไปทดลอง ใช้ และได้ ผ ลจริ ง แต่ต้อ งพิจ ารณาด้ วย “เลนส์ ” ด้ า นภูมิ อากาศ หรื อ มุ่ง เน้ น ที่ ประเด็นภูมิ อ ากาศโดย ละเอียดทุกซอกทุกมุม เครื่ องมือเหล่านีม้ ีไว้ ใช้ สาหรับดึงประเด็นปั ญหาต่างๆ ออกมา จากนัน้ จึงนามา พิจ ารณาและอภิ ปรายกัน โดยละเอี ย ดในบริ บทของการเปลี่ ยนแปลงภูมิ อากาศ โดยมี ก ารก ากับ การ อภิปรายให้ อยูใ่ นกรอบที่วางไว้


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

2. การวิเคราะห์ เงื่อนไขของภัยอันตราย: วิธีการ CVCA ได้ รวบรวมวิธีปฏิบตั ิที่ดีที่สดุ ที่ได้ จากการวิเคราะห์ รู ปแบบต่างๆ ที่ ทากันส าหรับโครงการพัฒนาหลากหลายโครงการที่ส่วนใหญ่ มุ่ง เน้ นด้ านสภาพความ ยากจนและจุดเปราะบางที่มีความเสี่ยง 1 และนามาใช้ ร่วมกับวิธีปฏิบตั ิที่ดีที่ได้ จากการวิเคราะห์ที่ทากัน ภายในบริ บทของการลดความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ ซึ่งมุ่งเน้ นด้ านภัยอันตราย 2 กรอบของวิธีการ CVCA จะ เอื อ้ อานวยต่อการวิเคราะห์ ข้อมูลข่าวสารที่ไ ด้ จ ากการประเมิ นทัง้ 2 ประเภทนัน้ เป็ นการวิเคราะห์ ใน มุมมองของภาวะโลกร้ อน โดยจะศึกษารายละเอียดทังทางด้ ้ านภัยอันตรายและทางด้ านเงื่อนไขที่เกี่ยวข้ อง แล้ วจึงวิเคราะห์ปฏิสมั พันธ์ระหว่างภัยอันตรายและเงื่อนไขเหล่านัน้ 3. มีจุดเน้ นที่การวิเคราะห์ ผ้ ูมีส่วนได้ ส่วยเสียหลายฝ่ าย การเรี ยนรู้ ร่วมกัน และการพูดคุยกัน: ขณะที่ วัตถุประสงค์หลักของวิธีการ CVCA คือการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร กระบวนการ CVCA ก็ยงั ถูกออกแบบ มาให้ มีความสมดุลระหว่างกระบวนการวิจยั และกระบวนการเรี ยนรู้ร่วมกัน รวมทังการ ้ พูดคุยกันในหมู่ผ้ มู ี ส่ว นได้ ส่วนเสี ยในท้ อ งถิ่ น วิธี นีจ้ ะช่ว ยให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจกัน ภายในชุม ชนมากขึน้ ในเรื่ อ งที่ เกี่ ยวกับ ทรัพยากรต่างๆ ที่พวกเขาสามารถนาไปใช้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานลดผลกระทบจากภาวะโลกร้ อน CVCA ยังช่วยส่งเสริ มให้ เกิดการพูดคุยกันในหมู่ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียหลายๆ ฝ่ าย เกี่ยวกับการดาเนินการ ต่างๆ ที่เหมาะสมสาหรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1

ตัวอย่างเช่น แนวทางการประเมินความมัน่ คงทางวิถีชีวิตของครัวเรื อนขององค์การแคร์ ฯ (Household Livelihood Security (HLS) Assessment) 2

ตัวอย่างที่ร้ ูจกั กันดีคือ วิธีการประเมินขีดความสามารถและความเปราะบาง (Vulnerability and Capacity Assessment (VCA) Methodology) ขององค์การ International Federation of Red Cross and Red Crescent Society (IFRC) ค้ นคว้ าเพิ่มเติมได้ ที่เว็บไซท์ชื่อ: http://www.ifrc.org/Docs/pubs/disasters/resources/preparing-disasters/vca/whats-vca-en.pdf


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

4. เน้ นชุมชนแต่ พิจารณาสภาวะแวดล้ อมที่เอือ้ อานวยอย่ างละเอียดด้ วย: ความเปราะบางที่มีความ เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อภาวะโลกร้ อนนันจะผั ้ นแปรไป ทังภายในประเทศ ้ ภายในชุมชน และแม้ แต่ภายในครัวเรื อน เพราะฉะนัน้ การดาเนิน การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จึงต้ องมี กิจ กรรมที่เ หมาะสมกับบริ บทนัน้ ๆ โดยเฉพาะ อี กทัง้ ยัง ต้ องมี ยุทธศาสตร์ ในการดาเนินงานที่ สามารถ ตอบสนองความต้ องการของกลุ่มต่างๆ ที่มีความเปราะบางด้ วย ขณะเดียวกันนโยบายและสถาบันต่ างๆ ทังในระดั ้ บชาติและระดับท้ องถิ่น ก็จะมีบทบาทสาคัญในการเสริ มสร้ างขีดความสามารถของคนในการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ดังนัน้ กระบวนการ CVCA จึงมุ่งเน้ นที่ระดับชุมชน ขณะเดียวกันก็ ได้ ผนวกการวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ของระดับภูมิภาคและระดับชาติไว้ ด้วย ทัง้ นีเ้ พื่อเสริ มสร้ างให้ เกิด สภาพแวดล้ อมที่เอื ้ออานวยต่อการชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA)

ภาพการเลีย้ งปลากระชัง อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

คู่มือส่ งเสริมนีส้ าหรั บใคร คูม่ ือส่งเสริม CVCA นี ้จัดทาขึ ้นสาหรับผู้ใช้ หลายฝ่ ายหลายระดับ ดังต่อไปนี ้ 1. ผู้จัดการโครงการและเจ้ าหน้ าที่ภาคสนาม: เจ้ าหน้ าที่โครงการที่ปฏิบตั ิงานในโครงการพัฒนาอาชีพ หรื อโครงการชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จะพบว่าคูม่ ือส่งเสริ มนี ้มีแนวทางการทางานที่มี ประโยชน์ ด้านวิธี เ ก็ บและวิเ คราะห์ ข้อมูลจากมุม มองของชุม ชน ของหน่วยงานรั ฐ และในมุม มองเชิ ง วิทยาศาสตร์ ข้ อมูลเหล่านีส้ ามารถนาไปใช้ ในการออกแบบกิจกรรมชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศที่เหมาะสมกับท้ องถิ่น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

2. องค์ กรภาคีในท้ องถิ่น ทัง้ หน่ วยงานรั ฐและองค์ กรพัฒนาอกชน: เครื่ องมือและกระบวนการต่างๆ ใน คูม่ ือส่งเสริมนี ้ถูกออกแบบมาให้ ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ าย นาไปประยุกต์ใช้ และขยายผล หน่ว ยงานรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชนในท้ องถิ่น สามารถนาวิธีการ CVCA ไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้ เกิดการบูรณาการประเด็น ความเปราะบาง และ การปรับตัวต่อการเปลียนแปลงภูมิอากาศ เข้ าไว้ ในการวางแผนและในโครงการ ต่างๆ ของหน่วยงานและองค์กรนันๆ ้ 3. ชุมชน: ชุมชนสามารถประยุกต์ใช้ เครื่ องมือต่างๆ ในคูม่ ือส่งเสริ มนี ้ เพื่อสนับสนุนกระบวนการศึกษาและ การเรี ยนรู้ของชุมชน และนาผลลัพธ์ที่ได้ ไปใช้ ในการวางแผนการทากิจกรรมร่วมกันด้ านการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรื อ กิจกรรมรณรงค์กับหน่วยราชการในท้ องถิ่นหรื อองค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อ กระตุ้น ให้ เ กิ ดการดาเนิ นการที่ เ หมะสมที่ สนับสนุนความพยายามของพวกเขาในการปรั บ ตัว ต่อ การ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คูม่ ือส่งเสริ มเล่มนี ้จัดทาขึ ้นเพื่อหวังให้ เป็ นจุดเริ่ มต้ น โดยหวังว่าผู้ปฏิบตั ิงานจะนาวิธีการ CVCA ไป ประยุกต์ใช้ โดยปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับสถานการณ์และบริ บทของพวกเขา และปรั บปรุงให้ ดีขึ ้นตามข้ อมูล ที่ได้ จากประสบการณ์ของพวกเขา คาแนะนาและข้ อคิดเห็นของผู้ใช้ ที่แบ่งปั นส่งคืนมาให้ องค์การแคร์ ฯ นัน้ ทางองค์การฯ จะนาไปใช้ เป็ นพื ้นฐานสาหรับการปรับปรุงวิธีการ CVCA ให้ ทนั สมัยต่อไปในอนาคต

คู่มือส่ งเสริม CVCA มีวิธีใช้ อย่ างไร คู่มือส่งเสริ ม CVCA มีกระบวนการและเครื่ องมือที่ถูกออกแบบมา เพื่อนาไปใช้ กระตุ้นให้ เกิดการ วิเคราะห์และการพูดคุยกัน ในประเด็นปั ญหาที่เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อภาวะโลกร้ อนและ ความเปราะบางของมนุษย์ โดยใช้ คาถามหลากหลายเป็ นกรอบสาหรับการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ในหลากหลาย ระดับ และใช้ เครื่ องมือหลายชนิดสาหรับเก็บรวบรวมข่าวสารข้ อมูล นอกจากนี ้ยังออกแบบคูม่ ือส่งเสริ มนี ้ให้ มี ความยืดหยุ่น เพื่อให้ สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการเรี ยนรู้ ให้ เหมาะสมกับความต้ องการเฉพาะเจาะจงของ ผู้ใดก็ตามที่นาคูม่ ือส่งเสริมนี ้ไปใช้ เนื อ้ หาส่วนแรกของคู่มื อส่ง เสริ ม นี ้ ให้ ภ าพรวมของแนวคิดหลักและแนวทางชุม ชนปรั บตัวต่อการ เปลี่ ยนแปลงภูมิ อ ากาศที่ คิดค้ น พัฒ นาขึน้ มาโดยองค์ การแคร์ ฯ สาระส าคัญต่อจากนัน้ เป็ นรายละเอี ย ด เกี่ยวกับวิธีการวางแผนกระบวนการ CVCA รวมทังวิ ้ ธีการดาเนินงาน จากนันจึ ้ งเป็ นเค้ าโครงของกรอบการ วิเคราะห์โดยละเอียด พร้ อมทังค ้ าแนะนาเกี่ยวกับเครื่ องมือที่จะนาไปใช้ ในระดับต่างๆ เพื่อตอบคาถามที่ตงไว้ ั้ ท้ ายที่สดุ เป็ นคาแนะนาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ ผลลัพธ์ที่ได้ จากการวิเคราะห์ ผ่านตัวอย่างและกรณีศกึ ษาสันๆ ้ รายละเอียดของแนวทางการใช้ เครื่ องมือต่างๆ แบบมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์ CVCA ได้ บรรจุไว้ ในแนว ทางการปฏิบตั งิ านภาคสนามในส่วนท้ ายสุดของคูม่ ือส่งเสริมนี ้ เพื่อให้ คมู่ ือส่งเสริมนี ้มีความกะทัดรัดไม่เยิ่นเยื ้อ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

จึงออกแบบมาให้ ใช้ คมู่ ือส่งเสริ มนี ้ควบคูก่ บั แหล่งทรัพยากร เครื่ องมือ และแบบการวิเคราะห์รูปแบบอื่นๆ ด้ วย ซึง่ ได้ ให้ ข้อมูลแหล่งทรัพยากรเสริมเหล่านันๆ ้ ไว้ ทวั่ ทุกแห่งในคูม่ ือส่งเสริมนี ้แล้ ว

คู่มือส่ งเสริม CVCA ไม่ สามารถทาสิ่งใดได้ คูม่ ือส่งเสริ ม CVCA ไม่ได้ จดั ทาขึ ้นเพื่อให้ นาไปใช้ เป็ นคูม่ ือส่งเสริ มจัดทากระบวนการพัฒนาโครงการ หรื อกระบวนการออกแบบการรณรงค์ด้านนโยบายทังกระบวนการ ้ หากแต่ให้ ใช้ เป็ นคู่มือส่งเสริ มสาหรับการ วิเคราะห์ ทัว่ ไปแล้ วก็เป็ นขันตอนแรกของกระบวนการด ้ าเนินการและให้ คาแนะนาว่า จะนาผลการวิเคราะห์ไป ออกแบบแผนงานกิจกรรมด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ควรทราบคือ วิธีการ CVCA ไม่ได้ ถกู ออกแบบมาเพื่อใช้ เป็ นวิธีการวิเคราะห์ค้นหาจุดเปราะบางที่มีความเสี่ยงในเชิงปริ มาณ หรื อ เพื่อให้ ข้อมูลผลการวิเคราะห์ที่นาไปสรุ ปเป็ นข้ อมูลของระดับภูมิภาคหรื อระดับชาติได้ อย่างไรก็ดี ข้ อมูล เชิงคุณภาพที่ได้ จากการวิเคราะห์ตามวิธีการ CVCA สามารถนาไปใช้ ออกแบบการสารวจเชิงปริมาณได้

แนวคิดหลัก วิธีการ CVCA ได้ พฒ ั นาและแปลความมาจากแนวคิดสาคัญๆ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ความ เปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ขีดความสามารถในการปรับตัว ความเข้ มแข็งในการตังรั ้ บ ปรับตัวและการจัดการความเสี่ยงภัย ภัยอันตรายและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตามกรอบคา นิยามต่อไปนี ้

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) 3 ภายใต้ คณะกรรมการสหประชาชาติว่าด้ วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (UNFCCC) ได้ ให้ คานิยามการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ดงั นี ้ “เมื ่อกาลเวลาผ่านไป ภูมิอากาศมี การเปลี ่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะมี สาเหตุมาจากความผันแปรทางธรรมชาติ หรื อ จากการกระทาของมนุษย์” 4 องค์การแคร์ ฯ ใช้ คานิยามนี ้ เพราะมีความครอบคลุมทังการผั ้ นแปรที่เปลี่ยนไปโดยธรรมชาติและการ เปลี่ยนแปลงโดยน ้ามือมนุษย์ เมื่อพูดถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในคูม่ ือส่งเสริ มนี ้ จะหมายถึงอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่มีการ เฝ้าติดตามสังเกตไว้ และที่คาดไว้ ว่าจะสูงขึ ้น รวมทังผลกระทบที ้ ่เกี่ยวเนื่อง นัน่ คือ ปรากฏการณ์ สภาพอากาศ สุดขัวที ้ ่มีมากขึ ้น การละลายของภูเขาน ้าแข็ง ธารน ้าแข็งและผืนน ้าแข็ง ระดับน ้าทะเลที่สงู ขึ ้น จังหวะเวลาและ ปริ มาณของฝนตกที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ดี จากมุมมองของการลดความเปราะบางที่มีความเสี่ยง จึงไม่ จาเป็ นต้ องแยก “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” ที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ออกจาก “การแปรปรวนสภาพ ภูมิอากาศ” ที่เกิดขึ ้นโดยธรรมชาติ 3

Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) คือ คณะกรรมการที่จดั ตังขึ ้ น้ เพื่อให้ ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์ ข้ อมูลเชิงวิชาการ และข้ อมูล เชิงเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้ องกับนโยบายซึง่ เป็ นนโยบายที่เป็ นกลาง ให้ แก่ผ้ ทู ี่มีอานาจในการตัดสินใจ

ความเปราะบางที่เสี่ยงต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 4

IPCC, 2007. Climate Change 2007: Impacts, Adaptation and Vulnerability. Contribution of Working Group II to the Fourth Assessment Report of the Intergovernment Panel on Climate Change, Annex I., M.L. Parry, O.F. Canziani, J.P. Palutikof, P.J. van der Linden and C.E. Hanson, Eds., Cambridge University Press, Cambridge, UK, 976 pp.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คานิยามของความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ ระดับความรุนแรงที ่ระบบ หนึ่งมี ความอ่อนแอ หรื อไม่สามารถจะรับมื อกับ ผลกระทบอันร้ ายแรงของการเปลี ่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่ ง รวมถึงความแปรปรวนและสภาพวะสุดขัว้ ของภู มิอากาศ 5 ความเปราะบาง เป็ นระบบของคุณลักษณะ ขนาด และ อัตราของการแปรปรวนสภาพอากาศ ที ่ซึ่งระบบนัน้ มี การเปิ ดรับ มี ความอ่อนไหว และ มี ขีด ความสามารถในการปรับตัว ในบริบทของ CVCA ระบบที่กล่าวถึง คือ ชุมชน (โดยตระหนักว่า ทุกสิ่งทุกอย่างภายในชุมชน และ ในแต่ละชุมชน จะไม่เหมือนกันทังหมดทั ้ งสิ ้ ้น ดังนัน้ ครัวเรื อนใดครัวเรื อนหนึ่ง หรื อบุคคลใดบุคคลหนึ่งใน ชุมชนอาจมีความเปราะบางในระดับที่แตกต่างกัน) การเผชิญกับการแปรปรวนภูมิอากาศนัน้ โดยเบื ้องต้ นแล้ วเป็ นเรื่ องของสภาพอากาศ ตัวอย่างเช่น ชุมชนแถบชายฝั่ งทะเลจะต้ องเผชิญกับภาวะระดับน ้าทะเลสูงขึ ้นและพายุไซโคลนมากกว่าชุมชนที่อยู่ใน พื ้นที่อื่น ในขณะที่ชมุ ชนในพื ้นที่กึ่งแห้ งแล้ งอาจจะต้ องเผชิญกับภาวะแห้ งแล้ ง ความอ่ อ นไหว คื อ ระดับ ความรุ น แรงของผลกระทบที่ ชุ ม ชนจะต้ อ งเผชิ ญ อัน เป็ นผลสื บ เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่สะสมมานานตามกาลเวลาที่ผ่าน ตัวอย่างเช่น ชุมชนที่พึ่งพิงกับ การเกษตรที่อาศัยฝน จะมีความอ่อนไหวมากกว่าชุมชนที่มีอาชีพหลักเป็ นคนงานรับจ้ างทางานในเหมือง แร่ เป็ นต้ น

ขีดความสามารถในการปรั บตัว ขีดความสามารถในการปรั บตัวคือ ความสามารถของระบบที ่จะปรับตัวกับ ภาวการณ์ เปลี ่ยนแปลง ภูมิอากาศ (ซึ่ งรวมทัง้ ภูมิอากาศที ่แปรปรวนไปและสภาพอากาศแบบสุดขัว้ ) เพื ่อทาให้ความเสี ยหายที ่อาจจะ เกิ ดขึ้ นนัน้ มี ความรุ นแรงน้อยลงหรื อขนาดเล็กลง หรื อเพื ่อใช้โอกาสที ่มีนนั้ ให้เกิ ดประโยชน์ หรื อเพื ่อรับมื อกับ ผลกระทบทีเ่ กิ ดขึ้น 6 ปั จจัยที่สาคัญที่สุดปั จจัยหนึ่งในการเสริ มสร้ างความสามารถของปั จเจกบุคคล ของครัวเรื อน และของ ชุม ชนในการปรั บตัวต่อการเปลี่ ยนแปลงภูมิ อากาศ คือ โอกาสของคนเหล่านัน้ ในการเข้ าถึง และควบคุม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางสังคม ทรัพยากรทางกายภาพและโครงสร้ างพื ้นฐาน และ ทรั พยากรทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างข้ างล่างต่อท้ ายนี ้ คือ ทรัพยากรต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อการเสริ มสร้ างขี ด ความสามารถของบุคคล ครั ว เรื อ น และ ชุม ชน ในการปรั บ ตัว ต่อ และลดผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลง ภูมิอากาศ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------5

Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) Working Group 2, 2001. Third Assessment Report, Annex B: Glossary of Terms.

6

Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) Working Group 2, 2001. Third Assessment Report, Annex B: Glossary of Terms


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ทรัพยากรมนุษย์

องค์ความรู้ ด้ านความเสี่ ยงต่อภูมิ อากาศ ทักษะการเกษตรเชิ ง อนุรักษ์ สุขภาพ แข็งแรงสามารถทางานได้

ทรัพยากรทางสังคม

กลุม่ สตรี ออมทรัพย์และสินเชื่อ องค์กรชาวนา

ทรัพยากรทางกายภาพ โครงสร้ างพื ้นฐานด้ านชลประทาน อาคารสถานที่เก็บกักผลิตผลธัญพืชและเมล็ด พันธ์ ทรัพยากรธรรมชาติ

แหล่งน ้าที่เชื่อใจได้ ผืนแผ่นดินที่อดุ มสมบูรณ์

ทรัพยากรทางการเงิน

การประกันภัยขนาดเล็ก แหล่งรายได้ ที่หลากหลาย

การเข้ าถึงและการควบคุมทรัพยากรที่จาเป็ นต่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศ ใน ชุมชน และในครัวเรื อน จะผันแปรไปตามปั จจัยภายนอกหลายอย่างที่มีอิทธิพลต่อการเข้ าถึงและการควบคุม ทรัพยากรทังหลายนั ้ น้ ปั จจัยเหล่านี ้ ได้ แก่ นโยบาย สถาบัน และโครงสร้ างอานาจ 7 ขีดความสามารถในการ ปรับตัวจะเปลี่ยนไปตามกาลเวลาที่ผ่านไป ตามสถานการณ์ และเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป และอาจแตกต่างกัน สาหรับภัยพิบตั แิ ต่ละประเภท โดยทัว่ ไปกลุม่ คนยากไร้ ที่สดุ ของโลกจะมีความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากที่สดุ ด้ วยเช่นกัน สาเหตุหลักเป็ นเพราะ คนกลุม่ นี ้มักจะไม่สามารถเข้ าถึงทรัพยากรทังหลายที ้ ่จาเป็ นต่อการปรับตัวลด ผลกระทบได้ อย่างเต็มที่ ตัวอย่างเช่น ผู้หญิงมักมีความเสี่ยงอย่างยิ่งต่อ ผลกระทบจากภาวะโลกร้ อน เนื่องจาก ต้ องรับผิดชอบทางานบ้ านทังหมด ้ จึงไม่คอ่ ยมีโอกาสเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสาร ทรัพยากร และบริ การต่างๆ กลุ่มอื่นๆ เช่น คนให้ คาแนะนาปรึ กษาปั ญหาชีวิต คนที่อยู่กับผู้ป่วยติดเชือ้ HIV/AIDS และ กลุ่มคนชรา อาจเป็ นกลุ่ม ประชากรที่มีความเปราะบางสูงมากเช่นกัน วิธีการ CVCA เอื ้ออานวยให้ สามารถค้ นหากลุ่มต่างๆ เหล่านี ้ที่มี ความเปราะบาง รวมทังการค้ ้ นหากลุ่มและพื ้นที่เป้าหมายสาหรับการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ การปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในบริบทต่างๆ กัน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------7

ในกรอบของวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพบางอย่าง ถือว่าทุนทางการเมืองเป็ นทรัพยากรที่มีความสาคัญประเภทที่ 6


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ความเข้ มแข็งในการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ ความเข้ มแข็ง ในการจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั ิ หมายถึง ความสามารถของชุมชนในการต้านทานหรื อ ป้ องกัน ตั้งรับปรับตัว และฟื ้ นตัวจากผลกระทบของภัยพิ บัติอย่างรวดเร็ วและอย่ างมี ประสิ ทธิ ภ าพ สามารถ อนุรักษ์ หรื อฟื ้ นฟูโครงสร้างพืน้ ฐานที จ่ าเป็ น บทบาทหน้าที ่ และอัตลักษณ์ของชุมชนกลับคืนมาได้ 8

ภาพวิ ถี ชี วิ ตประมงชายฝั่ ง อัน ดามั น พื ้ น ที ่ ภ าคใต้ ข อง ประเทศไทย – มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย

ความเข้ มแข็งจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั ิ เป็ นแนวคิดที่ร้ ูกนั โดยทัว่ ไปในบริ บทของการลดความเสี่ยงต่อภัย พิบตั ิ (Disaster Risk Reduction หรื อ DRR) และมีการนามาพูดคุยกันมากขึ ้นเรื่ อยๆ ในแวดวงของงานลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ชุมชนที่มีความเข้ มแข็งจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั ิจะมีความพร้ อมใน การจัดการภัยพิบตั ิเพื่อให้ เกิดผลกระทบน้ อยที่สุด และ/หรื อ เพื่อให้ ชุมชนฟื น้ ตัวอย่างรวดเร็ วจากความเสียหาย และความสูญเสียใดๆ ที่เกิดขึ ้น ส่งผลให้ ชมุ ชนกลับคืนสูส่ ภาพเดิม หรื อมีสภาพที่ดีขึ ้นกว่าเดิม ก่อนเกิดเหตุภยั พิบตั ิ ความเข้ มแข็งจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั ิและความสามารถในการลดผลกระทบนันมี ้ ความเชื่อมโยงกันอย่างมาก ดังนัน้ กลุม่ ต่างๆ ภายในชุมชนจึงมีความเข้ มแข็งจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั แิ ตกต่างกัน --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------8

ปรับเปลี่ยนมาจาก: UNISDR, 2009. Terminology: Basic terms of disaster risk reduction and IISD et al, 2007. Community-based Risk Screening – Adaptation and Livelihoods (CRiSTAL) User’s Manual, Version 3.0.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ภัยอันตราย คานิยามของภัยอันตราย ในบริ บทของการลดความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ คือ ปรากฏการณ์ หรื อสาร หรื อการ กระทาของมนุษย์ หรื อสภาพที ่เป็ นอันตรายที ่อาจก่ อให้เกิ ดการสูญเสี ยชี วิต หรื อบาดเจ็ บ หรื อผลกระทบอื ่นๆ ต่อ สุขภาพ ความเสี ยหายต่อทรัพย์สิน การสูญเสียอาชี พ และบริ การ หรื อความชะงักงันทางเศรษฐกิ จและสังคม หรื อ ความเสียหายต่อสิ่ งแวดล้อม 9 เมื่อพูดถึงภัยอันตรายในบริ บทของวิธีการ CVCA จะหมายรวมถึงภัยอันตรายแบบฉับพลัน เช่น ภัยแล้ ง หรื อน ้าท่วม (ที่อบุ ตั ิขึ ้นอย่างรวดเร็ ว) และ ภัยอันตรายที่สะสมตามกาลเวลา เช่น แบบแผนของฝนที่เปลี่ยนแปลง ไป (เริ่มอุบตั ขิ ึ ้นช้ าๆ) การแยกแยะความแตกต่างระหว่างภัยอันตราย (ตัวอย่างเช่น น ้าท่วม) และผลกระทบของภัยอันตรายนัน้ (ตัวอย่างเช่น ปศุสตั ว์ล้มตาย) เป็ นเรื่ องสาคัญ ผลกระทบบางอย่าง เช่น อาหารขาดแคลน อาจเป็ นผลมาจากภัย อันตรายชนิดต่างๆ ทังประเภทที ้ ่เกิดขึ ้นแบบฉับพลัน และประเภทที่สะสมมาช้ านานตามกาลเวลา ผนวกกับความ เสื่อมโทรมของดินและซ ้าเติมด้ วยภาวะตลาดที่ไม่มนั่ คง การวิเคราะห์จดุ เปราะบางอย่างได้ ผลนัน้ จะต้ องเข้ าใจถึง พลวัตของธรรมชาติและปฏิสมั พันธ์ของภัยอันตรายทังหลาย ้

การปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อลดความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เราต้ องมุ่งเสริ มสร้ างให้ คนมีความสามารถ ในการลดผลกระทบจากสภาวะโลกร้ อนให้ มากขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุม่ คนที่มีความเปราะบางมากที่สดุ และใน บางกรณี ต้ องลดโอกาสที่ต้องเผชิญกับผลกระทบ หรื อลดความอ่อ นไหวต่อผลกระทบดังกล่าว อีกทังยั ้ งต้ องทาให้ แน่ใจว่า โครงการพัฒนาทังหลายที ้ ่ริเริ่ มขึ ้น ต้ องไม่ไปเพิ่มความเปราะบางให้ มากขึ ้นไปอีกโดยไม่ตงใจ ั ้ เราเรี ยก กระบวนการนี ้ว่า กระบวนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึง่ นิยามไว้ ดงั นี ้ การปรับเปลี ่ยนระบบของมนุษย์และระบบทางธรรมชาติ ให้สอดคล้องกับปั จจัยที ่กระตุ้น ให้เ กิ ดภู มิอากาศที ่ปรากฏอยู่หรื อที ่คาดการณ์ ไว้ หรื อให้ส อดคล้องกับผลกระทบที ่เ กิ ดขึ้ นจากปั จ จัยที ่เป็ นสิ่ ง กระตุน้ เหล่านัน้ เพือ่ บรรเทาความเสียหายให้เบาบางลง หรื อเพือ่ ใช้โอกาสเหล่านัน้ ให้เกิ ดประโยชน์มากทีส่ ดุ 10 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------9

UNISDR, 2009. Terminology: Basic terms of disaster risk reduction.

10

IPCC, 2007: Climate Change 2007: Impacts, Adaptation and Vulnerability. Contribution of Working Group II to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change, Annex I., M.L. Parry, O.F. Canziani, J.P. Palutikof, P.J. van der Linden and C.E. Hanson, Eds., Cambridge University Press, Cambridge, UK, 976pp.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การปรับเปลี่ยนระบบต่างๆ ของมนุษย์ เป็ นกระบวนการที่ต้องดึงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในระดับต่างๆ หลาย ระดับ จากหลายภาคส่วนเข้ ามาเกี่ยวข้ อง ต้ องมีการวิเคราะห์ค้นหาจุดที่ได้ รับอันตรายจากภัยอันตรายที่ปรากฏอยู่ ในขณะนี ้ ทังภั ้ ยอันตรายฉับพลัน และภัยที่สะสมตามกาลเวลา และยังต้ องวิเคราะห์ผลกระทบจากภูมิอากาศที่ คาดว่าจะเกิดขึ ้นในอนาคต โดยจะต้ องเข้ าใจจุดเปราะบางที่มีอยู่ของบุคคล ของครัวเรื อน และของชุมชน เมื่อได้ ข้ อมูลเหล่านี ้แล้ ว จึงทาการวางยุทธศาสตร์ การดาเนินงานลดผลกระทบ และมีการประเมินผลความสาเร็ จของการ ดาเนินงาน ตลอดจนมีการแบ่งปั นองค์ความรู้ บทเรี ยน สิ่งเหล่านี ้เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญยิ่งของกระบวนการนี ้ การปรับตัวต่างจากขีดความสามารถในการรับมืออย่างไร “การปรับตัว” และ “ขีดความสามารถในการรับมือ ” คาศัพท์สองคานี ้บางครัง้ นาไปใช้ สลับแทนกัน ทาให้ เกิด ความสับสนว่า แนวคิดที่สาคัญสองอย่างนี ้ มีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร คุณลักษณะข้ างใต้ นี ้ได้ มา จากการเรี ยบเรี ยงความคิดเห็นที่ได้ จากการระดมความคิดของกลุม่ นักพัฒนาในประเทศกานา ประเทศไนเจอร์ และประเทศเนปาล ความสามารถในการรับมือ

การปรับตัว

 ระยะสันและด ้ าเนินการทันที

 มุง่ ในแนวทางสร้ างความมัน่ คงของวิถีชีวิตในระยะยาว

 มุง่ ในแนวทางสร้ างความอยู่รอด

 เป็ นกระบวนการต่อเนื่อง

 ไม่ตอ่ เนื่อง

 ผลลัพธ์ยงั่ ยืน

 ต้ องดาเนินการเพราะมีเหตุวิกฤต เป็ นการ ตอบสนองต่อเหตุการณ์

 ใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและอย่างยัง่ ยืน

 มักทาให้ ฐานทรัพยากรเสื่อมโทรม

 ใช้ ยทุ ธศาสตร์ และองค์ความรู้ทงเก่ ั ้ าและใหม่ควบคูก่ นั

 ต้ องดาเนินการเพราะไม่มีทางเลือก

 มุง่ ค้ นหาทางเลือกอื่นๆ

 มีการวางแผน

ความเชื่อมโยงกับวิธีวิเคราะห์ รูปแบบอื่น วิธีการ CVCA ถูกออกแบบมาเพื่อนาไปใช้ ควบคูก่ บั วิธีการวิเคราะห์รูปแบบอื่นๆ ผู้ใช้ คมู่ ือส่ งเสริ ม CVCA ควรศึกษากรอบวิเคราะห์รูปแบบอื่นเสริมด้ วย เพื่อทาให้ เกิดการวิเคราะห์อย่างบูรณาการ

บทบาทหญิง-ชายและความหลากหลาย - งานพัฒนาที่ริเริ่มขึ ้นนันจะประสบความส ้ าเร็จมากน้ อยเพียงใด ก็ขึ ้นอยู่กับความสัมพันธ์ ที่เท่าเทียมกันระหว่างผู้ชายและผู้หญิง รวมทังระหว่ ้ างกลุ่มสังคมในภาคส่วนต่างๆ ใน มุมมองของการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเสริ มสร้ างให้ เกิดความเท่าเทียมกันในสังคมต้ องเริ่ มต้ น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ที่ ต้ องมีความเข้ าใจดีว่า ความสามารถของผู้หญิง ผู้ชาย และของกลุ่มต่างๆ ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศนันแตกต่ ้ างกัน และต้ องมีการออกแบบยุทธศาสตร์ การลดผลกระทบที่จะทาให้ แน่ใจได้ ว่า คนที่มีความ เปราะบางจะได้ เข้ าถึงทรัพยากร ได้ มีสิทธิ์ และได้ มีโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน กลุ่มผู้หญิงนันเป็ ้ นที่ตระหนักกันมาก ขึ ้นเรื่ อยๆ ว่า อาจมีความเสี่ยงต่อผลกระทบจากเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากว่าผู้ช ายด้ วยเหตุผลหลายประการ ทังนี ้ ้เพราะโดยเฉลี่ยแล้ วผู้หญิ งจะยากจนกว่า และโดยปกติจะไม่มีโอกาสเข้ าถึงทรัพยากรที่จาเป็ นสาหรับการ ดาเนินการลดผลกระทบ ผู้หญิงแทบจะไม่มีสิทธิ์มีเสียงเท่าผู้ชายในการตัดสินใจใดๆ ในครัวเรื อน ในชุมชน หรื อใน การเมื องระดับชาติ ในขณะเดียวกันจากประสบการณ์ ที่ผ่านมา ได้ แสดงให้ เห็นว่าผู้หญิ ง เป็ นเสาหลักในการ ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของครอบครัวและของชุมชนของพวกเขาให้ ดีขึ ้นได้ อย่างถาวร เพราะฉะนัน้ ผู้หญิงจะต้ องมี บทบาทเป็ นแกนกลางในการดาเนินงานริ เริ่ มด้ านชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กลุ่มที่ตกอยู่ใ น สภาพที่คล้ ายคลึงกันกับกลุ่มผู้หญิง คือกลุ่มคนที่ถูกละเลยที่ไม่มีโอกาสเข้ าถึงและควบคุมทรัพยากรยิ่งกว่ากลุ่ม ผู้หญิง คนกลุ่มนี ้จึงมีความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ต้ นเหตุรากเหง้ าของความเปราะบาง เหล่านี จ้ ะต้ อ งได้ รับ การแก้ ไ ข ทัง้ นี เ้ พื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานลดความเสี่ ย งต่อ ภัยพิ บัติฉับ พลัน อัน เกิ ด จากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ส่งผลกระทบที่ยงั่ ยืน วิธีการ CVCA เป็ นการวิเคราะห์จดุ เปราะบางต่างๆ ที่แตกต่างกัน ภายในชุมชน และภายในครัวเรื อน เพื่อระบุให้ ได้ วา่ ใครบ้ างที่มีความเปราะบาง และทาไม

กรอบการวิเคราะห์ ด้านวิถีชีวิต - กรอบการวิเคราะห์ด้านวิถีชีวิตเป็ นแนวทางที่จะนาผู้ใช้ ผ่านกระบวนการ วิเคราะห์ประเด็นทังหลายที ้ ่เกี่ ยวข้ องอย่างเป็ นระบบ ทาให้ เกิดความเข้ าใจได้ ว่า คนนาสินทรัพย์หรื อทรัพยากร หลากหลายประเภท (ทัง้ ที่ เ ป็ นรู ปธรรมและนามธรรม) ไปใช้ ในการดาเนินกิ จ กรรมต่างๆ อย่ า งไร เพื่ อบรรลุ ผลสัม ฤทธิ์ ที่ มี ความส าคัญ ในชี วิ ต พวกเขา ผลสัม ฤทธิ์ เ หล่ า นี ร้ วมถึ ง ความพอใจในสิ ทธิ ขัน้ พื น้ ฐาน รวมทัง้ ความสามารถในการเข้ าถึง ความจ าเป็ นพื น้ ฐาน เช่น นา้ ที่พักอาศัย และอาหารที่ ยั่งยืน การวิเคราะห์ วิถีชีวิต เกี่ยวข้ องกับการมีความเข้ าใจในวิธีการที่คนเข้ าถึงและควบคุมทรัพยากรและกิจกรรมต่างๆ หลากหลายประเภท ผสมกัน รวมทังความเข้ ้ าใจว่า วิธีการเข้ าถึงและการควบคุมทรัพยากรดังกล่าวแตกต่างกันอย่างไรภายในครัวเรื อน ในหมู่ครัวเรื อนต่างๆ ในแง่ที่จะมีผลต่อความสามารถของคนในการบรรลุผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการในชีวิตของพวกเขา การวิเคราะห์ด้านนี ้จะช่วยให้ เราสามารถระบุได้ ว่า ปั จจัยภายนอก อาทิ บทบาทหญิง -ชาย และบรรทัดฐานอื่นๆ ของสังคม กรอบนโยบาย ทิศทางของเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้ อมทางกายภาพ มีอิทธิพลต่อวิธีการเข้ าถึงและการ ควบคุมการใช้ ทรัพยากรอย่างไร วิธีการ CVCA ถูกออกแบบมาให้ ทาการวิเคราะห์ด้านวิถีชีวิตอย่างละเอียดใน บริ บทของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรื อโดยการมองผ่าน “เลนส์ ” ภูมิอากาศ เป็ นการพิเคราะห์อิทธิ พลของ สิ่งแวดล้ อมทางกายภาพ ที่ช่วยให้ เกิดความเข้ าใจได้ ว่า คนกาลังใช้ ทรัพยากรอย่างไร และวิถีชีวิตด้ านใดบ้ างที่มี ความเปราะบางมากที่สดุ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

แนวทางด้ านสิทธิ - วิธีการ CVCA ที่เน้ นการวิเคราะห์ค้นหาต้ นเหตุที่แท้ จริ งของความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการ เปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศนัน้ สอดคล้ องกับแนวทางการพัฒ นาที่ เน้ นด้ านสิทธิ แนวทางที่เน้ นด้ านสิทธิ (RightBased Approach หรื อ RBA) เป็ นแนวทางที่ม่งุ ดาเนินการอย่างจงใจและอย่างเปิ ดเผย ให้ คนได้ รับเงื่อนไข เบื ้องต้ นที่สุดสาหรับการมีชีวิตอยู่อย่างมีศกั ดิ์ศรี (ได้ แก่ - การได้ รับสิทธิมนุษยชนของพวกเขา) ด้ วยการเปิ ดเผย สาเหตุตา่ งๆ ที่เป็ นต้ นเหตุแท้ จริ งของความเปราะบางและการถูกละเลย และด้ วยการขยายการดาเนินการแก้ ไข ปั ญหาให้ ครอบคลุมหลายด้ าน แนวทางที่เน้ นด้ านสิทธิจะมุง่ เน้ นที่การเสริมสร้ างอานาจให้ แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ให้ พวกเขาสามารถทวงคืนสิทธิและใช้ สิทธิของตน และทาหน้ าที่ที่เป็ นความรับผิดชอบของตนให้ สมบูรณ์ แนวทางที่ เน้ นด้ านสิทธิจะตระหนักเน้ นสิทธิพื ้นฐานของคนยากจน คนพลัดถิ่นและคนที่ได้ รั บผลกระทบจากสงคราม เป็ น สิทธิพื ้นฐานอันชอบธรรม ที่ได้ รับการยืนยันจากกฎหมายระหว่างประเทศ 11 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------11

Jones, Andrew. 2001. CARE’s Program Cycle: Incorporation of a Rights-Based Approach, CARE USA, Atlanta.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กระบวนการ การวิเคราะห์ ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่ อ การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศ

ภาพการท าแผนที ่ ท ามื อโดยชุ ม ชน บ้ า นเกาะกลาง ต.คลองประสงค์ อ.เมื อง จ.กระบี ่ – มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย

วิธีการ CVCA เป็ นจุดเริ่ มต้ นสาหรับการดึงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่างๆ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง ในการประเมิ นจุด เปราะบางที่มีอยู่ในปั จจุบนั และการสร้ างความเข้ าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อภูมิอากาศในอนาคต ผลลัพธ์ที่ได้ จะ เป็ นฐานรากที่ดีเลิศสาหรับนาไปออกแบบยุทธศาสตร์ การลดผลกระทบ รวมทังการด ้ าเนินการและการประเมินผล ผ่านกระบวนการวางแผนและการเรี ยนรู้แบบมีส่วนร่วม สาระสาคัญของคูม่ ือส่งเสริ มตอนต่อไป เป็ นรายละเอียด เกี่ยวกับกรอบการวิเคราะห์และขันตอนต่ ้ างๆ ของกระบวนการ CVCA

กรอบชุมชนปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA Framework) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเป็ นปั ญหาท้ าทายเพียงปั ญหาหนึง่ เท่านัน้ ท่ามกลางปั ญหาหลากหลายด้ านที่ คนยากจนกาลังเผชิญอยู่ เพื่อให้ ความพยายามในการบรรเทาความเปราะบางให้ เกิดประสิทธิผล จะต้ องบรรจุ ประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ เป็ นส่วนหนึ่งของการดาเนินการแก้ ไขปั ญหาแบบองค์รวม ที่ มุง่ เสริมสร้ างความเข้ มแข็งจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั ขิ องชุมชนให้ สามารถรับมือภัยพิบตั ทิ ี่เกิดขึ ้นแบบฉับพลันและ ภัยพิบตั ทิ ี่สะสมตามกาลเวลาในภาวะที่ชมุ ชนต้ องประสบกับภัยพิบตั เิ หล่านัน้ ในมุมมองขององค์การแคร์ ฯ ชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA) เป็ นแนวทางที่ต้องใช้ วิ ธี ก ารแบบผสมผสาน ที่ ใ ช้ ทัง้ ภูมิ ปั ญ ญาพื น้ บ้ า นควบคู่กับ ยุท ธศาสตร์ ใ หม่ ๆ ในการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ เ ป็ นจุด เปราะบางในปั จจุบนั ขณะเดียวกันก็เสริ มสร้ างชุมชนให้ มีขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ภูมิอากาศมากขึ ้น เพื่อเผชิญกับปั ญหาความท้ าทายใหม่ๆ ที่เปลี่ยนไปอย่างไม่หยุดนิ่ง ขบวนการ CBA เป็ นการ ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ 4 ด้ าน ที่มีความเกี่ยวโยงกัน ดังต่อไปนี ้ 1. ยุทธศาสตร์ การส่งเสริม วิถีชีวิตและอาชีพที่ฟืน้ ตัวเร็วจากภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยดาเนินการควบคูก่ บั การสร้ างความหลากหลายด้ านรายได้ และการเสริ มสร้ างขีดความสามารถด้ านการวางแผนและการจัดการ ความเสี่ยงให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น 2. ยุทธศาสตร์ การลดความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ เพื่อลดผลกระทบของภัยพิบตั ิ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลกระทบที่มีตอ่ ครัวเรื อนและบุคคลที่มีความเปราะบาง 3. การพัฒนาขีดความสามารถของกลุ่ม/องค์กรประชาสังคมในท้ องถิ่น และสถาบัน/หน่วยราชการ เพื่อให้ กลุ่ม/ องค์กร/หน่วยงานเหล่านี ส้ ามารถให้ การสนับสนุนแก่ชุม ชน ครั วเรื อน และปั จ เจกบุคคลได้ ดีขึน้ ในความ พยายามดาเนินการปรับตัวฯของพวกเขา 4. การเสริ มสร้ างการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย และการระดมเครื อข่ายความร่ วมมือในพลังทาง สังคม เพื่อแก้ ไขปั ญหาความเปราะบางที่ เป็ นต้ นเหตุ อาทิ การบริ หารจัดการที่ ไม่มีหลักธรรมภิบาลและที่ไม่มี ประสิทธิภาพ การขาดโอกาสเข้ าควบคุมทรัพยากร หรื อการไม่มีโอกาสเข้ าถึงบริการขันพื ้ ้นฐานได้ อย่างเต็มที่ โดยเหตุที่องค์การแคร์ ฯ ตระหนักเห็นความสาคัญของสิ่งแวดล้ อมที่เกือ้ หนุนต่อการดาเนิน ชุมชนปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างเกิดผล จึงได้ วางยุทธศาสตร์ การดาเนินงานให้ มีผลกระทบกว้ างไกลกว่าระดับ ชุมชน โดยพยายามให้ เกิดผลกระทบต่อนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องในระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ด้ วย โดยใช้ ประสบการณ์ ขององค์กรที่ เ น้ นการดาเนินการโดยชุม ชน ในการรณรงค์ที่มี หลักฐานข้ อมูลชัดเจ น ตลอดจนเข้ าร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่สาคัญอย่างสร้ างสรรค์ กรอบการวิเ คราะห์ ของ CVCA เป็ นการวิเ คราะห์ ต ามกรอบการดาเนินงานชุม ชนปรั บ ตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่ง มีปัจจัยเกื อ้ หนุนหลายอย่างที่จ ะต้ องมีอยู่ในระดับครัวเรื อน/บุคคล ระดับชุมชน/ ท้ องถิ่น และระดับชาติ เพื่อให้ เกิดการดาเนินงานลดผลกระทบโดยชุมชนอย่างมีประสิทธิผล วิธีการ CVCA จะ เอือ้ อานวยกระบวนการวิเคราะห์สถานการณ์ ที่เป็ นอยู่ที่เกี่ ยวข้ องกับปั จจัยเกื อ้ หนุนเหล่านัน้ ช่วยให้ สามารถ กาหนดกิจกรรมที่ต้องดาเนินการเพื่อให้ เกิดปั จจัยเกื ้อหนุนที่จาเป็ นต้ องมีอยู่ทุ กระดับ เป็ นการสร้ างสิ่งแวดล้ อมที่ เอื ้ออานวยต่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ปั จจัยเกื ้อหนุนเหล่านันมี ้ ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ ที่กล่าวไว้ ข้างต้ น กรอบชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีรายละเอียดอยู่ในตาราง ข้ างล่างนี ้:


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กรอบการปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

ระดับชาติ

วิถีชีวิต/การประกอบ การลดความเสี่ยง

การพัฒนาขีดความ การแก้ ไขความเปราะ

อาชีพที่ฟื้นตัวเร็ว

สามารถ

ต่ อภัยพิบัติ

บางที่ต้นเหตุหลัก

 หน่วยงานรัฐดาเนิน  หน่วยงานราชการ  หน่วยงานรัฐมีขีด  หน่วยงานราชการ การติดตาม วิเคราะห์ มีการติดตาม วิเคราะห์ ความสามารถในการ ตระหนักถึงจุดเปราะ และเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารด้ านสภาพ

และเผยแพร่ข้อมูลข่าว ติ ด ตาม วิ เ คราะห์ และ บางเฉพาะเจาะจงที่ เ ป็ น าน ่ยงของกลุม่ สารด้ านความเสี่ยงต่อ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้ความเสี

ภูมิอากาศที่เกี่ยว

ภัยพิบตั ิ

ความเสี่ยงต่อสภาพ ผู้หญิงและกลุม่ คน

 หน่วยราชการเข้ ามาภูมิอากาศในปั จจุบนั ยากจนที่ถกู ละเลย  นโยบายและการ วิถีชีวิต/การประกอบ เกี่ยวข้ องในการวาง และในอนาคต ดาเนินการต่างๆ อาชีพทังในปั ้ จจุบนั แผนและการดาเนินการ หน่วยงานรัฐมี ข้ องกับการดาเนิน

และในอนาคต  มีการบูรณาการ ประเด็นการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ

จัดการความเสี่ยงต่อภัยอานาจในการบูรณา มุง่ ลดความเปราะ พิบตั ิ (ได้ แก่ การป้อง การประเด็นการเปลี่ยน บางเหล่านี ้ กัน การเตรี ยมความ แปลงภูมิอากาศ พร้ อม การรับมือ และ เข้ าไว้ ในนโยบาย

ไว้ ในนโยบายต่างๆของ การฟื น้ ตัว

ประชาสังคมเข้ ามา

 มีการแนะนาการ เกี่ยวข้ องในการวาง

 มีการบูรณาการ

 มีระบบเตือนภัยที่ ดาเนินการตาม นโยบายต่างๆ ของ ใช้ งานได้ ติดตังไวั ้

ประเด็นการเปลี่ยน

พร้ อมใช้ งาน

ภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง

 มีการดึงภาค

แผนและการดาเนิน กิจกรรมต่างๆ ด้ าน

ชาติในระดับภูมิภาค การปรับตัวต่อ

 หน่วยงานรัฐมีขีด และในระดับท้ องถิ่น การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ เข้ ากับยุทธศาสตร์ การ ความสามารถในการ  มีการจัดสรร ทรัพยากรเพื่อการ ลดภาวะความยากจน รับมือกับภัยพิบตั ิ แปลงภูมิอากาศ

และ/หรื อ ในนโยบาย

ดาเนินการตาม

การพัฒนาด้ านอื่นๆ

นโยบายต่างๆ ที่เกี่ ยวข้ อง กับ การปรับตัวต่อ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ ระดับหน่ วยงาน  สถาบันท้ องถิ่น  สถาบันท้ องถิ่น  สถาบันท้ องถิ่นมี  กระบวนการวาง รัฐส่ วนท้ องถิ่น/ สามารถเข้ าถึงข้ อมูล มีขีดความสามารถใน ขี ด ความสามารถในการ แผนระดั บ ท้ อง ถิ่ นเป็ น ระดับชุมชน กระบวนการวางแผน ข่าวสารด้ านภูมิอากาศ การติดตาม วิเคราะห์ ติ ด ตาม วิ เ คราะห์ และ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แบบมีสว่ นร่วม และเผยแพร่ ข ้ อ มู ล ข่ า ว  แผนงานหรื อ ด้ านความเสี่ยงต่อ  กลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ สารด้ า นความเสี ่ ย งต่ อ นโยบายของท้ องถิ่น ภูมิอากาศใน อื่นๆ ที่ถกู ละเลย มีตวั ภั ย พิ บ ต ั ิ สนับสนุนวิถีชีวิต/การ ปั จจุบนั และในอนาคต แทนเข้ าร่วมให้ ความ ประกอบอาชีพที่ฟืน้ ตัว  มีการดาเนินงาน  สถาบันท้ องถิ่นมีขีด คิ ด เห็ น ในกระบวนการ เ ร็ ว จ า ก ปั ญ ห า ท ตามแผนการจั าง ดการ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะวางแผนของท้ มี องถิ่น ภูมิอากาศ ความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ ทรัพยากร สาหรับการ  นโยบายต่างๆ ของ  เจ้ าหน้ าที่สง่ เสริม ของท้ องถิ่น มีระบบ วางแผนและการดาเนินท้ องถิ่นเปิ ดโอกาสให้ ของหน่วยงานภาครัฐ เตื อ นภั ย ที่ พ ร้ อมใช้ งาน การต่างๆ ด้ านลดผล ทุกคนสามารถเข้ าถึง ดตังไว้ ้ เรี ยบร้ อยแล้ ว และขององค์ ก รพั ฒ ตินา เอกชนในท้ องถิ่นมี  หน่วยงานรัฐใน กระทบจากการเปลี่ยน และควบคุมทรัพยากร ความเข้ าใจในเรื่ อง ท้ องถิ่นมีขีดความ แปลงภูมิอากาศ ต่างๆที่สาคัญยิ่งต่อ ความเสี่ยงต่อสภาพ สามารถในการรับมือ ภูมิอากาศและการ กับภัยพิบตั ิ ดาเนินการส่งเสริม

การดารงวิถีชีวิต/ การประกอบอาชี พ ของ พวกเขา

ยุทธศาสตร์ การลดผล กระทบจากการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ ระดับครั วเรือน/  คนในชุมชนให้  ครัวเรื อนชุมชนมี  มีแผนหรื อระบบ บุคคล ข้ อ มูล ข่ า วสารภู มิ อ ากาศ การเก็บสารองอาหาร ให้ ความคุ้มกันทาง และใช้ และปั จจั ย การผลิ ต ทาง

 ผู้ชายและผู้หญิง ในชุมชนทางานร่วมกัน


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ข้ อมูลดังกล่าวสาหรับ การเกษตรไว้ ใช้ ในยาม เศรษฐกิจและสังคมจัด ในการแก้ ไขปั ญหาที่ ฉุกเฉิน การวางแผน ไว้ บรรเทาความ ท้ าทาย  ครัวเรื อนต่างๆ ใช้  ครัวเรื อนในชุมชน เดือดร้ อนให้ แก่ครัว มีที่หลบภัยที่ปลอดภัย เรื อนในชุมชน วิธีทาการเกษตรที่ เหมาะสม ที่ทาให้

 มีการปกป้อง

สามารถฟื น้ ตัวได้ เร็ว คุ้มครองสินทรัพย์ที่ สาคัญ จากภูมิอากาศ

 ครัวเรื อนในชุมชนมี อานาจควบคุม

 มีบริการทางการเงิน ทรัพยากรที่จาเป็ น จัดไว้ บริการแก่ครัวเรื อนอย่ า งยิ่ ง ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต /การ ประกอบอาชีพของ  คนในชุมชนมี

 ครัวเรื อนต่างๆ ปรับ  คนในชุมชนสามารถความรู้และทักษะใน พวกเขา วิถีชีวิต/การประกอบ เข้ าถึงระบบการ การนายุทธศาสตร์ การ  กลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ อาชีพให้ มีความหลาก เตือนภัยสาหรับภัยพิบตั กิ า ร ป รั บ ตั ว ต่ อ ก อืา่นรๆ ที่ถกู ละเลย มี เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโอกาสเข้ าถึงข้ อมูล ห ล า ย โ ด ย ร ว ม ถึทางภู ง มิอากาศ ยุทธศาสตร์ การพัฒนา  คนมีความสามารถ ข่าวสาร ทักษะ และ อาชีพอื่นนอกจาก

เคลื่อนไหวได้ ตามปกติ

บริการต่างๆเท่าเทียม

อาชีพในภาคการเกษตรเพื่อหนีจากภัยอันตราย

กับผู้อื่น

 ผู้คนมีการจัดการ เมื่อเกิดเหตุภยั พิบตั ิ

 กลุม่ ผู้หญิงและ

ความเสี่ยงด้ วยการวาง

กลุม่ อื่นที่ถกู ละเลย

แผนล่วงหน้ า และการ

มีสิทธิและโอกาสเข้ า

ลงทุนเพื่ออนาคต

ถึงทรัพยากรที่จาเป็ น อย่างยิ่งต่อการดาเนิน วิถีชีวิต/การประกอบ อาชีพเท่าเทียมกับผู้อื่น

หมายเหตุ: สถาบันท้ องถิ่นหมายถึง หน่วยงานและองค์กร ทังที ้ ่เป็ นหน่วยราชการและองค์กรประชาสังคมใน ระดับท้ องถิ่น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

วิธีการ CVCA ใช้ ท่ ไี หนและเมื่อไร กระบวนการ CVCA สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในชุมชนใดๆ ก็ได้ ที่ต้องการจะทาความเข้ าใจเกี่ยวกับ ความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศให้ ถ่องแท้ ขึ ้น กระบวนการนี ้เหมาะสาหรับชุมชนในพื ้นที่ หรื อในภูมิภาคที่มีการระบุไว้ วา่ มีความเปราะบางอย่างยิ่ง 12 ชุมชนเป้าหมายของกระบวนการที่อธิบายไว้ ในคูม่ ือส่งเสริ มเล่มนี ้ คือ ชุมชนในชนบท เนื่องจากมีความ อ่อนไหวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ อย่างไรก็ดี กระบวนการ CVCA สามารถนาไปประยุกต์ใช้ และนาไปปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับชุมชนใดได้ โดยง่าย วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด นั ้ น จ ะ ต้ อ ง ผสมผสานแนวทาง CVCA เข้ าไว้ ใน กระบวนการวิ เ คราะห์ ที่ ต้ องจั ด ท า ในช่วงเริ่ มต้ นวัฏจักรของโครงการ เพื่อ น า ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร ออกแบบโครงการ การวิเคราะห์ความ เปราะบาง/ความเสี่ ย งนี จ้ ะต้ อ งมี ก าร จัดทาขึ ้น ไม่ว่าจะนาผลลัพธ์ ที่ได้ ไปใช้ ในการออกแบบโครงชุม ชนปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสาหรับพื ้นที่ ภาพการประมงในพืน้ ทีช่ ายฝั่งภาคใต้ฝั่งอันดามันประเทศไทย – มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย เป้าหมาย หรื อนาไปใช้ ในการบูรณาการประเด็นการลดผลกระทบเข้ ากับโครงการพัฒนาต่างๆที่ดาเนินการอยู่ นอกจากนี ้ยังสามารถนากระบวนการ CVCA ไปใช้ ในระยะเริ่มแรกของการออกแบบโครงการ/กิจกรรมรณรงค์เพื่อ การเปลี่ ย นแปลงเชิ ง นโยบาย เพื่ อ พัฒ นาฐานข้ อ มูล ที่ จ ะใช้ เ ป็ นหลัก ฐาน และค้ น หากลุ่ม ที่ ส นับ สนุน การ เปลี่ยนแปลง และกลุม่ ที่ไม่สนับสนุน โดยเหตุที่ธรรมชาติของความเปราะบางที่เสี่ยงต่อจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ มีพลวัตที่เปลี่ยนแปลง ไปอย่างไม่หยุดนิ่ง จึงต้ องมีการปรับปรุงกระบวนการการวิเคราะห์ CVCA ให้ มีความทันสมัยอยู่เสมอ ตลอดห้ วง ระยะเวลาของโครงการ และควรผนวกข้ อเสนอแนะเข้ าไว้ ในระบบติดตามและประเมินผลของโครงการ เพื่ อ ติดตามสภาพการณ์ของความเปราะบางที่เปลี่ยนแปลงไป อันเป็ นผลมาจากการดาเนินกิจกรรมของโครงการ และจากภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------12

ดูเพิ่มเติม, ตัวอย่างเช่น : Ehrhart, C.et al, 2009. Humanitarian Impact of Climate Change: Mapping emerging trends and risk hotspot. CARE, UNOCHA and Maplecroft.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การกาหนดขอบเขตและความละเอียดของการวิเคราะห์ กระบวนการ CVCA สามารถปรับเปลี่ยนได้ โดยง่ายตามความต้ องการและตามข้ อจากัดใดๆโดยเฉพาะ กระบวนการ CVCA ที่อธิบายไว้ ในคูม่ ือส่งเสริมเล่มนี ้ สันนิษฐานไว้ ก่อนว่า ผู้ใช้ มีเวลาและมีทรั พยากรที่จะทาการ วิเคราะห์แบบ “เจาะลึก” ได้ ในกรณีเช่นนี ้ สิ่งที่คาดหวัง คือ จะเกิดความเข้ าใจอย่างถ่องแท้ เกี่ยวกับพลวัตของ ความเปราะบางของกลุม่ ต่างๆ ที่อยูใ่ นชุมชน ในการนี ้จะต้ องมีการเกี่ยวข้ องกันอย่างมากกับชุมชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียฝ่ ายต่างๆ ในท้ องถิ่นตลอดห้ วงเวลาที่ทาการเก็บรวบรวมข่าวสารข้ อมูล วิเคราะห์ข้อมูล พิสูจน์ยืนยัน ความถูกต้ องของการวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ ผลการวิเคราะห์ในกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในระดับที่ กว้ างขวางมากขึ ้น เวลาที่จะต้ องใช้ ในการทากระบวนการ CVCA นัน้ จริ งๆ แล้ วจะขึน้ อยู่กับขอบเขตของการวิเคราะห์ จานวนผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสียที่เ ข้ ามาเกี่ ยวข้ อง (กลุ่ม/องค์กร ครัวเรื อน หน่วยราชการ ฯลฯ) และปริ มาณข้ อมูล ข่าวสารเพิ่มเติม/ข้ อมูลทุตยิ ภูมิที่มีอยูใ่ นพื ้นที่เป้าหมาย นอกจากนี ้ยังขึ ้นอยู่กบั ปั จจัยที่ว่า การวิเคราะห์ครัง้ นี ้ เป็ น การวิเคราะห์ที่สานต่อจากการวิเคราะห์ที่ได้ ดาเนินการแล้ วในชุมชนหรื อไม่อีกด้ วย ถ้ าไม่ใช่ ก็จะต้ องใช้ เวลามาก ขึ ้นเพื่อกาหนจุดเริ่มต้ นเข้ าชุมชนให้ เหมาะสม และสร้ างความเชื่อใจกันกับชุมชน คาถามและเครื่ องมือชักพาการวิเคราะห์ของวิธีการ CVCA นัน้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ผสมผสานกับ การวิเคราะห์ชนิดอื่นๆ อาทิ การวิเคราะห์วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ โดยใช้ เป็ น “เลนซ์” ภูมิอากาศสาหรับ ส่องค้ นหาปั จจัยที่เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโดยละเอียดทุกซอกทุกมุม ควบคูก่ ับวิธีวิเคราะห์ที่ใช้ อยู่แล้ ว คาถามและเครื่ องมือของ CVCA นี ้ เหมาะอย่างยิ่งที่จ ะนาไปใช้ ในงานที่ต้องการจะบูรณาการประเด็น การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในโครงการพัฒนา

การจัดทีมงาน ทักษะและประสบการณ์ที่สาคัญของทีมงานที่จะเป็ นผู้ดาเนินการวิเคราะห์ มีดงั นี ้  ทักษะการวิจยั – สาหรับวิ จยั ความเป็ นมา  ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ – เพือ่ วิ เคราะห์และสรุปข้อมูลภูมิอากาศที ม่ ี อยู่  การวิเคราะห์นโยบายและสถาบัน – เพือ่ วิ เคราะห์สิ่งแวดล้อมทีเ่ กื ้อหนุน  ความเชี่ยวชาญเชิงวิทยาศาสตร์ – ในภาคการเกษตร น้า และภาคส่วนอืน่ ๆ ทีเ่ กี ่ยวข้อง  ทักษะการอานวยกระบวนการแบบมีส่วนร่ วม - เพื ่อกระตุ้นการมี ส่วนร่ วมของทุกคนในกลุ่มให้เป็ นไปอย่าง คึกคักและมี ความสมดุล อยู่ในกรอบที ่วางไว้ และเพื อ่ สร้ างสิ่ งแวดล้อและบรรยากาศ ที ่เต็มไปด้วยความเชื ่อ ใจกันทีเ่ ปิ ดกว้าง ทัง้ การรับฟั งและการแสดงความคิ ดเห็น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 บทบาทหญิ ง -ชาย และความหลากหลาย – เพื ่อให้แน่ใจได้ว่า การอานวยกระบวนการจะดาเนิ นไปโดย คานึ ง ถึ ง ความอ่ อ นไหวด้า นบทบาทหญิ ง -ชาย และความหลากหลาย และเพื ่อ ท าการวิ เ คราะห์ ค วาม เปราะบางที ม่ ี ความแตดต่างกันของกลุ่มผูห้ ญิ งและกลุ่มผูช้ าย  การจัดการความขัดแย้ ง – เพื ่อช่ วยให้กลุ่มที ่เข้ามามี ส่วนร่ วมเกิ ดความเข้าใจในมุมมองและความคิ ดเห็น ต่างๆ ทีห่ ลากหลาย และสามารถทาให้กลุ่มได้ข้อสรุปและ/หรื อมี มติ /ความเห็นเป็ นเอกฉันท์  การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ – เพือ่ รับข้อมูลข่าวสารอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพและผลักดันให้ได้ข้อมูล/ความคิ ดเห็น เพิ่มเติ มทีเ่ จาะลึกยิ่ งขึ้น  ทักษะการเขียน – เพื ่อนาเสนอข้อถกเถี ยงที ่น่าเชื ่อ ที ่ชดั เจน และที ่ไม่ น่าเบื ่อ แก่ ผู้รับฟั งข้อมู ลหลากหลาย ฝ่ าย เพื ่อให้เกิ ดการนาไปผนวกไว้ในยุทธศาสตร์ การปรับตัวต่อการเปลี ่ยนแปลงภูมิอากาศภายในโครงการ พัฒนา หรื อนาไปพัฒนาเป็ นกิ จกรรมทีร่ ิ เริ่ มขึ้นใหม่ การวางแผนกระบวนการ CVCA นัน้ สิ่งสาคัญที่จะต้ องทาคือ การเลือกทีมนักวิจยั ที่ มีคณ ุ สมบัติทาง การศึกษาหลากหลายสาขา และมีทกั ษะความชานาญที่แตกต่างกัน ทีมนักวิจยั ที่มีความเป็ นสหวิทยาการ จะมี ความได้ เปรี ยบในการดาเนินการจัดทาการวิจยั แบบองค์รวม สิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งที่จะทาให้ แน่ใจได้ ว่า การ เข้ าไปทางานในชุมชนจะเริ่มต้ นได้ อย่างเหมาะสม หนึง่ ในทีมงานจึงควรเป็ นคนที่ร้ ูจกั กันดีในพื ้นที่ อาทิ เจ้ าหน้ าที่ ขององค์กรพัฒนาเอกชน หรื อผู้แทนขององค์กรเอกชน วิธีนี ้จะช่วยให้ เกิดความเชื่อใจกันมากขึ ้นในช่วงที่มีการทา กิจกรรมในพื ้นที่ นอกจากนี ้ ผู้ที่เป็ นหัวหน้ าทีมจะต้ องตระหนักไว้ เสมอว่า คนบางคนอาจจะมีเหตุผลบางอย่าง เป็ นพิเศษ ที่ต้องการให้ ผลการวิเคราะห์ออกมาในแง่ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ เขา

การสร้ างดุลภาพของการวิจัยกับการเรี ยนรู้  กระบวนการ CVCA เป็ นกระบวนที่เชื่อมต่อกับแนวคิดและแนวทางการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ตลอดจนการ วิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม เพราะฉะนันผู ้ ้ ที่นาวิธี การ CVCA ไปประยุกต์ใช้ จะต้ องระวังไม่ให้ เป็ น “การบีบเค้ น ” เพื่อให้ ไ ด้ ข้อมูล แม้ ว่าผู้ใช้ จะอยู่ในฐานะนักวิจัย แต่ก็จะต้ องทาหน้ าที่เป็ นวิทยากรดาเนิน กระบวนการด้ วย ทังการพู ้ ดคุย การแลกเปลี่ยนมุมมอง และความคิดเห็น และนัน่ ก็คือ กระบวนการเรี ยนรู้ กระบวนการ CVCA ทาให้ มีโอกาสเก็บรวบรวมข้ อมูลข่าวสารที่มีคณ ุ ค่า ขณะเดียวกันก็สร้ างโอกาสให้ เกิด การเรี ยนรู้เกี่ยวกับประเด็นปั ญหาใหม่ๆ หรื อประเด็นปั ญหาที่ซอ่ นเร้ นอยู่สาหรับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ าย ด้ วย ที่ดีที่สดุ คือ ทาให้ การเรี ยนรู้นี ้เป็ นกระบวนการที่มงุ่ ให้ เกิดการดาเนินการโดยชุมชน (รวมทังกลุ ้ ่ม/องค์กร/ หน่วยงานอื่นๆ) โดยให้ ชมุ ชนเป็ นผู้ระบุกิจกรรมที่จะลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่ชมุ ชนถือ ว่ า เป็ นพัน ธะผูก พัน ที่ จ ะด าเนิ น การ การอ านวยกระบวนการวิ เ คราะห์ ที่ ส าคัญ ให้ เ ป็ นไปในลัก ษณะ กระบวนการกลุ่ม จะทาให้ กลุ่มผู้เข้ าร่ วมสามารถจั ดทากิจกรรมดังกล่าวขึน้ เองได้ อีกในอนาคต เป็ นการ กระตุ้นให้ กระบวนการเรี ยนรู้ขบั เคลื่อนต่อไปอย่างก้ าวหน้ าและเข้ มแข็งยิ่งขึ ้นเป็ นลาดับ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การดาเนินการวิเคราะห์ กระบวนการ CVCA เป็ นกระบวนการวิเ คราะห์ ที่ พัฒ นาต่อยอดจากกรอบชุม ชนปรั บ ตัว ต่อ การ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศขององค์การแคร์ ฯ กระบวนการวิเคราะห์รูปแบบนี ้ใช้ ชุดคาถามเป็ นเครื่ องมือชักพาการ วิเคราะห์ข้อมูลระดับชาติ ระดับชุมชน/หน่วยราชการท้ องถิ่น และระดับครัวเรื อน/บุคคล หลักการคือ นาข้ อมูลที่ ได้ จากระดับต่างๆ มาวิเคราะห์ผสมผสานกันโดยใช้ เครื่ องมือต่างๆ ไปตามลาดับของคาถามนา ด้ วยข้ อมูลเหล่านี ้ ผู้ใ ช้ จ ะได้ ข้ อ สรุ ป เกี่ ย วกับ ขี ด ความสามารถในการปรั บ ตัว จากการเปลี่ ย นแปลงภูมิ อ ากาศที่ มี อ ยู่ใ นชุม ชน เป้าหมาย และสามารถทาการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ชุดคาถามนาและเครื่ องมือที่แนะนาให้ ใช้ สาหรับการเก็บรวบรวม และการวิเคราะห์ข้อมูล มีรายละเอียด ดังต่อไปนี ้

ระดับชาติ ชุดคาถามนา ในระดับระดับชาติ วิถีชีวิต/การ ประกอบอาชีพ ที่ฟื้นตัวเร็ว

 หน่วยงานรัฐมีการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารด้ านภูมิอากาศที่เกี่ยวข้ อง กับวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพในปั จจุบนั และในอนาคตหรื อไม่  ถ้ ามี มีการเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี ้ อย่างไร และให้ ใคร?  ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เฝ้าติดตามสังเกตและที่พยากรณ์ไว้ สาหรับประเทศมีอะไรบ้ าง?  กลุม่ อาชีพใดหรื อภาคเศรษฐกิจใดมีความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ?  มีการบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในโยบายในภาคส่วน ที่เกี่ยวข้ องหรื อไม่ อย่างไร  มีการบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในยุทธศาสตร์ การลดความ ยากจน และในนโยบายและโครงการต่างๆ ด้ านการพัฒนาหรื อไม่ อย่างไร

การลดความเสี่ยง  ภัยพิบตั ทิ ี่เกี่ยวข้ องกับภูมิอากาศที่สาคัญที่สดุ ที่คนในประเทศเผชิญอยูม่ ีอะไรบ้ าง ต่ อภัยพิบัติ และภัยพิบตั ิที่ไม่เกี่ยวข้ องกับภูมิอากาศที่สาคัญที่สดุ มีอะไรบ้ าง?


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 พื ้นที่ใดของประเทศโดยเฉพาะที่มีความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ?  ภัยพิบตั ติ า่ งๆ น่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรตามกาลเวลา อันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ?  หน่วยงานรัฐมีการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลด้ านความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิหรื อไม่  ถ้ ามี มีการเผยแพร่ข้อมูลเหล่านันอย่ ้ างไร และให้ ใคร?  รัฐมีการวางแผนและดาเนินการด้ านการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิหรื อไม่ ถ้ ามี กระทรวงใดและหรื อหน่วยราชการใดบ้ างที่เข้ ามาเกี่ยวข้ องในงานดังกล่าวอย่างจริงจัง  มีการบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในการวางแผนการจัดการ ความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิหรื อไม่ อย่างไร  มีระบบเตือนภัยที่พร้ อมใช้ งานได้ ในระดับชาติหรื อไม่ อย่างไร  รัฐมีขีดความสามารถในการรับมือกับภัยพิบตั ิหรื อไม่ อย่างไร  สถาบันอื่นที่เข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ใิ นระดับชาติมี สถาบันใดบ้ าง? การพัฒนาขีด ความสามารถ

 สถาบันใดบ้ างที่ถกู ดึงเข้ ามาทางานวิจยั งานวางแผน และงานปฏิบตั ิการด้ านการลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  สถาบันใดมีบทบาทสาคัญที่สดุ ในการเอื ้ออานวยหรื อกีดขวางการดาเนินงานลดผล กระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  รัฐมีขีดความสามารถในการติดตาม และวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารด้ านความเสี่ยงต่อ ภูมิอากาศในปั จจุบนั และในอนาคตหรื อไม่ อย่างไร  มีกลไกเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารหรื อไม่ อย่างไร  มีโครงสร้ างองค์กรที่เหมาะสมภายในหน่วยงานรัฐหรื อไม่ ที่มีอานาจหน้ าที่ใน การบูรณาการข้ อมูลข่าวสารด้ านภูมิอากาศเข้ าไว้ ในนโยบายที่เกี่ยวข้ อง?  มีการนาข้ อมูลนี ้ไปบูรณาการเข้ าไว้ ในนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องหรื อไม่ อย่างไร


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 มีการนานโยบายของชาติไปแนะแนวการดาเนินการในระดับภูมิภาค และในระดับ ท้ องถิ่นหรื อไม่ รัฐตอบสนองต่อความต้ องการเร่งด่วนของท้ องถิ่นได้ อย่างไร  มีการจัดสรรทรัพยากรสาหรับการดาเนินงานตามนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่ งบประมาณที่จดั สรรให้ มีจานวน เท่าไร งบประมาณ/ทรัพยากรต่างๆ มาจากที่ใด  ความสามารถและทรัพยากรที่ต้องการที่มีอยูแ่ ล้ ว และ/หรื อที่ยงั ขาดอยูส่ าหรับ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนัน้ มีอะไรบ้ าง?  ความสามารถใหม่ๆ ด้ านไหนที่อาจจาเป็ นต้ องมี เพื่อแก้ ไขสภาพการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ? การแก้ ไขความ  หน่วยงานที่มีหน้ าที่รับผิดชอบด้ านนโยบาย และโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการ เปราะบาง/ความ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ แสดงให้ เห็นว่ามีความเข้ าใจในความเชื่อมโยงระหว่าง เสี่ยงที่ต้นเหตุ ของปั ญหา

ความยากจนและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่อย่างไร  หน่วยงานที่มีหน้ าที่รับผิดชอบด้ านนโยบายและโครงการลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตระหนักเห็นความเปราะบางเฉพาะเจาะจงของกลุม่ ผู้หญิง และกลุม่ อื่นๆ ที่ถกู ละเลยที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่ อย่างไร  ความรู้และการตระหนักเห็นในเรื่ องนี ้ ถูกนาไปใช้ ในการกาหนดนโยบายและ การดาเนินการโครงการหรื อไม่ นโยบายและโครงการต่างๆ สนับสนุนการเสริมสร้ าง อานาจให้ แก่กลุม่ ที่มีความเปราะบางหรื อไม่ อย่างไร  กลุม่ ที่มีความเปราะบางมีแนวร่วมในระดับชาติที่สนับสนุนให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิง นโยบายหรื อไม่ อย่างไร  กลุม่ ประชาสังคมถูกดึงให้ เข้ ามาเกี่ยวข้ องในการวางแผนสาหรับการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่ อย่างไร


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

เครื่ องมือวิเคราะห์ การวิเคราะห์ ขัน้ ทุตยิ ภูมิ ก่อนที่จะเริ่มเข้ าทางานในชุมชน สิ่งสาคัญที่ทีมนักวิจยั ต้ องรู้ และเข้ าใจคือ ภาพรวมของเรื่ องที่จะทาการ วิจยั ในระดับชาติจะมีข้อมูลการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเชิงวิทยาศาสตร์ ให้ ศกึ ษาได้ ทวั่ ไป ข้ อมูลเหล่านี ้สามารถ ช่วยให้ ระบุได้ ว่า ภัยพิบตั ิชนิดใดบ้ างที่เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศชนิดฉับพลัน และชนิดใดที่สะสม ตามกาลเวลา ที่นา่ จะมีผลกระทบต่อชุมชน นอกจากนี ้ยังต้ องรู้ว่ามีข้อมูลอะไรบ้ างที่สามารถเข้ าถึงได้ และนามา เรี ยบเรี ยงในรูปแบบใหม่ที่เรี ยกความสนใจได้ อีกทังมี ้ ความเหมาะสมและเข้ าใจง่ายสาหรับคนในชุมชน แหล่งข้ อมูลที่มีประโยชน์มีดงั นี ้  National Communications to the United Nation Framework Convention on Climate Change (UNFCCC)  รายงานของคณะกรรมาธิการ ว่าด้ วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ แห่งรัฐบาลระหว่างประเทศ (Intergovernmental Panel on Climate Change = IPCC)  เอกสารของ National Adaptation Programme of Action (NAPA)  เอกสารของ National Adaptation Programme to Combat Drought and Desertification  วารสารทางวิชาการและวิชาชีพ  ข้ อมูลทางอุตนุ ิยมวิทยาด้ านแนวโน้ มภูมิอากาศในปั จจุบนั  การพยากรณ์อากาศตามฤดูกาล  แผนที่ตา่ งๆ ที่แสดงภาพลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของแผ่นดินบริ เวณพื ้นที่ที่ทาการเกษตรเชิงนิเวศ และโครงสร้ างพื ้นฐานที่มี อยูใ่ นบริ เวณนัน้  ข้ อมูลการสารวจประชากรและภาวะความยากจนของชาติ เอกสารข้ อมูลเหล่านี ้ ส่วนใหญ่ค้นหาได้ จากอินเตอร์ เน็ตและจากศูนย์บริ การของกรมอุตนุ ิยมวิทยา

สาหรับผู้ที่สนใจข้ อมูลเพิ่มเติม สามารถค้ นหาได้ จากแหล่งต่างๆ ข้ างใต้ นี่ คณะกรรมาธิการ ว่าด้ วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ แห่งรัฐบาลระหว่างประเทศ (IPCC) จัดทารายงานการ ประเมิน ซึ่งมีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกี่ ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก ผลกระทบ และการลดผลกระทบ โดยค้ นหาได้ ที่เว็บไซด์ ชื่อ http://wwwipcc.ch/ เว็บไซด์ของ National Communications to the UNFCCC คือ http://unfccc.int/national_reports/nonannex_i_natcom/submitted_natcom/items/653.php


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

เว็ บ ไซด์ ข อง UNFCCC มี โ ครงการของ NAPA http://unfcc.int/adaptation/napas/items/458.5php

ครบทุ ก โครงการ ให้ ค้ นหาได้ ที่ เ ว็ บ ไซด์ :

เอกสาร Earthtrends ของสถาบัน World Resources Institute (WRI) ให้ ข้อมูลสถิติระดับชาติด้านภูมิอากาศ และพลังงาน UNDP และคณะภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้ อมแห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ ดจัดทาการศึกษาวิจยั ด้ านการเฝ้าสังเกต และการคาดการณ์ ภูมิอากาศในหลากหลายรู ปแบบ สาหรับประเทศที่กาลังพัฒนา 52 ประเทศ รายละเอียด ค้ นหาได้ ที่เว็บไซด์ชื่อ: http://country-profile.geog.ox.ac.uk/ UNISDR มีข้อมูลที่มีประโยชน์ด้านแนวโน้ มของภัยพิบตั แิ ละการลดความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ ค้ นหาได้ ที่เว็บไซด์ชื่อ : http://www.unisdr.org/

การทาแผนที่สถาบัน การทาแผนที่สถาบันจะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับการทาความเข้ าใจเกี่ยวกับบริ บทระดับชาติ และ เป็ นแนวทางสาหรับการวิเคราะห์เพิ่มเติม ประเด็นหลักๆ ที่จะต้ องนามาพิจารณาในการวิเคราะห์เพื่อทาแผนที่ สถาบัน มีดงั ต่อไปนี ้  องค์ก รใด (หน่วยราชการและองค์ ก รพัฒ นาเอกชน) ที่ ถูกดึง เข้ า ร่ ว มแก้ ไ ขประเด็นและปั ญ หาส าคัญ ที่ เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  องค์กรเหล่านันใช้ ้ นโยบายหรื อยุทธศาสตร์ ใดที่ประกาศใช้ เป็ นทางการแล้ ว เป็ นแนวทางในการทางาน  กิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศขององค์กร/หน่วยงานเหล่านันมี ้ อะไรบ้ าง  องค์กร/หน่วยงานเหล่านันมี ้ อานาจหน้ าที่ในการแก้ ไขประเด็นปั ญหาด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่  ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันเหล่านันกั ้ บองค์กรอื่นๆ เป็ นอย่างไร  สถาบันเหล่านันมี ้ จดุ แข็งและจุดอ่อนอะไรบ้ าง การวิเคราะห์สถาบันจะทาให้ ได้ ข้อมูลที่มีประโยชน์สาหรับการวางแผน การกาหนดขอบเขตของการ วิเคราะห์นโยบาย และการค้ นหาระบุผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียหลัก สาหรับการค้ นคว้ าสืบสวนเพิ่มเติมที่จะทากันต่อไป


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การวิเคราะห์ นโยบาย การตัด สิ น ใจในเรื่ อ งต่ า งๆ ของ หน่วยงานรัฐ ในส่วนกลาง จะมี ผลกระทบ อย่างมากต่อ ความสามารถของชุม ชนใน การปรับตัวต่อการเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศ นโยบายในด้ า นต่า งๆ อาทิ ด้ า นน า้ ด้ า น การเกษตร ด้ านสาธารณสุข ด้ านโครงสร้ าง พื น้ ฐาน และด้ านการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สามารถเอื อ้ อ านวยหรื อ เป็ นอุป สรรคกี ด ขวางการปรั บ ตั ว ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ภาพการประชุมประสานนโยบายระดับชาติ ดา้ นชุมชนชายฝั่งปรับตัวต่อ ภู มิ อ ากาศ การบู ร ณาการประเด็ น การ การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ – มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ควรจะต้ องคานึงถึง เข้ าไว้ ในนโยบายเหล่านี ้ จะทาให้ แน่ใจได้ ว่า นโยบายต่างๆ มีส่วน ช่วยเสริ มสร้ างขีดความสามารถในการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจากระดับชาติส่รู ะดับท้ องถิ่น ใน บางกรณี นโยบายที่มีอยู่เปิ ดโอกาสให้ มีการดาเนินการแก้ ไขปั ญหาด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้ ตราบ เท่าที่ ชุม ชนนัน้ มี ขีดความสามารถ มี ทรั พ ยากร และมี ความมุ่ง มั่นทางการเมื องที่ จ ะทาให้ แน่ใจได้ ว่า มี การ ดาเนินการโครงการ/กิจกรรมตามที่วางแผนไว้ การท าความเข้ า ใจกับ พลวัตของนโยบายต่า งๆ รวมทัง้ สาระของนโยบายว่า จะมี ผลอย่า งไรต่อ ขี ด ความสามารถในการปรับตัวจากภาวะโลกร้ อนในระดับ หน่วยงานราชการส่วนท้ องถิ่น/ระดับชุมชน และในระดับ ครัวเรื อน/บุคคลเป็ นเรื่ องสาคัญ เพราะฉะนัน้ กระบวนการ CVCA จึงต้ องวิเคราะห์นโยบายทังหลายที ้ ่เกี่ยวข้ อง โดยมุง่ เน้ นที่การบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในนโยบาย รวมทังมุ ้ ่งเน้ นในประเด็นที่นโยบาย เหล่านันเปิ ้ ดโอกาส หรื อเป็ นอุปสรรคกีดขวางต่อการเอื ้ออานวยการดาเนินงานลดผลกระทบของภาวะโลกร้ อนใน ชุมชนเป้าหมาย

การสัมภาษณ์ ผ้ ูให้ ข้อมูลหลัก นโยบายต่างๆ ที่เขียนไว้ ในเอกสารมักนาเสนอสถานการณ์ที่คาดหวังไว้ ในลักษณะของการมองโลก ในแง่ดี ซึ่งจะแตกต่างอย่างยิ่งกับการดาเนินงานในความเป็ นจริ ง ดังนัน้ การพูดคุยกับผู้ให้ ข้อมูลหลักที่ สามารถให้ ข้อมูลและให้ การวิเคราะห์เกี่ยวกับการดาเนินงานตามนโยบายที่เกี่ยวข้ อง จึงมีประโยชน์มาก สิ่งที่ต้องรู้ไว้ คือ ผู้ให้ ข้อมูลหลักอาจไม่ต้องการเปิ ดเผยชื่อ ผู้ให้ ข้อมูลหลักในระดับชาติควรมีดงั ต่อไปนี ้


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 บุคคลที่มีบทบาทในการพัฒนา NAPA หรื อนโยบายและแผนงานอื่นๆ ด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  บุคคลที่มีบทบาทในการจัดทานโยบายด้ านการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิหรื อการดาเนินการตาม นโยบายเหล่านัน้  บุคคลที่มีบทบาทเป็ นผู้ชกั นาการตัดสินใจในภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง อาทิ ด้ านน ้า การเกษตร การพัฒนา เศรษฐกิจ ฯลฯ  ผู้แทนภาคประชาสังคมที่มีบทบาทเข้ าไปเกี่ยวข้ องกับงานเสริ มสร้ างการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเชิง นโยบายในประเด็นปั ญหาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม และ/หรื อด้ านสิทธิของกลุ่ม คนที่มีความเปราะบาง  ผู้แทนขององค์กรผู้บริโภค  นักวิชาการหรื อผู้เชี่ยวชาญด้ านการวิจยั นโยบายในภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง

ระดับหน่ วยงานราชการท้ องถิ่น/ระดับชุมชน ชุดคาถามนา - ระดับหน่ วยงานราชการท้ องถิ่น/ระดับชุมชน วิถีชีวิต/การ ประกอบอาชีพที่ ฟื น้ ตัวเร็ว

- มีข้อมูลด้ านการคาดการณ์ภูมิอากาศที่มีการกลัน่ กรองแล้ วหรื อไม่ - ถ้ ามี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่สงั เกตได้ และที่คาดการณ์ไว้ สาหรับภูมิภาค และ/หรื อเขตนิเวศนัน้ มีอะไรบ้ าง - สถาบันท้ องถิ่นสามารถเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารด้ านความเสี่ยงต่อภูมิอากาศในปั จจุบนั และในอนาคตหรื อไม่ อย่างไร - กลุม่ อาชีพใด หรื อเศรษฐกิจภาคส่วนใดที่มีความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากที่สดุ - แผนหรื อนโยบายท้ องถิ่นสนับสนุนวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพที่ฟืน้ ตัวเร็วจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่ อย่างไร - เจ้ าหน้ าที่สง่ เสริมของหน่วยราชการและขององค์กรพัฒนาเอกชนในท้ องถิ่น มีความ เข้ าใจกับความเสี่ยงต่อภูมิอากาศ และส่งเสริมยุทธศาสตร์ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่ อย่างไร


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การลดความ เสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ

- ภัยอันตรายที่เกี่ยวข้ องกับภูมิอากาศที่สาคัญที่สดุ ที่ภมู ิภาค และ/หรื อเขตนิเวศ เผชิญอยูม่ ีอะไรบ้ าง ภัยอันตรายที่ไม่เกี่ยวข้ องกับภูมิอากาศที่สาคัญที่สดุ ที่เผชิญอยู่ มีอะไรบ้ าง - ภัยอันตรายต่างๆ น่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศตามกาลเวลาที่ผา่ นไป - กลุม่ ใดในชุมชนที่มีความเปราะบางที่เสี่ยงต่อภัยพิบตั มิ ากที่สดุ - สถาบันท้ องถิ่นสามารถเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารด้ านความเสี่ยงต่อภัยพิบัตหิ รื อไม่ - มีการนาแผนการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ขิ องท้ องถิ่นไปดาเนินการหรื อไม่ - มีระบบเตือนภัยที่พร้ อมใช้ งานได้ ในระดับท้ องถิ่นหรื อไม่ อย่างไร - หน่วยงานราชการส่วนท้ องถิ่นมีขีดความสามารถในการรับมือกับภัยพิบตั ิหรื อไม่ - สถาบันอื่นที่เข้ ามาเกี่ยวข้ องในการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ใิ นระดับท้ องถิ่นมี อะไรบ้ าง

การพัฒนาขีด ความสามารถ

- สถาบันใด (หน่วยงานรัฐและองค์การพัฒนาเอกชน) ที่ถกู ดึงเข้ ามาเกี่ยวข้ องใน งานวิจยั วางแผน และการดาเนินงานการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - สถาบันใดที่มีบทบาทสาคัญที่สดุ ในการเอื ้ออานวยหรื อเป็ นอุปสรรคกีดขวางการ ดาเนินงานลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - สถาบันท้ องถิ่น (หน่วยงานรัฐและองค์การพัฒนาเอกชน) มีขีดความสามารถในการ ติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารด้ านความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ใิ นปั จจุบนั และใน อนาคตหรื อไม่ มากน้ อยเพียงใด - มีการจัดสรรทรัพยากรสาหรับการดาเนินงานตามนโยบายด้ านการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรื อไม่ งบประมาณที่จดั สรรมีจานวนเท่าไร ทรัพยากรต่างๆ มาจากไหน - ความต้ องการทางด้ านทรัพยากรและความสามารถในขณะนี ้ และ/หรื อที่ต้องการ เพิ่มเติม สาหรับการดาเนินงานลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมี อะไรบ้ าง - ความสามารถใหม่ๆ ด้ านใดที่อาจจาเป็ นต้ องมี เพื่อแก้ ไขสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ไปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การแก้ ไขความ เปราะบางที่ ต้ นเหตุของ ปั ญหา

- กลุม่ ทางสังคมกลุม่ ใดในชุมชนที่มีความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ มากที่สดุ - การวางแผนของท้ องถิ่นเป็ นกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมหรื อไม่ - กลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ อื่นๆ ที่ถกู ละเลย มีผ้ แู ทนเข้ าร่วมมีสิทธิมีเสียงในกระบวนการ วางแผนท้ องถิ่นหรื อไม่ - นโยบายท้ องถิ่นให้ ทกุ คนมีโอกาสเข้ าถึงและควบคุมทรัพยากรที่จาเป็ นอย่างยิ่งต่อ การประกอบอาชีพ/การดารงวิถีชีวิตของพวกเขา - ปั จจัยอื่นที่เป็ นอุปสรรคกีดขวางความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศของกลุม่ ที่มีความเปราะบางมากที่สดุ มีปัจจัยอะไรบ้ าง ชุมชนและกลุม่ คนที่มีความเปราะบางมีอิทธิพลใดๆ ต่อปั จจัยเหล่านี ้หรื อไม่

เครื่ องมือวิเคราะห์ การวิจัยขัน้ ทุตยิ ภูมิ การทาความเข้ าใจในเรื่ องยุทธศาสตร์ การประกอบอาชีพ /การดาเนินวิถีชีวิต สถานการณ์ ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ และพลวัตของอานาจและการปกครองของท้ องถิ่นในชุมชนเป้าหมายนัน้ เป็ นเรื่ องจาเป็ น อย่างยิ่ง ทังนี ้ ้เพื่อให้ แน่ใจได้ วา่ ผู้ดาเนินกระบวนการวิเคราะห์จะทาหน้ าที่นี ้ได้ อย่างมีประสิทธิผลเมื่อมีการ ปฏิบตั งิ านในพื ้นที่ ความเข้ าใจในเรื่ องดังกล่าวยังจาเป็ นสาหรับการค้ นหาระบุกลุ่มเป้าหมายหลักกลุ่มย่อย (Focus Group) ภายในชุมชน แหล่งข้ อมูลทุตยิ ภูมิในระดับชุมชนมีดงั ต่อไปนี ้  รายงานการประเมินขององค์กรพัฒนาเอกชน หรื อองค์การสหประชาชาติ  การประเมินผลการปฏิบตั กิ ารรับมือภัยพิบตั ติ า่ งๆ ในอดีต  โครงการติดตามความเปราะบางต่างๆ (เช่น ระบบเตือนภัย ทุพภิกขภัย (FEWS-Net)  รายงานการคัดกรองด้ านสิ่งแวดล้ อมสาหรับพื ้นที่เป้าหมาย  เอกสารของหน่วยราชการ ได้ แก่ ยุทธศาสตร์ การลดภาวะความยากจน แผนพัฒนา สถิติตา่ งๆ ของทาง ราชการ ฯลฯ  การปรึกษาหารื อกับหน่วยงานต่างๆ (ภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน) ที่ทางานอยูใ่ นพื ้นที่เป้าหมาย  ข้ อมูลพยากรณ์อากาศตามฤดูกาล


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การวิเคราะห์ นโยบาย การวิ เ คราะห์ แ ผนหรื อนโยบายในระดับ ท้ องถิ่ น อาจมี ค วามส าคัญ ต่ อ การเสริ ม สร้ างขี ด ความสามารถด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศของครัวเรื อนและบุคคลที่มีความเปราะบาง ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั ระดับการกระจายอานาจในการตัดสินใจในประเทศนันๆ ้ การวิเคราะห์แผนระดับอาเภอหรื อ ระดับภาค และ/หรื อยุทธศาสตร์ ของภาคส่วนต่างๆ สามารถให้ ข้อมูลที่มีประโยชน์ด้านความเร่ งด่วนของ หน่วยราชการส่วนท้ อ งถิ่ น การวิเคราะห์ลึกลงไปในกระบวนการพัฒนาจัดทานโยบายและยุทธศาสตร์ เหล่านี ้ จะทาให้ เกิดความเข้ าใจถึงระดับการมีสว่ นร่วมของกลุ่มคนที่มีความเปราะบางในการกาหนดความ เร่ ง ด่ว นนัน้ ว่า มี ม าก-น้ อยเพี ยงใด ส่วนการวิเคราะห์ ส ถานะของการดาเนิ นงาน สามารถให้ ข้ อมูลที่ มี ประโยชน์เกี่ยวกับข้ อจากัดด้ านความสามารถและทรัพยากรที่ผ้ ปู ฏิบตั งิ านในท้ องถิ่นกาลังเผชิญอยู่

การทาแผนที่สถาบัน สถาบันต่างๆ มีบทบาทอย่างสาคัญต่อการส่งเสริ มหรื อกีดขวางความสามารถของคนในการพยายาม ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การทาแผนที่สถาบันจึงมีประโยชน์อย่างยิ่ง ทาให้ สามาร เข้ า ใจมากขึน้ ว่า สถาบันไหนมี ค วามส าคัญต่อคนในชุม ชนเป้าหมายมากที่ สุด การทาแผนที่ สถาบัน เกี่ยวข้ องกับการพิจารณาตรวจสอบข้ อมูลด้ านสถาบันด้ วยคาถามต่อไปนี ้  องค์กรไหน (หน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กร/กลุ่มชุมชน) ที่ถูกดึงเข้ ามาทางาน แก้ ไขประเด็นปั ญหาสาคัญที่เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  องค์กรเหล่านันท ้ าอะไร  องค์กรเหล่านันท ้ างานที่ไหน  องค์กรเหล่านันมี ้ ความสัมพันธ์กบั ประชากรเป้าหมายอย่างไร  มีการทางานซ ้าซ้ อนกับองค์กรอื่นๆ ในด้ านใดบ้ าง  ความสามารถด้ านใดบ้ างที่ยงั ขาดอยู่  องค์การบางองค์กรอาจเป็ นอุปสรรคกีดขวางการทางานของผู้อื่นได้ อย่างไร  องค์กรเหล่านันมี ้ แผนระยะยาว สาหรับการทางานในพื ้นที่เป้าหมายนี ้อย่างไร  จุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กรเหล่านันมี ้ อะไรบ้ าง 13  สถาบันเหล่านีม้ ีอิทธิ พ ลมากน้ อยเพียงไรต่อการวางแผนและการดาเนินงานลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 13

CARE, 2002. ชุดเครื่ องมือประเมินความมั่นคงของการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพของครัวเรื อนสาหรั บ ผู้ปฏิบตั ิงานพัฒนา


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กิจกรรมการทาแผนที่สถาบันช่วยให้ สามารถระบุได้ ว่า สถาบันไหนควรถูกดึงเข้ ามามีส่วนร่ วมใน กระบวนการ CVCA และองค์กรใดที่มีศกั ยภาพเป็ นองค์กรภาคีและที่เป็ นฝ่ ายตรงข้ าม ในการแก้ ไขปั ญหาที่ เป็ นต้ นเหตุของความเปราะบางในระดับชุมชน

การสัมภาษณ์ ผ้ ูให้ ข้อมูลหลัก ผู้ให้ ข้อมูลหลักสามารถให้ ข้อมูลเจาะลึกที่เป็ นประโยชน์เกี่ ยวกับโครงสร้ างของการปกครองใน ท้ องถิ่น และสถานะของการดาเนินงานตามนโยบายและโครงการต่างๆ ของท้ องถิ่น ประเด็นเรื่ องอานาจ ภายในชุม ชนและระหว่างชุม ชนกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยอื่ นๆ อาจผุดขึน้ มาจากการสัม ภาษณ์ บุคคลที่ มี บทบาทสาคัญ การไม่เปิ ดเผยชื่อผู้ที่ถกู สัมภาษณ์อาจทาให้ ผ้ ถู กู สัมภาษณ์เปิ ดเผยข้ อมูลได้ อย่างเสรี ผู้ให้ ข้อมูลหลักในระดับหน่วยราชการส่วนท้ องถิ่น/ระดับชุมชนมีดงั นี ้  ผู้นาท้ องถิ่น (หัวหน้ า นายกเทศมนตรี ผู้แทนที่มาจากการเลือกตัง้ ฯลฯ)  ผู้แทนขององค์กรชุม ชน เช่น กลุ่ ม เกษตรกร คณะกรรมการนา้ และสุขาภิบาล กลุ่ม ออมทรัพ ย์และ สินเชื่อ  ผู้แทนของกลุม่ สตรี หรื อกลุม่ อื่นๆ ที่ทางานด้ านสิทธิ  ผู้แทนขององค์ก รพัฒ นาเอกชนที่ ด าเนิน งานโครงการ หรื อ ที่ ท างานส่ง เสริ ม การเปลี่ ยนแปลงเชิ ง นโยบายอยูใ่ นพื ้นที่เป้าหมาย  สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจยั ที่เข้ ามาทางานในพื ้นที่เป้าหมาย สนใจข้ อมูลเพิ่มเติม ค้ นหาได้ จากแหล่งต่อไปนี ้ ชุดเครื่ องมือประเมินความมัน่ คงของวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพของครัวเรื อน (Household Livelihood Security Toolkit) มีคาแนะนาที่มีประโยชน์ด้านการวางแผน การประเมิน การสัมภาษณ์ผ้ ใู ห้ ข้อมูลหลัก และแนวทางและ วิธีอื่นๆที่เกี่ยวข้ อง ค้ นคว้ าเพิ่มเติมที่ http://www.proventionconsortium.org/themes/default/pdfs/CRA/HLSA2002_meth.pdf สถาบันการพัฒนาศึกษา (Institute of Development Studies) มีเว็บไซด์ Livelihood Connect ซึง่ เชื่อมต่อกับ แหล่งข้ อมูลด้ านเครื่ องมือวิเคราะห์นโยบายและสถาบันหลายแห่ง: http://www.livelihoods.org/info/info_toolbox.html ชุดเครื่ องมือการทางานเสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายขององค์กร Tearfund มีเครื่ องมือชนิดต่างๆ หลาย ชนิดสาหรับการวิจยั และวิเคราะห์บริ บทของประเทศในวงกว้ าง ค้ นคว้ าได้ ที่


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

http://tilz.tearfund.org/webdocs/Tilz/Roots/English/Advocacy%20toolkit/Advocacy%20toolkit_E_Part% 20C_2_Research%20and%20analysis.pdf Provoking Change : A Toolkit for African NGOs มีคาแนะนาเกี่ยวกับเครื่ องมือชนิดต่างๆ สาหรับการทางาน เสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย อาทิ เครื่ องมือวิเคราะห์ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสีย http://www.fern.org/media/documents/document_3914_3917.pdf

ระดับครั วเรื อน/บุคคล คาถามนา - ระดับครัวเรือน/บุคคล วิถีชีวิต/การ ประกอบอาชีพที่ ฟื น้ ตัวเร็ว

- ทรัพยากรเพื่อการดารงวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพที่มีความสาคัญต่อกลุม่ ต่างๆ ในชุมชนมากที่สดุ คืออะไร - การเปลี่ยนแปลงด้ านภูมิอากาศที่ชมุ ชนเฝ้าสังเกตติดตามอยูค่ ืออะไร ระบบ พยากรณ์อากาศพื ้นบ้ านใช้ การได้ ดีและเชื่อถือได้ หรื อไม่ อย่างไร - ยุทธศาสตร์ อะไรที่ใช้ ในขณะนี ้สาหรับการรับมือกับภัยพิบตั ชิ นิดฉับพลันและภัย พิบตั ทิ ี่สะสมตามกาลเวลา - คนในชุมชนให้ ข้อมูลทางภูมิอากาศและใช้ ข้อมูลกันอยู่หรื อไม่สาหรับการ วางแผน - ครัวเรื อนในชุมชนใช้ วิธีทาการเกษตรที่ปรับได้ ง่ายตามภูมิอากาศกันอยู่หรื อไม่ - ครัวเรื อนในชุมชนมียทุ ธศาสตร์ /หนทางการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพที่ หลากหลายหรื อไม่ มียทุ ธศาสตร์ นอกภาคการเกษตรรวมอยูด่ ้ วยหรื อไม่ อย่างไร - คนในชุมชนมีการจัดการความเสี่ยงด้ วยการวางแผนรับมือไว้ ลว่ งหน้ า และการ ลงทุนเพื่ออนาคตหรื อไม่ อย่างไร

การลดความ เสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ

- ภัยอันตรายที่ใหญ่ที่สดุ ที่เกี่ยวเนื่องกับภูมิอากาศที่ชมุ ชนเคยเผชิญมาคืออะไร และที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับภูมิอากาศคืออะไร - ภัยอันตรายต่างๆ น่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศตามกาลเวลาที่ผา่ นไป - ครัวเรื อนในชุมชนมีอาหารและปั จจัยการผลิตสาหรับทาการเกษตรเก็บสารองไว้


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

บ้ างหรื อไม่ อย่างไร - ครัวเรื อนในชุมชนมีสถานที่หลบภัยที่ปลอดภัยหรื อไม่ - คนในชุมชนสามารถเข้ าถึงระบบการเตือนภัยสาหรับภัยอันตรายทางภูมิศาสตร์ หรื อไม่ อย่างไร - คนในชุมชนสามารถเคลื่อนไหวหนีอนั ตรายได้ ตามปกติหรื อไม่ ในกรณีที่มีเหตุ ภัยพิบตั ทิ างภูมิศาสตร์ เกิดขึ ้น การพัฒนาขีด ความสามารถ

- มีระบบคุ้มกันทางสังคม-เศรษฐกิจที่คอยช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้ อนให้ แก่ ครัวเรื อนในชุมชนหรื อไม่ อย่างไร - มีบริการทางการเงินไว้ บริการแก่ครัวเรื อนในชุมชนหรื อไม่ อย่างไร - คนในชุมชนมีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะนายุทธศาสตร์ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไปประยุกต์ใช้ หรื อไม่ อย่างไร - คนในชุมชนสามารถเข้ าถึงข้ อมูลพยากรณ์อากาศตามฤดูกาลและข้ อมูลทาง ภูมิอากาศอื่นๆ หรื อไม่ อย่างไร

การแก้ ไขความ เปราะบางที่ ต้ นเหตุ

- ผู้หญิงและผู้ชายทางานร่วมกันหรื อไม่ในการแก้ ไขปั ญหาท้ าทายต่างๆ - ครัวเรื อนในชุมชนมีอานาจควบคุมทรัพยากรที่จาเป็ นยิ่งสาหรับการประกอบ อาชีพ/การดาเนินวิถีชีวิตของพวกเขาหรื อไม่ อย่างไร - กลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ อื่นๆที่ถกู ละเลยเข้ าถึง ข้ อมูล ทักษะ และบริการ เท่าเทียม กับผู้อื่นหรื อไม่ อย่างไร - กลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ อื่นๆ ที่ถกู ละเลยมีสิทธิและมีโอกาสเข้ าถึงทรัพยากรเท่า เทียมกับผู้อื่นหรื อไม่ อย่างไร - มีปัจจัยอื่นด้ านสังคมหรื อเศรษฐกิจหรื อการเมืองที่ทาให้ กลุม่ ใดโดยเฉพาะใน ชุมชนมีความเปราะบางมากกว่ากลุม่ อื่นหรื อไม่ อย่างไร - กลุม่ ที่มีความเปราะบางเหล่านี ้มีอิทธิพลเหนือปั จจัยเหล่านันหรื ้ อไม่ อย่างไร


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

เครื่ องมือวิเคราะห์ การวิจัยขัน้ ทุตยิ ภูมิ เพื่อให้ การวางแผนการทางานในพื ้นที่เป็ นไปอย่างมีประสิทธิผล และเพื่อให้ แน่ใจได้ ว่าชุมชนไม่มีภาระ หนักเกินไปในการร่วมมือกับทีมวิจยั และประเมิน การศึกษาข้ อมูลต่างๆ ที่มีอยูแ่ ล้ วจึงมีความสาคัญยิ่ง แหล่งข้ อมูลด้ านการประกอบอาชีพ/วิถีชีวิตมีดงั นี ้  รายงานการประเมินจากองค์กรพัฒนาเอกชน หรื อองค์การสหประชาชาติ  โครงงาน/โครงการศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานของชุมชน และ/หรื อรายงานการประเมินผล  โครงการติดตามความเปราะบางที่มีความเสี่ยง (เช่น ระบบเตือนภัยทุพภิกขภัย (FEWS-Net)  การประเมินหลังเหตุภยั พิบตั ิ  การปรึกษาหารื อกับหน่วยงานต่างๆ (หน่วยราชการและองค์กรพัฒนาเอกชน) ที่ทางานอยูใ่ นพื ้นที่  แผนที่แสดงลักษณะทางภูมิศาสตร์ เขตเกษตร-นิเวศ และโครงสร้ างพื ้นฐานต่างๆ ที่มีอยูใ่ นพื ้นที่ ในบางกรณี มีความเป็ นไปได้ ที่ข้อมูลทุติยภูมิสามารถให้ คาตอบแก่คาถามนาต่างๆ ได้ หลายคาถาม อย่างไร ก็ตาม ข้ อมูลนี ้ยังต้ องได้ รับการตรวจสอบยืนยันความถูกต้ องโดยผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในท้ องถิ่นด้ วย การมีข้อมูล เกี่ ยวกับ ความเป็ นมามากขึน้ ท าให้ ส ามารถวางแผนงานในพื น้ ที่ ให้ แคบลงได้ โดยเจาะลึกในประเด็นการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโดยเฉพาะ ในหลายๆ กรณี ข้ อมูลที่มีอยู่ในระดับครัวเรื อน/ระดับบุคคลอาจมีน้อยมาก ดัง นัน้ จึงต้ องมี การวิเคราะห์ แบบมีส่วนร่ วมที่ เจาะลึกยิ่ง ขึน้ เพื่อให้ เกิ ดความเข้ าใจเกี่ ยวกับพลวัตของความ เปราะบาง

เครื่ องมือส่ งเสริมการมีส่วนร่ วม

ภาพการประชุมกลุ่มย่อย ชุมชนชายฝั่ ง บ้านท่าพิกลุ อ.ท่าฉาง จ.สุราษฎร์ ธานี – มูลนิ ธิรักษ์ ไทย การศึกษาและเก็บข้ อมูลชุมชน(ข้ อมูลปฐมภูม) นันมี ้ การเรี ยนรู้ร่วมกันเสริ มอยู่ด้วย โดยใช้ เครื่ องมือชนิด ต่างๆ ที่ใช้ กนั โดยทัว่ ไปสาหรับเสริมสร้ างการมีสว่ นร่วม รวมทังการอภิ ้ ปรายกันในกลุม่ ย่อย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กลุม่ ย่อยนัน้ ปกติจะมีขนาด 5-12 คน ประกอบด้ วยตัวแทนของกลุ่มอาชี พต่างๆ และ/หรื อกลุ่มที่มีความ เปราะบางในชุมชนที่ถูกคัดเลือกมา เกณฑ์การคัดเลือกสมาชิกของกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่ง อาจเลือกตามอายุหรื อ ตามเพศ (เช่น เด็กผู้หญิ งวัยรุ่ น หรื อสตรี ผ้ สู ูงอายุ หรื อผู้ชายวัยหนุ่มที่แต่งงานแล้ ว) หรื อตามลักษณะอื่นๆ ที่มี เหมือนกัน (เช่น คนที่เจ็บป่ วยเรื อ้ รัง หรื อสมาชิกของสมาคมเกษตรกร) อย่างไรก็ดี อย่างน้ อยที่สดุ ควรจะทาการ อภิปรายกลุ่มย่อยกับกลุ่มผู้หญิงและกลุ่มผู้ชายแยกกัน เพื่อให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมอภิปรายกลุ่มรู้ สึกว่ามีอิสระที่จะพูดได้ อย่างเปิ ดเผย การเสริ มสร้ างกระบวนการมีส่วนร่วมและการสร้ างความสมดุ ลระหว่างการเรี ยนรู้กบั การรวบรวมข้ อมูล จะต้ อ งมี ก ารอานวยกระบวนการแบบมี ส่วนร่ วมที่ เ ข้ ม แข็ง ที่ คิดครอบคลุม ทุกคนทุก ประเด็น แนวทางการ ปฏิ บัติง านภาคสนามที่ อยู่ท้ายคู่มื อส่ง เสริ ม นี ้ มี คาแนะนาเกี่ ยวกับเคล็ดลับการอานวยกระบวนการ รวมทัง้ แนวทางการใช้ เครื่ องมือแบบมีสว่ นร่วม และการอานวยกระบวนการอภิปรายกับกลุม่ ย่อยโดยละเอียด

1

2

แนวทางการ ปฏิบัตงิ าน ภาคสนาม

จุดประสงค์

เคล็ดลับการ อานวย กระบวนการ

- เพื่อชักพาการวางแผนและการเตรี ยมการเข้ าเยี่ยมชุมชน

การทาแผนที่ภัย

- เพื่อทาความเข้ าใจเกี่ยวกับชุมชน และเพื่อให้ ร้ ูวา่ กลุม่ ต่างๆ ภายใน ชุมชนมองชุมชนอย่างไร

ร้ ายแรง

- เพื่อให้ คาแนะนาทัว่ ไปเกี่ยวกับวิธีอานวยกระบวนการอย่างมีประสิทธิผล

- เพื่อค้ นหาระบุทรัพยากรในชุมชนที่ความสาคัญต่อวิถีชีวิต/การ ประกอบอาชีพของคนในชุมชน และใครที่เข้ าถึงและควบคุมทรัพยากร เหล่านัน้ - เพื่อค้ นหาระบุพื ้นที่และทรัพยากรที่มีความเสี่ยงต่อภัยอันตรายทาง ภูมิอากาศ - เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภัยอันตรายและวางแผนรับมือเพื่อ ลดความเสี่ยง 3

ปฏิทนิ ฤดูกาล

- เพื่อระบุชว่ งเวลาของภัยพิบตั ทิ ี่สะสมมาช้ านานตามกาลเวลา ภัย อันตราย โรคร้ าย ความอดอยาก หนี ้สิน ความเปราะบาง ฯลฯ - เพื่อทาความเข้ าใจเกี่ยวกับวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพ และยุทธศาสตร์


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การรับมือกับปั ญหา - เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภัยอันตรายที่เกิดขึ ้นตามฤดูกาล - เพื่อประเมินผลการใช้ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ สาหรับการวางแผน 4

ลาดับอุบัตกิ ารณ์ ของภัยอันตราย ทางภูมิอากาศ ในอดีต

- เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจลึกซึ ้งเกี่ยวกับภัยอันตรายที่เกิดขึ ้นในอดีต ลักษณะความรุนแรง และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปของภัยอันตราย เหล่านัน้ - เพื่อให้ คนได้ รับรู้ถึงแนวโน้ มของการเปลี่ยนแปลงของภัยอันตรายตาม กาลเวลาที่ผ่านไป - เพื่อประเมินขอบเขตของการวิเคราะห์ความเสี่ยงของการวางแผนและ การลงทุนเพื่ออนาคต

5

ตารางวิเคราะห์ ความเปราะบาง

- เพื่อระบุภยั อันตรายประเภทต่างๆ ที่สง่ ผลกระทบรุนแรงต่อทรัพยากรที่ มีความสาคัญต่อการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพมากที่สดุ - เพื่อระบุทรัพยากรต่างๆ ที่สาคัญต่อการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบ อาชีพที่มีความเปราะบางมากที่สดุ - เพื่อระบุยทุ ธศาสตร์ ในการรับมือกับภัยอันตรายดังกล่าวที่ใช้ อยูใ่ น ปั จจุบนั

6

แผนภูมิ เวนน์ (Venn Diagram)

- เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจเกี่ยวกับสถาบันต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อชุมชน มากที่สดุ - เพื่อทาการวิเคราะห์เกี่ยวกับการดึงกลุม่ ต่างๆ เข้ ามามีสว่ นร่วมใน กระบวนการวางแผนของท้ องถิ่น - เพื่อประเมินผลการเข้ าถึงบริ การต่างๆ และระบบ/บริการทางสังคมที่มี ไว้ บริการแก่คนในชุมชน เพื่อให้ ความคุ้มครองป้องกันและบรรเทา ความเดือดร้ อนนันมี ้ อะไรบ้ าง


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การเรี ยบเรี ยงและวิเคราะห์ ข้อมูล หลังจากงานในพื ้นที่เสร็จสมบูรณ์แล้ ว ทีมงานจะต้ องศึกษาทบทวนข้ อมูลที่ได้ เก็บรวบรวมมา และดูว่ามี ข้ อมูลอะไรที่ยงั ขาดหายอยู่ อาจจะต้ องมีการสัมภาษณ์ หรื อการวิจยั เพิ่มเติม เพื่อให้ ได้ ข้อมูลครบถ้ วน ทีมงานภาคสนามที่มาจากชุมชนเดียวกันควรมานัง่ วิเคราะห์ข้อมูลทังหลายด้ ้ วยกัน การเปรี ยบเทียบ ข้ อมูลและผลการวิเคราะห์ของกลุ่มต่างๆ ภายในชุมชนเป็ นส่วนสาคัญของกระบวนการนี ้ เพราะจะทาให้ เกิด ความเข้ าใจอย่างลึกซึ ้งเกี่ยวกับความเปราะบางที่แตกต่างกัน การวิเคราะห์อาจทาให้ ประเด็นความไม่เท่าเทียม กันภายในชุมชน ที่อาจจะไม่มีใครตระหนักเห็นถูกเปิ ดเผยขึ ้นมา ทังนี ้ ้ อาจต้ องมีการอภิปรายหรื อการสัมภาษณ์ เพิ่มเติมกับกลุ่มที่มีความเปราะบางอย่างยิ่ง เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจในพลวัตของชุมชนและของครัวเรื อนอย่าง ถ่องแท้ เมื่อการวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนเป้าหมายต่างๆ เสร็ จสิ ้นลง ทีมที่ปฏิบตั ิงานในชุมชนต่างๆ ควรมานัง่ สรุปร่วมกันเพื่อระบุแนวโน้ ม ประเด็นปั ญหาที่เหมือนกัน สิ่ งที่แตดต่างกัน และประเมินผลกระบวนการเก็บและ วิเคราะห์ข้อมูลด้ วยกัน จากนันจึ ้ งทาการผสมผสานข้ อมูลชุมชนและข้ อมูลที่เจาะลึกที่ได้ มาจากเครื่ องมืออื่นๆ เข้ าด้ วยกัน เพื่อ ตอบคาถามนาต่างๆ ที่ได้ ตงไว้ ั ้ เป็ นกรอบการวิเคราะห์

การตรวจสอบยืนยันความถูกต้ อง หลังจากการวิเคราะห์เบื ้องต้ นเสร็จสิ ้นแล้ ว ควรจะต้ องมีการนาเสนอผลการวิเคราะห์ตอ่ ผู้แทนของชุมชน เพื่อให้ ชุมชนยืนยันความถูกต้ องของข้ อสรุปต่างๆ ของทีมวิจยั กระบวนการยืนยันความถูกต้ องนี ้ แนะนาให้ ทา เป็ น 2 ขันตอน ้ ขันตอนแรก ้ คือ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ตอ่ กลุ่มย่อยของชุมชนเอง เพื่ อให้ แน่ใจว่า ข้ อสรุ ป ต่างๆ ของทีมวิเคราะห์นนถู ั ้ กต้ อง ขันตอนต่ ้ อไปคือ ให้ นาเสนอผลการวิเคราะห์ต่อกลุ่มชุมชนและองค์กรต่างๆ ในท้ องถิ่นในวงกว้ างมากขึ ้น เพื่อให้ เกิดการพูดคุยในประเด็นต่างๆ ที่บางกลุ่มได้ หยิบยกขึ ้นมา ซึ่งอาจจะมีความ เกี่ยวโยงกับกลุ่มอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขันตอนนี ้ ้จะทาให้ กลุ่มอื่นๆ มีโอกาสได้ รับรู้ ความคิดเห็นของกลุ่มที่มี ความเปราะบางอย่างยิ่ง สิ่งที่ควรระวังคือ ประเด็นบางอย่างที่กลุ่มต่างๆ หยิบยกขึน้ มาอาจมีความอ่อนไหว บุคคลที่จะทาหน้ าที่เป็ นผู้อานวยกระบวนการพูดคุยจะต้ องเตรี ยมพร้ อมสาหรับการแก้ ไ ขความขัดแย้ งที่อาจ เกิดขึ ้น อีกทังยั ้ งต้ องทาให้ แน่ใจด้ วยว่า การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันนี ้ จะไม่ทาให้ เกิดผลเสียต่อสมาชิก คนใดของชุมชนในภายหลัง หน่วยงาน/กลุม่ /องค์กรที่ดาเนินการต่างๆ ในท้ องถิ่นอาจมีแนวทางและคาแนะนาใน เรื่ องนี ้


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การพัฒนาที่เน้ นคนเป็ นศูนย์ กลาง การพัฒนาที่เน้ นคนเป็ นศูนย์กลางจะช่วยสร้ างความสัมพันธ์ กบั บุคคลและกับชุมชนให้ เป็ นรากฐานที่ดี สาหรับการทางานที่สร้ างสรรค์ร่วมกัน เรื่ องต่างๆ ที่ผุดขึน้ มาที่เป็ นวาระสังคมโดยรวม เช่น การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ต้ องถื อว่าทุกคนที่มีบทบาทในการพัฒนา นัน้ (เช่น เกษตรกร กลุ่มสตรี ครัวเรื อนแต่ละครัวเรื อน องค์กรพัฒนาเอกชนในท้ องถิ่น หน่วยงานราชการ ผู้หญิง ผู้ชาย และชุมชน) เป็ นผู้มี ความรู้ และมี ความสามารถที่จ ะแก้ ไขปั ญหาของพวกเขาด้ วยตนเอง ด้ วยทัศนคติเช่นนี ้ วิธี การ CVCA จึง มุ่ง แสวงหาหนทางสร้ างความสัม พัน ธ์ ใ หม่ๆ ระหว่างผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสี ย หลายฝ่ ายกับ สิ่งแวดล้ อมที่รายรอบพวกเขา รวมทังความสั ้ มพันธ์ ใหม่ในหมู่คนด้ วยกันเอง โดยหนทางเหล่านันจะขึ ้ ้นอยู่กับ ความเข้ าใจและความคิดสร้ างสรรค์ของท้ องถิ่นเป็ นส่วนใหญ่ โดยจะใช้ ปัจจัยดังกล่าวสร้ างสัมพั นธภาพใหม่ให้ เกิดขึ ้นอย่างสนุกสนานรื่ นรมย์ การสร้ างความสัมพันธ์นนจ ั ้ าเป็ นต้ องใช้ กระบวนการแบบเปิ ด และทาซ ้าๆ กันมาก ขึ ้น ซึง่ บุคคลที่ทาหน้ าที่อานวยกระบวนการจะไม่สามารถคาดเดาได้ ว่า โครงเรื่ องของกิจกรรมสร้ างความสัมพันธ์ นันจะมี ้ รายละเอียดอย่างไร และจะเกิดขึ ้นเมื่อไร หากแต่จะต้ องคอยเฝ้าสังเกตตลอดเวลาว่า ความคิดสร้ างสรรค์ ของคนท้ องถิ่น จะผุดขึ ้นเมื่อไร และจะนามาใช้ ในเรื่ องนี ้อย่างไร โดยรวมแล้ วปั จจัยหลักที่ขบั เคลื่อนกิจกรรมหรื อ การดาเนินการที่เน้ นคนเป็ นศูนย์กลาง คือ ความรู้ความเข้ าใจที่ตรงกันกับชุมชน เช่น องค์ความรู้เกี่ ยวกับสิ่งที่คน ในชุม ชนทา และทาไมจึงทา การมี ส่วนร่ วมในกระบวนการ CVCA นัน้ สามารถมองได้ ว่าเป็ นหนทางช่วย เสริมสร้ างให้ ผ้ ทู ี่มีบทบาทดาเนินการ/ปฏิบตั งิ านในท้ องถิ่นมีโอกาสเข้ าควบคุมองค์ความรู้และทรัพยากรต่างๆ ใน ลักษณะที่ช่วยให้ พวกเขาสามารถทาให้ สิ่งที่เป็ นผลประโยชน์ ของปั จเจกบุคคล และที่เป็ นผลประโยชน์ร่วมกัน ของชุมชน ให้ เกิดความก้ าวหน้ าด้ วยตนเอง รวมทังในการท ้ างานร่ วมกับผู้อื่น (ตัวอย่าง เช่น การทางานร่ วมกับ องค์กรอื่นในสิ่งแวดล้ อมที่เกื ้อหนุนของพวกเขา เช่น การทางานร่วมกับหน่วยงานราชการ) อย่างไรก็ดี เวลาและแผนงานที่ว างกันไว้ แล้ ว มักเป็ นตัวกาหนดกระบวนการที่เชื่อกันว่าเป็ นกระบวนการ “แบบมีสว่ นร่วม” การมีสว่ นร่วมประเภทต่างๆ นัน้ มีคาอธิบายไว้ ข้างใต้ นี ้ วิธีการ CVCA จึงอยากให้ ผ้ ใู ช้ พิจารณา การมีส่วนร่วมประเภทที่กาลังนาไปใช้ อย่างรอบครอบ และอยากให้ พยายามใช้ ประเภทที่ม่งุ เน้ นเสริ มสร้ างพลัง อานาจในคนสามารถจัดการสิ่งต่างๆได้ ด้วยตนเอง  การมีส่วนร่ วมเชิงรั บ : คนเข้ ามามีส่วนร่ วมโดยวิธีการบอกให้ ทราบถึงสิ่งที่ได้ มีการตัดสินใจไปเรี ยบร้ อย แล้ ว หรื อที่เกิดขึ ้นแล้ ว ข้ อมูลที่นามาบอกเล่าให้ ทราบเป็ นข้ อมูลของมืออาชีพจากองค์กรภายนอก  การมีส่วนร่ วมโดยการปรึกษาหารื อ : คนมีส่วนร่วมโดยมีคนเข้ ามาขอคาปรึกษาหรื อโดยการตอบคาถาม เป็ นกระบวนการมีส่วนร่วมที่ไม่ได้ ให้ โอกาสเข้ ามามีส่วนร่ วมใดๆ ในการตัดสินใจ และผู้ปฏิบตั ิงานมืออาชีพ ไม่มีข้อผูกมัดที่จะต้ องนาความคิดเห็นของชุมชนมาพิจารณา


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 การมีส่วนร่ วมโดยการถูกซื้อ: คนเข้ ามามีส่วนร่ วมเพราะได้ รับสิ่งตอบแทน อาทิ อาหารหรื อเงินสด หรื อ สิ่งจูงใจอื่นๆ ที่เป็ นวัตถุ เมื่อการให้ สิ่งจูงใจเสร็ จสิ ้นลง คนในท้ องถิ่น ก็ไม่มีส่วนได้ ส่วนเสียที่จะใช้ เทคโนโลยี หรื อวิธีปฏิบตั นิ นอี ั ้ กต่อไป  การมีส่วนร่ วมที่ใช้ ประโยชน์ ได้ : ในสายตาของหน่วยงานภายนอก การมีส่วนร่วมถูกมองว่าเป็ นวิธีการที่ ทาให้ บรรลุเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้ านการลดต้ นทุน คนเข้ ามามีส่วนร่วมโดยการจัดตังกลุ ้ ่มขึ ้นมา เพื่อทางานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ตงไว้ ั้  การมีส่วนร่ วมอย่ างมีปฏิสัมพันธ์ : คนเข้ ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ร่วมกันในการพัฒนาแผนปฏิบตั ิ การ และในการจัดตังกลุ ้ ่มและเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งให้ แก่กลุ่มท้ องถิ่นหรื อสถาบันท้ องถิ่น วิธีการเรี ยนรู้ ที่ ใช้ ในกลุ่มก็เพื่อแสวงหามุมมองจากหลายฝ่ ายหลายด้ าน และกลุ่มเป็ นผู้กาหนดว่าจะใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างไร  การมีส่วนร่ วมที่เกิดจากการกระตุ้นของตนเองและความต้ องการสร้ างสายสัมพันธ์ : คนเข้ ามามีส่วน ร่วมโดยการริ เริ่ มของตนเองโดยไม่ต้องพึ่งใครเพื่อต้ องการจะเปลี่ยนแปลงระบบ เป็ นผู้ริเริ่ มสร้ างและพัฒนา สายสัมพันธ์การติดต่อกับสถาบันภายนอกด้ วยตนเอง เพื่อขอรับการสนับสนุนด้ านทรัพยากรและคาปรึกษา ทางวิชาการที่พวกเขาต้ องการ แต่ยงั คงบทบาทเป็ นผู้ควบคุมวิธีการใช้ ทรัพยากร 14

การบันทึกการวิเคราะห์ และการเผยแพร่ การบันทึกข้ อมูลเป็ นส่วนสาคัญของกระบวนการ CVCA ถ้ าผลการวิเคราะห์ถูกนาไปใช้ ในการการ ออกแบบโครงการ การบันทึกกระบวนการจัดทา และการวิเคราะห์จะช่วยให้ แน่ใจได้ ว่า การตัดสินใจทาการใดๆ ในโครงการในอนาคตนัน้ ตังอยู ้ ่บนพื ้นฐานที่ชดั เจน การบูรณาการการวิเคราะห์ CVCA เข้ าไว้ ในงานการติดตาม และประเมินผลโครงการก็จะเป็ นประโยชน์ด้วยเช่นกัน ซึ่งในกรณีนี ้ ผลการวิเคราะห์เบื ้องต้ นจะเป็ นส่วนหนึ่งของ ข้ อมูลพื ้นฐานของโครงการ นอกจากนี ้ การวิเคราะห์ประเภทนี ้จะ เป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอื่นๆ ที่ทางานในพืน้ ที่โครงการ ได้ แก่ หน่วยงานราชการ ท้ องถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชนอื่นๆ และชุมชนเอง รายงานที่ผลิตจากกระบวนการ CVCA ควรแจกจ่ายแบ่งปั น ให้ กับหน่วยงานอื่นๆ ที่ทางานอยู่ในพืน้ ที่ เพื่อให้ หน่วยงานเหล่านี ้นาประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศไปบูรณาการกับงานของพวกเขา -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------14

Pretty, Jules, 1995. Typology of Participatory Learning for Sustainable Agriculture in World Development, Vol.23, No.8.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

เค้าโครงข้างล่างนีเ้ ป็ นคาแนะนาสาหรับการจัดทารายงานเกี ่ยวกับกระบวนการ CVCA

กรอบรายงานจากการใช้ กระบวนการ CVCA  รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการโดยรวมที่ได้ ดาเนินการไป: ลาดับเหตุการณ์และวันเดือนปี ที่ดาเนินการ สมาชิกของทีมวิเคราะห์ วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ ฯลฯ  รายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งข้ อมูลทุติยภูมิ และรายชื่อของผู้ให้ ข้อมูลหลัก (ถ้ าบุคคลเหล่านันไม่ ้ ขดั ข้ องที่จะ เปิ ดเผยชื่อ มิฉะนันให้ ้ รายละเอียดเกี่ยวกับจานวนคนที่ถกู สัมภาษณ์ก็พอ) ฯลฯ  ให้ รายละเอียดของการวิจยั แบบมีส่วนร่วม : จานวนครัง้ ของการอภิปรายกลุ่มย่อย จานวนผู้เข้ าร่วมการวิจยั และคุณลักษณะของผู้เข้ าร่วม ชื่อและตาแหน่งของวิทยากรกระบวนการ ฯลฯ  อธิบายกระบวนการตีความและการตรวจสอบยืนยันความถูกต้ องของผลการวิจยั /วิเคราะห์

บริบทของภูมิอากาศ  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์การบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในนโยบายและ โครงการที่เกี่ยวข้ อง  ระบุภัยอันตรายทางภูมิอากาศ ( เหตุการณ์ และสภาพ) ที่คนในพืน้ ที่เป้าหมาย (ประเทศ ภูมิภาค ชุมชน) เผชิญอยูใ่ นขณะนี ้  อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับภัยอันตรายทางภูมิอากาศ (เหตุการณ์และสภาพ) น่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ตามพื ้นฐานข้ อมูลการทานายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีอยู่  บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ชมุ ชนสังเกตเห็น

ความเชื่อมโยงระหว่ างวิถีชีวิตและภูมิอากาศ  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายของภาคส่วนที่เกี่ยวข้ องในแง่ที่นโยบายนันมี ้ ส่วนช่วยเสริ มสร้ าง ความสามารถของชุมชนในการฟื น้ ตัวจากภัยอันตราย  ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับกลุม่ อาชีพ หรื อภาคเศรษฐกิจต่างๆ ที่มีความเปราะบาง  ระบุทรัพยากรประเภทต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อการประกอบอาชีพ/การดาเนิ นวิถีชีวิตและการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 อธิบายถึงผลกระทบของภัยอันตรายทางภูมิอากาศทังในปั ้ จจุบนั และในอนาคต (รวมทังสภาพที ้ ่เปลี่ยนแปลง ไป) ที่มีตอ่ ทรัพยากร และการประกอบอาชีพ/วิถีชีวิต  ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ การรับมือที่กาหนดขึ ้นในปั จจุบนั และประเมินผลความมีประสิทธิผล และความยัง่ ยืนของยุทธศาสตร์ เหล่านัน้

ความเสี่ยงต่ อภัยพิบัตทิ ่ เี ปลี่ยนแปลงไป  ให้ รายละเอียดของการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั และในอนาคต  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายต่างๆ ด้ านการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับระบบติดตามและเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารด้ านความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิและประเมินผล ระบบดังกล่าว  อธิบายรายละเอียดและประเมินขีดความสามารถของระดับชาติ ระดับท้ องถิ่น และระดับชุมชนในการรับมือ กับภัยพิบตั ติ า่ งๆ รวมทังรายละเอี ้ ยดของการประเมินผลการดาเนินการด้ านนี ้ในอดีต  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความเปราะบางของครัวเรื อน/บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อภัยอันตราย

บริบทของสถาบันที่เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้ างของรัฐในการแก้ ไขปั ญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  อธิ บายรายละเอี ยดและประเมิ นขีดความสามารถของสถาบันที่ เกี่ ยวข้ องในการบูรณาการประเด็นการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในงานปกติของสถาบัน  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายชาติและการดาเนินงานในท้ องถิ่น  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์การจัดสรรทรัพยากรสาหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระดับชาติและระดับท้ องถิ่น

ปั จจัยเชิงโครงสร้ างนโยบายของความเปราะบาง  ให้ รายละเอียดของการวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายและโครงการต่างๆที่มีต่อการเข้ าถึงและการควบคุม ทรัพยากรที่สาคัญยิ่งต่อการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพของคนในชุมชน  ให้ รายละเอียดของการวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายและโครงการต่างๆ ที่กลุ่มผู้หญิงและกลุ่มอื่นๆ ที่มี ความเปราะบาง


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งของกลุ่มที่มีความเปราะบาง) ในการกาหนด นโยบายในระดับชาติและระดับท้ องถิ่น และประเมินผลการมีสว่ นร่วมในเรื่ องดังกล่าว  ให้ รายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมกันภายในชุมชนหรื อภายในครัวเรื อน ที่เป็ นเหตุให้ เกิด ความเปราะบางมากยิ่งขึ ้น (เช่น การเข้ าถึงบริ การ การควบคุมทรัพยากร การเดินทางไปไหนๆ โดยสะดวก/ การเลื่อนสถานะทางสังคม ฯลฯ) นอกเหนือจากการแจกจ่ายแบ่งปั นข้ อมูลด้ วยรายงานที่จดั ทาขึ ้น อีกทางหนึ่งที่จะช่วยได้ เช่นกัน คือ การ จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ หรื อการประชุมเพื่อนาเสนอผลการวิเคราะห์ที่ผ่านการตรวจสอบแล้ วจากชุมชน แก่ หน่วยราชการและองค์กรพัฒนาเอกชนในระดับชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงาน/องค์กรที่ไม่ได้ เข้ าร่ วมใน กระบวนการวิเคราะห์ ที่ดีที่สดุ แล้ ว ควรให้ ผ้ แู ทนของชุมชนเป็ นผู้นาเสนอข้ อมูลเหล่านี ้ เพื่อเป็ นการแสดงให้ เห็น ถึงความเป็ นเจ้ าของกระบวนการวิเคราะห์นนั ้ และเพื่อเป็ นการเอื ้ออานวยให้ เกิดช่องทางการพูดคุยระหว่างชุมชน และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอื่นๆ ในกรณีนี ้เช่นกัน ผู้ดาเนินกระบวนการนาเสนอและการพูดคุย จะต้ องเตรี ยมพร้ อม สาหรับแก้ ไขความขัดแย้ งที่อาจเกิดขึ ้นในบางประเด็นที่มีความอ่อนไหว และจะต้ องทางานร่วมกันกับผู้ที่ทางาน ในพื ้นที่ เพื่อหาทางดาเนินกระบวนการพูดคุยในเป็ นไปในทางสร้ างสรรค์

การประยุกต์ ใช้ ผลการวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ที่ได้ จากกระบวนการ CVCA จะทาให้ เราเกิดความเข้ าใจอย่างลึกซึ ้งเกี่ยวกับประเด็น ด้ านนโยบายและด้ านสถาบันที่เป็ นอุปสรรคบัน่ ทอนความสามารถของชุมชนที่มีความเปราะบางในการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รวมทังยั ้ งช่วยให้ เกิดความเข้ าใจในเรื่ องความไม่เท่าเทียมกันภายในชุมชนและ ภายในครัวเรื อน ที่เป็ นสาเหตุให้ บางกลุ่มหรื อบางคนโดยเฉพาะมีความเปราะบางมากยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ ผลการ วิเคราะห์ยงั ทาให้ เราได้ รายละเอียดด้ านผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีต่ อคนที่มีความเปราะบาง จากบุคคลที่ได้ เผชิญกับสภาวะนันโดยตรง ้ กรอบการทางานสาหรับชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA) ที่นาเสนอไว้ ในหน้ าที่ 15 นัน้ ให้ คาแนะนาทัว่ ไปเกี่ยวกับปั จจัยเกื ้อหนุนที่จะต้ องมีอยู่ในพื ้นที่ เพื่อให้ การดาเนินงานลดผลกระทบจากการ เปลี่ ยนแปลงภูมิ อากาศนัน้ เกิ ดขึน้ ได้ และเพื่อเสริ ม สร้ างให้ ชุม ชนมี ขีดความสามารถด้ านการลดผลกระทบ ดังกล่าวมากขึ ้น จะต้ องมีการดาเนินการต่างๆ เพื่อเอื ้ออานวยให้ เกิดสภาพแวดล้ อมที่เกือ้ หนุนเหล่านี ้ อาจเป็ น การดาเนินการด้ านการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในเรื่ องที่เกี่ ยวข้ องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรื ออาจเป็ น การบูรณาการประเด็นความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในโครงการของภาคส่วนอื่นๆ หรื อ อาจเป็ นการดาเนินการผ่านโครงการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในพื ้นที่เป้าหมายต่างๆ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การเสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายด้ านการปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ แนวทางการเสริ มสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายที่เน้ นด้ านสิทธิของคน/ชุมชนนัน้ เป็ นงานที่ต้องท้ า ทายกับนโยบายที่มี อยู่ในปั จ จุบนั รวมทัง้ กับโครงสร้ างอานาจ ทัง้ นี ้ เพื่อเอือ้ อานวยให้ เกิดการดาเนินงานลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอ ากาศโดยกลุ่มคนที่มีความเปราะบาง ความเข้ าใจเกี่ยวกับชุมชนและความ เปราะบางที่มีมากขึ ้นจากผลการวิเคราะห์ผ่านกระบวนการ CVCA สามารถนาไปใช้ เป็ นฐานการออกแบบการ รณรงค์แก้ ไขปั ญหาเหล่านี ้ การรณรงค์นีอ้ าจจัดทาในระดับท้ องถิ่น และพุ่งเป้าไปที่สิทธิของกลุ่มคนที่มีความ เปราะบางในทรัพยากรต่างๆ ที่จ าเป็ นต่อวิถีชีวิตของพวกเขา หรื ออาจเป็ นการรณรงค์ที่พุ่งเป้าไปที่ นโยบาย ระดับชาติที่ไ ม่ส นับสนุนการปรั บตัวต่อการเปลี่ ยนแปลงภูมิ อากาศ หรื อนโยบายที่ไ ม่คานึงถึงความต้ องการ เฉพาะเจาะจงและความเร่งด่วนของกลุม่ คนที่มีความเปราะบางอย่างยิ่งเหล่านี ้ หรื อการรณรงค์จะมุ่งเน้ นที่ระดับ นานาชาติ โดยหยิบยกให้ เ ห็นถึงผลเสียของกรอบนโยบายระหว่างประเทศด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ สาหรับคนที่มีความเปราะบาง ไม่ว่าในกรณีใดๆ กระบวนการ CVCA ช่วยให้ เราสามารถระบุได้ ว่าใครเป็ นภาคี และอะไรคือเป้าหมาย สามารถตัดสินใจกาหนดสาระที่จะสื่อถึงกัน และสามารถผลิตหลักฐานสาหรับการรณรงค์ เชิงนโยบาย

การบูรณาการประเด็นการปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในโครงการพัฒนา การบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรื อ “การนาประเด็นนี ้เข้ าสู่กระแสหลัก ” ในโครงการ พัฒนา จะทาให้ กิจกรรมการพัฒนาด้ านต่างๆ อาทิ น ้า การเกษตร การประกอบอาชีพ และการสาธารณสุข มี ความยัง่ ยืนและมีผลกระทบมากขึ ้น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสามารถส่งผลร้ ายแรงต่อผลสาเร็ จ ของการพัฒนา ในบางกรณี ทาให้ ความคืบหน้ าของโครงการสูญหายมลายสิน้ ไปโดยสิน้ เชิง ในเวลาเดียวกัน โครงการพัฒนามีศกั ยภาพที่จะเสริ มสร้ างให้ กลุ่มประชากรเป้าหมายมีความเข้ มแข็งจัดการความเสี่ยงภัยพิบตั ิ อย่างรวดเร็ วจากภัยอันตรายหลากหลายประเภท รวมทัง้ ภัยอันตรายอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรื อถ้ าโครงการถูกออกแบบมาอย่างไม่ถกู ต้ อง โครงการพัฒนาก็จะกลายเป็ นอุปสรรคเสียเอง เมื่ อ พูด ถึ ง การบูร ณาการประเด็น การปรั บตัว ต่อ การเปลี่ ย นแปลงภูมิ อากาศนัน้ เราก าลัง กล่า วถึ ง กระบวนการออกแบบโครงการพัฒ นาที่ ค านึง ถึ ง ประเด็น ความเสี่ ย งต่อ การเปลี่ ย นแปลงภูมิ อ ากาศ และ กระบวนการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโครงการและแนวทางการดาเนินโครงการเพื่อแก้ ไขความเสี่ย งเหล่านัน้ การ ตีความเช่นนี ้มีสมมุติฐาน คือ โครงการพัฒนาจะมีเป้าหมายที่เกี่ยวข้ องกับการลดภาวะความยากจน หรื อความ มัน่ คงทางอาชีพ หรื อการพัฒนาปรับปรุงความเป็ นอยู่ที่ดีขึ ้นสาหรับกลุ่มประชากรเป้าหมาย และจากสมมุติฐาน ที่ว่า การบูรณาการประเด็นการลดผลกระทบของภาวะโลกร้ อนเข้ าไว้ ในโครงการจะทาให้ โครงการที่ริเริ่ มขึ ้นมี ความยัง่ ยืน และมีผลกระทบต่อกลุม่ เป้าหมายมากขึ ้น การบูรณาการประเด็นการลดผลกระทบดังที่กล่าวข้ างต้ น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

นี ้ แตกต่างจากโครงชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน “พื ้นที่เป้าหมาย” ซึ่งมีเป้าหมายชัดเจนและ เจาะจงที่การลดความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การบูรณาการด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจะทาให้ บรรลุวตั ถุประสงค์สาคัญ 2 อย่าง ดังต่อไปนี ้  ลดความเสี่ ยงต่างๆ ที่ อาจเกิ ดขึน้ กับกิ จกรรมโครงการ กับผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสี ยต่างๆ และกับผลลัพ ธ์ ของ โครงการ อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ บางครัง้ เรี ยกกันว่า การดาเนินการ “การป้องกันและลด ผลประทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ”  ดาเนินการให้ แน่ใจว่า กิจกรรมต่างๆ ของโครงการสามารถลดความเปราะบางของกลุ่มประชากรเป้าหมายที่ เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ด้ วยการออกแบบกิจกรรมให้ สามารถเสริ มสร้ างขีดความสามารถของ กลุ่ม เป้าหมายในการปรั บตัวต่อการเปลี่ ย นแปลงภูมิ อากาศ และบรรลุเป้ าหมายของการพัฒ นาใน ขณะเดียวกันด้ วย 15 วัตถุประสงค์แรก เป็ น การดาเนินการ “การป้องกันและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” นัน้ เบือ้ งต้ นแล้ วเกี่ ยวข้ อ งกับการป้องกันการลงทุนในโครงการพัฒนาที่ ริเริ่ ม ขึน้ และการคุ้ม กันผลลัพธ์ ของ โครงการให้ พ้นจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เป็ นการทาให้ โครงการมีความยัง่ ยืนมากขึ ้น ด้ วย การจัดทาการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นกับกิจกรรมโครงการ กับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียฝ่ ายต่างๆ และกับ ผลลัพธ์ของโครงการ และปรับเปลี่ยนแบบโครงการหรื อแผนดาเนินงาน เพื่อลดความเสี่ยงเหล่านัน้ วัตถุประสงค์ที่ 2 ของการบูรณาการประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในโครงการ นัน้ เป็ นเพราะมีความตระหนักดีว่า กิจกรรมต่างๆ ที่มุ่งหมายจะลดภาวะความยากจน อาจส่งผลให้ ประชากร เป้าหมายมี ความเปราะบางมากยิ่ง ขึน้ โดยไม่ตงใจ ั ้ รวมทัง้ ตระหนักเห็นว่าการปรับเปลี่ ยนกิจ กรรมและแนว ทางการด าเนินงานโครงการ จะช่วยเสริ ม สร้ างให้ กลุ่ม เป้าหมายมี ขีดความสามารถในการปรั บตัวจากการ เปลี่ ยนแปลงภูมิ อากาศได้ ม ากขึน้ อย่างยิ่ง ยวด การจั ดทาการวิเคราะห์ ความเปราะบางของกลุ่ม ประชากร เป้าหมาย และการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโครงการให้ มีส่วนช่วยเสริ มสร้ างขีดความสามารถของกลุ่มเป้าหมายใน การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศให้ ได้ มากที่สดุ จะทาให้ โครงการพัฒนามีผลกระทบสูงขึ ้นอย่างมาก แม่นยา ในกรณีเช่นนี ้ การดาเนินการลดผลกระทบจะต้ องมุ่งใช้ แนวทางที่ “ไม่มีการเสียใจเกิดขึ ้น” ที่ม่งุ เสริมสร้ างให้ กลุม่ เป้าหมายมีขีดความสามารถมากขึ ้นในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหลากหลาย -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------15

Klein, R.J.T. et al. 2007. Portfolio Screening to Support the Mainstreaming of Adaptation to Climate Change into Development Assistance. Tyndall Centre Working Paper 102. Tyndall Centre for Climate Change สิ่งที่คUniversity วรรู้ไว้ คือ ในบางพื ้นที่ การท านายผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนันไม่ ้ คอ่ ยมีความ Research, of East Anglia, Norwich.


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

รู ป แบบที่ น่า จะเกิ ด ขึน้ อย่ า งไรก็ ดี ไม่มี โ ครงการใดที่ จ ะ “ป้ องกัน และลดผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลง ภูมิอากาศ” ได้ อย่างแท้ จริ งเช่นกัน อย่างดีที่สุดที่เราจะสามารถทาได้ คือ พยายามเข้ าใจถึงความเสี่ยงต่างๆ ที่ โครงการอาจต้ องประสบ และพยายามอย่างดีที่สุดที่จะติดตามความเสี่ยงเหล่านันและบรรเทาให้ ้ น้อยลง และ ปรับเปลี่ยนแนวทางและวิธีการดาเนินโครงการตามเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป หรื อตามความเข้ าใจที่เรามีมากขึ ้น ส าหรั บ โครงการระดั บ ชุ ม ชน เครื่ องมื อ ที่ มี ประโยชน์ ที่ สุ ด ส าหรั บ บู ร ณาการการปรั บ ตั ว ต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงภูมิ อ ากาศ คื อ CRISTAL (Communitybased Risk Screening Tool-Adaptation & Livelihoods) ซึ่ง ถูก ออกแบบมาส าหรั บ น าไปใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อช่วยผู้ทาหน้ าที่ วางแผนโครงการและผู้จัดการ โครงการ ในการบูร ณาการประเด็น การปรั บ ตัว ต่อ การ เปลี่ ย นแปลงภู มิ อ ากาศไว้ ในโครงการพั ฒ นาอาชี พ หน่ว ยงานที่ ร่ ว มกัน พัฒ นาเครื่ อ งมื อ นี ข้ ึน้ มาคื อ สถาบัน IISD (the International Institute for Sustainable Development) และองค์กร IUCN (International Union for the Conservation of Nature) และสถาบัน SEI (Stockholm Environment Institute and Inter-cooperation ) โดยออกแบบให้ เป็ นเครื่ องมือที่สามารถช่วยให้ ผ้ ูใช้ ทางานต่อไปนีอ้ ย่างมีประสิทธิ ภาพมากขึน้ คือ ช่วยให้ เกิด ความเข้ าใจอย่างเป็ นระบบเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างวิ ถีชีวิตท้ องถิ่นและความเสี่ยงต่อภูมิอากาศ ช่วยใน การประเมินผลกระทบของโครงการที่มีตอ่ ระดับความสามารถของชุมชนในการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และช่วยในการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโครงการ เพื่อให้ โครงการมีผลกระทบมากขึ ้นต่อการ เสริ มสร้ างขีดความสามารถของชุมชนด้ านการปรั บตัวต่อการเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศ เครื่ องมือ CRISTAL นี ้ สามารถนาไปใช้ ร่วมกับวิธีการ CVCA ได้ เป็ นอย่างดี ข้ อมูลที่ได้ จากกระบวนการ CVCA นัน้ สามารถนาไป ป้อนเข้ า CRISTAL ได้ โดยตรง จะช่วยให้ ทาการวิเคราะห์ผลเกี่ยวโยงของกิจกรรมโครงการที่จะตามมาได้ ง่ายขึ ้น ผู้สนใจค้ นหาเครื่ องมือ CRISTAL ได้ จากเว็บไซด์ชื่อ: www.cristaltool.org สาหรับผู้ที่สนใจเพิ่มเติม นอกเหนือจาก CRISTAL แล้ ว ยังมีเครื่ องมือและวิธีการอื่นๆ อีกหลายชนิด ที่สามารถแสวงหามาใช้ ได้ เพื่อ สนับสนุนการบูรณาการประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในโครงการพัฒนาทังในระดั ้ บ โครงการและในระดับการวางแผนยุทธศาสตร์ ค้ นหาเครื่ องมือต่างๆ ด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้ จากเว็บไซด์ชื่อ : http://www.iisd.org/pdf/2007/sharing_climate_adaptation_tools.pdf


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

โครงการชุมชนปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA) ในบางบริ บท การดาเนินการด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ตงเป ั ้ ้ าหมายไว้ ชดั เจนจะ เป็ นแนวทางที่ดีที่สดุ โครงชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA) เป็ นแนวทางหนึ่งที่มีวตั ถุประสงค์ ชัดเจนที่จะลดความเปราะบางที่มีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อให้ สอดรับกับกรอบดาเนินการ ของ CBA การดาเนินการลดผลกระทบจะต้ องพุง่ เป้าไปที่หลายระดับและต้ องใช้ ยทุ ธศาสตร์ หลายๆ อย่าง เนื ้อหา ของคูม่ ือส่งเสริ มตอนต่อๆ ไป จะเป็ นตัวอย่างกิจกรรมประเภทต่างๆ ที่อาจจัดทาขึ ้นในโครงการ CBA เพื่อให้ เกิด “ปั จจัยที่เกื ้อหนุน” สาหรับการดาเนินงานลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กิจกรรมเหล่านี ้อาจไม่ เหมาะสมสาหรับทุกบริบท และไม่ใช่รายการกิจกรรมสาคัญยาวเหยียดที่ประกอบกันเป็ นโครงการลดผลกระทบฯ และเช่นเดียวกับที่กล่าวให้ ทราบแล้ วข้ างต้ น เมื่อผลที่จะตามมาของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนันยั ้ งไม่มีความ แน่นอนชัดเจน แนวทางที่ดีที่สดุ คือมุ่งความพยายามไปที่การดาเนินการที่ม่งุ เสริ มสร้ างขีดความสามารถของคน และชุมชนให้ แข็งแกร่งขึ ้น ให้ สามารถปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในสภาวะการณ์ที่ ไม่มีความแน่นอน

ระดับชาติ นโยบายและโครงการต่างๆ ในระดับชาติมีบทบาทสาคัญต่อการกาหนดขีดความสามารถในการปรับตัว จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของระดับท้ องถิ่น แนวทางที่จะทาให้ นโยบายด้ านการลดผลกระทบฯ มีความเป็ น ธรรมและมีประสิทธิผลนัน้ จะต้ องมีการตัดสินใจในเรื่ องแบบกิจกรรมลดผลกระทบฯ และการดาเนินกิจกรรมต่าง ที่รวมทุกฝ่ ายที่มีส่วนได้ ส่วนเสียและต้ องโปร่งใส รวมทังต้ ้ องดึงกลุ่มต่างๆ ที่มีความเปราะบางเข้ ามามีส่วนร่ วม อย่างมีความหมายและจริงจัง ในขันต่ ้ อไปโครงชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA) สามารถที่จะ มีอิทธิพล และควรจะต้ องพยายามมีอิทธิพลต่อการพัฒนานโยบายและโครงการที่เกี่ยวข้ องกับการลดผลกระทบฯ รวมทังการด ้ าเนินงานในด้ านนี ้ โครงการ CBA สามารถเอื ้ออานวยให้ เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ ยนข้ อมูลสองทาง ระหว่างระดับ ชุม ชนและระดับ ชาติ ช่วยให้ แน่ใ จได้ ว่าคนท้ อ งถิ่ นสามารถเข้ าถึ ง ข้ อมูลที่ จ าเป็ นส าหรั บการ ดาเนินงานลดผลกระทบฯ และช่วยให้ แน่ใจได้ วา่ การตัดสินใจในเรื่ องต่างๆ ในระดับชาตินนอยู ั ้ ่บนฐานของความ เป็ นจริงในท้ องถิ่น สาระสาคัญในตารางข้ างล่างนี ้ คื อ ตัวอย่างกิจกรรมประเภทต่างๆ ในระดับชาติ ที่สนับสนุนแนวทาง ชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การสร้ างสภาพแวดล้ อมที่เกือ้ หนุนต่ อแนวทาง CBA ในระดับชาติ วิถีชีวิต/การประกอบ อาชีพที่ฟืน้ ตัวเร็ว

 จัดทาเอกสารสรุปข้ อมูลทางภูมิอากาศในรูปแบบที่ผ้ ใู ช้ เข้ าใจได้ ง่าย  เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไปยังผู้ปฏิบตั งิ าน ในภาคส่วนต่างๆ  ทบทวนนโยบายชาติของภาคส่วนต่างๆ โดยใช้ “เลนซ์ภมู ิอากาศ” ส่อง พิจารณาประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างละเอียด  บูรณาการประเด็นความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ไว้ ในยุทธศาสตร์ การลดภาวะความยากจน และ/หรื อแผนพัฒนาอื่นๆ

การลดความเสี่ยงต่อ  ให้ การสนับสนุนสาหรับการวางแผนการจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ ภัยพิบตั ิ  เสริมสร้ างขีดความสามารถของผู้ปฏิบตั งิ านด้ านการจัดการความเสี่ยง ต่อภัยพิบตั อิ นั เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  สนับสนุนการพัฒนาระบบเตือนภัย  เสริมสร้ างขีดความสามารถของภาครัฐด้ านการรับมือกับภัยพิบตั ิ การพัฒนาขีด ความสามารถ

 จัดทาแผนที่ขีดความสามารถด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศที่มีอยู่ในหมูส่ ถาบันต่างๆ ในระดับชาติ  สนับสนุนการแนะแนวการดาเนินการตามนโยบายชาติในระดับภูมิภาค และระดับท้ องถิ่น  เสริมสร้ างการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย เพื่อให้ เกิดการ กาหนดนโยบายด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่รวมผู้มี ส่วนได้ สว่ นเสียทุกฝ่ ายและโปร่งใส

ก า ร แ ก้ ไ ข ค ว า ม  เสริ ม สร้ างให้ สาธารณะรั บรู้ มากขึน้ เกี่ ยวกับความเปราะบางของกลุ่ม เปราะบางที่ ต้ น เหตุ ผู้ห ญิ ง และกลุ่ม อื่ น ๆ ที่ ถูก ละเลยที่ มี ค วามเสี่ ย งต่อ การเปลี่ ย นแปลง จากเชิ ง โครงสร้ าง ภูมิอากาศ และนโยบาย  เสริ มสร้ างให้ ภาคประชาสังคมเข้ ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการวางแผน ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศให้ เข้ มแข็งขึ ้น  สนับสนุนการเปลี่ ยนแปลงเชิง นโยบายด้ านสิทธิ ของกลุ่ม คนที่ มีความ เปราะบาง


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการอยู่: กรณี ตัวอย่ างเรื่ อง การสนั บสนุ นการเปลี่ ยนแปลงเชิงนโยบายด้ านสิทธิ ในนา้ สะอาดใน ประเทศบังคลาเทศ ในประเทศบังคลาเทศ ผลการวิเคราะห์ บริ บ ทของชาติที่ จัด ทาโดยองค์ การแคร์ ฯ และ นามาใช้ ควบคู่กับข้ อมูลที่ได้ จากการวิจยั แบบมี ส่วนร่ วม ทาให้ ได้ ข้อสรุ ปเชิงเหตุผลในประเด็น ปั ญหาด้ านสิทธิในนา้ บริ โภคที่สะอาดปลอดภัย ที่ ต้ องมุ่ ง ด าเนิ น การในงานเสริ มสร้ างการ เปลี่ ยนแปลงเชิ ง นโยบาย ซึ่ง เป็ นองค์ประกอบ ภาพการปลูกผักลอยน้า ประเทศบังคลาเทศ หนึ่งของโครงการ ปั ญหาเรื่ องน ้าสะอาดในพื ้นที่ เป้าหมายของโครงการเป็ นปั ญหารุนแรงอยูแ่ ล้ ว และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจะทาให้ ปัญหา นี ้ทวีความรุ นแรงยิ่งขึน้ เป้าหมายการรณรงค์คือ ทาให้ รัฐบาลจัดการหาน ้าสะอาดให้ แก่ประชากรที่มีความ เปราะบาง และแก้ ปัญหาน ้าเค็มที่ทะลักเข้ ามาในพื ้นที่แถบตะวันตกเฉียงใต้ ของประเทศ ในเรื่ องนี ้ องค์การแคร์ ฯ ร่วมกับคณะกรรมการ Pani ซึ่งเป็ นภาคีภาคประชาสังคม ได้ ริเริ่ มการรณรงค์ระดับรากหญ้ า เพื่อระดมการ สนับสนุนจากประชาชนต่อประเด็นปั ญหาที่เรี ยกร้ องให้ มีการแก้ ไข ความพยายามในเรื่ องนี ้เป็ นการดาเนินการ หลายๆ ทาง ด้ วยกิจกรรมหลากหลาย ได้ แก่ การรณรงค์ด้วยการขอให้ ประชาชนเขียนจดหมายเรี ยกร้ องไปยัง นายกรัฐมนตรี ซึ่งปรากฏว่าประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื ้นที่บริ เวณนันส่ ้ งจดหมายไปมากกว่า 10,000 คน แจ้ ง ความเดือดร้ อนและความยากลาบากในการเข้ าถึงน ้าบริ โภค และเรี ยกร้ องให้ รัฐดาเนินการจัดหาน ้าสะอาดใ ห้ กิจกรรมอีกอย่างหนึ่งคือ การระดมประชาชนในอาเภอออกมาร่วมรณรงค์เรี ยกร้ องสิทธิและการแก้ ไขในเรื่ องนี ้ ซึ่งก็สามารถดึงดูดประชาชนในพื ้นที่ได้ หลายร้ อยคน นอกจากนี ้ยังได้ จดั กิจกรรมการสไตรค์เชิงสัญญาลักษณ์ ซึ่งมีผ้ นู าทางการเมืองระดับชาติ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายคนเข้ าร่วม และเป็ นผู้ที่มีบทบาทผลักดัน ให้ รัฐบาลดาเนินการแก้ ไขปั ญหาน ้าสะอาดที่เป็ นเรื่ องวิกฤติ การเรี ยกร้ องขอน ้าบริโภคที่สะอาดปลอดภัย ได้ รับการขานรับเป็ นที่น่าพอใจจากฝ่ ายรับฟั ง เห็นได้ จาก ความจริงจังของผู้นารัฐบาลในการเร่งแก้ ไขปั ญหาดังกล่าว โดยหลังจากกิจกรรมต่างๆ ที่องค์การแคร์ ฯ ร่วมกับ องค์กรภาคีและชุมชนได้ ดาเนินไป นายกรัฐมนตรี ก็ได้ มีคาสัง่ ไปยัง ภายใต้ โครงการลดความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Reducing Vulnerability to Climate Change หรื อ RVCC) ที่ได้ ดาเนินการไปในประเทศบังคลาเทศด้ วยเงินสนับสนุ นจาก CIDA (Canadian International Development Agency )


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

กระทรวงที่เกี่ยวข้ องให้ เร่งจัดการแก้ ปัญหาน ้าบริ โภคในพื ้นที่ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ตัวอย่างที่สอง ที่ แสดงให้ เ ห็ นถึ ง ความส าเร็ จ ของการรณรงค์ คือ นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ ด าเนิ นการจัด สรรทรั พ ยากรให้ แก่ กรม สาธารณสุข เพื่อนาไปดาเนินการวางระบบน ้าประปาในภูมิภาคดังกล่าว จากมุมมองเชิงยุทธศาสตร์ โครงการ ได้ แสดงให้ เห็นว่าความพยายามในการจัดทากิจกรรมหลากหลายเพื่อระดมการสนับสนุนของประชาชนใน ระดับรากหญ้ า และกิจกรรมที่ดงึ กลุม่ บุคคลที่เป็ นผู้กาหนดนโยบายเข้ ามาร่วมด้ วยอย่างสร้ างสรรค์นนั ้ สามารถ ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ จากการทางานร่วมกันในครัง้ นี ้ควบคูก่ บั ขีดความสามารถขององค์กรภาคีท้องถิ่น ที่ได้ รับการเสริ มสร้ างให้ เข้ มแข็งขึน้ องค์การแคร์ ฯ และองค์กรภาคีหลายฝ่ ายที่ได้ ร่วมงานกัน ได้ ทาให้ การ เสริมสร้ างสิ่งแวดล้ อมที่เอื ้ออานวยต่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีความก้ าวหน้ าอย่างมาก

ระดับหน่ วยงานราชการส่ วนท้ องถิ่น/ระดับชุมชน กระบวนการ CVCA สามารถทาหน้ าที่เป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิดการพูดคุยกันในชุมชนเกี่ยวกับประเด็น ความเปราะบาง แนวทาง CVCA นันถู ้ กออกแบบมาให้ ช่วยกระตุ้นให้ คนบอกเล่าประสบการณ์ของเขา และหา ข้ อสรุ ปที่อาจมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในอนาคต การพิจารณาประสบการณ์ของพวกเขาด้ วยเลนซ์ชนิดต่างๆ หรื อ ในบริ บ ทต่างๆ อาจทาให้ ส ามารถระบุไ ด้ ถึ ง แนวทางใหม่ๆ ที่ เป็ นยุทธศาสตร์ การดาเนิ นวิ ถีชี วิ ต/การ ประกอบอาชีพของพวกเขา หรื อภาคีใหม่ๆ ภายในชุมชนที่พยายามแก้ ไขปั ญหาต่างๆ ที่เป็ นปั ญหาร่วมกัน ที่ ดี ที่ สุด นัน้ สถาบัน ท้ อ งถิ่ น ทัง้ หน่ ว ยงานรั ฐ และองค์ ก รพัฒ นาเอกชน จะต้ อ งถูก ดึง เข้ า มาร่ ว ม กระบวนการเก็บรวบรวมข้ อมูล และการอานวยกระบวนการพูดคุยในชุมชน ถ้ าเป็ นกรณีเช่นนี ้ สิ่งที่คาดหวังไว้ คือ หน่วยงานเหล่านันจะมี ้ ข้อมูลทังหลายที ้ ่ได้ จากกระบวนการเหล่านี ้ไว้ ในใจ และนาไปบูรณาการไว้ ในการ วางแผนและในโครงการต่างๆ ในอนาคต กระบวนการ CVCA ยังสามารถเอื ้ออานวยให้ เกิดการเชื่อมโยงกัน ระหว่างกลุม่ คนที่มีความเปราะบางและองค์กรท้ องถิ่น ซึง่ เป็ นสิ่งที่ยงั ไม่เคยเกิดขึ ้นมาก่อน ถ้ าเป็ นกรณีที่องค์กร ท้ องถิ่นไม่สามารถเข้ าร่วมในกระบวนการ CVCA ได้ สาคัญยิ่งที่จะต้ องจัดให้ มีการนาเสนอผลการวิเคราะห์ใน แง่ที่จะเป็ นประโยชน์ตอ่ สถาบันท้ องถิ่น โดยหยิบยกเรื่ องที่เป็ นความเร่งด่วนและเป็ นความต้ องการของกลุ่มที่มี ความเปราะบางมากที่สดุ ซึง่ โดยปกติแล้ ว อาจเป็ นเรื่ องที่ไม่เคยถูกนามาพิจารณาในกระบวนการวางแผนของ ท้ องถิ่น กิจกรรมที่แนะนาในตารางข้ างล่างนี ้ อาจจะเหมาะสมสาหรับจัดทาในระดับหน่วยราชการส่วนท้ องถิ่น/ ระดับชุมชน


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การสร้ างสิ่งแวดล้ อมที่เกือ้ หนุนต่ อการดาเนินงานชุมชนปรับตัวต่ อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ (CBA) ใน ระดับชุมชน/หน่ วยราชการส่ วนท้ องถิ่น วิถีชีวิต/การ ประกอบอาชีพที่ ฟื น้ ตัวเร็ว

- กลัน่ กรองข้ อมูลการคาดการณ์ภมู ิอากาศให้ มีปริมาณน้ อยลง - พิจารณาทบทวนนโยบาย/แผนท้ องถิ่นด้ วย “เลนซ์” ภูมิอากาศหรื อใน บริบทภูมิอากาศ - จัดฝึ กอบรมเรื่ อง การวิเคราะห์ความเปราะบางและการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสาหรับเจ้ าหน้ าที่ของหน่วยงานราชการและองค์กร พัฒนาเอกชนในท้ องถิ่น - ส่งเสริมวิธีทาการเกษตรที่ฟืน้ ตัวเร็วและปรับตัวได้ ดีกบั การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ - สนับสนุนการสร้ างรายได้ จากหลากหลายทาง โดยมียทุ ธศาสตร์ การ ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรรวมอยูด่ ้ วย การลดความเสี่ยง - สนับสนุนการดาเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ทิ ้ องถิ่น ต่อภัยพิบตั ิ - เอื ้ออานวยการติดตังระบบเตื ้ อนภัยที่เหมาะสมกับท้ องถิ่น - เสริมสร้ างขีดความสามารถด้ านการรับมือกับภัยพิบตั ิให้ แก่ชมุ ชนและ หน่วยงานรัฐ ในท้ องถิ่นให้ แข็งแกร่งขึ ้น การพัฒนาขีด - ส่งเสริมกระบวนการวางแผนแบบมีสว่ นร่วมในระดับท้ องถิ่น ความสามารถ - เสริมสร้ างขีดความสามารถด้ านการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อภูมิอากาศและ การวางแผนการดาเนินการที่เหมาะสมไว้ รองรับให้ แก่สถาบันท้ องถิ่น - วางกลไกสาหรับการสื่อสารข้ อมูลข่าวสารด้ านภูมิอากาศ การแก้ ไขความ เปราะบางที่ ต้ นเหตุเชิง โครงสร้ าง นโยบาย

- สนับสนุนให้ มีผ้ แู ทนที่เป็ นปากเสียงของกลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ คนที่มีความ เปราะบาง กลุม่ อื่นๆ เข้ าร่วมในกระบวนการวางแผนของท้ องถิ่น - เสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในประเด็นการเข้ าถึงและการควบคุม ทรัพยากรที่จาเป็ นอย่างยิ่งต่อการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพในนโยบาย ท้ องถิ่น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การปรั บตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการ: ตัวอย่ างเรื่ องการบูรณาการ ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเข้ าไว้ ในการวางแผนอาเภอในประเทศกานา

ภาพอาวุโสในหมู่ บ้านบอกุ อาเภอมัมปรุ สี ตะวันออก ประเทศกานา ร่ วมกันพูดคุยหารื อเกี ่ยวกับผลกระทบ ต่างๆ จากการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมอากาศที ่มีต่อวิ ถี ชี วิตของพวกเขาและการดาเนิ นการแก้ไขปั ญหาต่างๆ ที ่ พวกเขากาลังทาอยู่

ในประเทศกานา องค์การแคร์ ฯ ทางานร่วมกับชุมชนท้ องถิ่นในการส่งเสริ มการบูรณาการประเด็นการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในแผนระยะกลาง (Medium Term Plan 2010-2015) สาหรับ อาเภอมัม ปรุ สี (Mamprusi) และอาเภอบอกุ (Bawku) ที่ ตงั ้ อยู่ในภาคเหนื อของประเทศกานา โดยใช้ กระบวนการ CVCA ทาให้ สามารถค้ นหาประเด็นปั ญหาต่างๆ ที่เป็ นความเปราะบางที่มีอยู่ในชุมชนเป้าหมาย โดยเน้ น หนักที่ ก ลุ่ม คนที่ มี ความเปราะบาง กระบวนการ CVCA ได้ แสดงให้ เ ห็น ถึง ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เกิดขึ ้นในภูมิภาคนี ้ ปั ญหาหลักๆ ที่ชมุ ชนเป้าหมายเผชิญอยู่ที่ระบุได้ จากกระบวนการ นี ค้ ือ นา้ ท่วม ความแห้ ง แล้ ง และฝนตกที่ ไ ม่เป็ นไปตามแบบแผนปกติ การวิเคราะห์ ด้ว ยวิธี นีย้ ัง ได้ ข้อมูล เกี่ ยวกับสิ่งที่เป็ นความเปราะบางโดยเฉพาะของกลุ่มผู้หญิง ซึ่งมีภาระส่วนใหญ่เป็ นผู้รับผิดชอบดูแลความ เป็ นอยู่ที่ดีของครอบครัว ผู้หญิงมักจะถูกทอดทิ ้งให้ ล้าหลังกว่าผู้ชายที่ต้องออกไปหางานทาในท้ องถิ่นอื่นนอก ชุมชน ผู้หญิงเหล่านีไ้ ม่สามารถเข้ าถึงทรัพยากรที่สาคัญ เช่น ที่ดิน ได้ อย่างมัน่ คง ผลการวิเคราะห์ถกู นาไปใช้ เป็ นพื ้นฐานสาหรับการพัฒนาแผนปฏิบตั กิ ารของชุมชน ที่มีการกาหนดกิจกรรมเร่งด่วนเพื่อลดความเปราะบาง ที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไว้ ในแผน โครงการนี ้มีแนวทางการทางานจากระดับล่างขึ ้นบนควบคูก่ บั การดาเนินงานจากระดับบนลงล่าง โดย เสริมสร้ างความสามารถของชุมชนให้ สามารถสื่อสารความต้ องการและความเร่งด่วนของพวกเขาให้ ผ้ มู ีอานาจ ในการตัด สิ น ใจได้ รับ ทราบ ขณะเดี ยวกัน โครงการก็ ทางานกับเจ้ า หน้ าที่ ระดับ อาเภอเพื่ อ ส่ง เสริ ม ให้ เกิ ด กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม จุดมุ่งเน้ นที่โครงการให้ ความสาคัญเป็ นพิเศษคือ ทาให้ แน่ใจว่าผู้หญิงจะ ได้ มีบทบาทเป็ นผู้นาในการจัดการปกครองท้ องถิ่น โดยส่งเสริ มให้ กลุ่มผู้หญิงเข้ ามามีส่วนเกี่ยวข้ องในสภา พื ้นที่ (Area Council) และในองค์กรชุมชน รวมทังเสริ ้ มสร้ างให้ ผ้ หู ญิงมีความสามารถมากขึ ้น เพื่อให้ สามารถ ทางานเสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในประเด็นสิทธิของผู้หญิงได้ ดีขึ ้น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังไว้ ของโครงการคือ แผนอาเภอที่ได้ ผนวกความต้ องการเร่ งด่วนด้ านการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของกลุ่ม ที่มีความเปราะบางเข้ าไว้ ในแผน และขีดความสามารถของท้ องถิ่นที่ เพิ่มขึ ้นในการนาแนวทางการทางานแบบมีส่วนร่ วมไปใช้ ในการจัดการ/การปกครองท้ องถิ่น การส่งเสริ มการ ดาเนินการลดภาวะความเปราะบางในระดับอาเภอ ที่โครงการได้ ดาเนินการควบคูไ่ ปกับการแก้ ไขปั ญหาความ ไม่เท่าเทียมในบางด้ านที่ส่งผลให้ ผ้ ูหญิ งมีความเปราะบางมากยิ่งขึน้ จะช่วยสร้ างเสริ มความสามารถของ ผู้หญิงในการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภายใต้ โครงการใช้ ที่ดินชุมชนเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Community Land Use Responses to Climate Change หรื อ CLURCC) ดาเนินการโดยเงินสนับสนุนจาก CIDA ผ่านหน่วยงาน Canadian Partnership Branch

ระดับครั วเรื อน/บุคคล แม้ ว่าลักษณะปั ญหาของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเป็ นเรื่ องของโลกโดยรวม แต่ผลกระทบของมัน เป็ นปั ญหาเฉพาะของท้ องถิ่น กระบวนการ CVCA จึงถูกออกแบบมาเพื่อสร้ างความเข้ าใจในเรื่ องผลกระทบต่อ ท้ องถิ่นและขีดความสามารถที่มีอยู่ของท้ องถิ่นในการปรับตัวลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายละเอียดในตารางข้ างล่างนี ้ เป็ นตัวอย่างของการดาเนินการที่ช่วยส่งเสริ มขีดความสามารถของบุคคลและ ของครัวเรื อนในการปรับตัวลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การดาเนินการชุมชนปรับตัวต่ อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA) ในระดับครั วเรือน/บุคคล การประกอบอาชีพ/วิถีชีวิตที่ ฟื น้ ตัวเร็ว

 ส่งเสริมวิธีทาการเกษตรที่ฟืน้ ตัวเร็วและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ  สนับสนุนการประกอบอาชีพที่หลากหลาย รวมถึงยุทธศาสตร์ ใน การประกอบอาชีพนอกภาคเกษตร  สร้ างเสริมความสามารถด้ านการวิเคราะห์ความเสี่ยง  ส่งเสริมการออมและเสริมสร้ างความสามารถในการวางแผนเพื่อ จัดการความเสี่ยง

การลดความเสี่ยงต่อภัยพิบตั ิ

 ก่อตังธนาคารเมล็ ้ ดพันธุ์และอาหารไว้ ในที่ๆ ปลอดภัยจากภัย อันตราย  ปรับปรุงที่หลบภัย ให้ สามารถต้ านทานภัยอันตรายได้  เสริมสร้ างให้ มีการเข้ าถึงระบบเตือนภัยได้ ดีขึ ้น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 เอื ้ออานวยการวางแผนอพยพหนีภยั  การคุ้มครองสินทรัพย์ การพัฒนาขีดความสามารถ

 เสริมสร้ างโครงการคุ้มกันทางสังคมให้ เข้ มแข็ง  เอื ้ออานวยให้ คนในชุมชนเข้ าถึงบริการทางการเงิน  เสริมสร้ างองค์ความรู้และทักษะด้ านยุทธศาสตร์ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  เอื ้ออานวยให้ เข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารด้ านภูมิอากาศ

การแก้ ไขความเปราะบางที่ ต้ นเหตุ

 เสริมสร้ างอานาจให้ แก่กลุม่ ผู้หญิงและกลุม่ อื่นๆ ที่มีความ เปราะบาง  ส่งเสริมให้ มีการใช้ แรงงานอย่างเท่าเทียมกันภายในครอบครัว  เสริมสร้ างการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายด้ านสิทธิในทรัพยากรที่ จาเป็ นต่อการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพ

การปรั บตัวลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กาลังดาเนินการ: กรณีตัวอย่ าง ความมั่นคงทางอาหารในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศทาจิกสิ ถาน เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีความซับซ้ อนในประเทศ ทาจิ กิส ถานที่ มี ภูมิ ประเทศเต็มไปด้ วยภูเ ขา องค์การแคร์ ฯ จึง ได้ นากระบวนการแบบมี ส่วนร่ วมมาใช้ เพื่ อ วิเคราะห์ดวู า่ ความเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับภูมิอากาศนันส่ ้ งผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนที่อาศัยอยู่ใน พื ้นที่อย่างไรบ้ าง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่สงั เกตเห็นได้ จากการสารวจครัวเรื อนได้ แก่ ปริ มาณหิมะที่ตกมาก ขึ ้น ช่วงเวลาของฤดูหนาวที่เปลี่ยนแปลงไปและยาวนานขึ ้น และฝนตกผิดฤดูกาล ไม่เป็ นไปตามแบบแผนเดิม ข้ อสังเกตเหล่านี ้ทังหมดสอดคล้ ้ องกับข้ อมูลทางอุตนุ ิยมวิทยาของพื ้นที่ กระบวนการวิเคราะห์จึงเป็ นการเริ่ มต้ น ที่ดีเลิศที่จะนาเรื่ องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมาทาความเข้ าใจกับชุมชนเป้าหมาย เมื่อมีความเข้ าถ่องแท้ เกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีตอ่ การดาเนินวิถีชีวิต/การ ประกอบอาชีพของครัวเรื อน โครงการจึงได้ กาหนดยุทธศาสตร์ สาหรับการดาเนินการในระดับครัวเรื อนที่น่าจะ ได้ ผลสาหรับการลดผลกระทบจากภัยพิบตั ฉิ บั พลันและภัยพิบตั ทิ ี่สะสมตามกาลเวลา การออกแบบการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนัน้ โครงการมุ่งเน้ นที่กลุ่มผู้หญิง เพราะเป็ นกลุ่มคนที่มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อ ความเป็ นอยูท่ ี่ดีของครอบครัว และเป็ นกลุม่ คนที่มีความเปราะบางมากกว่า


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

โครงการได้ แจกจ่ายกล่องเย็นให้ แก่ครัวเรื อนทังหลายในชุ ้ มชนเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งครัวเรื อนที่ มีความเปราะบาง เป็ นกล่องที่มีโครงสร้ างง่ายๆ ประกอบด้ วยโครงไม้ และกระจก ทาหน้ าที่เสมือนเรื อนกระจก ขนาดเล็ก สาหรับปลูกพืชสมุนไพรและผักชนิดต่างๆ ซึ่งใช้ ได้ ดีอย่างยิ่งสาหรับปลูกผักชี โหระพา ต้ นหอม หัว แรดดิช แครอท พริก มะเขือเทศ แตงกว่า กะหล่าปลี และหัวไชเท้ า และแม้ แ ต่ส ตรอเบอรี่ กล่อ งเย็ น ท าให้ ช าวบ้ า นมี ฤ ดูป ลูก ผัก ได้ ยาวนานขึน้ สามารถเพาะต้ นกล้ าพืชผักสมุนไพรในกล่องเย็นได้ เร็ วขึ ้นคือ ในช่วงฤดูใบไม้ ผลิ และเก็บรักษาต้ นกล้ าไว้ ในกล่องเย็น ให้ ปลอดภัยจากสภาพอากาศเลวร้ ายที่มีทงหนาวเย็ ั้ นและเปี ยกชื ้น บางครัวเรื อนประสบความสาเร็ จมาก สามารถปลูกผักชนิดที่ทน สภาพหนาวเย็นจัดได้ ตลอดปี เช่น ผักใบเขียว สามารถเก็บเกี่ยว ผลิตผลได้ ถึง 4 ครัง้ ต่อปี นอกจากนีโ้ ครงการยังให้ การสนับสนุน ทางวิชาการและการฝึ กอบรมด้ านการถนอมอาหาร ผลลัพธ์ ที่ได้ คือ ครัวเรื อนที่มีความเปราะบางมีความมัน่ คงทางอาหารมากขึ ้น ในช่วงฤดูหนาวที่เต็มไปด้ วยความยากลาบาก องค์การแคร์ ฯ ขอขอบคุณอย่างยิ่งต่อองค์การ CIDA ที่ให้ การ สนับสนุนทางการเงิ นต่ อโครงการปรั บตัวต่อการเปลี่ ย นแปลง ภูมิอากาศในประเทศทาจิ กิสถาน (Adaptation to Climate Change in Tajikistan หรื อ ACCT)

ค าอธิ บายภาพ: ผู้ห ญิ ง ในหมู่ บ้า นปั ญ จอก ในตอนกลางของประเทศทาจิ กิ ส ถาน ยื น ถื อ ขวดผักดองที ่ผ่านการถนอมอาหารแล้ว เพือ่ ให้มี อาหารหลากหลายประเภทสาหรับบริ โภคในช่วง ฤดูหนาวทีย่ าวนาน

ค้ นหาข้ อมูลเพิ่มเติมได้ จากแหล่ งเหล่ านี่ : กลไกการเรี ยนรู้การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Adaptation Learning Mechanism) เป็ นเวที แห่งการแบ่งบันความรู้ร่วมกัน ที่มีทรัพยากรองค์ความรู้หลากหลายรูปแบบ ได้ แก่ ภาพรวมของประเทศ กรณีศกึ ษาและบทเรี ยน ค้ นหาได้ ที่: http://www.adaptationlearning.net/ weADAPT เป็ นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ออนไลน์ เป็ นแหล่งเครื่ องมือใหม่ๆ หลายประเภทที่ชว่ ยให้ ผ้ ใู ช้ ทา การประเมินและสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รวมทังแบ่ ้ งปั น ความรู้ในด้ านนี ้ http://www.weadapt.org/ Nairobi Work Programme on impacts, vulnerability and adaptation to climate change ได้ พฒ ั นา แหล่งรวบรวมวิธีการและเครื่ องมือด้ านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รวมทัง้ adaptation


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

practices interface ค้ นคว้ าเพื่มเติมได้ ที่ http://unfccc.int/adaptation/sbsta_agenda_item_adaptation/items/3633.php สถาบัน International Institute for Sustainable Development(IISD) มีเครื่ องมือที่มีประโยชน์และการ วิเคราะห์นโยบายด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ : http://www.iisd.org/climate/vulnerability/ เว็บไซด์ของสถาบันการพัฒนาศึกษา (Institute of Development Studies (IDS)): http://www.ids.ac.uk/go/browse-by-subject/climate-change สถาบันสิ่งแวดล้ อมและการพัฒนานานาชาติ มีบทวิจารณ์และการวิเคราะห์ด้านการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ Institute for Environment and Development (IIED): http://www.iied.org/CC/index.html ศูนย์ข้อมูลภูมิอกาศขององค์การ Red Cross/Red Crescent ผลิตคูม่ ือส่งเสริมการเตรี ยมพร้ อมเพื่อรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึง่ มีประโยชน์สาหรับชุมชน: http://www.climatecentre.org/index.php?page=news_ext&pub_id=85&type=4&view=more

การวิจัยเพิ่มเติม การวิจัยแบบมีส่วนร่ วมเป็ นวิธีการที่มี คุณค่าสาหรั บการเก็ บรวบรวมข้ อมูลข่าวสาร และการทา ความเข้ าใจกับความคิดความเข้ าใจหลากหลายของคนในระดับท้ องถิ่ น ตลอดจนส าหรั บการออกแบบ กิจกรรมระดับท้ องถิ่นที่อาจช่วยคนหลายร้ อยคนได้ อย่างไรก็ดี วิธีการนี ้ต้ องใช้ เวลามาก และไม่สามารถ นาไปสรุปง่ายๆ กับพื ้นที่อื่น การวิจยั แบบมีส่วนร่วมอย่างเดียวนัน้ ไม่เพียงพอที่จะมีอิทธิพลต่อการกาหนด นโยบายระดับชาติ หรื อทาให้ ผ้ มู ีอานาจตัดสินใจเกิดความเชื่อพอที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ที่สามารถส่งผล กระทบต่อคนหลายล้ านคนได้ ผลการวิจยั ถูกมองว่าเป็ น “แค่เรื่ องราว” หรื อ เรื่ องเล่าที่นา่ สนใจ เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจในสถานการณ์ตา่ งๆ ในวงกว้ างมากขึ ้น และเสริ มสร้ างความสามารถของเรา ในการส่งอิทธิพลต่อนโยบายและโครงการต่างๆ ได้ กว้ างขวางขึ ้น เราสามารถใช้ การวิจยั แบบมีส่วนร่วมเป็ น ฐานสาหรับการออกแบบโครงการสารวจศึกษาวิจยั ขนาดใหญ่ ข้ อมูลข่าวสารและความเข้ าใจที่ได้ จากใช้ คาถามนาและเครื่ องมือชนิดต่างๆ ที่ให้ รายละเอียดข้ างต้ นนี ้ ช่วยให้ เรามีความคิดแหลมคมขึ ้น และสามารถ ตังค ้ าถามที่เฉพาะเจาะจงขึ ้นที่สามารถนาไปใช้ ในการสารวจที่ครอบคลุมคนเป็ นจานวนมากที่อยู่ในหลายๆ พื ้นที่ การสารวจวิจยั ขนาดใหญ่นี ้จะทาให้ เราเกิดความเข้ าใจมากขึ ้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ อาจส่งผลกระทบต่อพื ้นที่ในส่วนต่างๆ ของประเทศได้ หลากหลายทาง การได้ มีมมุ มองที่กว้ างขึ ้นเช่นนันจะ ้ เป็ นพื ้นฐานอันมีคณ ุ ค่าพอที่จะมีอิทธิพลต่อนโยบายและวิธีปฏิบตั ิของชาติ อันจะส่งผลต่อคนหลายล้ านคน อาทิ ความเร่งด่วนการพัฒนาการเกษตรและการวิจยั ทางการเกษตร หรื อมาตรฐานการใช้ น ้าผิวดิน หรื อการ พัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานในพื ้นที่ที่มีประชากรหนาแน่น


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบตั งิ านภาคสนาม: วิธีใช้ เครื่องมือวิเคราะห์ แบบมีส่วนร่ วม Field Guides for Participatory Tools


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบัตงิ านภาคสนาม 1: เคล็ดลับการอานวยกระบวนการ ก่ อนเข้ าชุมชน ต้ องวางแผนอย่ างรอบครอบ  หาข้ อมูลเกี่ ยวกับความเป็ นมาของชุมชนก่อนลงพืน้ ที่ ต้ องมีความรู้ เกี่ยวกับชุมชนหรื อประวัติความ เป็ นมาของกลุ่มคนในชุมชน ความขัดแย้ งในอดีตและในปั จจุบนั และพลวัตของอานาจในชุมชนที่ อาจ มีความสาคัญต่อการคัดเลือกกลุม่ เป้าหมายกลุม่ ย่อย หรื อต่อการอานวยกระบวนการพูดคุย  เตรี ยมวาระ/ หรื อหัวข้ อเรื่ องที่จะเข้ าไปพูดคุยกับชุมชน ต้ องให้ แน่ใจว่าวาระที่เตรี ยมไปนัน้ ผู้เข้ าร่วมจะ สามารถพูดคุยได้ ตามสบาย ไม่ต้องถูกเร่งรัด แต่ก็ครอบคลุมทุกประเด็นภายในเวลาที่กาหนดไว้  ถ้ าเป็ นไปได้ หาข้ อมู ล ไปล่ ว งหน้ าเกี่ ย วกั บ ระดับ ความสามารถในการอ่ า นออกเขี ย นได้ ของ กลุม่ เป้าหมาย เพื่อจะได้ วางแผนจัดกิจกรรมให้ เหมาะสม  อย่าลืมเผื่อเวลา สาหรับการชี ้แจงรายละเอียด การไต่ถามข้ อสงสัยของผู้เข้ าร่วม การตอบข้ อสงสัย การ อภิปรายประเด็นต่างๆ และ “ช่วงเวลาของการเรี ยนรู้”  ต้ องคานึงอยู่ตลอดเวลาว่า ชาวบ้ านนันแทบจะไม่ ้ มีเวลาว่าง ต้ องยุ่งกับเรื่ องทามาหากินเพื่อเลี ้ยงปาก ท้ อง เพราะฉะนัน้ การเข้ าพบชาวบ้ านจะต้ องใช้ เวลาสันๆ ้ เพื่อไม่ให้ พวกเขาเสียเวลาทามาหากิน โดย จะต้ องจัดการเข้ าเยี่ยมให้ กระจายออกไป เพื่อไม่ให้ กระทบต่อการทางานตามปกติของเขา  วางแผนเรื่ องการจัดบริการเครื่ องดื่มด้ วย ในกรณีที่เหมาะสม  ตัดสินใจเลือกกลุม่ ย่อย  ทาให้ แน่ใจว่า วิทยากรกระบวนการสามารถทาหน้ าที่ได้ โดยใช้ ภาษาท้ องถิ่น

ต้ องแสวงหาการสนับสนุนจากผู้นาชุมชน  อธิบายจุดประสงค์ของการเข้ ามาทางานในพื ้นที่ และขออนุญาตผู้นาชุมชน  สิ่งหนึ่งที่อาจเป็ นประโยชน์คือ จัดการประชุมเตรี ยมการที่เชิญผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียฝ่ ายต่างๆ ในท้ องถิ่น ได้ แก่ ผู้นาชุมชน ผู้แทนหน่วยราชการในท้ องถิ่น องค์กรชุมชน และองค์กรท้ องถิ่นอื่นๆ มารับฟั งการ ชี ้แจงเกี่ยวกับแนวทางของโครงการ ที่จะเข้ ามาดาเนินการในพื ้นที่และประโยชน์ของโครงการนี ้ แล้ ว ร่วมกันกาหนดเวลาการเข้ าเยี่ยมชุมชน  พิ จ ารณาทบทวนวาระการเข้ า เยี่ ย มชุม ชนกับ ผู้มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ฝ่ ายต่า งๆ เพื่ อ ชี แ้ จงเกี่ ย วกั บ จุดประสงค์ เวลาที่ต้องใช้ สถานที่สาหรับการพูดคุย (โดยจะต้ องดูให้ แน่ใจว่า เป็ นสถานที่ที่เหมาะสมที่


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

เข้ าถึงได้ ง่าย ที่ผ้ หู ญิงสบายใจที่จะพูดคุย หรื อที่สมาชิกชุมชนคนอื่นๆ ที่เป็ นบุคคลทุพลภาพบางส่วน ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ สมบูรณ์ตามปกติ สามารถเข้ าถึงได้ สะดวก)  ทาความตกลงกันเรื่ องกลุ่มย่อย ถ้ ามีวิทยากรกระบวนการ/ผู้ดาเนินระบวนการจานวนมากพอ ควร จัดทาการสัมภาษณ์ /การพูดคุยกลุ่มย่อยที่อยู่ในชุมชนเดียวกันในเวลาเดียวกัน จะช่วยได้ มาก ทังนี ้ ้ เพื่อให้ ผ้ เู ข้ าร่วมพูดคุยในกลุม่ ต่างๆ พูดได้ อย่างเปิ ดเผย โดยไม่ต้องกังวลว่ากลุม่ อื่นจะได้ ยิน  กาหนดวิธีการสื่อสารข้ อมูลที่ได้ จากการอภิปราย/พูดคุยในกลุม่ ย่อยกับผู้เข้ าร่วม  ตกลงกันให้ ได้ วา่ ใครจะเป็ นคนแนะนาวิทยากรกระบวนการกับชุมชน

จงเตรี ยมพร้ อม  ทาให้ แน่ใจว่าทุกคนที่อยูใ่ นทีมวิเคราะห์ เห็นชอบกับวัตถุประสงค์ของการเข้ าเยี่ยมชุมชน  วิทยากรกระบวนการทุกคนจะต้ องมีความรู้ ความเข้ าใจเป็ นอย่างดีเกี่ยวกับวิธีการและวิธีใช้ เครื่ องมือ ต่างๆ ก่อนเข้ าไปปฏิบตั งิ านในชุมชน ควรฝึ กวิธีการใช้ เครื่ องมือเสียก่อนจะช่วยได้ มาก  ถ้ าวิทยากรกรกระบวนการทางานกันแบบเป็ นทีม จะต้ องกาหนดหน้ าที่กันให้ ชดั เจนว่า ใครจะเป็ นคน ดาเนินกระบวนการส่วนไหนของวาระ และใครเป็ นคนจดบันทึก  ทีมวิทยากรกระบวนการควรมีทงผู ั ้ ้ หญิงและผู้ ชาย และควรได้ รับการฝึ กอบรมด้ านการเป็ นวิทยากร กระบวนการที่คานึงถึงความอ่อนไหวของประเด็นบทบาทหญิง -ชาย ในบางกรณี การให้ วิทยากรหญิง เป็ นผู้ดาเนินกระบวนการพูดคุยกับกลุม่ ผู้หญิงก็เป็ นเรื่ องสาคัญที่ต้องพิจารณา เพื่อให้ สมาชิกกลุ่มรู้สึก สบายใจขึ ้น  ทาความตกลงกับวิทยากรที่จะเป็ นผู้ดาเนินกระบวนการร่วมกันว่า จะอธิบายแนวคิดต่างๆ อย่างไรใน ภาษาท้ องถิ่น เช่น ภัยอันตราย ทรัพยากรสาหรับการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพ ฯลฯ ควรระลึก ไว้ ว่า แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนัน้ อาจเป็ นเรื่ องยากที่จะเข้ าใจได้ ชาวบ้ านอาจจะ สามารถพูดคุยเกี่ยวกับฤดูกาล อากาศ สิ่งแวดล้ อม ฯลฯ ได้ ง่ายกว่า

ต้ องพร้ อมที่จะรั บมือกับความขัดแย้ ง  กระบวนการพูดคุยอาจดึงให้ ประเด็นปั ญหาความไม่เสมอภาคกันผุดขึ ้นมาได้ ซึง่ จาเป็ นต้ องมีการแก้ ไข เพื่อให้ ความเปราะบางบรรเทาเบาบางลง เมื่อมีประเด็นเหล่านี ้ขึ ้นมา วิทยากรจะต้ องนากระบวนการ พูดคุยให้ ก้าวต่อไปอย่างระมัดระวัง เพราะโดยทัว่ ไปแล้ ว จะมีกลุ่มคนที่มีอานาจและมีอิทธิพลในระดับ ต่างๆ อยูแ่ ล้ วภายในชุมชน หรื อระหว่างชุมชนและกลุม่ อื่นๆ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 การมีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับเทคนิคการคลี่คลายความขัดแย้ ง จะช่วยให้ วิทยากรสามารถจัดการ กระบวนการอภิปรายพูดคุยให้ ผ่านไปได้ อย่างสร้ างสรรค์ หากเกิดความขัดแย้ งใดๆ ขึ ้นมาในระหว่าง การพูดคุย  การดึงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายๆ ฝ่ ายเข้ ามาเกี่ยวข้ องในกระบวนการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล จะช่วยลดปั ญหาความขัดแย้ งให้ น้อยลง

ต้ องทาให้ แน่ ใจว่ าเรามีส่ ือและอุปกรณ์ ท่ จี าเป็ นต้ องมี  สื่อและอุปกรณ์ที่จาเป็ นเหล่านี ้ ได้ แก่  กระดาษนิวสพรินต์  ปากกาเมจิก เส้ น หนา-ใหญ่ สีตา่ งๆ  กระดาษสี  เทปกระดาษกาว  วัสดุในท้ องถิ่น เช่น ก้ อนหิน แท่งไม้ เมล็ดพันธุ์พืช ฯลฯ  อุปกรณ์บนั ทึกข้ อมูล (อุปกรณ์บนั ทึกเสียง)  กล้ องถ่ายรูปเพื่อบันทึกภาพกระบวนการดาเนินการและการพูดคุย (ต้ องพูดคุยให้ แน่ใจว่าไม่ ขัดต่อวัฒนธรรมท้ องถิ่น)  สมุดบันทึก และคลิปบอร์ ดสาหรับจดบันทึก  อาหารว่าง/อาหารเที่ยง/น ้าและเครื่ องดื่ม (ขึ ้นอยูก่ บั การประชุมใช้ เวลามากน้ อยเท่าไร และจัดที่ไหน)

ภ า พ ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ แ ม่ บ้ า น บ้านอ่าวน้าเมา อ.เมื อง จ.กระบี ่ มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ระหว่ างการอภิปรายกลุ่มย่ อย ต้ องบริหารจัดการความคาดหวัง  การบริ หารจัดการความคาดหวังของชุมชนระหว่างที่เข้ ามาทางานในพื ้นที่นนเป็ ั ้ นเรื่ องสาคัญ ชุมชน ต่างๆ มักถูก “ประเมิน” มาหลายครัง้ แล้ วสาหรับโครงการต่างๆ จึงอาจคาดหวังว่า การดาเนินการใน พื ้นที่ครัง้ นี ้จะทาให้ เกิดโครงงานหรื อโครงการใดโครงการหนึง่ สาหรับชุมชน  วิทยากรกระบวนการควรจะต้ องตระหนักให้ ดีในเรื่ องนี ้ เพราะเป็ นสิ่งที่อาจจะมีอิทธิพลต่อประเด็นที่ถกู หยิบยกขึ ้นมาระหว่างอภิปราย เพื่อที่จะได้ จดั การให้ แน่ใจว่า จะไม่ไปสร้ างความหวังให้ แก่ชมุ ชนว่าจะ มีโครงการต่างๆ ตามมา

ต้ องสร้ างความรู้ สึก “ปลอดภัย” และเชื่อใจกัน และดารงรั กษาสิ่งเหล่ านัน้ ไว้  ให้ สมาชิกชุมชนหรื อผู้แทนในท้ องถิ่นที่คนในชุมชนให้ ความเชื่อใจเป็ นผู้แนะนาทีมวิเคราะห์  แสดงมารยาทที่ดีและต้ อนรับทุกคนด้ วยความยินดี  ให้ โอกาสทุกคนแนะนาตนเอง  ขออนุญาตเมื่อต้ องการจะถ่ายรูปหรื อถ่ายวีดีโอ และหลีกเลี่ยงการบันทึกภาพ ถ้ าผู้เข้ าร่วมกิจกรรมรู้สึก อึดอัด  จัดเครื่ องดื่ม น ้าชา-กาแฟไว้ บริการ ถ้ าเหมาะสม  เห็นคุณค่าของความรู้และประสบการณของผู้เข้ าร่วม  ขัดจังหวะทันทีเมื่อเห็นว่าสิ่งที่กาลังอภิปรายนัน้ เป็ นการ “โจมตี”  ยอมรับความผิดพลาดของตนและแก้ ไขให้ ถกู ต้ อง  ทาตัวเป็ นกลาง  ให้ เวลาผู้เข้ าร่วมได้ ซกั ถามข้ อสงสัย

สร้ างการมีส่วนร่ วมให้ เกิดขึน้ อย่ างมีชีวิตชีวาและมีความสมดุล  ทาให้ แน่ใจว่าสถานที่ที่ใช้ สาหรับการพูดคุยกลุม่ ย่อยนัน้ เหมาะสมกับการเข้ ามาร่วมกิจกรรม  วางกฏกติการ่วมกับผู้เข้ าร่วมสาหรับการอภิปรายกลุม่ ย่อย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 อธิบายกระบวนการอภิปรายกลุม่ ย่อยและตรวจสอบให้ แน่ใจว่าทุกคนเข้ าใจคาสัง่ และคาถาม  กระตุ้นและให้ กาลังใจกับผู้เข้ าร่ วมที่ยงั ไม่ค่อยกล้ าแสดงออก และจัดการอย่างสุภาพให้ คนที่พูดมากเกินไป หรื อคิดว่าตนเป็ น “ผู้เชี่ยวชาญ” นันหยุ ้ ดพูด  หาทางให้ ผ้ เู ข้ าร่วมเป็ นผู้ขบั เคลื่อนกระบวนการกิจกรรมกลุม่ (เช่น สร้ างแผนที่เอง ทาสัญญาลักษณ์ในตาราง  ให้ โ อกาสผู้เ ข้ า ร่ ว มหยิ บ ยกประเด็ น ที่ พ วกเขาสนใจหรื อ สงสัย ขึน้ มาพูด คุย กัน แต่วิ ท ยากรต้ อ งประคอง กระบวนการพูด คุย ไม่ใ ห้ อ อกนอกเรื่ อ ง และต้ อ งจัด การให้ แ น่ใ จว่ า การพูด คุย คื บ หน้ า ไปได้ เ ร็ ว พอที่ จ ะ ครอบคลุมสาระที่จาเป็ นภายในเวลาที่จดั สรรไว้  ถามคาถามมากๆ เพื่อค้ นหาข้ อมูลให้ มากขึ ้น ถ้ าการอภิปรายพูดคุยไม่คืบหน้ า แต่ต้องพยายามไม่ให้ เป็ นการ ชักนาผู้เข้ าร่วม

จบการอภิปรายอย่ างสวยงาม  อธิบายให้ เข้ าใจเกี่ยวกับการดาเนินการขันต่ ้ อไป  กาหนดวันเวลาที่จะกลับมาเยี่ยมชุมชนเพื่อตรวจสอบยืนยันความถูกต้ องของการวิเคราะห์  กล่าวขอบคุณทุกคนในกลุม่ ที่มาร่วมพูดคุย และให้ โอกาสพวกเขาได้ ไต่ถามข้ อสงสัย  ถ้ าผู้ร่วมอภิปรายต้ องการจะเก็บผลงานจากการอภิปรายกลุ่มย่อย (เช่น แผนที่ภัยอันตราย) วิทยากรควรทา ฉบับสาเนาสาหรับตนเอง และให้ ผ้ เู ข้ าร่วมเก็บต้ นฉบับไว้


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบัตงิ านภาคสนาม 2: การทาแผนที่ภยั อันตราย วัตถุประสงค์  เพื่อให้ เกิดความคุ้นเคยกับชุมชน รวมทังความคิ ้ ดเห็นเกี่ยวกับชุมชนในสายตาของกลุ่มต่างๆ ภายใน ชุมชน  เพื่อระบุทรัพยากรที่สาคัญต่อวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพในชุมชน และค้ นหาว่าใครเข้ าถึงและควบคุม ทรัพยากรเหล่านัน้  เพื่อระบุพื ้นที่และทรัพยากรที่มีความเสี่ยงต่อภัยอันตรายทางภูมิอากาศ  เพื่อวิเคราะห์ภยั อันตรายที่มีการเปลี่ยนแปลงไป และวางแผนลดความเสี่ยง

การดาเนินกระบวนการ มีวิธีการอย่ างไร กิจกรรมนี ้ รวมทังการอภิ ้ ปราย จะใช้ เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง 30 นาที: ทาแผนที่ 45 นาที และ อภิปราย 45 นาที 1. อธิบายให้ ผ้ เู ข้ าร่วมกิจกรรมเข้ าใจว่า วิทยากรและกลุ่มผู้เข้ าร่วมจะมาช่วยกันสร้ างแผนที่หมู่บ้านของ พวกเขา 2. เลือกพื ้นที่เหมาะๆ (พื ้นดิน พื ้นห้ อง กระดาษ) รวมทังวั ้ สดุที่ต้องใช้ สาหรับการทาแผนที่ ถ้ าจะทาแผนที่ บนพืน้ ดิน หรื อพืน้ ห้ อง คนที่ทาหน้ าที่บนั ทึกข้ อมู ล จะต้ องบันทึกแผนที่ลงในแผ่นพลิก หรื อในสมุด บันทึกของเขา หรื อจะใช้ วิธีถ่ายรูปก็ได้ 3. สิ่งแรกที่ต้องทาคือ สร้ างแผนที่ชมุ ชน โดยไต่ถามสมาชิกชุมชนให้ เป็ นผู้ระบุสถานที่สาคัญๆ ที่เป็ นจุด สังเกตในหมูบ่ ้ าน 4. วางเครื่ องหมายหรื อก้ อนหินแสดงสถานที่สาคัญเหล่านัน้ หมายเหตุ : วิทยากรควรช่วยเริ่มต้ นกิจกรรมเท่านัน้ จากนันปล่ ้ อยผู้เข้ าร่วมวาดแผนที่เอง 5. ให้ สมาชิกชุมชนวาดเส้ นเขตแดนชุมชน 6. ให้ สมาชิกชุมชนวาดบริเวณที่ตงบ้ ั ้ านเรื อน บริเวณที่ตงของสถานที ั้ ่/สิ่งอานวยความสะดวก และบริ เวณ ที่มีทรัพยากรต่างๆ ในชุมชน รายละเอียดเหล่านี ้ได้ แก่ บ้ าน (ในแผนที่ไม่จาเป็ นต้ องแสดงจานวนบ้ าน ทังหมด ้ แต่เป็ นบริ เวณทัว่ ไปที่มีบ้านเรื อนตังอยู ้ ่) สถานที่อานวยความสะดวก อาทิ โบสถ์คริ สต์ สุเหร่ า สถานีอนามัย โรงเรี ยน และทรัพยากร เช่น บริเวณพื ้นที่ป่าและแหล่งน ้า


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

7. เมื่อสมาชิกเห็นพ้ องต้ องกันว่า แผนที่ชุมชนที่ร่วมกันสร้ างขึ น้ นัน้ มีรายละเอียดครบถ้ วนแล้ ว จึงทา ขันตอนต่ ้ อไปคือ ขันตอนขั ้ นที ้ ่ 2 –การระบุภยั อันตรายชนิดต่างๆ 8. ให้ สมาชิกชุมชนระบุพื ้นที่ตา่ งๆ ที่มีความเสี่ยงต่อภัยอันตรายชนิดต่างๆ ซึง่ ได้ แก่  ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ  เหตุวิกฤติด้านสุขภาพ เช่น เอชไอวี/เอดส์ หรื อมาเลเรี ย  ประเด็นปั ญหาทางสังคม-การเมือง เช่น ความขัดแย้ ง หรื อ การจัดแบ่งที่ดนิ ทากิน ฯลฯ ภัยอันตรายใดที่มีการกล่าวถึงที่ไม่ใช่ภยั ของพื ้นที่ใดโดยเฉพาะเจาะจง จะต้ องบ่งบอกไว้ ในรายงาน

การเรี ยนรู้ และการอภิปราย เมื่อการทาแผนที่เสร็จสิ ้นแล้ ว สอบถามสมาชิกกลุม่ ด้ วยคาถามต่อไปด้ วย  ใครสามารถเข้ าถึงทรัพยากรต่างๆ ที่ระบุไว้ ในแผนที่ ใครเป็ นคนควบคุมการเข้ าถึงทรัพยากรเหล่านี ้  ผลกระทบของภัยอันตรายต่างๆ ที่ระบุไว้ มีอะไรบ้ าง  ภัยอันตรายในปั จจุบนั แตกต่างจากที่เคยเกิดขึ ้นในอดีตหรื อไม่ อย่างไร (เมื่อ 10 หรื อ 20 หรื อ 30 ปี ก่อน ขึ ้นอยูก่ บั อายุของผู้เข้ าร่วมกิจกรรม)  มีที่ใดในชุมชนที่ปลอดภัยจากภัยอันตรายหรื อไม่  มีการใช้ ที่ที่ปลอดภัยเหล่านี ้สาหรับการคุ้มกันให้ พ้นจากภัยอันตรายหรื อไม่ (เช่น ใช้ เป็ นที่กักเก็บ อาหารและปั จจัยการผลิต หรื อเป็ นที่หลบภัยสาหรับปศุสตั ว์)  สมาชิกกลุม่ ไหนของชุมชนที่มีความเสี่ยงต่อภัยอันตรายชนิดต่างๆ มากที่สดุ ทาไม  ปั จ จุ บัน นี ค้ นในชุ ม ชนรั บ มื อ กั บ ผลกระทบของภั ย อัน ตรายชนิ ด ต่ า งๆ ที่ ไ ด้ ระบุ ไ ว้ อย่ า งไร ยุทธศาสตร์ /วิธีการในการรับมือที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั นัน้ ได้ ผลหรื อไม่ ยุทธศาสตร์ /วิธีการเหล่านัน้ ยัง่ ยืนหรื อไม่

การสื่อสารประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ในขณะที่การอภิปรายกลุ่มย่อยกาลังดาเนินไป ให้ จดบันทึกสิ่งต่างๆ ที่เป็ นข้ อสังเกตของชุมชน ที่ อาจจะสอดคล้ องกับข้ อมูลทางอุตนุ ิยมวิทยาที่มีอยู่ของภูมิภาค บอกข้ อมูลนีใ้ ห้ สมาชิกชุมชนทราบ เพื่อ ยืนยันให้ พวกเขารู้ ว่า ข้ อสังเกตของพวกเขานันถู ้ กต้ อง เป็ นการปูทางสาหรับการนาเสนอแนวโน้ มของภัย อันตรายชนิดต่างๆ ที่ได้ ระบุไว้ ในอนาคต


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ผู้จ ดบันทึกจะต้ องเขี ยนประเด็นส าคัญๆ ของการอภิปรายไว้ โดยละเอี ยดและถูกต้ องตามที่ ไ ด้ อภิปรายกัน

แผนทีภ่ ยั อันตรายของหมู่บา้ นนาตีน อ.เมื อง จ.กระบี ่ - มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย

ดัดแปลงมาจาก: Community-Based Disaster Risk Management Field Practitioners’ Handbook, Imelda Abarquez and Zubair Murshed, Asian Disaster Preparedness Center (2004). http://www.adpc.net/PDR-SEA/publications/12Handbk.pdf Make that change: community-based disaster management, International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies (undated). http://www.proventionconsortium.org/themes/default/pdfs/CRA/IFRC2003_meth.pdf


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบัตงิ านภาคสนาม 3: ปฏิทนิ ฤดูกาล วัตถุประสงค์  เพื่อระบุช่วงเวลาที่เกิดภาวะของภัยที่สะสมมาตามกาลเวลา ภัยอันตราย โรคต่างๆ ความอดอยาก หนีส้ ิน ความเปราะบาง ฯลฯ  เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจเกี่ยวกับวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพ และยุทธศาสตร์ การรับมือ  เพื่อวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับกิจกรรมต่างๆ ตามฤดูกาล  เพื่อประเมินผลการใช้ ข้อมูลทางภูมิอากาศสาหรับการวางแผน

การดาเนินกระบวนการทาปฏิทนิ ฤดูกาลนัน้ ทาอย่ างไร กิจกรรมนี ้ รวมทังการอภิ ้ ปรายจะใช้ เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง 15 นาที : 30 นาทีสาหรับการทาปฏิทินฤดูกาล และ 45 นาที สาหรับการอภิปราย 1. ขีดตารางบนพื ้นดินหรื อกระดาษแผ่นใหญ่ๆ แบ่งตารางตามแนวนอนออกเป็ น 12 ช่อง สาหรับ 12 เดือน 2. อธิบายให้ เข้ าใจถึงสิ่งที่กาลังจะทาร่วมกัน คือ ปฏิทินฤดูกาลที่แสดงเหตุการณ์และกิจกรรมสาคัญๆ ที่ เกิดขึ ้นในห้ วงเวลา 1 ปี 3. ให้ ผ้ เู ข้ าร่วมกิจกรรมทารายการ ฤดูกาล เหตุการณ์ สภาพเงื่อนไข ฯลฯ และใส่ลงไปในช่องต่างๆ ตาม แนวตัง้ สิ่งที่ควรอยูใ่ นรายการนี ้ ได้ แก่  วันหยุดนักขัตฤกษ์ และประเพณีตา่ งๆ  ฤดูเพาะปลูกและฤดูเก็บเกี่ยว  ช่วงเวลาที่อาหารขาดแคลน  ช่วงเวลาที่มีการอพยพย้ ายถิ่น  ช่วงเวลาที่เกิดภัยอันตราย/ภัยพิบตั ิ อาทิ พายุไซโคลน ภัยแล้ ง และน ้าท่วม  ช่วงเวลาที่โรคตามฤดูกาลเกิดขึ ้นชุกชุม  ฯ ลฯ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

4. เมื่อระบุเหตุการณ์ ส าคัญได้ แล้ ว ให้ กาเครื่ องหมายลงในช่องของเดือนต่างๆ เพื่ อบ่ง บอกเวลาที่ เหตุการณ์ เหล่านัน้ เกิดขึน้ ตามที่ผ้ ูเข้ าร่ วมเห็นตรงกัน เหตุการณ์ ใดที่กลุ่มผู้เข้ าร่ วมมีความลังเลในการระบุช่วงเวลาที่ เหตุการณ์นนเกิ ั ้ ดขึ ้น ผู้จดบันทึกจะต้ องทาหมายเหตุบง่ บอกไว้

ผลงานทีไ่ ด้จากกิ จกรรมการทาแผนที ่ฤดูกาลทีร่ ่ วมทากับกลุ่มชาวประมง บ้านท่าพิ กลุ อ.ท่าฉาง จ.สุราษฏร์ ธานี - มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย

การเรี ยนรู้ และการอภิปราย เมื่อกิจกรรมการทาแผนที่ฤดูกาลเสร็ จสิน้ สมบูรณ์ แล้ ว ให้ สอบถามข้ อมูลจากสมาชิกกลุ่ม ด้ วยคาถาม ต่อไปนี ้  ยุทธศาสตร์ ที่สาคัญที่สดุ ในการดาเนินวิถีชีวิตที่ใช้ อยู่ในช่วงเวลาต่างๆ ของปี นัน้ คืออะไร  ยุทธศาสตร์ ที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั สาหรับการรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ในช่วงที่มีความยากลาบากคืออะไร ยุทธศาสตร์ เหล่านันได้ ้ ผลหรื อไม่  ช่วงเวลาของฤดูกาลและเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดขึ ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับที่เกิดขึ ้นเมื่อ 10/20/30 ปี ก่อนหน้ า นัน้ มีความแตกต่างกันหรื อไม่  วิถีชีวิต/ยุทธศาสตร์ การรับมือเปลี่ยนไปหรื อไม่ จากการที่ฤดูกาลหรื อเหตุการณ์มีการเปลี่ยนแปลงไป  การตัดสินใจกาหนดจังหวะเวลาของการใช้ ยุทธศาสตร์ การดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพนัน้ ทากัน อย่างไร


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

การสื่อสารประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เมื่อมีการอภิปรายกันในประเด็นเรื่ องยุทธศาสตร์ การรับมือและการเปลี่ยนแปลง อาจเป็ นโอกาสให้ ช่วยกัน พิเคราะห์ว่า ยุทธศาสตร์ การรับมือที่มีอยู่นนใช้ ั ้ ได้ ผลหรื อไม่ในบริ บทที่สิ่งแวดล้ อมที่เปลี่ยนแปลงไป และ/หรื อเป็ น โอกาสให้ ช่วยกันกาหนดยุทธศาสตร์ ใหม่ๆ ที่คิดออกมาได้ และสอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิ ดขึ ้น เป็ นการปู ทางสาหรับการอภิปรายเกี่ยวกับความจาเป็ นที่ต้องมียทุ ธศาสตร์ ใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับบริ บทของการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ และปูทางสาหรับการแนะนาแนวคิดเรื่ องการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ผู้จดบันทึกจะต้ องจดประเด็นสาคัญๆ ของการอภิปรายไว้ โดยละเอียดและถูกต้ องตามที่กลุม่ ได้ อภิปรายกัน ดัดแปลงมาจาก: Community-Based Disaster Risk Management Field Practitioners’ Handbook, Imelda Abarquez and Zubair Murshed, Asian Disaster Preparedness Center (2004). http://www.adpc.net/PDRSEA/publications/12Handbk.pdf Make that change: community-based disaster management, International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies (undated). http://www.proventionconsortium.org/themes/default/pdfs/CRA/IFRC2003_meth.pdf


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบัตงิ านภาคสนาม 4: การลาดับเหตุการณ์ สาคัญในอดีต วัตถุประสงค์  เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจอย่างถ่องแท้ เกี่ยวกับภัยอันตรายในอดีต ลัก ษณะของภัย ความรุนแรง และพฤติกรรมที่ เปลี่ยนแปลงไป  เพื่อให้ คนได้ รับรู้ถึงแนวโน้ มของภัยอันตราย และการเปลี่ยนแปลงของภัยตามกาลเวลาที่ผา่ นไป  เพื่อประเมินผลขอบเขตของการวิเคราะห์ความเสี่ยง การวางแผน และการลงทุนเพื่ออนาคต

การดาเนินกระบวนการ มีวิธีการอย่างไร

ลาดับเหตุการณ์สาคัญในอดีตบ้านคลองพิ กลุ จ.สุราษฏร์ ธานี

กิ จ กรรมนี ้ รวมทัง้ การอภิ ป ราย จะใช้ เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 45 นาที : 1 ชั่วโมง ส าหรั บ การลาดับ เหตุการณ์ และ 45 นาที สาหรับการอภิปราย 1. วิทยากรควรหารื อกับผู้เข้ าร่วมว่าจะใช้ รูปแบบตารางหรื อรูปแบบกราฟฟิ ค 2. ให้ กลุม่ ผู้เข้ าร่วมฟื น้ ความจาเกี่ยวกับเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ ้นในชุมชน อาทิ  ภัยอันตรายครัง้ ใหญ่และผลกระทบจากภัยเหล่านัน้  การเปลี่ยนแปลงด้ านการใช้ ที่ดนิ (ปลูกพืช พื ้นที่ป่าไม้ ที่ตงบ้ ั ้ านเรื อน ฯลฯ)  การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นด้ านการถือครองที่ดนิ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นด้ านความมัน่ คงทางอาหารและโภชนาการ  การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นด้ านการปกครองและด้ านองค์กร  เหตุการณ์ทางการเมืองที่สาคัญ 3. วิทยากรบันทึกเรื่ องราวลงบนกระดาน หรื อในกระดาษแผ่นใหญ่ๆ ตามลาดับวันเดือนปี ที่เหตุการณ์นนเกิ ั ้ ดขึ ้น 4. วิทยากรอ่านทวนเหตุการณ์ต่างๆ ที่กลุ่มผู้เข้ าร่ วมกล่าวมาแล้ วเป็ นระยะๆ เพื่อเป็ นการกระตุ้นเตือนความจา ของคนและช่ว ยให้ ผ้ ูให้ ข้ อ มูล หลัก นึก เหตุการณ์ ที่ ยัง ขาดหายไปขึน้ มาได้ อย่า งไรก็ ดี ให้ มุ่ง สนใจเฉพาะ เหตุการณ์ที่สาคัญๆ เท่านัน้ หมายเหตุ : สิ่งที่ต้องคานึงอยูเ่ สมอคือ การลาดับเหตุการณ์ใหญ่ๆ อาจไม่ถกู ต้ องแน่นอนนัก เพราะคนมักจะจดจา เหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ ้นไม่นานนักได้ มากกว่า

คาถามสาหรั บการอภิปราย เมื่อกิจกรรมลาดับเหตุการณ์สาคัญเสร็ จสิ ้นลง ให้ สอบถาม ข้ อมูลจากกลุม่ ผู้เข้ าร่วม โดยใช้ คาถามต่อไปนี ้  มี แ นวโน้ มหรื อ การเปลี่ ย นแปลงใดๆ เกิ ด ขึ น้ ใหม่ ในแง่ ความถี่ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นเมื่อกาลเวลาผ่านไป  ยุทธศาสตร์ ในการรับมื อในช่วงที่เกิดเหตุการณ์ ยุ่งยาก คือ อะไร ยุทธศาสตร์ เหล่านันใช้ ้ ได้ ผลหรื อไม่  ยุทธศาสตร์ ในการรับมือเปลี่ยนไปตามความถี่ที่เปลี่ยนแปลง ไปของเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นหรื อไม่

ลาดับเหตุการณสาคัญๆในอดีตที่ผา่ นมา หมู่บา้ น................ ปี พ.ศ.

บันทึกเหตุการสาคัญ

2530 2534 2540 2542 2548 2551 2554

 เหตุการณ์อะไรที่คณ ุ คาดว่าจะเกิดขึ ้นในอนาคต จะเกิดเมื่อไร  เหตุการณ์ในอนาคตที่คดิ ว่าจะเกิดขึ ้นนัน้ มีผลกระทบต่อแผนในอนาคตของคุณหรื อไม่

การสื่อสารประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การอภิปรายเกี่ยวกับความถี่ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นนัน้ มีแนวโน้ มหรื อมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ถือเป็ นโอกาสอันดีที่จะยืนยันได้ ว่า ข้ อสังเกตของชุมชนนันมี ้ ความสอดคล้ องกับข้ อมูลทางภูมิ อากาศ การ อภิปรายที่ม่งุ เฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับอนาคต จะช่วยให้ เกิดความเข้ าใจเกี่ยวกับความมุ่งมัน่ ของชุมชน และชุมชนมีการวางแผนเพื่ออนาคตมากน้ อยเพียงไร นอกจากนี ้ยังเป็ นการปูทางสาหรับการสื่อสารข้ อมูลที่ มีอยูเ่ กี่ยวกับแนวโน้ มของเหตุการณ์ในอนาคตที่ทานายกันไว้


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

ผู้จดบันทึกจะต้ องจดบันทึกประเด็นสาคัญๆ ของการอภิปรายไว้ โดยละเอียดและถูกต้ องตามที่ กลุม่ ได้ อภิปรายกัน ดัดแปลงจาก: Community-Based Disaster Risk Management Field Practitioners’ Handbook, Imelda Abarquez and Zubair Murshed, Asian Disaster Preparedness Center 2004). http://www.adpc.net/PDRSEA/publications/12Handbk.pdf


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบัตงิ านภาคสนาม 5: ตารางวิเคราะห์ ความเปราะบาง วัตถุประสงค์  เพื่อกาหนดให้ ได้ วา่ ภัยอันตรายใดที่สง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรที่สาคัญต่อวิถีชีวิตท้ องถิ่นมากที่สดุ  เพื่อกาหนดให้ ได้ วา่ ทรัพยากรเพื่อการดารงชีวิตประเภทใดมีความเปราะบางมากที่สดุ  เพื่อระบุยทุ ธศาสตร์ ที่ใช้ อยูใ่ นปั จจุบนั สาหรับการรับมือกับภัยอันตรายที่ได้ ระบุไว้

การดาเนินระบวนการทาตารางวิเคราะห์ ความเปราะบางมีวิธีการอย่ างไร กิจกรรมนี ้ รวมทังการอภิ ้ ปรายจะใช้ เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง 30 นาที : 45 นาที สาหรับการทาตาราง และ 45 นาที สาหรับการอภิปราย 1. เตรี ยมเขียนตารางไว้ ลว่ งหน้ า จะเขียนไว้ บนพื ้น หรื อบนกระดาษนิวสพรินต์ก็ได้ 2. ให้ กลุม่ ผู้เข้ าร่วมระบุทรัพยากรต่างๆ ที่มีความสาคัญที่สดุ ต่ อการดารงวิถีชีวิต โดยไม่จาเป็ นต้ องเป็ นทรัพยากร ที่พวกเขามีอยู่แล้ วในขณะนี ้ แต่เป็ นสิ่งที่พวกเขาเห็นว่าสาคัญที่สดุ ที่จะสนับสนุนให้ พวกเขามีความเป็ นอยู่ที่ดี ขึน้ รายชื่อทรัพยากรที่ระบุได้ อาจยาวเป็ นหางว่าว จึงควรจัดแยกเป็ นประเภทต่างๆ เช่น ทรั พยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางสังคม ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรทางการเงิน 3. ให้ กลุ่ม ผู้เข้ าร่ วมระบุทรัพยากรที่พ วกเขาเห็นว่าสาคัญที่สุดมาทัง้ สิน้ 4 อย่าง ที่ จะช่วยให้ พวกเขาสามารถ ปรับปรุงความเป็ นอยูใ่ ห้ ดีขึ ้นได้ ใส่รายชื่อทรัพยากรที่สาคัญเร่งด่วนเหล่านี ้ลงในช่องแรกซ้ ายมือตามแนวตัง้ ใช้ สัญลักษณ์ได้ ถ้ าจะช่วยให้ ผ้ เู ข้ าร่วมเข้ าใจได้ ง่ายขึ ้น 4. จากนันให้ ้ กลุ่มผู้เข้ าร่ วมระบุภัยที่เป็ นอันตรายร้ ายแรงที่สุดต่อวิถีชีวิตของพวกเขา ภัยดังกล่าวอาจจะเป็ นภัย ทางธรรมชาติ หรื อภัยที่ เกิดจากนา้ มื อมนุษย์ อย่าจากัดการพูดคุยเฉพาะภัยอันตรายที่ เกี่ ยวกับภูมิ อากาศ เท่านัน้ แต่ถ้าไม่มีใครระบุภยั อันตรายต่อสิ่งแวดล้ อม วิทยากรอาจจะต้ องกระตุ้นให้ กลุม่ ผู้เข้ าร่วมคิดในเรื่ องนี ้ หมายเหตุ : การระบุภยั อันตรายนัน้ สิ่งสาคัญคือ จะต้ องระบุให้ ชดั เจนและเจาะจง และต้ องให้ แน่ใจได้ ว่า สิ่งที่ระบุกนั มานันเป็ ้ นปั ญหาเรื่ องภัยอันตรายจริ งๆ ผู้เข้ าร่วมอาจระบุสถานการณ์ บางอย่าง เช่น “ขาดความมัน่ คงทางอาหาร” เป็ นภัยอันตราย ในกรณีเช่นนี ้ วิทยากรอาจขอให้ กลุ่ม ผู้เ ข้ าร่ วมแจกแจงสถานการณ์ เ หล่านี อ้ อกมา เพื่ อพิเคราะห์ ดูว่าเกิ ดจากภัยอันตราย หรื อไม่ (เช่น การขาดความมัน่ คงทางอาหาร อาจเป็ นผลมาจากสภาวะความแห้ งแล้ งซึ่งเป็ น ภัยอันตราย) เช่นเดียวกัน บางกลุม่ อาจระบุวา่ ความขาดแคลนทรัพยากร อาทิ “ขาดเงิน” เป็ น ภัยอันตราย ในกรณี นี ้ จะต้ องพิเคราะห์ดูว่า การขาดแคลนทรัพยากรนันเป็ ้ นผลมาจากภัย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

อันตรายหรื อไม่ หรื อในบางกรณี ทรัพยากรที่ระบุว่าขาดแคลนนัน้ ควรจะต้ องใส่เพิ่มไว้ ใน รายการทรัพยากรที่สาคัญเร่งด่วนที่ระบุกนั ในขันตอนที ้ ่แล้ วหรื อไม่ หมู่บ้านบันสี

โรคที่เกิ ด โรคที่เกิ ด ความแห้ งแล้ ง นา้ ท่ วม กับมนุษย์ กับสัตว์

ฝนตกผิ ด ฤดูกาล

สัตว์

2

3

3

3

1

อาหารสารอง

3

3

2

3

3

ผู้หญิงและเด็กมีอาหาร บริโภคอย่ างเพียงพอ

3

3

3

2

2

เด็กได้ ไปโรงเรียน (เสือ้ ผ้ า 3 รองเท้ า)

2

2

3

1

ผู้หญิงมีอาชีพเสริม

2

1

2

2

3

5. ให้ เขียนชื่อภัยอันตรายที่สาคัญที่สุด 4 อย่างในช่องบนสุดของตารางตามแนวนอน ใช้ สญ ั ลักษณ์ได้ เช่นกัน ถ้ าจาเป็ น 6. ให้ ก ลุ่ม ผู้เ ข้ า ร่ ว มเป็ นผู้ตัด สิ น ใจก าหนดระบบการให้ ค ะแนนเพื่ อ บ่ง ชี ว้ ่ า ภัย อัน ตรายเหล่ า นัน้ มี ผลกระทบต่อทรัพยากรเพื่อการดาเนินวิถีชีวิตในระดับไหน อาทิ มาก ปานกลาง เล็กน้ อย และไม่มีเลย ระบบคะแนนควรมีดงั นี ้ 3 = มีผลกระทบร้ ายแรงต่อทรัพยากร 2 = มีผลกระทบปานกลางต่อทรัพยากร 1 = มีผลกระทบเล็กน้ อยต่อทรัพยากร 0 = ไม่มีผลกระทบต่อทรัพยากร 7. ให้ ผ้ เู ข้ าร่วมระบุความรุนแรงของภัยอันตรายแต่ละชนิดที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรแต่ละประเภท ซึ่งทัง้ กลุม่ จะต้ องเห็นตรงกันเป็ นเอกฉันท์ ผู้จดบันทึกจะต้ องจดประเด็นสาคัญของกระบวนการพูดคุยที่ทาให้ กลุม่ ตัดสินใจให้ คะแนนเช่นนัน้ รวมทังความคิ ้ ดเห็นของผู้ที่ไม่เห็นด้ วยกับคะแนนดังกล่าว


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คาถามสาหรั บการอภิปราย เมื่อการทาตารางวิเคราะห์ความเปราะบางเสร็จสิ ้นแล้ ว ให้ ไต่ถามผู้เข้ าร่วมดังต่อไปนี ้  ยุทธศาสตร์ ที่ใช้ อยูใ่ นขณะนี ้ในการรับมือกับภัยอันตรายที่ได้ ระบุมานันคื ้ ออะไร ใช้ ได้ ผลหรื อไม่  คุณอยากนายุทธศาสตร์ อื่นใดมาใช้ หรื อไม่ เพื่อลดผลกระทบของภัยอันตรายที่มีต่อวิถีชีวิตของพวก คุณ  คุณมีทรัพยากรอะไรอยูบ่ ้ างที่จะช่วยให้ คณ ุ สามารถแก้ ปัญหาด้ วยยุทธศาสตร์ ใหม่ๆ ได้  การนายุทธศาสตร์ ใหม่เหล่านี ้มาใช้ มีข้อจากัดอะไรบ้ าง ผู้จดบันทึกจะต้ องจดประเด็นสาคัญไว้ โดยละเอียดและถูกต้ องตามที่กลุม่ ได้ อภิ ปรายกัน

ตัวอย่าง ตารางวิ เคราะห์ภยั บ้านท่าพิ กลุ – มูลนิ ธิรกั ษ์ ไทย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

คู่มือส่ งเสริมปฏิบัตงิ านภาคสนาม 6: แผนผังเวนน์ (Venn Diagram) วัตถุประสงค์  เพื่อทาความเข้ าใจเกี่ยวกับสถาบันต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อชุมชนมากที่สดุ  เพื่อวิเคราะห์การมีสว่ นร่วมของกลุม่ ต่างๆ ในกระบวนการวางแผนของท้ องถิ่น  เพื่อประเมินผลการเข้ าถึงบริการต่างๆ และโครงการหรื อระบบการคุ้มกันทางสังคมที่มีอยู่

การดาเนินกระบวนการจัดทาแผนผังเวนน์ มีวิธีการอย่ างไร กิจกรรมนี ้จะใช้ เวลา 1 ชัว่ โมง 30 นาที รวมทังการอภิ ้ ปรายกลุ่มย่อย: 1 ชัว่ โมงสาหรับการทาแผนผัง และ 30 นาที สาหรับการอภิปราย 1. การทาแผนผังเวนน์นนท ั ้ าได้ หลายวิธี อาจใช้ กิ่งไม้ วาดและเขียนแผนผังลงบนพื ้นผิวดินอ่อนๆ หรื ออาจทา แผนผังบนกระดาษ ถ้ าจะใช้ กระดาษ ควรเริ่มต้ นร่างแผนผังด้ วยดินสอก่อน จะได้ เปลี่ยนแปลงแก้ ไขภายหลัง ได้ อีกวิธีหนึ่งคือ ตัดกระดาษสีเป็ นรู ปวงกลมขนาดต่างๆ และให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมเป็ นคนกาหนดว่า วงกลมขนาด ไหนแทนสถาบันใดที่ได้ ระบุมา 2. ถ้ ากลุ่มผู้เข้ าร่ วมแสดงให้ เห็นว่าไม่ค่อยเข้ าใจเครื่ องมือชนิดนี ้ ให้ วาดตัวอย่างแผนผังง่ายๆ ให้ ดู จะช่วยให้ เข้ าใจได้ มากขึ ้น 3. สอบถามกลุ่มผู้เข้ าร่ วมว่า องค์กร/สถาบัน/กลุ่มไหนที่พบเห็นอยู่ในหมู่บ้าน วิทยากรต้ องกระตุ้นให้ กลุ่ม ผู้เข้ าร่วมคิดถึงกลุม่ ที่รวมตัวกันอย่างไม่เป็ นทางการ รวมทังองค์ ้ กรชุมชนด้ วย 4. เขียนชื่อสถาบันทังหมดที ้ ่กลุม่ ได้ กล่าวมา และให้ สญ ั ลักษณ์ที่ทกุ คนเข้ าใจแก่องค์กรแต่ละองค์กร 5. ให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมวาดวงกลมขนาดใหญ่ตรงจุดศูนย์กลางของแผ่นกระดาษหรื อบนพื ้นดิน วงกลมดังกล่าวแทน กลุม่ ผู้เข้ าร่วม 6. ให้ กลุ่มผู้เข้ าร่วมอภิปรายเกี่ยวกับองค์กรต่างๆ แต่ละองค์กรว่ามีความสาคัญต่อพวกเขาอย่างไร จากนันจึ ้ ง วาดวงกลมขนาดใหญ่สาหรับองค์กรที่มีความสาคัญมากที่สุด และวงกลมขนาดเล็กลงสาหรับองค์กรที่มี ความสาคัญในระดับรองลงมา เมื่อได้ ครบหมดทุกองค์กรแล้ ว จึงให้ กลุ่มผู้เ ข้ าร่ วมพิจารณาเปรี ยบเทียบ ขนาดของวงกลมกับความสาคัญขององค์กรต่างๆ และปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสม เพื่อให้ ขนาดของวงกลมแต่ ละวงกลมสะท้ อนถึงระดับความสาคัญที่แท้ จริงของสถาบัน หรื อองค์กร หรื อกลุม่ นันๆ ้ 7. กลุม่ จะต้ องเขียนชื่อหรื อสัญลักษณ์ขององค์กร/กลุม่ /สถาบันไว้ ในวงกลมแต่ละวงกลม 8. ให้ กลุม่ ผู้เข้ าร่วมอภิปรายเกี่ยวกับองค์กรต่างๆ เหล่านันว่ ้ า เป็ นประโยชน์กบั พวกเขาในทางใดบ้ าง 9. ผู้จดบันทึกจะต้ องจดบันทึกประเด็นสาคัญโดยละเอียด และถูกต้ องตามที่กลุ่มได้ อภิปรายกัน โดยเฉพาะ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

อย่างยิ่ง เหตุผลต่างๆ ที่กลุม่ พิจารณาว่า องค์กรไหนสาคัญมากกว่า และองค์กรไหนสาคัญน้ อยกว่า 10. ให้ กลุ่มแสดงให้ เห็นถึงการติดต่อ/ประสานงานระหว่างกลุ่มผู้เข้ าร่ วมและองค์กร/สถาบันเหล่านันว่ ้ าอยู่ใน ระดับใด โดยใช้ ระยะห่างระหว่างวงกลมต่างๆ เป็ นตัวชี ้วัด สถาบันใดที่ไม่คอ่ ยมีการติดต่อประสานงานกับ กลุ่ม ผู้เ ข้ าร่ วมมากนัก วงกลมของสถาบันนั น้ ก็ จ ะอยู่ห่างจากวงกลมขนาดใหญ่ ที่ใช้ แทนกลุ่ม ผู้เข้ าร่ วม สถาบันใดมีการติดต่อประสานงานกันอย่างใกล้ ชิดกับกลุ่มผู้เข้ าร่วม วงกลมของสถาบันนันก็ ้ ควรอยู่ภายใน วงกลมของกลุม่ ผู้เข้ าร่วม

คาถามสาหรั บการอภิปราย

ภาพการทาแผนภูมิความสัมพันธ์ ในพืน้ ที ่ ต.คลองประสงค์ จ.กระบี ่

เมื่อกลุม่ ผู้เข้ าร่วมทาแผนผังเสร็จสิ ้นแล้ ว ให้ ไต่ถามผู้เข้ าร่วมดังต่อไปนี ้  องค์กรต่างๆ ที่แสดงอยู่ในแผนผังนัน้ มีองค์กรใดหรื อไม่ที่เปิ ดรับเฉพาะผู้ชายหรื อผู้หญิงเท่านันให้ ้ เข้ าร่วม เป็ นสมาชิกขององค์กร องค์กรใดบ้ างที่ให้ บริการเฉพาะผู้ชายหรื อผู้หญิงเท่านัน้  มีคนในชุมชนของกลุ่มอื่นใดหรื อไม่ที่ถูกปฏิเสธไม่ให้ เข้ าร่วมเป็ นสมาชิกหรื อไม่ให้ เข้ ารับบริ การจากองค์กร ต่างๆ ที่ได้ ระบุมา  มีองค์กรใดบ้ างที่ให้ การสนับสนุนในยามเกิดเหตุวิกฤติ


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

 กลุม่ ผู้เข้ าร่วมได้ รับข้ อมูลข่าวสารจากองค์กรต่างๆ ได้ อย่างไร  กลุม่ ผู้เข้ าร่วมมีวิธีการอย่างไรในการสื่อสารข้ อมูลข่าวสารไปยังองค์กรต่างๆ ผู้จดบันทึกจะต้ องจดประเด็นสาคัญๆ โดยละเอียดและถูกต้ อง ตามที่ผ้ เู ข้ าร่วมได้ อภิปรายกัน

แผนผังเวนน์ ที่สร้ างขึ้ นบ้านท่าพิ กุล จ.สุราษฏร์ ธ านี เป็ นผลงานชิ้ นหนึ่ งจากการฝึ กอบรมการวิ เคราะห์ ด้วยวิ ธี CVCA แสดงแผนผังองค์กรพัฒนาเอกชนท้องถิ่ นและองค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติ ตลอดจนหน่วยงานราชการที ่ ทางานเกี ่ยวข้องกับประเด็นปั ญหาว่าด้วยการเปลี ย่ นแปลงภูมิอากาศ จัดโดย มูลนิ ธิรักษ์ ไทย


คู่มือส่งเสริ มการวิ เคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางทีเ่ สีย่ งต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.