⌫ ⌫
⌫ ⌫ จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย :
กลุม่ รักษ์สง่ิ แวดล้อม ตำบลคลองประสงค์ 118 ม.1 ต. คลองประสงค์ อ. เมือง จ. กระบี่ 81000 โทรศัพท์ : 0 - 7265 - 2631 องค์การพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำนานาชาติ ประเทศไทย ตู้ ปณ. 95 ปณฝ. คอหงส์ อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา 90112 โทรศัพท์/โทรสาร : 0 - 7442 - 9307
การอ้างอิง :
ISBN :
ประที ป นวลเจริ ญ มั ณ ทนา นวลเจริ ญ นนท์ มี ล ่ า ม ปริญญา บัณฑิโต ดนภัทร ตามรสุวรรณ และ รุสณี อุมา. 2549. คูม่ อื พันธุไ์ ม้ปา่ ชายเลนในพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบี.่ กระบี่ : โครงการจัดการและคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ จังหวัดกระบี.่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่
หนังสือ :
คูม่ อื พันธุไ์ ม้ปา่ ชายเลนในพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบี่
พิมพ์ครัง้ แรก :
กรกฏาคม 2549
ตรวจแก้ไข :
ไพโรจน์ หอมช่วย ปริญญา บัณฑิโต เบญจวรรณ ธีระกุล.
ทีป่ รึกษา :
สมศักดิ์ กิตติธรกุล อาแซ สะยาคะ
คณะผูจ้ ดั ทำ :
ผศ.ดร. ประทีป นวลเจริญ ผศ. มัณทนา นวลเจริญ นนท์ มีล่าม ปริญญา บัณฑิโต ดนภัทร ตามรสุวรรณ เบญจวรรณ ธีระกุล
สนับสนุนโดย :
โครงการจัดการและคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ จังหวัดกระบี่ (MPW) องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ องค์การพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำนานาชาติ ประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตเนเธอร์แลนด์ ประจำประเทศไทย
ติดต่อขอรับเอกสารได้ท่ี :
กลุม่ รักษ์สง่ิ แวดล้อม ตำบลคลองประสงค์ 118 ม.1 ต. คลองประสงค์ อ. เมือง จ. กระบี่ 81000 โทร : 0-7265-2631
มานพ ลีลาสุธานนท์ สัจจพร จันทร์ศรีนวล
พืน้ ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบี่ เป็นพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะแห่งหนึง่ ของประเทศไทย เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ประกอบด้วยระบบนิเวศหลากหลายทั้ง หาดเลน หาดทราย ป่าชายเลน ป่าชายหาดโดยเฉพาะพื้นที่ป่าชายเลนในบริเวณปากแม่น้ำกระบี่ซึ่งเป็นป่าชายเลนแห่ง หนึง่ ทีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพสูง เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของสิง่ มีชวี ติ หลากหลายชนิด โดยบาง ชนิดอยูใ่ นสถานภาพใกล้สญ ู พันธุ์ แม้ว่าในปัจจุบันผู้คนเริ่มตระหนักถึงความสำคัญของป่าชายเลนแต่จากการดำเนิน โครงการจัดการและคุม้ ครองพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบี่ พบว่าจังหวัดกระบีย่ งั ไม่มคี มู่ อื ป่าชาย เลนเพือ่ ใช้ในการสำรวจ ศึกษาระบบนิเวศของป่าชายเลน รวมทัง้ พันธุไ์ ม้ทพ่ี บในป่าชายเลน องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ได้ให้ความสนใจและเล็งเห็นความสำคัญของการ จัดทำคูม่ อื พันธุไ์ ม้ปา่ ชายเลนในพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบี่ จึงเป็นเครือ่ งมือหนึง่ ทีจ่ ะให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบนิเวศป่าชายเลนในพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ รวมถึงความสำคัญ ของการอนุรกั ษ์ปา่ ชายเลน และเป็นคูม่ อื สำหรับชุมชนท้องถิน่ นักเรียน นักศึกษา รวมถึงผูส้ นใจ ทั่วไปในการศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลนปากแม่น้ำกระบี่ โดยเฉพาะการศึกษาชนิดพันธุ์พืช ทีพ่ บในป่าชายเลนทีค่ นในพืน้ ทีจ่ ะต้องเรียนรู้ เพือ่ นำไปใช้ในการวางแผนการจัดการต่อไป
สมศักดิ์ กิตติธรกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่
⌫ ⌫
⌫
⌫ ⌫
ป่าชายเลนหรือป่าโกงกาง เป็นกลุ่มสังคมพืชที่ขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลที่มีการ ขึ้นลงของน้ำ และเป็นพืชพรรณที่มีลักษณะเด่นในพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ สามารถพบได้ ทัว่ ไปตลอดแนวพืน้ ทีท่ ม่ี นี ำ้ ขึน้ น้ำลง ป่าชายเลนปากแม่นำ้ กระบีม่ สี ภาพอุดมสมบูรณ์และขึน้ อยู่ อย่างหนาแน่นและสวยงาม มีลำคลองหลายสายไหลลงสู่ทะเลปกคลุมด้วยป่าชายเลน ในสภาวะปัจจุบันพื้นที่ป่าชายเลนในประเทศไทยได้ลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก ได้ถูกเปลี่ยนสภาพเป็นนากุ้ง สวนยางพารา และทุ่งนาร้าง และกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ แต่สำหรับพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่ปากแม่น้ำกระบี่แล้ว เราพยายามอนุรักษ์ปกป้องป่า ชายเลนส่วนนี้ไว้ เพราะป่าชายเลนเป็นทั้งแหล่งอาหารของคนและสัตว์นานาชนิด อีกทั้ง ยังเป็นแหล่งอาศัยของสิง่ มีชวี ติ ต่างๆ ประโยชน์ของป่าชายเลนมีมากมายนานัปการ และทีเ่ ห็น ได้ชัดเจนที่ผ่านมาคือป่าชายเลนช่วยลดผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ดังเหตุการณ์ภัยสึนามิ ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 ทำให้ทกุ คนตระหนักถึงความสำคัญของป่าชายเลน ในฐานะทีพ่ น้ื ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบี่ มีพน้ื ทีป่ า่ ชายเลนเป็นจำนวนมาก จำเป็นอย่างยิง่ จะต้องตระหนักถึงความสำคัญของป่าชายเลน การได้ศึกษาเรียนรู้ชนิดพันธุ์ไม้ที่มีอยู่ใน พื้นที่ของเราจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่จะทำให้ทุกคนได้ตระหนักถึงคุณค่าและบทบาทความสำคัญ ของป่าชายเลนและนำไปบูรณาการในแผนการจัดการทรัพยากรพื้นที่ชุ่มน้ำของปากแม่น้ำ กระบี่ต่อไป ดังนั้นการจัดทำหนังสือ “คู่มือพันธุ์ไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่” จึงเป็นสิ่งที่ดีที่ให้ทุกคนและให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรวมถึงผู้ที่สนใจ ได้เรียนรู้ และเห็นคุณค่า ของป่าชายเลนในพืน้ ทีป่ ากแม่นำ้ กระบี่ ทีจ่ ะต้องช่วยกันรักษาป่าชายเลนผืนนีใ้ ห้คงอยูต่ อ่ ไป
มานพ ลีลาสุธานนท์ ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่
ด้ ว ยพื ้ น ที ่ ป ากแม่ น ้ ำ กระบี ่ ม ี ร ะบบนิ เ วศป่ า ชายเลนที ่ ม ี ค วามสำคั ญ และมี พ ื ้ น ที ่ ป่าชายเลนจำนวนมาก โดยเฉพาะป่าชายเลนบริเวณหน้าเมืองกระบี่ซึ่งเป็นป่าชายเลนที่มี ความงดงามตามธรรมชาติเหมาะแก่การนั่งเรือเพื่อชมความงดงามและความอุดมสมบูรณ์ ของธรรมชาติป่าชายเลน ในป่าชายเลนมีชนิดพันธุ์พืชทีเด่นๆ นานาชนิด แต่มีหลายคนยัง ไม่ค่อยรู้จักชนิดพันธุ์ไม้ในป่าชายเลนมากนัก อาจจะรู้จักเพียงไม่กี่ชนิดที่เห็นเป็นประจำ และมีค่อนข้างมากดังนั้นการจัดทำคู่มือการศึกษาพันธุ์ไม้ในป่าชายเลนบริเวณพื้นที่ปากแม่น้ำ กระบี่จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องพันธุ์ไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ปากแม่น้ำ กระบี่ให้แก่ประชาชนผู้สนใจทุกระดับ ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา นักวิจัย และผู้สนใจธรรมชาติป่าชายเลนทั่วไป อีกทั้งยังเป็นคู่มือที่สามารถใช้ศึกษาวิจัย หรือท่องเที่ยวในป่าชายเลนอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี คู่มือพันธุ์ไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ โดยส่วนใหญ่รวบรวมเฉพาะ พันธุ์ไม้ที่สำคัญๆ ที่พบเห็นโดยทั่วไป และได้รวบรวมข้อมูลพันธุ์ไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ปาก แม่น้ำกระบี่เพิ่มเติม ซึ่งได้ศึกษาโดย จอร์น ฮาวส์ ผู้เชี่ยวชาญด้านนิเวศวิทยาจากโครงการ จัดการและคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ ได้รวบรวมไว้ทั้งหมด ประมาณ 51 ชนิด ประกอบด้วยพันธุไ์ ม้ทแ่ี ท้จริงในป่าโกงกาง และพันธุไ์ ม้ทข่ี น้ึ ร่วมกับป่าชายเลน แต่อย่างไรก็ตาม ชนิดพันธุ์ไม้ป่าชายเลนอาจจะมีมากกว่านี้ ซึ่งจะต้องดำเนินการศึกษาและสำรวจต่อไป เพือ่ พัฒนาคูม่ อื ให้มคี วามสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ การจัดทำและรวบรวมชนิดพันธุ์ไม้ป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้ำกระบี่ สำเร็จลุล่วง ด้วยดีเพราะได้รับการสนับสนุนข้อมูลจากองค์การพื้นที่ชุ่มน้ำนานาชาติ ประเทศไทย ว่าที่ รอ. ไพโรจน์ หอมช่ ว ย หั ว หน้ า สถานี พ ั ฒ นาทรั พ ยากรป่ า ชายเลนที ่ 27 จั ง หวั ด กระบี ่ ทางผู้จัดทำต้องขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการจัด พิมพ์คือ องค์การพื้นที่ชุ่มน้ำนานาชาติ ประเทศไทย โครงการจัดการและคุ้มครองพื้นที่ ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทำยินดีน้อมรับและจะปรับปรุงคู่มือฯ ต่อไป
คณะผูจ้ ดั ทำ
⌫ ⌫
⌫ ⌫
⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌧ ⌧
⌧ ⌧ ⌧ ⌧ ⌧ ⌧
⌫ ⌫
⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫
⌫ ⌫
⌧ ⌫ ⌫
⌫ ⌫
ป่าชายเลน หรือป่าโกงกาง (Mangrove forest) คือ กลุ่มของสังคมพืชซึ่งขึ้นอยู่ใน เขตน้ำลงต่ำสุด และน้ำขึน้ สูงสุดบริเวณ ชายฝัง่ ทะเล ปากแม่นำ้ หรืออ่าว ป่าชายเลนเป็นบริเวณ ที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ทั้งพืชและสัตว์ ป่าชายเลน จึงให้ประโยชน์แก่มนุษย์ มากมาย ทั้งในด้านพลังงานและไม้ใช้สอย ตลอดจนเป็นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนที่สำคัญ เนือ่ งจากป่าชายเลนเป็นทีว่ างไข่ แหล่งอาหาร และเจริญเติบโตของสัตว์นำ้ เศรษฐกิจนานาชนิด นอกจากนี้ ป่าชายเลนยังช่วยป้องกันภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะเป็นเกราะกำบังและลดความรุนแรง ของคลื่นลมชายฝั่ง ช่วยดักตะกอนสิ่งปฏิกูล และสารพิษ ต่างๆ มิให้ไหลลงไปสะสมในบริเวณ ชายฝัง่ และในทะเล ในปัจจุบนั มีปญ ั หาหลายประการ ได้แก่ การเพาะเลีย้ งชายฝัง่ แหล่งชุมชน แหล่งอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม และกิจกรรมอืน่ อีกหลายประเภทได้ขยายไปสูช่ ายฝัง่ ทะเล โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าชายเลน จนทำให้ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงจนน่าเป็นห่วง ป่าชายเลนเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอย่างยิ่งทั้งในด้านการป่าไม้ การประมงและสิ่งแวดล้อม เช่น ไม้ป่าชายเลน อีกหลายชนิดนำไปทำสิ่งก่อสร้าง เฟอร์นิเจอร์ และกลั่น เอาสารเคมีที่เป็นประโยชน์ เช่น แทนนิน แอลกอฮอล์ กรดน้ำส้ม และน้ำมันดิน ในด้านการประมงป่าชายเลนเป็นแหล่งขยายพันธุ์ และที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เช่น กุ้ง ได้แก่ กุง้ กุลาดำ กุง้ แชบ๊วย โดยมีผศู้ กึ ษาพบว่าบริเวณป่าชายเลนประเทศไทย มีกงุ้ ชนิดต่างๆ ประมาณ 16 ชนิด กุง้ บางชนิดอาจมีชวี ติ วางไข่ในทะเลลึก แล้วเข้ามาเติบโตในชายฝัง่ ขณะที่ สัตว์น้ำบางชนิดอาจใช้บริเวณป่าชายเลนเป็นทั้งแหล่งเกิด และอาศัยจนเติบโตสืบพันธุ์ต่อไป สัตว์น้ำประเภทปลาก็เช่นเดียวกับประเภทกุ้งที่บางชนิดเข้ามาเลี้ยงตัวในวัยอ่อนในแหล่งน้ำ ชายฝั่งอันอุดมสมบูรณ์จนเจริญเติบโตแล้วออกสู่ทะเลลึกเพื่อการแพร่พันธุ์ต่อไป แต่บางชนิด ก็มีถิ่นอาศัยตั้งแต่เกิดจนตายในบริเวณเดียวกัน (endemic species) และพบปลาในวัยอ่อน อาศัยตามบริเวณชายฝัง่ มากทีส่ ดุ เช่น ปลากะพงขาว ปลาเก๋า ปลากระบอก และปลานวลจันทร์ ทะเล สัตว์น้ำประเภทหอยที่มีค่าทางเศรษฐกิจที่พบบริเวณป่าชายเลน และพื้นที่ใกล้เคียง เช่น บนทีร่ าบดินเลน ทีร่ าบดินทรายปนเลน ได้แก่ หอยนางรม หอยแมลงภู่ หอยแครง และหอยกะพง นอกจากนี้ สัตว์นำ้ ประเภทปู จะพบมากชนิด เช่น ปูแสม ปูทะเล และปูมา้ สำหรับปูทะเลสามารถ นำมาเลี้ยงให้มีเนื้อแน่นหรือจับมากบริเวณป่าชายเลน ปูทะเล (Scylla serrata) ไม่มีวงจรชีวิต ออกสู่ทะเลลึกเลยตลอดชีวิตจะอยู่อาศัยในบริเวณป่าชายเลนและพื้นที่ใกล้เคียงเท่านั้น ซึ่งต่าง จากปูม้า (Portunus pelagicus) ซึ่งในวัยอ่อนจะหากิน บริเวณที่ราบดินเลนใกล้ฝั่งป่าชายเลน
แต่พอโตขึ้นจะว่ายออกไปหากิน และดำรงชีวิตในทะเลห่างออกไป ชาวประมงจับปูชนิดนี้ด้วย อวนลอยตรงกันข้ามกับการจับปูทะเลซึ่งต้องจับบริเวณชายฝั่งด้วยแร้วดักปู หรือใช้ตะขอเกี่ยว ดึงออกจากรูท ี่อยู่ ระบบนิเวศวิทยาที่เกิดขึ้นในป่าชายเลนนั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ม ี ต ่ อ กั น ระหว่ า งสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต กั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม พื ช พรรณธรรมชาติ ช นิ ด ต่ า งๆ เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ เพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสง จะทำให้เกิดอินทรียวัตถุและ การเจริญเติบโต กลายเป็นผู้ผลิต (producers) ของระบบส่วนต่างๆของต้นไม้ นอกเหนือจาก มนุษย์นำไปใช้ประโยชน์จะร่วงหล่นทับถมในน้ำ และในดิน ในที่สุดก็จะกลายเป็นแร่ธาตุ ของพวกจุลชีวัน เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา แพลงก์ตอน ตลอดจนสัตว์เล็กๆ หน้าดินที่เรียกกลุ่ม นี้ว่า ผู้บริโภคของระบบ (detritus consumers) พวกจุลชีวันเหล่านี้จะเจริญเติบโตกลาย เป็นแหล่งอาหารของสัตว์นำ้ เล็กๆ อืน่ ๆ และสัตว์เล็กๆ เหล่านีจ้ ะเจริญเติบโตเป็นอาหาร ของพวก กุ้ง ปู และปลาขนาดใหญ่ขึ้นตามลำดับของอาหาร (tropic levels) นอกจากนี้ใบไม้ที่ตกหล่น โคนต้นอาจเป็นอาหารโดยตรงของสัตว์น้ำ (litter feeding) ก็ได้ ซึ่งทั้งหมดจะเกิดเป็นห่วงโซ่ อาหารขึ้น ในระบบนิเวศป่าชายเลนและ โดยธรรมชาติแล้วจะมีความสมดุลในตัวของมันเอง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งก็จะเป็นผลทำให้ระบบความสัมพันธ์ นีถ้ กู ทำลายลง จนเกิดเป็นผลเสียขึน้ ได้ ทางด้านสิ่งแวดล้อมป่าชายเลนมีความสำคัญในด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล โดยเฉพาะช่ ว ยลดภาระน้ ำ เสี ย และยั ง ช่ ว ยทำให้ เ กิ ด การงอกของแผ่ น ดิ น ขยายออกไปสู ่ ทะเลอีกด้วย ความสำคัญของป่าชายเลนด้านการอนุรกั ษ์พน้ื ทีช่ ายฝัง่ ทะเลนัน้ สรุปไว้ดงั นี้ ป่าชายเลนเป็นฉากกำบังภัยธรรมชาติ เพื่อป้องกันลมพายุมรสุมต่อการพังทลาย ของดินที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเล ป่าชายเลนช่วยป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ รากของต้นไม้ในป่าชายเลนที่งอก ออกมาเหนือพื้นดิน จะทำหน้าที่คล้ายตะแกรงธรรมชาติ คอยกลั่นกรองสิ่งปฏิกูลต่างๆ ทีม่ ากับกระแสน้ำ ทำให้นำ้ ในแม่นำ้ ลำคลอง และชายฝัง่ ทะเลสะอาดขึน้ ป่าชายเลนช่วยทำให้พื้นดินบริเวณชายฝั่งทะเลงอกขยายออกไปในทะเล รากของ ต้นไม้ในป่าชายเลน นอกจากจะช่วยป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษแล้ว ยังช่วยทำให้ตะกอน ที่แขวนลอยมากับน้ำทับถมเกิดเป็นแผ่นดินงอกใหม่ เมื่อระยะเวลานาน ก็จะขยายออกไป ในทะเลเกิดเป็นหาดเลน อันเหมาะสมแก่การเกิดของพันธุไ์ ม้ปา่ ชายเลน
มีความสำคัญในการเป็นแหล่งพลังงานและอาหาร เพือ่ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ เพื่อเป็นเครื่องป้องกันแนวชายฝั่งทะเล เพือ่ ควบคุมการกัดเซาะพังทลาย เพือ่ ซับน้ำเสีย เป็นแนวกำบังกระแสน้ำเชีย่ วทีป่ ากแม่นำ้ และพายุหมุน ผลิตภัณฑ์จากไม้ เชือ้ เพลิง วัสดุกอ่ สร้าง สิง่ ทอและหนังสัตว์ อาหาร ยา และเครือ่ งดืม่ การผลิตกรดจากเปลือกไม้ (tannin) การทำเหมืองแร่ดบี กุ ในบริเวณป่าชายแดน ให้ผลผลิตน้ำเย็นในระบบหล่อเย็นของโรงไฟฟ้าและโรงงานอุตสาหกรรม ให้ผลผลิตเกลือ ให้ผลผลิตมวลชีวภาพ (biomass) แก่แหล่งประมง แหล่งประมงใกล้ชายฝัง่ เป็นแหล่งพักอาศัยของลูกปลาและลูกกุ้ง ให้ผลผลิตมวลชีวภาพสำหรับการเลีย้ งหอยแมลงภูแ่ ละปลา
⌫⌫ ป่าชายเลนหรือป่าโกงกางเป็นกลุ่มสังคมพืชที่ขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลที่มีการขึ้น ลงของน้ำ และเป็นพืชพรรณที่มีลักษณะเด่นในพื้นที่ชุ่มน้ำปากแม่น้ำกระบี่ สามารถพบได้ ทั่วไปตลอดแนวพื้นที่ที่มีน้ำขึ้นน้ำลง ป่าชายเลนปากแม่น้ำกระบี่มีสภาพอุดมสมบูรณ์และขึ้น อยู่อย่างหนาแน่นและสวยงาม มีลำคลองหลายสายไหลลงสู่ทะเลปกคลุมด้วยป่าชายเลน
พืน้ ทีช่ มุ่ น้ำปากแม่นำ้ กระบีส่ ว่ นใหญ่มพี น้ื ทีเ่ ป็นป่าชายเลน ซึง่ มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 730.29 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 31.29% ของพื้นที่ Ramsar site ทั้งหมด ปัจจุบันพื้นที่ ป่าชายเลนได้ลดลงประมาณ 17.18% จากปี พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2545 ซึง่ ป่าชายเลนส่วนใหญ่ ที่ลดลงนั้นได้ถูกเปลี่ยนสภาพเป็นนากุ้ง สวนยางพารา และทุ่งนาร้าง ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ ได้มีการออกกฎหมายยกเลิกการสัมปทานป่าไม้เพื่อช่วยส่งเสริมการอนุรักษ์พื้นที่ป่าโกงกาง เพือ่ ให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศในพืน้ ทีแ่ ห่งนี้
สำหรับพันธุ์ไม้ที่พบในปากแม่น้ำกระบี่ส่วนใหญ่จากริมน้ำเป็นกลุ่มไม้โกงกางใบ ใหญ่ (Rhizophora mucronata) โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) ถัดไปเป็นกลุม่ ไม้โปรง (Ceriops spp.) ตะบูน (Xylocarpus spp.) ส่วนเขตสุดท้ายเป็นไม้กลุม่ ฝาด (Lumnitzera spp.) และเป้งทะเล (Phoenix paludosa)
จากการสำรวจชนิดพันธุ์ไม้ป่าโกงกางในพื้นที่ปากแม่น้ำกระบี่ โดย John Howes ได้พบพันธุ์ไม้มากกว่า 50 ชนิด โดยสามารถแบ่งเป็น 2 จำพวก คือพันธุ์ไม้ที่แท้จริงในป่า โกงกาง (true mangrove) จำนวน 25 ชนิด ซึ่งพืชพวกนี้สามารถทนความเค็มของน้ำ ทะเลได้เป็นอย่างดี ส่วนใหญ่จะพบบริเวณทีม่ นี ำ้ ขึน้ น้ำลง เช่น โกงกางใบเล็ก แสมทะเล เป็นต้น และพั น ธุ ์ ไ ม้ ท ี ่ ข ึ ้ น ร่ ว มกั บ ป่ า ชายเลน (associated plant) จำนวน 26 ชนิ ด ซึ ่ ง ส่ ว น ใหญ่จะพบบริเวณป่าชายหาดและพืน้ ทีอ่ น่ื ๆ เช่น หูกวาง เป็นต้น
สามารถแบ่งได้เป็น 5 ประเภท
Tree ไม้ยนื ต้น
Shrub ไม้พมุ่
Vine ไม้เถาหรือไม้เลือ้ ย
Fern/Palm ต้นเฟิรน์ / ต้นปาล์ม
Herb / grass พืชสมุนไพร / หญ้า
พันธุ์ไม้ในป่าชายเลนหรือป่าโกงกางแต่ละชนิดจะมีลักษณะของรากที่แตกต่างกันไป ซึ่งจะเรียกว่ารากอากาศ รากอากาศเป็นรากที่โผล่ขึ้นเหนือพื้นดิน โครงสร้างของรากอากาศ สามารถแบ่งได้เป็น 6 ประเภท คือ (stilt roots) รากค้ำยันหรือรากคำจุน : มีลกั ษณะเป็นกิง่ ก้านจำนวน มากงอกจากส่วนลำต้นหรือกิ่งก้านลงไปยึดพื้นดินเอาไว้แน่น รากไม้ ประเภทนีจ้ ะพบได้มากในเขตป่าชายเลน เช่น รากไม้โกงกาง (Knee-roots) รากรูปหัวเข่า : เป็นรากหายใจชนิดหนึ่งซึ่งปกติแตก ออกจากรากแขนง เนื่องจากต้องงอกชูขึ้นพ้นระดับน้ำแล้วหักพับ ลงทำให้ดูคล้ายหัวเข่า (plank – roots) ราก แผ่นกระดาน : เป็นรากทีม่ ลี กั ษณะเป็นเส้นหรือ แถบผ้ายาวคล้ายริบบิ้น วางตัวตามแนวนอนเหนือพื้นดิน รากมีความ หลากหลายมากคล้ายลูกคลื่น (pneumatophores) รากหายใจ : มีลักษณะรูปร่างคล้ายดินสอ หรือ เป็ น รากสะสมอาหารที ่ แ ตกแขนงจากรากใหญ่ แ ล้ ว แทงขึ ้ น ด้ า นบน ขึ้นมาเหนือพื้นดินหรือพื้นน้ำ (buttresses) พูพอน : โคนไม้ใหญ่หนาที่แผ่เป็นรูปปีกออกไปรอบ โคนต้นและค่อยๆเรียวขึ้นไปหาลำต้นที่อยู่เหนือพื้นดินเรียกว่าพูพอน (no prominent aerial roots) รากอากาศทีไ่ ม่เด่น : เป็นรากธรรมดา มีรากอากาศน้อยมาก
ลักษณะของใบ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ใบเดีย่ ว (simple leaf) คือ ใบทีม่ แี ผ่นใบ 1 แผ่นติดอยูบ่ นก้านใบ 1 ก้าน
ใบประกอบ (compound leaf) คือ ใบทีม่ แี ผ่นใบย่อย (leaflet) ตัง้ แต่ 2 ใบขึน้ ไปติดอยู่ บนก้านใบ 1 ก้าน และใบชนิดอื่นๆ
การเรียงตัวของใบ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การเรียงตัวของใบแบบตรงข้าม (opposite) แบบนี้จะมีใบติดอยู่ที่ข้อ 2 ใบ ในตำแหน่งตรงข้ามกัน มีทั้งเรียงตรงข้ามแบบที่แนวการวางตัว ของใบทั้งสองที่แต่ละข้อจะอยู่ตำแหน่งเดียวกันหมด การเรียงตัวของใบแบบสลับ (alternate) แบบนี้จะมีใบติดที่ข้อ 1 ใบ โดยใบที่ข้อหนึ่งจะอยู่ตรงข้ามกับใบที่ติดอยู่ที่ข้อหนึ่งเสมอ
แผ่นใบ (lamina หรือ blade) คือ ส่วนที่แผ่แบนออกเป็นแผ่นซึ่งอาจมีรูปร่างแตกต่างกันไป สามารถแบ่งได้เป็น 5 ลักษณะดังนี้
Lanceolate : .ใบรูปคล้ายใบหอก
Ellical : ใบรูปวงรี
Oval : ใบรูปไข่
Obovate : ใบรูปไข่กลับ
Cordate: ใบรูปหัวใจ
ปลายใบ (leaf apex) คือ ส่วนบนหรือปลายสุดของแผ่นใบซึ่งมีลักษณะต่างๆ กัน สามารถ แบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ Acute : ปลายใบแหลม
Aristate or apiculate : ปลายใบแหลมเข็ม หรือ เป็นติง่ แหลมอ่อนทีป่ ลาย
Rounded : ปลายใบโค้งมน
Emarginate : ปลายใบหยักเว้าป้าน
ช่อดอก หมายถึง กลุม่ ของดอกไม้ มีการจัดเรียงของช่อดอกและลักษณะของดอก แบ่งออกได้เป็น 7 ลักษณะ single (Solitary) : เป็นช่อเดีย่ ว มีดอกช่อเดียว ไม่รวมกันเป็นกลุม่
cyme : กลุ่มของดอก เป็นช่อดอกที่ประกอบด้วยดอกย่อย 3 ดอก เกิดจากจุดเดียวกัน ดอกย่อยที่อยู่ตรงกลางเกิดก่อนและบานก่อนดอก ย่อยทีเ่ กิดด้านข้าง 2 ดอก ซึง่ บานทีห่ ลังพร้อมกัน panicle : เป็นช่อดอกแบบแตกแขนงผสมกันระหว่างช่อดอกประเภท indeterminate ด้วยกัน โดยตำแหน่งที่เป็นดอกย่อยจะถูกแทนที่ด้วย ช่อดอกย่อย แบ่งได้เป็น - compound raceme ช่อดอกย่อยเป็นชนิด raceme - compound spike ช่อดอกย่อยเป็นชนิด spike - compound comrymp ช่อดอกย่อยเป็นชนิด comrymp spike : เป็นช่อดอกทีม่ แี กนช่อดอกยาว ดอกย่อยไม่มกี า้ นดอก (sessile floret) raceme : เป็นช่อดอกทีม่ แี กนช่อดอกยาว ก้านดอกย่อยยาวเกือบเท่ากัน เรียงตัวบนแกนช่อดอกแบบเวียนรอบแกน (spiral) ดอกย่อยที่เกิดอยู่ที่ โคนช่อจะบานก่อนดอกย่อยที่ปลายช่อ catkin (ament) : มีลักษณะคล้าย spike แต่ดอกย่อยจะเป็นดอก ย่อยจะเป็นดอกทีไ่ ม่มกี ลีบดอก (apetalous) และมีเพศเดียว (unisexual) ดอกย่อยมีขนาดเล็ก ช่อดอกมักจะโน้มลง umbel : เป็นช่อดอกที่มีแกนช่อดอกหดสั้น ก้านดอกย่อยยาวเท่ากัน ทุกดอกและออกมาจากจุดเดียวกันทำให้ดคู ล้ายซีร่ ม่ บางชนิดมีใบประดับ หุม้ ห่อช่อดอก เมือ่ ดอกบานใบประดับจะฉีกไป ช่อดอกแบบนีแ้ บ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ - simple umbel เป็นช่อดอก umbel แบบธรรมดา - compound umbel เป็นช่อดอก umbel แบบซ้อนมีชอ่ ดอกแตกแขนง เป็นช่อดอก umbel แบบธรรมดาอีกที
ช่อดอกจะพบบริเวณปลายกิ่งหรือบริเวณซอกใบของกิ่งก้าน ปลายกิง่ (Terminal ) : เกิดมาจากส่วนปลายของลำต้น
ซอกใบ (axillary) : เกิดมาจาก ส่วนด้านบนของใบและลำต้น
ลักษณะผลของชนิดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน จะทำให้สามารถระบุความแตกต่างของพันธุ์ไม้ แต่ละชนิดได้อย่างชัดเจน โดยสามารถแบ่งประเภทของผลออกเป็น 4 ลักษณะ คือ ผลยาวเรียว ผลเป็นรูปทรงกลม ผลเป็นรูปคล้ายเมล็ดถัว่ และผลลักษณะอืน่ ๆ ผลเป็นรูปทรงกระบอกยาวเรียว : ลักษณะของผลจะเป็นรูปทรง กระบอกยาว ส่วนใหญ่จะพบในจำพวกตระกูล Rhizophoraceae เช่น ถัว่ ขาว (Bruguiera) โปรง (Ceriops) และ โกงกาง (Rhizophora) เป็นต้น ผลเป็นรูปทรงกลม : ลักษณะของผลคล้ายกับลูกบอล แบนกลมเหมือน รู ป โลก ส่ ว นใหญ่ จ ะพบในจำพวกตะบู น (Xylocarpus) และลำพู (Sonneratia)
ผลคล้ายเมล็ดถั่ว : ลักษณะของผลคล้ายเมล็ดถั่วซึ่งมีรูปร่างที่หลาก หลายมาก พบมากในจำพวกแสม (Avicennia)
ผลลักษณะอืน่ ๆ :
⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม้ไม่ผลัดใบมีความสูง 20-40 ม. สีของเปลือกเทาดำ ผิวแตกเป็นร่องตามความ ยาวของต้น การแตกกิ่งก้านไม่กว้างเรือนยอดแคบรอบๆ โคนต้น มีรากค้ำยันช่วยพยุงลำต้น กิง่ ทีแ่ ตกออก มาจะวาง ตัวโค้งขึน้ ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงตัวตรงข้าม ใบรี โคนใบและปลายใบ แหลม ขนาด 4-8 x 7-18 ซม. เส้นกลางใบมองสีเหลือง อมสีแดง ก้านใบยาว 2-4 ซม. ผิวเกลีย้ งเป็นมัน สีเขียวเข้ม ใบกระจุกกันหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ดอก เป็นดอกช่อมี 2 ดอกเกิดที่ง่ามใบ ก้านช่อดอกสั้น และมีขนาดใหญ่ ก้านดอกย่อยไม่มี ตัวดอกติดกับก้าน ช่อดอก กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบหนาและแข็งมีสีเหลืองอ่อนๆ ส่วนปลายจะมีสนี ำ้ ตาลปลายแหลม กลีบดอกมี 4 กลีบ มีสี ขาวนวล ร่วงง่าย รูปร่างของกลีบดอกเป็นใบหอกมีขนาด 0.1-0.2 x 0.7-1.2 ซม. ผล สีนำ้ ตาล กลมเรียวมีความยาว 2-3 ซม. ผิวหยาบ และ งอกตัง้ แต่ผลยังติดอยูก่ บั ต้นเรียกว่า ฝัก ผิวเรียบสีเขียว แต่ เมือ่ แก่เปลีย่ นเป็นสีนำ้ ตาลเล็กน้อยมีขนาด 1-2 x 20-40 ซม. ฝักจะชีล้ งสูพ่ น้ื ที่อยู่อาศัย พบในบริเวณที่เป็นดินเลนอ่อนมีน้ำท่วมถึง สม่ำเสมอ ในบริเวณทีต่ ดิ กับทะเลหรือปากแม่นำ้ ประโยชน์ ใช้ทำถ่าน เนือ้ ไม้ใช้กอ่ สร้างทำอาคารบ้านเรือน ไม้ใช้ทำเสาและหลักในทีท่ น่ี ำ้ ทะเลขึน้ ถึงใช้ทำเยือ่ กระดาษ น้ำจากเปลือกใช้ชะล้างบาดแผล ห้ามโลหิต รับประทาน แก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ ใช้ยอ้ มผ้า แห อวน หนัง
⌫
ลำต้น มีขนาดใหญ่ สูง 30-40 ม. เปลือกของลำต้นมี สีเทาเข้มถึงสีดำผิวหยาบแตกเป็นร่องทั้งตามยาวและตาม ขวาง รอบๆ โคนต้นมีรากค้ำยันทีท่ ำหน้าทีใ่ นการพยุงลำต้น ให้แข็งแรงไม่ล้มแม้จะอยู่ในดินโคลน ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงเป็นคู่ตรงข้าม แตกสลับเป็นมุมฉาก แผ่นใบอวบใหญ่ ขนาด 5-13 x 8-24 ซม. เป็นรูปรีปลาย ใบแหลม ขอบใบเรียบ สีของใบเขียวอ่อน ส่วนท้องใบ มีสอี อ่ นกว่าและมีจดุ ดำๆทัว่ ท้องใบ ก้านใบสีเขียวออกเหลือง ยาว 5-9 ซม. มีใบเกล็ดสีแดงหุม้ ยอดอ่อน ดอก ดอกช่อออกทีง่ า่ มใบ ลักษณะของช่อจะแตกออกเป็น สองต่อกัน 2-4 ครัง้ จำนวนดอกในช่อ 4-16 ดอก ก้านช่อ ดอกยาว 5-10 ซม. ก้านดอกย่อยยาว 0.5-1 ซม. มีกลีบ เลีย้ ง 4 กลีบ สีเหลืองอ่อนรูปรี ยอดกลีบมน มีกลีบดอก 4 กลีบสีขาวมีขนปกคลุมขนาดเล็กกว่ากลีบเลี้ยงขนาดของ ดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 ซม. ผล เป็นผลเดีย่ วมีรปู ร่างคล้ายลูกข่างคือกลมมีฐานบนกว้าง และรีมายังปลาย มีสนี ำ้ ตาล ผิวของผลหยาบสากมือ ผลงอก เป็นฝักตัง้ แต่อยูบ่ นต้น ขนาดของฝักยาว 2-3 x 30-80 ซม. ฝักตรงสีเขียวอ่อนมีตุ่มเล็กๆ ทั่วฝัก ส่วนที่ติดกับขั้วจะ มีใบเลีย้ งยาว 2-4 ซม. ที่อยู่อาศัย มีบริเวณดินอ่อนริมฝั่งชายแม่น้ำลำคลอง ทีม่ นี ำ้ ท่วมถึงสม่ำเสมอหรืออาจขึน้ ในบริเวณทีน่ ำ้ ท่วมไม่ถงึ ่ ประโยชน์ ไม้ใช้ทำเสาและหลักในทีท่ น่ี ำ้ ทะเลขึน้ ถึงใช้ทำ เยือ่ กระดาษ น้ำจากเปลือกใช้ชะล้างบาดแผล รับประทาน แก้ทอ้ งร่วง คลืน่ เหียนอาเจียน แก้บดิ เรือ้ รัง
⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มีความสูง 8-15 ม. ทีร่ ากมี พูพอนบ้างไม่มาก ผิวของลำต้นเป็นสีนำ้ ตาลออกดำ ผิวของ เปลือกมีปมุ่ สีนำ้ ตาลในส่วนล่าง ส่วนเปลือกทีส่ งู ขึน้ มาจาก พื้นดินแตกเป็นร่องลึกเล็กน้อยมีรากหายใจเป็นรูปเข่าสูง จากพืน้ ดิน 15-20 ซม. ใบ เป็นใบเดีย่ วแตกตรงข้ามและสลับเป็นมุมฉาก ใบกระจุก แน่นทีป่ ลายกิง่ ใบมีรปู ร่างเป็นรูปรีปลายใบแหลม ส่วนฐาน ใบสอบเข้าเป็นรูปหลิ่ม ขนาดของใบ 4-8 x 7-19 ซม. มีสีเป็นสีเขียวผิวเป็นมันเรียบขอบใบเรียบ ก้านใบมีความ ยาว 3-5 ซม. เป็นสีเขียวออกเหลือง ดอก เป็นดอกช่อชนิดกระจุกที่ง่ามของใบที่อยู่ใกล้ปลาย กิง่ ในช่อหนึง่ มีดอก 3 ดอก ก้านช่อดอกยาว 1-3 ซม. ก้าน ดอกยาว 0.3 - 0.5 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 1-2 ซม. วงกลี บ เลี ้ ย งเป็ น รู ป ระฆั ง ปลายแตกออกเป็ น 8 แฉก มีกลีบดอกสีขาวจำนวน 8 กลีบ ผล เป็นผลเดี่ยว มีสีเขียวอมเหลืองโดยมีกลีบเลี้ยงหุ้ม เอาไว้ ผลงอกออกมาเป็นฝักรูปทรงกระบอกยาว 7-14 ซม. เมื่ออ่อนเป็นสีเขียวเมื่อแก่เป็นสีน้ำตาลปลายผลแหลม ที่อยู่อาศัย ในดินเลนที่แข็งจะมีน้ำท่วมถึงในช่วงน้ำขึ้น หรือในที่โล่ง ประโยชน์ แก้ทอ้ งร่วง สมานแผล แก้อาเจียน แก้เสมหะ แก้บดิ ลูก นำมาเชือ่ มทำขนมกินได้
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่สูง 25-35 ม. เรือนยอด เป็นพุม่ ทึบ ลำต้นสีนำ้ ตาลถึงดำแตกเป็นร่องยาวตามลำต้น ทีโ่ คนต้นมีพพู อนสูง และมีรากหายใจคล้ายเข่า ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับกันเป็นมุม 90 องศา ลักษณะใบเป็นรูปรีปลายใบแหลม ส่วนโคนใบมนเล็กน้อย สีของใบสีเขียวเข้มท้องใบสีอ่อนเล็กน้อย ใบค่อนข้างหนา ก้านใบสีเหลืองอมน้ำตาลยาว 2-5 ซม. ดอก เป็นดอกเดีย่ วออกตามง่ามใบ กลีบเลีย้ งมีสแี ดง ปลาย แยกเป็นแฉก 10-16 กลีบ เมื่อดอกบานมีลักษณะคล้าย หัวสุม ดอกขณะตูมมีรปู ร่างเป็นกระสวยยาว 2.5-3.5 ซม. ก้านดอกยาว 3-4 ซม. งอลงสูพ่ น้ื ดิน กลีบดอกสีขาวอมชมพู ผล มีรปู ร่างคล้ายลูกข่าง ยาง 2-3 ซม. ผิวเรียบ งอกเป็น ฝักตั้งแต่ติดอยู่กับต้น ลักษณะของฝักคล้ายกระสวยมี ขนาด 1.5-3 x 7-15 ซม. มีลกั ษณะกลม มีสเี ขียวเข้มเมือ่ แก่สอี อกเป็นม่วงดำ ที่อยู่อาศัย พบในบริเวณที่มีน้ำท่วมถึงอย่างสม่ำเสมอ ดินค่อนข้างแข็งและเหนียว ประโยชน์ ไม้ทำเสาเรือน ไม้กระดาน รอด เสาโป๊ะ
⌧ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความสูง 20-30 ม. เปลือกสีน้ำตาลเข้มถึงเทา แตกเป็นร่องไม่ลึก ผิวเปลือก หยาบเป็นสะเก็ด โคนต้นเป็นพูพอน ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกตรงข้ามสลับเป็นมุมฉากหนา แน่นที่ปลายกิ่ง รูปร่างของใบเป็นรูปรีปลายใบแหลม ส่วน ฐานใบแหลมสอบเข้า ขนาดของใบ 3-6 x 8-10 ซม. ขอบใบ เรี ย บ ผิ ว ใบเป็ น มั น สี เ ขี ย วเข้ ม ส่ ว นหลั ง ใบมี ส ี เ ขี ย ว อ่อนกว่าเล็กน้อย ก้านใบมีความยาว 3-5 ซม. ดอก เป็นดอกเดี่ยวแตกออกตามง่ามใบ ดอกมีความยาว 4-5 ซม. ฐานดอกเป็นรูปถ้วย มีกลีบเลี้ยงเป็นสีเหลือง อมเขียว จำนวน 10-12 กลีบ ปลายกลีบแหลม ส่วนกลีบดอก มีสเี หลืองอ่อนขนาดเล็ก ก้านดอกมีความยาว 3-5 ซม. ผล เป็นผลเดีย่ ว คล้ายลูกข่างยาว 2-3 ซม. มีเกสรตัวเมีย ติดอยู่ และผลจะงอกออกมาเป็นฝัก มีขนาด 2-3 x 5-10 ซม. ฝักสีเขียว ผิวเรียบ ปลายฝักแหลมมน ออกดอกและผลเกือบ ตลอดปี ที่อยู่อาศัย ขึ้นอยู่ในบริเวณที่มีน้ำท่วมขังเกือบตลอด เวลาที่มีดินค่อนข้างแข็งอยู่ถัดมาจากโกงกางใบเล็ก ประโยชน์ ไม้ทำเสาเรือน ไม้กระดาน รอด เสาโป๊ะ
⌧
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลางสูง 10-20 ม. เปลือกเป็น สีเทาถึงสีนำ้ ตาลเข้ม ผิวของเปลือกเรียบ ส่วนโคนของต้น แตกเป็นพูพอน มีรากหายใจ มีสเี หลืองอ่อนอมเขียว ทรงพุม่ ปลายเรียนยอดแหลมพุ่มไม่กว้างทรงกระบอก ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกตรงข้าม สลับเป็นมุมฉาก ใบจะ แตกออกเป็นกระจุกทีป่ ลายกิง่ รูปร่างของใบเป็นรูปรี ปลาย ใบแหลม ฐานใบก็แหลมเช่นกัน ผิวใบเรียบเป็นมัน ขอบใบ เรียบ มีสเี ขียวอมแหลือง ก้านใบยาว 2-3 ซม. ขนาดของใบ 3-5 x 7-10 ซม. ดอก เป็นดอกช่อลักษณะช่อดอกเป็นกระจุกที่ง่ามใบ ช่อดอกประกอบด้วยดอกย่อย 3-7 ดอก ก้านช่อดอกยาว 2 - 2.5 ซม. ดอกย่อยมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม. ดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นหลอดสั้นๆ มี 8 แฉก กลีบดอกมี 8 กลีบสีขาวอมเหลือง ผล เป็นผลเดี่ยวและงอกเป็นฝักตั้งแต่ตกอยู่ที่ต้น ฝัก มีสีเขียวอ่อนในขณะที่อ่อนอยู่แต่เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็น น้ำตาล มีรูปทรงเป็นกระบอกปลายฝักแหลมมีผิวเรียบ ขนาดของฝัก 0.4 - 0.6 x 8 -10 ซม. ออกดอกและผลตลอดปี ที่อยู่อาศัย บริเวณที่มีน้ำท่วมถึงสม่ำเสมอและดินเลน ค่อนข้างแข็ง ประโยชน์ บำรุงกำลัง บำรุงไขข้อ ให้ความอบอุ่นแก่ ร่างกาย
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก ความสูง 3-7 ม. ไม่ผลัดใบ ทีโ่ คนต้นเป็นพูพอน ผิวของลำต้นเป็นสีเทาเรียบ หรือแตก สะเก็ดออกเป็นแผ่นบางๆสีน้ำตาลแดงลักษณะทรงพุ่ม เรือนยอดเป็นพุ่มกว้าง แตกกิ่งตั้งแต่ระดับต่ำ กิ่งที่แตกลู่ ขึน้ ตามต้น ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับเป็นมุมฉากกระจุกที่ ปลายกิ่ง ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบมนกลมส่วน ฐานใบเรียวเข้าเป็นรูปลิม่ ผิวใบเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ขนาดของใบ 3-7 x 5-12 ซม. ก้านใบยาว 3-5 ซม. เส้นใบ มองเห็นไม่เด่นชัด ดอก เป็นดอกช่อชนิดกระจุก แตกออกทีง่ า่ มใบ ก้านช่อดอก สัน้ หนายาว 3-5 ซม. ก้านดอกไม่มี ดอกมีขนาดเล็ก เส้นผ่า ศูนย์กลาง 0.3-0.5 ซม. ดอกมีสีขาวเมื่อแก่เป็นสีน้ำตาล มี 5 กลีบ กลีบเลีย้ งสีเขียวมี 5 กลีบ ผล เป็นผลเดี่ยว สีน้ำตาลมีลักษณะคล้ายลูกข่างส่วน กว้างติดอยู่กับก้านดอก ผลงอกออกมาเป็นฝักสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเขียวอมน้ำตาล ปลายฝักชี้ไม่เป็น ระเบี ย บอาจชี ้ ใ นแนวนอนหรื อ อาจชี ้ ข ึ ้ น ฝั ก เรี ย วกลม ปลายฝักแหลมผิวขรุขระเล็กน้อย ที่อยู่อาศัย ในป่าชายเลนที่ค่อนข้างแห้งมีน้ำท่วมถึง เป็นบางครัง้ ถ้าขึน้ ในทีไ่ ม่เหมาะสมจะมองดูเหมือนไม้พมุ่ ประโยชน์ ไม้ทำค้างพลู เปลือกแก้ทอ้ งร่วง อาเจียน แก้บดิ หรือใช้ชะล้างแผลและห้ามเลือด ใช้ย้อมผ้าและหนังให้ สีน้ำตาล
⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้น ขนาดกลางมีความสูง 7-15 ม. ลักษณะ เรือนยอดเป็นรูปทรงกลม มีกิ่งก้านหนาแน่น สีของลำต้น สีเทาออกชมพูถงึ สีนำ้ ตาลอ่อน มีตมุ่ เล็กน้อย ผิวเรียบหรือ อาจแตกสะเก็ ด เล็ ก น้ อ ย ส่ ว นรากแตกออกเป็ น พู พ อน มีรากหายใจคล้ายหัวเข่า สูงจากพืน้ ดิน 10-15 ซม. ใบ เป็นใบเดีย่ ว แตกตรงข้ามสลับเป็นมุมฉากแน่น ทีป่ ลาย กิ่ง ตัวใบลู่ไปทางหลังใบเล็กน้อย รูปร่างเป็นทรงรูปไข่ ปลายใบมนเป็นวงกลม ส่วนฐานใบสอบเข้าเป็นรูปหลิ่ม สีของใบเขียวเข้ม เป็นมัน ส่วนหลังใบเป็นสีเขียวนวล ผิว เรียบ ขอบใบเรียบ ขนาดของใบ 3-8 x 5-12 ซม. ก้านใบสี เขียวอมเหลือง มีความยาว 2-6 ซม. ดอก เป็นดอกช่อชนิดกระจุก ออกตามง่ามใบที่ปลายกิ่ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 1-1.5 ซม. มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีกลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็น สีนำ้ ตาล แดง ผล เป็นผลเดีย่ วคล้ายลูกข่างมีความยาว 2-3 ซม. สีเขียว ถึงสีน้ำตาลมีลำต้นอ่อนงอกออกมาเป็นฝักเป็นรูปทรง กระบอกคล้ายถั่วฝักยาว แต่ส่วนปลายโตกว่า มีขนาด 0.8-1 x 15-35 ซม. ที่อยู่อาศัย ในบริเวณที่น้ำท่วมถึงสม่ำเสมอ ดินเลนค่อน ข้างแข็ง แต่นำ้ ไม่ขงั ตลอดเวลา ประโยชน์ ไม้ทำเสาเข็มในน้ำเค็ม เปลือกให้สีน้ำตาล ใช้ยอ้ มหนัง ผ้า ทำถ่าน ไม้ฝนื
⌫⌫ ⌫⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มีความสูง 8-20 ม. สีของลำต้นสีเทาอมน้ำตาล ผิวของเปลือกเรียบ กิง่ แตกในระดับต่ำทรงพุม่ ค่อนข้างกลมกิง่ แผ่กว้างและอาจ จะห้อยลงบ้าง มีรากหายใจเป็นรูปนิว้ มือ ใบ เป็นใบเดีย่ วการเรียงตัวของใบตรงข้ามและสลับเป็นมุม ฉาก ใบกระจุกกันแน่นทีป่ ลายกิง่ ผิวเรียบเขียวเป็นมัน ส่วน ท้องใบสีเขียวนวลเมื่อถูกแสงแดดเป็นสีขาว ขอบใบเรียบ ใบมีรูปร่างเป็นรูปหอกรี ปลายใบแหลม ส่วนฐานใบสอบ เข้าเป็นรูปเหลีย่ ม ขนาดของใบ 2-5 x 5-15 ซม. ก้านใบ สีเขียวอมเหลืองมีความยาว 1.5-2.5 ซม. ดอก เป็นดอกช่อ แตกออกทีป่ ลายกิง่ หรือง่ามใบใกล้ปลาย กิง่ เป็นช่อดอกชนิดเชิงลด ก้านช่อดอกยาว 4-8 ซม. ส่วน ดอกย่อยไม่มีก้านดอก ขนาดของดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-0.6 ซม. มีกลีบเลีย้ ง 5 กลีบ มีกลีบดอก 4 กลีบ สีเหลือง อมส้ม กลีบดอกมีความยาว 0.2-0.3 ซม. ผล เป็นผลเดีย่ วมีรปู ร่างคล้ายหัวใจทีย่ าวออกไป ปลายของ ผลแหลม ขนาดของผล 1.5-2 X 3-5 ซม. มีสเี ขียวออกเหลือง ผิวเรียบ เมือ่ ผลแก่แตกออกตามยาว ที่อยู่อาศัย เป็นพืชที่สามารถขึ้นได้ในที่ดินเลนอ่อนถึง แข็ ง เป็ น พื ช ที ่ ข ึ ้ น อยู ่ ด ้ า นนอกติ ด กั บ ทะเลหรื อ เป็ น พื ช เบิกนำติดกับแสมทะเล หรืออาจพบในบริเวณริมฝั่งคลอง หรือแม่น้ำที่มีดินค่อนข้างแข็ง ประโยชน์ ช่วยยึดตลิง่ และทนเค็มได้ดี
⌫⌫ ⌫⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก ปานกลาง สูง 5-15 ม. ทรง กึ่งวงกลม ถ้าหากขึ้นในที่ไม่เหมาะสม กิ่งแตกในระดับ ต่ำติดกับพื้นดินเมื่ออยู่ร่วมกับต้นไม้อื่นหรือมีความหนา แน่นจะสูงและแตกกิ่งในระดับสูงขึ้นแต่เรือนยอดไม่หนา แน่นและทรงพุ่มไม้เป็นกึ่งวงกลม ลำต้นมีสีขาวอมเทา ผิวเรียบ โคนต้นทีม่ อี ายุมากจะมีรากเล็กๆ แตกออกมาเหนือ พืน้ ดินเล็กน้อย มีรากหายใจเป็นแท่งยาว 10-30 ซม. ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกตรงข้างสลับกันเป็นมุมฉาก ความ หนาแน่นของใบอยู่ที่ปลายกิ่ง รูปร่างของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบมน ถึงแหลมเล็กน้อยผิวเรียบเป็นมัน ส่วนหลัง ใบเป็นสีเขียวอมขาวขอบใบเรียบ ใบส่วนมากม้วนกลับหลัง ขนาดของใบ 3-5 x 5-10 ซม. ก้านใบยาว 1-3 ซม. ดอก เป็นดอกช่อเชิงลด ช่อดอกแตกออกที่ปลายกิ่งหรือ ง่ามใบทีอ่ ยูใ่ กล้ปลายกิง่ ก้านดอกช่อยาว 1-5 ซม. ดอกย่อย เป็นกระจุก ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม. ดอกมีสเี หลืองอมส้ม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 ซม. มีกลีบดอก 4 กลีบ เกสรตัวผู้ 4 อัน ผล เป็นผลเดีย่ ว รูปทรงเป็นรูปหัวใจปลายแหลมแบนเล็ก น้อย ผิวเรียบมีสเี ขียวอมเหลือง ขนาด 1.5-3 x 2-4 ซม. ทีอ่ ยูอ่ าศัย เป็นไม้เบิกนำชอบขึน้ ในทีโ่ ล่งติดกับชายฝัง่ ที่ เป็นดินเลนไม่แข็งหรือดินปนทรายที่มีน้ำท่วมถึงสม่ำเสมอ ประโยชน์ ผลสดรับประทานได้มรี สเปรีย้ ว
⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ มีความสูง 8-25 ม. สีของ ลำต้นสีเทาอมขาว ผิวของเปลือกเรียบจนถึงแตกเล็กน้อย ทรงพุ่มหนาโดยเฉพาะที่เรือนยอด มีรากอากาศ ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 ซม. มีความสูง 15-25 ซม. ใบ เป็นใบเดี่ยวการเรียงตัวของใบเรียงตรงข้ามสลับเป็น มุมฉาก รูปทรงของใบเป็นรูปไข่รีปลายใบมนส่วนฐานใบ สอบเข้าเป็นรูปสามเหลีย่ ม ขนาดของใบ 3.5-5 x 6-9 ซม. ผิวของใบเป็นมัน มีสเี ขียวเข้ม ส่วนท้องใบเป็นสีเขียวนวล ขอบใบเรียบ ก้านใบสัน้ ยาวประมาณ 1-3 ซม. เป็นสีเหลือง อมน้ำตาล ดอก เป็นดอกช่อชนิดเชิงลด ออกดอกที่ปลายกิ่งหรือ ง่ามใบทีป่ ลายกิง่ ก้านช่อดอกยาว 3-6 ซม. ดอกย่อยติดกับ ก้านช่อดอก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 1-1.5 ซม. มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอกมี 4 กลีบ สีเหลืองอมส้ม มีเกสรตัวผู้ 4 อันสูงกว่ากลีบดอก ออกดอกประมาณเดือน มกราคม เดือนพฤษภาคม ผล เป็นผลเดี่ยวมีรูปร่างคล้ายหัวใจแบนเล็กน้อยมีขนาด 2.3 x 3-4 ซม. สีของเปลือกเหลืองอมเขียว มีผิวเรียบมี ขนอ่อนเล็กน้อย ปลายผลแหลม ที่อยู่อาศัย มักพบในบริเวณที่มีน้ำท่วมเกือบตลอดเวลา ตามชายฝั่งทะเลหรือริมคลองที่มีเลนหรือเลนปนทราย หรือกรวด เป็นพืชเบิกนำ ประโยชน์ ช่วยยึดตลิง่ และทนเค็มได้ดี แก่น แก้เลือดลม ฟอกและขับโลหิตระดู แก้ปสั สาวะพิการ
ลำต้น เป็นไม้เถาขนาดของลำต้นเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 1.5 ซม. เลื้อยพันต้นไม้ชนิดอื่นเพื่อรับแสงแดด ต้นเป็นสี น้ำตาลอมเขียว ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกตรงข้ามสลับเป็นมุมฉากในกระจุก อยู่ที่ปลายกิ่ง รูปร่างของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบมนถึงค่อน ข้างแหลม ส่วนฐานใบสอบเข้าเป็นรูปเหลี่ยม ผิวใบเรียบ เป็นมันมีสเี ขียวอ่อน ขอบใบเรียบ ก้านใบสีเขียวอมเหลือง ความยาวของก้านใบ 1-2 ซม. ขนาดของใบ 4-5 x 7-10 ซม. ดอก เป็นดอกช่อชนิดลดหลัน่ ออกทีป่ ลายกิง่ ก้านช่อดอก ยาว 10-25 ซม. ก้านดอกย่อยไม่มี ดอกติดอยู่กับก้าน ช่อดอก ดอกมีลักษณะคล้ายดอกถั่ว มีกลีบเลี้ยงสีน้ำตาล เขียวเป็นหลอดสั้นๆ มีกลีบดอกสีขาวเป็นกลีบดอกขนาด ใหญ่ และมี ก ลี บ ดอกเล็ ก อี ก กลี บ หนึ ่ ง สำหรั บ ห่ อ หุ ้ ม เกสรทัง้ ตัวผูแ้ ละตัวเมีย ผล เป็นผลเดีย่ ว รูปทรงกลมรีมคี วามยาว 2-4 ซม. ทีป่ ลาย ของผลมียอดเกสรตัวเมียติดอยู่ ผิวเกลี้ยง สีเขียวเมื่อแก่ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ที่อยู่อาศัย พบในพื้นที่มีน้ำท่วมถึง ในดินเลนไม่อ่อน มากนัก มักขึน้ ในทีไ่ ม่มตี น้ ไม้ชนิดอืน่ ขึน้ หนาแน่น หรือใน บริเวณทีม่ ตี น้ ไม้ไม่สงู มากนัก ประโยชน์ ผลรับประทานแก้อาการอักเสบของร่างกาย
⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กกึ่งเลื้อย มีความสูง 1-2 ม. เมือ่ อายุมากขึน้ ลำต้นจะล้มอาจแตกเป็นกอใหญ่ ถ้าบริเวณ ใดไม่มนี ำ้ ท่วมขังลำต้นจะเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน ลำต้นมีสเี ขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหรือสีเหลืองอมน้ำตาลขนาด ของลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม. ใบ เป็นใบเดีย่ วเรียงตรงข้ามสลับฉาก ก้านใบยาว 1-2 ซม. ใบของต้นที่อยู่ในที่ร่มเงามีรูปร่างเป็นรูปใบหอก ปลายใบ แหลม ขอบใบไม่เป็นหยักแต่ถา้ ใบของต้นทีอ่ ยูก่ ลางแดดจัด หรือส่วนที่ใกล้ยอดที่จะออกดอกขอบใบหยักและมีหนาม แหลมในส่วนหยัก และปลายใบจะเป็นรูปสามเหลีย่ ม สีของ ใบเขียว ขนาดของใบ 8-10 x 10-20 ซม. ดอก เป็นดอกช่อเชิงลด ออกทีป่ ลายยอด ก้านช่อดอกยาว 10-25 ซม. ดอกย่อยไม่มีก้านดอก ดอกมีลักษณะคล้าย ดอกถั่วที่มีกลีบดอกใหญ่เพียงกลีบเดียวและมีกลีบดอก เล็กอีกหนึง่ กลีบ สีของดอกเป็นสีมว่ ง ผล เป็นผลเดีย่ วรูปร่างเป็นทรงกลมรี มีขนาด 1.5-2 x 2.53 ซม. ผลมี ส ี เ ขี ย วหรื อ เขี ย วอมน้ ำ ตาลเมื ่ อ ผลแก่ เ ป็ น สีน้ำตาลเข้ม แตกจากปลายผลภายในมีเมล็ดหลายเมล็ด ออกดอกและผล ในเดือน มกราคม – พฤษภาคม ที่อยู่อาศัย ในพื้นที่ป่าชายเลนที่เป็นที่โล่ง ดินเลน ค่อนข้างแข็งที่มีน้ำท่วมถึง ประโยชน์ เมล็ดใช้รบั ประทานแก้อกั เสบ ใบใช้พอกแก้อกั เสบ ต้นและรากต้มกับน้ำ ใช้แก้ไข้หวัด ผืน่ คัน โรคผิวหนัง ทุกชนิด ต้นสดตำให้ละเอียด เอาพอกหัวฝีหรือแผลเรื้อรัง ถอนพิษดี
⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูง ถึง 30 ม. เปลือกมีสีน้ำตาลเข้ม ผิวเป็นร่อง ราก หายใจ เป็นรูปเข่า ใบ เป็นใบเดี่ยว แตกเรียงรอบกิ่งหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รู ป ร่ า งของใบเป็ น รู ป รี ป ลายโค้ ง มนกลม ส่ ว นฐานใบ สอบเข้าเรียวเป็นรูปลิ่ม ตัวใบหนาอวบน้ำ ขอบใบเรียบ ผิ ว ใบมั น เป็ น สี เ ขี ย วเข้ ม ก้ า นใบมี ค วามยาว 3-5 ซม. เส้นกลางใบสีเขียวแกมเหลือง ดอก เป็นดอกช่อออกที่ปลายกิ่งเป็นชนิดกระจะ ช่อดอก ยาว 3-6 ซม. มีดอก 5-15 ดอก ฐานรองดอกเป็นหลอด กลม มีกลีบดอกสีแดง เกสรตัวผูส้ แี ดงเป็นพูย่ าวกว่ากลีบดอก ผล เป็นผลเดี่ยวรูปกระสวย มีขนาด 0.4 x 1.4-2 ซม. ผลมีสีเขียวอมเหลืองเมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ออกดอก และผลในเดือน พฤศจิกายน-เมษายน ทีอ่ ยูอ่ าศัย อยูใ่ นบริเวณทีม่ นี ำ้ ทะเลท่วมถึงเป็นช่วง เป็น บริเวณที่มีความเค็มไม่มากนัก ลักษณะของดินค่อนข้าง แข็งมีทรายปน ประโยชน์ เปลือกให้น้ำยางสีน้ำตาลแกมเหลืองใช้ย้อม หนัง ผ้า รากช่วยยึดตลิง่ ลำต้นใช้ทำเครือ่ งเรือน
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็กความสูง 6-8 ม. เปลือกเป็น สีเทาเกือบดำ มีรอยแตกหรือเป็นเกล็ดเล็กน้อย ลักษณะ ทรงพุ ่ ม เรื อ นยอดทรงกลมมี ก ารแตกกิ ่ ง หนาแน่ น และ กิง่ แตกตัง้ แต่ระดับต่ำ ลำต้นไม่มพี พู อนทีเ่ ด่นชัด ใบ เป็นใบเดี่ยวใบแตกออกสลับกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ใบเป็นรูปไข่ ปลายใบกลมมนอาจเว้าเล็กน้อย ส่วนฐานใบ แคบและค่อนข้างเรียวยาว ใบมีสีเขียวใบค่อนข้างหนา ก้านใบสัน้ ยาว 0.3-0.5 ซม. ขนาดของใบ 1.5-3 x 4-7 ซม. ดอก เป็นดอกช่อเชิงลด ก้านช่อดอกยาว 3-5 ซม. ส่วนดอก ย่อยไม่มีก้านดอก ฐานรองดอกและกลีบเลี้ยงเป็นรูปท่อ กลีบดอกเป็นสีขาวจำนวน 5 กลีบติดกัน ส่วนปลายจะ แยกออกเป็นแฉก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 ซม. ผล เป็นผลเดี่ยวมีรูปทรงรีที่ปลายผลจะมีกลีบเลี้ยงติด อยู่พร้อมเกสรตัวเมีย ส่วนด้านที่ติดกับขั้วจะเรียวเข้า ความยาวของผล 2-3 ซม. เป็นสีเขียวอมเหลือง ผิวเรียบ ที่อยู่อาศัย ชอบขึ้นในส่วนของป่าชายเลนเป็นที่โล่ง ดินเลนค่อนข้างแข็งหรือปนทรายอาจมีนำ้ ท่วมถึงหรือไม่กไ็ ด้ ในบริเวณทีน่ ำ้ ทะเลท่วมไม่ถงึ ต้นไม้เจริญได้ไม่ดเี ท่าทีค่ วร ประโยชน์ รากช่วยยึดตลิง่ เนือ้ ไม้ทำด้ามพร้า ด้ามขวาน ด้ามจอบ และทำเครือ่ งใช้
⌧ ⌫
ลำต้น เป็นไม่ยนื ต้นผลัดใบ ขนาดความสูง 10-18 ม. สีของ เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ ลำต้นแตกเป็นร่องยาวตาม ลำต้นมียางสีขาวที่เป็นพิษต้องระมัดระวังไม่ให้ยางเข้า สู่ปากหรือตาเด็ดขาด และที่ผิวของเปลือกยังมีตุ่มเล็กๆ อีกด้วย ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงใบสลับกัน รูปร่างของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบรีแหลม ส่วนฐานใบมนกลม ก้านใบยาว 2-4 ซม. สีของใบเขียวเข้มเมื่อใบแก่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงก่อนร่วง ซึ่งอาจเกือบพร้อมกันทั้งต้น ขอบใบมีรอยหยักเล็กน้อย ผิวใบเรียบเป็นมัน ดอก ดอกเป็นดอกช่อติดแน่นก้านช่อดอกมีขนาดเล็ก มากติดกันแน่นมากจนไม่สามารถเห็นก้านดอก ช่อดอกก่อน ดอกบานจะเป็นสีเขียวหรือน้ำตาล ช่อดอกมีความยาว 5-10 ซม. ผล มีลักษณะเกือบกลมเป็นพูสามพู มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 -0.7 ซม. ผลเกลีย้ ง สีเขียวอ่อนๆถึงสีนำ้ ตาล ออกดอก และผล เดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน ที่อยู่อาศัย ในบริเวณที่ดินเหนี่ยวปนทรายที่ค่อนข้าง แข็งจะมีนำ้ ท่วมถึงและมีนำ้ ท่วมขังไม่ตลอดเวลา ประโยชน์ เนื้อไม้ ควันที่เกิดจากการเผาไม้ตาตุ่มทะเล ใช้รักษาโรคเรื้อนได้ดี แก่น ปรุงเป็นยา ต้ม ฝนน้ำปูนใส รับประทานถ่ายได้อย่างเฉียบพลัน แก้อหิวาตกโรค เป็นยา สมานแผลและแก้ไข้ ขับลม ขับเสมหะ แก้อกั เสบ โรคเลือด เหงือกบวม แก้พษิ รำมะนาด ใบ แก้ลมบ้าหมู ราก เอามาฝน ทาแก้คนั แก้บวม
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่สงู 20-35 ม. เป็นไม้ผลัด ใบ เปลือกสีนำ้ ตาล ถึงสีดำ แตกเป็นร่องตามยาวต้น เหมือน กำลังหลุดออกจากต้น โคนต้นเป็นพูพอน และมีรากหายใจ ทรงกระบอกปลายเรี ย วกลมมน มี ค วามสู ง จากพื ้ น ดิ น 20-40 ซม. เป็นไม้เนือ้ แข็งสีดำนิยมใช้ในการก่อ สร้างบ้าน อยู่อาศัย ใบ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ชัน้ เดียว ก้านใบประกอบ ยาว 8-15 ซม. จำนวนใบย่อย 2-3 คู่ เรียงแบบตรงข้าม รูป ร่างของใบประกอบเป็นรูปไข่ ปลายใบกลมมน ส่วนฐานใบ จีบเข้าเล็กน้อยค่อนข้างแหลม ผิวของใบเป็นมัน สีเขียวเข้ม ส่วนหลังใบจะมีเขียวอ่อนกว่า ใบย่อยสัน้ ยาว 0.3-1 ซม. ดอก ดอกเป็นดอกช่อแบบแตกกิ่ง ออกจากง่ามใบช่อ ดอกยาว 7-15 ซม. ประกอบด้วยดอกจำนวนมากมีสีขาว มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ และมีกลีบดอก 4 กลีบ ไม่ติดกัน ขนาดของดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.4-0.8 ซม. ออกดอก และผลเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน ผล ผลกลมขนาดใหญ่สีเขียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7-12 ซม. ผิวของผลเกลีย้ ง ผลแก่ประมาณเดือน สิงหาคมตุลาคม ภายในผลมีเมล็ดขนาดใหญ่จำนวน หลายเมล็ด สีน้ำตาลอมแดง ทีอ่ ยูอ่ าศัย ขึน้ อยูใ่ นบริเวณเดินเลนทีค่ อ่ นข้างแข็งบริเวณ ทีน่ ำ้ ท่วมถึง ประโยชน์ เมล็ดรับประทานแก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ เปลือกและ ผลรับประทานแก้โรคอหิวาห์ เปลือกและผลนำมาต้มกับ น้ำใช้ลา้ งทำความสะอาดแผลได้ดี
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นทีม่ คี วามสูง 8-20 ม. เป็นไม้ผลัดใบ แตกกิง่ ได้ตง้ั แต่โคนต้น มีพพู อนแผ่ออกจากโคนต้น มีราก หายใจที่แบน ค่อนข้างใหญ่และแข็งเหมือนเนื้อไม้ เปลือก เรียบ สีน้ำตาลอมเหลือง หรือสีน้ำตาลอ่อน เปลือกหลุด ออกเป็นแผ่นบาง ๆ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เป็นชัน้ เดีย่ ว ใบอ่อนมี 2-3 คูค่ วามยาวของก้านใบ 6-10 ซม. ใบย่อยเป็นรูปไข่ ปลายใบ มน ส่วนฐานใบรูปทรงเรียว ขนาดของใบ 2-5 x 7-10 ซม. สีของใบเขียวอ่อนผิวใบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยมี ความยาว 1-2 ซม. ดอก เป็นดอกช่อแตกออกจากง่ามใบ ช่อดอกแบบแยก แขนง ก้านช่อดอกยาว 3-8 ซม. ดอกแต่ละดอก มีขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ในช่อหนึง่ ประกอบด้วยดอก 8-20 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม. ดอกมีสขี าว ประกอบ ด้วยกลีบดอก 4 กลีบและมีกลีบเลีย้ ง 4 กลีบ ผล ลักษณะของผลกลม สีน้ำตาลอมเขียวเมื่อแก่จะมีสี เป็นตาลแก่ เป็นผลขนาดใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 15-20 ซม. ภายในประกอบด้วยเมล็ดขนาดใหญ่อัดแน่นภายในผล ออกดอกผลตลอดปี ที่อยู่อาศัย บริเวณที่มีไม้ป่าชายเลน ชนิดอื่นขึ้น เช่น พังกาหัวสุม ถัว่ ดำ ขึน้ ได้ดใี นบริเวณน้ำกร่อย ประโยชน์ เปลือกให้น้ำฝาด ใช้ย้อมผ้า เปลือกและผล แก้ อ หิ ว าห์ เปลื อ กและเมล็ ด แก้ ท ้ อ งร่ ว ง แก้ บ ิ ด และ เปลือกและผลนำมาต้มเพื่อชะล้างแผล
⌫ ลำต้น เป็นไม้พมุ่ สูง 3-7 ม. แตกกิง่ ในระดับต่ำใกล้โคนต้น มีพพู อนเล็กน้อย เปลือกเรียบสีเทาเข้มถึงสีนำ้ ตาลแดง ใบ เป็นใบเดีย่ วออกเวียนรอบกิง่ หนาแน่นทีป่ ลายกิง่ แผ่น ใบหนาคล้ายแผ่นหนังรูปรีถึงรูปไข่กลับ ขนาด 2.5-5 x 4-9 ซม. ปลายใบแหลมถึงเว้าต้นๆ ฐานใบรูปหลิม่ แผ่นใบ เกลี้ยงทั้งสองด้าน ผิวใบด้านบนมัน เส้นกลางใบด้านท้อง ใบสีแดงเด่นชัด ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ดอก ออกตามง่ามใบเป็นช่อชี่ร่ม แต่ละช่อประกอบด้วย ดอกจำนวนมาก ดอกมีกลิ่นหอม ก้านดอกย่อยเรียวยาว 1-2 ซม. กลีบเลีย้ ง 5 กลีบไม่ตดิ กันและติดคงทน กลีบดอก 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม สีขาว โคนกลีบติดกันอยู่ในหลอด ซึ ่ ง ยาว 0.5-0.6 ซม. เมื ่ อ ดอกบานเต็ ม ที ่ ก ลี บ ดอกจะ โค้งกลับไปทางฐานดอกเกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอบั เรณูสน้ั ออกดอกระหว่างเดือน กุมภาพันธ์- พฤษภาคม ผล รูปทรงกระบอกเรียวโค้งยาว 5-8 ซม. ปลายเป็นดิ่ง แหลมยาวผิวเรียบผลอ่อนมีสีเขียวอมน้ำตาล เมล็ดเป็น แบบงอกตั้งแต่ผลยังติดอยู่บนต้น ผลแก่ประมาณเดือน กันยายน - พฤศจิกายน ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบขึน้ กระจาย หรือเป็นกลุม่ ริมชายฝัง่ แม่นำ้ บริเวณที่เป็นดินทรายและน้ำท่วมถึงสม่ำเสมอ ประโยชน์ นิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ ปลูกประดับ ตามซุม้ หรือให้เลือ้ ยเกาะรัว่ เมล็ด ใช้ถา่ ยพยาธิไส้เดือน
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นพวกปาล์มทีม่ ลี ำต้นอยูใ่ ต้ดนิ เป็นเหง้า ที่มีขนาดใหญ่ ลำต้นมีสีน้ำตาล ส่วนที่โผล่ขึ้นมาเหนือดิน เป็นใบที่ซ้อนกัน และมักจะแตกออกเป็นหลายต้น เป็นกอ ลำต้นเป็นแผลที่เกิดจากร่องรอยทำให้ผิวคล้ายลูกคลื่น ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกความยาวของก้านใบ 4-9 ม. ก้านใบส่วนที่ติดกับลำต้นแผ่กว้างออกและมีขนาดใหญ่ หุ้มลำต้น ใบเรียวไปยังปลายก้านมีความแข็งเมื่อยอด อ่อนใบจะเรียบกับก้านใบเกาะติดแน่น ส่วนใบย่อยไม่ มีก ้านใบมีรูปร่างเป็นใบหอกปลายใบเรียวแหลมผิวใบ เป็นมันขอบใบเรียบเส้นกลางใบแข็ง สามารถให้ใบทรงตัว อยูไ่ ด้ ความยาวของใบ 0.9-1.3 ม. ดอก เป็นดอกช่อ เป็นดอกแยกเพศแต่เพศผู้ต้นเดียวกัน ดอกแตกออกจากง่ามใบดอกตัวผู้เป็นแบบเป็นช่อเชิงลด มีสีขาวถึงเหลืองส่วนดอกตัวเมียเป็นแบบกระจุกมีลักษณะ เดียวกันกับผลสีส้มอมเหลืองและจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ผล เป็นผลเดี่ยวผลติดกันแน่นเป็นช่อกลมมีจำนวนผล มากมาย มีสนี ำ้ ตาลผลแต่ละผลยึดติดกับก้านช่อเป็นเหลีย่ ม รูปทรงรี ขนาดของผลยาว 7-10 ซม. เปลือกของผลเป็น เส้นใยเพือ่ ช่วยให้ลอยน้ำได้ ที่อยู่อาศัย ขึ้นอยู่ในบริเวณที่มีน้ำท่วมขังเกือบตลอด ขึน้ ได้ทง้ั ดินอ่อนและดินแข็งและส่วนทีต่ ดิ ต่อกับคลองน้ำจืด ประโยชน์ ใบอ่อนใช้มวนยาสูบ ทำภาชนะห่อขนม ใบแก่ ใช้มงุ หลังคา น้ำหวานจากช่อดอกใช้ทำน้ำตาล ใบมีรสฝาด ขับเสมหะ ผล ใช้สมานแผล แก้ริดสีดวงทวาร ผลอ่อนใช้ ประกอบอาหารเนื้อในผลที่ค่อนข้างแก่รับประทานได้
⌫ ⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ขนาดเล็ก สูง 4-5 ม. แตกเป็นพุม่ หนา เมือ่ อ่อนมีสเี หลืองแดง เมือ่ แก่มสี เี ทาอมดำ เปลือกไม่เรียบ ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวตรงข้าม รูปทรงของใบเป็นรูปไข่ แผ่นใบจีบเข้าทางก้านใบสีของใบเมื่ออ่อนมีสีเขียวอ่อน เมือ่ แก่มสี เี ขียวเข้ม หลังใบสีเขียวอ่อนกว่าเป็นนวล ขนาด ของใบ 3-5 x 5-10 ซม. ปลายใบมนกลม ขอบใบเรียบ ก้านใบยาว 1-4 ซม. สีเหลืองอมแดง ดอก ดอกออกเป็นช่อตามง่ามใบ ลักษณะของช่อเป็น กระจุกแน่น ก้านช่อดอกสั้น 2-3 ซม. ก้านดอกสั้นมาก เกือบติดกับก้านช่อดอก กลีบดอกมี 4 แฉก สีขาวขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ออกดอกในเดือนกุมภาพันธ์ สิงหาคม ผล ผลเป็นผลเดีย่ วกระจุกเช่นเดียวกับดอก มีสเี ขียวอ่อน ทรงรี ผิวเป็นร่องตามความยาวของผล ผลมีความยาว 1-2 ซม. ทีอ่ ยูอ่ าศัย มักขึน้ อยูใ่ นบริเวณทีน่ ำ้ ทะเลไม่ทว่ มขัง ริม่ ฝัง่ บริเวณที่มีทรายหรือดินแข็งที่มีทราย
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ขนาดใหญ่มีความสูง 8-20 ม. เป็นไม้ไม่พลัดใบ ปลายกิ่งห้อยย้อยลงลักษณะ เปลื อ กเรี ย บสี เ ขี ย วอมม่ ว ง เมื ่ อ อายุ ม ากเปลื อ กหยาบ ออกสี น ้ ำ ตาลแตกเป็ น ร่ อ ง เป็ น สะเก็ ต มี ร ากอากาศ ขนาดใหญ่ปลายเรียวโผล่เหนือน้ำอาจจะยาวเกิน 100 ซม. ใบ เป็นใบเดีย่ วแตกตรงข้าม ก้านใบยาว 1-2 ซม. สีกา้ น ใบชมพู รูปร่างของใบขอบขนานเป็นรูปรี ปลายใบแหลม ส่วนฐานใบแหลมเช่นกัน สีของใบเขียวเข้ม ผิวเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ขนาดของใบ 2-5 x 4-13 ซม. ดอก เป็นดอกเดีย่ วทีป่ ลายกิง่ ลักษณะดอกเมือ่ ยังตูมเป็น ทรงรีปลายดอกแหลมที่มีกลีบเลี้ยงสีเขียวหุ้มไว้เมื่อบาน จะเห็นกลีบดอกเป็นริ้วเล็กๆ สีชมพูออกแดง มีเกสรตัวผู้ มากมาย โคนของเกสรจะออกเป็นสีชมพูส ่วนปลายจะ เป็นสีขาว อับเรณูสีเหลือง ส่วนฐานของดอกเป็นวงกลม รูปถ้วยตืน่ ของถ้วยด้านในเป็นสีชมพูออกแดง ผล เป็นผลเดี่ยวมีลักษณะกลมด้านหน้าผลตัดทำให้ความ กว้างของผลมากกว่าความยาวของผลผลจะมีเกสรตัวเมีย ติดและขยายใหญ่เพิ่มขึ้น ส่วนกลีบเลี้ยงจะยังติดอยู่จน กระทั้งผลสุก เมื่อสุกผลจะนิ่มและมีกลิ่นหอม ภายในมี เมล็ดจำนวนมากขนาดของผล 4.5-9 x 3-5 ซม. ทีอ่ ยูอ่ าศัย จะพบในบริเวณชายฝัง่ ทีต่ ดิ ต่อกับน้ำจืด และมี น้ำจืดขังเป็นเวลานาน ประโยชน์ ผลสุกมีรสเปรีย้ ว กินแก้ทอ้ งผูก ส่วนผลทีย่ งั ไม่ สุกมีรสฝาด ตำค้นน้ำรับประทานขับพยาธิ ขับเสมหะ ตำเป็น ยาพอกแก้ปวด แก้บวม แก้เคล็ด ตำคั้นน้ำ หมักแล้วใช้ ทาแผลห้ามเลือด
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มีความสูง 6-15 ม. สีของ ต้นเป็นสีขาวอมน้ำตาลผิวของเปลือกแตกเป็นสะเก็ดเล็ก น้อย กิง่ แตกในระดับต่ำ ทรงพุม่ ของต้นเป็นรูปทรงกึง่ ทรง กลมมีรากหายใจ ตัง้ ตรงเหนือพืน้ ดิน รูปเรียวแหลมสีนำ้ ตาล ใบ เป็นใบเดีย่ วเรียงตรงข้าม รูปร่างของใบเป็นรูปไข่ ปลาย ใบมนกลมหรือเว้าเข้าเล็กน้อยส่วนฐานใบเรียวเข้าเป็น รูปเหลี่ยมแหลม ขนาดของใบ 3-7 x 4-11 ซม. สีของใบ เขียวเป็นมันเรียบขอบใบเรียบ ใบค่อนข้างหนา ก้านใบ สีเขียวอ่อนมองเห็นชัดเจนยาว 1-3 ซม. ดอก เป็นดอกเดี่ยวออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงติดกันที่ คนเป็นรูปถ้วยปลายแยกออกจากกันปลายเรียวแหลม หนาด้านนอกสีเขียวส่วนด้านในสีขาวอมชมพูมีจำนวน 6-10 แฉก กลีบดอกมีขนาดเล็กเรียวยาวสีแดงอมม่วง มีจำนวน 6-10 กลีบ มีเกสรตัวผู้ยาวจำนวนมากชูเป็นพู่ ยาวกว่ากลีบดอกยึดติดกับขอบโคนรอบของกลีบเลี้ยง ส่วนเกสรตัวเมียมีเพียงหนึ่งอันอยู่ตรงกลาง ออกดอก เดือนมิถนุ ายน - ธันมวาคม ผล เป็นผลเดี่ยว มีรูปทรงแบบลูกข่างขนาด 5-10 x 4-6 ซม. มีเกสรตัวเมียติดอยู่ด้านส่วนกลีบเลี้ยงแผ่บานออก และโค้งกลับ ที่อยู่อาศัย เป็นไม้ที่เจริญได้ดีส่วนหน้าของป่าชายเลน ทีม่ นี ำ้ ท่วมขังทุกวันในดินปนทรายหรือกรวด การใช้ประโยชน์ ผลสุก กินแก้ท้องผูก ผลที่ยังไม่สุก ตำคั้นน้ำรับประทานขับพยาธิ ขับเสมหะ ตำเป็นยาพอก แก้ปวด แก้บวม แก้เคล็ด ตำคั้นน้ำ หมัก แล้วใช้ทาแผล ห้ามเลือด
⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูง 5-20 ม. ลำต้นมักจะบิดคดงอ เปลือกต้นมีสี น้ำตาลถึงเทา ผิวของเปลือกไม่เรียบมักจะมีสะเก็ด ส่วนของ รากมีพพู อนเล็กน้อย ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับมีความหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปร่างของแผ่นใบเป็นรูปรี หรือเป็นรูปไข่ ขอบใบเกือบ ขนาน ขนาด 5-9 x 10-22 ซม. ปลายใบเป็นติง่ แหลมถึง ปลายใบมน ส่วนฐานใบมนเช่นกัน ก้านใบยาว 1-2 ซม. ผิว ใบเรียบเป็นมัน ส่วนท้องใบเป็นสีขาวอมเขียวขอบ ใบเรียบ ดอก เป็นดอกช่อแยกแขนง ความยาวของช่อ 10-20 ซม. เป็นดอกแยกเพศ ดอกมีขนาดเล็กรูประฆัง ดอกเพศผู้มี ขนาด 0.3-0.5 ซม. ดอกเพศเมียมีขนาด 0.3-0.7 ซม. สีดา้ น นอกเป็นสีน้ำตาลส่วนสีด้านในเป็นสีแดงถึงม่วง มีจำนวน กลีบ 4-6 กลีบ ออกดอกในเดือน กันยายน – ตุลาคม ผล เป็นผลเดีย่ วมีรปู ทรงรีขนาด 4-6 x 5-8 ซม. ผลอ่อน มีสีเขียวส่วนผลแก่มีสีน้ำตาล ผลมีผิวเรียบเป็นมันมีสันสูง ครึง่ ผล ผลหนึง่ มีเมล็ดเดียว ทีอ่ ยูอ่ าศัย มักพบในดินเลนค่อนข้างแข็งทีม่ ที รายปนใน บริเวณทีม่ นี ำ้ ขังไม่ตลอด ประโยชน์ ผลทำไม้ประดับแห้ง ไม้ใช้ทำเสา ด้ามเครือ่ ง มือและโครงสร้างของเฟอร์นิเจอร์
⌫
ลำต้น เป็นไม้พมุ่ มีความสูง 2-3 ม. มักขึน้ อยูร่ ว่ มกันเป็น กลุ่มหนาแน่น ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-5 ซม. ผิวของ เปลือกสีน้ำตาลมีหนามแหลมยาว 3-5 ซม. ตลอดถึง ปลายกิง่ กิง่ ก้านแตกออกน้อย ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกสลับ มีหนามแตกออกมาด้วยแต่ไม่ ทุกใบ ใบมีลกั ษณะขนานปลายใบกลมมน ผิวใบเรียบสีเขียว เข้ม เส้นกลางใบสีเหลืองมนมองเห็นได้ชัดเจนเมื่อนำใบ มาขยี่ดมดูจะมีกลิ่นคล้ายใบมะกรูดอ่อนๆ ฐานใบมน ก้าน ใบยาว 0.5 - 1 ซม. ขอบใบเรียบขนาดใบ 4-5 x 5-8 ซม. ดอก เป็นดอกช่อแบบกระจุก แตกออกทีง่ า่ มใบ หรือปลาย กิง่ จำนวนดอก 1-3 ดอก มีสขี าว จำนวนกลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานเต็มที่จะม้วนใปด้านหลัง กลีบดอกอยู่บนฐานรอง ดอกเป็นรูปถ้วย กลีบเกสรตัวผู้มีจำนวนมาก เป็นสีขาว เกสรตัวเมียมีเพียงก้านเดียวอยูต่ รงกลาง อับละอองเกสรสี เหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม ขนาดของดอกเมื่อบานมีเส้นผ่า ศูนย์กลาง 1-2 ซม. ออกดอกในเดือนสิงหาคม - กันยายน ผล เป็นผลเดีย่ ว รูปร่างคล้ายหัวใจแต่ยาวเรียวแหลมเป็น พูลกึ 3 พู ผิวของผลเรียบสีเขียวเป็นจุดขาว ๆ คล้ายต่อม น้ำมันสีขาวเล็กๆ ขนาดของผล 2.5-3 x 3-4 ซม. ออกดอก เดือนกันยายน - ตุลาคม ที่อยู่อาศัย พบในบริเวณที่มีน้ำทะเลท่วมถึงไม่ตลอด เวลาในพื ้ น ดิ น ที ่ ม ี ด ิ น เลนไม่ ห นามากนั ก หรื อ ดิ น เลนที ่ ค่อนข้างแข็ง ประโยชน์ ใบ ต้มน้ำดืม่ แก้ไอขับเสมหะ แก้ทอ้ งอืดขับลม ผล คัน้ เอาน้ำปรุงอาหาร กินเป็นยาแก้ระบาย แก้รอ้ นใน
⌫ ⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นมีความสูง 6-12 ม. ลำต้นมีสเี ทาอม น้ำตาล การแตกกิง่ จะแตกตัง้ แต่ระดับต่ำ มีทรงพุม่ ค่อนข้าง เป็นรูปกรวย ใบ เป็นใบเดีย่ ว ใบเรียงเวียนรอบกิง่ สีของใบเขียวไม่เข้ม มากนัก ส่วนหลังใบจะมีสเี ขียวอ่อนกว่า ใบมีรปู ร่างเป็นใบ หอก ใบโค้งด้านหลังเล็กน้อย ปลายใบแหลม ก้านใบสี เหลืองยาว 2-5 ซม. ขนาดของใบ 4-8 x 15-30 ซม. ขอบใบ เรียบ ดอก เป็นดอกช่อออกทีป่ ลายกิง่ ก้านช่อดอกยาว 13–20 ซม. ดอกมีสเี ขียวหรือขาวอมเขียวกลีบดอกมี 5 กลีบเชือ่ ม ติดกันเป็นหลอดปากแตร ยาว 1.5 – 2 ซม. มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลางกลีบดอกจะเป็นสีเหลืองอ่อนก้านดอกย่อย ยาว1-2 ซม. ผล เป็นผลเดีย่ ว มีลกั ษณะกลมรีเล็กน้อยขนาด 6 x 7 ซม. มีพูตื้นๆ ตามความยาวของผลทั้งสองด้านสีของผลเมื่อ อ่อนเป็นสีเขียวอ่อนเมื่อแก่เป็นสีเขียวออกเหลืองผิวเกลี้ยง เป็นมัน ออกดอก- ผลตลอดปี ที่อยู่อาศัย พบในบริเวณที่เป็นทรายหรือบริเวณที่น้ำ ทะเลท่วมถึง ดินค่อนข้างแข็ง ประโยชน์ ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ ยางสดผสมน้ำมันไม้ ยางนา ผสมและเคี ่ ย วให้ ส ุ ก เป็ น ยาแก้ แ ผลเน่ า เรื ้ อ รั ง ทุกส่วนของต้นเป็นพิษ
⌧
ลำต้น เป็นไม้เถา ลักษณะลำต้นเกลี้ยง มีสีเขียวอ่อนถึง สีม่วงแดง มียางสีขาวข้น มักขึ้นพันต้นไม้อื่นเพื่อรับแสง แดด ถ้าหากไม่มตี น้ ไม้อน่ื จะสูงขึน้ มาประมาณ 1-2 ม. แล้ว เลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน ใบ เป็นใบเดี่ยว การเรียงตัวของใบตรงข้ามสลับเป็นมุม ฉาก สีเขียวเข้ม ด้านท้องใบมีสีอ่อนกว่า แผ่นใบมีรูปร่าง เป็นรูปไข่ อวบหนา ขนาด 3.5-8 x 7-15 ซม. ปลายใบแหลม เป็นติง่ ส่วนฐานของใบสอบเข้า ขอบใบเรียบก้านใบสีเขียว เหลืองอ่อนๆ ยาว 2.5-5 ซม. ดอก เป็นดอกช่อ แตกแขนงแบบสองหรือสามง่าม แขนง ช่อดอกและก้านดอกอวบ มีสีเขียวอมม่วง แตกออกตาม ซอกใบ ดอกมีขนาดเล็กมีสีม่วงอมชมพู เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม. มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีเกสรเพศผู้ 5 อันล้อม รอบเกสรตัวเมียซึง่ มี 2 อัน ก้านเชือ่ มติดกัน มีขนาดใหญ่ กว่าเกสรตัวผู้ ผล เป็นฝักขนาดใหญ่ รูปไข่ ปลายฝักแหลมและโค้งลง ส่วนที่ติดกับก้านมีขนาดโตและติดกันเป็นคู่ เป็นสันตาม ยาวของผลเป็น สีของผลมีสเี ขียวเป็นสีเดียวกับใบ เมือ่ แก่ มีสีเขียวอ่อนอมน้ำตาล แตกออกด้านเดียวเมล็ดเป็นรูปไข่ มีขนเป็นพู่ สีขาวทีป่ ลาย อาศัยลมพัดพาไป ออกดอกและผล ในเดือนตุลาคม-เดือนเมษายน ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบได้ในป่าชายเลนบริเวณชายฝัง่ สามารถขึน้ ได้ทกุ สภาพของดินเลน ประโยชน์ ใช้เป็นไม้ประดับ
⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็กมีความสูง 4-10 ม. ลำต้น สีเทา เปลือกแตกเป็นร่องเล็กไม่ลึก เรือนยอดแผ่กว้าง กิง่ แตกในระดับต่ำ ใบ เป็นใบประกอบ ใบย่อยแตกแบบขนนก ส่วนปลายใบ ประกอบมีใบหนึ่งใบ ใบย่อยที่แตกออกมีชั้นเดียว ก้านใบ ประกอบมีความยาว 10-30 ซม. จำนวนใบย่อยมี 2-4 คู่ ขนาด ของใบย่อยไม่เท่ากัน รูปร่างของใบย่อยเป็นรูปหอก ที่มี ส่วนของปลายใบแหลมเรียว ขนาดของใบ 2.5-7 x 7-16 ซม. ส่วนฐานใบเว้าเล็กน้อย ผิวใบเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ใบอ่อนออกใหม่สเี ขียวอมแดง เมือ่ แก่เป็นสีเขียว ดอก เป็นดอกช่อแบบลดหลั่น ช่อดอกสั้นในช่อดอกมี จำนวนดอกน้อย 3-7 ดอก ก้านช่อดอกยาว 1.5-4 ซม. ลักษณะของดอกเป็นกล้วยปากแตรสีขาว ปลายกลีบดอก เป็นหยัก ดอกมีความ ยาว 12-17 ซม. ความกว้างของดอก 7-10 ซม. เกสรตัวผูม้ ี 4 อันยาวไม่เท่ากัน ออกดอกตลอดปี ผล เป็นผลเดีย่ วยาวค่อนข้างแบน มีขนาดประมาณ 3-5 x 20-30 ซม. เมื่ออ่อนมีสีเขียวอมม่วง เมื่อแก่เป็นสีน้ำตาล อมดำ แตกออกเป็นสองซีก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ที่อยู่อาศัย ขึ้นในบริเวณที่น้ำท่วมถึงเป็นครั้งคราว ดิน มีทราย หรือดินปนทรายเล็กน้อยและค่อนข้างแข็ง ประโยชน์ ใบทำยาพอกแผล บ้วนปาก เปลือกแก้ทอ้ งอืด ท้องเฟ้อ ใช้กับสตรีหลังคลอดบุตร เมล็ดแก้ปวดประสาท แก้โรคชัก รากขับเสมหะ บำรุงโลหิต
⌫
ลำต้น ไม้ตน้ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ มีความสูง 10-18 ม. ลำต้นเป็นสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลขาว ผิวแตกตามความยาว ของลำต้นไม่ลึกมากร่วงหล่นได้บ้าง ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกสลับมีรูปร่างแบบไข่กลับ ปลายใบ แหลมเล็กน้อย ส่วนฐานใบเรียว ก้านใบยาว 3-5 ซม. ก้านใบสีเหลืองเขียว เส้นใบแยกขนาน สีผิวเขียว ขอบใบ เรียบผิวใบเรียบเมื่อใบแก่เปลี่ยนเป็นสีแดง ดอก เป็นดอกช่อ ชนิดลดลั่น ก้านดอกช่อมีความยาว 5-10 ซม. ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเขียวอมเหลือง มีเส้นผ่า ศูนย์กลาง 0.4-0.5 ซม. ผล เป็นผลเดี่ยวมีปีกออกทั้งสองข้างเล็กน้อย รูปร่างเป็น รูปกลมรีปลายผลแหลมเล็กน้อย ส่วนขั้วของผลติดกับ ก้านดอกแต่ปลายขั้วป้านเล็กน้อย ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบได้ในบริเวณทีอ่ ยูด่ า้ นหลังของป่าชายเลน หรือบริเวณที่เป็นดินทราย ประโยชน์ ใช้ไม้ทำเฟอร์นิเจอร์ผลเป็นอาหารของนก และสัตว์
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง สูง 8-15 ม. ลำต้นเรียบ สีน้ำตาล เมื่อแก่เป็นสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ กิ่งแตกตั้งแต่ ระดับต่ำ ลำต้นส่วนมากไม่ตรง ลักษณะทรงพุม่ กึง่ วงรี ใบ แน่นทึบ ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกเวียนรอบกิ่งกระจุกกันแน่นที่ปลาย กิ่งรูปร่างของแผ่นใบเป็นรูปไข่ปลายใบโค้งมนหรือแหลม เล็กน้อย ส่วนฐานใบเป็นรูปลิม่ ขนาดของใบ 10-25 x 2540 ซม. ผิวใบสีเขียวเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ก้านใบ มีความยาว 2-3 ซม.สีเขียวเหลืองมอง เห็นเส้นกลางใบ ได้ชดั เจน ดอก เป็นดอกช่อแบบกระจะทีป่ ลายกิง่ ช่อดอกมีความยาว 8-20 ซม. ก้านดอกยาว 7-12 ซม. มีกลีบเลีย้ ง 2-3 กลีบ กลีบดอกสีขาวอมชมพูออ่ น เกสรตัวผูเ้ ป็นจำนวนมากสีขาว ปลายสีชมพูมว่ ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 7-10 ซม. ผล เป็นผลเดีย่ วรูปร่างทรงปิระมิดมี 4 พู เห็นเป็นเหลีย่ ม ชัดเจนปลายของผลจะมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวเมียติด อยูด่ ว้ ย ขนาดของผลมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม. เป็นผล แห้งเต็มไปด้วยใยสามารถลอยน้ำได้ดผี วิ นอกเป็นมันคล้าย มีไขมันห่อหุม้ ที่อยู่อาศัย มักจะพบได้ตามชายทะเลที่เป็นดินทราย หรือป่าชายเลนส่วนนอก ประโยชน์ เปลือกและเนื้อของผลใช้เบื่อปลา เป็นยา เสพติดและช่วยให้นอนหลับ ผล เปลือก ใบ บรรเทาอาการ ปวดศีรษะ เมล็ดขับพยาธิ
ลำต้น เป็นไม้เลื้อยเป็นเถาที่สามารถพันเกี่ยวกับต้นไม้ ชนิดอื่น หรืออาจจะเลื้อยไปตามพื้นดิน สีของเปลือก น้ำตาลถึงเทาดำ มีปมุ่ เล็กๆ สีขาวทัว่ ไป ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ที่ปลายของใบประกอบ มีใบหนึง่ ใบ ก้านใบประกอบยาว 10-15 ซม. ใบประกอบมี 1-2 คู่ ใบย่อยมีก้านใบสั้น ผิวของใบเรียบเป็นมัน สีของ ใบเขียว ส่วนท้องใบสีเขียวอ่อนกว่า ขอบใบเรียบ รูปร่างของ ใบเป็นรูปรี ปลายใบแหลม ฐานใบโค้งมน ขนาดของใบ 3-6 x 4-10 ซม. ดอก เป็นดอกช่อแตกออกตามง่ามใบ ช่อดอกยาว 5-15 ซม. รูปร่างของดอกคล้ายดอกถัว่ เป็นสีขาว มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม. ออกดอกในเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ผล เป็นผลเดีย่ ว มีรปู ร่างแบบขอบขนาน ปลายผลแหลม ส่วนด้านที่ติดกับขั้วเว้าเข้าทั้งสองข้างไม่เท่ากัน สีของผล เขียวอ่อนผิวเรียบ ที ่ อ ยู ่ อ าศั ย เป็ น บริ เ วณกลางป่ า หรื อ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น ้ ำ ลำคลองที่ดินเลนค่อนข้างแข็งมีน้ำท่วมถึง ประโยชน์ รากและใบนำมารับประทานเป็นยาระบาย แก้พษิ ตานทราง ถ่ายเสมหะ
⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก ขนาดกลาง ความสูงของ ลำต้น 5-15 ม. ลักษณะเรือนยอดกว้าง ลำต้นมักคดงอ แตก กิ่งก้านตั้งแต่ระดับต่ำและแตกกิ่งก้านมาก สีของเปลือก สีนำ้ ตาลอมเขียวเปลือกมีผวิ เรียบและอาจจะแตกเป็นสะเก็ด บ้างเล็กน้อย ใบ เป็นใบประกอบชั้นเดียว การเรียงตัวของใบย่อยแตก ตรงกันข้าม มีใบย่อยทีป่ ลายก้านใบ จำนวนใบย่อย 5-7 ใบ ก้านใบประกอบยาว 10-15 ซม. ก้านใบย่อยมีความยาว 1-2 ซม. สีของใบเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบเรียบ ขอบใบเรียบ ขนาดของใบ 3-10 x 5-15 ซม. ดอก เป็นดอกช่อแตกตามง่ามใบ แบบช่อกระจะ ความยาว ของช่อดอก 10-20 ซม. มีดอกย่อยจำนวนมาก สีของดอก ม่วงขาว คล้ายดอกถั่ว วงกลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วยสีเขียว ไม่มกี า้ นดอกย่อย ผล เป็นผลเดี่ยวรูปร่างค่อนข้างแบน เมื่ออ่อนมีลักษณะ แบน ปลายผลแหลมเป็นรูปวงรีทไ่ี ม่สมมาตร ขนาดของผล 2.5- 5 x 5-7.5 ซม. ผิวเกลีย้ งมีสเี ขียวออกเหลืองเล็กน้อย ที่อยู่อาศัย ตามฝั่งแม่น้ำลำคลอง หรือบริเวณที่ดินเลน ปนทราย ประโยชน์ เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องดนตรี เครื่องมือประมง พื้นบ้าน
⌫
ลำต้น เป็นไม้เถาเลือ้ ย ความยาวของลำต้น 4-6 ม. แล้วแต่ ไม้ที่อยู่ใกล้เคียง กิ่ง ลำต้น แม้แต่ใบก็มีหนามโค้งงอมี ความหนาแน่นมาก ขนาดของลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4-7 ซม. เป็นเนือ้ ไม้แข็งหักได้ แต่มเี ปลือกค่อนข้างเหนียว เมื่อต้นยังอ่อน ใบ เป็นใบประกอบสองชั้น ใบเรียงสลับรอบลำต้น ส่วน ของก้านใบประกอบมีความยาว 10-25 ซม. ก้านแขนงแตก ตรงข้าม จำนวน 2-4 คู่ มีความยาว 5-10 ซม. แต่ละก้านใบ แขนงมี ใ บย่ อ ย 2-4 คู ่ ใบย่ อ ยมี ล ั ก ษณะรี เ กื อ บกลม ขอบใบขนาน ปลายใบมนกลมถึงแหลม ส่วนฐานใบกลม มนถึงแหลม ขนาด 1-3 x 2-6 ซม. ผิวของใบเกลีย้ งเป็นมัน ขอบใบเรียบ สีเขียวอมเหลืองนิดๆ ดอก เป็นดอกช่อตามลำดับ แตกที่ง่ามกิ่งหรือปลายยอด ของกิง่ ช่อยาว 10-20 ซม. ดอกมีสเี หลือง ดอกย่อยมีขนาด 1.5-2.5 ซม. ก้านดอกยาว 2-3 ซม. ออกดอกในช่วงเดือน มิถุนายน-เดือนสิงหาคม ผล เป็นผลเดีย่ วลักษณะแบน เป็นสีเ่ หลีย่ มคางหมู มีขนาด 2.5-3 x 4-7 ซม. สีเขียว ผิวเรียบ เมือ่ แก่เปลีย่ นเป็นสีนำ้ ตาล ที่อยู่อาศัย ขึ้นตามที่ดินเลนแข็งหรืออยู่ริมป่าชายเลน ในบริเวณที่โล่ง ประโยชน์ ปลูกเป็นรัว้ บ้าน
⌧ ⌫ ⌫
ลำต้น ไม้เลือ้ ยกึง่ พุม่ มีความยาว 5-10 ม. ลำต้นมีหนาม หนาแน่น สามารถเกาะพันต้นไม้ชนิดอื่นได้โดยใช้หนาม เป็นตัวเกี่ยวพัน เมื่อไม่มีต้นไม้ชนิดอื่นจะเกี่ยวพันกันเอง ขนาดของลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5 ซม. ใบ เป็นใบประกอบสองชัน้ ใบแตกออกตรงข้าม ก้านใบมี หนามโค้งงอ ก้านใบประกอบหลักมีสีเขียวอมเหลืองยาว 30-60 ซม. ตั ว ใบมี ส ี เ ขี ย วเข้ ม เป็ น รู ป ไข่ ปลายใบ มน ผิวใบเรียบ ขอบใบเรียบ ดอก เป็นดอกช่อชนิดลำดับ แตกออกที่ปลายกิ่งหรือ ง่ามใบ ในช่อดอกหนึง่ มีดอกจำนวนมาก ดอกเป็นสีเหลือง มีฐานรองดอกเป็นรูปกรวยสีเขียว ก้านดอกย่อยยาว 1-2 ซม. ส่วนก้านช่อดอกยาว 15-30 ซม. ผล เป็นผลเดี่ยวรูปร่างแบนเป็นรูปรี ไม่สมมาตรผิวของ ผลมีหนามลักษณะตรงเต็มหนาแน่น สีผิวเขียวอมเหลือง เมื ่ อ ผลแก่ จ ั ด เป็ น สี น ้ ำ ตาล เมล็ ด เมื ่ อ แก่ เ ป็ น สี ข าวเทา เป็นมันมีความแข็ง ผลหนึง่ มีหลายเมล็ด ที่อยู่อาศัย พบได้ในป่าชายเลนส่วนนอกที่มีพื้นดินปน ทรายหรือดินทราย ประโยชน์ ยอดนำมาตำให้ละเอียดกรองเอาน้ำกินแก้ ไข้ และ ถ่ายพยาธิ รากใช้ดองกับเหล้าขาวใช้ดม่ื แก้พยาธิ
⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มีความสูง 5-15 ม. ทรง พุม่ ครึง่ วงกลม แตกกิง่ ก้านมาก ถ้าอยูเ่ ดีย่ วๆ กิง่ จะแตกครอบ คลุมถึงพื้นแต่เมื่ออยู่รวมกับต้นไม้อื่นการแตกกิ่งน้อย ทำให้มรี ปู ทรงสูง สีของเปลือกเทาแก่ออกน้ำตาลมีจดุ สีเข้ม กระจายอยูท่ ว่ั ไป เปลือกสามารถลอกออกมาได้งา่ ย และมี ความเหนียวคล้ายเชือก ใบ เป็นใบเดีย่ วเรียงสลับ รูปร่างของใบทรงรูปหัวใจ ก้าน ใบยาว 10-15 ซม. ก้านใบกลมออกสีมว่ ง แผ่นใบกว้างปลาย ใบแหลม ผิวใบสากเล็กน้อย ขอบใบหยักเล็กน้อย เส้นใบแยก ออกจากก้านใบ ขนาดของใบ 10-15 x 15-20 ซม. มีหใู บสี เขียวอมแดงขนาดใหญ่ ดอก เป็นดอกช่อกระจุกทีป่ ลายกิง่ ก้านดอกยาว 5-7 ซม. กลีบดอกเรียงซ้อนกันเป็นรูประฆังมี 5 กลีบ ตอนบาน ใหม่ๆ จะเป็นสีเหลืองแล้วค่อยเปลี่ยนเป็นสีแดงก่อนที่จะ ร่วงหล่นไป ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-10 ซม. ความยาวของ กลีบดอก 5-8 ซม. ผล เป็นผลเดี่ยว รูปกลมปลายแหลม สีเขียวอ่อนและจะ เปลีย่ นเป็นสีนำ้ ตาลเมือ่ แก่ และแตกออกเป็น 5 พู มีเมล็ด จำนวนมาก ผิวเรียบมีขนขึน้ ปกคลุมเล็กน้อย ออกดอกและ ผลเกือบตลอดปี ที่อยู่อาศัย พบในดินเลนที่แข็งหรือดินปนทรายจะมีน้ำ ท่วมถึงหรือไม่กไ็ ด้ ประโยชน์ ใบ บดเป็นผงใส่แผลสด แผลเรือ้ รัง เปลือกทำ ให้อาเจียน แช่น้ำดื่มแก้โรคทางเดินอาหาร ราก แก้ไข้ขับ ปัสสาวะ ระบายท้อง เปลือกใช้ทำเชือก ใบเป็นอาหารของ วัวควาย
⌧ ⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็กมีความสูง 8-12 ม.ลำต้นมัก ไม่ตรง แตกกิง่ ตัง้ แต่ระดับต่ำ ทรงพุม่ เรือนยอดกว้าง ใบหนา แน่น เปลือกมีสเี ทาอมเขียว มีปมุ่ เล็กๆ ออกสีนำ้ ตาลขาว ใบ เป็นใบเดีย่ ว เรียงสลับ รูปร่างของใบเป็นรูปหัวใจ สีเขียว เข้ม ผิวใบด้านหน้าเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบเว้าลึก ขนาดของใบ 5-10 x 8-15 ซม. ก้านใบยาว 6-10 ซม. เส้นใบสีเขียวอมเหลืองแยกออก ทีฐ่ านใบ ดอก เป็นดอกเดีย่ ว ใบ กลีบเลีย้ งเป็นรูปถ้วยสีนำ้ ตาลเขียว ดอกตูมกลมเป็นรูปกรวยปลายแหลม บานจะเป็นรูประฆัง ในตอนเช้าเป็นสีเหลืองนวลตอนเย็นจะเปลี่ยนเป็นสีแดง อมส้มก่อนที่จะร่วงหล่นในวันต่อมา โคนกลีบดอกเป็นจุดสี แดง กลางดอกมีหลอดเกสรตัวผู้หุ้มเกสรตัวเมีย อับเรณู สีเหลืองก้านดอกมีความยาว 3-5 ซม. สีนำ้ ตาลอมเขียว ก้าน ดอกตั้งตรงชูดอก เส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 8-12 ซม. ออกดอกในเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ผล เป็นผลเดีย่ วค่อนข้างกลม ปลายของผลมนกลม ผลอาจ มีพูนูนขึ้นมาเล็กน้อย ขนาดของผลมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 ซม. สีเขียวมีผิวเรียบเมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม ออกดำ เป็นผลแห้งไม่แตก ทีข่ ว้ั ของผลมีใบเลีย้ งหุม้ ไว้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบในบริเวณด้านนอกของป่าชายเลน เป็นดิน ร่วนปนทรายหรือดินป่าชายเลนที่แข็ง ประโยชน์ ใช้ทำเครือ่ งเรือน ด้ามเครือ่ งมือ เครือ่ งดนตรี เปลือกทำเชือกและสายเบ็ด ใบบดใส่แผลสดหรือ แผลเรือ้ รัง เปลือกมีรสฝาด ทำให้อาเจียน แช่น้ำดื่มแก้โรคทางเดิน อาหาร รากแก้ไข้ เมล็ด ใช้แก้ปวดศรีษะข้างเดียว
⌧ ⌧ ⌫
ลำต้น ไม้ยนื ต้นพวกปาส์ม ความสูง 4-10 ม. ผิวของลำต้น ขรุขระมีร่องรอยของใบ สีของต้นน้ำตาลหรือสีเทา ขนาด ของลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-10 ซม. อยูเ่ ป็นกอแตกออก ที่โคนต้น ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียวก้านใบย่อยไม่มี มีเส้นกลางใบแข็ง โคนก้านใบเป็นกาบหุ้มลำต้น มีหนาม เป็นจำนวนมาก ก้านใบประกอบมีความยาว 60-120 ซม. มีหนาม ส่วนใบย่อยมีขนาด 4-5 x 40-50 ซม. เป็นรูป ขนานปลายใบแหลมยาวเรียว ใบพับเข้า ขอบใบเรียบ มีสี เขียวอมเหลือง โคนใบเป็นกาบห่อหุม้ ยอดอ่อนของลำต้น ใบอ่อนจะออกจากตรงกลางของยอด ดอก เป็นดอกช่อแยกเพศต่างต้น ช่อดอกขนาดใหญ่ออก ที่ง่ามใบ ตอนออกมาใหม่จะมีกาบขนาดใหญ่หุ้มไว้เมื่อ แตกออกกาบจะร่ ว งไป ก้ า นช่ อ ดอกยาว 40-60 ซม. ประกอบด้วยดอกย่อยเป็นจำนวนมาก เรียงเป็นช่วงเชิงลด ผล เป็นผลเดี่ยว เป็นรูปไข่มีขนาด 0.8-1 x 1-1.5 ซม. เป็นผลสดเนื้อด้านนอกอ่อนนุ่มเมื่อสุกมีสีส้ม ขณะอ่อน มีสเี ขียว มีเมล็ดเพียงเมล็ดเดียว ผิวของผลเรียบเป็นมัน ที่อยู่อาศัย พบในบริเวณดินป่าชายเลนที่แข็งมักเป็นที่ โล่งหรือป่าชายเลนส่วนนอก ประโยชน์ ส่วนยอดนำมาประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่นแกงส้ม ต้มกะทิ ลำต้นมาทำเสาในบริเวณที่น้ำเค็ม ท่วมถึง
ลำต้น เป็นพวกปรง ลำต้นสูง 3-7 ม. ผิวลำต้นหยาบ ทีเ่ กิด จากรอยทีใ่ บหลุดไป บางทีแตกเป็นง่าม มักแตกหน่อ ตาม โคนต้น ต้นมีสนี ำ้ ตาลแก่ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ความยาวของ ก้านใบประกอบ 1-2 ม. แตกรอบต้นกระจุกอยูท่ ย่ี อดใบย่อย ยาว 15-30 ซม. เป็นสีเขียวเป็นมัน แข็ง เป็นรูปทรงแบบ ขนาน ใบย่อยมีความกว้าง 1.2 -2 ซม. ปลายใบแหลม เส้น กลางใบเป็นร่องตื่นๆ ทางด้านบน โคนก้านใบประกอบ มีขนาดใหญ่ มีหนาม ดอก เป็นดอกช่อ มีสองเพศแยกต้น ดอกตัวผูม้ ดี อกย่อย อัดกันหนาแน่นเป็นรูปไข่ ปลายมน มีขนาด 20 x 40 ซม. สีสม้ นวล มีกลิน่ ฉุน ดอกตัวเมีย มีกา้ นยาว 20-25 ซม. มีดอก เกาะอยูส่ องข้าง 3-4 คู่ ก้านดอก มีขนสัน่ ๆ สีนำ้ ตาลแดง ผล เป็นผลเดีย่ วเป็นรูปไข่ ขนาด 4-5 x 5-6 ซม. เมือ่ อ่อนมี สีเขียวเป็นมันเมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีส้มน้ำตาล ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบส่วนนอกของป่าชายเลนทีม่ ที รายปน หรือ ริมหาดชายทะเล ประโยชน์ ลำต้นให้แป้งสาคูใช้เป็นอาหาร เมล็ดดิบเป็นพิษ สุกรับประทานได้ ใบใช้ทำพวงรีด
ลำต้น เป็นพืชพวกเฟิน ลำต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดิน สีของ เหง้าน้ำตาลเข้ม ส่วนทีโ่ ผล่ขน้ึ มาเหนือพืน้ ดินเป็นส่วนของ ใบ และอาจจะมีสว่ นของเหง้าโผล่ขน้ึ มาบ้างเล็กน้อย ความ ยาวของเหง้า อาจยาวเป็นเมตรแต่จะแตกออกเป็นกอ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ก้านประกอบแข็งและมี ความยาว 30-50 ซม. สีเขียวอมน้ำตาล เมือ่ แก่จะเปลีย่ น เป็นสีนำ้ ตาลเข้ม ใบประกอบไม่รว่ งจากก้านใบ ส่วนใบย่อย มีรูปร่างขนานปลายใบแหลม เมื่ออ่อนเป็นสีเขียวออก แดง เมื่อแก่เป็นสีเขียว ผิวใบเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยมีขนาด 3-4 x 20-30 ซม. ดอก ไม่มี ผล ไม่มี การขยายพันธุใ์ ช้สปอร์ การสร้างสปอร์ จะเกิดขึน้ ที่หลังใบสำหรับใบสร้างสปอร์โดยเฉพาะ อับสปอร์เป็น สีน้ำตาลเต็มหลังใบส่วนสีของใบจะมีน้ำตาลเข้มขึ้นกว่าใบ ธรรมดา ที่อยู่อาศัย สามารถพบได้ในพื้นที่ๆ มีน้ำทะเลท่วมถึง และในบริเวณที่ดินเลนค่อนข้างแข็งในบริเวณที่มีต้นไม้ ชนิดอื่นน้อย หรือบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงใต้ต้นไม้ที่ ร่มเงาใบไม่หนาแน่นมากนัก ประโยชน์ ไม้ประดับเพือ่ ความสวยงาม จัดตกแต่งสถาน ทีใ่ นพิธตี า่ งๆ หรือแจกันดอกไม้
ลำต้น เป็นไม้พมุ่ ความสูง 2-4 ม. ลำต้นสีนำ้ ตาล ผิวเรียบ เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มรูปกรวยฐานกว้าง มักขึ้นติดกัน หนาแน่น ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกเวียน แผ่นใบเป็นรูปหอก ปลายใบ แหลม ฐานใบมนถึงเป็นรูปเหลี่ยม ขอบใบเรียบ ขนาด 3-6 x 10 -21 ซม. ผิวใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ส่วนหลัง ใบสีเขียวนวล ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. เส้นกลางใบสีเหลือง อมเขียวมองเห็นได้ชดั เจน ดอก เป็นดอกช่อแบบแขนง แตกออกตามง่ามใบ ดอกมี ขนาดเล็ก วงกลีบคล้ายระฆัง สีขาว มีกลีบ 5 กลีบ มีเกสร ตัวผูจ้ ำนวนมากมีความยาวมากกว่ากลีบดอก ผล เป็นผลเดีย่ วขนาด 1-1.5 x 1.5-2 ซม. ขัว้ ผลแหลมบาน ออกไปทางปลายผล คล้ายสามเหลี่ยม สีของผลเหลือง อมเขียว ผิวขรุขระ เมือ่ แก่เป็นสีนำ้ ตาลผลแห้งแตก ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบได้ในบริเวณทีน่ ำ้ ทะเลท่วมถึงหรือริมคลอง ทีม่ นี ำ้ จืดไหลผ่าน ดินเลนค่อนข้างแข็ง ประโยชน์ ไม้ใช้ทำเครือ่ งมือประมง เช่นไซดักปู
⌧
ลำต้น เป็นไม้ยนื ต้นมีความสูงถึง 18 ม. ไม่ผลัดใบ เปลือก มีสีน้ำตาลออกชมพู เปลือกหลุดร่อนออกเป็นแผ่น มีราก หายใจปลายทู่ขนาดใหญ่อยู่รอบโคนต้น แผ่ออกไปเป็น บริเวณกว้างตามขนาดของลำต้น ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ประกอบด้วยใบ ย่อย 4-6 คู่ และมีใบย่อยที่ปลายก้านอีกหนึ่งใบ ใบย่อยมี รูปร่างเป็นรูปขนานปลายใบมนกลมส่วนฐานใบมนเช่น เดียวกัน สีเขียวขนาด 3-6 x 8-17 ซม. ผิวใบเรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ก้านใบประกอบยาว 20-35 ซม.สีเหลืองเขียว ดอก เป็นดอกช่อ แยกเพศ ดอกตัวผูเ้ ป็นช่อห้อยลง ขนาด ของดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3-0.4 ซม. มีสเี หลือง ดอกเพศ เมียมีวงกลีบเลีย้ ง 3 แฉก มีกลีบดอก 3 กลีบ ออกดอกเดือน กุมภาพันธ์ – เดือนเมษายน ผล เป็นผลเดี่ยวมีสีเหลืองอมเขียวเมื่อแก่จะเป็นสีเหลือง ผิวเรียบนวล ค่อนข้างกลม มีพูสามพู มีขนาดเส้นผ่าศูนย์ กลาง 5-7 ซม. เมื่อสุกแตกออกด้านเดียวตามพูทั้งสาม เมล็ดมีเนือ้ สีแดงหุม้ ที่อยู่อาศัย ด้านในของป่าชายเลน ที่มีน้ำทะเลท่วมถึง โดยมีน้ำจืดผสมเป็นน้ำกร่อยริมคลองที่มีน้ำจืดและน้ำ ทะเลท่วมถึงบางเวลา ประโยชน์ ไม้สามารถทำเครือ่ งเรือน
⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ความสูง 5-12 ม. สีของ ต้นสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลม หนาม บริเวณโคนต้นยังแตกออกเป็นหนามย่อยอีกด้วย เนื้อ ไม้เป็นสีขาว ลำต้นมักไม่กลมจะแยกเป็นพู กิง่ ก้านจะแตก ประสานกันหนาแน่น ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปไข่ ปลายใบเรียวเล็กน้อยแต่ไม่แหลม โคนใบสอบเข้า สีของใบเขียว ผิวเป็นมัน ขอบใบหยักเล็ก น้อย ใบมีกลิน่ เหมือนมะนาว ขนาดของใบ 5-7 x 6-10 ซม. ก้านใบสัน้ 2-3 ซม. ผล เป็นผลเดี่ยว รูปไข่ปลายของผลมีปุ่มออกมาเล็กน้อย ผิวของผลขรุขระเล็กน้อย มีสีเขียวอมเหลืองที่ผิว มีต่อม น้ำมัน ขนาดของผลมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4-6 ซม. ที่อยู่อาศัย ดินป่าชายเลนที่แข็งเกือบเป็นดินดอนหรือ เป็นที่ปนทรายหรือดินทรายริมทะเล ประโยชน์ ไม้นิยมใช้ทำเครื่องมือต่างๆ เช่นด้ามขวาน ด้ามมีดพร้า
ลำต้น หมันเป็นไม้ต้น สูง 5-15 ม. เปลือกต้นสีน้ำตาล เทาคล้ำ ใบ เป็นใบเดีย่ ว เรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ กว้างประมาณ 7 ซม. ยาว 15 ซม. ปลายทู่ โคนกว้าง ใบสีเขียว มักเป็นโรค มีปมุ่ เกิดตามใบ ดอก สีขาว ออกดอกตลอดปี ผล แก่เปลือกสีชมพู มีของเหลวภายในเหนียวมากห่อหุม้ เมล็ด การขยายพันธุ์ โดยเมล็ด ที่อยู่อาศัย พบมากในป่าชายเลนที่ดินค่อนข้างแข็ง ฝั่งทะเลอ่าวไทย การใช้ประโยชน์ เปลือกใช้ทำบ่อ ใช้ทำหมันตอกยาแนว เรือ ของเหลวในผลทีห่ อ่ หุม้ เมล็ดเหนียวมากใช้ทำกาว
⌫ ⌫
ลำต้น หว้าเป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 10 - 25 ม. ลำต้นค่อนข้างเปลาตรง เปลือกนอกค่อนข้าง เรียบ สีเทาอ่อนปนน้ำตาล เปลือกใน สีชมพูเรือ่ ๆ เรือนยอด เป็นพุม่ กลม แตกกิง่ ต่ำ ปลายกิง่ มักห้อยลูล่ ง กิง่ อ่อนเกลีย้ ง ใบ ใบเดีย่ ว ออกตรงข้าม แผ่นใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 5 - 9 ซม. ยาว 9 - 15 ซม. ปลายแหลม โคนมน ผิวใบเป็นมันมี ต่อมน้ำมันกระจายอยูท่ ว่ั ไป ใบอ่อน สีแดงเรือ่ ๆ ใบแก่ เขียว เข้ม เนื้อใบหนา เกลี้ยงเป็นมัน เส้นแขนงใบละเอียดและ เรียวขนานกัน ปลายเส้นจะเชือ่ มต่อกันเกิด เป็นเส้นขอบใบ ดอก ดอกออกบริเวณกิ่งใหญ่ วงกลีบรวมเป็นรูปถ้วย โดยจะมีเยื่อบางๆ หุ้มดอกตูมอยู่เมื่อดอกเจริญเต็มที่เยื่อ บางๆ จะหลุดไป ตรงกลางของกลีบดอกเว้าลึกลงไปซึ่ง ต่อไปจะเจริญเป็นผลเมื่อบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. เกสรผูจ้ ำนวนมาก ไม่เท่ากัน ดอก สีขาวกลิน่ หอม อ่อนๆ เกสรตัวเมียมี 1 อัน ผังอยูต่ รงกลางของกลีบ รองกลีบ ดอก ผล ผลสด รูปไข่ ผิวอ่อนนุม่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8 ซม. ยาว 1.5 - 3 ซม. รูปร่างผลรีหรือขอบขนาน ผลแก่สีแดง จนถึงม่วงแดง เนือ้ มีรสเปรีย้ วอมหวานฝาด ๆ เมล็ดมี 1 เมล็ด รูปกระสวย ที่อยู่อาศัย พบขึ้นตามป่าทั่วไป ชอบขึ้นตามตามริมน้ำ ขึน้ ได้ดใี นดินทุกชนิด และอากาศค่อนข้างชืน้ การใช้ประโยชน์ ใบ แก้บดิ มูกเลือด ต้มชะล้างบาดแผล และตำทาแก้โรคผิวหนัง เมล็ด ต้มหรือบดรับประทาน แก้โรคเบาหวาน แก้บิด ท้องร่วง เปลือกต้น แก้ท้องร่วง แก้นำ้ ลายเหนียว ต้มชะล้างบาดแผล ผลสุกรับประทานได้
⌫
ลำต้น เป็นไม้เลื้อย มีลักษณะคล้ายหวายแต่กาบใบไม่ มีหนามเหมือนหวายขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.3-1 ซม. ลำต้นสีเหลืองอมน้ำตาลคล้ายสีของหวายลำต้น อ่อนมีกาบใบหุม้ ไว้ ผิวเรียบเป็นมัน ลำต้นเป็น ปล้องเห็น ได้จดั เจน ใบ เป็นใบเดีย่ ว มีลกั ษณะคล้ายกับใบของหญ้า มีกาบใบหุม้ ลำต้นไว้จนกระทัง่ ลำต้นแก่แล้วจึงหลุดออกจากต้น ลักษณะ ของใบ โคนใบเป็นกาบห่อหุม้ ลำต้น ใบกว้างเรียว ไปสูป่ ลาย ใบ ปลายส่วนที่เรียวใช้สำหรับยืดเกาะกับต้นไม้ชนิดอื่น เพือ่ พยุงให้ลำต้นสูงขึน้ สีของใบเขียวเข้ม ใบเรียง สลับใน สองระนาบมีความหนาแน่นที่ปลายยอดของกิ่งหรือลำต้น ดอก เป็นดอกช่อแตกออกที่ปลายกิ่ง ลักษณะของดอก ย่อยเป็นกระจุก ก้านดอกย่อยสัน้ ยาวประมาณ 0.5-1 ซม. ดอกมีขนาดเล็กสีเขียวอมเหลือง ในช่อดอกหนึ่งประกอบ ด้วยดอกย่อยจำนวนมาก ผล เป็นผลเดีย่ วมีลกั ษณะกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 -1 ซม. แต่ละผลมีเมล็ดเดียว สีของผลเมื่ออ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่ เป็ น สี ช มพู แ ดง เปลื อ กของผลเป็ น เกล็ ด เช่ น เดี ย วกั บ ลูกหวาย การเรียงของเกล็ดจะเรียงเป็นระเบียบจากขั้ว ของผลไปยังส่วนปลายของผล เกล็ดมีลกั ษณะแข็ง ที่อยู่อาศัย พบได้ในบริเวณป่าชายเลนที่ดินค่อนข้างแข็ง ที่มีน้ำทะเลท่วมถึง หรืออาจมีทรายปนเล็กน้อย หรืออาจ จะพบในบริเวณทีน่ ำ้ เป็นน้ำจืดก็ได้ ประโยชน์ ใช้ลำต้นเป็นเชือกในการเย็บจาก น้ำต้มต้นและ เหง้า กินเป็นยาขับปัสสาวะ ใบอ่อนใช้สระผม น้ำต้มใบและ ดอกกินเป็นยาขับปัสสาวะ ขับนิว่
⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก มีความสูง 710 ม. ทรงพุม่ ไม่เป็นระเบียบ การแตกกิง่ จำนวนมาก ผิวของ เปลือกสีน้ำตาลอมขาวมีรอยแตกตามความยาวของต้น เนื้อไม้สีเหลือง ใบ เป็นใบเดีย่ วรูปหอกเรียว ปลายแหลมโคนใบมน ขอบใบ เรียบ สีเขียว ผิวเรียบเป็นมันเส้นใบสีเหลืองอ่อนมองเห็น ได้ชดั เจน ขนาด 7-10 x 15-20 ซม. ดอก เป็นดอกช่อ ดอกเป็นหลอดกลีบดอก 4 กลีบ ปลาย กลีบแหลม สีขาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ช่อดอก ประกอบด้วยฐานรองดอกที่หลอมติดกัน ผล เป็นผลรวม ผิวขรุขระรูปกลมรี ขนาด 2-3 x 3-4 ซม. สีเขียวเมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดำ ทีอ่ ยูอ่ าศัย สามารถพบได้ในบริเวณทีเ่ ป็นป่าเบญจพรรณ ป่าโปรง ริมเขา ป่าชายหาด ประโยชน์ แก่นมีรสขม ต้มหรือดองกับสุราดื่ม เพื่อขับ เลือดและขับน้ำคาวปลาให้แห้ง ป้องกันสันนิบาดหน้าเพลิง ขั บ ฟอกโลหิ ต ระดู แก้ จ ุ ก เสี ย ดแน่ น เฟ้ อ ขั บ ผายลม ผลอ่อนแก้อาเจียน น้ำทีข่ น้ั จากใบล้างแก้เหา ทาแก้อาการ บวมตามข้อของนิว้ มือนิว้ เท้า ก้านใบแก้โรคท้องร่วงในเด็ก รากเป็นยาระบาย
⌫
ลำต้น เป็นไม้ยืนต้น มีความสูง 4-8 ม. แตกกิ่งก้านใน ระดับสูง สีลำต้นขาวอมน้ำตาลอ่อนๆ ผิวของลำต้นมีหนาม สัน้ ทูๆ่ เต็มทัง้ ต้น และมีรากค้ำจุนทีโ่ คนต้น ใบ เป็นใบเดีย่ ว ลักษณะของใบเรียวยาวจนถึงปลายแหลม ยาวเรียว ผิวใบเรียบเป็นมัน ขอบใบและเส้นกลางใบมี หนามแหลมแข็งอยู่ตลอดความยาวของใบ ขนาดของใบ 5-10 x 100-250 ซม. ไม่มีก้านใบตัวใบ ยืดติดกับลำต้น หรื อ กิ ่ ง ซ้ อ นกั น หนาแน่ น ที ่ ย อดของต้ น หรื อ ปลายกิ ่ ง สีของใบเมื่อออกใหม่ๆ เป็นสีขาวและเปลี่ยนเป็นสีเขียว หลังใบเป็นสีเขียวนวล ดอก เป็นดอกช่อแยกเพศแยกเป็นต้นตัวผู้และต้นตัวเมีย ดอกเพศผู้เป็นช่อดอกที่ยาว 30-60 ซม. และยังมีช่อ ดอกแยกย่อยออกไปอีก และมีใบประดับทีด่ อกช่อย่อยสีของ ดอกเป็นสีขาว ดอกมีกลิน่ หอม ส่วนดอกตัวเมีย ดอกออกที่ ปลายกิง่ ก้านดอกยาว 10-30 ซม. ดอกเกาะกันแน่นคล้าย กับผลขนาดเล็กเพียงผลเดียว มีลักษณะเกือบกลมยาวรี เพียงเล็กน้อย ผล เป็นผลกลุ่ม แต่ละผลยึดติดกับก้านดอกโดยไม่มีก้าน ผลมองดูกลุม่ ของผลเหมือนผลเดีย่ วเกาะกันแน่นเกือบเป็น ทรงกลม ผลตอนแรกสีขาวอมเหลืองแล้วเปลีย่ นเป็นสีเขียว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีส้มอมแดง ผิวของผลด้านบนมีร่อง ขรุขระลึกมองเห็นได้ชดั เจน ออกดอกและผลเกือบตลอดปี ที่อยู่อาศัย ริมป่าชายเลนที่ติดกับชายหาดทะเลหรือ อยู่ริมหาดทะเล ประโยชน์ ใบสามารถนำมาเป็นเครื่องจักสานได้ราก แก้พษิ ไข้ พิษเสมหะ พิษโลหิต และขับปัสสาวะ รากอากาศ ปรุงเป็นยาแก้ปสั สาวะพิการ แก้หนองใน และแก้นว่ิ
⌫ ⌫ ⌫ ⌫
ลำต้น เป็นไม้พมุ่ ขนาดเล็ก ลำต้นตัง้ ตรงแตกกิง่ หนาแน่น ส่วนมากจะขึน้ รวมกันเป็นกอ ความสูงของต้น 1-2 ม. ต้นมีสี น้ำตาลปลายพุม่ กว้าง ใบ เป็นใบเดี่ยว การเรียงตัวของใบเป็นแบบสลับใบหนา รูปร่างของใบปลายใบมน ส่วนฐานใบเรียวเข้าขนาดของใบ 1-3 x 2-6 ซม. ขอบใบหยักแบบฟันเลือ่ ย มีขนสัน้ ก้านใบ สัน้ ยาว 1-2 ซม. ใบมีกลิน่ หอมฉุน ดอก เป็นดอกช่อแบบกระจุก ที่ปลายกิ่งอัดกันอยู่หนา แน่น มีจำนวนมาก มีสขี าวอมม่วงเล็กน้อย ความยาวของ ก้านช่อดอก 3-10 ซม. ดอกเป็นดอกขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง และกลีบดอกมีลักษณะคล้ายเส้นด้าย ผล เป็นผลเดีย่ วชนิดแห้งขนาดเล็กมาก 0.1-0.2 ซม. มีขน ขาวจับทีส่ ว่ นบนสามารถปลิวตามลมไปได้ไกลๆ เมือ่ มีลมพัด ที ่ อ ยู ่ อ าศั ย สามารถพบได้ ใ นบริ เ วณส่ ว นนอกป่ า ชายเลน หรืออาจพบในบริเวณทีห่ า่ งออกไปจากป่าชายเลน ทีไ่ ม่มตี น้ ไม้ปกคลุม ประโยชน์ ใบนำมาตากแห้งใช้ทำชาที่มีรสหอมแก้กระ หายน้ำและลดน้ำหนัก ยอดอ่อนนำมาทำผักจิม้ น้ำพริก หรือ กินกับน้ำแกง น้ำต้มทัง้ ต้นเป็นยาขับปัสสาวะ แก้เบาหวาน ต้มอาบแก้ผื่นคันและโรคผิวหนัง น้ำคั้นจากใบสดรักษา ริดสีดวงทวาร ใบและราก รักษาไข้ พอกแก้แผลอักเสบ ใบและต้นอ่อน บรรเทาอาการปวดข้อ
⌫
ลำต้น เป็นไม้พมุ่ กึง่ เลือ้ ย สีของลำต้น ขาวอมเทาผิวเรียบ ผิวอ่อนจะมีสีน้ำตาลมีจุดสีขาวเล็กน้อย แตกกิ่งในระดับ ต่ำและมีกิ่งหนาแน่น ทรงพุ่มครึ่งทรงกลม ใบ เป็นใบเดีย่ วเรียงตรงข้ามเป็นมุมฉาก รูปร่างของใบเป็น รูปรีถงึ เกือบกลม ปลายใบอาจจะแหลมถึงกลม ขนาดของใบ 4-9 x 6-13 ซม. สีของใบเขียวเป็นมัน ขอบใบเรียบ เมือ่ จับ จะมีความเหนียวๆ ไม่ลื่นมือ เมื่อขยี้ใบจะมีกลิ่นเหม็น ก้านใบยาว 2-4 ซม. เส้นใบมีสีเขียวอ่อนกว่าตัวใบมอง เห็นได้ชดั เจน ดอก เป็นดอกช่อแบบเชิงหลั่นเสมอกันออกที่ปลายกิ่ง ช่อดอกมีดอกจำนวนมาก ก้านช่อดอกยาว 6-15 ซม. ก้าน ดอกยาว 3-6 ซม. ดอกมีขนาดเล็ก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.4-0.5 ซม. ดอกมีสีขาวอมเขียว กลีบเลี้ยงติดกันเป็นรูป ถ้วย ปลายขอบแยกเป็น 4 แฉก กลีบดอกติดกัน ผล เป็นผลเดี่ยว ลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.30.4 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกมีสีดำ เนื้ออ่อนมีเมล็ด เพียงเดียวและแข็ง ผิวของผลเรียบเป็นมัน ที่อยู่อาศัย พบในบริเวณด้านนอกของป่าชายเลนและ บริเวณชายหาดทั่วไปหรือบริเวณมีน้ำทะเลท่วมถึงเมื่อ น้ำขึ้นสูงสุด ประโยชน์ ใช้ใบขยีใ้ ห้ละเอียดใช้หา้ มเลือด
⌫
ลำต้น เป็นพืชล้มลุกลักษณะเป็นพืชผักลำต้นอวบน้ำ ไม่ ม ี แ ก่ น หรื อ เนื ้ อ ไม้ แ ข็ ง สี ข องลำต้ น ม่ ว งอมแดงถึ ง สีเขียว ขนาดของลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. คลานไปกับพื้นส่วนยอดยกสูงเมื่อมีจำนวนหนาแน่น ใบ เป็นใบเดีย่ วแตกสลับ มีรปู ร่างเป็นแบบขนาน ปลายใบ และฐานใบกลมมน ขนาดของใบ 1-2 x 4-6 ซม. ใบอวบ หนาเส้นกลางใบมองเห็นไม่ชัดเจน ก้านใบสั้นมากหรือ ไม่มใี บมีสเี ขียวสด ผิวใบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอก เป็นดอกเดียว แตกออกจากง่ามใบ มีใบเลีย้ ง สีเขียว 5 กลีบ กลีบดอกสีชมพู 5 กลีบ ปลายกลีบดอกแหลม ขนาดเส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางของดอก 1-2 ซม. มี เ กสรตั ว ผูจ้ ำนวนมาก ผล เป็นผลเดี่ยวกลมมีกลีบเลี้ยงหุ้มไว้ มีเขียวอมเหลือง ขนาดของผล 0.5-1 ซม. ทีอ่ ยูอ่ าศัย พบในบริเวณทีโ่ ล่ง ในดินทีค่ อ่ นข้างแข็งหรือ ดินปนทราย ในบริเวณทีน่ ำ้ ท่วมไม่ถงึ ตลอดเวลา ประโยชน์ ใช้ลวกเป็นผักจิม้
⌫
ลำต้น พวงทองเครือเป็นพันธุ์ไม้เลื้อยมีต้นหรือเถา ขนาดเล็ก สามารถที่จะเลื้อยเกาะพันธุ์สิ่งอื่นๆ หรือต้น ไม้อื่นได้ไกลประมาณ 15 ฟุต ลักษณะของเถาจะเป็น สีน้ำตาล ใบ ลักษณะของใบพวงทองเครือจะเรียบเกลี้ยง หนา และแข็ง รูปใบมน เกือบเป็นรูปขอบขนาน ปลาใบมน ใบจะออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน และจะขนานไปตามลำต้น ใบมีขนาดความกว้างประมาณ 5 ซม. ดอก พวงทองเครือจะออกดอกเป็นช่อ ห้อยลง ช่อดอก หนึง่ ๆ จะมีความยาวประมาณ 12 ซม. ดอกจะมีขนาดเล็ก มีสเี หลือง ดอกหนึง่ ๆ จะมี 5 กลีบ มีกลิน่ หอมเล็กน้อย ผล ขนาดเล็ก มีปกี เป็นแฉก 4-10 แฉก คล้ายรูปดาว ที่อยู่อาศัย ขึ้นตามป่าโกงกาง ทางภาคใต้ของไทยพบ ได้ทว่ั ไป ประโยชน์ นิยมปลูกเป็นไม้เลือ้ ยตามรัว่ หรือซุม้
⌫ ⌫
กรมวิชาการเกษตร. 2546. บันชีแนบท้าย ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรือ่ งทะเบียนพันธุ์ พืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์สารสนเทศกรมวิชาการเกษตร เต็ม สมิตนิ นั ทน์. 2523. ชือ่ พันธุไ์ ม้แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กรมป่าไม้ สนิท อักษรแก้ว และสมชาย พานิชสุโข.2530. พันธุไ์ ม้ในป่าชายเลนเมืองไทย. กรุงเทพฯ: คอมพิวแอดเวอไทซิง่ ค์ สมหมาย สรรพคุณ. 2548. คู่มือการใช้สมุนไพรจากป่าชายเลน. กรุงเทพฯ : สำนัก อนุ ร ั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ชายเลน กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั ่ ง กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Jonh Howes Nutcharin Kleawkla and Vitoon Sirisarntipong. 2004.Wetlans Ecology Component : Ecological Characterisation of Krabi Estuary and Bay. Implementation of the Ramsar Convention in Thailand : Management and Protection of Wetland Areas Shozo Kitamura Chairil Anwar Amalyos Chaniago Shigeyuki Baba. 1997. Handbook of Mangroves in Indonesia - Bali & Lombok. The Development of Sustainable Mangrove Management Project. Minisrty of Forestry Indonesia and Japan International Cooperation Agency http://www.school.net.th/library/webcontest2003/100team/dlss020/A2/A2.htm http://www.talaythai.com
⌫ ⌫