การอนุรักษ์ นกในจังหวัดกระบี่
ดนภัทร ตามรสุ วรรณ มูลนิธิรักษ์ไทย และ องค์การพื้นที่ชุ่มน้ านานาชาติ
Kavin@Wetlands International-Thailand office
หัวข้อการนาเสนอ
• • • •
สภาพพื้นที่ชุ่มน้ าปากแม่น้ ากระบี่ สถานภาพนกน้ าบริ เวณปากแม่น้ ากระบี่ ปากแม่น้ ากระบี่มีความสาคัญอย่างไรต่อนกน้ า นกแต้วแล้วท้องดา
พื้นที่ชุ่มน้ าปากแม่น้ ากระบี่ พืน้ ทีช่ ่ ุมนา้ ปากแม่ นา้ กระบี่ครอบคลุม พืน้ ทีต่ ้งั แต่ สุสานหอย 75 ล้ านปี เขต ผังเมืองรวมกระบี่ ป่ าชายเลน หาดเลน หาดทรายลาคลองน้ อยใหญ่ หน้ าเมือง กระบี่ รวมถึงป่ าชายเลนและหญ้ าทะเล ผืนใหญ่ บริเวณเกาะศรีบอยา แรมซาร์ไซด์ ลาดับที่ 4 ของประเทศไทย
บริ เวณพื้นที่ปากแม่น้ ากระบี่พบนก 222 ชนิด โดยเป็ นนกอพยพ 52 ชนิด ที่อพยพมา จากประเทศจีน และ แถบไซบีเรี ย
23 ชนิดของนกชายเลนใช้พ้นื ที่ปาก แม่น้ ากระบี่เป็ นที่หากินซึ่งจะใช้สะสม พลังงานในการเดินทางในแถบเอเชีย ตะวันออก - ออสเตรเลีย
Pak Nam Krabi Khlong Yuan
Daily tides Ramsar site
Khlong Phela
N-S Long-shore drift & sediment movements
Coastal currents, hydrology and sedimentation
Pak Nam Krabi
Khlong Chilat
Khlong Thalu Khlong Yuan
ทีพ่ กั อาศัยของนก แหล่ งอาหารของนก Khlong Phela
ภาพถ่ ายดาวเทียมแสดง ลักษณะนิเวศวิทยาของ ปากแม่ นา้ กระบี่
ป่ าชายเลนและ แหล่ งหญ้ าทะเล
นก @ ปากแม่น้ ากระบี่
แบ่งเป็ นนก 2 กลุ่มหลัก: นกประจาถิ่น: หากิน สื บพันธุ์ และอาศัย ตลอดทั้งปี พบ ประมาณ 10 ชนิด
นกอพยพ: เป็ นนกที่อาศัยสื บพันธุ์แถบจีน ไซบีเรี ย และอพยพมาทางตอนใต้ (ประเทศ ไทย) ในช่วงฤดูหนาว พบนก 52 ชนิด
นกออก บริ เวณปากแม่น้ ากระบี่ ที่มาของภาพ Mikael Nord 2011
Chinese Egret
Northman’s Greenshank
• พบนกพันธุ์หายากใกล้สูญพันธุ์ และที่อยูใ่ นสภาพเสี่ ยงต่อการสูญ พันธุ์ เช่น นกหัวโตมลายู(Malaysian Plover, Charadrius peronii ) นกทะเลขาเขียวลายจุด (Nordman’s Greenshank, Tringa guttifer) นกยางจีน (Chinese Egret, Egretta europhotes) เป็ นต้น
รองรับนกหัวโตทรายเล็ก นกหัวโตทรายใหญ่ นกหัวโตมลายู นกทะเลขาเขียว ลายจุด นกพลิกหิ น และนกยางจีน นกมากกว่า 1% ของจานวนที่พบทัว่ โลก
พันธ์มงคล กล้าการ ปากแม่น้ ากระบี่ 22/01/2009
• นกกลุ่มหลักได้แก่ นกชายน้ า พบนก 27 ชนิด (25 ชนิดเป็ นนกอพยพ) • พื้นที่ชุ่มน้ าปากแม่น้ าจึงมี ความสาคัญต่อประชากรของนกน้ า และนกชายน้ า ที่อพยพมาอาศัย ในช่วงฤดูหนาว • พื้นที่ปากแม่น้ ากระบี่จึงได้เป็ น สมาชิกเครื อข่ายนกน้ าอพยพภูมิภาค เอเชีย - ออสเตรเลีย
Migratory waterbirds
ความสาคัญของปากแม่ น้ากระบี่ต่อนกอพยพ
แบ่งได้ 3 ประการ : • ลักษณะทางกายภาพของปากแม่น้ ากระบี่เอื้อต่อการมาพักอาศัย ของนก • ระบบนิเวศป่ าชายเลน และ หาดเลน ที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะสม ต่อการหากินและพักอาศัย • พื้นที่พกั อาศัยที่ปลอดภัย
ระบบนิเวศป่ าชายเลน และ ปากแม่ นา้ กระบี่ เหมาะสมต่ อการหากินและ การสะสมพลังงานของนก • รอยต่อระหว่างน้ าจืดและน้ าเค็ม • อุดมไปด้วยธาตุอาหาร • มีความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งป่ าบก ป่ าชายเลน และ หญ้าทะเล • มีความหลากหลายของอาหาร ที่มีพลังงานสูงเหมาะสมต่อ การสะสมพลังงานของนกอพยพ • กระบวนการน้ าขึ้นน้ าลง 2 ครั้งต่อวัน
มีความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรเพียงพอต่ อ ความต้ องการของสั ตว์ นานาชนิด
ความหลากหลายทางชีวภาพของอาหาร และสภาพพืน้ ทีบ่ ริเวณเขตนา้ ขึน้ นา้ ลง
มีอาหารที่อุดมสมบูรณ์และให้พลังงานสู ง เพียงพอต่อ ความต้องการของนกอพยพ
มีอาหารที่หลากหลายทาให้ นกอพยพมาที่ปากแม่น้ า กระบี่มากมายหลากหลาย ชนิดเช่นเดียวกัน
• พื้นที่บริ เวณปากแม่น้ ากระบี่มีบริ เวณหาดทรายและสันทราย เหมาะสมต่อการพักอาศัย และหากินของนกอพยพ
• ที่พกั อาศัยที่ปลอดภัยขณะน้ าขึ้น บริ เวณ แหลมสน แหลมขาม และ คลองทะลุ
โป๊ ะน้ าตื้นสถานที่พกั สาหรับนกในช่วงน้ าขึ้น
ช่วงเวลาการอพยพ
แบ่งเป็ น 3 ช่วง ได้แก่: • อพยพลงทางใต้(ปลายฤดูฝน) – กันยายน - ตุลาคม • ช่วงฤดูหนาว – พฤศจิกายน - มีนาคม • การอพยพขึ้นเหนือ(ต้นฤดูฝน) – เมษายน - พฤษภาคม
Flyways of the world
22 countries in the flyway Russia USA (Alaska) Mongolia China North Korea South Korea Japan Philippines Bangladesh Thailand Cambodia Indonesia Laos Myanmar Vietnam Malaysia Singapore Brunei Darussalam East Timor Papua New Guinea Australia New Zealand
นกแต้วแล้วท้องดา (Gurney's Pitta)
ภาพจาก:สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
นกแต้วแล้วท้องดา (Gurney's Pitta, Pitta gurneyi) เป็ นนกในวงศ์นกแต้วแล้ว (Family Pittidae) ชื่อวิทยาศาสตร์ของนก แต้ว แล้ว ท้อ งด า ตั้ง ชื่ อ ให้ เ ป็ นเกี ย รติ แ ก่ นาย John Henry Gurney ซึ่งเป็ นนักสะสม ตัว อย่า งสัต ว์แ ละนัก เขี ย นชาวอัง กฤษ มี การค้นพบนกแต้วแล้วท้องดาครั้งแรกโดย นาย W. Davison ในประเทศพม่าเมื่อปี พ.ศ. 2418
นกแต้วแล้วท้องดา (Gurney's Pitta)
ภาพจาก:www.simensis.org
• ในปี พ.ศ. 2495 นาย Herbert G. Deignan ได้เก็บตัวอย่างนกแต้วแล้วท้องดาเพศเมีย ที่ จ ัง หวัด ประจวบคี รี ข ัน ธ์ เ มื่ อ วัน ที่ 24 ธันวาคม • ในปี พ.ศ. 2529 ผศ.ดร. ฟิ ลลิปป์ ดี ราวน์ และคุณอุทยั ตรี สุคนธ์ จึ งได้พบนกแต้ว แล้วท้องดาในพื้นที่ป่าที่ราบต่าเขานอจูจ้ ้ ี จังหวัดกระบี่อีกครั้ง
ใ น อ ดี ต น ก แ ต้ ว แ ล้ ว ท้ อ ง ด า มี เ ข ต ก า ร แพร่ กระจายค่อนข้างกว้าง แต่ในปั จจุบนั นก แต้วแล้วท้องดามีการกระจายพันธุ์อยูใ่ นโลก เพี ย งแค่ 2 พื้ น ที่ เ ท่ า นั้น ได้แ ก่ ภาคใต้ข อง ประเทศไทย บริ เวณเขานอจู ้จ้ ี ในเขตรั กษา พันธุ์สั ตว์ป่าเขาประบางคราม อาเภอคลอง ท่ อ ม จัง หวัด กระบี่ แ ละแถบเขตเทื อ กเขา ตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่า ภาพจาก:โครงการฟื้ นฟูสถานภาพนกแต้วแล้งท้องดา
ถิ่นที่อยูอ่ าศัย • นก แต้วแล้วท้องดาอาศัยอยู่ในป่ าที่ ราบ ต่า ซึ่ งรวมทั้งป่ าดั้งเดิม (ป่ าแก่)และพื้นที่ ป่ าที่ เ คยถู ก แผ้ว ถางและฟื้ นตัว กลับ ขึ้ น มาแล้ ว หลายปี พื้ น ที่ จ านวนมากซึ่ ง ปั จ จุ บ ัน เป็ นที่ อ ยู่อ าศัย ของนกแต้ว แล้ว ท้อ งด าในทุ ก วัน นี้ เดิ ม เคยเป็ นทุ่ ง หญ้า เลี้ยงควายมาเมื่อ 40-50 ปี ก่อนและฟื้ นตัว เป็ นป่ าขึ้นมาอีกครั้ง
• นกแต้วแล้วท้องดาถูกจัดเป็ นสัตว์ใกล้ สูญพันธุ์อนั ดับที่ 7 ของโลก ในประเทศ ไทยมีรายงานการพบนกแต้วแล้วทั้งหมด 13 ชนิดจาก 32 ชนิดที่พบทัว่ โลก • สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) จึงจัดให้มนั อยูร่ ะดับ “ใกล้สูญ พันธุ์อย่ างยิง่ ” (Critically Endangered) • การคุม้ ครองสถานภาพนกแต้วแล้วท้อง ดาตามกฎหมายไทย นกแต้วแล้วท้องดา จัดเป็ นสัตว์ป่าสงวน 1 ใน 15 ชนิด ตาม พระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ ป่ า พ.ศ.2535
ภัยคุกคามนกแต้วแล้วท้องดา • การสูญเสี ยถิ่นที่อยูอ่ าศัย • การลักลอบตัดไม้ทาลายป่ า • การเปลี่ยนแปลงเป็ นพื้นที่ เกษตรกรรมในการเพาะปลูก ปาล์มน้ ามันและยางพารา • การล่าสัตว์ป่าและค้าสัตว์ป่า • ศัตรู ในธรรมชาติได้แก่ งู กระรอก ตัวเงินตัวทอง ฯลฯ • การท่องเที่ยว !?
การอนุรักษ์ นกแต้ วแล้ วท้ องดา • สมาคมอนุ รั ก ษ์ น ก ร่ วมมื อ กั บ กรมอุ ท ยาน แห่ งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช องค์การอนุ รักษ์ นกที่ประเทศอังกฤษ (The Royal Society for the Protection of Birds) หรื อ RSPB และ กองทุนสัตว์ป่าโลก (WWF) ประเทศไทย ได้ จัดทาแผนฟื้ นฟูสถานภาพนกแต้วแร้ วท้องดา โดยจะเน้นให้ชาวบ้านร่ วมอนุ รักษ์นกแต้วแร้ ว ท้ อ งด ากั บ ภาครั ฐ รวมทั้ งต้ อ งใช้ ก ฎหมาย จัดการผูม้ ีอิทธิ พลที่เข้าไปบุกรุ กทาลายป่ า โดย ตั้งเป้ าว่า ชุมชนต้องอยูด่ ีมีสุข ท่ามกลางดิน น้ า ป่ า และความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ และมีนกแต้วแร้วท้องดาเพิ่มมากขึ้น
• นกแต้วแล้วท้องดามีความสาคัญระดับโลกขนาดนี้ ถึงเวลา หรื อ ยัง ที่ เ ราคนไทยจะตระหนัก และร่ ว มใจกัน รั ก ษานก เฉพาะถิ่นชนิ ดนี้ รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ให้คงอยู่ ไม่เช่นนั้น เราอาจจะต้องตามไปดูนกแต้วแล้วท้อง ดาที่ประเทศพม่าเป็ นแน่
แหล่ งข้ อมูลจาก John Hows, Nutcharin Kleawkla, Vitoon Sirisarntiphong. 2004. Wetlands Ecology Component: Ecological Characterisation of Krabi Estuary and Bay. Implementation of the Ramsar convention in Thailand: Management and protection of Wetland Areas http://www.wetlands.org http://thailand.wetlands.org http://www.bcst.or.th http://www.eaaflyway.net http://www.shorebirds.org.au/ http://www.onep.go.th http://www.seub.or.th/ http://www.forru.org/FORRUTh_Website/Pages/thgurneyspitta.htm http://www.siamensis.org/species_index#4867-Species:%20Pitta%20gurneyi
-- ขอบคุณครับ --