Cons may 2017 : บทความพิเศษ

Page 1

MAY

2017

ONLINE

www.consmag.com

The Proposal of the Deep Sea Port:

Real Port of Andaman

โครงการท่าเรือตัวอย่าง:

ท่าเรืออันดามัน

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

1


บทความพิเศษ

เรือ ่ ง/ภาพ : รองศาสตราจารย์ ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์, Google

The Proposal of the Deep Sea Port:

Real Port of Andaman

โครงการท่าเรือตัวอย่าง: ท่าเรืออันดามัน เมื่อกล่าวถึงท่าเรืออันดามันแล้วทุกภาคส่วนจะคิดถึงท่าเรือปากบารา จังหวัดสตูล ด้วยผลจากการศึกษาของภาครัฐบาล ที่สรุป ที่ ตั้ งท่ า เรื อ อั น ดามั น ที่เ หมาะสมของโครงการดัง กล่า ว อย่างไรก็ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงของโครงการท่าเรือปากบารา เกิดการต่อต้านอย่างรุนแรงตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงการประชาพิจารณ์ต่อเนื่องมาหลายรัฐบาลแล้วเป็นเวลาเกือบ 10 ปี จะไม่ขอ กล่าวถึงการศึกษาโครงการเดิม แต่จะพิจารณาถึงสภาพการต่อต้านอย่างรุนแรงต่อเนื่อง เพราะผลกระทบของโครงการท่าเรือ ปากบาราต่อสังคม วัฒนธรรม การประกอบอาชีพชุมชน และสิ่งแวดล้อมมีมาก ประชาชนและท้องถิ่นไม่มีส่วนร่วมกับกับโครงการนี้ ตั้งแต่ต้น หากจะด�ำเนินโครงการต่อไปอาจจะเหมือนกรณีการต่อต้านของโรงงานแทนทาลั่ม จังหวัดภูเก็ตในอดีต ที่เกิดการจลาจล เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินทางราชการและบ้านเมืองเป็นอย่างมาก รองศาสตราจารย์ ดร. ระหัตร โรจนประดิษฐ์ ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมหลัก, ปริญญาโท การวางแผนภาคและเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ปริญญาเอก การออกแบบ ชุมชนเมือง Joint Centre for Urban Design, Oxford Brookes University, United Kingdom ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานหลักสูตร การออกแบบชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และรองผู้อ�ำนวยการ หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ดุษฎีบัณฑิต และมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

www.consmag.com


ในการเลื อ กที่ ตั้ ง และลั ก ษณะ โครงการท่าเรือน�้ำลึกด้วยองค์ความรู้และ เทคโนโลยีแบบเดิม โดยจะพิจารณาชายฝัง่ ทะเลทีม่ รี อ่ งน�ำ้ ลึกได้มาตรฐาน (ลึกกว่า 11 เมตรขึ้นไป) และประกอบมีการพิจารณา ระบบ Landbridge ข้ามสองทะเล (สตูลสงขลา) แข่งขันกับท่าเรือมาเลเซียและ ท่าเรือสิงคโปร์ ท�ำให้ค�ำตอบของท่าเรือ น�้ ำ ลึ ก ชายฝั ่ ง ทะเลอั น ดามั น ตลอด แนวชายฝั่งคือ “ท่าเรือปากบารา จังหวัด สตู ล ” ทั้ ง ที่ ศั ก ยภาพท่ า เรื อ ปากบารา อ่อนด้อยกว่าท่าเรือเพือ่ นบ้านมาก โดยเฉพาะ ระบบ Landbridge ท� ำ ให้ ร าคาต้ น ทุ น เวลาการขนส่ง ความถี่การขนส่ง และการ บริหารท่าเรือโลจิสติกส์ล่าช้า เกิดความ เสี ย หายมากจนจะไม่ มี ผู ้ ป ระกอบการ รายใดยอมเสี่ ย งเข้ า มาลงทุ น ในธุ ร กิ จ นี้ อย่ า งไรก็ ต ามในวงการเศรษฐกิ จ และ โลจิสติกส์การขนส่งทางทะเลนั้น ท่าเรือ อันดามันเป็นความจ�ำเป็นของการสร้าง ท่าเรือน�้ำลึกของประเทศไทย ที่แก้ปัญหา ระบบขนส่งทางทะเลที่มีผลประโยชน์ต่อ ประเทศชาติมากขึ้น และประเทศไทยก็ เสียเปรียบประเทศเพือ่ นบ้านในการแข่งขัน นี้มาโดยตลอด กลุม่ นิสติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนใจปัญหาโลจิสติกส์ทางทะเลนี้ จึง ท� ำ การศึ ก ษาทางวิ ช าการ Academic Workshop และพัฒนาองค์ความรู้ท่าเรือ ทีท่ นั สมัยโดยมีเทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เทียบเท่าสากล ได้สรุปตัวอย่าง Andaman

www.consmag.com

Port Prototype เพื่อกระตุ้นภาครัฐบาล ให้ หั น มามองแนวทางท่ า เรื อ อั น ดามั น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการขนส่ ง สิ น ค้ า กระบวนการประชาพิจารณ์และมีสว่ นร่วม ของประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และต้องได้รับผลประโยชน์ คืนสู่ท้องถิ่นด้วย จึงจะได้รับการยอมรับ แ ล ะ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ กั บ ภ า ค รั ฐ บ า ล ยุ ท ธศาสตร์ ส� ำ คั ญ ของท่ า เรื อ อั น ดามั น จะตอบสนองการขนส่งต่อเนื่องสู่ภาคพื้น แผ่นดินใหญ่ทางบก และส่งถ่ายสินค้า และบริการกลับสูท่ ะเลสูป่ ระเทศปลายทาง ที่ ป ร ะ เ ท ศ จี น แ ล ะ อิ น โ ด จี น โ ด ย มี ยุทธศาสตร์รองที่เป็น Landbridge ข้ามสู่ ฝั่งอ่าวไทยส�ำหรับกิจกรรมขนส่งสินค้า บางชนิดบางประเภทที่ได้เปรียบประเทศ

เพื่ อ นบ้ า น ท่ า เรื อ เองต้ อ งหลี ก เลี่ ย ง ผลกระทบชุมชนวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม แหล่งท่องเที่ยว ในขณะที่ต้องมีที่ตั้งใน ร่องน�้ำลึกพอส�ำหรับเรือสินค้าขนาดใหญ่ ท� ำ ให้ ชี้ น� ำ ไปสู ่ น วั ต กรรม “เกาะท่ า เรื อ Port Island” เช่นเดียวกับ เกาะท่าเรือ ยางชางของเซีย่ งไฮ้ หรือเกาะท่าเรือร็อคโค่ ของโกเบ เป็นต้น (ในกรณีนี้มีการเสนอว่า ควรห่างจากชายฝั่ง 5-12 ไมล์ ซึ่งจะยังมี สถานะเป็นท่าเรือชายฝั่งอยู่)

ความเป็นมาของโครงการ ท่าเรือทับละมุ จังหวัดพังงา

ในปัจจุบนั สถานการณ์การแข่งขัน ทางการค้าและการขนส่งทางทะเลเพิ่มสูง ขึ้นเป็นอย่างมาก เพื่อเป็นการเสริมสร้าง

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

3


สมรรถนะทางเศรษฐกิ จ และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงได้มีการก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศไทยให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางพั ฒ นา ทางเศรษฐกิจของภูมิภาค โดยเน้นการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถ ก้ า วทั น กั บ สถานการณ์ ท างเศรษฐกิ จ โลกที่ ไ ด้ เ จริ ญ เติ บ โตและเปลี่ ย นแปลง ไปอย่างรวดเร็ว โดยที่การพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่ ง ทางน�้ ำ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ มี ความส�ำคัญต่อการเสริมสร้างศักยภาพ เพื่ อ การแข่ ง ขั น และการพั ฒ นาระบบ เศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากการขนส่ง เป็นปัจจัยส�ำคัญทีส่ นับสนุนการเคลือ่ นย้าย สินค้าไปสูข่ บวนการผลิตและการออกสูต่ ลาด โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การขนส่ ง ทางน�้ ำ เป็ นการขนส่ ง ได้ ค ราวละมาก ๆ อย่ า ง รวดเร็วและมีการเชือ่ มโยงระบบการขนส่ง หลายรูปแบบ นอกจากจะช่วยลดต้นทุน การขนส่งซึ่งโดยสภาพทางกายภาพแล้ว ประเทศไทยมีความได้เปรียบในการที่จะ พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งในระดับ ภูมิภาค โดยการพัฒนาการเชื่อมโยงพื้นที่ ชายฝั่งทะเลอันดามันของภาคใต้ตอนล่าง ให้ เ ป็ น โอกาสใหม่ ข องประเทศในการ เชื่ อ มโยงสู ่ โ ครงข่ า ยการค้ า โลกและ พัฒนาฐานเศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวเนื่องกับ การประมงและการเกษตร ซึ่งเป็นสาขาการพัฒนาที่มีบทบาทส�ำคัญ อย่างยิง่ ต่อพืน้ ทีจ่ งั หวัดภาคใต้ ให้สามารถ มี ท างเลื อ กในการส่ ง สิ น ค้ า ออกสู ่ ท ะเล ได้ทั้งสองฝั่งซึ่งจะช่วยให้ลดค่าใช้จ่ายของ การขนส่งทางเรือได้อย่างมาก

ด้านฝั่งทะเลตะวันตก ท�ำให้สินค้าต้อง ส่งออกจากท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือ กรุ ง เทพแล้ ว อ้ อ มแหลมมลายู ไ ปด้ า น ตะวั น ตก ถึ ง แม้ จ ะมี ท ่ า เรื อ ภู เ ก็ ต และ ท่าเรือระนองซึ่งอยู่ทะเลฝั่งตะวันตกก็ยัง เป็นเพียงท่าเรือ Feeder ให้กับท่าเรือใน มาเลเซียและสิงคโปร์

เมื่ อ เที ย บกั บ ประชากรมาเลเซี ย ซึ่ ง มี ชายแดนติดกัน ชาวใต้จ�ำนวนมากต้อง ข้ามไปท�ำงานในมาเลเซีย ถ้ามีการก่อสร้าง ท่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก ทั บ ละมุ แ ละมี ก ารส่ ง เสริ ม พัฒนาพืน้ ทีภ่ าคใต้ นักลงทุนจะเห็นโอกาส แ ล ะ เ ริ่ ม พั ฒ น า ด ้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เช่นเดียวกับการพัฒนาพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก (Eastern Seaboard Development) จะเป็น 2. เพื่อลดการพึ่งพาท่าเรือต่างประเทศ การสร้ า งงาน สร้ า งรายได้ ส่ ง ผลให้ สินค้าในภาคใต้ในปี พ.ศ. 2547 ปัญหาความไม่สงบที่เกิดขึ้นในภาคใต้จะ ส่งออกโดยใช้ท่าเรือไทย (สงขลา ภูเก็ต บรรเทาลงและจะหมดไปในที่สุด ระนอง) เพียง 25% ทีเ่ หลืออีก 75% ส่งออก ตามด่ า นชายแดนเข้ า ไปในมาเลเซี ย 4. เพื่อเป็นทางเลือกในการขนส่งสินค้า ซึ่ ง ในจ� ำ นวนนี้ 30% เป็ น สิ น ค้ า บริ โ ภค โดยไม่ต้องผ่านช่องแคบมะละกา ภายในมาเลเซีย ที่เหลืออีก 45% ส่งออก เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าช่องแคบ ไปประเทศที่ ส ามโดยผ่ า นท่ า เรื อ จาก มะละกามี ก ารจราจรทางเรื อ ที่ คั บ คั่ ง ประเทศมาเลเซีย จะเห็นว่าไทยส่งสินค้าไป ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกซึ่งเสี่ยงต่อการเกิด ประเทศที่ 3 โดยใช้ ท ่ า เรื อ ในประเทศ อุบตั เิ หตุเรือเฉีย่ วชนกัน ในอนาคตช่องแคบ มาเลเซี ย เกื อ บ 2 เท่ า ของสิ น ค้ า ที่ ผ ่ า น มะละกาอาจจะคับคัง่ จนเรือสินค้าเดินทาง ท่าเรือไทย อันเป็นผลให้ไทยต้องเสียเงิน ได้ไม่สะดวกหรือ อาจมีอุบัติเหตุเรือจม ตราต่างประเทศในการใช้ท่าเรือมาเลเซีย ขวางร่ อ งน�้ ำ ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถผ่ า นได้ ถ้ า มี ท ่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก ทั บ ละมุ สิ น ค้ า ส่ ว นนี้ ซึ่งถ้าเกิดเหตุการณ์อย่างนั้น ประเทศไทย จะกลับมาส่งออกที่ท่าเรือในประเทศไทย ยังมีเส้นทางขนส่งสินค้าเพือ่ ท�ำการค้าขาย กั บ ตะวั น ตกโดยผ่ า นทางท่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก 3. เพือ่ เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ ทับละมุ จังหวัดพังงา ความมั่นคงในภาคใต้ ภาคใต้ได้รับการพัฒนาไม่มาก ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาท่าเรือน�้ำ ยกเว้ น ในเรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย วประชากร ลึกทับละมุ จังหวัดพังงา ส่วนใหญ่จงึ มีรายได้ตำ�่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากสถานการณ์ ก ารแข่ ง ขั น

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อเป็นประตูการค้าสู่ด้านตะวันตก ประเทศไทยมี ก ารค้ า กั บ ด้ า น ตะวั น ตกประมาณ 30% ของปริ ม าณ การค้าทั้งหมดแต่ไม่มีท่าเรือน�้ำลึกหลัก 4

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

www.consmag.com


ทางการค้าและการขนส่งทางทะเลระหว่าง กลุ ่ มนานาประเทศที่ สู ง ขึ้ น รั ฐ บาลจึ ง มี นโยบายในการเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจ และเพิ่ ม ขี ด สมรรถนะความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ โดยได้ก�ำหนด ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาประเทศไทยให้ เป็นศูนย์กลางพัฒนาทางเศรษฐกิจของ ภูมิภาค โดยมีจุดมุ่งเน้นการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถเป็นผู้น�ำทาง เศรษฐกิจและสามารถก้าวทันสถานการณ์ โลกที่ ไ ด้ เ ปลี่ ย นแปลงและเจริ ญ เติ บ โต อย่างรวดเร็ว ทางรัฐบาลจึงก�ำหนดแผน ยุ ทธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส์ แห่งชาติออกมาหลายฉบับอย่างต่อเนื่อง

www.consmag.com

เช่ น แผนยุ ท ธศาสตร์ ฉบั บ ที่ 1 พ.ศ. 2550-2554 ทีม่ งุ่ เน้นเพือ่ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ และการพัฒนาภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ ที่ส�ำคัญ 5 ประการ ได้แก่ ประการที่ 1: การปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพระบบโลจิ ส ติ ก ส์ ใ นภาค การผลิต การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ที่ ยั ง ล้ า หลั ง ที่ ท� ำ ให้ ต ้ น ทุ น การขนส่ ง ค่อนข้างสูง การลงทุนพัฒนาการขนส่ง ระบบราง ใช้การขนส่งทางถนนให้น้อยลง แต่ใช้การขนส่งทางรางและทางน�ำ้ ให้มากขึน้ ประการที่ 2: เพิม่ บทบาทภาครัฐ เพื่ อ เข้ า ไปช่ ว ยภาคเอกชน ในการใช้ องค์ ค วามรู ้ ด ้ า นการบริ ห ารโลจิ ส ติ ก ส์

มาใช้บริหารธุรกิจให้ดีขึ้นซึ่งเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพ ระบบขนส่งและโลจิสติกส์ ประการที่ 3: การพัฒนาธุรกิจ โลจิสติกส์ ส่งเสริมและพัฒนาผูป้ ระกอบการ ธุรกิจโลจิสติกส์ให้มีมากขึ้น มีความเป็น มืออาชีพมากขึ้น ประการที่ 4: การปรั บ ปรุ ง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางการค้า แก้ไข ปั ญ หาด้ า นกฎระเบี ย บ พิ ธี ก ารต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การน� ำ เข้ า -ส่ ง ออก ให้ มี ความสะดวกรวดเร็วขึ้น ประการที่ 5: คือ การพัฒนา ก�ำลังคน ข้อมูล การสร้างบุคคลากรด้าน โลจิสติกส์

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

5


โดยแผนพั ฒ นาท่ า เรื อ ทั บ ละมุ จ�ำเป็นจะต้องมีแบบบูรณาการและการ ก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่เป็นรูปธรรมดังนี้ 1. ท่าเรือน�้ำลึกทับละมุ ซึ่งเป็น ท่าเรือน�้ำลึกส�ำหรับการส่งสินค้าออกและ สินค้าน�ำเข้า ควรพัฒนาเป็นท่าเรือสินค้า แบบใส่ตู้คอนเทนเนอร์ 2. เขตนิ ค มอุ ต สาหกรรมเพื่ อ การส่งออก (Export Processing Zone) เป็นเขตอุตสาหกรรมผลิตเพื่อการส่งออก ทั้งหมดโดยไม่ต้องผ่านพิธีการศุลกากร ทั้ ง ในกรณี น� ำ วั ต ถุ ดิ บ เข้ า และเมื่ อ ส่ ง ออกสินค้าส�ำเร็จรูปซึ่งจะช่วยให้รวดเร็ว และลดต้ น ทุ น การผลิ ต กั บ ต้ น ทุ น ทาง โลจิสติกส์ 3. พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ทางเศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรม ได้ แ ก่ การสร้างสถานีย่อยไฟฟ้า น�้ำประปา/น�้ำ สาธารณูปโภคต่าง ๆ ส�ำหรับอุตสาหกรรม รวมถึ ง การพั ฒ นาระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้รัฐบาลต้องสร้างโครงข่ายถนน และเส้นทางรถไฟจากนิคมอุตสาหกรรม เพื่อเชื่อมสู่ตลาดภายนอกอีกด้วย 4. การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม เป็นสิง่ ส�ำคัญในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ทีเ่ ชือ่ มโยงกับท่าเรือน�ำ้ ลึกทับละมุ โดยเลือก อุตสาหกรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่โดยแบ่ง ออกเป็นประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ ก) อุตสาหกรรมเกษตร ได้แก่ อุตสาหกรรมแปรยางพารา อุตสาหกรรม แปรรูปสัตว์น�้ำทะเล อุตสาหกรรมแปรรูป ปศุ สั ต ว์ อุ ต สาหกรรมอาหารฮาลาล อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง อุตสาหกรรม น�้ำมันพืชและอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ไม้ (ยางพาราและอื่น ๆ ) ข) อุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละ เครื่ อ งประดั บ โดยน� ำ เข้ า วั ต ถุ ดิ บ จาก ต่างประเทศและเข้ารูปเลื่อมที่สวยงาม ค) อุ ต สาหกรรมเวชกรรมและ 6

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

เภสัชกรรม สามารถซือ้ สารเคมีจากอินเดีย และยุโรป ง) อุตสาหกรรมต่อเรือซ่อมเรือ ล้างและซ่อมตู้สินค้า ควรอยู่ติดหรือใกล้ ท่าเรือ จ) โรงงานเหล็ก และเหล็กกล้า ฉ) โรงผลิตไฟฟ้าใช้เทคโนโลยี สะอาด ช) โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ซ) สถานีรวบรวมและขนส่งสินค้า ทั่วไปควบคู่กับการขนส่งสินค้าเหลว 5. การพัฒนาโครงข่ายโลจิสติกส์ ของประเทศ โครงการพั ฒ นาท่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก ทั บ ละมุ เป็ น การสร้ า งโอกาสให้ ประเทศไทยสามารถสร้ า งศู น ย์ ก ลาง โลจิสติกส์ได้ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะที่ สถานีรถไฟทุ่งโพธิ์ อ�ำเภอพุนพิน จังหวัด

สุราษฎร์ธานี โดยความต้องการในการ พัฒนาศูนย์กลางโลจิสติกส์ของประเทศ ประกอบด้วย ระบบการขนส่ง คลังเก็บ สิ น ค้ า และโครงข่ า ยสารสนเทศแบบ On-line เชื่อมโยงทั้งประเทศ โดยมีข้อมูล เกีย่ วกับตารางด�ำเนินการของการขนส่งทัง้ ทางน�ำ้ ทางถนน ทางรถไฟ และทางอากาศ โดยสังเกตการณ์ผ่านดาวเทียม 6. เพิ่ ม ขี ด ความสามารถใน การแข่งขันนานาชาติ วัตถุประสงค์ของ ยุทธศาสตร์คือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ขนส่ ง ภายในประเทศซึ่ ง มี แ นวทางการ ด�ำเนินการดังนี้ 6.1 พัฒนาระบบการขนส่งทาง ทะเลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยพัฒนา กองเรือพาณิชย์นาวีไทยให้ได้มาตรฐาน โดยใช้นโยบายและมาตรการเหล่านี้

www.consmag.com


ก) BOI ควรส่งเสริมธุรกิจพาณิชย์ นาวีและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เช่น ยกเว้นภาษี รายได้นิติบุคคล เป็นต้น ข) รัฐบาลลดหรือยกเว้นภาษีใน การจดทะเบียนสัญชาติกองเรือและสิทธิ พิเศษแก่กองเรือพาณิชย์นาวีไทย ค) รั ฐ บาลควรปล่ อ ยเงิ น กู ้ ใ น อัตราดอกเบี้ยต�่ำให้แก่บริษัทเรือสัญชาติ ไทยกู้ไปซื้อเรือเดินสมุทร ง) รั ฐ บาลให้ สิ ท ธิ พิ เ ศษอื่ น ๆ แก่กองเรือพาณิชย์นาวีไทย เช่น ยกเว้น ค่าน�ำร่องน�้ำ และลดค่าเทียบท่าให้แก่ กองเรือสัญชาติไทย เป็นต้น จ ) ส นั บ ส นุ น ใ ห ้ ส ถ า บั น อุ ด มศึ ก ษาเปิ ด หลั ก สู ต รการท� ำ ธุ ร กิ จ เดินเรือนานาชาติโดยเน้นที่นักลงทุนใน ธุรกิจการเดินเรือ 6.2 รัฐบาลควรส่งเสริมให้สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาเปิ ด หลั ก สู ต รการท� ำ ธุ ร กิ จ เดินเรือนานาชาติโดยเน้นทัง้ ด้านการลงทุน การบริหารจัดการธุรกิจเดินเรือ บุคลากร ทีท่ ำ� งานในธุรกิจเดินเรือและธุรกิจต่อเนือ่ ง การเดินเรือ 6.3 พัฒนาระบบการขนส่งแบบ ระบบ Multi-Modal Transportation

www.consmag.com

อย่างบูรณาการทัง้ ด้านการขนส่งทางถนน ทางรถไฟ และชายฝัง่ โดยการพัฒนาระบบ และเศรษฐกิจ เนือ่ งจากดัง้ เดิมพืน้ ทีบ่ ริเวณ นี้ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นคนไทยเชื้อสาย สารสนเทศ On-line อย่างสมบูรณ์ มุสลิมที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น สรุปผลการวิเคราะห์ท่าเรือทับละมุ หลัก จ�ำเป็นจะต้องสอบถามความเห็น จากชาวบ้านส่วนหนึ่งเพื่อลดผลกระทบ จังหวัดพังงา โครงการท่าเรือน�ำ้ ลึกทับละมุ เป็น กับวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนในพื้นที่และลด หนึง่ ในโครงการพัฒนาท่าเรือน�ำ้ ลึกชายฝัง่ การต่อต้านจากชาวบ้านในชุมชน และอีก ทะเลอั น ดามั น ที่ จ ะได้ รั บ การน� ำ เสนอ ส่วนหนึ่งจะต้องขอความร่วมมือกับทาง และมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะประสบความส� ำ เร็ จ ฐานทัพเรือพังงา เนือ่ งจากพืน้ ทีบ่ างส่วนใน ท่าเรือน�้ำลึกทับละมุเองก็ยังมีศักยภาพใน การขยายท่าเรือทับละมุจ�ำเป็นจะต้องขอ การพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน พื้นที่บางส่วนจากทางฐานทัพ ซึ่งจะท�ำให้ การแข่งขันของประเทศ ทั้งภูมิประเทศที่ ต้นทุนของทีด่ นิ ในการก่อสร้างท่าเรือน�ำ้ ลึก เหมาะสม ไม่ใกล้ทา่ เรือคูแ่ ข่งอย่างมาเลเซีย ส�ำหรับขนถ่ายสินค้าน้อยลง เพิ่มโอกาส มากจนเกินไปนัก ท�ำให้แม้การขนส่งข้าม ในการแข่งขันกับท่าเรือคู่แข่งได้ ท่าเรือทับละมุ ตัง้ อยูบ่ นชายฝัง่ ฟาก ฝัง่ จากตะวันตกสูต่ ะวันออกยังไม่ถอื เป็นที่ น่าสนใจนัก แต่ถอื เป็นข้อได้เปรียบส�ำหรับ ตะวันตกของภาคใต้ตอนล่างในเขตจังหวัด ท่ า เรื อ ทั บ ละมุ ส� ำ หรั บ สิ น ค้ า ที่ ต ้ อ งการ พังงา ริมฝั่งทะเลบ้านทับละมุ ต.ล�ำแก่น ส่งขึ้นเหนือไปสู่ประเทศจีนและอินโดจีน อ.ท้ า ยเหมื อ ง ติ ด กั บ ฐานทั พ เรื อ พั ง งา และมีโครงการจะสร้างแหล่งกระจายการ ในปัจจุบันได้เปิดบริการเป็นท่าเทียบเรือ ขนส่งอีกหลายแห่งเพือ่ มาตอบรับท่าเรือน�ำ้ โดยสารคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเรือไม่เกิน ไม่เกิน 500 ตันกรอสส์ ขนาดร่องน�ำ้ กว้าง ลึกแห่งใหม่ทกี่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ รั ฐ บาลมี ห น้ า ที่ ใ นการส� ำ รวจ 40 เมตร ยาว 2 กิโลเมตร ลึก 3 เมตร ซึง่ ใน ความเป็นไปได้ในโครงการการก่อสร้าง ปัจจุบันเปิดให้บริการโดยธนารักษ์จังหวัด วิเคราะห์ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม พังงาโดยให้เช่าบริหารท่าเทียบเรือแก่เอกชน CONS-MAGAZINE www.consmag.com

7


หากหลังจากโครงการผ่านการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และผ่านกระบวนการส�ำรวจผลกระทบสภาพแวดล้อมและ การท�ำประชาพิจารณ์กับชุมชนแล้ว โครงการจะเริ่มก่อสร้างในส่วนของท่าเรือและแล้วเสร็จในกรอบเวลา 3-5 ปี ส่วนบริเวณของ ศูนย์บริการอื่น ๆ นอกท่าเรือจะค่อย ๆ พัฒนาและก่อสร้างโดยมีกรอบระยะเวลา 10 ปี การสร้างท่าเรือน�้ำลึกทับละมุจะสามารถเป็นทางเลือกหนึ่ง ของการขนส่งสินค้าขึ้นเหนือสู่ประเทศจีน และมีศักยภาพที่จะ ดึงสินค้าบางส่วนจากท่าเรือประเทศมาเลเซียมาได้ โครงการก่อสร้างท่าเรือทับละมุจะมีเสียงคัดค้านต่อต้านบ้าง แต่ถือว่าน้อยกว่า ทางโครงการท่าเรือน�้ำลึกปากบารา เพราะฉะนั้นการด�ำเนินการก็จะมีความราบรื่นและสามารถเสร็จสิ้นได้เร็วขึ้น ส�ำหรับพื้นที่ส�ำคัญ อืน่ ๆ ทีม่ กี ำ� หนดจะสร้างขึน้ มาเพือ่ รองรับการขยายตัวของท่าเรือน�ำ้ ลึกทับละมุ ก็ได้จดั ให้มกี ารสร้างอยูใ่ นบริเวณรอบนอกพืน้ ที่ เนือ่ งจาก เกรงจะกระทบกับวิถีชีวิตของชุมชน และลดความแออัดของพื้นที่โดยรอบท่าเรือทับละมุต่อไป สถานที่ประกอบการเกี่ยวกับโลจิสติกส์ ท่าเรือน�้ำลึกทับละมุ ท่าเรือทหารเรือ สถานีขนส่งสินค้า หรือ Truck Terminal สถานีบรรจุ/ส่งมอบสินค้า (Container Freight Station) สถานีบรรจุและการแยกกล่องสินค้า (Inland Container Depot) ย่านกองเก็บตู้สินค้า (Container Yard) สถานีเก็บรักษาสินค้า (Warehouse)

จ�ำนวน สถานที่ตั้ง 1 เป็นเกาะนอกชายฝั่งทะเลประมาณ 5-12 ไมล์ 1 ปรับปรุงและพัฒนาให้เหมาะสมกับแผนแม่บทใหม่ 3 1. ใกล้ DC ที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 2. ใกล้ DC ที่อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. ใกล้ ICD บริเวณรถไฟขนานทางหลวงหมายเลข 4 (พังงา-ระนอง) 1 อยู่ในบริเวณหลังท่าเรือทับละมุ

นิคมอุตสาหกรรม (Industrial Estate) ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า (Distribution Center)

1

บริเวณรถไฟขนานทางหลวงหมายเลข 4 (พังงา-ระนอง)

1 2

อยู่บริเวณหลังท่าเรือทับละมุ 1. ใกล้ท่าเรือทับละมุ 2. อ�ำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชานเมือง อ�ำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1. อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 2. อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

1 2

ทัง้ หมดนีเ้ ป็นผลสรุปของการศึกษาท่าเรือ อันดามันที่ยกตัวอย่าง ท่าเรือทับละมุ จังหวัด พังงา เป็นกรณีศกึ ษา และให้ทำ� การประชาพิจารณ์ การมีสว่ นร่วมของประชาชน ในแง่ของการปฏิบตั ิ การท่าเรือ ทีต่ งั้ และส่วนเกีย่ วเนือ่ งตามกลุม่ จังหวัด ภาคใต้ดา้ นอันดามัน จะได้ผลสรุปเบือ้ งต้นของที่ ตั้งในจังหวัดที่ตอบสนองการตั้งท่าเรืออันดามัน เพราะจะเป็นลักษณะเกาะท่าเรือที่จะสามารถ ปรับปรุงพิกัดให้หลีกห่างจากสถานที่ท่องเที่ยว ทางน�ำ้ ได้เป็นอย่างดี จึงท�ำการศึกษาและออกแบบ ท่าเรืออันดามันทีส่ มบูรณ์ตอ่ ไป 8

CONS-MAGAZINE www.consmag.com

www.consmag.com


CONS-MAGAZINE www.consmag.com

9


10

CONS-MAGAZINE www.consmag.com


SUPERLINKS

R E A D Y M A D E S T I R R U P S

¢¹Ò´ 10x10 «Á.

¢¹Ò´ 15x25 «Á.

เหล็กปลอก สำเร็จรูป

ทิสคอน ซุปเปอรล ์ ิงค์ ¢¹Ò´ 10x25 «Á.

¢¹Ò´ 15x15 «Á.

¢¹Ò´ 15x30 «Á.

¢¹Ò´ 15x35 «Á.

ปลอดภัย คุมคา สะดวก รวดเร็ว วางใจได

ผลิตจากเหล็กเสน 6 มิลลิเมตร ที่ไดมาตรฐาน มอก. 20-2559

รายแรก รายเดียว ในประเทศไทย

สนใจเปนตัวแทนจําหนาย เหล็กปลอกสําเร็จรูป ทิสคอน ซุปเปอรลิงค ติดตอ ภาคเหนือ คุณกิตติศักดิ์ ภาคใต คุณคเชนทร ภาคตะวันออก คุณฉลองลาภ ภาคตะวันตก คุณกาจน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คุณธนกฤต

โทร. 089-203-2056 โทร. 086-232-8717 โทร. 091-120-2102 โทร. 063-193-2544 โทร. 090-001-5233

บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

CONS-MAGAZINE อาคารรสาทาวเวอร 2 ชั้น 20 เลขที่ 555 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กทม. 10900 www.consmag.com

โทร. 66-2937-1000 แฟกซ 66-2937-1646-47 www.tatasteelthailand.com

11


ประหยัดเหล็กเสน *ประหยัดสูงสุด 36% เมื่อเปรียบเทียบกับเหล็กเสน SD 30 ประหยัดสูงสุด 16% เมื่อเปรียบเทียบกับเหล็กเสน SD 40

น อ ค ส ิ ท า ทาท

0 5 D S ส บก ย

อ อ อ  ข น  ส เ ก ็ ล เห

SD 50 เหล็กเสนกอสรางกําลังสูง แกรง ทน เหนือกวา เพื่อพัฒนากอสรางไทย คุณสมบัติรับแรงดึงไดมากกวา เหล็กเกรด SD 40 ดัดโคงงอ ในองศาแคบ ไมปริแตกหักงาย ลดจํานวนการใชเหล็กเสนในโครงการ * เพิ่มประสิทธิภาพงานกอสราง รับนํ้าหนักไดมาก *เมื่อสิ่งกอสรางถูกออกแบบใชเหล็ก SD 50

www.tatasteelthailand.com

ÁÍ¡. 24-2559

ºÃÔÉÑ· àÍ็¹.·Õ.àÍÊ. ʵÕÅ¡ÃØ » ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ·Õ่µÑ้§âç§Ò¹: àÅ¢·Õ่ 351 ¶.·Ò§ËÅǧÊÒ 331 µ.º‹ÍÇÔ¹ Í.ÈÃÕÃÒªÒ ¨.ªÅºØÃÕ 20230

ºÃÔÉÑ· àËÅ็¡¡‹ÍÊÌҧÊÂÒÁ ¨Ó¡Ñ´

·Õµ่ §้Ñ âç§Ò¹: ¹Ô¤ÁÍصÊÒË¡ÃÃÁÁÒºµÒ¾Ø´ ¶¹¹äÍ-7 µ.ÁÒºµÒ¾Ø´ Í.àÁ×ͧÃÐÂͧ ¨.ÃÐÂͧ 21150

ºÃÔÉÑ· àËÅ็¡ÊÂÒÁ (2001) ¨Ó¡Ñ´

·Õ่µÑ้§âç§Ò¹: àÅ¢·Õ่ 49 ËÁÙ‹·Õ่ 11 µ.ºÒ§â¢Á´ Í.ºŒÒ¹ËÁÍ ¨.ÊÃкØÃÕ 18270

ผูแทนขาย ติดตอ ภาคเหนือ คุณกิตติศักดิ์ 089-203-2056 ภาคใต คุณคเชนทร 086-232-8717 ภาคตะวันออก คุณฉลองลาภ 091-120-2102 ภาคตะวันตก คุณกาจน 063-193-2544 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คุณธนกฤต 090-001-5233

12

คุณภาพ ระดับโลก โดย บมจ. ทาทา สตีล (ประเทศไทย)

CONS-MAGAZINE www.consmag.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.